Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เหรียญกษาปณ์สองสีที่ระลึกในรัชกาลที่ 9

เหรียญกษาปณ์สองสีที่ระลึกในรัชกาลที่ 9

Published by LibrarySpt, 2021-09-15 12:51:19

Description: เหรียญกษาปณ์สองสีที่ระลึกในรัชกาลที่ 9

Search

Read the Text Version

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์เคร่ืองแบบเต็มยศจอมทัพ และฉลองพระองค์ครุย ริมขอบเหรียญโดยรอบประดับด้วยลายรูปเพชรร้อยเรียงกัน ๖๐ เม็ด ด้านหลัง ตราสัญลักษณ์งานฉลองฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี มีข้อความว่า : “พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙” และ “๑๐ บาท ประเทศไทย” จ�ำนวนผลิต : ๑๖,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ 89

๔๑. เหรียญกษาปณ์ท่ีระลึกเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมีฯ กรมพระจักรพรรดิพงศ์ เน่ืองในโอกาสวันประสูติ ครบ ๑๕๐ ปี สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ จาตรุ นตร์ ศั มี กรมพระจกั รพรรดพิ งษ์ (๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๔๐๐ - ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๔๓) เป็นพระราชโอรส พระองคท์ ่ี ๒๘ ในพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหามงกฎุ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และพระองคท์ ่ี๓ในสมเดจ็ พระเทพศริ นิ ทราบรมราชนิ ีเปน็ พระราชอนชุ ารว่ มพระครรโภทร ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตรัสเรียกว่า “ท่านกลาง” สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ เป็นพระราชวงศ์พระองค์หนึ่งที่มีบทบาทส�ำคัญในการปฏิรูปการปกครอง ใ น ช ่ ว ง ต ้ น รั ช ก า ล พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า จุ ฬ า ล ง ก ร ณ ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งเสนาบดีพระองค์แรกของกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ท ร ง ว า ง ร า ก ฐ า น ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง พ ร ะ ค ลั ง ม ห า ส ม บั ติ และทรงก�ำหนดระเบียบวิธีการจัดเก็บภาษีอากรอย่างเป็นระบบ 90

ด้านหน้า พระรูปสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมีฯ กรมพระจักรพรรดิพงศ์ ทรงฉลองพระองค์เคร่ืองแบบผู้บังคับการทหาร มหาดเล็กรักษาพระองค์ มีข้อความว่า : “สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมีฯ กรมพระจักรพรรดิพงศ์” และ “ประเทศไทย” ด้านหลัง ตราประจ�ำพระองค์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมีฯ กรมพระจักรพรรดิพงศ์ มีข้อความว่า : “๑๕๐ ปี แห่งวันประสูติองค์เสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๙” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๕,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ 91

๔๒. เหรียญกษาปณ์ท่ีระลึกเนื่องในโอกาสครบ ๑๐๐ ปี กรมพระธรรมนูญ กรมพระธรรมนูญ จัดต้ังขึ้นในปี ร.ศ.๑๐๘ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด�ำริ เก่ียวกับการแต่งต้ัง Advocate General และศาล Advocate General เพอ่ื พฒั นาวธิ กี ารชำ� ระความของทหารใหเ้ ปน็ ระบบศาลเชน่ เดยี วกบั ศาลยตุ ธิ รรม จงึ ทรงมพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหต้ ง้ั กรมพระธรรมนญู ทหารบกเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๔๙ และกรมพระธรรมนญู ทหารเรอื ขน้ึ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๕๑ ตอ่ มาไดม้ คี ำ� สงั่ ใหร้ วมทงั้ สองกลมุ่ เขา้ เปน็ กลมุ่ เดยี วเรยี กวา่ “กรมพระธรรมนญู ทหาร” ซึ่งภายหลังมีการเปล่ียนแปลงโครงสร้างกระทรวงกลาโหมใหม่จัดให้ “กรมพระธรรมนูญทหาร” ซึ่งเดิมขึ้นตรงต่อกระทรวงกลาโหมไปข้ึนตรง ต่อปลัดทูลฉลองเรียกชื่อใหม่เป็น “กรมพระธรรมนูญ” อันเป็นช่ือที่เรียกมา จนถึงทุกวันน้ีโดยถือเอาวันท่ี ๑๒ กันยาของทุกปีเป็นวันสถาปนา กรมพระธรรมนูญ 92

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์เครื่องแบบเต็มยศจอมทัพ มีข้อความว่า : “รัชกาลที่ ๕” และ “รัชกาลที่ ๙” ด้านหลัง รูปเคร่ืองหมายของกรมพระธรรมนูญ มีข้อความว่า : “ครบ ๑๐๐ ปี กรมพระธรรมนูญ” “๑๒ กันยายน ๒๕๔๙ ประเทศไทย” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๓,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ 93

๔๓. เหรียญกษาปณ์ท่ีระลึกเน่ืองในโอกาสครบ ๑๐๐ ปี ธนาคารไทยแห่งแรก ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรก และเปน็ หนง่ึ ในหา้ ธนาคารทใ่ี หญท่ สี่ ดุ ในประเทศไทย กอ่ ตงั้ โดยพระบรมราชานญุ าต ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๙ กิจการของธนาคารเริ่มต้นข้ึนในนาม บุคคลัภย์ (Book Club) ในวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๗ ก่อต้ังโดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหม่ืนมหิศรราชหฤทัย เนื่องจากขณะน้ันทรงเชื่อว่า สยามประเทศ มีความจ�ำเป็นต้องมีระบบการเงินธนาคารเพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจ การเงินของประเทศ หลังจากบุคคลัภย์ขยายตัวทางธุรกิจข้ึนเป็นล�ำดับ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานอ�ำนาจพิเศษให้จัดต้ัง บริษัทแบงก์สยามกัมมาจล ทุน จ�ำกัด เพ่ือประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ อย่างเป็นทางการตั้งแต่แต่วันท่ี ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๙ 94

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์ชุดสากล มีข้อความว่า : “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์” และ “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช” รูปเคร่ืองหมายครุฑพ่าห์ ด้านหลัง มีข้อความว่า : “ต้ังโดยพระบรมราชานุญาต” “ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน)” “ครบ ๑๐๐ ปี ธนาคารไทยแห่งแรก” “๓๐ มกราคม ๒๕๕๐ ประเทศไทย” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๕,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ 95

๔๔. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกการประชุมใหญ่ สมาคมศาลปกครองสูงสุดระหว่างประเทศ ครั้งท่ี ๙ นับเป็นครั้งแรกในประเทศไทยและทวีปเอเชียท่ีมีประธานศาลปกครอง สงู สดุ และผนู้ ำ� องคก์ รวนิ จิ ฉยั คดปี กครองจากทว่ั โลกเขา้ รว่ มใน “การประชมุ ใหญ่ สมาคมศาลปกครองสูงสุดระหว่างประเทศ ครั้งที่ ๙” ซ่ึงไทยเป็นเจ้าภาพ จัดข้ึนระหว่างวันท่ี ๒๒ – ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ณ โรงแรมแซงกรี-ล่า โดยมี ศ.ดร.อักขราทร จุฬารัตน ประธานศาลปกครองสูงสุด ในฐานะประธาน สมาคมศาลปกครองสงู สดุ ระหวา่ งประเทศเปน็ ประธานเปดิ และมปี ระเทศตา่ ง ๆ เข้าร่วมประชุมกว่า ๕๐ ประเทศ ประกอบด้วยประเทศสมาชิก ประเทศ ผู้สังเกตการณ์ และประเทศที่ได้รับเชิญ โดยมีการประชุมในหัวข้อ “สถานะของ ตุลาการศาลปกครอง” เพื่อแลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับคุณสมบัติของ ผู้ที่จะด�ำรงต�ำแหน่งตุลาการศาลปกครอง การท�ำหน้าที่พิพากษาคดีปกครอง หลักประกันความเป็นอิสระในการประกอบหน้าท่ี และจริยธรรม คุณธรรมของ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ท้ังนี้ ผู้เข้าร่วมการประชุมยังได้รับเกียรติให้เข้าเผ้าฯ ถวายพระพรแด่ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เน่ืองในปีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา 96

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์ชุดสากล มีข้อความว่า : “พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ ๙” และ “ประเทศไทย” ด้านหลัง รูปเคร่ืองหมายสมาคมศาลปกครองสูงสุดระหว่างประเทศ มีข้อความว่า : “BANGKOK THAILAND 2007” “การประชุมใหญ่สมาคมศาลปกครองสูงสุด ระหว่างประเทศ ครั้งที่ ๙ ๒๒ – ๒๔ พ.ย. ๒๕๕๐ กรุงเทพฯ” “๑๐ บาท” และ “10 BAHT” จ�ำนวนผลิต : ๓,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ 97

๔๕. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบ ๑๐๐ ปี กรมทหารม้าที่ ๑ รักษาพระองค์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้จัดต้ัง “กองทหารม้า” ขึ้นในกรมทหารมหาดเล็กเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๑๗ มีหน้าท่ีแห่น�ำตามเสด็จรถพระท่ีน่ังในงานพระราชพิธีต่าง ๆ และจัดให้เป็นยามม้ารักษาการณ์อยู่ภายในบริเวณร่มประตูวิเศษไชยศรี รวมท้ังใช้เป็นม้าด่วนส�ำหรับเชิญพระราชหัตถเลขา ต่อมาได้ขยายและเปลี่ยนชื่อ หลายครั้งจนในปี พ.ศ. ๒๔๕๐ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กรมทหารม้าท่ี ๑ รักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว” หรือ ม.๑ รอ. ก่อนจะเปล่ียนเป็น “กองพันทหารม้าท่ี ๑ รักษาพระองค์ฯ” ในปี พ.ศ. ๒๔๗๑ และนับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๕๐ ม.๑ รอ. ได้ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยดีตลอดมา แม้จะมี ความผันผวนเปล่ียนแปลงไปตามยุคสมัย แต่ ม.๑ รอ. ก็ได้รับใช้ประเทศชาติ อย่างต่อเน่ืองสืบเจตนารมณ์แห่งองค์ปฐมริเร่ิมก่อตั้งเรื่อยมาตราบจนทุกวันน้ี 98

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉลองพระองค์เคร่ืองแบบเต็มยศจอมทัพ และ พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์เคร่ืองแบบเต็มยศทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีข้อความว่า : “รัชกาลที่ ๖” และ “รัชกาลที่ ๙” ด้านหลัง รูปเคร่ืองหมายของกรมทหารม้าที่ ๑ รักษาพระองค์ฯ มีข้อความว่า : “ครบ ๑๐๐ ปี กรมทหารม้าท่ี ๑ รักษาพระองค์ฯ” “๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ ประเทศไทย” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๓,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ 99

๔๖. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึก เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ เน่ืองในโอกาสองค์การอนามัยโลก ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย “รางวัลอาหารปลอดภัย” รางวัลอาหารปลอดภัย (Food Safety Award) เป็นรางวัล ทอี่ งคก์ ารอนามยั โลก จดั ทำ� ขน้ึ เปน็ ครงั้ แรก เพอื่ มอบแดบ่ คุ คลสำ� คญั ของประเทศ ทเี่ ปน็ ผรู้ เิ รมิ่ ผลกั ดนั และใหก้ ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานความปลอดภยั ด้านอาหาร เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชนท้ังในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ โดยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกของโลก ท่ี ได้รับการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลนี้ องคก์ ารอนามยั โลกไดท้ ลู เกลา้ ทลู กระหมอ่ มถวายรางวลั อาหารปลอดภยั แด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เมื่อวันท่ี ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ณ พระท่ีน่ังอนันตสมาคม 100

ด้านหน้า พระรูปสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงฉลองพระองค์ชุดไทย มีข้อความว่า : “สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ” และ “ประเทศไทย” ด้านหลัง รูปเคร่ืองหมายขององค์การอนามัยโลก มีข้อความว่า : “In honour of Her Majesty Queen Sirikit’s outstanding contribution to promoting human health through food safety 8 August 2005” “เฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสองค์การอนามัยโลก” “ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลอาหารปลอดภัย” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๕,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐ 101

๔๗. เหรียญกษาปณ์ท่ีระลึกกีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูร้อน คร้ังที่ ๒๔ กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน ๒๐๐๗ เป็นการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย โลกฤดูร้อน คร้ังที่ ๒๔ จัดข้ึนที่ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ ๘-๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ สัญลักษณ์ประจ�ำการแข่งขัน ถูกออกแบบโดยเป็นลักษณะของเส้นสาย ท้ัง ๕ สี ร้อยเรียงในรูปตัว U ซ่ึงมาจากค�ำว่า Universiade เปรียบได้ดัง เส้นสายแห่งการถ่ายทอดประสบการณ์ การแลกเปล่ียนความรู้ และวัฒนธรรม ระหว่างตัวแทนและนักกีฬาจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ใน ๕ ทวีป ทั่วโลก ท้ังหมดรวมกันเป็นหนึ่งเดียว พุ่งม้วนเข้าสู่สัญลักษณ์ลวดลายสีเหลืองทอง อั น เ ป ็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ ์ ข อ ง ช า ติ ไ ท ย เ ป ี ่ ย ม ล ้ น ไ ป ด ้ ว ย ค ว า ม ป ี ติ ยิ น ดี และความภาคภูมิใจท่ี ได้รับเกียรติให้เป็นศูนย์กลางแห่งการถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ประเทศท่ีเข้าร่วมแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกในคร้ังน้ีมีทั้งสิ้น ๑๕๖ ประเทศ จากทุกทวีปทั่วโลก มีนักกีฬาท้ังสิ้นถึง ๑๐,๒๐๕ คน ซ่ึงมีจ�ำนวนมากที่สุดเป็นอันดับ ๒ รองจากโอลิมปิก เมื่อเทียบกับ การแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติท่ีมีอยู่ในโลกปัจจุบัน มีรางวัล ๒๓๖ เหรียญทอง จาก ๑๕ ชนิดกีฬา 102

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์ชุดสากล มีข้อความว่า : “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” และ “รัชกาลท่ี ๙” ด้านหลัง ตราสัญลักษณ์การจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูร้อน คร้ังท่ี ๒๔ มีข้อความว่า : “กีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูร้อน ครั้งท่ี ๒๔” “๘ – ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๐ ประเทศไทย” “๑๐ บาท” และ “10 BAHT” จ�ำนวนผลิต : ๕,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ 103

๔๘. เหรียญกษาปณ์ท่ีระลึกเนื่องในโอกาส ๕๐ ปี เทคนิคการแพทย์ไทย แต่ก่อนน้ัน คณะแพทย์ศาสตร์และศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัย แพทย์ศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดลปัจจุบัน) ขาดแคลนบุคลากรตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการ จึงย้ายพยาบาลบางส่วนมาฝึกหัด เกิดปัญหาการใช้บุคลากร ไม่ตรงเป้าหมาย ผู้บริหารจึงตั้งกรรมการพิจารณาร่างหลักสูตร แต่ขาด งบประมาณเพราะเป็นช่วงสงครามโลกครั้งท่ี ๒ ต่อมามีการร้ือฟื้นโครงการข้ึน ในปี พ.ศ. ๒๔๙๗ โดยได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารวิเทศกิจ แห่งสหรัฐอเมริกา (ปัจจุบันคือ USAID) และร่างหลักสูตรตามแบบอเมริกา คือ รบั ผจู้ บมธั ยมปลายมาตอ่ อนปุ รญิ ญาอกี ๓ ปี โดยสง่ นายแพทย์ ๒ ทา่ นไปศกึ ษา ดูงานเทคนิคการแพทย์ท่ีอเมริกา ก่อนมาเป็นผู้บริหารรุ่นแรกของคณะเทคนิค การแพทย์ ทั้งน้ีได้เร่ิมก่อสร้างโรงเรียนข้ึนมาท่ีมหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ และท่ีโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ก่อนจะมีการจัดต้ัง “คณะเทคนิคการแพทย์” ข้ึน เมื่อวันท่ี ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๐ จากน้ันได้มีพัฒนาการขยับขยายวิชาชีพ เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย ์ ไ ป ยั ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย อี ก ห ล า ย แ ห ่ ง แ ล ะ ผ ลิ ต บุ ค ล า ก ร ออกไปรับใช้สังคม จนเป็นท่ียอมรับในทุกภาคส่วนของประเทศมาแล้ว เป็นเวลาถึงคร่ึงศตวรรษ 104

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์ครุยวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ ของมหาวิทยาลัยมหิดล มีข้อความว่า : “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” และ “รัชกาลท่ี ๙” ด้านหลัง รูปเคร่ืองหมายของเทคนิคการแพทย์ ประดับลายรวงข้าว มีข้อความว่า : “๕๐ ปี เทคนิคการแพทย์ไทย” “๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๐ ประเทศไทย” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๓,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ 105

๔๙. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกเน่ืองในโอกาสที่ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เฉลิมพระชนพรรษา ๗๕ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๐ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (เดิม : หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร) พระราชสมภพ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และโดยพระชนมพรรษาจงึ นบั เปน็ พระกลุ เชษฐพ์ ระองคป์ จั จบุ นั ในพระบรมราชจกั รวี งศ์ “เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๙ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชประสงค์จะผนวชเป็นพระภิกษุระหว่างวันท่ี ๒๒ ตุลาคม ถึง ๕ พฤศจิกายน เป็นระยะเวลา ๑๕ วัน จึงต้องมีการแต่งต้ังผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ ทรงพระราชดำ� รวิ า่ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี เปน็ ผทู้ รงพระปรชี าสามารถ ในอันที่จะรับพระราชภารกิจในคราวนี้ได้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีเป็นผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ในระหว่างท่ีผนวช ต ่ อ ม า ใ น วั น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ ช น ม พ ร ร ษ า ๕ ธั น ว า ค ม ป ี เ ดี ย ว กั น นี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ ป ร ะ ก า ศ ว ่ า ตามราชประเพณี เม่ือสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ได้ทรงด�ำรงต�ำแหน่งผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์เคยมีประกาศให้ออกพระนามว่า ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ ้ า ฯ พ ร ะ บ ร ม ร า ชิ นี น า ถ แ ล ะ ท ร ง พ ร ะ ร า ช ด� ำ ริ ว ่ า สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินี ได้ทรงด�ำรงต�ำแหน่งผู้ส�ำเร็จราชการ แทนพระองค์ในระหว่างท่ีผนวช และได้ปฏิบัติพระราชภารกิจแทนพระองค์ ดว้ ยพระปรชี าสามารถ สนองพระราชประสงคเ์ ปน็ ทเี่ รยี บรอ้ ย จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ฉลมิ พระนามาภไิ ธยสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี วา่ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ นับว่าทรงเป็นสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถพระองค์ ที่ ๒ ในประเทศไทย โดยพระองค์แรก คือสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชนิ นี าถ (ภายหลงั ไดร้ บั การสถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง) 106

ด้านหน้า พระรูปสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงฉลองพระองค์ผ้าไทยปักลาย มีข้อความว่า : “สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ” ริมขอบเหรียญประดับด้วยลายก้านต่อดอกใบเทศ ด้านหลัง อักษรพระนามาภิไธย “สก” ภายใต้พระมหามงกุฎดารารัศมี มีข้อความว่า : “เฉลิมพระชนมายุ ๗๕ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๐” และ “๑๐ บาท ประเทศไทย” จ�ำนวนผลิต : ๗,๕๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ 107

๕๐. เหรียญกษาปณ์ท่ีระลึกเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นงานฉลองประกอบด้วยรัฐพิธี ราชพิธี และราษฎรพิธี เน่ืองในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ในวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ตราสัญลักษณ์ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ออกแบบโดย นายสุเมธ พุฒพวง นักวิชาการช่างศิลป์ ๗ กลุ่มงานศิลปประยุกต์ กลุ่มจิตรกรรมศิลปประยุกต์และลายรดน�้ำ กรมศิลปากร มีความหมายคือ เป็นพระราชลัญจกรประจ�ำพระองค์ ของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลท่ี ๙ เป็นภาพพระท่ีน่ังอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ ประกอบด้วยวงจักรกลางวงจักรมีอักขระเป็น อุณาโลม รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือวงจักรเป็นพระเศวตฉัตร ๗ ช้ัน ตั้งอยู่บนพระท่ีนั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ อันหมายถึง พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ มีพระบรมเดชานุภาพเป็นใหญ่ในแผ่นดิน โดยในการราชพิธีบรมราชาภิเษกพระองค์ได้ประทับ เหนือพระท่ีน่ังอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ ตามโบราณราชประเพณี และสมาชิกรัฐสภาได้ถวาย น�้ำอภิเษกจากทิศทั้งแปดเป็นครั้งแรกแทนราชบัณฑิต ส่วนพระแท่นลานั้นโรยด้วยดอกพิกุลเงินพิกุลทอง ๙ ดอก พระราชลัญจกรล้อมรอบ ด้วยเพชร ๘๐ เม็ด หมายถึงพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ด้านบนพระราชลัญจกรเป็นพระมหาพิชัยมงกุฎ อันเป็นเครื่องประกอบพระบรมราช อิสริยยศของพระมหากษัตริย์ และเป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นสมเด็จพระบรมราชาธิราช ภายในพระมหาพิชัยมงกุฎเป็นเลข ๙ หมายถึงรัชกาลที่ ๙ พระมหาพิชัยมงกุฎนั้นอยู่ด้านหน้า พระนพปฎลมหาเศวตฉัตรซึ่งอยู่ก่ึงกลาง และขนาบข้างด้วยพระเศวตฉัตร ๗ ช้ัน อันเป็น เคร่ืองแสดงพระราชอิสริยยศอันย่ิงใหญ่ของพระมหากษัตริย์ ด้านล่างพระราชลัญจกรเป็นเลข ๘๐ หมายถึงพระองค์มีพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ถัดจากเลขไทยลงมาเป็นแพรแถบบอกชื่องานพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ แพรแถบนอกจากบอกช่ืองานพระราชพิธีแล้ว ยังรองรับประคองพระเศวตฉัตรด้วย 108

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์เคร่ืองแบบเต็มยศจอมทัพ และ ฉลองพระองค์ครุย มีข้อความว่า : “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ประเทศไทย” ริมขอบประดับลายกลีบบัว ด้านหลัง ตราสัญลักษณ์งานพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา มีข้อความว่า : “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๑๘,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ 109

๕๑. เหรยี ญกษาปณท์ รี่ ะลกึ การแขง่ ขนั กฬี าซเี กมส์ ครงั้ ท่ี ๒๔ กีฬาซีเกมส์ ๒๐๐๗ เป็นการแข่งขันกีฬา ซีเกมส์ ครั้งที่ ๒๔ ซ่ึงจัดข้ึนที่จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันท่ี ๖ ถึง ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ การจัดการแข่งขันครั้งน้ี ถือเป็นหนึ่งในการเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จั ง ห วั ด ห ลั ก ใ น ก า ร จั ด ก า ร แ ข ่ ง ขั น คื อ จั ง ห วั ด น ค ร ร า ช สี ม า โดยใชส้ นามกฬี าเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษา ๕ ธนั วา พ.ศ. ๒๕๕๐ ทส่ี รา้ งขน้ึ ใหม่ เป็นสนามกีฬาหลักในการแข่งขัน นอกจากน้ียังมีการแข่งขันกีฬาหลายประเภท แยกย้ายกันไปจัดตามสนามกีฬาต่าง ๆ ในจังหวัดนครราชสีมา เช่น สนามกีฬา เทศบาลนคร นครราชสีมา สนามกีฬาของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล สนามกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หรือสนามกีฬาของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี เป็นต้น การแข่งขันกีฬาบางประเภทจะใช้สนามของการกีฬาแห่งประเทศไทย ในกรุงเทพมหานคร และสนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ๖๐ พรรษา จังหวัดปทุมธานี ส�ำหรับกีฬาทางน�้ำ จะจัดแข่งขันท่ีเมืองพัทยา 110

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์ชุดสากล มีข้อความว่า : “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” และ “รัชกาลท่ี ๙” ด้านหลัง ตราสัญลักษณ์การแข่งขันกีฬาซีเกมส์ คร้ังท่ี ๒๔ มีข้อความว่า : “ประเทศไทย ๖ – ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๐” “๑๐ บาท” และ “10 BAHT” จ�ำนวนผลิต : ๓,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ 111

๕๒. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบ ๑๒๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช ใ น รั ช ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า จุ ฬ า ล ง ก ร ณ ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดอหิวาตกโรคระบาดชุกชุมเม่ือ พ.ศ. ๒๔๒๔ ในคร้ังนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงพยาบาลขึ้นชั่วคราว ในทชี่ มุ ชนรวม ๔๘ ตำ� บล ครนั้ โรครา้ ยเสอ่ื มถอยลง โรงพยาบาลจงึ ไดป้ ดิ ทำ� การ หากแต่ในพระราชหฤทัยทรงตระหนักว่า โรงพยาบาลน้ันจะยังประโยชน์ บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข ให้พสกนิกรและผู้อยู่ใต้ร่มพระบรมโพธิสมภาร แต่การจัดตั้งโรงพยาบาลนั้นเป็นการใหญ่ จ�ำเป็นต้องมีคณะกรรมการ เพื่อจัดการโรงพยาบาลให้ส�ำเร็จ ดังนั้นเมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๒๙ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะกรรมการจัดสร้างโรงพยาบาลขึ้น เพื่อด�ำเนินการก่อสร้างโรงพยาบาลถาวรแห่งแรก ณ บริเวณวัง ของกรมพระราชวงั บวรสถานพมิ ขุ (วงั หลงั ) ทางฝง่ั ตะวนั ตกของแมน่ ำ�้ เจา้ พระยา โดยพระราชทานพระราชทรัพย์เป็นทุนแรกเร่ิมในการด�ำเนินการ ในระยะแรกคณะกรรมการจัดสร้างโรงพยาบาล ได้จัดสร้างเรือนพัก ผู้ป่วยขึ้น ๖ หลัง และเมื่อวันท่ี ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๑ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา เสด็จพระราชด�ำเนินทรงประกอบพิธีเปิด และพระราชทานนามว่า “โรงศิริราชพยาบาล” หรือที่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “โรงพยาบาลวังหลัง” โดยท�ำการบ�ำบัดรักษาผู้ป่วยไข้ท้ังแผนปัจจุบันและแผนโบราณของไทย 112

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์ชุดสากล มีข้อความว่า : “รัชกาลท่ี ๕” และ “รัชกาลที่ ๙” ด้านหลัง รูปเครื่องหมายของคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล มีข้อความว่า : “ครบ ๑๒๐ ปี โรงพยาบาลศิริราช” “๒๖ เมษายน ๒๕๕๑ ประเทศไทย” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๓,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ 113

๕๓. เหรียญกษาปณ์ท่ีระลึกเนื่องในโอกาสครบ ๑๒๕ ปี การไปรษณีย์ไทย ระบบไปรษณีย์ของประเทศไทย เกิดข้ึนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาจฬุ าลงกรณ์ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๕ โดยหนว่ ยงาน ท่ีรับผิดชอบกิจการไปรษณีย์ในสมัยแรก คือ กรมไปรษณีย์ เปิดให้บริการ เป็นคร้ังแรก เมื่อวันท่ี ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๒๖ มีส�ำนักงานใหญ่อยู่ที่ ไปรษณียาคาร ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยาใกล้ปากคลองโอ่งอ่าง ปัจจุบันร้ือทิ้ง เพื่อสร้างสะพานพระปกเกล้า ในระยะแรกให้บริการครอบคลุมเฉพาะกรุงเทพฯ เท่านั้น ต่อมาจึงเริ่มขยายไปต่างจังหวัดโดยเปิดที่ท�ำการไปรษณีย์ที่สมุทรปราการ และนครเขอื่ นขนั ธ์ (พระประแดง ในปจั จบุ นั ) เมอ่ื วนั ท่ี ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๒๘ และขยายตอ่ จนถงึ เชยี งใหมใ่ นเดอื นตลุ าคมของปเี ดยี วกนั สว่ นบรกิ ารไปรษณยี ์ ระหว่างประเทศ เร่ิมเมื่อ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๒๘ หลังประเทศไทย เข้าเป็นสมาชิกสหภาพสากลไปรษณีย์ ในปี พ.ศ. ๒๔๔๑ กรมไปรษณีย์ได้เปล่ียนช่ือเป็น กรมไปรษณีย์ โทรเลข หลังจากมีการควบรวมเอา กรมไปรษณีย์ และกรมโทรเลข ซึ่งดูแล งานด้านโทรเลข เข้าด้วยกัน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ ได้มีการเปิด ที่ท�ำการไปรษณีย์กลางขึ้นบนถนนเจริญกรุง เขตบางรัก และใช้เป็นที่ท�ำการ ของกรมไปรษณีย์โทรเลข เมื่อวันท่ี ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๐ ได้เปลี่ยนสถานะ จากหนว่ ยงานราชการมาเปน็ รฐั วสิ าหกจิ ใชช้ อ่ื วา่ การสอื่ สารแหง่ ประเทศไทย (ก.ส.ท.) และเม่ือวันท่ี ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ มีการปรับโครงสร้างอีกครั้ง ตามนโยบายแปรรูปรัฐวิสาหกิจ โดยแยกการสื่อสารแห่งประเทศไทย เปน็ บรษิ ทั ไปรษณยี ไ์ ทยจำ� กดั (ปณท.)และบรษิ ทั กสทโทรคมนาคมจำ� กดั (มหาชน) ซ่ึงปัจจุบัน บริษัทไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด เป็นผู้ดูแล บริการด้านไปรษณีย์ทั้งหมด มีส�ำนักงานใหญ่ที่ถนนแจ้งวัฒนะ 114

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์ชุดสากล มีข้อความว่า : “รัชกาลที่ ๕” “รัชกาลที่ ๙” และ “ประเทศไทย” ด้านหลัง รูปกระดาษม้วนประทับตราสัญลักษณ์งาน ๑๒๕ ปี การไปรษณีย์ไทย มีข้อความว่า : “ครบ ๑๒๕ ปี การไปรษณีย์ไทย ๔ สิงหาคม ๒๕๕๑” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๓,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ 115

๕๔. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบ ๕๐ ปี ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สำ� นกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ เดมิ ใชช้ อ่ื วา่ “สำ� นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาต”ิ (National Research Council of Thailand) ก่อต้ังขึ้นคร้ังแรกในชื่อว่า “สภาวจิ ยั แหง่ ชาต”ิ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ตามพระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๙๙ โดยแต่งต้ังอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์เป็นเลขาธิการ สภาวิจัยแห่งชาติโดยต�ำแหน่ง และต้ังส�ำนักงานเลขาธิการสภาวิจัยแห่งชาติขึ้นท่ี กรมวิทยาศาสตร์เป็นการชั่วคราว พร้อมท้ังได้ก�ำหนดสาขาวิชาการท่ีจะวิจัย ไ ว ้ เ ฉ พ า ะ ด ้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ โ ด ย แ บ ่ ง อ อ ก เ ป ็ น ๖ ส า ข า ไ ด ้ แ ก ่ สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ เคมีและเภสัชวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เกษตรศาสตร์และวนศาสตร์ และสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรม ในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ รัฐบาลโดย ฯพณฯ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติสภาวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๒ พร้อมทั้งจัดระบบและองค์กรของสภาวิจัยแห่งชาติใหม่ โดยให้มี “ส�ำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติ”สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ มีวัตถุประสงค์เพื่อท�ำหน้าท่ีเป็นองค์กรกลางเก่ียว กับการวิจัยของประเทศ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ได้มีประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๓๑๕ ลงวันท่ี ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ เปลี่ยนช่ือส�ำนักงานสภาวิจัยแห่งชาติเป็น ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มกี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั บิ รหิ ารราชการกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัย และนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ เปลี่ยนช่ือ ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เป็น ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 116

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์ชุดสากล มีข้อความว่า : “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” และ “รัชกาลที่ ๙” ด้านหลัง รูปเคร่ืองหมายของส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีข้อความว่า : “ครบ ๕๐ ปี ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๒” “ประเทศไทย” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๓,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ 117

๕๕. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระชนมายุ ๘๔ พรรษา สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ ณ พระที่น่ังเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ก่อนท่ีสมเด็จพระบรมชนกนาถจะเสด็จสวรรคตในอีกหน่ึงวันต่อมา พ ร ะ น า ม เ พ ช ร รั ต น ร า ช สุ ด า สิ ริ โ ส ภ า พั ณ ณ ว ดี น้ั น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานให้ในพระราชพิธีสมโภชเดือนและข้ึนพระอู่ พร้อมท้ัง โปรดให้ใช้ค�ำน�ำหน้าพระนามว่า สมเดจ็ พระเจา้ ภาตกิ าเธอ ต่อมาในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ออกค�ำน�ำหน้าพระนามเป็น สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ และค�ำน�ำหน้าพระนามน้ียังใช้จนถึงในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ห ลั ง จ า ก ที่ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ ้ า พ่ี น า ง เ ธ อ เ จ ้ า ฟ ้ า กั ล ย า ณิ วั ฒ น า กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ส้ินพระชนม์ พระองค์ก็นับเป็นพระกุลเชษฐ์ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ นอกจากน้ีพระองค์ยังทรงเป็นเครือญาติ ของพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ อดีตพระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชา 118

ด้านหน้า กลางเหรียญมีพระรูปสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ผินพระพักตร์ทางเบื้องขวา ทรงฉลองพระองค์ชุดไทย ท ร ง ส า ย ส ะ พ า ย แ ล ะ ส า ย ส ร ้ อ ย แ ห ่ ง เ ค รื่ อ ง ขั ต ติ ย ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ ์ อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ พระอังสาเบ้ืองซ้ายประดับ เหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลท่ี ๖ ช้ันท่ี ๑ เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลท่ี ๗ ช้ันท่ี ๑ เหรยี ญรตั นาภรณร์ ชั กาลท่ี ๙ ชน้ั ที่ ๑ มขี อ้ ความวา่ : “สมเดจ็ พระเจา้ ภคนิ เี ธอ เจา้ ฟา้ เพชรรตั นราชสดุ า สริ โิ สภาพณั ณวด”ี “ประเทศไทย” โดยมีจุดกลมค่ันระหว่างข้อความท้ังสองข้าง” ด้านหลัง กลางเหรียญมีอักษรพระนาม “พร” ภายใต้พระมงกุฎ ขัตติยราชนารี ล้อมรอบด้วยลายไทยประดิษฐ์ มีข้อความว่า: “พระชนมายุ ๘๔ พรรษา ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๒” “๑๐ บาท” โดยมีจุดกลมค่ันระหว่างข้อความท้ังสองข้าง” จ�ำนวนผลิต : ๑,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ 119

๕๖. เหรียญกษาปณ์ท่ีระลึกเนื่องในโอกาสครบ ๖๐ ปี ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หรอื เปน็ ทร่ี จู้ กั กนั โดยทว่ั ไปวา่ “สภาพฒั น”์ หรอื “สภาพฒั นาฯ” นนั้ ไดก้ อ่ ตง้ั ขนึ้ เมอื่ วนั ที่๑๕กมุ ภาพนั ธ์พ.ศ.๒๔๙๓โดยในระยะแรกใชช้ อื่ วา่ “สภาเศรษฐกจิ แหง่ ชาต”ิ มหี นา้ ทเ่ี สนอความเหน็ และคำ� แนะนำ� ตลอดจนขอ้ ชแี้ จงตอ่ รฐั บาลในเรอ่ื งเกยี่ วกบั เศรษฐกิจของประเทศ ต่อมาคณะผู้เช่ียวชาญจากธนาคารโลกได้เสนอแนะให้มีการปรับเปล่ียน และเพ่ิมบทบาทหน้าที่ของ “สภาเศรษฐกิจแห่งชาติ” ให้มีมากขึ้น และให้จัดต้ัง เป็นหน่วยงานกลางเพ่ือท�ำหน้าท่ีวางแผนพัฒนาประเทศขึ้นมาเป็นการเฉพาะ ดังน้ันในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ จึงได้มีการปรับโครงสร้างการท�ำงาน และเปลี่ยนชื่อ ของหน่วยงานแห่งนี้ใหม่เป็น “ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ” จนกระท่ังในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ มีการน�ำกระบวนการวางแผนพัฒนาสังคม เขา้ มาใชค้ วบคกู่ บั การวางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ อยา่ งจรงิ จงั จงึ ไดม้ กี ารเปลย่ี นชอื่ ของหนว่ ยงานใหมอ่ กี ครง้ั หนง่ึ เปน็ “สำ� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ” ซ่ึงเป็นชื่อที่ใช้อย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ โดยส�ำนักงานฯ อยู่ภายใต้สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีตลอดมา 120

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์ชุดสากล มีข้อความว่า : “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช” และ“ประเทศไทย” ด้านหลัง รูปเคร่ืองหมายของส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ มีข้อความว่า : “๖๐ ปี ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๑,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ 121

๕๗. เหรียญกษาปณ์ท่ีระลึกเนื่องในโอกาสครบ ๑๒๐ ปี กรมบัญชีกลาง กรมบัญชีกลาง เป็นกรมในสังกัดกระทรวงการคลัง กรมบัญชีกลาง หรือกรมสารบัญชี ถือก�ำเนิดเมื่อวันท่ี ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๓ มีหน้าที่ส�ำหรับ รับจ่ายเงินแผ่นดิน และถือสารบัญชีพระราชทรัพย์ท้ังหมด และมีการปรับปรุง ภารกิจมาโดยล�ำดับ ปัจจุบันมีภารกิจเกี่ยวกับการควบคุมดูแลการใช้จ่ายเงิน ของแผ่นดินและของหน่วยงานภาครัฐให้เป็นไปโดยถูกต้อง มีวินัย คุ้มค่า โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ โดยการวางกรอบหลักเกณฑ์กลาง ใหห้ นว่ ยงานภาครฐั ถอื ปฏบิ ตั ิ การใหบ้ รกิ ารคำ� แนะนำ� ปรกึ ษาดา้ นการเงนิ การคลงั การบัญชี การตรวจสอบภายใน การบริหารเงินนอกงบประมาณ และการพัสดุภาครัฐ การด�ำเนินการเก่ียวกับการบริหารเงินคงคลัง ให้มีใช้จ่ายอย่างเพียงพอ และการเสนอข้อมูลในเชิงนโยบายการคลัง แก่ฝ่ายบริหาร โดยประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดเสถียรภาพ ทางการคลัง รวมท้ังด�ำเนินการเก่ียวกับการประเมินผลการคลังภาครัฐ การก�ำกับดูแลนโยบายและมาตรฐานค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์ ของบุคลากรภาครัฐ กรมบัญชีกลาง มีภารกิจหลัก ๔ ภารกิจ ดังนี้ ๑) ควบคุมการ เบิกจ่ายเงินแผ่นดิน ๒) ควบคุมการใช้จ่ายเงินของส่วนราชการ ๓) ควบคุม งบบุคลากรภาครฐั และ ๔) สนับสนุนนโยบายของกระทรวงการคลงั และรัฐบาล 122

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงฉลองพระองค์ชุดสากล มีข้อความว่า : “รัชกาลที่ ๕” และ “รัชกาลที่ ๙” ด้านหลัง รูปเครื่องหมายของกรมบัญชีกลาง มีข้อความว่า : “ครบ ๑๒๐ ปี กรมบัญชีกลาง ๗ ตุลาคม ๒๕๕๓” และ “ประเทศไทย ๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๑,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ 123

๕๘. เหรียญกษาปณ์ท่ีระลึก ๑๐๐ ปี กรมศิลปากร นับแต่อดีตท่ีล่วงเลยมาเป็นเวลานานก่อน พ.ศ. ๒๔๕๔ มรดกศิลป วฒั นธรรมไทย โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปวตั ถุ ประวตั ศิ าสตร์ วรรณกรรม การละคร ดนตรี ฟ้อนร�ำ งานช่างประณีตศิลป์ การหอสมุด จดหมายเหตุ และพิพิธภัณฑ์ ฯลฯ อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงาน กรม กระทรวง ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ไม่มีการรวบรวมจัดไว้ในความรับผิดชอบ ของหน่วยงานใด เป็นการเฉพาะ จนกระทั่งในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเล็งเห็นความส�ำคัญ “มรดกศิลปวัฒนธรรม” อันเป็นรากเหง้า ของชีวิต และบ้านเมือง จึงทรงมีพระราชด�ำริ ให้โอนกิจการ ของช่างมหาดเล็ก จากกระทรวงวัง และกรมพิพิธภัณฑ์ จากกระทรวง ธรรมการ มาจัดต้ังเป็น “กรมศิลปากร” เมื่อวันท่ี ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้โอนงานพิพิธภัณฑ์ ไปอยู่ในความควบคุมดูแลของ กรรมการหอพระสมุดฯ และได้โปรดเกล้าฯ ให้ยุบกรมศิลปากรไปรวมเข้ากับราชบัณฑิตยสภา เรียกว่า “ศิลปากรสถาน” ต่อมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง คือ เม่ือวันท่ี ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ ก็ได้มี พระราชบัญญัติ จัดต้ังกรมศิลปากร ข้ึนมาใหม่ อีกครั้ง โดยสังกัด กระทรวงธรรมการ หลังจากน้ันได้มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ส่วนราชการภายใน และย้ายสังกัด เพ่ือความเหมาะสม หลายครั้ง จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๐๑ จึงได้มีพระราชบัญญัติ โอนกรมศิลปากร มาสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ และต่อมาได้โอนมาสังกัดกระทรวงวัฒนธรรมซึ่งได้รับ การสถาปนาขึ้นใหม่ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม เมื่อวันที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ถือเป็น ๑ ใน ๒๐ กระทรวงหลักของประเทศ ตามนโยบายปฏิรูประบบราชการของรัฐบาล 124

ด้านหน้า พระบรมรปู พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาวชริ าวธุ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงฉลองพระองค์ชุดสากล มีข้อความว่า : “พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว” และ “รัชกาลท่ี ๖” ด้านหลัง รูปเครื่องหมายของกรมศิลปากร มีข้อความว่า : “๑๐๐ ปี กรมศิลปากร ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๔” และ “ประเทศไทย ๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๒,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ 125

๕๙. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึก ๑๐๐ ปี โรงเรียนเสนาธิการทหารบก โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ตั้งข้ึนเมื่อวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๒ โดย จอมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลก ประชานาถ เพื่อให้การศึกษาเก่ียวกับยุทธวิธีทางการทหารกับทหารในระดับ มนั สมองของกองทพั โดยตอ้ งมกี ารสอบคดั เลอื กเพอ่ื มาเขา้ รบั การศกึ ษา หลกั สตู ร การศึกษาในปัจจุบันได้ยึดตามโรงเรียนเสนาธิการทหารบกสหรัฐอเมริกา เป็นหลัก เน้นการให้การศึกษาภาคปฏิบัติยิ่งกว่าการบรรยายตามความต้องการ ของกองทัพบก และมีการรับนายทหารจากมิตรประเทศเข้ามารับการศึกษาด้วย นับต้ังแต่ วันท่ี ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๒ ซึ่งเป็นวันที่กองทัพบก ไดอ้ อกคำ� สง่ั ใหเ้ ปดิ การศกึ ษาของนกั เรยี นเสนาธกิ ารทหารบก ชดุ ท่ี ๑ เปน็ ตน้ มา จนถึงวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ก็ครบรอบ ๑๐๐ ปี ของการสถาปนา โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาหลักของกองทัพบก สถาบันหนึ่ง 126

ด้านหน้า พระรูปสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ทรงฉลองพระองค์เคร่ืองแบบเต็มยศจอมพล และทรงฉลองพระองค์ครุย มีข้อความว่า : “จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ” ด้านหลัง รูปเคร่ืองหมายราชการของโรงเรียนเสนาธิการทหารบก มีข้อความว่า : “ครบ ๑๐๐ ปี โรงเรียนเสนาธิการทหารบก” “๓ เมษายน ๒๕๕๒ ประเทศไทย” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๓๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ 127

๖๐. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึก ๑๐๐ ปี กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่เก่ียวกับดูแลระบบการขนส่งและบริการคมนาคม ให้มีความคุ้มค่า และทั่วถึง ธุรกิจการขนส่ง การวางแผนจราจร และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการคมนาคม อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน ใ น รั ช ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า จุ ฬ า ล ง ก ร ณ ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการปฏิรูปราชการบริหารส่วนกลาง จ�ำแนกเป็น กรม กอง ต่าง ๆ โดยจัดต้ังกรมโยธาธิการขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๓ เพ่ือดูแล การก่อสร้างถนน ขุดคลอง และการช่างท่ัวไปรวมท้ังการไปรษณีย์โทรเลข และการรถไฟ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๕ ได้ยกฐานะเป็นกระทรวงโยธาธิการ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการเปลี่ยนช่ือจากกระทรวงโยธาธิการ เป็นกระทรวงคมนาคม เมื่อวันท่ี๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๕ มีอ�ำนาจหน้าท่ีในการดูแลเก่ียวกับการขนส่ง ทางรถไฟ การขนสง่ ทางบก การขนสง่ ทางน้�ำ และการสอ่ื สาร โดยมีการปรับปรงุ เปล่ียนแปลงอ�ำนาจเร่ือยมาจนถึงปัจจุบัน 128

ด้านหน้า พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉลองพระองค์ชุดสากล มีข้อความว่า : “พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว” และ “รัชกาลที่ ๖” ด้านหลัง รูปเคร่ืองหมายราชการของกระทรวงคมนาคม มีข้อความว่า : “ครบ ๑๐๐ ปี กระทรวงคมนาคม ๑ เมษายน ๒๕๕๕” และ “๑๐ บาท ประเทศไทย” จ�ำนวนผลิต : ๑,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ 129

๖๑. เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติ จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจา้ ฟา้ ภาณรุ งั ษสี วา่ งวงศ์ กรมพระยาภาณพุ นั ธวุ งศว์ รเดช ในโอกาสท่ีวันประสูติ ครบ ๑๕๐ ปี จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังสีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทรา บรมราชินี เม่ือพระมารดาสวรรคต สมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ มีพระชันษาเพียง ๒ ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนาม อย่างล�ำลองว่า “สมเด็จพระราชปิตุลาฯ” ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า “สมเด็จวังบูรพา” เพราะทรงมีวังช่ือว่า “วังบูรพาภิรมย์” ซ่ึงก็คือต�ำแหน่ง ท่ีเป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน ตามพระประวัติน้ัน ทรงเป็นจอมพล ในรัชกาลที่ ๗ ท่ีทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่าน ขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่าง ๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ ทรงเป็นผู้ให้ก�ำเนิดกิจการไปรษณีย์ในประเทศไทย ทรงเป็นต้นราชสกุล ภาณุพันธุ์ 130

ด้านหน้า พระรูปจอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ทรงฉลองพระองค์เครื่องแบบจอมพล มีข้อความว่า : “จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช” ด้านหลัง ตราประจ�ำพระองค์ จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช มีข้อความว่า : “ครบ ๑๕๐ ปี วันประสูติ” “๑๑ มกราคม ๒๕๕๒ ประเทศไทย” และ “๑๐ บาท” จ�ำนวนผลิต : ๑,๐๐๐,๐๐๐ เหรียญ ประกาศใช้ : ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ 131

บรรณานุกรม ก�ำโชค เผือกสุวรรณ. (๒๕๓๘). ผู้น�ำนันทนาการ. กรุงเทพฯ : เกษมศรีการพิมพ์ กระทรวงคมนาคม. (๒๕๖๒). ประวัติกระทรวงคมนาคม สืบค้นจาก http://www.mot.go.th/about.html กระทรวงพาณิชย์. (๒๕๖๒). ประวัติกระทรวงพาณิชย์ สืบค้นจาก https://www.moc.go.th กรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม. (๒๕๖๒). ประวัติความเป็นมา. สืบค้นจาก https://www.dlt.go.th/th/history/ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์. (๒๕๖๒). ประวัติกรมการค้าภายใน สืบค้นจาก https://www.dit.go.th/Content.aspx?m=1 กรมจเรทหารบก กองทัพบก. (๒๕๖๒). ประวัติกรมจเรทหารบก. สืบค้นจาก https://www.inspectorrta.org/inspector/history.php กรมธนารกั ษ์ กระทรวงการคลงั . (๒๕๔๕). ววิ ฒั นาการเงนิ ตราไทย. กรงุ เทพฯ : ดาวฤกษ์ คอมมูนิเคช่ันส์ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง. (๒๕๕๐). พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและเหรียญ อันเก่ียวเน่ืองกับพระองค์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พร้ินต้ิงแอนด์พับลิชชิ่ง กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง. (๒๕๕๖). ๘๔ กษาปณ์แห่งองค์ราชัน. กรุงเทพฯ : โกลบอลอินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง. (๒๕๖๑). เหรียญรัชกาลที่ ๙ พ.ศ. ๒๔๙๓-๒๕๓๙. กรุงเทพฯ : ดาวฤกษ์ คอมมูนิเคช่ันส์ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง. (๒๕๖๑). เหรียญรัชกาลท่ี ๙ พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๕๙. กรุงเทพฯ : ดาวฤกษ์ คอมมูนิเคชั่นส์ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง. (๒๕๖๒). ประวัติความเป็นมา สืบค้นจาก http://www.treasury.go.th/ewt_news.php?nid=2203 กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม. (๒๕๖๒). ประวัติกรมทางหลวง สืบค้นจาก http://www.doh.go.th/content/page/page/6 กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย. (๒๕๖๒). ประวัติกรมที่ดิน. สบื คน้ จาก https://www.dol.go.th/print/Pages/ประวตั กิ รมทดี่ นิ .aspx กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง. (๒๕๖๒). ประวัติกรมบัญชีกลาง. สืบค้นจาก https://www.cgd.go.th/cs/internet/internet/ ประวัติกรมบัญชีกลาง.html?page_locale=th_TH กรมแพทย์ทหารบก กองทัพบก. (๒๕๖๒). ประวัติกรมแพทย์ทหารบก. สืบค้นจาก http://www.amed.go.th กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา. (๒๕๕๗). การใช้นันทนาการเพ่ือพัฒนาจิตใจเด็กช่วงก้าวสู่วัยรุ่น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เอส.ออฟเซ็ทกราฟฟิคดีไซน์ 132

กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา. (๒๕๕๕). แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔). กรุงเทพฯ : ธรรมสาร กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง. (๒๕๖๒). ประวัติกรมศุลกากร สืบค้นจาก http://http://www.customs.go.th กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. (๒๕๖๒). ประวัติและบทบาทหน้าที่ สืบค้นจาก http://www.finearts.go.th/site-map/ประวัติและบทบาทหน้าที่.html ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน). (๒๕๖๒). เก่ียวกับเรา. สืบค้นจาก https://www.scb.co.th/th/about-us.html ธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง. (๒๕๖๒). ประวัติธนาคารออมสิน. สืบค้นจาก https://www.gsb.or.th/about-us/history-bank.aspx บริษัทไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด. (๒๕๖๒). ประวัติกิจการไปรษณีย์ไทย. สืบค้นจาก https://www.thailandpost.co.th/un/article_list_with_detail/aboutus/85 มูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ. (๒๕๖๒). พระราชประวตั พิ ระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระมหาเจษฎาราชเจา้ . สืบค้นจาก http://www.kingrama3.or.th มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (๒๕๖๒). จุลสารธรรมศาสตร์. สืบค้นจาก http://www.pr.tu.ac.th/pr.tu/journal/special/2550/50-03.pdf มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (๒๕๖๒). ประวัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สืบค้นจาก https://tu.ac.th/history_tu มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. (๒๕๖๒). พระราชประวัติ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สืบค้นจาก https://www.mfu.ac.th/about-mfu/princess-srinagarindra/princess.html โรงเรียนเสนาธิการทหารบก. (๒๕๖๒). ประวัติโรงเรียนเสนาธิการทหารบก. สืบค้นจาก http://www.cgsc.ac.th/ความภาคภูมิใจ/ประวัติ โรงพยาบาลศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล. (๒๕๖๒). ประวัติโรงพยาบาลศิริราช สบื คน้ จาก https://www.si.mahidol.ac.th/sirirajhospital/history.php ส�ำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร. (๒๕๖๒). โรงพยาบาลกลาง. สืบค้นจาก http://www.klanghospital.go.th ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน. (๒๕๖๒). ประวัติการตรวจเงินแผ่นดินไทย. สบื คน้ จาก https://www.audit.go.th/th/ประวตั กิ ารตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ไทย ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ. (๒๕๖๒). ประวัติความเป็นมา. สืบค้นจาก https://www.nrct.go.th/รู้จัก-วช/เกี่ยวกับองค์กร/ประวัติความเป็นมา ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕๖๒). ประวัติความเป็นมา. สืบค้นจาก https://www.nesdb.go.th/ewt_news.php?nid=2943 ส�ำนักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (๒๕๖๒). สะสมเพ่ือสุขสม. กรุงเทพฯ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (๒๕๖๒). พระราชพิธีส�ำคัญความหมายตราสัญลักษณ์ต่าง ๆ ของ “ในหลวง” รัชกาลที่ ๙ แห่งบรมราชจักรีวงศ์. สืบค้นจาก https://www.nstda.or.th/th/news/82-mourn-king9/4953-king9-symbol 133

ส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๖๒). ประวัติลูกเสือไทย สืบค้นจาก http://www.scoutthailand.org ส�ำนักงานราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๖๒). ประวัติความเป็นมา สืบค้นจาก http://www.royin.go.th/?page_id=822 ส�ำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (๒๕๖๒). ประวัติความเป็นมา สืบค้นจาก https://www2.soc.go.th/?page_id=159 สภาเทคนิคการแพทย์. (๒๕๖๒). ที่มา / ประวัติสภาเทคนิคการแพทย์. สืบค้นจาก http://www.mtcouncil.org/site/about/history สมบัติ กาญจนกิจ. (๒๕๔๖). หลักการนันทนาการ. กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนารายวิชา เพื่อการเรียนการสอน ส�ำนักวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดาวน์โหลดหนงั สือ “เหรยี ญกษาปณ์สองสที ร่ี ะลกึ ในรัชกาลท่ี ๙” และทำ�แบบสำ�รวจความพึงพอใจได้ท่ี : http://bit.ly/32HNOZP

คณะผู้จัดท�ำ ที่ปรึกษา อธิบดีกรมพลศึกษา ดร.สันติ ป่าหวาย ดร.นิวัตน์ ล้ิมสุขนิรันดร์ รองอธิบดีกรมพลศึกษา นายชลทิตย์ ไชยจันทร์ ผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะด้านนโยบาย และแผน (งานภัณฑ์รักษ์) สำ� นกั ทรพั ยส์ นิ มคี า่ ของแผน่ ดนิ กรมธนารักษ์ รองศาสตราจารย์ สมควร โพธิ์ทอง ผู้ทรงคุณวุฒิด้านนันทนาการ รองศาสตราจารย์ ดร.สุรสิทธิ์ นาคสัมฤทธิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านนันทนาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิพงษ์ชัย ร้องขันแก้ว ผู้ทรงคุณวุฒิด้านนันทนาการ ดร.สราวุธ ชัยวิชิต ผู้ทรงคุณวุฒิด้านนันทนาการ ดร.อาคร ประมงค์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านนันทนาการ นายพัชระ ตั้งพานิช ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั นันทนาการ นางอุทัยวรรณ นพรัตน์ ผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านส่งเสริม และพัฒนานันทนาการ ผู้จัดท�ำ เรียบเรียง และบรรณาธิการ นักพัฒนาการกีฬาช�ำนาญการ ว่าท่ีร้อยตรี วิทวัส ศรีโนนยางค์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ กลุ่มนันทนาการเด็กและเยาวชน ส�ำนักนันทนาการ กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา



แบบสำ�รวจความพึงพอใจท่มี ตี ่อหนงั สือ “เหรยี ญกษาปณ์สองสีทร่ี ะลึกในรชั กาลที่ ๙” คำ�อธิบาย : แบบสำ�รวจน้มี ีวัตถุประสงค์เพ่อื ประเมินความพึงพอใจของกรมพลศึกษาและข้อมูลบางส่วน จะนำ�ไปปรับปรุง เพ่อื สนองต่อความพึงพอใจให้มากท่สี ุด ซ่งึ คำ�ตอบของท่านทุกข้อมีความสำ�คัญอย่างย่งิ ต่อการสำ�รวจคร้ังน้ี จึงขอความกรุณาท่านตอบคำ�ถามตามความเป็นจริง และความคิดเห็นท่ีแท้จริง ขอขอบคณุ ทใ่ี หค้ วามรว่ มมอื ส่วนที่ ๑ ขอ้ มูลส่วนบุคล หญงิ ๑.๑ เพศ ชาย ๑.๒ อายุ ..................ปี ๑.๓ อาชพี ................................................................................................ ๑.๔ ระดับการศกึ ษา ต่ำ� กวา่ ปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี สงู กวา่ ปริญญาตรี ๑.๕ ประเภทขององคก์ ร สว่ นราชการ / สถานศกึ ษา ภาคเอกชน ประชาชนท่วั ไป รัฐวิสาหกิจ / องค์กรมหาชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน เครอื ขา่ ย ดา้ น .............. อน่ื ๆ .................................................................................................. ส่วนท่ี ๒ การสำ�รวจความพงึ พอใจของผรู้ บั ที่ ประเด็นความพึงพอใจ / ไม่พึงพอใจ มากที่สุด ระดับความพึงพอใจ ๒.๑ รูปแบบส่ือ มาก น้อย น้อยที่สุด ไม่พอใจ ๒.๒ ความเหมาะสมของประเภทสื่อที่ผลิต ๒.๓ ความสะดวกในการใชส้ อ่ื ๒.๔ เนอ้ื หาสาระ ๒.๕ ตรงกบั ความตอ้ งการ ๒.๖ ความนา่ สนใจ ๒.๗ เข้าใจงา่ ย ภาพรวมความพงึ พอใจตอ่ สอื่ ๒.๘ ท่านน�ำ ขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชนด์ ้านใดบ้าง (สามารถระบไุ ดม้ ากกวา่ ๑ ข้อ) ใช้ในการเรยี นการสอน / อบรม ใช้ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ใช้ในการประกอบอาชีพ ใช้ในการอ้างอิงทางวิชาการ ใชใ้ นการอ่ืนๆ ........................................ ไมไ่ ดใ้ ช้ เน่ืองจาก ...................................... ๒.๙ สงิ่ ที่ท่านอยากใหเ้ พม่ิ เติม ..................................................................................................................

ก ุ่ลม ันนทนาการเด็กและเยาวชน ำส�นักนันทนาการ เลขที่ ๑๕๔ ถนนพระราม ๑ แขวง ัวงใหม่ เขตปทุม ัวน ก ุรงเทพฯ ๑๐๓๓๐ บริการธุรกิจตอบรับ ใบอนุญาตเลขที่ ปน.(ต)/0000 ปณศ.รองเ ืมอง ถ้าฝาก ่สงในประเทศไม่ต้องผ ึนกตราไปรษณียากร สว่ นท่ี ๓ หากทา่ นตอ้ งการรบั หรอื ให้ขอ้ มลู กบั กรมพลศึกษา โปรดระบุชอ่ งทางการสือ่ สารท่ีเหมาะสมกบั ท่าน (ระบุ ๓ อนั ดบั แรก) ช่องทาง ระบุโดยเรียงลำ�ดับ ๑-๓ ติดต่อด้วยตนเอง เว็บไซต์ www.dpe.go.th / เว็บบอร์ดของกรมพลศึกษา บอร์ดประชาสัมพันธ์ วารสาร รายงานประจำ�ปี หนังสือพิมพ์ Call Center, โทรศัพท์ อื่นๆ (โปรดระบุ) หากท่านดำ�เนนิ การกรอกขอ้ มลู เรียบรอ้ ยแล้ว ขอความกรุณาสง่ ไปรษณยี ์หรือโทรสารมาท่ี กลมุ่ นนั ทนาการเดก็ และเยาวชน สำ�นกั นันทนาการ กรมพลศึกษา โทรสาร ๐ ๒๒๑๔ ๑๕๐๙ ขอขอบคุณท่านมา ณ โอกาสนี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook