Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสัมมนาออนไลน์ หัวข้อ ครูประถมศึกษามืออาชีพ

การสัมมนาออนไลน์ หัวข้อ ครูประถมศึกษามืออาชีพ

Published by pornsawanapple01, 2022-02-17 02:13:09

Description: การสัมมนาออนไลน์ หัวข้อ ครูประถมศึกษามืออาชีพ

Search

Read the Text Version

การสัมมนาออนไลน์ หัวข้อ นางสาวชัชญา กลิ่นหอม ประธานการจัดงานสัมมนา \"ครูประถมศึกษามืออาชีพ\" วันจันทร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 12.30-16.00 น. คณะวิทยากร นางสาวปฏิญญา เงินฝรั่ง นางสาวสุปรียา เครือแก้ว นางสาวพรฟ้า นพมาศิรันดร์ นางสาวนพรัตน์ พึ่งผลพฤกษ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม

กิจกรรม ผู้เข้าร่วมสัมมนาคิดว่า ระหว่างครูอาชีพ กับอาชีพครูต่างกันอย่างไร ร่วมแชร์ความคิดเห็นกันผ่านช่องทาง

อาชีพครู Vs. ครูอาชีพ

อ า ชี พ ค รู ค รู อ า ชี พ คืออะไร ? คืออะไร ? ครูที่ใช้วิชาความรู้ที่ร่ำเรียนมา เป็น ครูที่เป็นครูด้วยใจรัก มีความพร้อมใน เครื่องมือในการหาเลี้ยงชีพ ไม่ได้เป็น ทุก ๆ ด้าน และได้รับการพัฒนาอย่างต่อ ครูด้วยใจรัก หรือสมัครใจ ครูประเภท เนื่องจนมีความรู้ ทักษะความสามารถใน นี้ไม่จำเป็นต้องเรียนวิชาชีพครู แค่สอน การจัดกิจกรรมให้แก่ผู้เรียน ประพฤติตัวดี จบไปวัน ๆ หนึ่งก็พอแล้ว โดยไม่สนใจ วางตัวดี เอาใจใส่และดูแลศิษย์ ปฏิบัติ ว่าศิษย์จะเข้าใจ หรือไม่เข้าใจก็ตาม ห น้ า ที่ ด้ ว ย จิ ต วิ ญ ญ า ณ ข อ ง ค ว า ม เ ป็ น ค รู ข อ ใ ห้ มี เ งิ น เ ดื อ น ต า ม วิ ท ย ฐ า น ะ ก็ พ อ

สิ่งที่ครูมืออาชีพควรตระหนัก คือ “คุณภาพการสอน” 1 สอนดี - จัดกระบวนการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ - มีกิจกรรมที่สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด ความต้องการและตามสภาพ ของผู้เรียนได้คิด ปฏิบัติและเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง - จัดการเรียนรู้ที่เน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรมและกระบวนการเรียนรู้ - สามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ - ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองจากเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

สิ่งที่ครูมืออาชีพควรตระหนัก คือ “คุณภาพการสอน” 2 มีคุณธรรมและวินัย - ปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูและจรรยาบรรณครู - ปฏิบัติตามระเบียบ วินัยข้าราชการครู 3 ใฝ่ก้าวหน้าและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง - พัฒนาตนเอง - พัฒนาการเรียนการสอน - พัฒนาผู้เรียน

ส ภ า พ ก า ร จ้ า ง ง า น อัตราค่าจ้างในช่วงเรีมต้นของครูนั้นจะแบ่งออกตาม ระดับการศึกษา แต่หากมีประสบการณ์ในการทำงาน ในสายอาชีพแล้ว จะมีระดับเงินเดือนที่เพิ่มสูงขึ้นตาม อายุงาน และหากมีความสามารถเฉพาะทางก็จะมีค่า วิชาชีพเพิ่มเข้ามาด้วย

3 อันดับวิชา ที่มีโอกาสบรรจุมากที่สุด จัดอันดับโดยทีมงานครูวันดี ปี 2562 อันดับที่ 2 อันดับที่ 3 สาขาวิชาภาษาไทย สาขาวิชาภาษาอังกฤษ อันดับที่ 1 สาขาวิชาประถมศึกษา เป็นเอกเปิดสอนในมหาลัยไม่กี่แห่ง เป็นวิชาเอกที่มีคนจบมาเยอะ แต่ เป็นวิชาเอกที่ต้องใช้ครูเอกภาษา เท่านั้น ทำให้มีคนจบน้อยกว่าอัตรา ก็มีความต้องการสูงมากพอ อังกฤษโดยตรง ครูในเอกอื่นไม่ ว่าง ไม่ถึง 1 ปี ดูได้จาก คนที่สอบ สมควร ในปี 61 มีหมดบัญชีกว่า สามารถสอนเเทนได้เนื่องจาก บรรจุในเอกประถมศึกษาในปี 61 10 จังหวัด เอกนี้ไม่ว่าจะกี่ปี ก็ยัง เป็นวิชาหลัก แต่ละโรงเรียน ใช้ครู หมดบัญชีแล้วทั่วประเทศ เป็นที่นิยมอยู่เสมอ วิชานี้หลายคน

สถิติการเรียกบรรจุครูประถมศึกษา ขึ้ น บั ญ ชี 811 สาขาวิชาการประถมศึกษา ได้บรรจุไปแล้วสูงถึง 86.31% บ ร ร จุ แ ล้ ว 700 ค ง เ ห ลื อ 111 (มีคนเรียนน้อย แต่ขาดแคลนอย่างมาก แต่ถ้าสอบติด มีโอกาสได้บรรจุสูง ที่สุด ส่วนมากแต่ละจังหวัดหมดบัญชีกันไปพอสมควรแล้ว มีเปิดสอนแค่บาง มหาวิทยาลัยเท่านั้น ถ้าจังหวัดไหนเอกประถมศึกษาหมดบัญชี จะเรียกบรรจุ เ อ ก ภ า ษ า ไ ท ย ไ ป บ ร ร จุ แ ท น ทั น ที )

คุณสมสรมรบถัตนิ &ะ ที่ครูประถมศึกษาควรมี

คุณสมบัติ ที่ครูประถมศึกษาควรมี

เป็นคนใจเย็น เพราะต้องอยู่กับเด็กๆ รักในการสอน ไม่หวงวิชา ตลอดเวลา ในบางครั้งที่ต้องดุหรือเตือน และมีความสุขในการถ่ายทอด เด็กๆ ก็ควรใช้เหตุผลเพื่ออธิบายให้เด็ก ความรู้ให้นักเรียน เข้าใจในเรื่องนั้น ๆ

มีความรับผิดชอบในอาชีพ เป็นคนจิตใจดี มีการดูแลเอาใจใส่ เด็กทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน

เป็นคนมีประสบการณ์ในหลายๆด้าน มีความรู้ความชำนาญในวิชาที่จะสอน ในการบอกเล่าประสบการณ์ชีวิตให้เด็กๆฟัง มีการคิดค้นเทคนิคให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น เพื่อเป็นแนวทางที่ดีให้กับเด็กๆ สามารถพัฒนาความสามารถ ของเด็กให้ดีขึ้นได้

สมรรถนะ ที่ครูประถมศึกษาควรมี

สมรรถนะ ที่ครูประถมศึกษาควรมี หมายถึง พฤติกรรมซึ่งเกิดจากการรวมความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) คุณลักษณะ(Character) ทัศนคติ (Attitude) และแรงจูงใจ (Motivation) ของบุคคล และส่งผลต่อความ สำเร็จในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างโดดเด่น

ทำความรู้จักกับ สมรรถนะดิจิทัล Digital Competency : DC Let's go!

สมรรถนะดิจิทัล Digital Competency : DC คือ ความรู้ ความสามารถ และทักษะการใช้ เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ส ร้ า ง สื่ อ ดิ จิ ทั ล ที่ จำ เ ป็ น สำ ห รั บ ทั ก ษ ะ ก า ร เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แนวคิดการศึกษาไทย 4.0 แ ล ะ ก ร อ บ ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ พั ฒ น า กำ ลั ง ค น เ พื่ อ ร อ ง รั บ ดิ จิ ทั ล เ พื่ อ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม

ระดับสมรรถนะดิจิทัล สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา ความรู้ + ทักษะ + การประยุกต์ใช้ สมรรถนะดิจิทัล (Knowledge) (Skill) (Apply) Digital Competency : DC ส ม ร ร ถ น ะ ดิ จิ ทั ล ส ม ร ร ถ น ะ ดิ จิ ทั ล ส ม ร ร ถ น ะ ดิ จิ ทั ล ขั้ น ก ล า ง ขั้ น สู ง DC 7 ขั้ น พื้ น ฐ า น DC 5 DC 6 DC 3 DC 4 DC 2 DC 1

ระดับสมรรถนะดิจิทัล สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา DC1 คือ การมีความสามารถขั้นพื้นฐานที่มีความรู้ จจะาสกรแุ ปผไนดภ้ ว่าาพ - เ กี่ ย ว กั บ ดิ จิ ทั ล DC3 DC4 คือ การมีความรู้พื้นฐาน + ทักษะในการ - จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ พื้ น ฐ า น DC5 DC6 คือ การนำความรู้พื้นฐาน + ทักษะไป - ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ เ พื่ อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ห รื อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ด้ ว ย DC7

กรอบสมรรถนะดิจิทัล 4 ด้าน ก า ร เ ข้ า ใ จ ดิ จิ ทั ล ก า ร ใ ช้ ดิ จิ ทั ล (Digital Literacy) (Digital Skill/ICT Skill) บุ ค ค ล มี ส ม ร ร ถ น ะ ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง บุ ค ค ล มี ส ม ร ร ถ น ะ ใ น ก า ร ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ ค้นหาคัดกรอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ และเทคโนโลยีต่างๆ ในด้านดิจิทัลได้อย่าง จัดการ ประยุกต์ใช้ สื่อสาร สร้าง มีประสิทธิภาพ หลากหลาย และสามารถ แ บ่ ง ปั น แ ล ะ ติ ด ต า ม ข้ อ มู ล ( D a t a ) ประยุกต์ใช้ในงานได้มากขึ้น ได้แก่ สารสนเทศ(Information) และสาร การประกอบอาชีพ การศึกษาและเรียนรู้ (Content Media) ได้อย่างเหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง การดำเนินชีวิต โดยไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น ปลอดภัย ประจำวัน เป็นต้น มีมารยาท มีความรับผิดชอบ

กรอบสมรรถนะดิจิทัล 4 ด้าน ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง มื อ ดิ จิ ทั ล ก า ร ป รั บ ตั ว (Problem Solving ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ดิ จิ ทั ล with Digital Tools) (Adaptive Digital Transform) บุ ค ค ล มี ส ม ร ร ถ น ะ ใ น ก า ร ยื ด ห ยุ่ น แ ล ะ บุ ค ค ล มี ส ม ร ร ถ น ะ ใ น ก า ร ร ะ บุ ค ว า ม ป รั บ ตั ว ต่ อ โ ล ก ที่ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อ ย่ า ง ต้องการและทรัพยากรได้ สามารถตัดสิน ร ว ด เ ร็ ว แ ล ะ ก ร ะ แ ส ค ว า ม เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต่ า ง ๆ ใ จ ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ ดิ จิ ทั ล ที่ ห ม า ะ ส ม ไ ด้ อ ย่ า ง เ ช่ น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ช า ญ ฉ ล า ด ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ ค ว า ม (Digital disruption) กระแสโลกาภิวัตน์ ต้องการได้ สามารถใช้เทคโนโลยีอย่าง (Globalization) เป็นต้น สามารถทำงาน สร้างสรรค์ สามารถแก้ปัญหาเชิงเทคนิค ร่ ว ม กั บ ผู้ อื่ น ที่ มี สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ ห ล า ก แ ล ะ ส า ม า ร ถ ป รั บ ป รุ ง พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ หลาย สามารถริเริ่มและเรียนรู้ด้วยตนเอง ต น เ อ ง ใ ห้ เ ท่ า ทั น โ ล ก ไ ด้

ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ เ พื่ อ พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ดิ จิ ทั ล การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Digital Learning คื อ ก า ร เ ปิ ด พื้ น ที่ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล ใ น ก า ร เ รี ย น รู้ ออกแบบสถานการณ์ ออกแบบกิจกรรม เตรียมควมพร้อมด้าน จัดระบบหรือขั้นตอน ที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การเรียนรู้ ทรัพยากรการเรียนรู้ การเรียนรู้ให้ชัดเจน ในการทำงานร่วมกัน อุปกรณ์การเรียนรู้ ให้มีความหลากหลาย แหล่งการเรียนรู้

ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ เ พื่ อ พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ดิ จิ ทั ล แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบ Digital Learning ส ร้ า ง แ ร ง จู ง ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น รู้ โ ด ย เ ปิ ด พื้ น ที่ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น มี อิ ส ร ะ ใ น ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล ข อ ง ผู้ เ รี ย น เลือกใช้เทคโนโลยี หากผู้เรียนใช้ แ น ะ นำ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เ ห็ น ค ว า ม สำ คั ญ แ ล ะ เทคโนโลยีดิจิทัล ไม่เหมาะสมกับ คุ ณ ค่ า ที่ แ ท้ จ ริ ง ข อ ง ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี วัตถุประสงค์ จึงชี้แนะให้ผู้เรียนเลือก ดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ ไม่ใช่เพื่อ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสม และ ค ว า ม ส นุ ก ส น า น เ พ ลิ ด เ พ ลิ น ต อ บ ส น อ ง วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์

ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ เ พื่ อ พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ดิ จิ ทั ล แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบ Digital Learning ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ ส ริ ม ส ร้ า ง คุ ณ ธ ร ร ม แ ส ว ง ห า เ ค รื่ อ ง มื อ ดิ จิ ทั ล เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ จ ริ ย ธ ร ร ม ใ น ก า ร ใ ช้ ใหม่ๆ ที่ตอบสนองความ เครื่องมือหรือ อุปกรณ์ดิจิทัล ต้ อ ง ก า ร ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น ห รื อ อุ ป ก ร ณ์ ดิ จิ ทั ล ไ ด้ ดี ก ว่ า เ ค รื่ อ ง มื อ ดิ จิ ทั ล ในการทำงาน เพื่อเป็น เ ชิ ง บู ร ณ า ก า ร การเปิดโลกทัศน์ ของการเรียนรู้ เ น้ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ต ร ะ ห นั แ บ บ เ ดิ ม ๆ แ บ บ ดิ จิ ทั ล ข อ ง ผู้ เ รี ย น ใ ห้ การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ หรือ ก ว้ า ง ข ว า ง ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น ท รั พ ย์ สิ น ท า ง ปั ญ ญ า ข อ ง บุ ค ค ล อื่ น

กิจกรรมการเรียนรู้ ทางดิจิทัล Digital learning activities

Wตัhวaอtย่iาspงtกichิจneกicinรdtรeaมryกn?aารtiเoรีnยaนl รู้ด้านการรู้ดิจิทัล ติ ด ต า ม ข่ า ว ส า ร บ น โ ล ก อ อ น ไ ล น์ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ที่ เ ชื่ อ ถื อ ไ ด้ จ า ก แ ห ล่ ง อ อ น ไ ล น์ วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม เ ชื่ อ ถื อ ไ ด้ ข อ ง ข้ อ มู ล อ อ น ไ ล น์ ส รุ ป ส า ร ะ สำ คั ญ ข อ ง ข้ อ มู ล อ อ น ไ ล น์ ที่ สื บ ค้ น ม า นำ ข้ อ มู ล อ อ น ไ ล น์ ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม แ ช ร์ ข้ อ มู ล ที่ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ บุ ค ค ล อื่ น

ตWัวhอaยt่าiงspกtิiจchneกiรcinรdtมeaกrynา?aรtเiรoียnนaรlู้ด้านการใช้ดิจิทัล ใช้ Application สร้างสรรค์ผลงาน ใช้ Application ในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ใช้ Application ในการสื่อสารกับบุคคลอื่น ใช้ Software computer สร้างสรรค์ผลงาน ใช้ Social media เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ ดิ จิ ทั ล แ ล ก เ ป ลี่ ย น ค ว า ม รู้ กั บ บุ ค ค ล อื่ น ใช้ Application ประชุมงานกลุ่มแบบออนไลน์ ใช้ Application สร้างคลิปวีดิโอสั้นนำเสนอผลงาน

What is ตtัhวeอยi่nาtงeกิrจnกatรiรoมnaกlารเรียนรู้ ด้านกpiาcรnแicก้dปัaญy?หาด้วยเครื่องมือดิจิทัล แ ก้ ปั ญ ห า โ ด ย ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ ดิ จิ ทั ล เ ค รื่ อ ง มื อ ดิ จิ ทั ล ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ ดิ จิ ทั ล ช่ ว ย วิ เ ค ร า ะ ห์ ปั ญ ห า ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ ดิ จิ ทั ล ช่ ว ย ก า ร ว า ง แ ผ น แ ก้ ปั ญ ห า มี ค ว า ม ห ม า ย ค ร อ บ ค ลุ ม ร ะ บุ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข้ อ มู ล ที่ ต้ อ ง ใ ช้ ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ถึ ง โ ป ร แ ก ร ม ห รื อ ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ ดิ จิ ทั ล ช่ ว ย ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ระบุ Application ที่สามารถช่วยแก้ปัญหาให้สำเร็จ Application ที่สามารถ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ ทิ จั ล ส ร้ า ง ส ร ร ค์ น วั ต ก ร ร ม เ พื่ อ ก า ร ใ ช้ ง า น ไ ด้ ด้ ว ย ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า เชื่อมต่อ Internet

What is ตtัhวeอยi่nาtงeกิrจnกatรiรoมnaกlารเรียนรู้ ด้านกาpรiปc nรัiบc ตdัวaตy่อ? การเปลี่ยนแปลงดิจิทัล ริเริ่มสิ่งใหม่ๆ ที่แตกต่างจากเดิม ใช้ข้อมูลอ้างอิงจากแหล่ง Original ส ร้ า ง ส ร ร ค์ น วั ต ก ร ร ม ที่ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ แ ล ะ เ รี ย น รู้ ด้ ว ย ต น เ อ ง ป รั บ เ ป ลี่ ย น วิ ธี ก า ร ทำ ง า น ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ ทำ ง า น ร่ ว ม กั บ บุ ค ค ล อื่ น ที่ มี ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม

บทบาทครูประถมในยุคดิจิทัล 1 ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ และฝึกปฏิบัติเพื่อสามารถ ใช้สื่อเหล่านั้นให้ได้ เช่น การอบรม หรือการปฏิบัติ เป็นต้น 2 สอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ ครูทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือสนับสนุน ให้ผู้เรียน (facilitator) ครูต้องสร้างสมรรถนะให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน คือ ความสามารถด้านไอทีที่ 3 จำเป็นให้มีความรู้ ทักษะ ความคิด การสื่อสาร หรือที่เรียกว่า Digital Learning หมายถึง การเรียนรู้ของผู้เรียนโดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล 4 ส่งเสริมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นผู้ช่วย คือ ครูต้องฝึกนิสัย ให้ผู้เรียนรักการเรียนรู้ รักการค้นคว้า ใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์

ไลฟ์สไตล์ การทำงานของครูประถมศึกษา

แต่ละวันครูประถมฯต้องทำอะไรบ้างนะ? 1. วางแผนการสอน การ 2. วางกฎระเบียบใน 3. สอนนักเรียนเป็น มอบหมายงานให้นักเรียน ห้องเรียนร่วมกับนักเรียน กลุ่มหรือรายบุคคล โดยใช้ และโครงการต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติตาม วิธีการสอนที่หลากหลาย หน้าที่ของตน (เช่น การบรรยาย การอภิปราย การสาธิต) 4. ปรับวิธีการสอน และเนื้อหา 5. พบพ่อแม่หรือผู้ปกครอง เพื่อ การเรียนการสอน เพื่อตอบสนอง หารือเกี่ยวกับความก้าวหน้าของ ความต้องการและความสนใจที่ นักเรียน หรือหาทางออกให้กับ แตกต่างกันของนักเรียน ปัญหาการเรียนและพฤติกรรม

ความหมายของบทบาท บทบาท คือ ภาระที่ต้องรับผิดชอบตามสถานภาพของแต่ละบุคคล หมายความว่า บุคคลใดมีสถานภาพหรือตำแหน่งอย่างใด ก็ต้องรับผิด ชอบตามสถานภาพหรือตำแหน่งของตนที่ได้มา ไม่ว่าจะได้มาโดยกำเนิด โดยการกระทำ หรือโดยการแต่งตั้งให้เป็นไปตามที่สังคมคาดหวัง

ความหมายของหน้าที่ หน้าที่ คือ กิจที่ต้องกระทำ หรือสิ่งที่บุคคลจำเป็นต้องกระทำ ทั้งนี้ อาจเป็นความจำเป็นตามหลักศีลธรรม กฎหมาย หรือด้วยความสำนึกที่ ถูกต้องเหมาะสม

บทบาท หน้าที่ของครู บทบาท หน้าที่ของครู หมายถึง ภาระงานที่ผู้เป็นครูจำเป็นต้องกระทำให้ เสร็จสิ้นสมบูรณ์ ซึ่งอาจเป็นความจำเป็นต้องอาศัยหลักศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม กฎหมาย หรือด้วยสำนึกในความถูกต้องเหมาะสมก็ได้

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของครูตามรูปคำ “TEACHERS” T (Teaching) - การสอน หมายถึง การอบรมสั่งสอนศิษย์ให้มีความรู้ ความสามารถในวิชาการทั้งหลายทั้งปวง ซึ่งถือว่าเป็นงานหลักของครูทุกคน ทุกระดับชั้นที่สอน E (Ethics) - จริยธรรม หมายถึงหน้าที่ในการอบรมจริยธรรมให้แก่นักเรียน นอกจากนี้ครูทุกคนจะต้องประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นผู้มีจริยธรรมอันเหมาะสม อีกด้วย เพราะพฤติกรรมอันเหมาะสมที่ครูได้แสดงออกจะเป็นเครื่องมือที่ สำคัญในการปลูกฝังศรัทธาให้ศิษย์ได้ปฏิบัติตาม

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของครูตามรูปคำ “TEACHERS” A ( Academic) - วิชาการ หมายถึง ครูต้องมีความรับผิดชอบในวิชาการอยู่เสมอ C (Cultural Heritage) - การสืบทอดวัฒนธรรม หมายถึงครูต้องมีหน้าที่รับผิด ชอบเกี่ยวกับการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมจากคนรุ่นหนึ่งให้ตกทอดไปสู่คน อีกรุ่นหนึ่ง หรือ รุ่นต่อๆไป

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของครูตามรูปคำ “TEACHERS” H ( Human Relationship) - มนุษย์สัมพันธ์ หมายถึง การมีมนุษย์สัมพันธ์อันดี ของครูต่อบุคคลทั่วๆไป เพราะการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีจะช่วยให้ครูสามารถ ปฏิบัติหน้าที่ของครูได้อย่างมีประสิทธิภาพ E (Evaluation) – การประเมินผล หมายถึงการประเมินผลการเรียนการสอน นักเรียนซึ่งถือว่าเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำคัญยิ่งอีกประการหนึ่งของครู เพราะการประเมินผลการเรียนการสอนเป็นการวัดความเจริญก้าวหน้าของศิษย์ใน ด้านต่างๆ

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของครูตามรูปคำ “TEACHERS” R (Research) – การวิจัย หมายถึง ครูต้องเป็นนักแก้ปัญหา เพราะการวิจัยเป็นวิธีการ แก้ปัญหาและการศึกษาหาความจริง ความรู้ที่เชื่อถือได้ S (Service) - บริการ หมายถึง การให้บริการ คือ ครูจะต้องให้บริการแก่สังคมหรือ บำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม

ไลฟ์สไตล์การทำงาน ครูประถมศึกษามืออาชีพ การพูดในที่สาธารณะ บ่อยครั้ง การประสานงานหรือนำผู้อื่น ทุกวัน ความแม่นยำในการทำงาน สูง การอยู่ห้องแอร์ บ่อยครั้ง การเจอทีม ทุกวัน การแข่งขัน ปานกลาง อิสระในการตัดสินใจ สูง ความขัดแย้ง สูง ลักษณะเวลาทำงาน เวลาทำงานเป็นกิจวัตร (Regular) ระยะเวลาที่ใช้ในการทำงาน มากกว่า 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

ครูประถมอาชีพที่ไม่ง่าย ครูประถมต้องดูแลเด็กนักเรียนจำนวนมาก ซึ่งเด็กแต่ละคนก็มีบุคลิกที่ต่างกัน บางคนอาจจะ ซุกซน ชอบแกล้งเพื่อน หรือบางครั้งเด็กๆ อาจ ทะเลาะกัน ครูประถมต้องคอยแก้ไขสถานการณ์ เหล่านี้ จึงอาจเกิดความเครียดได้ นอกจากนี้ยังต้อง ยืนสอนหน้าชั้นเรียนและพูดทั้งวัน จึงอาจเจ็บคอ และเมื่อยล้าได้ ผู้ที่จะเป็นครูประถมได้จึงต้องเป็น คนใจเย็นมีความอดทนและความเมตตา

ครูประถมช่วยพัฒนาเด็กในหลายด้าน โรงเรียนประถมศึกษามีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กเติบโตเป็นคนที่สมบูรณ์ จึงไม่เพียง อบรมสั่งสอนความรู้เท่านั้น แต่ยังพัฒนาความเป็นมนุษย์ทั้งในด้านสังคม อารมณ์ ร่างกาย และสติปัญญา ครูประถมจะคอยสังเกตนักเรียนแต่ละคนในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น บุคลิกภาพ อุปนิสัย พฤติกรรม ความถนัด เป็นต้น เพื่อให้คำแนะนำและพัฒนานักเรียน ได้อย่างเหมาะสม

จรรยาบรรณครู ครูประถมทุกคนจะต้องมีจรรยาบรรณครู เป็นส2ิ่งจำเป็น ซึ่งก็คือความประพฤติที่ดีงามของผู้ที่เป็นครู เช่น รักและเมตตาศิษย์ อบรมสั่งสอนทักษะ ความรู้และนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้แก่ศษย์ อย่างเต็มความสามารถ ประพฤติตนเป็นแบบ อย่างที่ดี แก่ศิษย์ทั้งทางกายวาจาและจิตใจ ไม่แสวงหาประโยชน์จากศิษย์พัฒนาตนเอง ทั้งทางด้านวิชาชีพบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ เป็นต้น

ผู้เชี่ยวชาญงานวิชาการ นอกจากจะต้องมีความสามารถในด้านการสอนแล้ว ครูประถมควรมีความ ชำนาญในงานวิชาการ ซึ่งเป็นงานเกี่ยวกับการพัฒนาหรือปรับปรุงคุณภาพของการ เรียนการสอนให้ได้ผลดีและมีประสิทธิภาพ เช่น การปรับปรุงหลักสูตร การจัดทำา แผนการสอน การออกข้อสอบและแบบฝึกหัด การจัดทำสื่อการสอน การตรวจข้อสอบ การประเมินผล การเรียน การเขียนสมุดรายงานผลการเรียน (สมุดพก) เป็นต้น

หลังจากที่นักเรียนกลับบ้านไปแล้วครูประถม ภาระงานของครู ยังมีงานที่ตองทำอีกมากมาย เช่น ดูแลความสะอาด หลังเลิกเรียน เรียบร้อยของห้องเรียน ตรวจงาน ตรวจการบ้าน เตรียมแผนการสอนของวันรุ่งขึ้น เขียนบันทึกการ สอนประจำวัน ทำระเบียนประจำตัวนักเรียน เป็นต้น นอกจากนี้ยังต้องจัดเตรียมงานกิจกรรม ต่าง ๆ ของทางโรงเรียน เช่น งานวันวิชาการ งาน กีฬาสี เป็นต้น รวมทั้งอาจต้องทำจดหมายแจ้งผู้ ปกครองในเรื่องต่างๆ เช่น เชิญประชุมผู้ปกครอง นักเรียน แจ้งการปิดและเปิดภาคเรียน เป็นต้น

ภาระงานของครูในช่วงปิดเทอม ครูประถมต้องเข้าร่วมการอบรมต่างๆ อยู่เสมอ ต้องศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติม เพื่อให้เป็นคนรอบรู้และทันสมัย นอกจากนี้ยังต้องพัฒนาการ เรียนการสอนแบบใหม่ๆ และอาจต้องพานักเรียนไปเข้าค่ายนอก สถานที่อีกด้วย

การเตรียมความพร้อมสู่อาชีพ และ แนวทางการพัฒนาตนเองสู่ครูมืออาชีพ

มาทำความรู้จัก สาขาวิชา การประถมศึกษา

เรียนเกี่ยวกับ อะไร? สาขาวิชาการประถมศึกษาจะศึกษาเกี่ยวกับ ทฤษฎีทางการประถมศึกษา พัฒนาการและ การเรียนรู้ของผู้เรียน วิธีการจัดการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook