Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กรอบการเรียนรู้STEMปฐมวัยปี2565

กรอบการเรียนรู้STEMปฐมวัยปี2565

Published by อัมรินทร์ บุญเอนก, 2022-04-14 07:35:04

Description: กรอบการเรียนรู้STEMปฐมวัยปี2565

Search

Read the Text Version

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ



กรอบการเรียนรู้ และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 จัดท�ำโดย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ

กรอบการเรียนรู้และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ดาวนโ์ หลดฉบบั E-Book ไดท้ ี่ http://ipst.me/11322 จดั ทำ� โดย สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธกิ าร 924 ถนนสุขมุ วทิ แขวงพระขโนง เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2392-4021 ต่อ 5506 โทรสาร 0-2381-0750 Website : http://www.ipst.ac.th และ http://earlychildhood.ipst.ac.th Facebook : IPST Thailand และ ปฐมวยั สสวท. พิมพ์ครงั้ ที่ 1 พ.ศ. 2563 จ�ำนวนพมิ พ ์ 2,000 เล่ม สงวนสทิ ธ์ติ ามพระราชบัญญตั ลขิ สิทธ์ิ พ.ศ. 2537 จดั พมิ พโ์ ดย บรษิ ทั โกโกพร้นิ ท์ (ไทยแลนด)์ จำ� กดั เลขท่ี 35 ถนนพญาไท แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

ค�ำนำ� สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) เล็งเห็นความส�ำคัญของการส่งเสริมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรข์ องเด็กปฐมวยั จึงได้จัดท�ำกรอบการเรียนรู้และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ครูปฐมวัยและผู้ดูแลเด็กตลอดจนบุคลากรทางการศึกษาและผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการพัฒนาเด็กปฐมวัยมีแนวทางที่ชัดเจน ในการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ หก้ บั เดก็ ปฐมวยั ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ เพอ่ื สง่ เสรมิ พฒั นาการของเดก็ ปฐมวยั ใหเ้ ปน็ ไปตามวยั ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจ ดา้ นสงั คม และดา้ นสตปิ ญั ญา ตลอดจนเปน็ การปพู น้ื ฐานทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ทกั ษะการคดิ และแกป้ ญั หา ปลกู ฝงั เจตคตทิ ดี่ ี ตอ่ การเรยี นรแู้ ละการใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ในชวี ติ ประจำ� วนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ และสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มคี วามรแู้ ละทกั ษะพนื้ ฐานเกยี่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ เพอื่ นำ� มาใชใ้ นการดแู ลตนเองและสง่ิ แวดลอ้ มรวมถงึ สามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสมปลอดภยั ตามวยั ซง่ึ เปน็ การวางรากฐานใหเ้ ดก็ เตบิ โตขน้ึ เปน็ พลเมอื ง ทส่ี รา้ งสรรค์ และเป็นนกั สรา้ งนวตั กรรมตอ่ ไปในอนาคต กรอบการเรียนรู้และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 ฉบับน้ีไดป้ รบั ปรุงเน้อื หาจากเอกสารกรอบมาตรฐานและคูม่ ือการจดั การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย กรอบมาตรฐานการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ปฐมวัย และคมู่ อื กรอบมาตรฐานการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตรป์ ฐมวยั ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ใหม้ ีความทันสมยั สอดรบั กับความเจรญิ กา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเปล่ียนแปลงทางสงั คมและเศรษฐกิจ และเป็นไปตามยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) โดยไดร้ วบรวมเน้ือหาจากเอกสารทง้ั 3 ฉบับ จัดท�ำเป็นเอกสารเล่มเดียว เพือ่ ใหม้ ีความสะดวกต่อผใู้ ช้ การพฒั นากรอบการเรยี นรแู้ ละแนวทางการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรบู้ รู ณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 ครั้งน้ีได้รับความร่วมมือร่วมใจอย่างดีย่ิงจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ นักการศึกษาและคณาจารย์จากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ และ สถาบันอันเก่ียวข้องกับการพฒั นาเด็กปฐมวยั ทัง้ ภาครฐั และภาคเอกชน จากทกุ ภูมภิ าคของประเทศ สสวท. ขอขอบคุณไว้ ณ ท่ีน้ี และหวังวา่ เอกสารชดุ นจี้ ะเป็นประโยชนต์ อ่ สถานศกึ ษา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และผเู้ กี่ยวข้องในการดูแลและพัฒนาเด็กปฐมวัย หากมีข้อเสนอแนะใดท่จี ะทำ� ใหเ้ อกสารนี้มีความสมบรู ณ์ย่งิ ขึ้น โปรดแจง้ ให้ทาง สสวท. ทราบด้วย จะขอบคณุ ย่ิง (ศาสตราจารยช์ ูกจิ ลิมปิจำ� นงค)์ ผอู้ �ำนวยการสถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำ� ช้ีแจง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ด�ำเนินโครงการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ คณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยอย่างต่อเนื่องต้ังแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา โดยได้พัฒนาและเผยแพร่เอกสาร 3 ฉบับ ได้แก่ กรอบมาตรฐานและคู่มือการจัด การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย กรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย และคู่มือกรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา เพ่ือให้ครูและผู้พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในระดับปฐมวัยใช้เป็นแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ปฐมวยั ในสถานศกึ ษาหรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย อายุ 3-6 ปี สภาพสังคมและเศรษฐกิจในศตวรรษที่ 21 มีการเปล่ียนแปลงอย่างมาก รวมท้ังวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้าข้ึนอย่างรวดเร็ว สสวท. เล็งเห็นถึงความจ�ำเป็นในการส่งเสริมให้ครูปฐมวัยสามารถพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ เพ่ือเตรียมความพร้อมให้เด็ก ปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานในการเรียนรู้และทักษะชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งจะช่วยให้เด็กสามารถด�ำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบันและรองรับ การเปล่ยี นแปลงในอนาคต สสวท. ได้ศึกษาข้อมูลจากงานวิจัย เอกสารทางวิชาการ และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยท้ังไทยและต่างประเทศ จัดการประชุมระดมความคิดแนวทางการพัฒนา กรอบมาตรฐานการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยโดยผู้ทรงคุณวุฒิและบุคคลากรทางการศึกษาปฐมวัย จากท้ังภาครัฐและเอกชน ประกอบกับพิจารณาข้อมูลสะท้อนกลับและข้อเสนอแนะจากครูปฐมวัยและนักวิชาการซ่ึงเป็นผู้ใช้เอกสารกรอบมาตรฐานและคู่มือการจัด การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ปฐมวัยของ สสวท. ฉบับเดิม จากน้ันจึงน�ำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาเอกสารให้มีเน้ือหาท่ีทันสมัยและสมบูรณ์ย่ิงขึ้น และได้รวมเอกสารท้ัง 3 ฉบับเข้าด้วยกัน จัดท�ำเป็นเอกสารฉบับใหม่ท่ีสะดวกต่อการใช้งานและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้มากยิ่งข้ึน โดยให้ชื่อเอกสารนี้ว่า “กรอบการเรียนรู้และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560” ซ่ึงมอี งค์ประกอบท่ีสำ� คัญ ดังนี้ ส่วนท่ี 1 กรอบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย (อายุ 3-6 ปี) เป็นการให้ขอบเขตการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยโดยก�ำหนดผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย และตัวอย่างพฤติกรรม ท่ีสะท้อนการมีเจตคติ และทักษะหรือความสามารถท่ีเด็กปฐมวัยควรแสดงออกเม่ือได้รับประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์

ซงึ่ แบ่งเป็น 3 ระดับตามช่วงอายุ ได้แก่ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี และอายุ 5-6 ปี รวมถึงให้ขอบเขตของสาระทคี่ วรเรยี นรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ทีเ่ ด็กปฐมวยั ควรเรยี นรู้ ตลอดจนตัวอยา่ งแนวการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรสู้ ำ� หรับแตล่ ะหวั ขอ้ การเรียนรู้ ส่วนท่ี 2 ความรู้เบื้องต้นส�ำหรับครูในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย เป็นการปูพื้นฐานให้ครูและบุคคลากรทางการศึกษาปฐมวัยได้ทราบถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ธรรมชาติและเป้าหมายในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ แนวทางและจุดเน้นของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย รวมถึงสิ่งท่ีเด็กปฐมวัยควรเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ เพื่อให้สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่าง สอดคล้องกับธรรมชาติของเดก็ ปฐมวยั ธรรมชาติของแต่ละสาระ และเหมาะสมกบั พฒั นาการตามวัยของเดก็ ส่วนท่ี 3 แนวทางการใชก้ รอบการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวัย (อายุ 3-6 ปี) เป็นแนวทางการน�ำกรอบการเรียนรู้และแนวทาง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ฯ ฉบับนี้ไปใช้ในการออกแบบและวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ซงึ่ ได้มีการเสนอการจดั ประสบการณ์การเรียนร้เู ร่อื ง ขนมโค เพ่อื เป็นตัวอยา่ งการจดั ประสบการณ์การเรียนร้ใู หแ้ ก่เดก็ สสวท. หวังเป็นอย่างย่ิงว่า กรอบการเรียนรู้และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพ่ือเตรียมเด็กปฐมวัยส�ำหรับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ในระดบั ประถมศกึ ษา การด�ำรงชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 และการเป็นพลเมอื งท่สี ร้างสรรค์ต่อไปในอนาคต สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร

สารบัญ หน้า 1 คำ� นำ� 3 ค�ำช้แี จง 5 สว่ นท่ี 1 กรอบการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดับปฐมวัย (อายุ 3-6 ป)ี 7 ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดับปฐมวยั 15 ด้านท่ี 1 มีเจตคติทีด่ ีต่อการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรอ์ ย่างเหมาะสมกบั วัย 17 ดา้ นท่ี 2 มที กั ษะหรอื ความสามารถทเี่ ปน็ พน้ื ฐานในการเรยี นรู้ แสวงหาความรแู้ ละแกป้ ญั หาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ 32 อยา่ งเหมาะสมกับวยั 45 สาระท่คี วรเรยี นรทู้ างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย 45 หัวข้อที่ 1 สาระท่ีควรเรียนรู้ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีในระดบั ปฐมวยั 46 หวั ขอ้ ท่ี 2 สาระที่ควรเรยี นรูท้ างคณิตศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย 52 สว่ นท่ี 2 ความรู้เบอื้ งตน้ สำ� หรับครูในการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้บูรณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวยั 53 ธรรมชาตกิ ารเรยี นรูข้ องเดก็ ปฐมวัยกับการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ 61 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ 71 การสง่ เสรมิ การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวัย 73 การจัดประสบการณก์ ารเรยี นร้บู รู ณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวัย 73 ส่ิงท่เี ด็กปฐมวัยควรเรยี นรู้ในวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ 77 การประเมินการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย 95 ส่วนท่ี 3 แนวทางการใชก้ รอบการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั แนวทางการใชก้ รอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย ในการออกแบบและวางแผนการจัดประสบการณ์ ตวั อยา่ งแผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรบู้ ูรณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดบั ปฐมวยั บรรณานุกรม

สารบญั (ต่อ) 100 100 ภาคผนวก 102 ดชั นี 109 คำ� อธิบายศัพท์ 113 การวเิ คราะหค์ วามสอดคล้องของกรอบการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย 118 การเชอื่ มโยงสาระทคี่ วรเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั กบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คณะผจู้ ดั ทำ�

สารบัญแผนภาพ หนา้ 2 แผนภาพท่ี 1 ความสมั พนั ธ์ของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั ฯ กับกรอบการเรยี นรู้ฯ และการจดั ท�ำแผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ 48 แผนภาพท่ี 2 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 49 แผนภาพท่ี 3 องคป์ ระกอบของการคดิ เชงิ คำ� นวณ 51 แผนภาพท่ี 4 ความสัมพันธ์ระหวา่ งวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ 55 แผนภาพที่ 5 ระดบั ของการบรู ณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในหน่วยการเรยี นรหู้ รือกจิ กรรมในระดับปฐมวยั 57 แผนภาพที่ 6 ลักษณะส�ำคญั ของการสบื เสาะหาความรู้ส�ำหรับเด็กปฐมวัย 58 แผนภาพท่ี 7 ระดบั ของการสบื เสาะหาความรูใ้ นชั้นเรียนปฐมวย้ 62 แผนภาพท่ี 8 สิง่ ทเ่ี ดก็ ปฐมวัยควรเรยี นรู้ในวิทยาศาสตร์ 63 แผนภาพท่ี 9 ตัวอยา่ งการจัดลำ� ดบั หัวข้อการเรยี นร้ตู ามระดับความซบั ซอ้ นของความคดิ รวบยอดทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 66 แผนภาพท่ี 10 สิ่งที่เดก็ ปฐมวยั ควรเรียนรู้ในเทคโนโลยี 68 แผนภาพที่ 11 ส่งิ ทีเ่ ดก็ ปฐมวัยควรเรยี นร้ใู นคณิตศาสตร์ 69 แผนภาพที่ 12 ตัวอยา่ งการจัดลำ� ดับหวั ขอ้ การเรยี นรู้ตามระดบั ความซบั ซ้อนของความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ 74 แผนภาพที่ 13 แนวทางการใช้กรอบการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดบั ปฐมวยั

สารบัญตาราง หนา้ 89 ตารางท่ี 1 การวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของกจิ กรรมกบั ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั 90 ตารางที่ 2 การวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของกจิ กรรมกบั สาระทคี่ วรเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั 91 ตารางท่ี 3 การวเิ คราะหส์ ง่ิ ทเี่ ดก็ ไดท้ ำ� ในกจิ กรรมกบั ลกั ษณะสำ� คญั ของการสบื เสาะหาความรสู้ ำ� หรบั เดก็ ปฐมวยั 92 ตารางท่ี 4 การวเิ คราะหส์ งิ่ ทเ่ี ดก็ ไดท้ ำ� ในกจิ กรรมกบั กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 93 ตารางท่ี 5 การวเิ คราะหส์ งิ่ ทเ่ี ดก็ ไดท้ ำ� ในกจิ กรรมกบั ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ 109 ตารางที่ 6 การวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมกบั กรอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั 110 ตารางท่ี 7 การวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งขององคป์ ระกอบการคดิ เชงิ คำ� นวณกบั กรอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั 111 ตารางท่ี 8 การวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของลกั ษณะสำ� คญั ของการสบื เสาะหาความรกู้ บั กรอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั 112 ตารางท่ี 9 การวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรก์ บั กรอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั



SCIENCE TECHNOLOGY MATHEMATICS

ส่วนท่ี 1 กรอบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย (อายุ 3-6 ปี) ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 เป็นเอกสารส�ำหรบั กรอบการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ครูและบุคลากรทางการศึกษาปฐมวัยจัดท�ำข้ึนอย่างสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา เทคโนโลยแี ละคณิตศาสตร์ ปฐมวัย พุทธศักราช 2560 เพ่ือให้ครูใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการจัด ประสบการณ์การเรียนรบู้ รู ณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดับ ในระดับปฐมวัย (อายุ 3-6 ปี) ปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ เป็นการเตรียมความพร้อมเด็กปฐมวัยอายุ 3-6 ปี ส�ำหรับ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ในระดับประถมศึกษาต่อไป กรอบการเรียนรฯู้ นี้ประกอบด้วย 2 สว่ น ไดแ้ ก่ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ในระดบั ปฐมวยั เปน็ พฤตกิ รรมทางดา้ นเจตคตแิ ละทกั ษะหรอื ความสามารถทเี่ ดก็ ควร แสดงออกเมือ่ จบการศกึ ษาปฐมวัย ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั น้ถี ูกกำ� หนดข้ึนบนพืน้ ฐาน พฒั นาการตามวยั ซง่ึ เด็กควรไดร้ ับการพฒั นาผ่านการเล่นและการลงมือปฏบิ ตั ิ สาระท่ีควรเรยี นรทู้ างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับ ปฐมวยั เป็นขอบเขตของความคิดรวบยอดท่ีเด็กปฐมวยั ควรได้เรียนรู้ โดยสาระทค่ี วร เรียนรู้นี้จะใช้เป็นส่ือกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพ่ือให้เด็กได้รับ การพัฒนาเจตคติและทักษะหรือความสามารถตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวังท่ีได้ ก�ำหนดไว้ ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ โดยไม่เน้นการท่องจ�ำเน้ือหา ท้ังน้ีครู สามารถยดื หยุ่นหรือปรบั ให้สอดคลอ้ งกบั วัย ความสามารถ ความตอ้ งการ ความสนใจ ของเดก็ เปน็ รายบคุ คล และบริบททแี่ วดลอ้ มเด็ก ความสมั พันธข์ องกรอบการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ในระดบั ปฐมวยั กบั มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ตวั บง่ ช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ และ สาระการเรยี นรขู้ องหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 แสดงไดด้ งั แผนภาพท่ี 1 โดยครูสามารถน�ำผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและสาระที่ควรเรียนรู้ไปใช้เป็นแนวทาง ในการกำ� หนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้สาระการเรยี นรู้และกจิ กรรมในแผนการจดั ประสบการณ์ การเรยี นรบู้ ูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวยั ได้ 1

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ประสบการณ์ส�ำคัญ พทุ ธศกั ราช 2560 ตัวบ่งช้ีและสภาพทีพ่ งึ ประสงค์ สาระที่ควรเรยี นรู้ กรอบการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ สาระท่คี วรเรยี นรู้ทาง วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ คณิตศาสตร์ ในระดับปฐมวัย ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย คณติ ศาสตร์ ในระดบั ปฐมวัย คณิตศาสตร์ พทุ ธศกั ราช 2560 เจตคติ ทกั ษะหรอื การจัดประสบการณ์ ความสามารถ การเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ในหลกั สตู รสถานศกึ ษา สาระการเรียนรู้ (สาระทคี่ วรเรียนรแู้ ละประสบการณ์ส�ำคัญ) กจิ กรรม การประเมนิ ผลการเรียนรู้ แผนภาพท่ี 1 ความสมั พนั ธข์ องหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยฯ กับกรอบการเรยี นรู้ฯ และการจดั ทำ� แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ 2

ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวยั ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั แสดงถงึ พฤตกิ รรมทางดา้ นเจตคตแิ ละทกั ษะหรอื ความสามารถทเี่ ดก็ ควรแสดงออก เมือ่ ผ่านประสบการณ์การเรยี นรูบ้ ูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดบั ปฐมวัย (อายุ 6 ป)ี โดยแบ่งออกเปน็ 2 ดา้ น ได้แก่ ด้านเจตคติ และดา้ นทกั ษะหรอื ความสามารถ ซ่ึงผลการเรียนรู้ที่คาดหวังน้ีถูกก�ำหนดขึ้นบนพื้นฐานพัฒนาการตามวัยสอดคล้องกับการส่งเสริมให้เด็กมีสภาพที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานคุณลักษณะ ท่พี งึ ประสงค์และตัวบ่งช้ี ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ดงั น้ี มาตรฐานคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคแ์ ละตวั บง่ ชี้ ผลการเรียนร้ทู ค่ี าดหวงั ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดับปฐมวยั มาตรฐานท่ี 12 มเี จตคตทิ ด่ี ีตอ่ การเรยี นรู้ และมคี วามสามารถ 1. มเี จตคติทด่ี ีตอ่ การเรยี นรู้ 1.1 แสดงความสนใจอยากรู้อยากเหน็ กระตือรือรน้ ในการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสมกับวยั วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สนใจในการเรยี นรู้ คณติ ศาสตรอ์ ย่างเหมาะสมกบั วัย ตัวบง่ ชี้ 12.1 มเี จตคติท่ีดตี อ่ การเรียนรู้ 1.2 รว่ มแสดงความคดิ เห็นและยอมรับความคิดเหน็ ของ ผู้อื่นในการสบื เสาะหาความร้หู รือแก้ปัญหารว่ มกัน 1.3 มงุ่ มั่น อดทน พยายามในการทำ� กิจกรรม 1.4 ตระหนักรถู้ งึ ประโยชน์ การใชง้ าน และการเลอื กใช้ ส่ิงของเคร่อื งใช้ทอี่ ยู่ในชวี ิตประจ�ำวนั อย่างเหมาะสม ปลอดภยั และรักษาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ 9 ใชภ้ าษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย 2. มที ักษะหรือความสามารถท่เี ปน็ 2.1 สังเกต จับคู่ เปรยี บเทียบ จ�ำแนก จดั กลุ่ม เรียงล�ำดับ ตัวบง่ ช้ี 9.1 สนทนาโต้ตอบและเลา่ เรื่องให้ผอู้ ่ืนเขา้ ใจ พ้ืนฐานในการเรยี นรู้ แสวงหา ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับวัย ตัวบ่งชี้ 9.2 อ่าน เขียนภาพและสัญลักษณ์ได้ ความรูแ้ ละแกป้ ญั หา ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ 2.2 ตง้ั คำ� ถามและระบปุ ัญหาอยา่ งงา่ ยไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มาตรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดทเ่ี ป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ คณติ ศาสตรอ์ ยา่ งเหมาะสมกบั วยั กับวัย ตัวบ่งช้ี 10.1 มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด ตัวบง่ ช้ี 10.2 มีความสามารถในการคดิ เชิงเหตุผล 2.3 วางแผนการสบื เสาะหาความรู้ การแกป้ ัญหาหรอื ตวั บ่งชี้ 10.3 มคี วามสามารถในการคิดแกป้ ญั หาและตัดสินใจ สนองความต้องการไดอ้ ย่างเหมาะสมกับวัย 3

มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคแ์ ละตัวบ่งชี้ ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวงั ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย มาตรฐานที่ 11 มีจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ตวั บง่ ชี้ 11.1 ทำ� งานศลิ ปะตามจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ 2.4 รวบรวมขอ้ มูล แก้ปญั หาอยา่ งง่าย ออกแบบหรอื ตัวบ่งช้ี 11.2 แสดงท่าทาง/เคลอ่ื นไหวตามจินตนาการ สรา้ งสรรค์วิธกี ารหรอื ช้นิ งานได้อยา่ งเหมาะสมกบั วัย อย่างสรา้ งสรรค์ มาตรฐานที่ 12 มีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ การเรียนรู้ และมคี วามสามารถ 2.5 คาดคะเน ลงความคดิ เหน็ สรา้ งค�ำอธิบาย ให้เหตุผล ในการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกบั วยั และเชอื่ มโยงไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับวยั ตวั บ่งชี้ 12.2 มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ 2.6 สื่อสารกระบวนการและสง่ิ ทีค่ ้นพบจากการสบื เสาะ หาความรู้ การแกป้ ัญหาหรอื สนองความตอ้ งการได้ อยา่ งเหมาะสมกบั วัย 4

ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั ดา้ นท่ี 1 มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ่ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรอ์ ยา่ งเหมาะสมกบั วยั พฤตกิ รรมทส่ี ะทอ้ นการมเี จตคตทิ ดี่ ตี อ่ การเรยี นรขู้ องเดก็ กำ� หนดเปน็ 3 ชว่ งอายุ คอื อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี และ อายุ 5-6 ปี โดยพฤตกิ รรมนเี้ ปน็ พฤตกิ รรมปลายทาง ซง่ึ อาจยดื หยนุ่ ตามความสามารถและความแตกตา่ งในการเรยี นรขู้ องเดก็ เปน็ รายบคุ คล ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวังทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวัย ตัวอย่างแนวการจดั ประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้อย่างเปิดกว้าง 1.1 แสดงความสนใจอยากรู้อยากเหน็ กระตอื รือร้น สนใจในการเรียนรู้ แสดงการยอมรับ การส่งเสริม และให้ก�ำลังใจเด็ก ในการท�ำกิจกรรม โดยกระตุ้นและเปิดโอกาสให้เด็ก (1) แสดงความสนใจ อยากรู้ (1) แสดงความสนใจ อยากรู้ (1) แสดงความสนใจ อยากรู้ มสี ว่ นรว่ มในการคดิ วางแผน ลงมอื ปฏบิ ตั ิ และสะทอ้ น อยากเห็น กระตือรือร้น อยากเหน็ กระตือรือรน้ อยากเหน็ กระตือรอื รน้ การเรยี นรขู้ องตนเอง ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ในการเขา้ ร่วมกิจกรรมและ ในการเขา้ รว่ มกิจกรรมและ • กระตนุ้ และสง่ เสรมิ การใชว้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สนทนาซกั ถามในการท�ำ สนทนาซกั ถามในการทำ� คณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจ�ำวันอย่างมี กิจกรรม กิจกรรมอย่างต่อเนอ่ื ง ความหมาย เช่น การแก้ปัญหาในการเล่น การท�ำ โครงงานหรอื โครงการตามความสนใจ 1.2 รว่ มแสดงความคดิ เห็นและยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ืน่ ในการสืบเสาะหาความรหู้ รอื แก้ปญั หารว่ มกนั • จัดสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ ทเี่ ออ้ื อำ� นวยตอ่ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ (2) รว่ มแสดงความคิดเห็น (2) รว่ มแสดงความคิดเหน็ (2) รว่ มแสดงความคดิ เหน็ และ คณติ ศาสตร์ เชน่ มมุ ประสบการณ์ หนงั สอื นทิ าน เพลง ในการสบื เสาะหาความรู้ ในการสืบเสาะหาความรู้ ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผอู้ นื่ เกมการศกึ ษา การทศั นศกึ ษาหรอื สำ� รวจนอกสถานที่ หรือแก้ปัญหาเม่อื มผี ู้ช้ีแนะ หรือแก้ปัญหากบั ผูอ้ ่ืน ในการสบื เสาะหาความรหู้ รอื การใชส้ ่ือของจรงิ ทจ่ี ับตอ้ งได้ แก้ปัญหาร่วมกนั • สอดแทรกการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ คณติ ศาสตรใ์ นกิจวตั รและกิจกรรมประจำ� วัน 1.3 มุง่ มัน่ อดทน พยายามในการทำ� กิจกรรม (3) แสดงความมุ่งมัน่ ตัง้ ใจหรือ (3) แสดงความมุ่งมน่ั ตัง้ ใจหรือ (3) แสดงความมุง่ มนั่ ตั้งใจหรือ จดจ่อในการท�ำกจิ กรรม จดจ่อ และอดทนพยายามใน จดจอ่ และอดทนพยายาม การท�ำกิจกรรม ในการท�ำกิจกรรมอย่างตอ่ เน่ืองตั้งแต่ต้นจนจบ 5

ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวังทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดบั ปฐมวัย ตวั อยา่ งแนวการจดั ประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • ให้เด็กเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ช้ินงานใน 1.4 ตระหนกั รถู้ งึ ประโยชน์ การใชง้ าน และการเลอื กใชส้ ง่ิ ของเครอ่ื งใชท้ อ่ี ยใู่ นชวี ติ ประจำ� วนั อยา่ งเหมาะสม กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์และส่งเสริมให้เด็กได้ใช้วัสดุ ปลอดภัย และรกั ษาสิ่งแวดล้อม อุปกรณ์หรือสิ่งของเคร่ืองใช้อย่างประหยัดคุ้มค่า ปลอดภยั ฝกึ ใหม้ กี ารจดั เกบ็ และทงิ้ ขยะหลงั การใชง้ าน (4) ใช้ส่ิงของเคร่ืองใชท้ อ่ี ยู่ใน (4) ใชง้ านและเลือกใชส้ ง่ิ ของ (4) บอกประโยชน์ วิธีการใช้งาน • จัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ ชวี ติ ประจำ� วนั อยา่ งเหมาะสม เครอ่ื งใชท้ อ่ี ยใู่ นชวี ติ ประจำ� วนั แสดงการใชง้ านและเลือกใช้ ตามแนวทางการจดั การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทส่ี ง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ปลอดภัยเมอ่ื มีผู้ชแ้ี นะ อยา่ งเหมาะสม ปลอดภัย สิ่งของเครอ่ื งใชท้ อี่ ยใู่ นชวี ติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ เช่น และมีสว่ นรว่ มในการรักษา และมีสว่ นร่วมในการรกั ษา ประจ�ำวันอย่างเหมาะสม การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry-based สิ่งแวดล้อม สง่ิ แวดล้อม ปลอดภยั และรักษา learning) การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem- สิ่งแวดล้อม based learning) การเรียนรแู้ บบโครงงาน (Project- based learning) หรอื โครงการ (Project approach) การเรียนรู้บูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษาหรือ สตมี ศกึ ษา (STEM Education หรอื STEAM Education) ใน หวั ข้อท่ีเดก็ สนใจและเหมาะสมกับพัฒนาการตามวยั 6

ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั ดา้ นที่ 2 มที กั ษะหรอื ความสามารถทเ่ี ปน็ พน้ื ฐานในการเรยี นรู้ แสวงหาความรแู้ ละแกป้ ญั หาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละคณติ ศาสตร์ อยา่ งเหมาะสมกบั วยั พฤตกิ รรมทส่ี ะทอ้ นการมที กั ษะหรอื ความสามารถของเดก็ กำ� หนดเปน็ 3 ชว่ งอายุ คอื อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี และ อายุ 5-6 ปี โดยพฤตกิ รรมนเ้ี ปน็ พฤตกิ รรมปลายทาง ซงึ่ อาจยดื หยนุ่ ตามความสามารถและความแตกตา่ งในการเรยี นรขู้ องเดก็ เปน็ รายบคุ คล ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวยั ตัวอย่างแนวการจดั ประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • จัดสถานการณ์หรือส่ือการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้เด็กได้ท�ำ 2.1 สังเกต จบั คู่ เปรยี บเทยี บ จ�ำแนก จดั กลมุ่ เรียงลำ� ดบั ไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั วยั การสงั เกตสง่ิ ตา่ ง ๆ ทอี่ ยใู่ กลต้ วั โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั ตา่ ง ๆ รวมถึงจดั เตรียมเครอ่ื งมืออยา่ งง่าย เช่น แว่นขยาย เชอื ก (1) สังเกตสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ (1) สงั เกตรายละเอยี ดของสงิ่ ตา่ ง ๆ (1) สงั เกตรายละเอยี ดของสงิ่ ตา่ ง ๆ เครอ่ื งชง่ั สองแขนอยา่ งงา่ ย เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ไดใ้ ชช้ ว่ ยในการสงั เกต ประสาทสมั ผสั โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั และ โดยใช้ประสาทสมั ผสั และ และเก็บข้อมลู เครอื่ งมอื อยา่ งงา่ ยเมอ่ื มผี ชู้ แ้ี นะ เครือ่ งมืออยา่ งงา่ ยดว้ ยตนเอง • ใชส้ ง่ิ ของท่อี ยู่ใกล้ตัวเดก็ นิทาน เพลง หรือเกมการศกึ ษา เป็นส่อื ในการกระตนุ้ ให้เด็กฝึกจบั คู่ เปรียบเทยี บ จำ� แนก (2) จบั คหู่ รอื เปรยี บเทยี บสง่ิ ตา่ ง ๆ (2) จบั คูแ่ ละเปรียบเทียบ (2) จับคแู่ ละเปรียบเทียบ จดั กลุ่มและเรียงลำ� ดบั โดยใช้ลักษณะหรอื หนา้ ที่ ความแตกตา่ งหรอื ความเหมอื น ความแตกตา่ งและความเหมอื น • สอดแทรกการจับคู่ เปรียบเทยี บ จ�ำแนก จดั กลมุ่ และ การใช้งานเพียงลกั ษณะเดียว ของสิ่งตา่ ง ๆ โดยใช้ลักษณะ ของส่งิ ตา่ ง ๆ โดยใช้ลักษณะ เรยี งลำ� ดบั ในชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ จดั เกบ็ ของใชส้ ว่ นตวั หรอื ท่ีสังเกตพบเพยี งลกั ษณะเดียว ที่สงั เกตพบสองลกั ษณะข้ึนไป ของเล่นเข้าท่ี จ�ำแนกจาน ช้อน ส้อมเม่ือรับประทาน อาหารเสรจ็ เรียงล�ำดบั ความสูงของเพอื่ นในขณะเข้าแถว (3) จำ� แนกส่ิงต่าง ๆ ตามลักษณะ (3) จำ� แนกและจัดกลมุ่ สง่ิ ต่าง ๆ (3) จ�ำแนกและจดั กล่มุ สิง่ ตา่ ง ๆ แสดงล�ำดับขั้นตอนการท�ำงานโดยใช้ภาพและ/หรือ หรอื หนา้ ทีก่ ารใช้งาน โดยใชเ้ กณฑต์ ามทผี่ อู้ นื่ กำ� หนด โดยใชเ้ กณฑต์ ามทผ่ี อู้ น่ื กำ� หนด สัญลกั ษณ์ ตามเกณฑท์ ่ผี อู้ ่นื ก�ำหนดให้ หรอื มีสว่ นร่วมในการก�ำหนด หรือดว้ ยเกณฑ์ของตนเอง เกณฑอ์ ยา่ งน้อยหนงึ่ ลกั ษณะ ต้ังแต่สองลกั ษณะข้นึ ไป (4) เรียงล�ำดับสิ่งของหรอื (4) เรียงล�ำดับสง่ิ ของหรอื (4) เรยี งลำ� ดบั สง่ิ ของหรือ เหตกุ ารณอ์ ยา่ งนอ้ ยสามลำ� ดบั เหตุการณ์อยา่ งน้อยสี่ล�ำดับ เหตุการณ์อย่างนอ้ ยห้าล�ำดับ 7

ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวังทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดับปฐมวัย ตวั อยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • จดั สถานการณใ์ หเ้ ดก็ เกดิ ความสนใจหรอื สงสยั โดยใชส้ อื่ และ 2.2 ต้งั คำ� ถามและระบปุ ัญหาอย่างงา่ ยไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั วัย แหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ แลว้ กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตงั้ คำ� ถามแลว้ รว่ มกนั วางแผนและลงมอื ทำ� การสบื เสาะหาความรดู้ ว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ (1) มสี ่วนร่วมในการตงั้ ค�ำถาม (1) มสี ่วนร่วมในการต้งั ค�ำถาม (1) ตั้งคำ� ถามเพื่อนำ� ไปสกู่ าร เชน่ สังเกต ส�ำรวจ ทดลอง สบื คน้ ขอ้ มลู สอบถามผู้รู้ เพื่อนำ� ไปสกู่ ารคน้ หาคำ� ตอบ เพ่ือนำ� ไปสกู่ ารค้นหาคำ� ตอบ คน้ หาคำ� ตอบดว้ ยตนเอง โดยใช้ • จัดสถานการณ์ให้เด็กเกิดความสนใจโดยใช้ส่ือและแหล่ง เมอ่ื มผี ชู้ แ้ี นะ โดยใชค้ ำ� ถามวา่ เม่ือมีผูช้ ี้แนะ โดยใช้ค�ำถามว่า คำ� ถามวา่ “เมอื่ ไร” “อยา่ งไร” เรยี นร้ตู า่ ง ๆ กระตนุ้ ใหเ้ ด็กระบปุ ัญหาหรือความต้องการ “ใคร” “อะไร” “ทไี่ หน” “ทำ� ไม” แลว้ ใหเ้ ดก็ แกป้ ัญหาแบบลองผดิ ลองถูก เช่น เลน่ ต่อภาพ ตัดตอ่ จดั เก็บของเล่นใสก่ ล่องให้พอดี หาวธิ ตี วงนำ�้ ใส่ขวด (2) บอกความต้องการท่ีเกีย่ วขอ้ ง (2) ระบปุ ญั หาอย่างงา่ ยหรอื บอก (2) ระบปุ ญั หาอยา่ งงา่ ยหรอื บอก หรอื กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ระบปุ ญั หาหรอื ความตอ้ งการ แลว้ รว่ มกนั กับปญั หาเม่ือมีผู้ช้ีแนะ ความต้องการทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ความต้องการทเี่ กีย่ วข้องกับ ออกแบบและสร้างช้ินงานและ/หรือวิธีการเพื่อแก้ปัญหา ปัญหาเมอื่ มผี ูช้ ้แี นะ ปญั หาด้วยตนเอง อยา่ งเป็นขนั้ ตอน • กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ รว่ มกนั คดิ วธิ กี ารในการหาคำ� ตอบของคำ� ถาม 2.3 วางแผนการสบื เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหาหรือสนองความตอ้ งการไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั วยั หรือหาทางแกป้ ัญหาด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ หลังจากทเี่ ด็กเกดิ ความสงสัย ต้ังค�ำถามหรือบอกปัญหาหรือความต้องการ (1) บอกวธิ กี ารหรือข้นั ตอน (1) มสี ว่ นรว่ มในการวางแผนกำ� หนด (1) มสี ว่ นร่วมในการวางแผน ที่เก่ียวข้องกับปัญหาแล้ว โดยให้เด็กอภิปรายร่วมกันและ เพอ่ื หาคำ� ตอบหรือแกป้ ัญหา วิธกี ารและขน้ั ตอนเพื่อหา ออกแบบ กำ� หนดวิธีการและ ครใู ชค้ ำ� ถามนำ� เชน่ เดก็ คดิ วา่ จะหาคำ� ตอบของคำ� ถามนไี้ ด้ อยา่ งงา่ ยเมอ่ื มผี ูช้ ี้แนะ คำ� ตอบหรอื แกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ย ข้นั ตอนการส�ำรวจตรวจสอบ อยา่ งไร เราจะแก้ปัญหาน้ไี ดอ้ ย่างไร เคยพบปัญหาแบบน้ี หรอื แก้ปัญหาอย่างง่าย มาก่อนหรือไม่ หรือเคยทำ� อย่างไรมาก่อน (2) ส�ำรวจและเลือกใช้วสั ดุ (2) สำ� รวจและเลอื กใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ (2) วางแผนเลอื กใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ อุปกรณ์จากที่กำ� หนดให้ ทกี่ ำ� หนดให้ พรอ้ มบอกเหตผุ ล ทเ่ี หมาะสม พรอ้ มบอกเหตุผล 8

ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวังทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดบั ปฐมวัย ตัวอยา่ งแนวการจดั ประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • กระตุ้นให้เด็กร่วมกันก�ำหนดวิธีการและข้ันตอนของ การสำ� รวจตรวจสอบหรอื แกป้ ญั หา และเลอื กใช้วสั ดุและ อุปกรณ์ท่ีเหมาะสมในการหาค�ำตอบหรือแก้ปัญหาโดย ครูอาจใช้ค�ำถามน�ำและช่วยเขียนสรุปล�ำดับข้ันตอน การส�ำรวจตรวจสอบหรือแก้ปัญหา รวมถึงวัสดุอุปกรณ์ ที่จะใช้ตามที่เดก็ เสนอความคดิ • จัดกิจกรรมที่เอื้ออ�ำนวยต่อการฝึกการคิดเชิงค�ำนวณ เพื่อแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นขน้ั ตอนในกจิ กรรมตา่ ง ๆ เช่น - เรียงลำ� ดบั ภาพขน้ั ตอนการประกอบอาหารอยา่ งงา่ ย - บอกขน้ั ตอนการแกป้ ญั หาการตอ่ ไมบ้ ลอ็ กอยา่ งเปน็ ลำ� ดบั - เคลอื่ นไหวรา่ งกายแบบผนู้ �ำผตู้ ามอย่างเปน็ ลำ� ดับ - เล่นเกมหาสมบัติโดยวางแผนการเดินทางบนตาราง แผนทโี่ ดยใชล้ ูกศรก�ำหนดทิศทาง - สำ� รวจ จ�ำแนก จัดเกบ็ ของเล่นตามสัญลักษณห์ รอื เกณฑ์ ท่กี �ำหนด - แสดงล�ำดับข้ันตอนการท�ำงานโดยใช้ภาพและ/หรือ สัญลกั ษณ์ - เขยี นหรอื ใชส้ ญั ลกั ษณแ์ ทนคำ� สงั่ อยา่ งงา่ ยในการดำ� เนนิ การ อย่างเป็นล�ำดับ (Coding) เช่น ออกแบบชุดค�ำส่ังด้วย สัญลักษณ์ในการเล่นบทบาทสมมติเพ่ือให้หุ่นยนต์ เคล่ือนไหวหรือท�ำงานตามที่ต้องการ ออกแบบชุดค�ำสั่ง ด้วยสญั ลกั ษณใ์ นการเคลื่อนไหวรา่ งกายประกอบจงั หวะ 9

ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดบั ปฐมวัย ตวั อยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 2.4 รวบรวมข้อมลู แกป้ ญั หาอยา่ งง่าย ออกแบบหรือสร้างสรรค์วธิ กี ารหรอื ช้นิ งานได้อยา่ งเหมาะสมกบั วัย (1) สำ� รวจตรวจสอบเพือ่ หา (1) สำ� รวจตรวจสอบเพอื่ หาคำ� ตอบ (1) สำ� รวจตรวจสอบเพอื่ หาคำ� ตอบ • จดั ประสบการณก์ ารเรยี นรโู้ ดยเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ลงมอื สำ� รวจ ค�ำตอบตามวิธีการเมื่อมี ตามวธิ ีการของตนเอง โดยใชว้ ธิ กี ารทห่ี ลากหลายดว้ ย ตรวจสอบ และบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยตนเองตามวธิ กี ารและขนั้ ตอน ตนเอง ที่ไดร้ ว่ มกนั วางแผนไว้ โดยครคู อยสงั เกตพฤตกิ รรมและให้ ผชู้ แ้ี นะ การช้ีแนะหรือช่วยเหลือตามความจ�ำเป็นหรือเม่ือเด็กขอ ความชว่ ยเหลือ เช่น (2) มีส่วนร่วมในการใหข้ ้อมูลโดย (2) บนั ทกึ ข้อมูลอย่างงา่ ยตาม (2) มีส่วนรว่ มในการออกแบบ - ในการหาคำ� ตอบวา่ “เราจะรไู้ ด้อยา่ งไรว่าในห้องนมี้ า ใหผ้ ูอ้ ื่นชว่ ยบนั ทกึ วิธีการของตนเอง วธิ กี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู และบนั ทกึ โรงเรยี นทงั้ หมดกคี่ น” ใหเ้ ดก็ รว่ มกนั กำ� หนดวธิ กี ารหา ขอ้ มูลตามวิธที ี่ร่วมกนั กำ� หนด คำ� ตอบ เชน่ การนบั แลว้ ใหเ้ ดก็ ๆ ชว่ ยกนั นบั และบอก จำ� นวนของเดก็ ในหอ้ งเรยี นดว้ ยตนเอง (3) แก้ปญั หาอย่างงา่ ยโดยใช้วสั ดุ (3) แกป้ ัญหาอย่างงา่ ยโดยใชว้ สั ดุ (3) แกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ยโดยใชว้ สั ดุ - ในการหาคำ� ตอบวา่ “เราจะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ ใครสงู กวา่ กนั ” อุปกรณ์หรอื วธิ กี ารดว้ ย อปุ กรณห์ รือวธิ กี ารตามที่ อปุ กรณห์ รอื วธิ กี ารตามที่ ใหเ้ ดก็ รว่ มกนั กำ� หนดวธิ กี ารหาคำ� ตอบ เชน่ จบั คกู่ นั แลว้ การลองผิดลองถกู วางแผนเม่ือมีผูช้ ีแ้ นะ วางแผน รวมทง้ั มกี ารทดสอบ ไปยนื ตรงหนา้ กระจก สงั เกตวา่ ศรี ษะของใครสงู กวา่ กนั ประเมนิ และปรบั ปรงุ ผลงาน/ บนั ทกึ ผลดว้ ยการวาดภาพ หรอื นำ� เชอื กมาวดั ความสงู วธิ กี ารแกป้ ญั หาเมอ่ื มผี ชู้ แ้ี นะ ของแตล่ ะคนแลว้ เปรยี บเทยี บความยาวของเชอื ก จากนน้ั ใหเ้ ดก็ ทำ� ตามวธิ กี ารทรี่ ว่ มกนั กำ� หนดขนึ้ โดยครคู อย (4) สรา้ งวิธีการหรอื ชน้ิ งานตาม (4) ออกแบบและสร้างวธิ ีการหรอื (4) ออกแบบและสร้างวิธีการหรือ แนะนำ� ชว่ ยเหลอื ความคดิ ของตนเอง ชนิ้ งานตามความคดิ ของตนเอง ชน้ิ งานดว้ ยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย - ในการหาคำ� ตอบวา่ “เดก็ ๆ ในหอ้ งชอบดมื่ นมรสชาตอิ ะไร และแปลกใหม่ตามวัย มากทสี่ ดุ ” ใหเ้ ดก็ ๆ รว่ มกนั กำ� หนดวธิ กี ารรวบรวมขอ้ มลู และบนั ทกึ ขอ้ มลู เชน่ ชว่ ยกนั ทำ� ตารางบนั ทกึ ขอ้ มลู ให้ เดก็ นำ� สตกิ๊ เกอรร์ ปู หนา้ ยมิ้ ไปตดิ ในชอ่ งของตารางทต่ี รงกบั รสชาตขิ องนมทต่ี นเองชอบทส่ี ดุ จากนน้ั มารว่ มกนั นบั และ เปรยี บเทยี บจำ� นวน และจดั ทำ� เปน็ แผนภมู อิ ยา่ งงา่ ย โดยครู คอยชว่ ยเหลอื 10

ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวังทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดับปฐมวยั ตวั อยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี - ในการหาคำ� ตอบวา่ “เดก็ ๆ ควรแตง่ กายอยา่ งไรในแตล่ ะ ฤด”ู ใหเ้ ดก็ ๆ รว่ มกนั ออกแบบวธิ กี ารหาคำ� ตอบและ 2.5 คาดคะเน ลงความคิดเห็น สร้างคำ� อธิบาย ใหเ้ หตุผลและเช่ือมโยงได้อย่างเหมาะสมกับวัย การบนั ทกึ ขอ้ มลู เชน่ การสบื คน้ ขอ้ มลู จากแหลง่ ตา่ ง ๆ การสอบถามผปู้ กครอง และบนั ทกึ คำ� ตอบดว้ ยการวาดภาพ (1) คาดคะเนส่ิงที่อาจจะเกดิ ขึ้น (1) คาดคะเนสิ่งทอ่ี าจจะเกิดขึน้ (1) คาดคะเนส่งิ ทีอ่ าจจะเกดิ ขึ้น จากนน้ั ใหเ้ ดก็ ลงมอื หาคำ� ตอบและบนั ทกึ ขอ้ มลู มานำ� เสนอ เมอื่ มผี ูช้ ี้แนะ ด้วยตนเอง ด้วยตนเองอย่างมเี หตผุ ล • จดั สถานการณใ์ หเ้ ดก็ ไดอ้ อกแบบและสรา้ งสรรคว์ ธิ กี ารหรอื ชนิ้ งาน เชน่ (2) บอกขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการสังเกต (2) มีส่วนรว่ มในการลงความเห็น (2) มีส่วนรว่ มในการลงความเหน็ - ออกแบบและสรา้ งสรรคว์ ธิ กี ารจดั เกบ็ ของเลน่ หรอื ของใช้ เมือ่ มีผชู้ ้แี นะ จากข้อมูล จากข้อมูลอยา่ งมีเหตผุ ล ในพ้ืนที่ที่มีจ�ำกัด วิธีการแยกขยะหรือป้องกันกล่ิน จาก ห้องน้�ำ (3) บอกผลท่ีเกิดข้นึ ในเหตกุ ารณ์ (3) บอกสาเหตุ หรอื ผลท่เี กิดข้นึ (3) อธิบายเชอ่ื มโยงสาเหตุและ - ออกแบบและท�ำกระเป๋าที่สามารถกันน้�ำ หรือตะกร้าที่ หรือการกระทำ� เมอ่ื มีผู้ช้แี นะ ในเหตุการณ์หรือการกระท�ำ ผลทเี่ กิดขึ้นในเหตุการณห์ รือ สามารถบรรจสุ ่งิ ของทกี่ �ำหนด เม่ือมีผู้ช้ีแนะ การกระทำ� ดว้ ยตนเอง • ใหเ้ ดก็ ทำ� การทดลองทางวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งงา่ ย โดยกอ่ นทจ่ี ะ ลงมอื ทำ� การทดลอง ครใู ชค้ ำ� ถามกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ไดค้ าดคะเน ส่ิงที่อาจจะเกิดข้ึน หลังจากท�ำการทดลองให้เด็กอธิบาย เช่ือมโยงสาเหตุและผลที่เกิดข้ึนจากการกระท�ำต่าง ๆ ในการทดลอง และรว่ มกันลงความคดิ เห็นเพื่อสรุปส่งิ ที่พบ หรอื สง่ิ ทไ่ี ด้เรียนร้จู ากการทดลอง • จัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ หรือ แบบโครงงานหรือโครงการแล้วกระตุ้นให้เด็กร่วมกัน 11

ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดับปฐมวยั ตัวอย่างแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี คาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นหรือต้ังขอ้ สนั นิษฐานก่อนที่จะ เริ่มท�ำการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ เมื่อเด็กได้ (4) บอกส่งิ ทพ่ี บจากการสำ� รวจ (4) บอกส่งิ ทพ่ี บจากการส�ำรวจ (4) อภปิ รายผลของการส�ำรวจ ร ว บ ร ว ม ข ้ อ มู ล ม า แ ล ้ ว ก ร ะ ตุ ้ น ใ ห ้ เ ด็ ก บ อ ก ส่ิ ง ที่ พ บ ตรวจสอบเม่อื มีผชู้ ้ีแนะ ตรวจสอบและสรุปขอ้ คน้ พบ ตรวจสอบโดยเปรยี บเทยี บสง่ิ ท่ี ลงความคดิ เหน็ จากขอ้ มลู อภปิ รายและสรปุ ขอ้ คน้ พบรว่ มกนั เมอ่ื มีผชู้ ี้แนะ ตนเองพบกบั สงิ่ ทผี่ อู้ น่ื พบ หรอื • ใชค้ ำ� ถามกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ใหเ้ หตผุ ลในสถานการณต์ า่ ง ๆ เชน่ สง่ิ ทพ่ี บกบั สง่ิ ทค่ี าดคะเน และ - อธิบายเหตุผลประกอบค�ำตอบของตนเอง เช่น “รู้ได้ สรปุ ขอ้ คน้ พบเมอ่ื มีผชู้ ้ีแนะ อย่างไรว่าของกลุม่ นี้มจี �ำนวนมากทสี่ ดุ ” “ร้ไู ดอ้ ย่างไรวา่ ใครสงู กวา่ กัน” (5) ใหเ้ หตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจ (5) ใหเ้ หตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจ (5) ใหเ้ หตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจ - ฟังนิทานและเล่นเกมเรียงล�ำดับบัตรภาพตามเหตุการณ์ ในเรื่องงา่ ย ๆ ตามวัย ในเรอ่ื งง่าย ๆ อย่างเปน็ เหตุ อยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผลดว้ ยตนเอง ก่อนหลัง พร้อมบอกเหตุผลว่า “ท�ำไมหนูเรียงบัตรภาพ เป็นผลเมือ่ มีผูช้ ้แี นะ เชน่ นน้ั ” - เปรยี บเทยี บจำ� นวนของสง่ิ ตา่ ง ๆ จากแผนภมู แิ สดงความชอบ (6) เช่อื มโยงความร้ไู ปใช้ใน (6) เชอื่ มโยงความรูไ้ ปใชใ้ น (6) เชอ่ื มโยงความรไู้ ปใชใ้ น นมรสชาติต่างๆ ของเด็กในห้อง พร้อมบอกเหตุผลว่า ชีวติ ประจำ� วนั เมอื่ มีผู้ชแี้ นะ ชวี ติ ประจ�ำวันหรือ ชวี ติ ประจำ� วนั ในการแกป้ ญั หา “ท�ำไมหนูจึงบอกว่าเพ่ือนในห้องชอบนมรสชาตินี้ ในการแก้ปญั หาเม่ือมผี ู้ชแ้ี นะ และการเรียนรเู้ รอ่ื งอื่นเม่ือมี มากท่ีสดุ ” ผชู้ แี้ นะ - จ�ำแนกรูปเรขาคณิตในระหว่างท�ำกิจกรรมหาสิ่งของ ในหอ้ งท่ีคล้ายรูปเรขาคณิต พร้อมบอกเหตุผลวา่ “ทำ� ไม หนูหยบิ ชน้ิ น้มี า” - ต่อเติมแบบรูปของรูปร่างตามความเข้าใจของตนเอง พรอ้ มบอกเหตผุ ลวา่ “ทำ� ไมจึงตอ่ แบบนี้” - เล่นเกมจ�ำแนกและบอกชนิดของเงินเหรียญและธนบัตร โดยใหเ้ หตผุ ลการจำ� แนกจากลกั ษณะของเงนิ ทสี่ งั เกตพบ 12

ผลการเรยี นรูท้ คี่ าดหวงั ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวัย ตัวอยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • เช่ือมโยงความรใู้ นเร่อื งต่าง ๆ เช่น - ใชค้ วามรทู้ างคณติ ศาสตรเ์ กยี่ วกบั การจำ� แนกรปู เรขาคณติ และตำ� แหน่งในการสรา้ งแบบรปู ของรปู เรขาคณติ ใช้ความรู้เก่ียวกับจ�ำนวนในการนับหนว่ ยวดั ความยาว เพ่ือบอกความยาวของส่ิงทว่ี ดั - ใชค้ วามรทู้ างคณติ ศาสตรก์ บั วทิ ยาศาสตรใ์ นการตง้ั คำ� ถาม เกยี่ วกบั ใบไมใ้ นโรงเรยี น สำ� รวจตน้ ไมใ้ นโรงเรยี น เกบ็ ใบไม้ ท่สี นใจมาคนละใบ สังเกตใบไม้ จดั กล่มุ ใบไมต้ ามรูปรา่ ง ของใบไม้ ได้กีก่ ลมุ่ มรี ปู ร่างคลา้ ยรูปเรขาคณติ อะไรบา้ ง แต่ละกลุม่ มใี บไมจ้ ำ� นวนกใ่ี บ ท�ำแผนภูมิอยา่ งงา่ ยแสดง รปู รา่ งของใบไมใ้ นโรงเรียน โดยอาจให้ติดใบไมล้ งใน แผนภมู ิและแสดงจำ� นวนของใบไมแ้ ตล่ ะกลมุ่ ดว้ ย สญั ลกั ษณ์ตัวเลข - ใช้ความร้ทู างคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในการรว่ มกนั ประกอบอาหารโดยตวงเครอ่ื งปรงุ ตามสตู ร ท่ีร่วมกันคิดหรือตามท่ีก�ำหนด และเลือกใช้อปุ กรณ์ ท่เี หมาะสม 2.6 สอ่ื สารกระบวนการและสิ่งที่คน้ พบจากการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปญั หาหรือสนองความตอ้ งการ ได้อยา่ งเหมาะสมกับวัย (1) น�ำเสนอส่ิงท่คี น้ พบ (1) นำ� เสนอกระบวนการและสิง่ ท่ี (1) นำ� เสนอกระบวนการอยา่ งเปน็ • จัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ ตามวิธกี ารทีผ่ ้อู นื่ ก�ำหนด คน้ พบเพือ่ ถ่ายทอดใหผ้ ้อู นื่ ลำ� ดับ และส่ิงท่คี น้ พบเพอ่ื สบื เสาะหาความรู้ จดั ประสบการณก์ ารเรยี นรแู้ บบโครงงาน เขา้ ใจตามวธิ ที ก่ี ำ� หนด ถา่ ยทอดใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจด้วย หรอื โครงการแลว้ ครกู ระตนุ้ ใหเ้ ดก็ รว่ มนำ� เสนอกระบวนการ วธิ กี ารต่าง ๆ เมอื่ มีผู้ชแ้ี นะ และส่ิงที่ค้นพบด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น พูดบอกเล่า แสดงท่าทาง วาดภาพ สรา้ งชน้ิ งาน 13

ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดับปฐมวัย ตัวอย่างแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • ใหเ้ ดก็ แสดงจำ� นวนโดยใชว้ ธิ กี ารทห่ี ลากหลาย เชน่ เลน่ เกม (2) ใชภ้ าษาหรือสัญลกั ษณ์ท่ี (2) ใช้ภาษาหรือสัญลักษณ์ที่ (2) ใช้ภาษาหรือสัญลักษณ์ที่ หยิบบตั รตวั เลข ขดดินน้�ำมันหรือลวดกำ� มะหย่ีเป็นตัวเลข เก่ียวขอ้ งกบั คณิตศาสตรใ์ น เก่ยี วขอ้ งกับคณิตศาสตรใ์ น เกีย่ วข้องกบั คณติ ศาสตร์ใน แสดงจำ� นวน กระโดดปรบมอื ตามจำ� นวน เลน่ เกมทอยลกู เตา๋ การสอ่ื สาร การสอื่ ความหมาย การสอ่ื สาร การสอ่ื ความหมาย การสอื่ สาร การสอื่ ความหมาย แล้วเดนิ ตามจ�ำนวนจดุ บนหนา้ ลูกเต๋าทน่ี บั ได้ และการนาํ เสนอเพอ่ื ถา่ ยทอด และการนาํ เสนอเพอ่ื ถา่ ยทอด และการนาํ เสนอเพอื่ ถา่ ยทอด • ให้เด็กร่วมกันปั้นแป้งโดประกอบการเล่านิทานโดยใช้ค�ำที่ ใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจเมื่อมีผู้ช้ีแนะ ให้ผู้อ่นื เข้าใจด้วยวิธตี า่ ง ๆ ให้ผอู้ ่ืนเขา้ ใจด้วยวธิ ตี ่าง ๆ ระบุต�ำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง เช่น ข้างบน-ข้างล่าง เมือ่ มผี ชู้ ้แี นะ ด้วยตนเอง ข้างหนา้ -ข้างหลัง ระหว่าง ข้างซ้าย-ขา้ งขวา ใกล-้ ไกล • จดั ชว่ งเวลาใหเ้ ดก็ ผลดั กนั เลา่ กจิ วตั รประจำ� วนั หรอื เหตกุ ารณ์ ประทับใจ โดยให้เรียงล�ำดับเหตุการณ์เป็นช่วงเวลา เช่น กอ่ น-หลงั เช้า เท่ยี ง เย็น กลางวนั กลางคืน หรอื วาดภาพ และเลา่ ถึงกิจกรรมที่ท�ำเมื่อวานน้ี วนั น้ี พร่งุ นี้ • สนทนาเกย่ี วกับขอ้ มูลในการสำ� รวจรสชาตขิ องอาหาร เชน่ ผลไม้ นมทีเ่ ดก็ ชอบจากแผนภูมิท่ชี ว่ ยกันท�ำ เชน่ เท่ากัน ไมเ่ ท่ากัน มากกว่า น้อยกวา่ มากทสี่ ดุ นอ้ ยทสี่ ุด • ใช้สัญลักษณ์เพื่อแสดงล�ำดับข้ันตอนการท�ำงาน (Code) โดยสัญลกั ษณอ์ าจอยูใ่ นรูปของภาพ ตัวอกั ษร ตวั เลข ค�ำ หรืออักขระพิเศษ 14

สาระท่คี วรเรียนร้ทู างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวัย สาระทีค่ วรเรียนรูท้ างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวัย เป็นสื่อกลางในการจดั ประสบการณ์การเรยี นร้ใู ห้เด็กได้รบั การพฒั นาเจตคติและทกั ษะ หรือความสามารถตามผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังที่ก�ำหนดไว้ โดยแบ่งเป็น 2 หัวข้อ ได้แก่ หัวข้อที่ 1 สาระท่ีควรเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับปฐมวัย และ หวั ขอ้ ท่ี 2 สาระทค่ี วรเรยี นรทู้ างคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ซง่ึ มคี วามสอดคลอ้ งกบั สาระทค่ี วรเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 ดงั แสดงในตารางตอ่ ไปนี้ สาระทีค่ วรเรียนรู้ หัวขอ้ สาระท่คี วรเรยี นร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ในระดับปฐมวยั ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย • เรื่องราวเกย่ี วกับตัวเดก็ หัวขอ้ ท่ี 1 สาระทค่ี วรเรียนรูท้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นระดบั ปฐมวัย • เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั บคุ คลและ • สถานที่แวดล้อมเดก็ 1.1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ เรยี นรเู้ กยี่ วกบั รา่ งกาย 1) ชือ่ ลกั ษณะ และสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายของมนษุ ย์ สัตว์ และพืช • ธรรมชาติรอบตัว ของมนษุ ย์ สตั ว์ และพชื การดแู ลรกั ษารา่ งกาย 2) การดแู ลรกั ษาร่างกายของตนเอง สงิ่ ต่าง ๆ รอบตวั เดก็ ของตนเอง การเจริญเติบโตของมนษุ ย์ สัตว์ 3) การเปลีย่ นแปลงลกั ษณะของมนษุ ย์ สัตว์ และพืช เมือ่ เจรญิ เติบโต และพืช การใชป้ ระโยชน์และการดแู ลรกั ษา 4) ประโยชนแ์ ละอนั ตรายของสัตวแ์ ละพืชท่มี ตี อ่ มนษุ ย์ และการดแู ลรักษาสตั ว์และพชื สตั ว์และพชื 1.2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั วตั ถแุ ละ 1) ช่ือ ลักษณะและสว่ นประกอบของวัตถหุ รือส่ิงของเครื่องใช้ การเปลี่ยนแปลงของวัตถุ การใช้ประโยชน์ 2) การใชป้ ระโยชนจ์ ากวตั ถแุ ละการเลอื กใช้วัตถุหรือสง่ิ ของเคร่อื งใช้อย่างเหมาะสม จากวัตถุ การเลือกใช้วัตถุอย่างเหมาะสม 3) การเปลีย่ นแปลงของวัตถหุ รอื ส่งิ ของเครื่องใช้ ผลของแรงท่กี ระทำ� ตอ่ วตั ถุ พลังงานในชวี ิต 4) ผลของแรงทีก่ ระท�ำต่อวัตถหุ รือสิง่ ของเครื่องใช้ ประจ�ำวัน 5) พลงั งานในชวี ติ ประจ�ำวนั และการใชป้ ระโยชนจ์ ากพลังงาน 1.3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั 1) บรเิ วณท่พี บ ลกั ษณะ การใช้ประโยชน์ และการดแู ลรักษาดิน ดิน น�ำ้ และการใช้ประโยชน์ ลมฟ้าอากาศ 2) บรเิ วณท่พี บ ลักษณะ การใชป้ ระโยชน์ และการดูแลรักษานำ้� และการปฏบิ ตั ติ น ทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวนั และ 3) ลักษณะและการเปล่ยี นแปลงของลมฟา้ อากาศ และการปฏบิ ตั ติ นให้เหมาะสม กลางคืน 4) สิ่งทพี่ บบนท้องฟ้าและลักษณะของทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวันและกลางคืน 15

สาระทค่ี วรเรียนรู้ หวั ข้อสาระท่ีควรเรียนร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หัวขอ้ ท่ี 2 สาระทค่ี วรเรยี นรทู้ างคณิตศาสตร์ในระดบั ปฐมวัย 2.1 จำ� นวนและพชี คณติ เรยี นรเู้ กยี่ วกบั การแสดง 1) จ�ำนวนและการด�ำเนินการ จำ� นวน การด�ำเนินการของจำ� นวน แบบรปู 2) แบบรูปและความสมั พันธ์ และความสัมพันธ์ 2.2 การวดั และเรขาคณติ เรยี นรเู้ กยี่ วกบั การวดั 1) ความยาว ความยาว น้�ำหนัก ปริมาตร เวลา เงิน 2) น้�ำหนกั ตำ� แหนง่ ทศิ ทาง ระยะทาง และรปู เรขาคณติ 3) ปรมิ าตร 4) เวลา 5) เงิน 6) ต�ำแหนง่ ทิศทาง และระยะทาง 7) รูปเรขาคณิตสามมติ แิ ละรปู เรขาคณิตสองมติ ิ 2.3 สถิติและความน่าจะเป็น เรียนรู้เก่ียวกับ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และการนำ� เสนอข้อมลู การใหข้ อ้ มลู การจดั กระทำ� และการนำ� เสนอ ข้อมูลท่ีเกี่ยวกับตนเองและส่ิงแวดล้อม ในรปู แผนภมู ิอยา่ งง่าย 16

สาระท่ีควรเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ในแต่ละหัวข้อประกอบไปด้วยหัวข้อย่อย ความคิดรวบยอด และขอบเขตของสาระ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ระดบั ตามช่วงอายขุ องเด็ก ได้แก่ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี และ อายุ 5-6 ปี เพือ่ เป็นแนวทางในการกำ� หนดสาระการเรยี นรู้ และกจิ กรรมการเรียนรูซ้ ่ึงสามารถ ปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ ความสนใจของเด็กเป็นรายบุคคล และสอดคล้องกับบริบทของช้ันเรียน ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ ดงั ตวั อยา่ งแนวการจดั ประสบการณ์ โดยไมค่ วรนำ� สาระทค่ี วรเรยี นรเู้ หลา่ นมี้ าใชใ้ นการบรรยายเพอ่ื บอกความรแู้ กเ่ ดก็ ไมเ่ นน้ การทอ่ งจำ� เนอ้ื หา และไมค่ วรใชใ้ นการวดั และ ประเมินความรู้ของเดก็ ปฐมวยั หวั ขอ้ ท่ี 1 สาระทคี่ วรเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นระดบั ปฐมวยั หัวข้อย่อย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระทค่ี วรเรียนรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตวั อยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 1.1 วิทยาศาสตร์ • มนุษย์ สัตว์ และพชื (1) ช่ือและตำ� แหนง่ (1) ชอื่ ต�ำแหน่ง และ (1) ช่อื ต�ำแหน่ง • สงั เกตรา่ งกายของตนเองและแสดงตำ� แหนง่ ของ ชวี ภาพ แต่ละชนิดมชี ่ือและ ของส่วนตา่ ง ๆ ลกั ษณะของ ลกั ษณะ และหนา้ ท่ี สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายของตนเองโดยวธิ กี ารตา่ ง ๆ 1) ชอ่ื ลกั ษณะ และ ลกั ษณะของสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย ส่วนตา่ ง ๆ ของ ของตา หู จมกู ลน้ิ เชน่ ชบ้ี อก ตอ่ ภาพตดั ตอ่ สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ส่วนต่าง ๆ ที่แตกต่างกนั ไป และ ตนเอง สัตว์ หรอื ร่างกายมนุษย์ และผวิ หนงั ทใ่ี ชใ้ น หรอื จดั วางบตั รภาพสว่ นตา่ ง ๆ บนภาพรา่ งกาย ของรา่ งกาย สามารถจัดกลมุ่ โดยใช้ พืชใกลต้ ัว สตั ว์ หรอื พชื ทส่ี นใจ การรบั รสู้ ่ิงตา่ ง ๆ ใหต้ รงกบั ตำ� แหน่งทเี่ ป็นจริง ของมนษุ ย์ สัตว์ ลกั ษณะท่ีสังเกตได้ • สำ� รวจสตั วแ์ ละพชื ในบรเิ วณโรงเรยี น สนทนาและ และพืช • มนษุ ย์ใช้ตา หู จมูก ล้ิน (2) ความเหมือนและ (2) ความเหมอื น ระบชุ ือ่ และลกั ษณะของสตั วแ์ ละพชื แตล่ ะชนดิ และผวิ หนงั ชว่ ยใน ความแตกตา่ งของ ความแตกตา่ งของ • สงั เกตลกั ษณะและสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมนษุ ย์ การรบั รูส้ งิ่ ต่างๆ ลกั ษณะทส่ี งั เกตได้ ลกั ษณะทส่ี งั เกตได้ สัตว์ หรอื พชื ทสี่ นใจ ของมนษุ ย์ สตั ว์ และการจดั กลมุ่ • สงั เกต เปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ ง หรือพืชทส่ี นใจ มนษุ ย์ สตั ว์ หรือ ของลักษณะทส่ี ังเกตไดข้ องมนษุ ย์ สัตว์ หรอื พืช พืชทสี่ นใจ จากของจรงิ หรอื ใชส้ อื่ บตั รภาพและรว่ มกนั กำ� หนด ลักษณะทใี่ ช้ในการจดั กลุ่มมนุษย์ สัตว์ หรือพืช • เลม่ เกมสงั เกตบตั รภาพและจดั กลมุ่ สตั วท์ ม่ี ลี กั ษณะ เหมอื นกันหรอื ชนิดเดียวกัน 17

หวั ขอ้ ยอ่ ย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระทคี่ วรเรียนรทู้ างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัวอยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • สบื เสาะหาความรู้ โดยจดั สถานการณใ์ หเ้ ดก็ เกดิ ความสนใจหรือสงสัยเกยี่ วกบั สว่ นตา่ ง ๆ ของ รา่ งกายของมนษุ ยท์ ใี่ ชใ้ นการรบั รสู้ งิ่ ตา่ ง ๆ โดยใชส้ อ่ื และแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตง้ั คำ� ถามแลว้ รว่ มกนั วางแผนและลงมอื ทำ� การสบื เสาะหาความรู้ และบนั ทกึ ข้อมูลดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆ เช่น สังเกต สำ� รวจ สบื คน้ ขอ้ มลู สอบถามผรู้ ู้ อภปิ รายและบอก ขอ้ คน้ พบเกยี่ วกบั ชอ่ื หนา้ ทขี่ องสว่ นตา่ ง ๆ ของ รา่ งกายของมนษุ ย์ท่ใี ชใ้ นการรับรสู้ ิ่งตา่ ง ๆ 2) การดแู ลรักษา • เราตอ้ งดแู ลรกั ษา (2) การดแู ลรักษา (3) การดูแลรกั ษา (3) การดแู ลรักษา • ฟงั คำ� คลอ้ งจอง เพลง นทิ าน แสดงบทบาทสมมติ รา่ งกายของ ส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย ความสะอาด สว่ นต่าง ๆ ของ ส่วนตา่ ง ๆ ของ เพอื่ แสดงวธิ กี ารดแู ลรกั ษาสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย ตนเอง ใหส้ ะอาดและปลอดภยั ของรา่ งกาย รา่ งกายตนเอง รา่ งกายตนเอง ตนเองให้สะอาดและปลอดภัย ตนเอง ใหส้ ะอาดและ ท่ีใช้ในการรับรู้ ปลอดภัย ส่ิงตา่ ง ๆ • แสดงบทบาทสมมติเพ่ือแสดงวิธีการดูแลรักษา ให้ปลอดภัย สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายของมนษุ ยท์ ใี่ ชใ้ นการรบั รู้ สง่ิ ตา่ ง ๆ ให้ปลอดภัย • ฝึกปฏิบัติการดูแลรักษาส่วนต่างๆ ของร่างกาย ตนเองใหส้ ะอาดและปลอดภยั 18

หัวข้อยอ่ ย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระทคี่ วรเรียนรูท้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตวั อยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 3) การเปลยี่ นแปลง • มนุษย์ สตั ว์ และพชื (3) การเปลยี่ นแปลง (4) การเปลย่ี นแปลง (4) การเปลย่ี นแปลง • สบื เสาะหาความรู้ โดยจดั สถานการณใ์ หเ้ ดก็ เกดิ ลักษณะของ มีการเปล่ียนแปลง ลกั ษณะของ ลกั ษณะของมนษุ ย์ ลกั ษณะของ ความสนใจหรอื สงสยั เกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตและ มนษุ ย์ สตั ว์ ลักษณะเมอื่ เจรญิ เตบิ โต รา่ งกายตนเอง สัตว์ หรือพืช มนุษย์ สตั วห์ รือ การเปลย่ี นแปลงของมนษุ ย์ สตั ว์ หรอื พชื โดยใช้ และพชื ขึน้ ตามล�ำดับ สัตว์ หรือพชื ที่สนใจ เม่อื มี พืชที่สนใจ เมือ่ มี สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้ ตา่ ง ๆ กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตง้ั คำ� ถาม เมอ่ื เจรญิ เตบิ โต ที่ใกล้ตัว การเจรญิ เติบโต การเจริญเตบิ โต แล้วร่วมกันวางแผนและลงมือท�ำการสืบเสาะ ขึน้ ตามล�ำดับ หาความรแู้ ละบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ ปลกู พชื หรอื เลย้ี งสตั วท์ สี่ นใจ สงั เกต อภปิ รายและ บอกขอ้ คน้ พบเกยี่ วกบั การเปลยี่ นแปลงของพชื หรอื สตั วเ์ ม่ือเจรญิ เติบโต • เลม่ เกมเรยี งลำ� ดบั บตั รภาพการเจรญิ เตบิ โตของ มนุษย์ สัตว์หรือพืช 4) ประโยชนแ์ ละ • สตั ว์และพืชมปี ระโยชน์ (4) ประโยชน์ของ (5) ประโยชนข์ อง (5) ประโยชนแ์ ละ • ฟังเพลงและร่วมกันเล่านิทานถึงผลกระทบของ อนั ตรายของสตั ว์ ต่อมนุษย์ในดา้ นต่าง ๆ สัตว์หรือพชื สตั วห์ รอื พชื อันตรายของสตั ว์ การทง้ิ ขยะลงในแหลง่ นำ้� อภปิ รายถงึ วธิ กี ารอนรุ กั ษ์ และพืชทม่ี ตี ่อ เชน่ การใช้เป็นอาหาร ทใ่ี กลต้ วั หรือ ทีใ่ กล้ตวั หรอื หรือพชื ท่ใี กล้ตัว แหลง่ นำ�้ เพอื่ ใหส้ ตั วแ์ ละพชื ทอ่ี ยใู่ นนำ้� ดำ� รงชวี ติ อยไู่ ด้ มนษุ ย์ และ การเลย้ี งหรอื ปลกู ไว้ สนใจและวิธกี าร สนใจทม่ี ตี อ่ มนษุ ย์ หรือสนใจทม่ี ีตอ่ • สบื เสาะหาความรู้ โดยจดั สถานการณใ์ หเ้ ดก็ เกดิ การดแู ลรักษา เพ่อื ความเพลดิ เพลนิ ดแู ลรักษาสตั ว์ และวธิ ีการ มนุษย์ ความสนใจหรอื สงสยั เกย่ี วกบั ประโยชนข์ องสตั วแ์ ละ สตั ว์และพืช และสวยงาม หรือพชื ท่ีใกลต้ ัว ดูแลรกั ษาสตั ว์ พชื ทมี่ ตี อ่ มนษุ ยใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ และอนั ตรายจากสตั ว์ หรอื สนใจ หรอื พชื ใกล้ตวั และพชื ทม่ี ตี อ่ มนษุ ย์ ผลกระทบและการดแู ลรกั ษา หรอื สนใจ สตั ว์หรอื พืช โดยใช้สอื่ และแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ 19

หวั ข้อยอ่ ย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระทค่ี วรเรยี นรทู้ างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตวั อย่างแนวการจัดประสบการณ์ • การนำ� สตั วแ์ ละพชื มาใช้ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี - กระตุ้นให้เด็กต้ังค�ำถาม เช่น สัตว์หรือพืช ประโยชนม์ ากเกนิ ไป (6) ผลกระทบต่อสตั ว์ มปี ระโยชนก์ บั เราอยา่ งไร อนั ตรายจากสตั วแ์ ละ หรือไม่ดแู ลรกั ษาสตั ว์ หรือพชื ทเ่ี กดิ จาก พชื ทพ่ี บทโี่ รงเรยี นมอี ะไรบา้ งและควรหลกี เลยี่ ง และพืช อาจทำ� ให้ การใชป้ ระโยชน์ อันตรายนี้อย่างไร การน�ำสัตว์และพืชมาใช้ เกดิ ผลกระทบตอ่ สตั ว์ และวิธกี ารดแู ล ประโยชนแ์ ลว้ ไมด่ แู ลสตั วแ์ ละพชื จะเปน็ อยา่ งไร หรือพืช เชน่ ทำ� ให้มี รกั ษาสตั วห์ รือพืช หรือเราจะมวี ธิ กี ารดแู ลสตั ว์และพืชอยา่ งไร จำ� นวนลดลง บาดเจ็บ - ร่วมกันวางแผนและลงมือท�ำการสืบเสาะ เสยี หาย หรือตาย หาความรแู้ ละบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ • สตั ว์หรอื พืชบางชนิด ส�ำรวจสัตว์หรือพืชและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ อาจมีอนั ตรายตอ่ มนุษย์ การใช้ประโยชน์ของสัตว์หรือพืช สอบถาม จงึ ตอ้ งหลกี เลี่ยง ผปู้ กครองหรอื คนในชมุ ชนเกยี่ วกบั อนั ตรายจาก อนั ตรายทอี่ าจจะ สตั วแ์ ละพชื และแนวทางการหลกี เลย่ี งอนั ตราย เกดิ ข้นึ สังเกต ส�ำรวจหรือสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ ผลท่ีเกิดขึ้นต่อสัตว์หรือพืชเมื่อมนุษย์น�ำมา ใชป้ ระโยชน์และไม่ดแู ล - อภปิ รายและบอกขอ้ คน้ พบเกย่ี วกบั การนำ� สตั ว์ และพชื มาใชป้ ระโยชน์ ผลกระทบและวธิ ดี แู ล สัตวแ์ ละพืช - นำ� ขอ้ คน้ พบทไี่ ดจ้ ากการสบื เสาะหาความรไู้ ปใช้ ในการดแู ลสตั วแ์ ละพชื ใกลต้ วั อยา่ งเหมาะสม 20

หัวข้อยอ่ ย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระทีค่ วรเรียนรทู้ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตวั อย่างแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 1.2 วทิ ยาศาสตร์ • วตั ถุหรือสิง่ ของ (1) ชือ่ และลักษณะ (1) ชอ่ื ลกั ษณะ และ (1) ชื่อ ลกั ษณะ • สำ� รวจวตั ถุ สง่ิ ของเครอื่ งใชห้ รอื ของเลน่ ในหอ้ งเรยี น กายภาพ เครอ่ื งใชท้ ่ีใกลต้ วั ของวัตถหุ รือ ส่วนประกอบของ ส่วนประกอบของ สนทนาและระบชุ อื่ เรยี กและลกั ษณะของวตั ถหุ รอื 1) ช่อื ลักษณะ มีช่ือ ลักษณะ และ สิ่งของเครอื่ งใช้ วตั ถหุ รอื สิ่งของ วัตถุหรอื สงิ่ ของ สงิ่ ของเครอ่ื งใช้ เชน่ รปู รา่ ง สี ขนาด ผวิ สมั ผสั และสว่ นประกอบ สว่ นประกอบต่าง ๆ ทใี่ กลต้ วั หรอื สนใจ เคร่ืองใช้ทใ่ี กล้ตัว เคร่อื งใช้ตา่ ง ๆ • สงั เกตและระบลุ กั ษณะและสว่ นประกอบของวตั ถุ ของวตั ถหุ รอื ที่แตกตา่ งกนั ไป และ หรอื สนใจ และการจัดกลุ่ม หรอื สง่ิ ของเครอื่ งใชท้ ่ีใกลต้ ัวหรอื ของเล่นที่สนใจ สง่ิ ของ สามารถจัดกลมุ่ ได้ ของวตั ถหุ รอื • สังเกต เปรียบเทยี บและจัดกลมุ่ วัตถหุ รือสง่ิ ของ เครอื่ งใช้ โดยใชล้ กั ษณะหรือ สิ่งของเครอื่ งใช้ เครื่องใช้ที่ใกล้ตัว โดยใช้ของจริงหรือภาพถ่าย ส่วนประกอบ ตามลกั ษณะหรือ โดยร่วมกันกำ� หนดเกณฑ์ในการจัดกลุ่มสิ่งของ ทเี่ หมอื นกัน สว่ นประกอบ เครอื่ งใชท้ ม่ี สี ว่ นประกอบเหมอื นกนั เชน่ สงิ่ ของ ทม่ี ฝี ากับไม่มีฝา มีลอ้ กับไม่มลี ้อ 2) การใชป้ ระโยชน์ • ส่ิงของเคร่อื งใช้ (2) ประโยชน์ของ (2) ประโยชน์และ (2) ประโยชน์ • สงั เกตและอภปิ รายเกย่ี วกบั ประโยชนข์ องสง่ิ ของ จากวัตถแุ ละ ทม่ี นษุ ย์สรา้ งขนึ้ สิง่ ของเครื่องใช้ วธิ ีการใช้งาน วธิ กี ารใชง้ าน และ เคร่ืองใช้ที่ใกล้ตัวอาจแนะน�ำหรือให้เด็กสืบค้น การเลือกใช้วตั ถุ แตล่ ะชนดิ มีประโยชน์ ของตนเอง สิ่งของเคร่ืองใช้ ความเหมาะสม เก่ียวกับวิธีการใช้งานของส่ิงของเคร่ืองใช้ท่ีเด็ก หรอื ส่งิ ของ และการใช้งานต่างกัน ในชวี ิตประจำ� วัน ของสงิ่ ของเครอื่ งใช้ สนใจ และให้เดก็ แสดงวธิ กี ารใช้สง่ิ ของเครอื่ งใช้ เคร่อื งใช้ ในการนำ� มาใชง้ าน อยา่ งปลอดภัย อยา่ งเหมาะสม 21

หวั ขอ้ ย่อย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระที่ควรเรียนรู้ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัวอยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ • การเลอื กใชส้ ิง่ ของ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี เคร่ืองใชแ้ ตล่ ะชนดิ (3) การใชส้ ิง่ ของ (3) การใชส้ งิ่ ของ (3) การเลอื กใชแ้ ละ • สืบเสาะหาความรู้โดยจัดสถานการณ์ให้เด็ก ตอ้ งเลอื กตามหนา้ ท่ี เครอื่ งใช้ เครอ่ื งใช้ใน การใชส้ ่งิ ของ เกดิ ความสนใจหรอื สงสยั เกย่ี วกบั การเลอื กใชส้ งิ่ ของ ใช้สอยและค�ำนึงถึง ของตนเอง ชวี ติ ประจำ� วนั เครือ่ งใชใ้ นชวี ติ เคร่ืองใช้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย และรักษา ความปลอดภยั ตอ่ ชวี ติ อยา่ งเหมาะสม อยา่ งปลอดภยั และ ประจำ� วนั โดย สงิ่ แวดลอ้ ม โดยใช้สอ่ื และแหล่งเรียนรตู้ า่ ง ๆ และรกั ษาสงิ่ แวดล้อม เหมาะสมกับวยั ค�ำนึงถึง - กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตง้ั คำ� ถาม เชน่ สง่ิ ของทเี่ ดก็ สนใจ ความปลอดภยั ของ มวี ธิ กี ารใชง้ านอยา่ งไร ควรทำ� อยา่ งไรจงึ จะใชไ้ ด้ • สิ่งของเครื่องใช้ ชวี ติ และรักษา อย่างปลอดภัย มีอะไรที่สามารถน�ำมาใช้ใน บางอย่างสามารถลด สง่ิ แวดลอ้ ม การตดั กระดาษได้บา้ ง และเด็ก ๆ จะเลือกใช้ การใช้และ/หรือน�ำ (4) การลดการใช้ อะไร เพราะเหตุใด หรือมีส่ิงของอะไรบ้าง กลบั มาใช้ซำ้� เพื่อรกั ษา ส่ิงของเครอ่ื งใช้ ที่สามารถน�ำกลับมาใช้ซำ้� ได้ สง่ิ แวดล้อม และ/หรอื - ร่วมกันวางแผนและลงมือท�ำการสืบเสาะ นำ� กลบั มาใชซ้ ำ�้ เพอ่ื หาความรแู้ ละบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ รักษาสง่ิ แวดลอ้ ม สำ� รวจและสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ประโยชนแ์ ละ วิธีการใช้งานของสิ่งของเคร่ืองใช้ที่สนใจ เปรยี บเทยี บ จำ� แนก และจดั กลมุ่ สง่ิ ของเครอื่ งใช้ ทใี่ กลต้ วั โดยใชป้ ระโยชนใ์ นการใชง้ านเปน็ เกณฑ์ สำ� รวจและจำ� แนกสงิ่ ของเครอ่ื งใชเ้ พอื่ นำ� กลบั มา ใช้ซำ้� หรือดัดแปลงแลว้ นำ� กลบั มาใชใ้ หม่ - อภปิ รายและบอกขอ้ คน้ พบเกยี่ วกบั การเลอื กใช้ สงิ่ ของเครอ่ื งใชอ้ ยา่ งเหมาะสม ปลอดภยั รกั ษา ส่ิงแวดล้อม 22

หัวขอ้ ยอ่ ย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระท่ีควรเรียนรู้ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตวั อยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี - นำ� ขอ้ คน้ พบทไี่ ดจ้ ากการสบื เสาะหาความรไู้ ปใช้ ในการเลือกใช้สิ่งของเคร่ืองใช้อย่างปลอดภัย ประหยดั และลดการใช้ หรอื นำ� สง่ิ ของเครอื่ งใช้ มาใช้ซ�้ำโดยการออกแบบและสร้างของเล่น ของใชต้ ามกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 3) การเปลย่ี นแปลง • วตั ถุหรอื สิง่ ของ (4) การเปลี่ยนแปลง (4) การเปลีย่ นแปลง (5) การเปล่ยี นแปลง • สบื เสาะหาความรู้ โดยจดั สถานการณใ์ หเ้ ดก็ เกดิ ของวัตถหุ รือ เครอ่ื งใช้อาจ ของวัตถหุ รือ ของวตั ถุหรือ ของวตั ถุหรอื ความสนใจหรอื สงสยั เกยี่ วกบั การเปลย่ี นแปลงของ สง่ิ ของเคร่ืองใช้ เปล่ยี นแปลงลักษณะ ส่ิงของเครอื่ งใช้ สง่ิ ของเคร่อื งใช้ ส่งิ ของเคร่อื งใช้ วัตถุหรือส่ิงของเครื่องใช้ที่สนใจ โดยใช้สื่อและ เมื่อผสมกับส่งิ อ่นื หรือ เมือ่ ผสมกบั ส่งิ อน่ื เมอื่ ผสมกบั ส่ิงอืน่ แหล่งเรียนร้ตู า่ ง ๆ เมอ่ื ทำ� ใหร้ อ้ นข้ึนหรอื หรือเม่อื ทำ� ให้ - กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตง้ั คำ� ถาม เชน่ ถา้ นำ� สงิ่ ของบางอยา่ ง เย็นลง รอ้ นขนึ้ หรอื เยน็ ลง มาทำ� ใหร้ อ้ นขนึ้ หรอื เยน็ ลงดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ นำ� สง่ิ ของไปไวก้ ลางแดดหรอื ใสใ่ นชอ่ งแชแ่ ขง็ ต้มหรอื ทอดไข่ ใสไ่ อศกรีม น้ำ� หรอื วนุ้ ในช่อง แช่แข็ง แล้วส่ิงน้ันจะเป็นอย่างไร ถ้าผสม บางอย่างเขา้ ดว้ ยกนั เช่น ผสมนำ้� กบั แปง้ นำ�้ กับน�้ำตาล จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร หรือถ้าใส่บางอยา่ งลงไปในนำ้� จะเกิดอะไรข้ึน - ร่วมกันวางแผนและลงมือท�ำการสืบเสาะ หาความรแู้ ละบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ ทดลองน�ำดินนำ้� มนั น�้ำแข็ง เทียนไข เหรยี ญ รบั ความรอ้ นจากดวงอาทติ ยห์ รอื ใสใ่ นชอ่ งแชแ่ ขง็ ของตเู้ ยน็ ในระยะเวลาเทา่ กนั จากนน้ั สงั เกตและ 23

หัวขอ้ ยอ่ ย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระที่ควรเรียนรทู้ างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัวอยา่ งแนวการจดั ประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี เปรยี บเทยี บการเปลยี่ นแปลงของวตั ถแุ ตล่ ะชนดิ ทดสอบใหค้ วามร้อนกบั ไข่ด้วยวธิ ีตา่ ง ๆ เช่น ตม้ ทอด แล้วสงั เกตการเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ้น ทดสอบ ท�ำให้วัตถุเย็นลงแล้วสังเกต การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ เชน่ ไอศกรมี นำ้� วนุ้ ทดสอบผสมส่วนผสมต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น น้�ำกับแป้ง น้�ำกับน�้ำตาล แล้วสังเกต การเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้น ทดสอบใส่วัตถุ หรือสิ่งของเครื่องใช้ลงไปในน�้ำ สังเกต การเปล่ียนแปลงทเ่ี กิดขึน้ กบั วัตถุ - อภิปรายและบอกข้อค้นพบเก่ียวกับ การเปลย่ี นแปลงของวตั ถหุ รอื สง่ิ ของเครอ่ื งใช้ - นำ� ขอ้ คน้ พบทไ่ี ดจ้ ากการสบื เสาะหาความรไู้ ปใช้ ในการเลือกใช้วัตถุหรือส่ิงของเคร่ืองใช้ให้ เหมาะสมกบั การใชง้ าน หรอื การเลอื กใชว้ ธิ กี าร ท่เี หมาะสม 4) ผลของแรงที่ • เมอื่ ออกแรงกระท�ำตอ่ (5) ผลของ (5) ผลของ (6) ผลของแรงทีม่ า • สืบเสาะหาความรู้ โดยจัดสถานการณ์ให้เด็ก กระท�ำต่อวัตถุ วตั ถุหรอื สงิ่ ของ การออกแรง การออกแรง จากแหลง่ ตา่ ง ๆ เกิดความสนใจหรือสงสัยเกี่ยวกับผลของแรง หรอื สง่ิ ของ เครือ่ งใช้ด้วยวิธตี า่ ง ๆ กระท�ำตอ่ กระทำ� ตอ่ ที่มากระท�ำตอ่ ท่ีกระท�ำต่อวัตถุหรือส่ิงของเครื่องใช้ท่ีสนใจ เคร่อื งใช้ เชน่ ผลกั ดึง บีบ ทุบ วตั ถหุ รอื สิ่งของ วตั ถุหรือส่ิงของ วตั ถหุ รือส่งิ ของ โดยใช้ส่ือและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เคาะ อาจทำ� ให้วตั ถุ เครือ่ งใช้ เครอ่ื งใช้ดว้ ย เครื่องใช้ หรือส่งิ ของเครอื่ งใช้ วธิ กี ารตา่ ง ๆ เกดิ การเปลีย่ นแปลง 24

หัวข้อยอ่ ย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระท่คี วรเรียนรูท้ างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัวอย่างแนวการจัดประสบการณ์ ตา่ ง ๆ เช่น อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี - กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตง้ั คำ� ถาม เชน่ ถา้ ออกแรงกระทำ� เปลี่ยนแปลงรปู ร่าง หรือการเคล่ือนที่ ต่อสงิ่ ของบางอยา่ ง เชน่ บบี หรอื ทุบดินนำ�้ มัน • เมอื่ มีแรงจาก เตะหรือผลักลูกบอล ดึงหรือลากโต๊ะ แล้ว แหลง่ ตา่ ง ๆ มากระท�ำ สง่ิ ของนนั้ จะเปน็ อยา่ งไร หรอื ถา้ มแี รงทม่ี าจาก ต่อวตั ถุหรือสิ่งของ แหลง่ ตา่ ง ๆ เชน่ ลม นำ้� หรอื แมเ่ หลก็ มากระทำ� เคร่ืองใช้ เช่น น้�ำ หรือ ตอ่ สง่ิ ของบางอยา่ ง แลว้ ของสงิ่ นนั้ จะเปน็ อยา่ งไร อากาศ แมเ่ หลก็ - รว่ มกนั วางแผน ลงมอื ทำ� การสบื เสาะหาความรู้ อาจท�ำให้วตั ถุหรอื และบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ ทดลอง สิ่งของเครื่องใช้ ออกแรง กระท�ำตอ่ วตั ถหุ รือส่ิงของเคร่ืองใช้ มกี ารเปลย่ี นแปลง ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ แลว้ สงั เกตการเปลย่ี นแปลง รูปร่างหรือการเคลื่อนที่ ลักษณะหรือการเคลื่อนที่ท่ีเกิดข้ึน เช่น ปั้นดินน้�ำมันหรือแป้งโดเป็นรูปร่างต่าง ๆ ลากสง่ิ ของ เตะหรือโยนลกู บอล ฉดี นำ้� ใส่วัตถุ หรือสิ่งของเคร่ืองใช้ เป่าวัตถุหรือส่ิงของ เครอื่ งใช้ เลน่ กงั หนั ลม นำ� แมเ่ หลก็ มาไวใ้ กล้ ๆ กบั สง่ิ ของต่างๆ - อภปิ รายและบอกขอ้ คน้ พบเกย่ี วกบั ผลของแรง ทกี่ ระทำ� ต่อวตั ถุหรือสงิ่ ของเคร่อื งใช้ - นำ� ขอ้ คน้ พบทไี่ ดจ้ ากการสบื เสาะหาความรไู้ ปใช้ ใ น ก า ร ท� ำ ใ ห ้ วั ต ถุ ห รื อ สิ่ ง ข อ ง เ ค รื่ อ ง ใ ช ้ เกิดการเปล่ียนแปลงรูปร่างหรือการเคล่ือนท่ี ในชีวติ ประจำ� วันหรือกจิ กรรมอื่น ๆ 25

หัวขอ้ ย่อย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระท่ีควรเรียนร้ทู างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตวั อย่างแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 5) พลังงานใน • รอบตัวเรามีเสยี งตา่ ง ๆ (6) เสยี งต่าง ๆ (6) เสียงที่เกิดจาก (7) เสยี งทเ่ี กดิ จาก • สำ� รวจเสยี งทพ่ี บโดยเรม่ิ จากเสยี งทอ่ี ยรู่ อบตวั และ ชวี ิตประจำ� วนั ทมี่ าจากแหล่งกำ� เนิด รอบตัว แหล่งก�ำเนิดเสียง แหลง่ ก�ำเนดิ เสยี ง คนุ้ เคย เชน่ เสยี งภายในบรเิ วณโรงเรยี น และรว่ มกนั และการใช้ เสียงตา่ งกัน ทต่ี ่างกัน และวิธกี ารท�ำให้ ระบแุ หล่งก�ำเนิดเสยี ง ประโยชน์ เราสามารถท�ำให้ เกิดเสียง • เลน่ เกมทายแหลง่ กำ� เนดิ เสยี งโดยอาจใชส้ อื่ ของจรงิ จากพลงั งาน สิง่ ตา่ ง ๆ เกดิ เสยี ง ทแ่ี ตกต่างกัน มาทำ� ใหเ้ กดิ เสยี งหรอื ใชเ้ สยี งจากสอื่ ดจิ ทิ ลั รปู แบบ ดว้ ยวิธตี ่าง ๆ ต่าง ๆ • แสงช่วยให้มองเห็น (7) การมองเหน็ (7) การเกิดเงาเมอื่ มี (8) รปู ร่างของเงา • ทดสอบทำ� ใหว้ ตั ถหุ รอื สง่ิ ของเครอื่ งใชเ้ กดิ เสยี งโดย สิ่งต่าง ๆ ได้ และ ส่ิงต่าง ๆ สงิ่ ตา่ ง ๆ ไปบงั แสง ขน้ึ อยกู่ บั สง่ิ ตา่ ง ๆ ใชว้ ธิ ีต่าง ๆ เมอ่ื มีส่งิ ต่าง ๆ เมือ่ มีแสง ทม่ี าบงั แสง • เลน่ เกมจบั คเู่ สยี ง โดยใชก้ ลอ่ งทม่ี ลี กั ษณะเหมอื นกนั ไปบังแสงจะมเี งาเกดิ ขึ้น ใสส่ งิ่ ของทเ่ี หมอื นและแตกตา่ งกนั กลอ่ งละ 1 ชน้ิ โดยรปู ร่างของเงาขนึ้ อยู่ ทดสอบทำ� ใหเ้ กดิ เสยี ง เปรยี บเทยี บเสยี งทไ่ี ดย้ นิ แลว้ กบั สิ่งที่นำ� มาบงั แสงนนั้ จับคูก่ ลอ่ งท่ใี สส่ ิง่ ของที่มเี สยี งเหมอื นกนั • การท�ำกจิ กรรมตา่ ง ๆ (8) กจิ กรรมท่ใี ช้ (8) กจิ กรรมทีใ่ ช้แสง (9) กจิ กรรมทใ่ี ชแ้ สง • เลน่ กบั เงาโดยใชส้ ว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายหรอื สงิ่ ของ อาจตอ้ งใช้แสง แสง ความร้อน ความร้อน ไฟฟ้า ความร้อน ไฟฟ้า รอบตวั แลว้ สงั เกตรูปร่างของเงาทีเ่ กดิ ข้นึ ความร้อน ไฟฟ้า ไฟฟา้ ในชวี ิต ทีม่ าจากแหล่ง ที่มาจากแหล่ง • สำ� รวจเงาทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยใชไ้ ฟฉายสอ่ งผา่ นสง่ิ ตา่ ง ๆ ซึง่ ไดม้ าจากแหล่งต่าง ๆ ประจ�ำวัน ต่าง ๆ ในชีวิต ตา่ ง ๆ ในชวี ิต แล้วสังเกตลกั ษณะของเงาท่เี กดิ ขน้ึ เช่น ดวงอาทิตย์ น�้ำ ลม ประจำ� วนั ประจ�ำวัน • สงั เกตและบอกรปู รา่ งของเงาทเ่ี กดิ จากสง่ิ ตา่ ง ๆ • แหล่งพลังงานทใ่ี ช้ใน (9) การใชไ้ ฟฟ้า (9) การใชไ้ ฟฟา้ (10) การใชไ้ ฟฟ้า รอบตวั มาบงั แสงจากดวงอาทติ ยใ์ นชว่ งเวลาตา่ ง ๆ การผลิตไฟฟ้ามอี ยู่ ในชวี ิตประจำ� วนั ในชีวติ ประจ�ำวนั ในชีวติ ประจ�ำวัน • สบื เสาะหาความรู้ โดยจดั สถานการณใ์ หเ้ ดก็ เกดิ จำ� กัด เราจึงต้องใช้ อย่างประหยัด อยา่ งประหยดั อย่างประหยัด ความสนใจหรอื สงสยั เกย่ี วกบั การใชแ้ สง ความรอ้ น ไฟฟา้ อย่างประหยัด ไฟฟา้ ทมี่ าจากแหลง่ ตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำ� วนั โดยใช้ สอ่ื และแหลง่ เรยี นรูต้ า่ ง ๆ 26

หัวข้อย่อย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระท่คี วรเรียนรทู้ างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัวอยา่ งแนวการจดั ประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี - กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตงั้ คำ� ถาม เชน่ ทำ� ไมตากผา้ แลว้ แหง้ ไฟฟ้ามาจากไหน - รว่ มกนั วางแผนและลงมอื ทำ� การสบื เสาะหาความรู้ และบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ สำ� รวจ และสืบค้นเกี่ยวกับพลังงาน เช่น ไฟฟ้า แสง ความรอ้ น และแหลง่ พลงั งานในชวี ติ ประจำ� วนั ที่เด็กสนใจและได้ใช้จริง รวมถึงพลังงานท่ีมี ในชมุ ชนตามบริบทของเด็กเอง - บอกขอ้ คน้ พบเกยี่ วกบั กจิ กรรมทใ่ี ชพ้ ลงั งานและ แหล่งพลังงานในชวี ติ ประจำ� วัน - น�ำข้อค้นพบที่ได้จากการสืบเสาะหาความรู้ เกยี่ วกบั การใชพ้ ลงั งานในชวี ติ ประจำ� วนั อยา่ ง ประหยัด 1.3 วิทยาศาสตร์โลก • ดินพบไดต้ ามบริเวณ (1) บริเวณทีพ่ บดนิ (1) ลกั ษณะของดิน (1) ลกั ษณะของดนิ • สำ� รวจดนิ ตามบรเิ วณตา่ ง ๆ รอบโรงเรยี นและระบุ และอวกาศ ต่าง ๆ รอบตวั รอบตวั จากบริเวณต่าง ๆ ประโยชน์ของดนิ วา่ พบดนิ ทบ่ี ริเวณใดบา้ ง 1) บรเิ วณทพ่ี บ • ดนิ จากบริเวณต่าง ๆ ที่อย่รู อบตวั และการดแู ลรกั ษา • สงั เกตตวั อยา่ งดนิ จากบรเิ วณตา่ ง ๆ และเปรยี บเทยี บ ลักษณะ การใช้ มีลักษณะที่สามารถ ดินในบริเวณ ลักษณะของดนิ เชน่ สี ผิวสมั ผสั ประโยชน์ และ สงั เกตได้ เชน่ สี ต่าง ๆ ทอี่ ยู่ • ส�ำรวจและบอกการน�ำดินมาใช้ประโยชน์และ การดแู ลรกั ษาดนิ ผิวสัมผสั โดยอาจมี รอบตัว การดูแลรักษาดิน เชน่ นำ� ดินมาปลูกต้นไมค้ วร ท้ังลกั ษณะที่เหมือนกัน พรวนดินและใส่ปุย๋ เพอื่ บำ� รงุ ดิน และแตกตา่ งกนั • สบื เสาะหาความรู้ โดยจดั สถานการณใ์ หเ้ ดก็ เกดิ ความสนใจหรอื สงสยั เกยี่ วกบั บรเิ วณทพี่ บ ลกั ษณะ 27

หวั ขอ้ ย่อย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระที่ควรเรยี นรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัวอยา่ งแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • มนษุ ยน์ ำ� ดนิ มาใช้ การใช้ประโยชน์จากดินและการดูแลรักษาดิน ประโยชน์ เชน่ น�ำมา โดยใชส้ ่อื และแหลง่ เรียนรู้ตา่ ง ๆ ปลูกพชื ทำ� เป็นสิ่งของ - กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตง้ั คำ� ถาม เชน่ ดนิ แตล่ ะบรเิ วณ เครื่องใช้ เราจงึ ตอ้ ง ดูแลรักษาดนิ มลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร เรานำ� ดนิ มาใชป้ ระโยชน์ อะไรบา้ ง มวี ิธกี ารดูแลรักษาดนิ อยา่ งไร - รว่ มกนั วางแผน ลงมอื ทำ� การสบื เสาะหาความรู้ และบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ สำ� รวจ สบื คน้ ขอ้ มลู ทศั นศกึ ษาตามแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทดลองปลกู พชื และสงั เกตการเจรญิ เตบิ โตของพชื - อภปิ รายและบอกขอ้ คน้ พบเกย่ี วกบั ลกั ษณะของ ดนิ บรเิ วณทพ่ี บ การใชป้ ระโยชนจ์ ากดนิ และ การดแู ลรกั ษาดนิ - นำ� ขอ้ คน้ พบทไ่ี ดจ้ ากการสบื เสาะหาความรไู้ ปใชใ้ น การดแู ลรกั ษาดนิ 2) บริเวณทพี่ บ • น�ำ้ พบไดต้ ามบริเวณ (2) บรเิ วณทีพ่ บน้�ำ (2) ลกั ษณะของนำ้� จาก (2) ลักษณะเฉพาะ • สำ� รวจนำ�้ ตามบรเิ วณตา่ ง ๆ รอบโรงเรยี นและระบวุ า่ ลกั ษณะ การใช้ ตา่ ง ๆ รอบตวั เช่น รอบตัว บรเิ วณตา่ ง ๆ บางอย่างของนำ�้ พบน้�ำทบี่ ริเวณใดบา้ ง ประโยชน์ และ ทะเล แม่นำ้� ทะเลสาบ ทอี่ ยรู่ อบตวั ประโยชน์ของน�้ำ • สงั เกตลกั ษณะของนำ้� เมอ่ื ใสใ่ นภาชนะรปู ทรงตา่ ง ๆ การดแู ลรกั ษานำ�้ บึง น�้ำตก และการดแู ล • ส�ำรวจและบอกการน�ำน้�ำมาใช้ประโยชน์ และ • นำ้� มลี กั ษณะที่สังเกต รกั ษานำ�้ ในบรเิ วณ การดแู ลรกั ษานำ�้ เชน่ การนำ� นำ้� มาดมื่ ใชช้ ำ� ระลา้ ง พบได้ เชน่ เหลว ไหล ต่าง ๆ ทอ่ี ยู่ รา่ งกาย เราจงึ ไมค่ วรทงิ้ ขยะลงในแหลง่ นำ้� ตา่ ง ๆ • มนษุ ยน์ �ำน�้ำมาใช้ รอบตวั • สบื เสาะหาความรู้ โดยจดั สถานการณใ์ หเ้ ดก็ เกดิ ประโยชน์ เชน่ ความสนใจหรอื สงสยั เกยี่ วกบั บรเิ วณทพ่ี บ ลกั ษณะ 28

หัวขอ้ ยอ่ ย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระท่คี วรเรยี นรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัวอย่างแนวการจดั ประสบการณ์ นำ� นำ�้ มาด่ืม อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี การใชป้ ระโยชนจ์ ากนำ้� และการดแู ลรกั ษานำ�้ โดยใช้ ใช้ท�ำความสะอาด สอื่ และแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ รา่ งกายและส่งิ ต่าง ๆ - กระตุ้นให้เดก็ ตั้งคำ� ถาม เชน่ ในชุมชนของเรา เราจงึ ต้องดแู ลรักษา น�ำ้ อย่เู สมอ พบนำ้� ไดท้ ใ่ี ดบา้ ง นำ้� จากแตล่ ะบรเิ วณมลี กั ษณะ เหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร เรานำ� นำ้� มาใช้ ท�ำอะไรบา้ ง จะมวี ธิ ีการดูแลรักษานำ�้ อยา่ งไร - รว่ มกนั วางแผนและลงมอื ทำ� การสบื เสาะหาความรู้ และบนั ทกึ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ สำ� รวจ สบื คน้ ขอ้ มลู ทศั นศกึ ษาตามแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ - อภปิ รายและบอกขอ้ คน้ พบเกย่ี วกบั บรเิ วณทพ่ี บ ลกั ษณะ การใชป้ ระโยชนจ์ ากนำ้� และการดแู ล รกั ษาน้ำ� - นำ� ขอ้ คน้ พบทไี่ ดจ้ ากการสบื เสาะหาความรไู้ ปใช้ ในการดูแลรกั ษาน้�ำ 3) ลักษณะและ • ลมฟ้าอากาศรอบตัว (3) ลักษณะของ (3) การเปล่ียนแปลง (3) สภาพลมฟา้ • ใหเ้ ดก็ สงั เกตและบอกลกั ษณะของลมฟา้ อากาศ การเปลย่ี นแปลง ในแต่ละวันมีลักษณะ ลมฟ้าอากาศ ของลมฟ้าอากาศ อากาศในแตล่ ะฤดู ทพี่ บในแตล่ ะวนั โดยครอู าจนำ� สนทนาในตอนเชา้ ของลมฟา้ อากาศ ต่าง ๆ เช่น ฝนตก ในแตล่ ะวนั ในแต่ละวัน และผลของสภาพ เชน่ เดก็ ๆ วนั นอ้ี ากาศเป็นอยา่ งไร อากาศร้อน และการปฏบิ ตั ติ น ลมพดั อากาศรอ้ น ลมฟา้ อากาศใน มีลมพัด หรอื มฝี นตกหรือไม่ ใหเ้ หมาะสม หรอื เย็น แตล่ ะฤดูทมี่ ีต่อ • สังเกตและบันทึกลักษณะของลมฟ้าอากาศ • ลมฟ้าอากาศ การด�ำรงชวี ติ ของ ในชว่ งเวลาต่าง ๆ ภายในหนึ่งวัน เชน่ ตอนเชา้ ในแต่ละวนั อาจ มนษุ ย์ สัตวห์ รือ ตอนกลางวนั ตอนบา่ ย แลว้ นำ� ขอ้ มลู มาเปรยี บเทยี บ มีการเปลี่ยนแปลง เช่น พชื เพอ่ื ลงความคดิ เหน็ วา่ ในหนง่ึ วนั ลมฟา้ อากาศใน 29

หวั ขอ้ ยอ่ ย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระทีค่ วรเรยี นรทู้ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตัวอย่างแนวการจดั ประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี มีแดดจดั อากาศร้อน แตล่ ะชว่ งวนั มกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งไรบา้ ง และ หรือเยน็ มีลมพดั แรง อภปิ รายวา่ ควรจะปฏบิ ตั ติ วั อยา่ งไรจงึ จะเหมาะสม มีฝนตก มรี ุ้ง มเี มฆมาก • สืบเสาะหาความรู้ โดยจัดสถานการณ์ให้เด็ก มืดครม้ึ ฟา้ รอ้ ง ฟา้ ผ่า เกดิ ความสนใจหรอื สงสยั เกยี่ วกบั สภาพลมฟา้ อากาศ • ลมฟ้าอากาศท่ีแตกต่าง ในแตล่ ะฤดู ผลของสภาพลมฟา้ อากาศในแตล่ ะฤดตู อ่ กันในแต่ละฤดูสง่ ผลต่อ การด�ำรงชีวิตของมนุษย์ สัตว์ หรือพืช และ การดำ� รงชีวิตของมนุษย์ การปฏบิ ตั ติ นใหเ้ หมาะสมกบั สภาพลมฟา้ อากาศใน สตั ว์ หรอื พืช แตล่ ะฤดู โดยใชส้ อื่ และแหล่งเรียนรตู้ ่าง ๆ • เราควรปฏบิ ตั ติ นให้ (4) การปฏิบัตติ นให้ (4) การปฏบิ ัตติ น (4) การปฏบิ ัตติ น - กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ตงั้ คำ� ถาม เชน่ สภาพลมฟา้ อากาศ เหมาะสมกบั ลมฟา้ เหมาะสมกับลม ให้เหมาะสมกบั ให้เหมาะสมกบั ในแตล่ ะฤดเู ปน็ อยา่ งไร และสง่ ผลตอ่ การดำ� รง อากาศที่เปลย่ี นแปลงใน ฟา้ อากาศใน การเปล่ียนแปลง สภาพลมฟา้ อากาศ ชีวิตของเรา สัตว์และพืชรอบตัวเราอย่างไร แต่ละวนั และสภาพ แต่ละวัน ของลมฟา้ อากาศ ในแต่ละฤดู เราควรปฏบิ ตั ติ วั อยา่ งไรใหเ้ หมาะสมกบั สภาพ ลมฟ้าอากาศแตล่ ะฤดู ในแต่ละวัน ลมฟ้าอากาศในแต่ละฤดู - ร่วมกันวางแผนและลงมือท�ำการสืบเสาะหา ความรู้และบันทึกข้อมลู ดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ - อภปิ รายและบอกขอ้ คน้ พบ เชน่ ในชว่ งทมี่ อี ากาศ หนาวเยน็ ควรสวมใสเ่ สอ้ื ผา้ ทใี่ หค้ วามอบอนุ่ แก่ รา่ งกาย ในชว่ งทม่ี พี ายุ ฝนตกหนกั ลมพดั แรง ท�ำให้ต้นไม้หักโค่น หรืออาจเกิดฟ้าผ่าท�ำ อันตรายต่อสัตว์เลี้ยงที่อยู่ในท่ีโล่ง หรือเกิด ภยั ธรรมชาตคิ วรหลบอยใู่ นบรเิ วณทป่ี ลอดภยั 30

หัวขอ้ ย่อย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระท่ีควรเรยี นรูท้ างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัวอยา่ งแนวการจดั ประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี - นำ� ขอ้ คน้ พบทไ่ี ดจ้ ากการสบื เสาะหาความรไู้ ปใช้ ในการปฏบิ ตั ติ นใหเ้ หมาะสมกบั ลมฟา้ อากาศ ในแตล่ ะฤดู 4) สิง่ ที่พบบน • บนทอ้ งฟา้ จะสงั เกต (5) สงิ่ ทีพ่ บบน (5) ลักษณะของ (5) ลักษณะของ • กระตนุ้ ความสนใจของเดก็ เกย่ี วกบั ทอ้ งฟา้ โดยใช้ ท้องฟา้ และ พบสิ่งต่าง ๆ เช่น ทอ้ งฟา้ ในเวลา ท้องฟา้ และ ท้องฟา้ สิง่ ท่ีพบ สอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ นทิ าน หรอื เพลง แลว้ ใหเ้ ดก็ สงั เกต ลักษณะของ เมฆ ดวงอาทิตย์ กลางวันและ สง่ิ ทพี่ บบนทอ้ งฟา้ บนทอ้ งฟ้า และ ท้องฟา้ และบอกสง่ิ ทสี่ ังเกตพบบนท้องฟ้า ท้องฟา้ ในเวลา ดวงจนั ทร์ ดวงดาว กลางคืน ในเวลากลางวนั สภาพแวดลอ้ ม กลางวันและ • ลักษณะของทอ้ งฟา้ และในเวลา ในเวลากลางวัน • สงั เกตทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวนั บอกลกั ษณะของ กลางคืน ในเวลากลางวนั และ กลางคนื และในเวลา ท้องฟ้า ส่ิงท่ีพบบนท้องฟ้า ส�ำรวจและบอก เวลากลางคืนจะ กลางคนื จะ สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ในเวลากลางวัน เช่น แตกตา่ งกนั เช่น เวลา แตกต่างกนั มแี สงแดด สวา่ ง มองเหน็ สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั ไดช้ ดั เจน กลางวนั ทอ้ งฟ้าเป็น หมายเหตุ หา้ มมองดวงอาทติ ยโ์ ดยตรงเดด็ ขาด สีฟ้า บริเวณรอบตวั สว่าง เวลากลางคนื • สงั เกตทอ้ งฟา้ ในเวลากลางคนื รว่ มกบั ผปู้ กครอง และ ท้องฟ้าจะมดื บรเิ วณ บันทึกสง่ิ ท่ีพบ เชน่ บนทอ้ งฟา้ มืด มดี วงดาว รอบตัวมืด รอบตวั มดื จากนนั้ นำ� มาเลา่ ใหเ้ พอื่ นฟงั ในวนั รงุ่ ขนึ้ และเปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ ง ระหวา่ งสง่ิ ทพ่ี บบนทอ้ งฟา้ และสภาพแวดลอ้ มใน เวลากลางวนั และในเวลากลางคืน 31

หวั ขอ้ ที่ 2 สาระทค่ี วรเรยี นรทู้ างคณติ ศาสตรใ์ นระดบั ปฐมวยั หัวขอ้ ยอ่ ย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระทคี่ วรเรยี นร้ทู างคณติ ศาสตร์ ตวั อย่างแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 2.1 จำ� นวนและพชี คณติ จำ� นวน (1) การนบั ปากเปลา่ (1) การนบั ปากเปล่า (1) การนบั ปากเปลา่ • รว่ มกนั รอ้ งเพลง ทอ่ งคำ� คลอ้ งจอง หรอื นบั ปากเปลา่ 1) จ�ำนวนและ • การนบั ปากเปลา่ จาก 1 ถงึ 10 จาก 1 ถงึ 20 จาก 1 ถึง 30 ในชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ นบั ขณะทเี่ รยี กเดก็ ๆ เขา้ แถว การดำ� เนนิ การ ตอ้ งนับเรียงล�ำดับ ตามลำ� ดบั ตามลำ� ดบั ตามล�ำดับ นบั เพอ่ื ใหเ้ วลากบั การเกบ็ ของเขา้ ท่ี นบั เพอ่ื เตรยี ม โดยไม่นบั ขา้ ม (2) การนบั ปากเปลา่ ตวั ออกจากจดุ เรม่ิ ตน้ ขณะทำ� กจิ กรรมหรอื เลน่ กฬี า • การนับปากเปลา่ ถอยหลงั จาก 10 • นบั สงิ่ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เดก็ หรอื สง่ิ ทเ่ี ดก็ สนใจ ถอยหลังต้องนับ ถงึ 1 ตามล�ำดบั เชน่ นบั ขนมในจาน นบั สม้ ในตะกรา้ นบั จำ� นวน เรยี งล�ำดบั โดยไม่ เพือ่ นในกลุม่ นบั ขา้ ม • กำ� หนดจำ� นวนหรอื แสดงบตั รตวั เลขใหเ้ ดก็ หยบิ • การบอกจ�ำนวนของ (2) การบอกจำ� นวน (2) การบอกจ�ำนวน (3) การบอกจ�ำนวน สง่ิ ของหรอื ปน้ั แปง้ โดหรอื ดนิ นำ�้ มนั เปน็ กอ้ นกลม สิ่งต่าง ๆ สามารถ ของส่งิ ตา่ ง ๆ ของสิ่งตา่ ง ๆ ของสิ่งตา่ ง ๆ ตามจำ� นวนทีก่ ำ� หนด ท�ำได้โดยการนบั ไมเ่ กนิ 5 ส่ิง ไม่เกิน 10 สง่ิ ไมเ่ กิน 20 สิง่ • สอดแทรกภาษาที่เก่ียวข้องกับคณิตศาสตร์ โดยการนบั โดยการนบั โดยการนับ ในชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ เท่าไร ตอ่ ไป ถัดไป (3) การแสดง (3) การแสดง (4) การแสดง • แกป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วกบั จำ� นวน ส่งิ ตา่ ง ๆ สิง่ ต่าง ๆ ส่ิงตา่ ง ๆ สอื่ สารโดยการใชภ้ าษา การวาดหรอื การกระท�ำ ตามจำ� นวน ตามจ�ำนวน ตามจำ� นวน อธิบายและใหเ้ หตผุ ลเกยี่ วกบั จำ� นวน เชอื่ มโยง ท่กี ำ� หนดใหต้ ัง้ แต่ ท่กี �ำหนดให้ต้ังแต่ ทก่ี �ำหนดให้ จำ� นวนในการเลน่ หรอื การทำ� กิจกรรมต่าง ๆ 1 ถึง 5 1 ถงึ 10 ตง้ั แต่ 1 ถึง 20 • อ่านตัวเลขในนิทาน ป้าย หรอื ภาพทเ่ี ด็กสนใจ ตัวเลข (4) การอ่านตัวเลข (4) การอา่ นตัวเลข (5) การอ่านตวั เลข • สรา้ งตวั เลขโดยใชว้ สั ดตุ า่ ง ๆ เชน่ ดนิ นำ้� มนั เชอื ก • ตวั เลขเปน็ สญั ลกั ษณ์ ฮนิ ดอู ารบกิ ฮินดูอารบกิ ฮินดอู ารบิก เมลด็ ถวั่ เพือ่ แสดงจำ� นวนของสง่ิ ท่ีนับ ทีใ่ ชเ้ ขยี นแสดงจำ� นวน ตั้งแต่ 1 ถึง 5 ตงั้ แต่ 1 ถึง 10 ต้งั แต่ 1 ถงึ 10 32

หวั ขอ้ ยอ่ ย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระทคี่ วรเรยี นรทู้ างคณติ ศาสตร์ ตัวอย่างแนวการจดั ประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • ตัวเลขไทยท่แี สดง (5) การใชต้ ัวเลข (5) การใช้ตวั เลข (6) การอา่ นตวั เลข • ใชน้ วิ้ เขยี นตามรอยในบตั รสมั ผสั รปู ตวั เลข หรอื จ�ำนวน ๑ ถงึ ๙ ฮินดูอารบิก ฮนิ ดูอารบิก ไทยตงั้ แต่ ๑ ถงึ ๙ ในกระบะทราย ขดี เขยี นตวั เลขทส่ี มั พนั ธก์ บั สง่ิ ทเี่ ดก็ • ตวั เลขฮินดอู ารบกิ ท่ี แสดงจำ� นวนของ แสดงจำ� นวนของ (7) การใช้ตวั เลข สนใจ แสดงจ�ำนวน 1 ถึง 20 ส่ิงตา่ ง ๆ ตง้ั แต่ ส่งิ ต่าง ๆ ตัง้ แต่ ฮินดูอารบิก • แกป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วกบั การอา่ น 1 ถึง 5 1 ถงึ 10 แสดงจำ� นวนของ และใชต้ วั เลข สอื่ สารโดยการอ่านและใช้ตัวเลข สงิ่ ต่าง ๆ ตง้ั แต่ อธิบายและให้เหตุผลเก่ียวกับการอ่านและใช้ 1 ถงึ 20 ตวั เลข เชอ่ื มโยงการอา่ นและใชต้ วั เลขในการเลน่ หรอื การทำ� กจิ กรรมตา่ ง ๆ การเปรียบเทียบและ (6) การเปรียบเทียบ (6) การเปรยี บเทยี บ (8) การเปรียบเทยี บ • เปรยี บเทยี บจำ� นวนเดก็ ชายกบั เดก็ หญงิ เดก็ กบั การเรยี งล�ำดับจำ� นวน จ�ำนวนของ จำ� นวนของ จ�ำนวนของ ขนม เดก็ กบั เกา้ อี้ หรอื แกว้ กบั แปรงสฟี นั โดยใช้ • การเปรยี บเทยี บจำ� นวน สง่ิ ต่าง ๆ สง่ิ ตา่ ง ๆ สองกลมุ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ สองกลมุ่ การจับคู่กันและสังเกตว่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน ของสิ่งตา่ ง ๆ สองกลมุ่ สองกลมุ่ ท่ีแตล่ ะ ทแ่ี ต่ละกลมุ่ ทแ่ี ตล่ ะกลุ่ม มากกว่าหรือน้อยกว่า สามารถท�ำไดโ้ ดย กลุ่มมีจำ� นวน มจี ำ� นวนไมเ่ กนิ 10 มจี ำ� นวนไมเ่ กนิ 20 • เลน่ เกมโยนลกู บอลลงตะกรา้ แลว้ นำ� ลกู บอลของ การจับคหู่ นง่ึ ต่อหนงึ่ ไม่เกนิ 5 ว่ามี วา่ มจี ำ� นวนเทา่ กนั วา่ มจี ำ� นวนเทา่ กนั แต่ละกลมุ่ มาเรียงล�ำดับจ�ำนวน • จำ� นวนสองจ�ำนวนเม่ือ จำ� นวนเท่ากนั หรอื ไมเ่ ทา่ กนั และ หรอื ไมเ่ ทา่ กนั และ • เขา้ แถวตามกลมุ่ แลว้ เรยี งลำ� ดบั จำ� นวนของเดก็ นำ� มาเปรยี บเทียบกัน หรือไมเ่ ท่ากนั กลุ่มใดมจี �ำนวน กลุ่มใดมจี �ำนวน ในแต่ละแถว จะเทา่ กัน มากกว่ากัน โดยใช้การจับคู่ มากกวา่ หรือ มากกวา่ หรอื • สอดแทรกภาษาท่ีเก่ียวข้องกับคณิตศาสตร์ หรือนอ้ ยกว่ากัน หน่ึงตอ่ หนง่ึ นอ้ ยกว่าโดยใช้ นอ้ ยกว่า ในชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ เทา่ กนั ไมเ่ ทา่ กนั มากกวา่ อย่างใดอยา่ งหน่งึ การจบั คู่ นอ้ ยกว่า พอดี ไมพ่ อดี คนละ กล่มุ ละ คู่ เพยี งอย่างเดยี ว หนงึ่ ต่อหนึง่ 33

หวั ขอ้ ยอ่ ย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระท่คี วรเรียนร้ทู างคณิตศาสตร์ ตัวอยา่ งแนวการจดั ประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • การเรียงล�ำดบั (9) การเรียงล�ำดับ • แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เก่ียวกับ จ�ำนวนของสิ่งต่าง ๆ จำ� นวนของ การเปรยี บเทยี บและการเรยี งลำ� ดบั จำ� นวน สอ่ื สาร สามารถท�ำไดโ้ ดยนำ� สง่ิ ตา่ ง ๆ สามกลมุ่ โดยการใชภ้ าษา การวาดหรอื การกระทำ� อธบิ าย จำ� นวนมา ทแ่ี ตล่ ะกลุ่มมี และให้เหตุผลเกี่ยวกับการเปรียบเทียบและ เปรียบเทียบกนั จำ� นวนไมเ่ กนิ 20 การเรยี งลำ� ดบั จำ� นวน เชอื่ มโยงการเปรยี บเทยี บ และเรยี งลำ� ดับ วา่ กลมุ่ ใดมจี ำ� นวน และการเรยี งลำ� ดบั จำ� นวน ในการเลน่ หรอื การทำ� จากน้อยไปมาก หรือ มากท่ีสุดหรือ กิจกรรมต่าง ๆ มากไปน้อย นอ้ ยท่สี ดุ อนั ดบั ท่ี (7) การบอกอันดับที่ (7) การบอกอนั ดับที่ (10) การบอกอนั ดบั ท่ี • บอกอนั ดบั ทข่ี องตนเองหรอื เพอื่ นทย่ี นื อยใู่ นแถว • อนั ดับทเ่ี ป็นการบอก ของสงิ่ ต่าง ๆ ของสง่ิ ต่าง ๆ ของสงิ่ ต่าง ๆ • ชี้ หยบิ หรือวางสงิ่ ของตามอนั ดับทีท่ ่คี รกู �ำหนด ต�ำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ไมเ่ กิน 2 สง่ิ ไมเ่ กนิ 3 สง่ิ ไม่เกิน 5 ส่ิง • ใชค้ �ำถามเพื่อใหเ้ ดก็ บอกอันดบั ที่ เช่น หนูเป็น ที่เรยี งกนั เปน็ ล�ำดบั (8) การแสดงสงิ่ ตา่ ง ๆ (11) การแสดง ลูกคนที่เท่าไร ตึกน้ีมีก่ีชั้น ห้องเรียนของหนู ซง่ึ จะต้องรูจ้ ุดอา้ งองิ ตามอันดบั ท่ีที่ ส่ิงตา่ ง ๆ ตาม อย่ชู ้นั ทเ่ี ทา่ ไร ก่อน ก�ำหนดให้ อนั ดบั ทท่ี กี่ ำ� หนดให้ • สอดแทรกภาษาทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั คณติ ศาสตรใ์ นชวี ติ • ท่หี น่ึง ทสี่ อง ท่สี าม ประจำ� วนั เชน่ คนท่ี อนั ดบั ที่ ลำ� ดบั ที่ ตอ่ ไป ถดั ไป ท่สี ี่ ทห่ี ้า เปน็ คำ� ท่ีใช้ • แกป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วกบั อนั ดบั ที่ ในการบอกอนั ดับท่ี สอ่ื สารโดยการใชภ้ าษา การวาดหรือการกระท�ำ อธิบายและให้เหตุผลเกยี่ วกบั อนั ดบั ท่ี เชอ่ื มโยง อนั ดบั ทใี่ นการเลน่ หรอื การท�ำกิจกรรมต่าง ๆ 34

หวั ข้อยอ่ ย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระที่ควรเรียนรู้ทางคณติ ศาสตร์ ตัวอย่างแนวการจัดประสบการณ์ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี การรวม (8) การบอกไดว้ า่ (9) การบอกจ�ำนวน (12) การบอกจ�ำนวน • นำ� สีเทยี นสองกองมารวมกนั สงั เกตจ�ำนวนของ • การรวมกลมุ่ เปน็ เมือ่ น�ำส่ิงตา่ ง ๆ ทั้งหมดท่เี กิดจาก ทงั้ หมดที่เกิดจาก สีเทยี นโดยไมใ่ ช้การนับ แล้วบอกวา่ จำ� นวนของ การรวมสง่ิ ตา่ ง ๆ สองกลมุ่ มารวมกนั การรวมส่ิงตา่ ง ๆ การรวมสิ่งต่าง ๆ สีเทยี นมากขนึ้ สองกล่มุ เขา้ ดว้ ยกัน จะมจี ำ� นวนของ สองกลมุ่ ทม่ี ผี ลรวม สองกลมุ่ ทมี่ ผี ลรวม • นำ� ผลไมใ้ นตะกรา้ สองใบมารวมกนั สงั เกตจำ� นวน ท�ำให้จ�ำนวนของ สง่ิ ต่าง ๆ มากขึน้ ไมเ่ กนิ 5 ไมเ่ กิน 10 ทีเ่ พ่มิ ข้ึน จากน้ันนับและบอกจ�ำนวนทง้ั หมด สงิ่ ตา่ ง ๆ มากข้นึ • ฟงั และรว่ มเลา่ นทิ านทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การรวมและ • การหาผลรวมของ การแยก สนทนาถงึ จ�ำนวนท่ีเพ่ิมขึ้นหรอื ลดลง ส่งิ ต่าง ๆ สองกลุ่ม • นบั ขนมทมี่ ใี นจาน แลว้ แบง่ ออกใหเ้ พอ่ื น จากนน้ั สามารถท�ำไดโ้ ดย นบั และบอกจำ� นวนท่เี หลอื การนับรวมกัน • สอดแทรกภาษาที่เก่ียวข้องกับคณิตศาสตร์ใน ชีวติ ประจำ� วัน เช่น รวมกัน ทง้ั หมด มากขึ้น/ การแยก (9) การบอกได้วา่ (10) การบอกจำ� นวน (13) การบอกจ�ำนวน เพม่ิ ขน้ึ /เยอะขน้ึ แบง่ กนั /แยกกนั นอ้ ยลง/ลดลง • การแยกกลมุ่ เปน็ การนำ� เมอ่ื น�ำส่ิงตา่ ง ๆ ทเ่ี หลอื เม่อื แยก ท่ีเหลอื เมอื่ แยก เหลือ สิ่งตา่ ง ๆ ออกจาก ออกจากกลุ่ม กลุ่มย่อยออกจาก กล่มุ ย่อยออกจาก • แกป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วกบั การรวม กลุม่ หรือเป็นการแยก จ�ำนวนของ กลุ่มใหญท่ ่ีมี กลุม่ ใหญ่ที่มี และการแยก สอ่ื สารโดยการใชภ้ าษา การวาดหรอื กลุม่ ย่อยออกจาก สิ่งต่าง ๆ ในกลุ่ม จ�ำนวนไม่เกนิ 5 จำ� นวนไมเ่ กิน 10 การกระทำ� อธบิ ายและใหเ้ หตผุ ลเกยี่ วกบั การรวม กลมุ่ ใหญ่ จำ� นวน จะน้อยลง และการแยก เช่ือมโยงการรวมและการแยกใน ส่งิ ต่าง ๆ ในกลุ่มใหญ่ การเล่นหรอื ท�ำกิจกรรมต่าง ๆ จะเหลอื นอ้ ยลง • การหาจำ� นวนทีเ่ หลือ ของสงิ่ ต่าง ๆ ในกลุ่ม ใหญ่ สามารถท�ำได้ โดยการนับ 35

หัวขอ้ ยอ่ ย ความคดิ รวบยอด ขอบเขตของสาระทีค่ วรเรยี นร้ทู างคณิตศาสตร์ ตัวอย่างแนวการจัดประสบการณ์ 2) แบบรูปและ • แบบรปู ของส่ิงตา่ ง ๆ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี เปน็ ชดุ ของส่ิงตา่ ง ๆ ความสมั พันธ์ ทม่ี คี วามสมั พันธก์ ัน (10) การแสดง (11) การตอ่ แบบรูป (14) การสรา้ งแบบรปู • รอ้ ยลกู ปดั ทม่ี รี ปู รา่ งเหมอื นกนั และขนาดใหญเ่ ทา่ กนั ในลกั ษณะของรปู รา่ ง แบบรปู ของ ของส่ิงต่าง ๆ ของสงิ่ ตา่ ง ๆ แตส่ ตี า่ งกนั ใหเ้ ปน็ แบบรปู เชน่ สแี ดง สเี ขยี ว สแี ดง ขนาด สี ทา่ ทาง ใหเ้ ขา้ ชดุ กบั ตามความคิด สเี ขยี ว สแี ดง สเี ขยี ว จากนน้ั ใหเ้ ดก็ สงั เกตลกั ษณะ หรือเสยี ง อยา่ งใด สง่ิ ต่าง ๆ แบบรูป ของตนเอง การจดั เรยี งว่าเปน็ อย่างไร และรอ้ ยตาม อย่างหนึ่ง ใหเ้ หมือนกบั ทก่ี ำ� หนด • จดั เรยี งสอ่ื ของจรงิ ทมี่ รี ปู รา่ งตา่ งกนั ใหเ้ ปน็ แบบรปู เชน่ ชอ้ น สอ้ ม ชอ้ น สอ้ ม ชอ้ น สอ้ ม จากนนั้ ใหเ้ ดก็ แบบรปู สังเกตลักษณะการจัดเรียงว่าเป็นอย่างไร และ ทก่ี �ำหนด อภปิ รายเกย่ี วกบั แบบรปู เชน่ มอี ะไรหายไป ใหเ้ ดก็ จดั เรยี งตอ่ และใหเ้ หตผุ ลวา่ เพราะเหตใุ ดจงึ เรยี ง เชน่ น้ี • ใหเ้ ด็กมสี ่วนร่วมในการหาแบบรปู ของส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั เชน่ ลายกระเบอื้ ง เสอ้ื ผา้ ทา่ ทาง กจิ วตั ร ประจ�ำวนั • สอดแทรกภาษาท่ีเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ ในชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ ตอ่ ไป ถดั ไป ขา้ งหนา้ กอ่ น หนา้ ข้างหลัง เหมือนกัน ซ�้ำ สลับกัน • แก้ปัญหาในสถานการต์ า่ ง ๆ ทีเ่ ก่ยี วกับแบบรูป สื่อสารโดยการพูด การวาด การใช้ส่ือ หรือ การกระท�ำ อธิบายและให้เหตุผลในการแสดง แบบรปู ตอ่ แบบรปู และสร้างแบบรปู เชอื่ มโยง แบบรูปในการเล่นหรอื การท�ำกจิ กรรมต่าง ๆ 36

หวั ขอ้ ย่อย ความคิดรวบยอด ขอบเขตของสาระที่ควรเรยี นรทู้ างคณิตศาสตร์ ตัวอยา่ งแนวการจดั ประสบการณ์ 2.2 การวัดและ อายุ 3-4 ปี อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี • นำ� สงิ่ ของชนดิ เดยี วกนั ทม่ี คี วามยาว/ความสงู ตา่ งกนั เรขาคณิต • การวดั ความยาว (1) การเปรยี บเทยี บ (1) การเรยี งล�ำดับ (1) การวดั และบอก อยา่ งชดั เจนมาใหเ้ ดก็ สงั เกตทลี ะคู่ โดยเนน้ คำ� วา่ 1) ความยาว ของส่งิ ตา่ ง ๆ ความยาว/ ความยาว/ ความยาว/ ยาว ส้ัน สงู เต้ยี ต�่ำ เช่น กางเกงขายาว-กางเกง เปน็ การหาความยาว ความสูงของ ความสูงของ ความสงู ของ ขาสนั้ โต๊ะสงู -โต๊ะเตีย้ ตามแนวนอน ส่ิงตา่ ง ๆ 2 สง่ิ ส่ิงต่าง ๆ 3-5 สิง่ สิ่งต่าง ๆ โดยใช้ • เปรยี บเทยี บและเรยี งลำ� ดบั ความสงู ของเพอื่ น หรอื • การวดั ความสงู เปน็ การหา โดยใชค้ �ำ โดยใช้คำ� เครอ่ื งมอื และ ความยาวของส่ิงต่าง ๆ รอบตัว เช่น ไม้บล็อก ความยาวตามแนวตัง้ ยาวกวา่ -ส้นั กว่า ยาวที่สุด-สัน้ ที่สดุ หนว่ ยทีไ่ มใ่ ช่ ดินสอไม้ ขวดน�้ำ • ยาวกว่า สนั้ กว่า สูงกว่า-เตยี้ กวา่ / สงู ที่สดุ -เตย้ี ทส่ี ุด/ หนว่ ยมาตรฐาน • วดั ความยาวของสง่ิ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ดก็ สนใจโดยใชส้ ง่ิ ของ สงู กวา่ เตี้ยกวา่ /ตำ�่ กวา่ ต่�ำกวา่ ต่�ำท่สี ุด ทม่ี ขี นาดเทา่ กนั นำ� มาตอ่ กนั เชน่ ไมบ้ ลอ็ ก หลอด ยาวเท่ากนั /สงู เท่ากัน ยาวเทา่ กนั / ไมไ้ อศกรีม พรอ้ มทง้ั บอกความยาว ท่ีวัดได้ของ เป็นคำ� ทใ่ี ช้ สงู เทา่ กนั ส่ิงของน้นั ๆ วา่ มจี �ำนวนเท่าใด ในการเปรยี บเทียบ • สอดแทรกภาษาท่ีเก่ียวข้องกับคณิตศาสตร์ ความยาว/ความสูง ในชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ เทา่ กนั ไมเ่ ทา่ กนั สน้ั ยาว สงู ของสิง่ ต่าง ๆ เตีย้ ต�่ำ ...กว่า ...ทส่ี ุด • การเรียงล�ำดบั • แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ เก่ียวกับการวัด ความยาว/ความสงู สอื่ สารโดยการใชภ้ าษาการวาดหรอื การกระทำ� อาจเรยี งจากน้อยไป อธิบายและให้เหตุผลเกี่ยวกับการวัด เชื่อมโยง มากหรอื มากไปน้อย การวัดในการเลน่ หรือการท�ำกิจกรรมตา่ ง ๆ • การวดั ความยาว หรอื ความสงู ของส่ิงต่าง ๆ อาจใชเ้ ครือ่ งมือและ หนว่ ยท่ไี มใ่ ชห่ นว่ ย มาตรฐาน 37


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook