Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.64)

วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.64)

Published by boomsdu, 2022-05-17 07:00:31

Description: วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.64)

Search

Read the Text Version

จากข้อมูลปัจจัยทางการตลาดท่ีผู้บริโภคได้แสดงความคิดเห็น สามารถสรุปในเบื้องต้นได้ว่า ผู้บริโภคให้ความส�ำคัญกับคุณภาพของสินค้าท่ีต้องได้รับการรับรองมาตรฐานและมีภาชนะบรรจุท่ีปลอดภัย ไม่มีสารปนเป้อื น (ตามขอ้ 1.2-1.4) สินค้าดงั กล่าว ตอ้ งมีระดับราคาทเ่ี หมาะสม (ตามขอ้ 2.1) สามารถเขา้ ถงึ แหลง่ สนิ ค้าได้อย่างสะดวกและมสี ินค้าใหเ้ ลือกหลากหลาย (ตามขอ้ 3.2-3.3) โดยผู้จ�ำหน่ายควรตอ้ งมีการรับ ประกันคุณภาพสินคา้ และสามารถส่ือสารขอ้ มูลตา่ ง ๆ ท่จี ำ� เปน็ ใหผ้ ู้บริโภคไดร้ บั ทราบด้วย (ตามขอ้ 4.3-4.4) (Wongprasert & Chuaboon, 2018) จากประเดน็ คำ� ตอบทปี่ รากฏ พบวา่ เปน็ รูปแบบวถิ ีชวี ิตของผบู้ ริโภค ในยคุ ปจั จบุ นั ซงึ่ การสง่ เสรมิ สนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ์ จงึ ควรตอ้ งพจิ ารณาตลอดหว่ งโซอ่ ปุ ทานทสี่ ามารถตอบสนอง ต่อความต้องการของผบู้ ริโภคได้ อภิปรายผล จากการสรปุ ผลข้างตน้ การสง่ เสริมตลาดในปัจจบุ นั ยังพบปัญหาเก่ยี วกับความเขา้ ใจ กล่าวคอื ความ สบั สนของเกษตรกรและผู้บรโิ ภค เกยี่ วกับมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี แ์ ละอาหารสขุ ภาพ โดยเฉพาะในกรณขี อง ความแตกต่างระหว่างเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย เป็นต้น ซ่ึงผู้บริโภคส่วนใหญ่ยังมีความเข้าใจว่า ผลติ ภณั ฑป์ ลอดสารพษิ หรอื ไรส้ ารพษิ คอื ผลติ ภณั ฑเ์ กษตรอนิ ทรยี ์ (Jai-aree, 2018; Chootiwisuthi, 2019) อยา่ งไรกต็ าม ประเดน็ ทผี่ บู้ รโิ ภคโดยสว่ นใหญใ่ หค้ วามสำ� คญั คอื คณุ ภาพของผลผลติ ทม่ี ตี อ่ สขุ ภาพและสภาพ แวดลอ้ ม ซง่ึ อาจตคี วามไดว้ า่ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเปน็ สนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ์ จากผลการวจิ ยั ทนี่ ำ� เสนอ ผวู้ จิ ยั ไดท้ ำ� การ อภิปรายผลตามวตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั ดังนี้ 1. ความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติ และระดับความคิดเห็นเก่ียวกับปัจจัยทางการตลาดสินค้าเกษตร อินทรียใ์ นมมุ มองของผู้บริโภค ในดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ พบวา่ ผบู้ รโิ ภคสนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ์ มที ง้ั ผทู้ เ่ี ขา้ ใจและสามารถแยกแยะ ความแตกต่างของเกษตรอินทรีย์และเกษตรท่ัวไปได้ ทว่ายังมีผู้บริโภคอีกจ�ำนวนมากท่ียังไม่เข้าใจและ ไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างของสินคา้ เกษตรแต่ละประเภทไดอ้ ย่างชัดเจน อกี ทง้ั ผู้บรโิ ภคบางสว่ นกย็ ัง มีความไม่แน่ใจ ซึ่งก็อาจถือได้ว่าเป็นผู้บริโภคที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเกษตรอินทรีย์อย่างชัดเจน จากปัญหาเหลา่ น้ี เมื่อพิจารณาแล้ว เป็นผลมาจากการขาดการสอื่ สารหรือการให้ความรคู้ วามเขา้ ใจทีถ่ กู ต้อง เนื่องจากการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย์จะมีกฎเกณฑ์และมาตรฐานท่ีละเอียดมากกว่าการเพาะปลูกแบบ เกษตรทัว่ ไป (Pornpratansombat, Bauer & Boland, 2011; Lemon & Verhoef, 2016) ที่สำ� คัญ การมี ความรู้ความเข้าใจในส่ิงเหล่าน้ี จะกลายเป็นจุดเปล่ียนส�ำคัญท่ีท�ำให้ผู้บริโภคสามารถเลือกที่จะบริโภคสินค้า ท่ีเป็นประโยชน์กับตนเองได้มากที่สุด ด้วยศักยภาพในการจ่าย และความสามารถในการเข้าถึงแหล่งสินค้า (Vivek, Beatty & Morgan, 2012) ในด้านทศั นคติ พบว่า ผู้บรโิ ภคสนิ คา้ เกษตรอินทรยี ม์ วี ัตถุประสงคก์ เ็ พือ่ การมีสุขภาพร่างกายท่ดี ี ไดบ้ รโิ ภคอาหารทไี่ มม่ สี ารพษิ ปนเปอ้ื นหรอื มอี นั ตรายตอ่ สขุ ภาพรา่ งกาย เมอ่ื พจิ ารณาโดยอา้ งองิ ขอ้ สรปุ เกย่ี ว กับความรู้ความเข้าใจเป็นส่วนประกอบแล้ว สามารถกล่าวได้ว่า ความต้องการในการบริโภคสินค้าเกษตร อินทรยี ์ เปน็ เพยี งแค่ความต้องการที่จะบริโภคสนิ ค้าท่ีมีความปลอดภยั ไรส้ ารพษิ หรือสารปนเป้อื น มากกว่า ทจ่ี ะเน้นหรือให้ความส�ำคัญว่าจะตอ้ งเป็นสนิ ค้าเกษตรอนิ ทรยี ์ (Chootiwisuthi, 2019) อีกทง้ั ผลการสำ� รวจ 242 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ

จากหลายองค์กร พบว่า แนวโน้มพฤติกรรมของผู้บริโภคมีการดูแลสุขภาพและนิยมรับประทานอาหารที่ คงความสดใหม่ คณุ ภาพสงู และมีคุณค่าทางโภชนาการเพ่มิ มากข้นึ (Jai-aree, 2018) จากประเดน็ นี้ ถอื ได้ ว่าเป็นการเน้นย�้ำความส�ำคัญของอาหารที่มีความปลอดภัย โดยไม่จ�ำเป็นที่จะต้องเป็นสินค้าเกษตรอินทรีย์ และทสี่ ำ� คัญ การบรโิ ภคสนิ คา้ เกษตรอินทรยี ์เน่อื งจากกระแสนิยมนั้น อาจไม่เป็นความจรงิ เนือ่ งจากผลลัพธ์ จากการเก็บข้อมูลได้สะท้อนให้เห็นว่า ผู้บริโภคให้ความส�ำคัญไปท่ีการดูแลสุขภาพ ซ่ึงถือเป็นเรื่องปกติใน วถิ ชี วี ิต ณ ปจั จบุ ันมากกวา่ ในด้านปจั จยั การตลาด ซ่งึ ครอบคลุมตัวแปรส�ำคัญ คือ ผลผลิตภณั ฑ์ (Product) การจดั จ�ำหน่าย (Place) การกำ� หนดราคา (Price) และการสง่ เสรมิ การตลาด (Promotion) สามารถสรุปประเดน็ สำ� คญั ได้ คือ (1) ผู้บริโภคให้ความส�ำคัญกับสินค้าท่ีได้รับการรับรองมาตรฐานหรือมีการรับประกันคุณภาพ มากกว่าทีจ่ ะพจิ ารณาวา่ เปน็ ผลิตภัณฑข์ องหน่วยงานใด ดังนนั้ อาจกล่าวได้ว่า ความปลอดภยั ของสินค้าเปน็ ปัจจัยส�ำคัญท่ีผู้ประกอบการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จ�ำเป็นต้องส่งเสริมและพัฒนาให้ได้มาตรฐาน ซ่ึง มาตรฐานของสนิ ค้าเกษตรอนิ ทรยี ์ ณ ปัจจบุ นั มหี ลักเกณฑแ์ ละเงือ่ นไขในการก�ำกบั ดูแลตลอดกระบวนการ ตงั้ แตก่ ารจดั เตรยี มพน้ื ทเี่ พาะปลกู การเพาะปลกู การเกบ็ เกยี่ ว การจดั เกบ็ และการขนสง่ (National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards, 2009) (2) ผู้บริโภคต้องการความสะดวกในการหาซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์ได้ง่าย ซ่ึงเมื่อพิจารณาจาก ข้อมูลแล้ว พบว่า สถานท่ีจ�ำหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์ยังมีจ�ำนวนไม่มากนัก ส่วนหน่ึงอาจเป็นผลมาจาก เกษตรกรโดยสว่ นใหญไ่ มม่ ที นุ ทจ่ี ะดำ� เนนิ การพฒั นาผลผลติ ของตน ใหเ้ ปน็ ไปตามกระบวนการเพาะปลกู แบบ เกษตรอินทรีย์ อีกทั้งจ�ำนวนผลผลิตที่สามารถผลิตได้ มีจ�ำนวนจ�ำกัด เม่ือเทียบกับสินค้าเกษตรโดยท่ัวไป (GreenNet, 2014) (3) จากผลการวิจัย พบว่า ระดับราคาของสินค้าเกษตรอินทรีย์ยังคงเป็นปัจจัยส�ำคัญที่มีผลต่อ การตัดสินใจซ้ือสินค้าเกษตรอินทรีย์ อีกทั้งยังมีจ�ำนวนเพียงไม่กี่ประเภทเท่านั้น จึงท�ำให้ตัวเลือกส�ำหรับผู้ บริโภคมีจำ� กดั (Noisopha, 2015) ราคาสนิ คา้ เกษตรอนิ ทรียท์ ่ีอยใู่ นระดบั สงู เม่ือเปรียบเทียบกับราคาสนิ ค้า เกษตรโดยทว่ั ไป สว่ นหนง่ึ เป็นผลมาจากกระบวนการผลติ การบรรจุ การเก็บรักษา และการขนสง่ ที่ต้องมกี าร ควบคุมการปนเปื้อนอยา่ งดี (4) เมอ่ื พจิ ารณาในกรณขี องการสง่ เสรมิ การตลาดสนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี แ์ ลว้ สามารถอา้ งองิ ขอ้ มลู จากความรู้ความเข้าใน และทัศนคติของผู้บริโภคได้ว่า สินค้าเกษตรอินทรีย์เป็นสินค้าท่ีไม่ได้มีจ�ำหน่ายโดย ท่ัวไปเหมอื นกับสินคา้ เกษตรอื่น ๆ ทส่ี ามารถหาซ้ือได้ในทุกที่ อีกทง้ั ช่องทางการตลาดท่ยี ังไม่เปน็ ที่แพรห่ ลาย จงึ เปน็ ขอ้ จำ� กดั อยา่ งหนงึ่ สำ� หรบั การทำ� การตลาด และยงั สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ของ Belch และ Belch (2007) ทไ่ี ดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั ความเขา้ ใจของผบู้ รโิ ภคทม่ี ตี อ่ ลกั ษณะและคณุ สมบตั ขิ องสนิ คา้ และทศั นคตขิ องผบู้ รโิ ภค ท่มี ีต่อสินคา้ ซ่งึ จะส่งผลต่อพฤติกรรมและการตัดสินใจเลือกซอ้ื สินค้าน้นั  ๆ (Assael, 1995; Schiffman & Kanuk, 2007) 2. ขอ้ เสนอแนะในการส่งเสริมสนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ์เพื่อตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค แม้ว่าปัจจุบัน การดูแลสขุ ภาพจะเปน็ เรอื่ งท่ีประชาชนท่วั ไปใหค้ วามสำ� คัญมากขึน้ แตพ่ ฤตกิ รรม ของผู้บริโภคย่อมมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ โดยเฉพาะทางเลือกในการดูแลสุขภาพ ซึ่งจากทัศนคติของ ผบู้ ริโภคอาจตีความหมายรวมถงึ การบริโภคอาหารท่มี ีความปลอดภยั ต่อสุขภาพและไมเ่ กดิ ผลเสียต่อร่างกาย ปที ี่ 17 ฉบับที่ 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 243

ดว้ ยประเดน็ ขอ้ ค้นพบน้ี ยงั สะทอ้ นถงึ ปญั หาในเชงิ ความร้คู วามเขา้ ใน และทัศนคติของผู้บริโภคทีม่ ตี ่อสินคา้ เกษตรอินทรีย์ รวมท้ังตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ท่ียังไม่เปิดกว้างมากนักส�ำหรับผู้บริโภคในปัจจุบัน ไม่ว่าจะ ดว้ ยเหตผุ ลของคณุ ภาพของสนิ คา้ ทย่ี งั ไมส่ ามารถสรา้ งความมน่ั ใจใหก้ บั ผบู้ รโิ ภคได้ หรอื สถานทจ่ี ำ� หนา่ ยสนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ท์ ย่ี งั มไี มแ่ พรห่ ลายมากนกั ระดบั ราคาของสนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ท์ ส่ี งู กวา่ สนิ คา้ เกษตรทวั่ ไป หรอื แม้แต่การประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับสินค้าเกษตรอินทรีย์ และประโยชน์จากการบริโภคสินค้า เกษตรอนิ ทรียท์ ่ียังอยู่ในขอบเขตท่จี ำ� กดั จึงถอื เป็นบทเรยี นสำ� คัญส�ำหรบั ผปู้ ระกอบการท่ีควรทำ� ความเขา้ ใจ ลักษณะความต้องการของผู้บริโภค รวมท้ังพัฒนาผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์ของตนให้ก้าวทันตามความต้องการ ของผ้บู รโิ ภคที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (Vivek, Beatty & Morgan, 2012) จากสภาพปัญหาท่ีเก่ียวกับสินค้า และการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ ซึ่งน�ำเสนอในงานวิจัยนี้ เราจงึ สามารถจำ� แนกแนวทางการพฒั นาไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 3 เร่ืองส�ำคัญ คือ (1) การพฒั นาสินคา้ ใหม้ คี ณุ ภาพตาม มาตราฐานสากล ในระดบั ราคาทไี่ มส่ งู มากนกั และสามารถหาซอื้ ไดโ้ ดยทวั่ ไป (2) การพฒั นาตลาดสนิ คา้ เกษตร อินทรีย์โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารท่ีหลากหลาย ตามพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เข้าสู่ยุคดิจิทัล ซึ่งอาจมี ศกั ยภาพในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดโ้ ดยงา่ ยและหลากหลายชอ่ งทาง และ (3) หนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชนควร ต้องมีความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในการสนับสนุน และส่งเสริมให้มีแหล่งจ�ำหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ หลากหลาย และสามารถตรวจสอบกระบวนการผลิตทั้งระบบเพ่อื สร้างความมน่ั ใจต่อผูบ้ รโิ ภคได้ เป็นต้น เม่อื อภปิ รายขยายความ สามารถอธบิ ายได้วา่ หน่วยงานภาครฐั ทีเ่ กี่ยวข้อง เช่น กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ หรอื กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ซ่ึงมีหนว่ ยงานวิจยั อยู่ในสังกัด จำ� นวนมาก และกระจายอยู่ในหลายพ้นื ท่ีทัว่ ประเทศ ควรใหก้ ารสนับสนุนการวิจยั และพัฒนาปจั จยั การผลติ วิธีการผลิต วิธีการเก็บเกยี่ ว วธิ ีการเกบ็ รักษา วธิ ีการบรรจุหบี ห่อ วธิ กี ารขนสง่ รวมท้งั เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือเคร่ืองมือที่เก่ียวข้องกับกระบวนการผลิต เพื่อประโยชน์ทางด้านการยกระดับคุณภาพของสินค้าเกษตร อินทรีย์ให้มีความน่าเช่ือถือเทียบเท่าระดับสากล และมีประเภทของสินค้าและระดับราคาท่ีไม่สูงจนเกินไป ที่ส�ำคัญ หน่วยงานภาครัฐและผู้ประกอบการภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ควรศึกษาช่องทางในการท�ำการตลาด สนิ คา้ เกษตรอนิ ทรยี ใ์ หส้ ามารถขยายตวั ไดม้ ากขน้ึ ควบคกู่ บั การศกึ ษาแนวทางในการใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ในกบั ประชาชนเกีย่ วกบั สนิ คา้ เกษตรอินทรีย์ ข้อเสนอแนะ จากการสรปุ และอภปิ รายผล พบประเดน็ ปญั หาทง้ั ในเชงิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ ทศั นคติ และการทำ� การ ตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ในหลากหลายแง่มุม ซ่ึงประเด็นเหล่านี้ เป็นหน้าท่ีของหน่วยงานภาครัฐและ ผู้ประกอบการภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้อง ที่จะต้องด�ำเนินการพิจารณาร่วมกัน ในการก�ำหนดทิศทางการพัฒนา เกษตรอินทรีย์ให้มีความชัดเจนมากขึ้น ความชัดเจนดังกล่าว หมายถึง การมุ่งเน้นการส่งเสริมและพัฒนา เกษตรกรใหท้ ำ� การเกษตรแบบอนิ ทรยี ม์ ากขนึ้ หรอื จะสง่ เสรมิ และพฒั นาเกษตรกรใหท้ ำ� การเกษตรแบบปลอด สารพษิ ซงึ่ รปู แบบการทำ� การเกษตรทง้ั 2 รปู แบบนมี้ คี วามแตกตา่ งกนั การกำ� หนดทศิ ทางการพฒั นาทช่ี ดั เจน จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การกำ� หนดแนวทางการสง่ เสรมิ และพฒั นาเกษตรกรในการผลติ สนิ คา้ เกษตรใหม้ คี ณุ ภาพ ตามมาตรฐาน สามารถควบคมุ ตน้ ทนุ การผลติ และสามารถควบคมุ ราคาขายใหอ้ ยใู่ นระดบั ทเ่ี หมาะสม รวมทงั้ 244 บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต

สามารถก�ำหนดแนวทางและวิธีการในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชน ในการเลอื กซอ้ื สนิ คา้ หรอื การบรโิ ภคสนิ คา้ เกษตรไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและเปน็ ไปตามความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค ต่อไป References กรมวชิ าการเกษตร. (2555). มาตรฐานสนิ ค้าเกษตร มกษ. 9000 เลม่ 1-2552. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพฒั นา ระบบและรบั รองมาตรฐานสินคา้ พืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ กรีนเนท. (2557). สถานการณเ์ กษตรอินทรยี ์ไทย. [Online]. Available: http://www.greennet.or.th/ article/organic-farming. [2558, มกราคม 3]. ณชั ชา ลกู รกั ษ,์ ดสุ ติ อธนิ วุ ฒั น์ และธรี ะ สนิ เดชารกั ษ.์ (2556). ปญั หาและอปุ สรรคในการปรบั เปลย่ี นเพอื่ การ ผลติ พชื ผกั อนิ ทรยี ข์ องเกษตรกรจงั หวดั ราชบรุ ที ผี่ า่ นการอบรมโครงการพฒั นาระบบเกษตรอนิ ทรยี .์ Thai Journal of Science and Technology, 2 (2): 125-133. ปกฉัตร ชตู ิวิศทุ ธ์ิ. (2562). เกษตรอินทรีย์ วถิ ียโสธร...แนวทางการเกษตรจากเมืองเกษตรอินทรยี ต์ น้ แบบของ ประเทศไทย. วารสารสงิ่ แวดล้อม, 23 (2): 1-13. วริพัสย์ เจียมปัญญารัช. (2560). ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความยั่งยืนของเกษตรกรอินทรีย์ของไทย: บทเรียนจาก เกษตรกรรายยอ่ ย. วารสารสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ, 20: 199-215. ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2561). ตลาดออร์แกนิค ธุรกิจสร้างเงิน SME ไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ธนาคารกสกิ รไทย. สมเกยี รติ วงศ์ประเสริฐ และวิลาวรรณ์ เชอ้ื บญุ . (2561). ทศั นคติต่อสนิ ค้าอาหารอินทรียข์ องผู้บริโภค ในเขต กรงุ เทพมหานคร. Thai Journal of Science and Technology, 7 (4): 399-407. ส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.). (2552). มาตรฐานและข้อก�ำหนดส�ำหรับ หน่วยรับรองตามมาตรฐาน IFOAM, JAS, และ NOP. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานมาตรฐานสินค้า เกษตรและอาหารแห่งชาติ. สำ� นกั งานสถติ ิแหง่ ชาต.ิ (2562). สถติ ิรายไดแ้ ละรายจา่ ยครัวเรือน. [Online]. Available: http://statbbi. nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx. [2562, มิถุนายน 10]. สุณัฐวีย์ น้อยโสภา. (2558). “เกษตรอินทรีย์” โอกาสการส่งออกของเกษตรกรไทยในตลาดโลก. วารสาร วชิ าการมหาวิทยาลัยธนบรุ ,ี 9 (18): 83-91. อภิชาต ใจอารีย์. (2561). แนวทางการขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์เพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหารปลอดภัย สำ� หรบั ชุมชน: บทสะทอ้ นจากภาคปฏบิ ตั .ิ วารสารมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, 38 (5): 1-17. ปที ี่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 245

References Assael, H. (1995). Consumer Behavior and Marketing Action (5th ed.). U.S.A.: International Thomson. Belch, G. E. & Belch, M. A. (2007). Advertising and Promotion: An Integrated Marketing Communications Perspective. Boston, MA: Graw-Hill Irwin. Best, J. & Kahn, J. V. (1993). Research in Education. Boston: Allyn and Bacon. Cronbach, L. J. (1951). Coefficient Alpha and the Internal Structure of Tests. Psychometrika, 16 (3): 297-334. Cochran, W. G. (1953). Sampling Techniques. New York: Experimental Designs. Kotler, P. (2011). Marketing Management: Analysis Planning Implementation and Control. New Jersey: Prentice Hall International, Inc. Lemon, K. & Verhoef, P. (2016). Understanding Customer Experience Throughout the Customer Journey. Journal of Marketing: AMA/MSI Special Issue, 80: 69-96. Lernoud, J. & Willer, H. (2019). Organic Agriculture Worldwide: Key Results from the FiBL Survey on Organic Agriculture Worldwide 2019. Switzerland: Research Institute of Organic Agriculture. Pornpratansombat, P., Bauer, B. & Boland, H. (2011). The Adoption of Organic Rice Farming in Northeastern Thailand. Journal of Organic Systems, 6 (3): 4-12. Schiffman, L. G. & Kanuk, L. L. (2007). Consumer Behavior (9th ed.). New Jersey: Prentice Hall International, Inc. Vivek, S. D., Beatty, S. E. & Morgan, R. M. (2012). Customer Engagement: Exploring Customer Relationships Beyond Purchase. Journal of Marketing Theory and Practice, 20 (2): 122-146. Translated Thai References Chootiwisuthi, P. (2019). Organic Yasothon Model “Yasothon Basic Organic Standard of Thailand”. Environmental Journal, 23 (2): 1-13. (in Thai)  Department of Agriculture. (2012). Guidance on the Application of Thai Agricultural Standard TAS 9000. Bangkok: Plant Standard and Certification Division, Department of Agriculture, Ministry of Agriculture and Cooperatives. (in Thai) 246 บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ

GreenNet (2014). Organic Farming Situation of Thailand. [Online]. Available: http://www. greennet.or.th/article/organic-farming. [2017, January 3]. (in Thai) Jai-aree, A. (2018). Guidelines to Promote Organic Agriculture to Food Security and Safety for Community: Reflection from the Operating Sector. Silpakorn University Journal, 38 (5): 1-17. (in Thai) Jiumpanyarach, W. (2017). Sustainable Impacts on Organic Farmers in Thailand: Lessons from Small-scale Farmers. Journal of Social Sciences Srinakharinwirot University, 20: 199-215. (in Thai) Kasikorn Research Center. (2017). “SME: Healthy Food Business Growth”. Kasikorn Research Center. [Online]. Available: https://www.kasikornbank.com/th/business/sme/ KSME Knowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/HealthyFoodBusinessGrowth.pdf. [2019, August 5]. (in Thai) Lukrak, N., Athinuwat, D. & Sindecharak, T. (2013). Problems and Barriers in Changing to Organic Vegetable Production of Ratchaburi Farmers Who Qualified in the Organic Farming Development Project. Thai Journal of Science and Technology, 2 (2): 125-133. (in Thai) National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards. (2009). Standard and regular for certificate IFOAM, JAS, and NOP. Bangkok: National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards. (in Thai) Noisopha, S. (2015). Organic Agriculture, An Opportunity for Thailand to Export and Set Foot in the World Market. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University, 9 (18): 83-91. (in Thai) The National Statistical Office. (2019). Statistics of Income and Household Expenses. [Online]. Available: http://statbbi.nso.go.th/staticreport/ page/sector/th/index.aspx. [2019, June 10]. (In Thai) Wongprasert, S. & Chuaboon, W. (2018). Attitude Toward Organic Foods of Consumers in Bangkok. Thai Journal of Science and Technology, 7 (4): 399-407. (in Thai) ปีท่ี 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 247

คณะผู้เขยี น ดร. สุณี หงษว์ ิเศษ คณะการจัดการและการท่องเท่ียว มหาวทิ ยาลยั บูรพา เลขท่ี 169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำบลแสนสขุ อำ� เภอเมอื ง จังหวดั ชลบุรี 20131 e-mail: [email protected] ดร. ปรญิ ญา นาคปฐม วทิ ยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลยั บรู พา เลขที่ 169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำบลแสนสขุ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั ชลบุรี 20131 e-mail: [email protected] ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. กฤษฏิพทั ธ์ พชิ ญะเดชอนันต์ วิทยาลยั นานาชาติ มหาวทิ ยาลยั บรู พา เลขที่ 169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำบลแสนสุข อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั ชลบุรี 20131 e-mail: [email protected] รองศาสตราจารย์ ดร. ธนวฒั น์ พิมลจินดา คณะการจดั การและการทอ่ งเท่ยี ว มหาวิทยาลยั บรู พา เลขท่ี 169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำบลแสนสขุ อำ� เภอเมือง จังหวดั ชลบุรี 20131 e-mail: [email protected] 248 บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ

สารตั ถะของ CPTPP : ข้อสังเกตทางกฎหมายเกยี่ วกับการขอเขา้ ร่วมเปน็ ภาคีของไทย Essence of CPTPP: Legal Notes Relating to Thailand’s Request for Accession ธนะชาติ ปาลิยะเวทย*์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง Thanachart Paliyawate Faculty of Law, Ramkhamhaeng University Received: July 30, 2020 Revised: September 29, 2020 Accepted: October 14, 2020 บทคดั ยอ่ บทความนี้มีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ น�ำเสนอข้อมลู พ้นื ฐาน ลักษณะทางกฎหมาย และกลไกของความตกลง ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าส�ำหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพ้ืนแปซิฟิก (CPTPP) และการวิเคราะห์ประเด็น ทางกฎหมายซ่ึงเกยี่ วข้องโดยตรงกับการขอเข้ารว่ มเจรจาเป็นภาคี CPTPP ของไทย ผ้เู ขียนวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ จากเอกสารพบวา่ มขี ้อดที ่ชี ัดเจนหลายประการในการเข้าเป็นภาคีความตกลงพหภุ าคีระดบั ภมู ภิ าค แตม่ ขี อ้ กงั วลมากทส่ี ดุ ในแงส่ ง่ ผลกระทบ หรอื ทำ� ลายอตุ สาหกรรมทย่ี งั ไมพ่ รอ้ มเปดิ ตลาดใหก้ บั ตา่ งชาตแิ ละการปฏบิ ตั ิ ตามกฎกติกาใหม่ ไทยสามารถเป็นภาคีความตกลงหลายฉบับในเวลาเดียวกันได้ โดยข้อตกลงอื่นท่ีไทยเป็น ภาคีน้ันยังคงใช้บังคับต่อกันได้ เป็นเรื่องที่ไม่ง่ายส�ำหรับไทยในกระบวนการภาคยานุวัติท่ีจะแสดงให้เห็น อยา่ งนอ้ ยตาม 3 เกณฑม์ าตรฐานของ CPTPP หลายประเทศภาคไี ดท้ ำ� ความตกลงขา้ งเคยี งกนั ไวใ้ นเรอื่ งเฉพาะ แยกตา่ งหากจาก CPTPP แต่ประเทศทีไ่ ม่ไดร้ ่วมท�ำความตกลงดว้ ยไมอ่ าจกลา่ วอ้างหรอื ได้ประโยชน์ ภาครัฐ ของไทยจึงควรพิจารณามาตรการที่ไม่เป็นไปตามพันธกรณี หมายเหตุทั่วไป เง่ือนไขทดแทน และมาตรการ ช่วงเปล่ียนผ่านไปก�ำหนดไว้ในข้อเสนอของไทยซ่ึงต้องผ่านการเจรจาตามข้ันตอนกระบวนการต่อไป โดยจะ เปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งนอ้ ยกต็ อ่ อตุ สาหกรรมทย่ี งั ไมพ่ รอ้ มตอ่ การเปดิ ตลาด ควรวเิ คราะหข์ อ้ มลู ศกึ ษาวจิ ยั ในแตล่ ะ ภาคอตุ สาหกรรม และร่วมกันระดมสมองหาข้อสรปุ เพ่อื จัดท�ำขอ้ เสนอที่แสดงความพร้อม และศักยภาพของ ไทยอยา่ งนอ้ ยตาม 3 เกณฑ์มาตรฐานให้สอดคล้องกับข้อตกลง CPTPP ทงั้ ทมี่ ีอยู่เดิม และทพ่ี ฒั นา หรอื สร้าง ขน้ึ ใหม่ อาจจดั การปญั หาความสบั สนและการปฏบิ ตั ไิ มถ่ กู ตอ้ งเหมาะสมในการใชบ้ งั คบั ทท่ี บั ซอ้ น หรอื ซบั ซอ้ น เตรยี มจัดท�ำความตกลงขา้ งเคียงกับประเทศภาคที ่ีมคี วามสำ� คญั ในภาคอตุ สาหกรรมท่จี ำ� เป็น คำ� สำ� คัญ: CPTPP ภาคยานวุ ัติ พันธกรณี เขตการค้าเสรีระดบั ภูมภิ าค * ธนะชาติ ปาลิยะเวทย์ (Corresponding Author) ปีที่ 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 249 e-mail: [email protected]

Abstract This article aimed to present basic information, legal basis and mechanism of the Comprehensive and Progressive Agreement for Trans-Pacific Partnership (CPTPP) and to analyze legal issues directly related to Thailand’s request for negotiation to access CPTPP. The qualitative research by documentaries found several vivid advantages of accession into regional multilateral agreement and the most concerned impact or damage against industries being not ready for opening market to foreigners and abiding by new developing covenants. By law, Thailand can be simultaneously signatory of several agreements and former contracting agreements can be further applicable to Thailand. In the accession process, Thailand’s offer in line with at least 3 specified benchmarks was uneasy task. Meanwhile, several contracting parties had entered into side letters in specific subjects separated from CPTPP but non-contracting countries neither refer nor gain their benefits. Accordingly, Thailand’s public sector should consider proper Non-conformity Measures, General Notes, Offset and Transitional Measures to be included in Thailand’s offer through negotiation under procedure in benefit of such unready industries, conduct research in each industry and brainstorming to provide Thailand’s offer indicating readiness and potential pursuant to the 3 benchmarks under original and new-developed terms and manage confusion and inaccurate operation arising from overlap and complexity caused by simultaneous commitments in several agreements as well as prepare for side letters made in necessary industries. Keywords: CPTPP, Accession, Commitments, Regional Free Trade Area บทนำ� จากการเจรจาการคา้ พหภุ าครี อบโดฮา (The Doha Round) ภายใตก้ ฎกตกิ าขององคก์ ารการคา้ โลก (WTO) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) ซึ่งเป็นรอบท่ี 9 นั้นใช้เวลายาวนานจนถึงขนั้ ไม่ประสบผลส�ำเรจ็ นับ ตง้ั แตท่ มี่ คี วามตกลงทวั่ ไปวา่ ดว้ ยภาษศี ลุ กากรและการคา้ (GATT) มา ประเทศภาคขี อง WTO มที า่ ทใี ชม้ าตรการ กดี กนั หรอื สง่ เสรมิ ใหใ้ ชส้ นิ คา้ และบรกิ ารในประเทศของตนมากยงิ่ ขนึ้ ประเทศพฒั นาแลว้ บางประเทศทไ่ี มไ่ ด้ รับประโยชน์จากการเจรจาพหุภาคีภายใต้กรอบ WTO หันไปเจรจานอกรอบที่ไม่โปร่งใสและพยายามวาง กฎกติกาในประเด็นใหม่ ๆ ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ทั้งหลายรักษาประโยชน์และปกป้องทางเศรษฐกิจของ ตนมากกว่าประโยชน์ร่วมกันของประเทศก�ำลังพัฒนา ตลอดจนภาพรวมกฎเกณฑ์ภายใตก้ รอบ WTO ยงั ไม่ ครอบคลุมหลายประเดน็ สำ� คญั ในยุคเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล ส่งผลใหป้ ระเทศตา่ ง ๆ หนั ไปเจรจาท�ำความตกลงเขต การค้าเสรแี ละความตกลงอน่ื ๆ เพ่อื เพม่ิ โอกาสคบื หนา้ ในการลดอุปสรรค เพิม่ มูลค่า และขยายตวั ทางการคา้ และเศรษฐกจิ อยา่ งเป็นรูปธรรมและรวดเร็วกว่า 250 บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต

สบื เน่อื งมาจากสถานการณ์ดงั กล่าวขา้ งตน้ ทำ� ให้ 12 ประเทศหันมาเจรจาท�ำความตกลงหุ้นสว่ นทาง เศรษฐกจิ ภาคพน้ื แปซฟิ กิ (Trans-Pacific Partnership (TPP)) เพอ่ื มงุ่ ลดอปุ สรรคทางการคา้ การลงทนุ ขยาย การเข้าสู่ตลาดและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ต่อมาสหรัฐอเมริกาได้ถอนตัวไป ออสเตรเลีย แคนาดา นิวซแี ลนด์ ชลิ ี เปรู เมก็ ซโิ ก ญ่ีปุ่น บรูไน มาเลเซยี และสงิ คโปร์ หรือเรียกว่า TPP-11 เดนิ หน้าต่อไปจนความ ตกลงท่ีครอบคลุมและก้าวหน้าส�ำหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive Agreement for Trans-Pacific Partnership (CPTPP)) มผี ลบงั คบั ใชเ้ มอ่ื วนั ท่ี 30 ธันวาคม พ.ศ. 2561 นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย (ในท่ีน้ีใช้ค�ำว่า “ไทย”) เคยแถลงข่าวร่วมกับประธานาธิบดีของ สหรัฐอเมรกิ าเมื่อ พ.ศ. 2555 วา่ ไทยสนใจท่ีจะเขา้ รว่ มเจรจาในกรอบ TPP ซึ่งขนึ้ อย่กู ับกระบวนการภายใน ประเทศทจี่ ำ� เปน็ การศกึ ษาวจิ ยั แนวทางการเจรจา การทำ� ความเขา้ ใจกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง การรบั ฟงั ความ คดิ เหน็ จากทกุ ภาคสว่ น การจดั ทำ� รา่ งกรอบการเจรจาในแตล่ ะประเดน็ (Department of Trade Negotiations, 2013) ต่อมาเม่ือพฤษภาคม พ.ศ. 2561 รองนายกรัฐมนตรีของไทยกล่าวต่อรัฐมนตรีนโยบายเศรษฐกิจ และการคลังของญปี่ ่นุ ที่รับผิดชอบการเจรจาความตกลงนี้วา่ ไทยประสงคท์ ี่จะเขา้ รว่ มใน CPTPP ทนั ทที เ่ี ป็น ไปได้ (Ono, 2018) และผู้แทนรัฐบาลญี่ป่นุ แสดงทา่ ทีหลายครง้ั ในการเย่ยี มเยอื นและการประชุมกบั รฐั บาล ไทยว่า รฐั บาลญ่ีปนุ่ สนบั สนนุ ใหไ้ ทยเข้าเปน็ ภาคี CPTPP ขณะที่มหี ลายผลการศึกษาวจิ ยั เกี่ยวกบั ความตกลง นี้และปัจจุบันภาคประชาสังคม ภาคธุรกิจ และภาครัฐยังคงถกเถียงกันในหลายประเด็นที่เป็นข้อกังวลหรือ เป็นปัญหา จนกระท่ังเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 สภาผู้แทนราษฎรได้ต้ังคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ศกึ ษาผลกระทบจากการเขา้ รว่ มใน CPTPP อยา่ งเรง่ ดว่ น ซงึ่ ยงั หาขอ้ สรปุ ไมไ่ ด้ ขณะทคี่ ณะกรรมการรว่ มภาค เอกชน 3 สถาบนั (กกร.) กำ� ลงั ศึกษาขอ้ มลู เชิงลึกในแตล่ ะอุตสาหกรรมเพื่อน�ำไปประกอบการพจิ ารณาของ ภาครัฐว่าจะขอเข้ารว่ มเจรจาในปี พ.ศ. 2564 หรือไม่ หลังจากทีไ่ ทยขอเข้าร่วมไมท่ ันในปนี ้ี เนือ้ หา 1. ขอ้ มลู พน้ื ฐาน ความตกลง CPTPP พฒั นามาจาก TPP ซ่ึงก่อก�ำเนดิ ขึ้นมาจากการหารอื กันแบบไม่มผี ลผูกพัน และจากความร่วมมือทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศภาคีความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชียแปซิฟิก (APEC) (Asia-Pacific Economic Cooperation, 2019) สหรัฐอเมรกิ าในสมัยประธานาธิบดจี อรจ์ ดบั เบลิ ยู บุช เร่ิม ตน้ หารอื กบั กลมุ่ ประเทศชายฝง่ั มหาสมทุ รแปซฟิ กิ (Pacific Rim) มาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2551 และขยายไปสปู่ ระเทศ อน่ื ๆ ในภมู ภิ าคน้ี จนไดม้ ีการเจรจาตกลงรว่ มกนั แบบเปน็ ทางการ 19 ครัง้ และการประชุมรายประเทศอีก หลายครง้ั เพอื่ จดั ทำ� เปน็ ขอ้ ตกลงการคา้ เสรรี ะดบั ภมู ภิ าค และเปน็ สว่ นหนงึ่ ของนโยบายปกั หมดุ เอเชยี (Pivot to Asia) ในสมยั ประธานาธบิ ดบี ารกั โอบามา่ ทต่ี อ้ งการเชอ่ื มความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ กบั ภมู ภิ าคเอเชยี และ แปซฟิ กิ อยา่ งจรงิ จงั (US Council on Foreign Relations, 2019) สหรฐั อเมรกิ ามหาอำ� นาจเสรปี ระชาธปิ ไตย ทแี่ ผ่ขยายอทิ ธพิ ลทางการเมืองและเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้เป็นหวั เรือใหญใ่ นการเจรจาจัดท�ำ TPP โดยไม่มีจีน เพ่อื ล้อมกรอบจีนมหาอ�ำนาจคอมมวิ นิสต์ ตอ่ มาเมื่อเดือนกมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2559 มี 12 ประเทศลงนามเขา้ เปน็ ภาคี TPP (หรอื อาจเรียกวา่ ปที ่ี 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 251

TPP-12) แต่ TPP ยังไมม่ ีผลบังคบั ใช้แตอ่ ย่างใดเนอ่ื งจากจำ� นวนประเทศทใ่ี หส้ ัตยาบนั ยงั ไมค่ รบตามเกณฑ์ท่ี ก�ำหนดไว้ จนเกิดความเปล่ียนแปลงหลังจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาภายใต้การน�ำของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ใชน้ โยบาย “อเมรกิ าต้องมาก่อน (America First)” และถอนตัวไปจาก TPP เม่ือเดอื นมกราคม พ.ศ. 2560 ท�ำให้ญ่ีปุ่นกลายมาเป็น หัวเรือใหญ่ในการเจรจากับประเทศภาคีเนื่องจากรัฐบาลญี่ปุ่นภายใต้การน�ำ ของนายกรฐั มนตรชี นิ โซ อาเบะมนี โยบายหลกั ในเรอ่ื งน้ี จงึ รว่ มกบั ประเทศภาคลี ดมาตรฐานของสหรฐั อเมรกิ า ลงมาเพอ่ื มงุ่ ขบั เคลอื่ นการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ภายใต้ CPTPP ตอ่ ไป แสดงใหเ้ หน็ ภาวะการเปน็ ผนู้ ำ� ทางการ ทตู และเศรษฐกจิ ของญป่ี นุ่ ในภาคแปซฟิ กิ (Mulgan, 2018) จนกระทงั่ ประเทศภาคเี ดมิ 11 ประเทศ (TPP-11) ไดเ้ ดินหน้าเจรจาและผลักดันตอ่ ไปจนในท่สี ดุ กลายมาเป็นความตกลงฉบบั ใหม่ทีช่ ื่อว่า CPTPP ซง่ึ มีผลบงั คบั ใชเ้ มือ่ วันที่ 30 ธนั วาคม 2561 เมอ่ื 6 ประเทศภาคไี ด้ให้สตั ยาบนั แล้ว และมผี ลบังคับใชก้ ับเวยี ดนามเมือ่ 14 มกราคม 2562 เมื่อล่วงพ้น 60 วันหลังจากให้สัตยาบันแล้ว CPTPP ถูกมองว่าเป็นอภิมหาเขตการค้าเสรี (Mega-FTA) ของโลก จากขนาดตลาดท่ใี หญม่ ากคิดเป็นร้อยละ 13.5 ของผลผลิตมวลรวม (GDP) ของโลก หรอื ร้อยละ 14 ของมูลคา่ การค้าของทงั้ โลก ในปี 2561 มปี ระชากรรวมกันประมาณ 500 ลา้ นคน (World Bank Group, 2018) โดยในปจั จบุ นั (ณ เดอื นมิถนุ ายน 2563) CPTPP ยังไม่มีผลบงั คบั ใชก้ ับบรูไน มาเลเซีย ชลิ ี และเปรู จนกว่าประเทศเหล่าน้จี ะให้สัตยาบัน ความตกลงนยี้ งั เปดิ รบั ประเทศและเขตศลุ กากรอสิ ระ (Separate Customs Territory) หรอื เขต เศรษฐกิจท่ไี ด้รับการรับรองจาก WTO เช่น เขตปกครองพิเศษฮ่องกง เขตศลุ กากรอสิ ระ Taiwan, Penghu เปน็ ต้น ใหเ้ ขา้ มาเปน็ ภาคีใหมโ่ ดยผ่านการเจรจาตกลงตามเง่อื นไขและกระบวนการภาคยานวุ ัติ (Accession) ทผี่ า่ นมาหลายประเทศและเขตศลุ กากรอิสระไดแ้ สดงความสนใจทีจ่ ะเข้ารว่ ม CPTPP อาทิ ไต้หวัน โคลมั เบยี เกาหลใี ต้ อินโดนเี ซยี ไทย (Jozepa, Ward and Webb, 2019) รวมถงึ สหราชอาณาจักรได้จดั ทำ� ผลสรุปการ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ สาธารณะตอ่ การทจ่ี ะเขา้ รว่ ม CPTPP (UK Department of International Trade, 2019) น้ีดว้ ย 2. ลกั ษณะทางกฎหมายของ CPTPP และความตกลงอื่นท่ีเก่ยี วขอ้ ง ความตกลง CPTPP มลี กั ษณะทางกฎหมายเปน็ ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศทห่ี ลายรฐั ทำ� ขน้ึ เปน็ ลาย ลักษณ์อักษร มุ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าท่ีหรือพันธกรณีทางกฎหมายแก่รัฐ/ประเทศทั้งหลายท่ีร่วมท�ำความ ตกลงดังกลา่ ว และอยภู่ ายใตบ้ งั คบั ของกฎหมายระหวา่ งประเทศ ความตกลงนี้จงึ เปน็ สนธิสัญญาตามขอ้ ที่ 2 ของอนสุ ญั ญากรงุ เวยี นนาว่าด้วยกฎหมายสนธสิ ัญญา ค.ศ. 1969 โดยทเ่ี ป็นสนธิสัญญาทางเศรษฐกจิ พหุภาคี หรอื เป็น Trade Bloc หน่ึงที่นำ� ไปสู่เขา้ ถึงตลาดของประเทศภาคี โดยไม่ตอ้ งไปเจรจาและทำ� ขอ้ ตกลงทวิภาคี ทีละประเทศ ความตกลงนี้เกิดข้ึนตามขั้นตอนกระบวนการจัดท�ำสนธิสัญญาต้ังแต่การเจรจา การจัดท�ำร่าง ความตกลง การแกไ้ ขความตกลง การลงนาม การให้สตั ยาบนั โดยมีประเทศนวิ ซีแลนด์ ซง่ึ ขอ้ ที่ 30.7 ของ ความตกลงฯ น้ีก�ำหนดให้เป็นผู้เก็บรักษา (Depositary) ต้นฉบับภาษาอังกฤษ ฝรังเศสและสเปนของความ ตกลง มอบส�ำเนาให้แก่ประเทศภาคี และแจ้งให้ทราบสมาชิกภาพ ค�ำร้องขอและการมอบภาคยานุวัติสาร ตลอดจนไดม้ กี ารแจง้ กระบวนการจดั ทำ� ไปจนถงึ การมผี ลบงั คบั ใชไ้ ปยงั WTO ซงึ่ มกี ารรวบรวมไวใ้ นฐานขอ้ มลู เพอ่ื ความโปรง่ ใสและการสอดส่องตดิ ตาม ความตกลง CPTPP ซ่ึงเปน็ สนธิสญั ญาทางเศรษฐกิจพหภุ าคีมลี ักษณะทางกฎหมายเพิม่ เตมิ ดงั นี้ 252 บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต

1) เขตการคา้ เสรี CPTPP เป็นขอ้ ตกลงในการจดั ตัง้ เขตการคา้ เสรี (The Free Trade Area (FTA) ดงั ทร่ี ะบุไว้ ในบทขอ้ ตกลงท่ี 1 ข้อ 1.1 ซง่ึ เกณฑข์ องการเปน็ เขตการค้าเสรี (FTA) ตามขอ้ ท่ี 24 ของ GATT ฉบับปี ค.ศ. 1994 และข้อที่ 5 ของความตกลงทัว่ ไปวา่ ด้วยการคา้ บริการ (GATS) ไดแ้ ก่ “มขี อ้ กำ� หนดให้ขจัดการเกบ็ ภาษี ศุลกากรและกฎระเบียบที่เปน็ อปุ สรรคทางการคา้ กำ� หนดไมใ่ หม้ ีหรือยกเลิกการเลือกปฏิบัติเกอื บทั้งหมดใน สินค้าและบริการ ครอบคลุมการค้าสินค้าและสาขาบริการที่มากพอหรือเกือบทั้งหมด (Substantially All the Trade or Sectoral Coverage) ทีม่ าจากประเทศภาคี ไมท่ �ำใหอ้ ตั ราภาษีศลุ กากรและกฎระเบียบดา้ น การคา้ ซงึ่ ใชบ้ งั คบั กบั ประเทศทไ่ี มไ่ ดเ้ ปน็ ภาคสี งู ขนึ้ หรอื สรา้ งขอ้ จำ� กดั มากขน้ึ กวา่ กอ่ นทจี่ ะเขา้ รว่ ม ไมเ่ พม่ิ ระดบั ของอปุ สรรคในแตล่ ะสาขาบรกิ ารตอ่ ประเทศทไ่ี มไ่ ดเ้ ปน็ ภาคเี มอื่ เปรยี บเทยี บกบั ระดบั ทใ่ี ชอ้ ยกู่ อ่ นมขี อ้ ตกลงนนั้ ” การจัดตั้งเขตการค้าเสรีจึงเป็นการให้สิทธิพิเศษทางการค้า และการลงทุนแก่ประเทศที่เข้าร่วมโดยไม่ขัดกับ WTO (หากปฏิบัติตามเงื่อนไข) เพ่ือขยายการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศภาคี แต่ในทางกลับกัน เทา่ กบั สง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศทอี่ ยนู่ อกกลมุ่ ทจ่ี ะคา้ ขายและลงทนุ กบั ประเทศทอี่ ยใู่ นกลมุ่ ทท่ี ำ� FTA ไดน้ อ้ ยลง จงึ เป็นแรงกระตนุ้ ใหห้ นั มาพจิ ารณาจัดท�ำความตกลง FTA กับประเทศอืน่ ดว้ ยเช่นกัน ประเทศใดจะเขา้ ร่วม FTA รวมถึง CPTPP อยู่บนหลักการและข้อเท็จจริงท่ีว่า มีข้อตกลง เงื่อนไข ปัจจัยและสภาพแวดล้อมท่ี แตกตา่ งกนั ไปในแต่ละการเจรจาและเขา้ รว่ มเปน็ ภาคี FTA ทงั้ นผี้ ลในทางกฎหมายของการจดั ตง้ั เขตการคา้ เสรขี อง CPTPP เปน็ ขอ้ ยกเวน้ ของการปฏบิ ตั ิ ตามหลักประติบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง (Most-favoured-Nation (MFN)) นั่นคือ ประเทศภาคี CPTPP สามารถที่จะปฏบิ ัตติ อ่ ประเทศภาคี CPTPP ด้วยกนั ในลักษณะทพ่ี เิ ศษและแตกต่างจากประเทศภาคี WTO (ที่มิใชป่ ระเทศภาคี CPTPP) ตามขอ้ ตกลงและเง่ือนไขท่รี ะบุใน CPTPP โดยไมข่ ัดต่อข้อตกลง GATT และ GATS แต่อย่างใด ในท�ำนองเดยี วกันเหน็ ไดว้ า่ การที่ GATT และ GATS ระบุเกี่ยวกบั เขตการคา้ เสรไี ว้ใน ลักษณะทไ่ี ม่ได้มีการห้ามประเทศภาคีท�ำความตกลงเขตการคา้ เสรรี ะดับทวภิ าคี หรอื ระดับภมู ภิ าค 2) ความตกลงการค้าระดับภูมิภาค เมอ่ื พจิ ารณาอารมั ภบทของ TPP ระบใุ หป้ ระเทศภาคจี ดั ทำ� ขอ้ ตกลงภมู ภิ าคทค่ี รอบคลมุ ทำ� ให้ ห่วงโซ่อุปทานภูมิภาคเข้มแข็ง อ�ำนวยความสะดวกต่อการค้าระดับภูมิภาค อารัมภบทของ CPTPP ระบุให้ ประเทศภาคสี ง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ และความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ระดบั ภมู ภิ าค เพมิ่ โอกาสในการเรง่ รดั การเปดิ เสรีทางการค้าและการลงทุนระดับภูมิภาค ดังน้ันจึงเห็นได้ว่า CPTPP เป็นความตกลงการค้าระดับภูมิภาค (Regional Trade Agreements (RTAs)) ดว้ ยเชน่ กันตามศพั ท์บัญญัตขิ อง WTO ซ่ึงระบุวา่ เปน็ ข้อตกลงการ คา้ ต่างตอบแทนระหว่างสองประเทศขึ้นไปที่อยูใ่ นภมู ิภาคเดยี วกัน (หรือต่างภูมิภาคก็ได้) โดยรว่ มทำ� ขอ้ ตกลง ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ กนั ในระดบั ภมู ภิ าคเชน่ เดยี วกบั NAFTA (เขตการคา้ เสรอี เมรกิ าเหนอื ), MERCOSUR (ตลาดรว่ มอเมริกาใต้ตอนลา่ ง) (World Trade Organization, n.d.) เมื่อปี ค.ศ. 1979 Enabling Clause ดังกล่าวอนุญาตให้ประเทศก�ำลังพัฒนาท�ำข้อตกลงหลายฝ่าย และระดับภูมิภาคกันเองเพ่ือให้มีสิทธิพิเศษใน การค้าสินคา้ ตอ่ กนั ได้จนถงึ ปจั จบุ ัน ทั้งนี้ในระยะหลัง ๆ มกั จะไม่จำ� กดั ระดบั การพัฒนาของประเทศ ประเทศ ภาคจี ึงมีความหลากหลายดา้ นพื้นฐานเศรษฐกจิ และระดับการพัฒนา จากสถิติ ณ วันท่ี 1 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 จำ� นวนการแจง้ สะสมเกยี่ วกับ RTAs ท่ีมีผลบงั คับ ใชแ้ ลว้ จำ� นวน 303 ฉบับ ซงึ่ เปน็ จำ� นวน RTAs ท่ีเพ่มิ มากขึ้น เปน็ RTAs เชงิ ลึกและซับซอ้ น รวมทัง้ มีอีกหลาย ปที ่ี 17 ฉบับท่ี 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 253

RTAs ทวั่ ทกุ ภมู ภิ าคของโลกอยู่ในระหว่างเจรจา โดยส่วนใหญ่เป็นระดบั ทวภิ าคี แต่กม็ ีแนวโนม้ วา่ RTAs ที่มี หลายประเทศเป็นภาคีจะเข้ามาแทนที่ข้อตกลงระดับทวิภาคี (World Trade Organization, 2020) ทั้งน้ี WTO จดั ให้ CPTPP อยู่ในฐานขอ้ มูล RTA อกี ด้วย ซ่ึงเปน็ ไปตามข้อกำ� หนดใหส้ มาชกิ WTO ท่ีเขา้ ร่วมผูกพนั ในขอ้ ตกลงทางการคา้ ตา่ ง ๆ รวมถึงวิธกี ารทำ� ภาคยานวุ ัตติ อ้ งแจง้ ตอ่ WTO ตามแนวทางของกลไกเพ่มิ ความ โปรง่ ใสในระบบพหภุ าคใี นระดบั สากล ดังนัน้ จงึ กลา่ วไดว้ ่า CPTPP เป็น FTA พหภุ าครี ะดับภมู ภิ าคภาคพนื้ แปซิฟิก 3. กลไกของ CPTPP กลไกของ CPTPP มีโครงสร้างประกอบไปด้วย 2 สว่ นหลกั ซึ่งสรุปได้ดงั นี้ 3.1 สารบัญญตั ทิ เี่ ปน็ เนอ้ื หาของขอ้ บท 1) เน้ือหาของขอ้ บทของ CPTPP ประเทศภาคีตกลงกนั ใหน้ �ำเน้อื หาข้อตกลงสว่ นใหญข่ อง TPP มาใชบ้ งั คบั เป็นส่วนหนึง่ ของ CPTPP โดยอนุโลม ตามท่รี ะบุไว้ในขอ้ ท่ี 1 ของข้อบทหลกั เพื่อก่อใหเ้ กดิ สทิ ธแิ ละพันธกรณีของแต่ละ ประเทศภาคีความตกลง CPTPP (หมายเหตุ การกล่าวถึง TPP ให้เข้าใจว่าเป็นส่วนหน่ึงหรือเรียกว่าเป็น “CPTPP”) ประกอบไปดว้ ยเนอื้ หาของขอ้ บทหลกั บทขอ้ ตกลง เงอ่ื นไข ขอ้ ยกเวน้ ขอ้ สงวน (Non-conforming Measures) ภาคผนวก มติ ค�ำอธิบาย/หมายเหตุ และข้อแนะแนวทาง มีการก�ำหนดให้ข้อตกลงที่ระบุไว้ ในภาคผนวก (Annex) ของขอ้ บทหลกั ถูกระงับใช้ช่วั คราว (Suspended Provisions) จนกวา่ ประเทศภาคี จะรว่ มกนั มมี ตยิ กเลกิ การระงบั ใชช้ วั่ คราว ซ่ึงในภาคผนวกระบไุ ว้ 22 ข้อตกลงย่อย ซ่งึ ส่วนใหญแ่ ล้วเป็นประเดน็ ส�ำคัญท่ีสหรัฐอเมริกาเคยผลักดันไว้ ซ่ึงมีความอ่อนไหวต่อผลประโยชน์และความมุ่งหมายของประเทศภาคีอ่ืน ในการเข้าร่วมในความตกลงนี้ เชน่ หลายข้อตกลงย่อยในบทขอ้ ตกลงท่ี 9 ว่าดว้ ยการลงทนุ บทข้อตกลงที่ 18 ว่าดว้ ยทรพั ย์สนิ ทางปัญญา เป็นตน้ CPTPP ประกอบไปด้วย 30 บทข้อตกลงซ่ึงเป็นจ�ำนวนและมีเน้ือหาท่ีมากเม่ือเปรียบ เทียบกับเนื้อหาของข้อบทของเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือซึ่งมีเพียง 22 บทข้อตกลง เนื้อหาของข้อบทของ รา่ ง RCEP ซ่งึ มีเพยี ง 20 บทขอ้ ตกลง (ทกี่ �ำลังอยรู่ ะหวา่ งการเจรจา) บทขอ้ ตกลงของ CPTPP ปรากฎชอื่ ใน ตารางขา้ งลา่ งน้ี ตารางที่ 1 ชือ่ บทขอ้ ตกลงของ CPTPP บทข้อ ช่อื บทข้อตกลง บทขอ้ ช่อื บทข้อตกลง ตกลงท่ี ตกลงที่ 1 ขอ้ บทเรม่ิ ตน้ ค�ำจ�ำกัดความท่ัวไป 16 นโยบายแขง่ ขนั ทางการค้า 2 การประติบตั ิเยยี่ งคนชาตแิ ละการเขา้ ถึง 17 รัฐวสิ าหกิจ ตลาดสินค้า 3 กฎวา่ ดว้ ยถ่ินก�ำเนิดสนิ คา้ 18 ทรัพย์สนิ ทางปัญญา 4 สนิ คา้ สิ่งทอและเคร่ืองนงุ่ ห่ม 19 แรงงาน 5 พิธีการศุลกากรและการอำ� นวยความสะดวก 20 ส่ิงแวดลอ้ ม ทางการค้า 254 บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ

ตารางที่ 1 (ตอ่ ) บทขอ้ ช่ือบทขอ้ ตกลง บทขอ้ ช่อื บทข้อตกลง ตกลงที่ ตกลงท่ี 6 มาตรการเยียวยาทางการคา้ 21 ความรว่ มมอื และการเสรมิ สรา้ งความสามารถ 7 มาตรการสุขอนามยั และสุขอนามยั พืช 22 การสง่ เสรมิ การแขง่ ขนั และธรุ กิจ 8 อปุ สรรคทางเทคนิคตอ่ การคา้ 23 การพัฒนา 9 การลงทนุ 24 ธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) 10 การคา้ บริการข้ามพรมแดน 25 ความสอดคลอ้ งดา้ นกฎระเบยี บ 11 บรกิ ารด้านการเงนิ 26 ความโปร่งใสและการตอ่ ต้านการทุจริต 12 การเข้าเมอื งช่วั คราวส�ำหรับนักธรุ กจิ 27 บทบัญญัติด้านการบรหิ ารและสถาบัน 13 บริการโทรคมนาคม 28 การระงับข้อพิพาท 14 พาณชิ ย์อิเลค็ ทรอนคิ ส์ 29 ขอ้ ยกเวน้ และขอ้ บทท่วั ไป 15 การจัดซอ้ื จดั จ้างโดยรัฐ 30 ข้อบทสุดท้าย ท่มี า: Department of Trade Negotiations (2020) และบางสว่ นแปลโดยผูเ้ ขยี นเอง ในทกุ บทขอ้ ตกลงระบคุ ำ� จำ� กดั ความเฉพาะของแตล่ ะบทขอ้ ตกลง ขอบเขตของสว่ นทใ่ี ช้ บงั คบั และสว่ นทไี่ มใ่ ชบ้ งั คบั ของบทขอ้ ตกลงนนั้ ๆ เนอื้ หาขอ้ ตกลง เงอื่ นไข ขอ้ ยกเวน้ ขอ้ สงวน ฯลฯ ทป่ี ระเทศ ภาคตี กลงรว่ มกนั ซ่ึงแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะบทขอ้ ตกลง รวมทงั้ CPTPP ระบใุ ห้เชงิ อรรถในแต่ละหน้าและใน ภาคผนวกเปน็ สว่ นหนงึ่ ของ CPTPP และมีผลในทางกฎหมายเช่นกนั ในสว่ นของภาคผนวกของบทขอ้ ตกลงตา่ ง ๆ (Annexes to the Chapters) ระบพุ นั ธกรณี (Commitments) ของตนในแต่ละบทข้อตกลง ซึง่ เป็นผลมาจากการเจรจากบั ประเทศภาคีอื่นแล้ว สว่ นใหญ่ เปน็ รายการแนบทา้ ย (Schedule) ของแตล่ ะประเทศภาคี เชน่ รายการแนบทา้ ยของออสเตรเลยี ในภาคผนวก 2-D ของบทขอ้ ตกลงที่ 2 ระบหุ มายเหตทุ ั่วไปและตารางอัตราภาษีศุลกากรท่เี รียกเก็บในแตล่ ะประเภทและ ชนดิ สนิ ค้าผา่ นแดน รายการแนบทา้ ยของญ่ีปุน่ ในภาคผนวก 15-A ของบทขอ้ ตกลงที่ 15 ระบขุ อ้ ผูกพันการ เปดิ ตลาดการจดั ซอ้ื จดั จา้ งโดยหนว่ ยงานของรฐั สว่ นกลาง หนว่ ยงานของรฐั สว่ นทอ้ งถนิ่ และหนว่ ยงานของรฐั อน่ื ๆ ส�ำหรับประเภทและมูลค่าข้นั ตำ�่ (Threshold) ของสินค้า บริการ และบรกิ ารงานก่อสร้างทีผ่ ูกพันและ ไมผ่ ูกพนั เปิดตลาด เป็นตน้ 2) กฎระเบียบเก่ียวกับกระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการเฉพาะเรื่อง มกี ารกำ� หนดรายละเอยี ดกระบวนการ ขน้ั ตอน และวธิ กี ารเฉพาะเรอ่ื งไวเ้ พม่ิ เตมิ โดยมติ ของคณะกรรมาธกิ าร CPTPP ซ่งึ เรยี กวา่ Commission Decisions นอกเหนือจากทีไ่ ดร้ ะบุไว้ในบางบทข้อ ตกลงแลว้ ทผี่ า่ นมาผลจากการประชมุ คณะกรรมาธกิ าร 2 ครง้ั ในปี พ.ศ. 2562 (2019) ไดม้ กี ารออกกฎระเบยี บ 6 ฉบับ เช่น กฎระเบียบก�ำหนดกระบวนการภาคยานุวัติเข้าร่วมเป็นภาคี CPTPP กฎระเบียบก�ำหนด กระบวนการและประมวลความประพฤติในการระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ กฎระเบียบก�ำหนดประมวลความ ประพฤติในการระงับขอ้ พิพาทระหวา่ งรฐั และเอกชน เป็นตน้ ปีที่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 255

3.2 คณะกรรมาธิการ คณะกรรมการเฉพาะดา้ น และกลไกระงับข้อพพิ าท กลไกท่ีเป็นหน่วยงานหรือองค์กร ไดแ้ ก่ คณะกรรมาธกิ าร คณะกรรมการเฉพาะด้าน และ กลไกระงับขอ้ พิพาท ซึง่ มบี ทบาทสำ� คญั ในการขบั เคลอื่ นการด�ำเนนิ การหรือการบังคับใช้ CPTPP 1) คณะกรรมาธิการ CPTPP (CPTPP Commission) คณะกรรมาธกิ าร CPTPP ประกอบไปดว้ ยผู้แทนภาครัฐในระดบั รัฐมนตรแี ละเจา้ หนา้ ท่ี อาวุโสของแตล่ ะประเทศภาคี มีบทบาทในระดับบรหิ ารหรอื ระดับนโยบายตามหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบต่าง ๆ ดังท่ีระบุไว้ในข้อท่ี 27.2 โดยไม่มีส�ำนักเลขาธิการ CPTPP ตลอดจนด�ำเนินการตัดสินใจหรือลงมติ (Decision-making) ด�ำเนินการตามกระบวนการปฏิบัติงานของคณะกรรมาธิการ ก�ำหนดบุคคลและ หนว่ ยงานของรัฐใหเ้ ป็นจุดตดิ ตอ่ ประสานงาน (Contact Points) การบริหารงานกระบวนวธิ ีระงบั ข้อพพิ าท การรายงานเกยี่ วกบั ความคบื หนา้ ในการดำ� เนนิ การตามพนั ธกรณขี องบางประเทศในชว่ งเวลาเปลย่ี นผา่ นหรอื ช่วงปรับตัว (ข้อท่ี 27.3 ถึง ข้อท่ี 27.7) 2) คณะกรรมการเฉพาะด้าน ในหลายบทขอ้ ตกลงกำ� หนดใหป้ ระเทศภาครี ว่ มกนั จดั ตงั้ คณะกรรมการ (Committee/ Council) ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยผแู้ ทนของรฐั ของแตล่ ะประเทศภาคี เชน่ คณะกรรมการมาตรการสขุ อนามยั และ สุขอนามัยพืช คณะกรรมการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจและกิจการผูกขาด คณะมนตรี แรงงาน เปน็ ตน้ เพอ่ื รว่ มกนั ใหเ้ กดิ การดำ� เนนิ การใหส้ มั ฤทธผ์ิ ลตามพนั ธกรณโี ดยมหี นา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบตาม ท่รี ะบไุ ว้ในแตล่ ะบทข้อตกลง ตลอดจนจดั ทำ� รายงานและขอ้ เสนอแนะใหแ้ กค่ ณะกรรมาธกิ าร กำ� หนดบคุ คล และหนว่ ยงานของรฐั ใหเ้ ปน็ จดุ ตดิ ตอ่ ประสานงาน (Contact Points) จดั ใหม้ กี ระบวนการปรกึ ษาหารอื เปน็ ตน้ 3) กลไกระงบั ข้อพิพาท ในกรณีท่ีเกิดข้อพิพาทระหวา่ งประเทศภาคี โดยการปรกึ ษาหารือไมส่ �ำเร็จ อาจร้องขอ ให้มีการจัดต้ังองค์คณะ (Panel) เพื่อระงับข้อพิพาท (Dispute Settlement (DS)) ระหว่างประเทศตาม กฎเกณฑ์/กฎระเบียบท่ีระบุในบทข้อตกลงท่ี 28 ซึ่งระบุกระบวนการตั้งองค์คณะ คุณสมบัติและหน้าท่ีของ องค์คณะ การหมุนเวียนท�ำหน้าท่ีประธานองค์คณะ กฎระเบียบกระบวนการจัดตั้งและการปฏิบัติงานของ องคค์ ณะ การมสี ว่ นรว่ มของบคุ คลภายนอก กฎระเบยี บกำ� หนดกระบวนการ (ตามทอ่ี อกโดยคณะกรรมาธกิ าร) การระงบั ไวช้ ว่ั คราวและการสนิ้ สดุ กระบวนการ การจดั ทำ� รายงานเบอื้ งตน้ และรายงานสดุ ทา้ ย การดำ� เนนิ การ ให้สัมฤทธิ์ผลหรือตามรายงานขั้นสุดท้าย ฯลฯ รวมถึงการใช้วิธีการระงับข้อพิพาททางเลือก เช่น อนุญาโตตุลาการ นอกจากนี้บางบทข้อตกลง ก�ำหนดวิธีการระงับข้อพิพาทไว้เฉพาะ จึงย่อมเป็นไปตามที่ กำ� หนดไว้ เชน่ บทขอ้ ตกลงท่ี 9 วา่ ดว้ ยการลงทนุ ในกรณที ม่ี ขี อ้ พพิ าทระหวา่ งภาคเอกชนและภาครฐั ใหร้ ะงบั ข้อพิพาทโดยใช้กลไกระงบั ขอ้ พพิ าทระหวา่ งรฐั และเอกชน (Investor-State Dispute Settlement (ISDS)) ซง่ึ ใชอ้ นสุ ญั ญา กฎระเบยี บกระบวนการขององคก์ ร International Centre for Settlement of Investment Disputes (ICSID) หรือตามกฎเกณฑ์อนุญาโตตุลากรของ UNCITRAL บทวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ข้อเสนอแนะ จากขอ้ มลู สารตั ถะของ CPTPP ซง่ึ เกยี่ วขอ้ งกบั กฎหมายเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศทผ่ี เู้ ขยี นไดค้ น้ ควา้ และสังเคราะห์มาน�ำเสนอในส่วนเน้ือหาข้างต้น ผู้เขียนเห็นว่า มีประเด็นที่เป็นข้อสังเกตทางกฎหมายบาง 256 บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต

ประการซ่งึ น่าสนใจและเกี่ยวข้องโดยตรงกับการขอเขา้ รว่ มเจรจาเปน็ ภาคี CPTPP ของไทย จึงไดน้ ำ� เสนอเชิง วิเคราะห์ในส่วนนี้ โดยหลีกเลี่ยงการกล่าวถึงประเด็นร้อนที่หลายภาคส่วนถกเถียงกันอยู่อย่างรุนแรง ซึ่งทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชนก�ำลังร่วมกันหาข้อสรุปในประเด็นท่ีไทยจะขอเข้าร่วมเจรจาเป็นภาคีหรือไม่ในปี พ.ศ. 2564 1. ขอ้ ดแี ละขอ้ เสียของการเขา้ เปน็ ภาคคี วามตกลงพหภุ าคีระดับภมู ิภาค ท่ีผ่านมาไทยท�ำความตกลง FTA กับสิงคโปร์ บรูไน มาเลเซีย และเวียดนามมาตั้งแต่ก่อนเป็น ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC) และไดท้ ำ� ความตกลง FTA และความตกลงหนุ้ สว่ นเศรษฐกจิ กบั 5 ประเทศ ภาคี CPTPP ไปแล้ว ซ่งึ จากขอ้ มูลของกรมเจรจาการคา้ ระหว่างประเทศพบว่า มีเพียงแคนาดาและเม็กซโิ กท่ี ยังไมไ่ ด้ทำ� ความ ตกลง FTA กบั ไทย จึงมปี ระเดน็ พิจารณาที่วา่ หากไทยไดท้ ำ� ความตกลง FTA กบั 9 ประเทศ แลว้ จากทง้ั หมด 11 ประเทศภาคี CPTPP (TPP-11) ภาครัฐของไทยอาจเพียงเรง่ เจรจาท�ำความตกลง FTA ระดบั ทวภิ าคีกบั สองประเทศที่เหลอื คือ แคนาดาและเม็กซโิ ก โดยอาจไม่จ�ำเป็นต้องเข้าเป็นภาคีของ CPTPP ซ่งึ เปน็ FTA พหุภาครี ะดบั ภมู ภิ าค เมื่อผเู้ ขียนไดพ้ จิ ารณาแลว้ เหน็ ว่า FTA ทวิภาคแี ละ FTA พหภุ าคตี า่ งกม็ ขี อ้ ดแี ละขอ้ เสยี ตา่ งกนั ไป แมว้ ่าโดยทั่วไปใน FTA ทวิภาคจี ะดำ� เนินการเจรจาและเขา้ ทำ� ข้อตกลงกันง่ายกวา่ รวมทัง้ มกั จะได้รับผล ประโยชน์ระหว่างกันในเวลาไม่นาน แต่ FTA ทวิภาคีน้ันส่งผลเฉพาะประเทศคู่สัญญาที่ได้รับสิทธิประโยชน์ หรือสร้างความได้เปรียบ ขณะเดียวกันไปส่งผลกระทบในเชิงกีดกันหรือลดทอนความสามารถในการแข่งขัน กับของประเทศอื่นที่ไม่ได้ท�ำข้อตกลงด้วย การลดอุปสรรคหรือเปิดตลาดจ�ำกัดอยู่แต่เฉพาะอุตสาหกรรมท่ีมี ศักยภาพของประเทศคสู่ ญั ญา ไมท่ ำ� ใหเ้ กดิ การแขง่ ขนั ไดก้ บั อตุ สาหกรรมอนื่ ของประเทศตา่ ง ๆ ฯลฯ ขณะท่ี FTA พหุภาคี (ระดับภมู ภิ าค) ซ่งึ เปน็ การทำ� ขอ้ ตกลงโดย 3 ประเทศขนึ้ ไปและน�ำไปสูเ่ ขา้ ถงึ ตลาดของประเทศภาคโี ดยไมต่ อ้ งไปเจรจาและทำ� ขอ้ ตกลงทวภิ าคที ลี ะประเทศนน้ั ผเู้ ขยี นเหน็ วา่ มขี อ้ ดหี ลาย ประการคือ 1) เพมิ่ โอกาสทม่ี ขี อบเขตกวา้ งขวางกวา่ ในการลดและขจดั อปุ สรรคทางการคา้ ทง้ั ทเ่ี ปน็ ภาษแี ละ ไม่ใชภ่ าษี เพิม่ มูลคา่ และการขยายตัวทางการคา้ และเศรษฐกิจอย่างเป็นรูปธรรมและรวดเรว็ จากตลาดที่ใหญ่ ขน้ึ (พหภุ าครี ะดับภมู ิภาค) ซ่ึงดึงดดู การลงทุนจากต่างประเทศได้มากขึ้นกว่าการรอคอยและหวังพึง่ พากลไก การเจรจาของ WTO ซ่งึ มปี ญั หาอปุ สรรคหลายประการดงั ที่ไดก้ ล่าวถงึ ตอนตน้ 2) สำ� หรบั ลกั ษณะการเปน็ หว่ งโซม่ ลู คา่ ระดบั โลก (Global Value Chains (GVCs)) ในยคุ ปจั จบุ นั ตอ้ งอาศยั สทิ ธปิ ระโยชนท์ ห่ี ลายประเทศภาคไี ดร้ บั ในการสะสมถนิ่ กำ� เนดิ สนิ คา้ ตามกฎวา่ ดว้ ยถนิ่ กำ� เนดิ (Rules of Origin (ROO)) ให้ถงึ ตามเกณฑ์มูลค่าเพม่ิ เพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั สิทธปิ ระโยชน์ภาษีศุลกากรรอ้ ยละ 0 หรือไม่ต้อง เสยี ภาษศี ลุ กากรนนั่ เอง ดงั เหน็ ไดจ้ ากการผลติ รถยนต์ ตอ้ งใชช้ นิ้ สว่ นทผ่ี ลติ ในหลายประเทศซง่ึ อาจรวมสดั สว่ น ถิ่นก�ำเนิดจากหลายประเทศดังกล่าว เช่น สัดส่วนที่ผลิต/มีถิ่นก�ำเนิดจากไทยร้อยละ 15 ญี่ปุ่นร้อยละ 10 มาเลเซยี ร้อยละ 10 และเวียดนามรอ้ ยละ 5 มารวมกันให้ครบตามเกณฑร์ ้อยละ 40 (ตัวเลขสมมุติ) ตาม FTA เพ่ือให้ไทยส่งออกรถยนต์ไปขายในประเทศภาคีดว้ ยกันโดยไมต่ อ้ งเสียภาษีศลุ กากร ทั้งนี้ส�ำหรบั สองประเทศ ทยี่ งั ไมไ่ ดท้ ำ� FTA กบั ไทย มขี อ้ มลู จากกรมสง่ เสรมิ การคา้ ระหวา่ งประเทศระบวุ า่ เมก็ ซโิ กเปน็ คคู่ า้ ทส่ี ำ� คญั ของ ไทยและยังเป็นตลาดที่มีศักยภาพในส่วนของชิ้นส่วนยานยนต์ พลังงาน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์ เครื่องบิน (Bangkokbiznews, 2018, May 26) [Online] ในสว่ นของแคนาดาซ่งึ เป็นประเทศคู่ค้าขนาดใหญเ่ ป็นอันดับ ปที ่ี 17 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 257

ที่ 2 ในภูมิภาคอาเซียนและจะเป็นประตูไปสู่อเมริกาเหนือและสหภาพยุโรปสนใจสินค้าเกษตรของไทยและ สนใจทจี่ ะท�ำ FTA กับอาเซยี น (Government of Canada, 2019) [Online] ซึง่ ในส่วนของการได้รับสิทธิ ประโยชน์จากการสะสมถ่ินก�ำเนิดตามกฎว่าด้วยถ่ินก�ำเนิดในการผลิตสินค้าเพ่ือส่งออกเป็นประเด็นส�ำคัญ ประการหนึ่งทภี่ าครัฐของไทยให้ความสนใจเข้าร่วม FTA พหภุ าคี 3) สร้างมาตรฐานในเชิงกฎเกณฑ์ระหวา่ งประเทศโดยหลายประเทศเข้ารว่ มในตลาดที่ใหญ่กวา่ FTA ทวภิ าคี ในการลดหรือขจัดอุปสรรคท่ไี ม่ใชภ่ าษอี ากรสำ� หรบั สินคา้ และบริการ และออกกฎกติกาใหม่ ๆ ในลักษณะ WTO-Plus หรือมากกว่าน้ัน เช่น การอ�ำนวยความสะดวกด้านศุลกากรและการค้า เทคโนโลยี พลังงาน สง่ิ แวดล้อม เป็นตน้ ซง่ึ ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศภาคีและผปู้ ระกอบการใน ตลาดภมู ิภาคและตลาดโลก 4) หากมโี อกาสไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชนท์ นี่ า่ สนใจจากประเทศภาคอี น่ื ทำ� ใหก้ ารเจรจาในบางประเดน็ ประสบผลส�ำเร็จไดง้ า่ ยขึ้นกว่าการเจรจาข้อตกลงท่มี สี ิทธิประโยชนจ์ �ำกัดอยู่เพยี งแค่สองประเทศ เช่น การท่ี ประเทศหน่ึงเจรจาสนธิสัญญาการลงทุนระดับทวิภาคีกับเวียดนามซ่ึงมีข้อตกลงเร่ืองกลไกระงับข้อพิพาท ระหว่างรฐั และเอกชน (ISDS) ด้วยนัน้ ไมป่ ระสบผลสำ� เรจ็ แต่เม่อื มีการเจรจาในกรอบของ CPTPP โดยช้ใี ห้ เหน็ โอกาสของเวยี ดนามในการสง่ ออกสนิ คา้ สง่ ออกไปยงั ตลาดญป่ี นุ่ ทำ� ใหเ้ วยี ดนามยนิ ยอมตกลงดว้ ยกบั การ คุ้มครองผู้ลงทนุ ภาคเอกชน (Hunter, R. and Seidel, S., 2017) [Online] ในท�ำนองเดยี วกนั หากไทยเห็น โอกาสไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชนอ์ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมจากประเทศภาคี CPTPP อาจพจิ ารณาเขา้ สกู่ ารเจรจาขอเขา้ รว่ ม เป็นภาคี ขณะที่ FTA พหภุ าคีระดบั ภมู ภิ าค เชน่ CPTPP น้ัน ผเู้ ขยี นเห็นวา่ มขี อ้ เสียหลายประการคอื 1) การทำ� FTA กบั ประเทศทีม่ โี ครงสร้างการผลิตและการส่งออกสินคา้ ท่เี หมือนกนั จะส่งผลให้ เกดิ การแขง่ ขนั กนั เองมากกวา่ การเกอื้ หนนุ กนั โดยสนิ คา้ ของประเทศดงั กลา่ วจะเขา้ มาตตี ลาดสนิ คา้ ในประเทศ ดังน้ันไทยจึงตอ้ งพิจารณาผลที่ตามมาเพอื่ พิจารณาช่องทางการเจรจาและหามาตรการทีเ่ หมาะสมมาใช้ 2) ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมที่เพิ่งเกิดใหม่และอุตสาหกรรมอ่ืนภายในประเทศที่ยังต้องการ ใหภ้ าครฐั ปกปอ้ งและชว่ ยเหลอื อยู่ รวมทง้ั มขี อ้ จำ� กดั เรอื่ งความสามารถในการแขง่ ขนั กบั อตุ สาหกรรมประเภท เดียวกับของต่างประเทศนั่นคือ ยังไม่พร้อมต่อการเปิดตลาดให้กับต่างชาติ หากยินยอมให้เปิดเสรีในสภาพ การณ์ของอตุ สาหกรรมดังกล่าวอาจถงึ ข้นั สง่ ผลเป็นการท�ำลายอตุ สาหกรรมภายในประเทศนั้น ๆ ได้ รวมทัง้ การเข้าร่วมใน FTA ที่มีมาตรฐานหรือกฎกติกาที่พัฒนาขึ้นหรือสร้างข้ึนมาใหม่ย่อมเป็นความเสี่ยงที่จะไปส่ง ผลกระทบหรอื อาจถงึ ข้ันท�ำลายอุตสาหกรรมภายในประเทศดงั กล่าว 3) ท�ำให้บรรดาประเทศภาคี FTA เท่าน้ันท่ีได้รับสิทธิประโยชน์ (เช่นเดียวกับ FTA ทวิภาคี) ขณะเดยี วกนั ไปสง่ ผลกระทบในเชงิ กดี กนั หรอื ทำ� ใหป้ ระเทศทไ่ี มไ่ ดเ้ ขา้ ทำ� ขอ้ ตกลงเสยี เปรยี บในการแขง่ ขนั กบั ประเทศภาคี ซง่ึ ทำ� ใหป้ ระเทศทเ่ี สยี เปรยี บตา่ ง ๆ รว่ มกนั ทำ� FTA มากขน้ึ เพอ่ื มาแขง่ ขนั กนั ซง่ึ อาจทำ� ใหป้ ระเทศ ภาคขี อง FTA ทงั้ หลายเกดิ ความขดั แยง้ กนั หรอื กลายเปน็ ขอ้ พพิ าททางการคา้ และเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศได้ 4) การจัดท�ำ FTA พหุภาคีระดับภูมิภาคต่าง ๆ (รวมถึง FTA ทวิภาคี) ซึ่งเสมือนกับประเทศ ตา่ ง ๆ มีอยูห่ ลายกลมุ่ ย่อย หลายมงุ้ ส่งผลใหเ้ กิดการบัน่ ทอนหรอื ทำ� ใหร้ ะบบพหุภาครี ะดบั สากลภายใต้ WTO ไม่เกิดประสิทธิผลเท่าที่ควรตามความมุ่งหมายต้ังแต่เดิมมาให้ทุกประเทศทั่วโลกมีอยู่มุ้งเดียวเท่าน้ัน น่ันคือ มเี ขตการคา้ เสรีหนงึ่ เดียวและอยูภ่ ายใต้กฎกตกิ า ข้อตกลง และเงือ่ นไขเดยี วกนั 258 บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต

5) ในแง่ของความยากง่ายเมื่อเปรียบเทียบกันระหว่าง FTA ทวิภาคีและ FTA พหุภาคีระดับ ภูมิภาคน้ัน เหน็ ได้วา่ ข้อตกลงอยา่ งหลังน้ันท�ำการเจรจาและปรับปรงุ แก้ไขขอ้ ตกลงและเง่อื นไขได้ยากกว่า ดงั นน้ั การพจิ ารณารว่ มกนั ระหวา่ งขอ้ ด-ี ขอ้ เสยี ของ FTA ทวภิ าคแี ละขอ้ ด-ี ขอ้ เสยี ของ FTA พหภุ าคี ระดับภมู ภิ าคเปน็ พ้นื ฐานของการตดั สินใจของไทยวา่ จะเดนิ หน้าเจรจาเป็นภาคี FTA ทวภิ าคกี บั สองประเทศ คือ แคนาดาและเมก็ ซิโก หรือวา่ จะเดินหน้าขอเข้าร่วมเจรจาพหภุ าครี ะดบั ภมู ิภาค/CPTPP หรือไม่ ผู้เขยี น เห็นว่า มีข้อดีท่ีชัดเจนหลายประการมากกว่าข้อเสีย โดยเฉพาะไทยเป็นส่วนหน่ึงของห่วงโซ่อุปทานที่น�ำเข้า และส่งออกทั้งวัตถุดิบและสินค้าขั้นสุดท้าย จึงอาจเกิดประโยชน์หากไทยสามารถสะสมถ่ินก�ำเนิดเพ่ือสิทธิ ประโยชนท์ างภาษีได้ และท�ำให้เข้าถงึ ตลาดใหญ่ไดห้ ลายประเทศภาคี ขณะทีม่ ขี ้อเสียบางขอ้ (ข้อ (3) และ (4)) เกิดขึ้นกับ FTA ทวิภาคีด้วยเช่นกันและเป็นผลที่เกิดข้ึนโดยท่ัวไปตามกระแสความเปล่ียนแปลงในยุค ปัจจุบัน ไมจ่ ำ� กดั แต่เฉพาะกับ CPTPP เทา่ นนั้ แต่ข้อเสียทน่ี ่ากงั วลมากท่ีสดุ คือ การเปิดเสรที ส่ี ่งผลกระทบตอ่ หรอื อาจเปน็ การท�ำลายอุตสาหกรรมภายในประเทศทยี่ งั ไม่พรอ้ มตอ่ การเปดิ ตลาดใหก้ บั ต่างชาติ รวมทั้งจาก มาตรฐานหรอื กฎกตกิ าที่พัฒนาหรือสรา้ งขึ้นมาใหมใ่ น CPTPP 2. ความสมั พันธก์ ับข้อตกลงอนื่ เมอื่ พจิ ารณาขอ้ กฎหมายและสถานะของ 11 ประเทศภาคี CPTPP (TPP-11) เหน็ ไดว้ า่ ทกุ ประเทศ ต่างก็เป็นประเทศภาคขี อง WTO ซ่งึ ได้ดำ� เนินการตามขั้นตอนการท�ำสนธสิ ญั ญาจนเขา้ เป็นภาคี CPTPP ซ่งึ เปน็ สนธสิ ญั ญาทางเศรษฐกจิ ที่เป็น Trade Bloc และเป็น FTA และ RTA ในระดับพหุภาคีด้วย ดังน้ันการที่ ไทยซ่งึ เป็นประเทศภาคีของ WTO เช่นกนั จะขอเขา้ ร่วมเปน็ ภาคี CPTPP ตามขอ้ ที่ 24 ของ GATT ฉบบั ปี ค.ศ. 1994 และขอ้ ที่ 5 ของ GATS ซงึ่ เปน็ ข้อยกเวน้ หลกั MFN ให้สามารถปฏิบตั ใิ นลักษณะทพ่ี ิเศษและแตก ต่างจากประเทศภาคี WTO (ทมี่ ิใชป่ ระเทศภาคี CPTPP) จึงย่อมกระทำ� ได้ โดยไม่ขดั ตอ่ ข้อตกลง GATT และ GATS แตอ่ ย่างใด ขณะเดยี วกนั หากไทยขอเขา้ รว่ มเปน็ ภาคแี ละประเทศภาคี CPTPP ยอมรบั ใหไ้ ทยเขา้ ภาคนี นั้ จะ สง่ ผลอยา่ งไรตอ่ ขอ้ ตกลงหรอื ความตกลงระหวา่ งประเทศตา่ ง ๆ ทไี่ ทยทำ� ไวแ้ ลว้ กบั ประเทศอน่ื ทง้ั ภายในและ ภายนอกกรอบของ WTO ในประเดน็ นพี้ จิ ารณาไดจ้ ากขอ้ บทหนง่ึ ของ CPTPP ทร่ี ะบไุ วว้ า่ “ในกรณที ป่ี ระเทศ ภาคใี ดของ CPTPP ทีม่ ีสิทธแิ ละพันธกรณีของตนตอ่ ประเทศภาคที ั้งหลายตามข้อตกลงระหว่างประเทศอนื่ ที่ ทำ� กนั ไว้ รวมทงั้ ความตกลงของ WTO ดว้ ย หรอื ทม่ี ตี อ่ อยา่ งนอ้ ยหนงึ่ ประเทศภาคตี ามขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ อนื่ ทท่ี ำ� กนั ไว้ (ทง้ั ทวภิ าคแี ละภมู ภิ าค) สทิ ธแิ ละพนั ธกรณที ม่ี ตี อ่ กนั นนั้ ยงั คงมอี ยเู่ ชน่ เดมิ ใชบ้ งั คบั ตอ่ กนั ได้ โดย ไมส่ ูญสน้ิ ไปเพยี งเพราะว่า ประเทศเหล่าน้ันเขา้ เปน็ ภาคี CPTPP” (บทข้อตกลงท่ี 1 ข้อท่ี 1.2.1) เห็นไดว้ ่าการ ไดเ้ ขา้ เปน็ ภาคี CPTPP ไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ สทิ ธแิ ละพนั ธกรณขี องประเทศภาคหี นงึ่ ทม่ี ตี อ่ ประเทศภาคอี นื่ ตาม ความตกลงพหภุ าคีในกรอบของ WTO รวมถึงความตกลง FTA ความตกลง RTA ไมว่ า่ จะทวภิ าคีหรือพหุภาคี รวมถึงความตกลงข้างเคียง (Side Letters) อ่ืนที่มีอยู่ก่อนแลว้ ขณะเดียวกันนนั้ เช่น ความตกลงข้างเคยี ง ระหวา่ งบรไู นและนวิ ซแี ลนดเ์ มอ่ื 8 มนี าคม พ.ศ. 2561 เรอื่ งความสมั พนั ธก์ บั ขอ้ ตกลงอน่ื ไดร้ ะบไุ วเ้ ชน่ เดยี วกนั วา่ ไมท่ ำ� ใหเ้ สอ่ื มเสยี สทิ ธแิ ละพนั ธกรณขี องแตล่ ะประเทศทม่ี อี ยแู่ ลว้ ภายใตค้ วามตกลงหนุ้ สว่ นเศรษฐกจิ เชงิ กล ยุทธ์ภาคพื้นแปซิฟิก ค.ศ. 2006 (TPSEP) และความ ตกลงเขตการค้าเสรีระหว่างอาเซียน-ออสเตรเลีย- นวิ ซีแลนด์ ค.ศ. 2009 (AANZFTA) โดยตอ้ งตคี วามใหส้ อดคล้องกัน (New Zealand Foreign Affairs & Trade, n.d.) ปที ่ี 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 259

ทัง้ นอี้ าจพิจารณาข้อตกลง/ความตกลงอน่ื ดังกล่าวขา้ งต้นทมี่ ีอย่กู อ่ นแล้วน้ันได้ใน 3 ลกั ษณะคือ (1) ขอ้ ตกลงอ่ืนระบุผ่อนปรนเกนิ ไป แต่ CPTPP ระบุเขม้ งวดขึ้น (2) ข้อตกลงอน่ื ระบเุ ขม้ งวดเกินไป แต่ CPTPP ระบุผอ่ นปรนลงมา (3) ขอ้ ตกลงอน่ื ไม่ได้ระบไุ ว้ แต่ CPTPP ระบุขน้ึ มาใหม่ ผลกค็ อื ท�ำให้ขอ้ ตกลงอน่ื ดงั กลา่ วยงั คงมอี ยู่ด้วยกันตอ่ ไป (Coexist) มผี ลบงั คบั ใช้ต่อกนั ได้ โดย ไมส่ ูญสน้ิ หรอื สนิ้ ผลบังคบั ไป ไทยจงึ สามารถเป็นภาคีและผกู พันต้องปฏบิ ัติตามความตกลงหลายฉบับในเวลา เดยี วกนั ได้ เมอื่ ขอเขา้ เปน็ ภาคคี วามตกลง CPTPP น้ี ยอ่ มตอ้ งพจิ ารณาสทิ ธแิ ละพนั ธกรณที มี่ อี ยเู่ ดมิ ตามความ ตกลงทีใ่ ชบ้ งั คบั กบั ไทยหรือท่ไี ทยเป็นภาคีอยู่ก่อนแล้วนั่นเอง อย่างไรก็ตามการท่ีไทยซง่ึ เปน็ ประเทศภาคีของ WTO ยังคงปฏิบัติตามพันธกรณีภายใต้กลไกของ WTO ในขณะที่ไทยและบรรดาประเทศภาคีที่ทับซ้อนกัน นัน้ กเ็ ปน็ ภาคีของข้อตกลงอน่ื ซึ่งมจี �ำนวนมากข้ีนเร่ือย ๆ รวมทงั้ CPTPP ด้วยเช่นกนั ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง และเงอ่ื นไขของหลายความตกลงการค้าทวิภาคหี รือพหุภาคพี รอ้ ม ๆ กนั ซง่ึ ตา่ งกม็ ่งุ อำ� นวยความสะดวกและ ขจัดอปุ สรรค อาจทำ� ให้เกิดปรากฏการณ์ Spaghetti-bowl Effect หรือ Noodles Bowl Effect เพราะความ ตกลงดงั กลา่ วมเี ขตอำ� นาจการใชบ้ งั คบั ในลกั ษณะทท่ี บั ซอ้ น ทำ� ใหส้ บั สนในกฎเกณฑแ์ ละเงอื่ นไขของแตล่ ะขอ้ ตกลงหรือมองได้ว่าซับซ้อน ยุ่งเหยิงพันกันไปหมด เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติท่ีถูกต้องเหมาะสม อาจท�ำให้ เกิดการบิดเบือนทางการค้า (Schule and Kleisinger, 2016) ดังเห็นได้จากการปฏิบัติตามข้อตกลงและ เงือ่ นไขของหลายความตกลงพร้อมกัน ทำ� ให้ตอ้ งใช้หรอื มคี ่าใชจ้ า่ ยของบุคลากร หน่วยงานหรอื องค์กรต่าง ๆ เขา้ มาปฏิบัติงานมากขน้ึ และซับซอ้ นขึ้น บังคบั ใชอ้ ัตราภาษศี ลุ กากรและอปุ สรรคทางการคา้ หลายระดบั หรือ หลายลักษณะซึ่งอาจไม่ได้ท�ำให้ต้นทุนและอุปสรรคทางการค้าลดลงไปอย่างท่ีคาดหวังไว้ ทำ� ให้ภาครัฐและ ภาคเอกชนท่ีเกี่ยวข้องเกิดความสับสน ความไมเ่ ขา้ ใจและปฏิบตั ไิ ม่ถกู ต้องได้ 3. สงิ่ ทา้ ทายในการปฏบิ ตั ติ ามเกณฑม์ าตรฐาน ในการขอเขา้ เป็นภาคี CTPP ของไทยต้องปฏิบตั ติ ามกระบวนการภาคยานุวัติ (Accession) ซง่ึ เป็นวิธีหน่ึงของการแสดงเจตนาของประเทศท่ีไม่ได้เข้าร่วมเจรจาหรือลงนามในสนธิสัญญาน้ันมาก่อน เพ่ือ ผกู พนั ตามสนธสิ ญั ญาภายใตก้ ฎหมายระหวา่ งประเทศ โดยจะมผี ลเชน่ เดยี วกบั การใหส้ ตั ยาบนั (Saisunthorn, 2009) การทไ่ี ทยจะขอเขา้ เปน็ ภาคี CPTPP (“ผู้ยน่ื ขอ”) ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอนและกระบวนการทรี่ ะบไุ ว้ใน กฎเกณฑ์เรื่องกระบวนการภาคยานุวัติซ่ึงมาจากมติของกรรมาธิการ CPTPP ตามที่ปรากฎใน Annex to CPTPP/COM/ 2019/D002 ค.ศ. 2019 ในปจั จุบันการดำ� เนินการของภาครัฐของไทยยงั ไมไ่ ด้เข้าสู่ข้นั ตอน แรก (การบอกกล่าวการขอเข้าเป็นภาคี) เลย ถึงกระนั้นก็ดีภาครัฐของไทยต้องปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐาน (Benchmarks) ที่กล่าวถงึ ในข้ันตอนที่ 3 (การจัดตัง้ คณะทำ� งานภาคยานวุ ัต)ิ ซึ่งใชใ้ นการประเมนิ ความพรอ้ ม และศกั ยภาพของผยู้ ืน่ ขอ ท้ังนโ้ี ดย 1) แสดงใหเ้ หน็ วธิ ีการท่ีจะปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑ์ ขอ้ ตกลง เงอื่ นไขทม่ี ีอยู่ท้ังหมดใน CPTPP 2) รับทีจ่ ะให้ข้อเสนอการเขา้ ถึงตลาดทม่ี มี าตรฐานสงู ที่สุดในแต่ละสินค้า บรกิ าร และด้านอื่น ๆ โดยต้องเป็นการเข้าถึงตลาดที่มีความหมายเชิงพาณิชย์ของแต่ละประเทศภาคีในลักษณะที่เช่ือมโยงผล ประโยชน์ซี่งกันและกันระหว่างผู้ย่ืนขอและประเทศภาคีต่าง ๆ จากการขยายการค้า การลงทุน การเจริญ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ สนับสนุนประสทิ ธภิ าพ การแขง่ ขันและการพัฒนา 260 บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต

3) เสนอพนั ธกรณใี หเ้ ปน็ ไปตามแนวทางทปี่ ระเทศภาคเี ดมิ ไดต้ กลงกนั เกย่ี วกบั วตั ถปุ ระสงคข์ อง พนั ธกรณกี ารเขา้ ถงึ ตลาดครอบคลมุ การลดอตั ราภาษศี ลุ กากรและอปุ สรรคอน่ื ตอ่ การคา้ สนิ คา้ และบรกิ าร การ ลงทนุ การท่ีเนื้อหาข้อบท CPTPP เป็นผลมาจากการปรับปรุงหลักการและกฎเกณฑ์เดิมของ WTO หลายฉบับและความตกลงเขตการค้าเสรีอ่ืน โดยมีเนื้อหาจ�ำนวนมากถึง 30 บทข้อตกลง ซ่ึงมีมาตรฐานสูง เพราะมเี นอื้ หาขอ้ ตกลงทกี่ วา้ งขน้ึ และลกึ มากกวา่ กฎเกณฑข์ อง WTO (Corr et al., 2019) ทง้ั สว่ นทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ เนอื้ หาข้อตกลงใหเ้ ข้มข้นข้ึนหรือประหนงึ่ วา่ เป็น WTO Plus (WTO +) และมกี ารจดั ทำ� หลายข้อตกลง และเงอ่ื นไขข้ึนมาใหม่ ครอบคลมุ หลากหลายประเด็นมากกวา่ ความตกลงทางการคา้ และเศรษฐกจิ อน่ื ๆ หรอื ประหนง่ึ วา่ เปน็ WTO Plus-Plus (WTO + +) เชน่ การอำ� นวยความสะดวกดา้ นศลุ กากรและการคา้ มาตรฐาน และอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (TBT) การค้าดิจิทัลและพาณิชย์อิเล็คทรอนิคส์ ทรัพย์สินทางปัญญา รัฐวิสาหกิจ การจัดซ้ือจัดจ้างโดยรัฐ ความสอดคล้องกันของกฎระเบียบ เป็นต้น เม่ือพิจารณาข้ันตอน กระบวนการเจรจาตามกฎระเบยี บภาคยานุวตั ิของ CPTPP ซ่งึ ไม่ใชก่ รอบพหุภาคีของ WTO ประเทศกำ� ลงั พฒั นามกั จะมอี ำ� นาจตอ่ รองนอ้ ยกวา่ ประเทศพฒั นาแลว้ จงึ เปน็ เรอ่ื งทย่ี ากสำ� หรบั ไทยทจี่ ะไปขอเปลย่ี นแปลง ข้อตกลงและเงื่อนไขใน CPTTP จากการศกึ ษาผู้เขียนเหน็ วา่ การขอเขา้ เปน็ ภาคี CPTPP จะต้องยอมรบั หรือยนิ ยอมปฏบิ ตั ติ าม พันธกรณี (Commitments) ทั้งหมดในเน้ือหาข้อบท บทข้อตกลง และภาคผนวกใน 30 บทข้อตกลง โดยไม่ สามารถปรบั แกไ้ ขได้ และไมอ่ าจเลอื กผกู พนั เฉพาะบางบทขอ้ ตกลงเทา่ นนั้ ตลอดจนยน่ื ขอ้ เสนอการเขา้ สตู่ ลาด และมาตรการที่ไม่เป็นไปตามพันธกรณี (NCMs) การแจ้งความคืบหน้าในการด�ำเนินการ เช่น ปรับเปล่ียน นโยบาย ยทุ ธศาสตรแ์ ละแผน แกไ้ ขกฎหมายหรอื กลไกอนื่ ทไี่ มส่ อดคลอ้ งกบั ความตกลง เปน็ ตน้ ทงั้ นเ้ี ปน็ เรอื่ ง ที่ไม่ง่ายและถึงขั้นยากล�ำบากส�ำหรับภาครัฐของไทยที่จะแสดงให้เห็นอย่างน้อยตาม 3 เกณฑ์มาตรฐานให้ สอดคลอ้ งกับข้อตกลงเงือ่ นไขทั้งหมดทีม่ อี ยู่เดมิ และท่ีสร้างขึ้นใหม่ของ CPTPP ซึ่งมลี ักษณะเปน็ WTO Plus- Plus 4. ความตกลงขา้ งเคียง จากการศึกษาพบวา่ ประเทศภาคี CPTPP ได้ท�ำความตกลงข้างเคยี ง (Side Instrument หรือ Side Letter) ซึ่งแยกตา่ งหากจาก CPTPP โดยทำ� ขนึ้ ในรปู แบบจดหมายโตต้ อบหรือบนั ทึกทลี่ งนามโดยผมู้ ี อ�ำนาจของประเทศภาคีแล้วแลกเปลี่ยนกัน ซึ่งเป็นการยืนยันตามที่ได้เจรจาและตกลงกันเฉพาะเร่ือง ขยาย ความหรอื แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ สว่ นใด ๆ ของ CPTPP ซงึ่ ไมไ่ ดม้ ขี อ้ หา้ มการทำ� ความตกลงขา้ งเคยี งไว้ เพอื่ ใหม้ ผี ลตาม กฎหมายใช้บังคับระหว่างประเทศภาคี โดยส่วนใหญ่เป็นการท�ำความตกลงข้างเคียงในลักษณะทวิภาคีกับ ประเทศภาคอี ื่นในเรือ่ งเฉพาะทแ่ี ตกต่างกันไป เช่น กอ่ นลงนามใน CPTPP แคนาดาได้ลงนามใน Side Letter กับประเทศภาคีท่ีเพิ่มความยืดหยุ่นให้แคนาดาสามารถปกป้องวัฒนธรรมของตนได้ แคนาดาได้รับพันธกรณี ส�ำคัญที่ระบุไว้ใน Side Letter กับญี่ปุ่นเพ่ือให้แน่ใจว่ามาตรฐานยานยนต์ของญี่ปุ่นจะไม่ขัดขวางอย่างไม่ เหมาะสมตอ่ การน�ำเขา้ (Sinclair, 2018) เมอื่ พจิ ารณาหลกั เกณฑท์ รี่ ะบไุ วใ้ นขอ้ ที่ 41 ของอนสุ ญั ญากรงุ เวยี นนาวา่ ดว้ ยกฎหมายสนธสิ ญั ญา ค.ศ. 1969 การท�ำ Side Letter เพอ่ื ให้มผี ลตามกฎหมายใช้บังคับระหว่างประเทศทท่ี ำ� ข้อตกลงกนั เทา่ นน้ั และ (โดยหลักการ) ไมส่ ง่ ผลกระทบต่อประเทศภาคอี น่ื ผลในทางกฎหมายคอื ประเทศท่ไี มไ่ ด้ทำ� ขอ้ ตกลงน้นั ปที ี่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 261

ไมอ่ าจกลา่ วอา้ งหรอื ไดป้ ระโยชนจ์ ากความตกลงขา้ งเคยี ง และอาจมองไดว้ า่ พนั ธกรณตี ามความตกลงขา้ งเคยี ง ท�ำใหเ้ กดิ การเลือกปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งประเทศทท่ี ำ� ข้อตกลงและประเทศทไี่ มไ่ ดท้ ำ� ขอ้ ตกลง (Thong-u-rai, 2017) ซ่ึงผู้เขียนเห็นด้วยในประเด็นการเลือกปฏิบัติน้ี เพราะเท่ากับว่า ก่อให้เกิดพันธกรณีท่ีแตกต่างกันในบรรดา ประเทศภาคีด้วยกันในเร่ืองเฉพาะที่มีการท�ำเป็น Side Letter ซ่ึงเห็นได้ว่า ประเทศคู่สัญญาสองฝ่ายต่างก็ ปกป้องสิทธิประโยชน์หรือไม่ให้เกิดความเสียเปรียบในเรื่องเฉพาะน้ัน ๆ ต้ังแต่มีการลงนามใน CPTPP เช่น กลไก ISDS ไม่ใชบ้ งั คับกบั ทุกประเทศภาคี นิวซแี ลนดไ์ ด้ทำ� Side Letters กบั บางประเทศภาคเี พ่อื คุ้มครอง นักลงทนุ ของนวิ ซีแลนดใ์ ห้ได้รับประโยชนจ์ ากกลไก ISDS เปน็ ต้น จากการศกึ ษาขอ้ บท CPTPP และข้อมูล ตา่ ง ๆ ผู้เขยี นไมพ่ บชดั เจนว่า ประเทศขอเขา้ เป็นภาคใี หมไ่ ดร้ ับอนุญาตใหท้ �ำ Side Letter มเี พียงขอ้ เสนอให้ ประเทศท่ขี อเขา้ เป็นภาคใี หม่เจรจาให้มีการทำ� Side Letter เพ่อื ใหม้ ีผลบังคับใช้เมือ่ มกี ารยอมรับประเทศดงั กล่าวใหเ้ ป็นภาคี CPTPP หากไทยขอเขา้ เปน็ ภาคี CPTPP ไทยตอ้ งพจิ ารณาความจำ� เปน็ และแนวทางเจรจา สำ� หรบั เตรยี มท�ำ Side Letter กบั ประเทศภาคที ่มี คี วามส�ำคัญในภาคอตุ สาหกรรมที่จำ� เป็น 5. ข้อยกเว้นและมาตรการผอ่ นปรน ตามที่ก�ำหนดไว้ใน CPTPP นอกเหนือจากไม่ต้องปฏิบัติตาม 22 ข้อตกลงย่อยท่ีถูกระงับใช้ไว้ ช่ัวคราว (Suspended Provisions) ไปจนกว่าประเทศภาคีจะร่วมกันมีมติยกเลิกการระงับใช้ชั่วคราวแล้ว ยงั มขี อ้ บทบางสว่ นใน CPTPP ซง่ึ กำ� หนดกรณที ป่ี ระเทศภาคไี ดร้ บั ยกเวน้ หรอื ผอ่ นปรนการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง และเงือ่ นไขทีก่ �ำหนดไว้ 1) มาตรการทไี่ ม่เป็นไปตามพันธกรณี (Non-conforming Measures (NCMs)) ซึง่ มลี ักษณะ เป็นขอ้ สงวนตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซงึ่ ผยู้ ่ืนขอตอ้ งย่ืนขอ้ เสนอการเข้าสู่ตลาดและ NCMs ท่สี อดคล้อง กบั เกณฑม์ าตรฐาน ตามขนั้ ตอนเขา้ สกู่ ารพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบโดยคณะกรรมาธกิ าร CPTPP โดยประเทศ ภาครี ะบบุ ทขอ้ ตกลง สาขา สาขายอ่ ย ประเภทอตุ สาหกรรม พนั ธกรณที เ่ี กยี่ วขอ้ ง ระดบั ของรฐั บาล มาตรการ (ระบุกฎหมาย กฎระเบียบหรือมาตรการอ่ืนทีใ่ ช้) ซึ่งภาครฐั ของไทยพิจารณาในส่วนน้ีไปกำ� หนดไว้ในขอ้ เสนอ ของไทย 2) ขอ้ ยกเว้น (Exceptions) โดยจะใช้ขอ้ ยกเว้นใดขึน้ อย่กู ับบทข้อตกลงทก่ี ำ� หนดไว้ ทงั้ นีบ้ ทขอ้ ตกลงท่ี 29 ไดแ้ ก่ (1) ขอ้ ยกเวน้ ทวั่ ไป (General Exceptions) ทก่ี ำ� หนดไวใ้ น GATT 1994 และ GATT สามารถ ใชม้ าตรการทจ่ี �ำเปน็ เพื่อค้มุ ครองศีลธรรมสาธารณะ คุ้มครองชวี ติ หรอื สขุ ภาพของมนุษย์ สตั วห์ รอื พืช รวมถงึ มาตรการดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม เกย่ี วกบั การนำ� เขา้ หรอื สง่ ออกทองคำ� และเงนิ เพอื่ ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายทไี่ มส่ อดคลอ้ ง กนั ในสว่ นของการบังคับใช้ศุลกากร การผูกขาด คุ้มครองสทิ ธิบัตร เครื่องหมายการค้า ลิขสิทธ์ิ และป้องกนั วิธี ปฏบิ ตั ทิ ี่หลอกลวง รวมถึงอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติท้งั ทีม่ ีชีวิตและไมม่ ีชีวิตท่หี มดไปได้ ฯลฯ (2) ข้อยกเว้น ด้านความม่ันคง (Security Exceptions) ไม่ได้ห้ามประเทศภาคีจัดให้มีหรืออนุญาตให้เข้าถึงข้อมูลซ่ึงหาก เปิดเผยท�ำให้ขัดต่อประโยชน์ด้านความมั่นคงท่ีจ�ำเป็น หรือใช้มาตรการท่ีจ�ำเป็นต่อการปฏิบัติตามพันธกรณี ของประเทศภาคีในการธ�ำรงรักษาหรือการฟื้นฟูสันติภาพและความม่ันคงระหว่างประเทศ หรือคุ้มครอง ประโยชนด์ า้ นความมนั่ คงทจี่ ำ� เปน็ ของประเทศภาคเี องนอกจากนย้ี งั ใหใ้ ชม้ าตรการปกปอ้ งชว่ั คราว (Temporary Safeguard Measures) และมาตรการอื่นท่กี ำ� หนดไว้ 3) หมายเหตทุ ว่ั ไป (General Notes) บางบทขอ้ ตกลงให้ประเทศภาคีอาจระบขุ ้อสงวนสทิ ธิไว้ ในรายการแนบท้าย (Schedule) ของแตล่ ะประเทศในภาคผนวก (Annex) ของบทขอ้ ตกลงน้ัน ๆ ซึง่ ต้องมี 262 บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

การเจรจาและไดร้ ับการยอมรับจากประเทศภาคแี ล้ว เช่น ในภาคผนวก 15-A ออสเตรเลยี ระบวุ ่า การผกู พัน เปดิ ตลาดการจดั ซอื้ จดั จา้ งโดยรฐั ไมใ่ ชบ้ งั คบั กบั รปู แบบสทิ ธปิ ระโยชนท์ ใ่ี หก้ บั กจิ การ SMEs มาตรการคมุ้ ครอง สมบัติของชาติท่ีมีคุณค่าทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี ซึ่งภาครัฐของไทยพิจารณาในส่วนนี้ไป ก�ำหนดไวใ้ นขอ้ เสนอของไทย 4) เงอ่ื นไขทดแทน (Offset) ในบทขอ้ ตกลงท่ี 15 โดยประเทศภาคอี าจก�ำหนดในสัญญาการจัด ซ้ือจัดจ้างภาครัฐให้ใช้วัสดุหรือส่วนประกอบภายในประเทศ ผู้จัดหาภายในประเทศ การได้รับอนุญาตด้าน เทคโนโลยี การถา่ ยทอดเทคโนโลยี การค้าต่างตอบแทนหรือท�ำนองเดยี วกันเพ่อื สนบั สนุนการพัฒนาภายใน ประเทศ ฯลฯ 5) มาตรการชว่ งเปลยี่ นผา่ น (Transitional Measures) ในบทขอ้ ตกลงที่ 15 อนญุ าตใหป้ ระเทศ ก�ำลังพัฒนาใช้มาตรการหนึ่งหรือหลายมาตรการ ไปจนถึงช่วงท่ีประเทศภาคีพร้อมที่จะปฏิบัติตามข้อตกลง ได้แก่ (1) แต้มตอ่ ด้านราคา (Price Preference) (2) เงื่อนไขทดแทน (Offset) (3) การทยอยน�ำมาใชเ้ พม่ิ เติม (Phrased-in) กับหนว่ ยงานหรอื ภาคส่วนโดยเฉพาะ และ (4) การกำ� หนดมลู ค่าข้นั ต�ำ่ ในระดบั ท่ีสงู กวา่ มูลค่า ขน้ั ต�่ำถาวรทก่ี ำ� หนดไว้ หากไทยจะขอเข้าเป็นภาคี ไทยสามารถใช้กรณีที่เป็นข้อยกเว้นและมาตรการที่ส่งผลให้ไม่ต้อง ปฏิบัติตามข้อตกลงและเงือนไข รวมท้ังภาครัฐของไทยพึงต้องพิจารณาในส่วนของมาตรการที่ไม่เป็นไปตาม พันธกรณี หมายเหตทุ ว่ั ไป เงือ่ นไขทดแทน และมาตรการช่วงเปลี่ยนผ่านเพ่อื นำ� ไปก�ำหนดไวใ้ นข้อเสนอของ ไทย ซงึ่ ตอ้ งผา่ นการเจรจาตามขน้ั ตอนกระบวนการภาคยานวุ ตั แิ ละนำ� ไปดำ� เนนิ การทเี่ หมาะสมกบั กลไกภายใน ประเทศต่อไป ขอ้ เสนอแนะ จากการทป่ี ระเทศตา่ ง ๆ หนั มาทำ� ความตกลงเขตการคา้ เสรแี ละความตกลงอน่ื ๆ ทส่ี รา้ งโอกาสขยาย ตัวทางการค้าและมูลค่าทางเศรษฐกิจในหลายด้านอย่างเป็นรูปธรรมและรวดเร็วมากกว่าการเจรจาในระบบ การคา้ พหภุ าคใี นกรอบ WTO ซงึ่ มกี ฎกตกิ าทเ่ี ปดิ โอกาสใหป้ ระเทศภาคสี ามารถทำ� ความตกลงเขตการคา้ เสรี ประเภท ตา่ ง ๆ ได้จงึ กอ่ ก�ำเนิด TPP และตอ่ มากลายมาเปน็ CPTPP ซง่ึ เปน็ Trade Bloc ทีม่ ีลกั ษณะเป็นทัง้ FTA และ RTA จงึ เรยี กวา่ เปน็ FTA พหภุ าครี ะดบั ภมู ภิ าค กอ่ ใหเ้ กดิ ผลทแ่ี ตกตา่ งไปจากการทำ� ขอ้ ตกลงทวภิ าคี ทีละคูป่ ระเทศ โดย CPTPP ประกอบไปด้วยสารบญั ญตั ทิ ่เี ปน็ เน้ือหาของขอ้ บททีม่ ีมาตรฐานสงู ดังเหน็ ไดจ้ าก มเี นือ้ หา 30 บทข้อตกลงท่คี รอบคลุม กว้างข้นึ และลึกมากกวา่ กฎเกณฑ์ของ WTO และความตกลงทางการ คา้ และเศรษฐกิจอนื่ ๆ ท้ังในส่วนทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เตมิ เนอ้ื หาขอ้ ตกลงใหเ้ ข้มขน้ ข้นึ และมกี ารจัดท�ำกฎเกณฑข์ ้ึนมา ใหม่ และประกอบดว้ ยกฎระเบยี บเกยี่ วกบั กระบวนการ ขนั้ ตอน และวธิ กี ารเฉพาะเรอื่ ง กลไกหนว่ ยงานทเ่ี ปน็ คณะกรรมาธิการ คณะกรรมการเฉพาะด้าน และกลไกระงับข้อพิพาทท้ังในระดับรัฐระหว่างประเทศภาคีท่ี พิพาท และระหวา่ งรฐั กบั นักลงทุน (เอกชน) จากข้อสังเกตทางกฎหมายบางประการเกี่ยวข้องกับการพิจารณาขอเข้าร่วมเจรจาเป็นภาคี CPTPP ซง่ึ ผเู้ ขยี นวเิ คราะหไ์ ปนน้ั สรปุ ไดว้ า่ ในทางกฎหมายไทยสามารถเปน็ ภาคคี วามตกลงพหภุ าคใี นกรอบของ WTO ความตกลง FTA และ RTA หลายฉบบั ในเวลาเดยี วกนั ได้ ความตกลงต่าง ๆ ท่ไี ทยเปน็ ภาคนี ั้นยงั คงใช้บังคบั ปที ี่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 263

ไดต้ อ่ ไปเปน็ ไปตามสทิ ธแิ ละพนั ธกรณที ไ่ี ทยเปน็ ภาคอี ยกู่ อ่ นแลว้ ขณะเดยี วกนั อาจทำ� ใหเ้ กดิ Spaghetti-bowl Effect น่ันคือ ทำ� ให้เกิดความสบั สนในกฎเกณฑ์และเง่ือนไขของแตล่ ะข้อตกลงหรือซับซอ้ น ย่งุ เหยิงพนั กันไป หมด อันอาจเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสม อย่างไรก็ดีในภาพรวมของการขอเข้าเป็นภาคี CPTPP ซงึ่ เปน็ FTA ระดบั ภมู ภิ าค พบวา่ เปน็ ผลทเี่ กดิ ขน้ึ โดยทวั่ ไปตามกระแสความเปลยี่ นแปลงในยคุ ปจั จบุ นั ซงี่ มขี อ้ ดที ช่ี ดั เจนหลายประการมากกวา่ ขอ้ เสยี โดยเฉพาะไทยเปน็ สว่ นหนง่ึ ของหว่ งโซอ่ ปุ ทานทนี่ ำ� เขา้ และสง่ ออกทัง้ วัตถดุ ิบและสนิ คา้ ข้ันสุดท้าย รวมทงั้ หว่ งโซ่มูลคา่ ระดับโลก ท�ำให้เข้าถงึ ตลาดของหลายประเทศภาคี ซง่ึ รวมกนั เป็นตลาดท่ใี หญม่ ากไดแ้ ละไดร้ ับสทิ ธิประโยชน์อย่างอืน่ ๆ อย่างนอ้ ยจากการท่ีไทยสามารถสะสม ถิน่ กำ� เนิดเพอ่ื สทิ ธิประโยชนท์ างภาษไี ด้และทำ� ให้เขา้ ถึงตลาดใหญ่ไดห้ ลายประเทศภาคี ถึงแมว้ ่าไทยไม่ตอ้ งปฏิบตั ิตาม 22 ข้อตกลงยอ่ ยทีถ่ กู ระงบั ใช้ไวช้ ่วั คราวเชน่ เดยี วกบั ประเทศอนื่ ทีข่ อ เข้าเป็นภาคี CPTPP พบว่าข้อทนี่ า่ กงั วลและเป็นสิ่งท้าทายส�ำหรบั ไทยคือ ความมุ่งหมายในการเปิดเสรตี าม มาตรฐานหรือ กฎกติกาที่พัฒนาหรือสร้างขึ้นใหม่ใน CPTPP ท่ีส่งผลกระทบต่อหรืออาจเป็นการท�ำลาย อุตสาหกรรมภายในประเทศท่ียังไม่พร้อมต่อการเปิดตลาดให้กับต่างชาติและการปฏิบัติตามในแง่ของการท่ี ต้องยอมรบั ท่ีจะปฏิบัติตามพันธกรณีท้งั หมดในเนอื้ หาขอ้ บท บทขอ้ ตกลง และภาคผนวกใน 30 บทข้อตกลง โดยไมส่ ามารถปรบั แกไ้ ขได้ ไมอ่ าจเลอื กผกู พนั เฉพาะบางบทขอ้ ตกลงเทา่ นน้ั โดยในกระบวนการภาคยานวุ ตั ไิ ทย ต้องยื่นข้อเสนอการเข้าสู่ตลาดและมาตรการที่ไม่เป็นไปตามพันธกรณี การแจ้งความคืบหน้าเกี่ยวกับกลไก ภายใน รวมทัง้ เป็นเร่อื งยากลำ� บากส�ำหรบั ภาครฐั ของไทยทีจ่ ะแสดงให้เหน็ อย่างน้อยตาม 3 เกณฑม์ าตรฐาน ให้สอดคล้องกับข้อตกลงเงื่อนไขทั้งหมดที่มีอยู่เดิมและท่ีสร้างข้ึนใหม่ของ CPTPP ซ่ึงมีลักษณะเป็น WTO Plus-Plus นอกจากนี้จากการท่ีหลายประเทศภาคีได้ท�ำความตกลงข้างเคียงกันไว้ต้ังแต่ก่อนลงนาม ซึ่งโดย สว่ นใหญเ่ ปน็ การทำ� ในลกั ษณะทวภิ าคกี บั ประเทศภาคอี นื่ ในเรอ่ื งเฉพาะทแี่ ตกตา่ งกนั ไป ประเทศทไี่ มไ่ ดท้ ำ� ขอ้ ตกลงนัน้ ไมอ่ าจกล่าวอา้ งหรือไดป้ ระโยชนจ์ ากความตกลงขา้ งเคยี งได้ ผู้เขยี นเสนอแนะส�ำหรบั การดำ� เนนิ การของภาครัฐของไทยต่อ CPTPP ดังน้ี 1) ภาครฐั ของไทยอาจเดนิ หนา้ ยน่ื ขอเจรจาเขา้ รว่ มเปน็ ภาคี CPTPP โดยจำ� เปน็ ตอ้ งกำ� หนดมาตรการ ทไี่ มเ่ ปน็ ไปตามพนั ธกรณี หมายเหตทุ วั่ ไป เงอื่ นไขทดแทน และมาตรการชว่ งเปลยี่ นผา่ น (เชน่ เดยี วกบั มาเลเซยี และเวียดนาม) ไปไว้ในข้อเสนอของไทยซ่ึงต้องผ่านการเจรจาตามขั้นตอนกระบวนการต่อไปส�ำหรับ อตุ สาหกรรมทย่ี งั ไมพ่ รอ้ มตอ่ การเปดิ ตลาดใหก้ บั ตา่ งชาตแิ ละการปฏบิ ตั ติ ามกฎกตกิ าใหม่ หรอื ออกมาตรการ เตรยี มความพร้อมหรือชว่ ยเหลอื อุตสาหกรรมท่ีอาจจะสามารถแขง่ ขนั ได้ 2) รวมรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ศกึ ษาวจิ ยั ในแตล่ ะภาคอตุ สาหกรรม และรว่ มกนั ระดมสมองจากทกุ ภาคสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งอยา่ งรอบดา้ นเพอ่ื หาขอ้ สรปุ ในการจดั ทำ� ขอ้ เสนอทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ความพรอ้ มและศกั ยภาพ ของไทยอยา่ งน้อยตาม 3 เกณฑ์มาตรฐานใหส้ อดคล้องกับขอ้ ตกลงเงอ่ื นไขทั้งหมดของ CPTPP ท้ังทีม่ ีอยู่เดิม และท่ีพัฒนาหรอื สร้างขึ้นใหมต่ ามทปี่ รากฎในเนอ้ื หาข้อบท บทขอ้ ตกลง และภาคผนวกใน 30 บทข้อตกลง 3) ควรพิจารณาความจำ� เป็นและแนวทางเจรจาสำ� หรับเตรยี มท�ำ Side Letter กบั ประเทศภาคีทมี่ ี ความส�ำคัญในภาคอุตสาหกรรมทจ่ี ำ� เปน็ 4) ระดมสมองเพื่อหามาตรการจัดการปัญหาความสับสนและการปฏิบัติไม่ถูกต้องเหมาะสมในการ ใชบ้ งั คบั ในลกั ษณะทที่ บั ซอ้ น ซบั ซอ้ น ฯลฯ อนั เกดิ จากการปฏบิ ตั ติ ามหลายความตกลงพรอ้ มกนั ในหลายระดบั และลกั ษณะ 264 บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต

เอกสารอา้ งอิง กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2563, 18 มิถุนายน). สรปุ สาระสำ� คญั CPTPP 30 ขอ้ บท. [Online]. Available: https://dtn.go.th/th/negotiation/สรุปสาระส�ำคัญ-cptpp-30-ข้อบท? cate=5ee98b8def41401a28504172. [2563, มิถนุ ายน 26]. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2563, 16 มถิ นุ ายน). สมาชกิ RCEP เดนิ หน้าเจรจาเตม็ พิกดั มน่ั ใจลง นามความตกลงปลายปีนี้แนน่ อน. [Online]. Available: https://www.dtn.go.th/th/news/ สมาชกิ -rcep-เดนิ หนา้ เจรจาเตม็ พกิ ดั -มนั่ ใจลงนามความตกลงปลายปนี แ้ี นน่ อน. [2563, มถิ นุ ายน 26]. กรมเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ. (2556). ความตกลงการเปน็ หนุ้ สว่ นทางเศรษฐกจิ ภาคพนื้ แปซฟิ กิ (TPP). [Online]. Available: http://www.thaifta.com/thaifta/Home/FTAbyCountry/tabid/53/ ctl/detail/id/24/mid/480/usemastercontainer/true/Default.aspx. [2563, พฤษภาคม 24]. กรงุ เทพธุรกิจ. (2561, 26 พฤษภาคม). เปดิ เวที “โอกาสการคา้ ลงทนุ ในเมก็ ซิโก” หลังมูลคา่ สง่ ออกไทย เพม่ิ สงู ขน้ึ . [Online]. Available: https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/803031. [2561, พฤษภาคม 21]. จมุ พต สายสนุ ทร. (2552). หนงั สือสญั ญาระหว่างประเทศทีต่ ้องไดร้ บั ความเห็นชอบจากรัฐสภา. รายงาน การศึกษาฉบับสมบรู ณเ์ สนอตอ่ สถาบันรัฐธรรมนูญศกึ ษา สำ� นกั งานศาลรัฐธรรมนูญ. ทัชชมัย (ฤกษะสุต) ทองอุไร. 2560. กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ GATT และ WTO: บททั่วไป. พมิ พค์ รงั้ ที่ 5. กรุงเทพฯ: ส�ำนกั พิมพว์ ญิ ญูชน. References Asia-Pacific Economic Cooperation. (2019, March 28). APEC Taking Measures to Boost Trade and Regional Growth. [Online]. Available: https://www.apec.org/Press/News- Releases/2019/0328_CTI. [2020, May 28]. Corr, C. F. et al. (2019, January 21), The CPTPP Enters into Force: What Does it Mean for Global Trade?, White & Case LLP. [Online]. Available: https://www.whitecase.com/ publications/alert/cptpp-enters-force-what-does-it-mean-global-trade. [2020, June 30]. Government of Canada. (2019, September). Canada – Thailand Relations. [Online]. Available: https://www.canadainternational.gc.ca/thailand-thailande/bilateral_relations_ bilaterales/ canada-thailand-thailande.aspx?lang=eng . [2020 September 22]. Hunter, R. and Seidel, S. (2017, February 21). The Pros and Cons of Bilateral and Multilateral Trade Agreements. Trade Crossroads (A Blog by Baker McKenzie). [Online]. Available: https://tradeblog.bakermckenzie.com/the-pros-and-cons-of-bilateral-and- multilateral-trade-agreements/. [2020, September 22]. ปที ี่ 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 265

Jozepa, I., Ward, M. and Webb, D. (2019). Future Free Trade Agreements: US, CPTPP, Australia and New Zealand. UK: House of Commons Library Briefing No. 8499. Mulgan, Aurelia G. (2018, February 28), CPTPP a Boost for Japan’s Rregional Trade Leadership. East Asia Forum. [Online]. Available: https://www.eastasiaforum. org/2018/02/27/cptpp-a-boost-for-japans-regional-trade-leadership/. [28 May 2020]. New Zealand Foreign Affairs & Trade. (2019). CPTPP Accession Process. [Online]. Available: https://www.mfat.govt.nz/assets/CPTPP/Accession-Process.pdf. [2020, May 26]. New Zealand Foreign Affairs & Trade. (n.d.). Comprehensive and Progressive Agreement for Trans-Pacific Partnership text and resources. [Online]. Available: https://www. mfat.govt.nz/en/trade/free-trade-agreements/free-trade-agreements-in-force/cptpp/ comprehensive-and-progressive-agreement-for-trans-pacific-partnership-text-and- resources/#side. [2020, May 24]. Ono, Y. (2018, May 1). Thailand wants to join TPP ‘as Soon as Possible’, Says Deputy PM, Nikkei Asian Review. [Online]. Available: https://asia.nikkei.com/Economy/Thailand- wants-to-join-TPP-as-soon-as-possible-says-deputy-PM. [2020, June 10]. Schule, U. and Kleisinger, T. (2016). The Spaghetti Bowl: A Case Study on Processing Rules of Origin and Rules of Cumulation, Paper No. 2/2016 UASM Discussion Paper Series, University of Applied Science Mainz. Sinclair, S. (2018, February 12). A Detailed Look at the New, Decidedly Not-so-progressive Trans-Pacific Partnership. Behind the Numbers Blog of the Canadian Centre for Policy Alternatives. [Online]. Available: http://behindthenumbers.ca/2018/02/12/ backgrounder-new-decidedly-not-progressive-trans-pacific-partnership/. [2020, June 30]. UK Department of International Trade. (2019). Public consultation on the UK potentially Seeking Accession to CPTPP: Summary of Responses. London: DIT. US Council on Foreign Relations. (2019). What is the Trans-Pacific Partnership (TPP)?. [Online]. Available: https://www.cfr.org/backgrounder/what-trans-pacific-partner ship-tpp. [2020, May 24]. World Bank Group. (2018). Enhancing Potential. Washington D.C.: IBRD. World Trade Organization. (2020). Regional Trade Agreements. [Online]. Available: https:// www.wto.org/english/tratop_e/region_e/region_e.htm. [2020, June 10]. 266 บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ

World Trade Organization. (n.d.). Regional Trade Agreements and the WTO. [Online]. Available: https://www.wto.org/english/tratop_e/region_e/scope_rta_e.htm. [2020, June 10]. Translated Thai References Bangkokbiznews. (2018, May 26). Open Forum “Opportunity for Trade and Investment in Mexico” After Thailand’s Export Value Escalated. [Online]. Available: https:// www.bangkokbiznews.com/news/detail/803031. [2020, September 21]. (in Thai) Department of Trade Negotiations. (2020, June 18). Essence in Brief of 30 Chapters. [Online]. Available: https://dtn.go.th/th/negotiation/สรุปสาระส�ำคัญ-cptpp-30-ข้อบท?- cate=5ee98b8def41401a28504172. [2020, June 26]. (in Thai) Department of Trade Negotiations. (2020, June 16). RCEP Members Step Forward Full-scale Negotiations and are Assured of Signing the Agreement in this Year-end. [Online]. Available: https://www.dtn.go.th/th/news/สมาชกิ -rcep-เดนิ หนา้ เจรจาเตม็ พกิ ดั - มนั่ ใจลงนามความตกลงปลายปีนี้แน่นอน. [2020, June 26]. (in Thai) Department of Trade Negotiations. (2013). Trans-Pacific Partnership (TPP). [Online]. Available: http://www.thaifta.com/thaifta/Home/FTAbyCountry/tabid/53/ctl/detail/ id/24/mid/480/usemastercontainer/true/Default.aspx. [2020, May 24]. (in Thai) Saisunthorn, J. (2009). Entering Into International Agreement to be Approved by the Parliament. Final Report Submitted to Institute of Constitutional Studies, the Office of the Constitutional Court. (in Thai) Thong-u-rai, T. R. (2017). International Economic Law on GATT and WTO: General Provisions. 5th ed. Bangkok: Winyuchon Publishing. (in Thai) ผู้เขยี น ธนะชาติ ปาลยิ ะเวทย์ คณะนติ ิศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ� แหง เลขท่ี 2086 ถนนรามคำ� แหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 e-mail: [email protected] ปีท่ี 17 ฉบบั ที่ 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 267



“จดหมายหลวงอุดมสมบตั ิ” ยอดชาย ชุตกิ าโม* ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ หลกั สูตรรัฐศาสตร์ โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสติ Yodchai Chutikamo* School of Law and Politics, Suan Dusit University ชอ่ื เรอ่ื ง จดหมายหลวงอุดมสมบัติ ผู้แตง่ หลวงอดุ มสมบัติ (จนั ) จ�ำนวนหน้า 592 หนา้ ผู้พิมพ์ สำ� นกั พิมพ์ศรปี ญั ญา, 2554 ภาษา ไทย รชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยหู่ วั เป็นช่วงเวลา ทกี่ รงุ รตั นโกสนิ ทรม์ คี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งและมคี วามมน่ั คงมง่ั คงั่ ในชว่ งเวลา เพยี ง ครงึ่ ศตวรรษหลังจากสงครามเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาคร้ังที่ 2 ชนช้ันน�ำ สยามสามารถสร้างบ้านเมือง วางระบบการปกครองที่มีเสถียรภาพและ สามารถแผ่อ�ำนาจการปกครองไปได้มากกว่าท่ีกรุงศรีอยุธยาเคยมีมา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการขยายอ�ำนาจลง ไปทางหัวเมืองปกั ษ์ใต้และคาบสมุทรมลายู ที่กรุงศรอี ยธุ ยาและกรงุ ธนบรุ ี ไม่สามารถน�ำหัวเมอื งมลายมู าอยู่ ภายใต้อ�ำนาจได้อย่างม่ันคง การปกครองหัวเมืองปักษ์ใต้และหัวเมืองประเทศราชในคาบสมุทรมลายูในสมัย รตั นโกสนิ ทรน์ มี้ คี วามสำ� คญั ทางยทุ ธศาสตรอ์ ยา่ งมาก จะเหน็ ไดว้ า่ หลงั จากสรา้ งกรงุ รตั นโกสนิ ทรเ์ ปน็ ราชธานี ไม่นานนัก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงโปรดฯ ให้สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหา สรุ สงิ หนาท กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล เสดจ็ ลงไปจดั การปกครองหวั เมอื งปกั ษใ์ ตแ้ ละหวั เมอื งประเทศราช มลายูท่สี ำ� คัญใหเ้ ขา้ มาอยู่ใน พระราชอาณาเขต เหตุท่ีหัวเมืองปกั ษ์ใต้และหัวเมืองประเทศราชมลายมู ีความ สำ� คัญท้งั ทอี่ ยหู่ ่างไกลจากราชธานมี ากนนั้ เนื่องจากเป็นดนิ แดนแห่งทรพั ยากรธรรมชาติ สินคา้ ของปา่ และ การเป็นชมุ ทางการค้าทางเรือกบั โลกภายนอก ซงึ่ มคี วามส�ำคญั ทางเศรษฐกิจ การจดั เก็บสว่ ยอากรตา่ ง ๆ ที่ กล่าวไดว้ ่าเปน็ ท่มี าของรายได้จ�ำนวนมากของแผ่นดนิ * ยอดชาย ชตุ ิกาโม (Corresponding Author ปที ี่ 17 ฉบบั ที่ 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 269 e-mail: [email protected]

อยา่ งไรกต็ ามดว้ ยความทอี่ ยหู่ า่ งไกลจากราชธานี การปกครองหวั เมอื งปกั ษใ์ ตแ้ ละหวั เมอื งประเทศราช มลายจู งึ อยภู่ ายใตก้ ารกำ� กบั ของเจา้ เมอื งใหญส่ องเมอื ง คอื นครศรธี รรมราชและสงขลา ทใ่ี นเวลาปกตกิ ส็ มคั ร สมานกันดีแตใ่ นบางครัง้ เจา้ เมอื งใหญ่ทัง้ สองนี้มคี วามขดั แย้งกนั มีทง้ั เร่ืองผลประโยชน์ เร่อื งสว่ นตัว ก็น�ำมา ซงึ่ ปญั หาความไมล่ งรอยในการบรหิ ารหวั เมอื งปกั ษใ์ ตแ้ ละหวั เมอื งประเทศราชมลายู สรา้ งความลำ� บากใหก้ บั รฐั บาลทร่ี าชธานี อกี ทงั้ การทห่ี วั เมอื งประเทศราชมลายนู นั้ ชาตพิ นั ธข์ุ องประชากรสว่ นใหญห่ รอื เกอื บจะทงั้ หมด ในพ้ืนที่เป็นชาวมลายูท่ีมีความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรมกับคนไทย ท�ำให้การปกครองนั้นมิได้เป็นไป อย่างราบรื่น ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ว่าในขณะน้ันผู้ปกครองในพ้ืนที่มีความสัมพันธ์กับหัวเมืองใหญ่อย่าง นครศรีธรรมราชและสงขลาอย่างไร นอกจากนี้ยังมีปัญหาการแก่งแย่งชิงดีในอ�ำนาจของผู้ปกครองหัวเมือง ประเทศราชมลายเู องดว้ ย ท่ีบางครัง้ มาจากปญั หาในครอบครัวและเครือญาตขิ องผูป้ กครอง และบางครง้ั มา จากความไมล่ งรอยกนั ระหวา่ งผปู้ กครองและขา้ ราชการทถ่ี กู สง่ ไปกำ� กบั ราชการ ทบ่ี างกรณสี รา้ งปญั หาถงึ ขน้ั ทท่ี างราชธานีต้องส่งขุนนางผู้ใหญแ่ ละกองทพั ออกมาจัดการ ในระหว่าง พ.ศ. 2381-2382 เกิดความวุ่นวายในหัวเมืองปักษ์ใต้และหัวเมืองประเทศราชมลายู พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจ้าอย่หู วั ทรงโปรดฯ ให้สมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัต บนุ นาค) ซึง่ ใน ขณะน้ันมีบรรดาศักดิ์เป็นพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา เจ้ากรมพระคลังสินค้า เป็นแม่ทัพยกกองทหารไป จดั การปกครองหัวเมืองปักษใ์ ต้และหัวเมืองประเทศราชมลายู ซงึ่ สมเด็จเจา้ พระยาฯ ได้มอบหมายให้ หลวง อดุ มสมบตั ิ (จนั ) ซึ่งรับราชการอยใู่ นกรมพระคลงั สนิ ค้า ท�ำหน้าท่รี ายงานขอ้ ราชการต่าง ๆ ทีพ่ ระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลา้ เจ้าอยูห่ วั ทรงหารอื กบั ขนุ นาง ข้าราชการในราชสำ� นกั ทีเ่ กยี่ วข้องกับหวั เมืองปกั ษ์ใต้และหัวเมอื ง ประเทศราชมลายูไปให้ทราบเปน็ ระยะ ซงึ่ หลวงอุดมสมบัติ (จัน) ไดท้ ำ� การรายงานออกไปอย่างละเอยี ด รวม ทง้ั ส้นิ 15 ฉบบั ตอ่ มาจึงได้รบั การตีพิมพ์เผยแพร่ในชื่อวา่ “จดหมายหลวงอดุ มสมบัติ” และไดร้ ับการยกย่อง วา่ เป็นเอกสารชน้ั ต้นทีด่ ี ยงิ่ ส�ำหรบั ผ้ศู กึ ษาประวตั ศิ าสตรส์ มัยรตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้ และเป็นหลกั ฐานที่แสดง ใหเ้ หน็ ถึงรปู แบบการบริหารราชการแผ่นดนิ ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวอยา่ งลกึ ซ้ึง ใน “จดหมายหลวงอดุ มสมบัติ” น้ี ผ้อู า่ นจะไดเ้ หน็ ถงึ รปู แบบการจัดความสมั พนั ธเ์ ชิงอ�ำนาจระหว่าง รฐั บาลทร่ี าชธานกี บั หวั เมอื งใหญท่ ง้ั สองของปกั ษใ์ ตค้ อื นครศรธี รรมราชและสงขลา และในบางกรณที รี่ าชธานี จัดการบางเร่ืองโดยตรงไปยังหัวเมืองต่าง ๆ โดยไม่ต้องผ่านเมืองใหญ่ทั้งสอง เพื่อสร้างระบบการปกครองท่ี รกั ษาเสถยี รภาพและความมน่ั คงในพนื้ ที่ ในจดหมายหลวงอดุ มสมบตั นิ ยี้ งั แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ตวั แสดงใหมท่ เ่ี ขา้ มา มีบทบาทในการสร้างอิทธิพลในคาบสมุทรมลายูคือพวกจักรวรรดินิยมอังกฤษ ซึ่งต่างจากสมัยกรุงศรีอยุธยา และสมยั กรงุ ธนบรุ ี การปรากฏตวั ของอำ� นาจใหมท่ มี่ แี สนยานภุ าพทงั้ ทางทหารและเศรษฐกจิ และจอ้ งทจ่ี ะมา แสวงหาผลประโยชนอ์ ยา่ งเตม็ ท่ี ทำ� ใหร้ าชสำ� นกั สยามตอ้ งใชค้ วามละเอยี ดรอบคอบในการดำ� เนนิ นโยบายเพอ่ื รักษาผลประโยชนแ์ ละความเปน็ ผมู้ อี ำ� นาจในพนื้ ทเ่ี ป็นอย่างย่งิ ใน “จดหมายหลวงอดุ มสมบตั ”ิ ผอู้ า่ นจะไดเ้ หน็ ถงึ พระปรชี าสามารถของพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ท่ีแมว้ า่ จะมิไดเ้ สด็จลงไปยงั พ้ืนทหี่ ัวเมืองปกั ษใ์ ต้หัวเมืองประเทศราช มลายูด้วยพระองคเ์ อง แตก่ ารที่ทรงประเมินสถานการณจ์ ากขา่ วสารข้อมลู ต่าง ๆ ทัง้ จากขา้ ราชการในพนื้ ท่ี ตลอดจนพ่อค้าไทยและพ่อค้าต่างชาติท่ีผ่านไปมาในพ้ืนที่และแวะมาค้าขายในกรุง อีกทั้งจากที่ทรงรู้จัก ขา้ ราชการ เจา้ เมอื งตา่ ง ๆ ทเ่ี คยมาเฝา้ ทำ� ใหท้ รงทราบวา่ แตล่ ะคนนน้ั มอี ปุ นสิ ยั และทศั นคตอิ ยา่ งไร ทำ� ใหท้ รง ปรกึ ษาหารอื ขอ้ ราชการกบั เสนาบดแี ละขนุ นางทงั้ หลายเรอื่ งหวั เมอื งปกั ษใ์ ตแ้ ละหวั เมอื งประเทศราชมลายไู ด้ 270 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดุสติ

อย่างลึกซ้งึ และทรงมีรัฏฐาภิปาลโนบายไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ท้งั น้ี แม้ส�ำนวน ถอ้ ยคำ� ที่ปรากฏในหนงั สือนี้จะดู โบราณ ท�ำให้เห็นภาพของระบบราชการที่ยังมิได้เป็นรูปแบบสมัยใหม่อย่างปัจจุบัน จนผู้อ่านอาจจะรู้สึกว่า เป็นเร่ืองคร�่ำครึพ้นสมัย แต่สิ่งที่ส�ำคัญคือหนังสือนี้ได้บันทึกโดยละเอียด ท�ำให้เห็นถึงรูปแบบระบบราชการ สมัยรตั นโกสนิ ทรต์ อนต้นทมี่ ี ความสบื เน่อื งมาจากสมัยกรงุ ศรีอยุธยา ซึง่ ไม่ปรากฏในเอกสารอื่นใดอีก ทำ� ให้ เปน็ หนังสอื สำ� คญั ทผี่ ศู้ กึ ษาทางรฐั ศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ ควรจะมีโอกาสได้อา่ น ดังท่สี มเดจ็ พระเจา้ บรม วงศ์เธอฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงอธิบายถึงหนังสือน้ีว่า “ถ้าได้อ่านแล้วจะมีความเห็นเป็นอย่าง เดยี วกนั ทกุ คน ว่าเป็นหนังสอื นา่ อ่านนบั เปน็ อยา่ งเอกได้เรอื่ งหนงึ่ ” ผ้เู ขยี น ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ยอดชาย ชตุ ิกาโม โรงเรยี นกฎหมายและการเมอื ง มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ เลขท่ี 145/9 ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 e-mail: [email protected] ปีที่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 271



นโยบายและการด�ำเนนิ งานจดั พิมพว์ ารสารวชิ าการบณั ฑิตวิทยาลยั สวนดสุ ติ บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต นโยบายวารสาร ​วารสารวชิ าการบณั ฑติ วทิ ยาลัยสวนดสุ ติ มหาวิทยาลยั สวนดุสติ ด�ำเนนิ การมาต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2547 มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ในประเภทบทความวิจัย บทความวิชาการ บทความปริทัศน์ แ ละบทความวิจารณ์หนังสือ เพ่ือเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ครุศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ รฐั ศาสตร์ นิติศาสตร์ อาชญาวิทยา บริหารธรุ กิจ และสาขาอน่ื ทีเ่ กยี่ วข้อง) ​วารสารวชิ าการบัณฑติ วทิ ยาลยั สวนดุสติ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ เปน็ วารสารปรากฏอยใู่ นฐาน TCI (Thai Journal Citation Index Centre) หรือศนู ย์ดชั นกี ารอา้ งอิงวารสารไทย โดยปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาคณุ ภาพ วารสารตามเกณฑม์ าตรฐานวชิ าวชิ าการตามทสี่ ำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (สกอ.) และ สำ� นกั งาน กองทนุ สนบั สนุนการวจิ ัย (สกว.) กำ� หนด กองบรรณาธิการของวารสารประกอบด้วยผทู้ รงคณุ วุฒทิ ่มี ีตำ� แหน่ง ทางวชิ าการ ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ รวมท้งั ผูท้ รงคุณวฒุ ิระดบั ปริญญาเอก มีผลงานวิจัยต่อเนื่อง ซ่ึงเป็นบุคลากรจากสถาบันภายนอกและภายใน และมีผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) อ่านพิจารณาบทความ ซ่งึ เป็นผเู้ ช่ยี วชาญและมผี ลงานทางวิชาการอย่างต่อเน่อื ง การดำ� เนนิ งานจดั พิมพ์วารสาร 1. รับตน้ ฉบับบทความจากผ้เู ขยี น 2. กองบรรณาธกิ ารวารสารตรวจสอบความถกู ตอ้ งและสมบรู ณข์ องตน้ ฉบบั บทความ ตามขอ้ กำ� หนด การสง่ บทความเพอ่ื รบั พิจารณาการตพี มิ พ์ และตรวจสอบการละเมิดลิขสทิ ธ์ิ (Turnitin) 3. กองบรรณาธิการวารสารจัดส่งต้นฉบบั ใหผ้ ทู้ รงคณุ วฒุ ิ (Peer Review) อ่านพจิ ารณาบทความ 4. ส่งบทความให้ผเู้ ขยี นแก้ไขตามผลการพจิ ารณาของผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ (Peer Review) 5. กองบรรณาธิการวารสารตรวจสอบความถูกต้องและคุณภาพของบทความและพิจารณาต้นฉบับ วารสารฉบบั ทีจ่ ะจัดพิมพ์ 6. คณะทำ� งานด�ำเนนิ การจดั ท�ำรูปเลม่ การจัดพมิ พ์ 7. บรรณาธกิ ารตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ความสมบรู ณ์ และคณุ ภาพของตน้ ฉบบั วารสารฉบบั จดั พมิ พ์ 8. คณะทำ� งานจัดพมิ พแ์ ละเผยแพรว่ ารสาร กำ� หนดการจัดพมิ พว์ ารสาร​ วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยา ลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เป็นวารสารราย 4 เดือน โดย จัดพิมพเ์ ผยแพร่ปลี ะ 3 ฉบบั ​ฉ​ บับท่ี 1 เดอื นมกราคม-เมษายน ฉ​​ บับที่ 2 เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ฉ​​ บับที่ 3 เดือนกนั ยายน-ธันวาคม ปีท่ี 17 ฉบับที่ 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 273

ตดิ ตอ่ เรา ว​ ารสารวิชาการบัณฑติ วิทยาลยั สวนดสุ ติ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ บ​ ัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ เ​ลขท่ี 145/9 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ ถนนสโุ ขทยั เขตดสุ ิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์: ​02-241-7191-5 ต่อ 4135 ​website:​http://www.graduate.dusit.ac.th/journal ​E-mail:​​[email protected] ผปู้ ระสานงาน :​ คณุ จารภุ า ยม้ิ ละมัย คุณณชั ชา ถาวรบุตร ขอ้ แนะน�ำการส่งบทความ ห​ ลกั เกณฑ์การลงตพี มิ พบ์ ทความในวารสารวิชาการบณั ฑติ วทิ ยาลยั สวนดุสิต 1. บทความท่ีผเู้ ขียนสง่ มาเพ่ือการพิจารณาตอ้ งไม่เคยตีพิมพใ์ นวารสารใดวารสารหน่ึงมาก่อน 2. บทความที่ผเู้ ขียนสง่ มาเพือ่ การพจิ ารณาตอ้ งไมเ่ คยอยู่ระหว่างการขอตพี มิ พใ์ นวารสารอน่ื 3. เนอ้ื หาในบทความควรเกดิ จากการสงั เคราะหค์ วามคดิ โดยผเู้ ขยี นเอง ไมไ่ ดล้ อกเลยี นหรอื ตดั ทอน ม าจากผลงาน ท า งวิช าการของผู้อ่ืน หรือจากบทความอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต หรือปราศจากการอ้างอิงที่ เหมาะสม 4. ผู้เขยี นตอ้ งเขียนบทความตามขอ้ ก�ำหนดการเขียนตน้ ฉบับบทความส่งวารสาร 5. ผู้เขียนจะได้รับใบตอบรับการตีพิมพ์บทความในวารสาร เม่ือผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) และกองบรรณาธกิ าร 6. ผู้เขียนต้องแก้ไขความถูกต้องของบทความตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) และกองบรรณาธิการ 7. หลงั จากผเู้ ขยี นแกไ้ ขความถกู ตอ้ งของบทความแลว้ กองบรรณาธกิ ารทำ� การตรวจสอบความถกู ตอ้ ง คณุ ภาพ และความสมบูรณ์ของบทความอีกครง้ั กอ่ นส่งต้นฉบับทำ� การจดั พมิ พ์ ​ขอ้ กำ� หนดการสง่ บทความเพอ่ื พจิ ารณาการตพี มิ พใ์ นวารสารวชิ าการบณั ฑติ วทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ก องบรรณาธิการก�ำหนดระเบียบการส่งต้นฉบับบทความเพ่ือให้ผู้เขียนยึดเป็นแนวทางในการส่ง ตน้ ฉบบั สำ� หรบั รบั พจิ ารณาการตพี มิ พใ์ นวารสารวชิ าการบณั ฑติ วทิ ยาลยั สวนดสุ ติ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ และกองบรรณาธิการสามารถตรวจสอบต้นฉบบั ก่อนการตีพิมพ์ เพื่อให้วารสารมคี ณุ ภาพ สามารถ น�ำไปใชอ้ ้างอิงประโยชน์ทางวิชาการได้ 1. การเตรียมต้นฉบบั มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี 1.1 ขนาดของต้นฉบบั พมิ พห์ นา้ เดยี วบนกระดาษขนาด A4 โดยเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งกระดาษดา้ นบนและดา้ นซา้ ย มอื 1.5 นวิ้ ด้านลา่ งและขวามอื 1 นว้ิ 274 บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดุสติ

1.2 รปู แบบอักษรและการจดั วางตำ� แหนง่ ใชร้ ูปแบบอักษร TH SarabunPSK พิมพ์ดว้ ยโปรแกรมไมโครซอฟท์เวริ ์ด โดยใช้ขนาด ชนิด ของตัวอกั ษร รวมท้ังการจดั วางต�ำแหนง่ ดังน้ี 1.2.1 ทา้ ยกระดาษ ประกอบด้วย ​ 1) ชอ่ื เรอ่ื งตน้ ฉบับของผู้เขยี น ขนาด 14 ชนดิ ตวั ธรรมดา ต�ำแหน่งชิดขอบกระดาษ ด้านซ้าย ​2) เลขหน้า ขนาด 14 ชนดิ ตัวธรรมดา ตำ� แหน่งชิดขอบกระดาษด้านขวา 1.2.2 ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย) ขนาด 16 ชนิดตวั หนา ต�ำแหนง่ ก่งึ กลางหนา้ กระดาษ 1.2.3 ชอ่ื เรอ่ื ง (ภาษาอังกฤษ) ขนาด 16 ชนดิ ตวั หนา ตำ� แหน่งกึ่งกลางหนา้ กระดาษ 1.2.4 ชือ่ ผเู้ ขยี น ขนาด 14 ชนดิ ตัวหนา ต�ำแหนง่ ก่ึงกลางหน้ากระดาษ (ในกรณที ่ีมีอาจารย์ ท่ีปรกึ ษาให้ลงชือ่ อาจารย์ทีป่ รกึ ษาดว้ ย โดยลงอาจารยท์ ป่ี รึกษาหลกั เปน็ รายช่ือสุดทา้ ย) 1.2.5 ที่อยู่หรือหน่วยงานสังกัดของผู้เขียนและอีเมล์ ขนาด 14 ชนิดตัวหนา ต�ำแหน่ง กงึ่ กลางหน้ากระดาษ 1.2.6 หัวขอ้ ของบทคดั ยอ่ ภาษาไทยและอังกฤษ ขนาด 14 ชนดิ ตัวหนา ต�ำแหน่งชิดขอบ กระดาษด้านซ้าย 1.2.7 เนื้อหาบทคัดย่อภาษาไทยและอังกฤษ ขนาด 14 ชนิดตัวธรรมดา จัดพิมพ์เป็น 1 คอลมั น์ บรรทดั แรกเว้น 1 Tab จากขอบกระดาษดา้ นซา้ ย และพิมพใ์ ห้ชดิ ขอบทั้งสองด้าน 1.2.8 หัวข้อเร่ือง ขนาด 14 ชนดิ ตวั หนา ต�ำแหนง่ ชดิ ขอบกระดาษด้านซา้ ย 1.2.9 หัวข้อย่อย ขนาด 14 ชนิดตัวธรรมดา ระบุหมายเลขหน้าหัวข้อย่อย โดยเรียงตาม ลำ� ดบั หมายเลขตำ� แหน่งเว้น 1 Tab จากขอบกระดาษด้านซา้ ย และพมิ พ์ให้ชดิ ขอบท้ังสองดา้ น 1.2.10 เนอื้ หา ขนาด 14 ชนดิ ตัวธรรมดา จดั พมิ พเ์ ปน็ 1 คอลัมม์ บรรทดั แรกเวน้ 1 Tab จากขอบกระดาษด้านซา้ ย และพิมพ์ให้ชิดขอบทง้ั สองด้าน 1.3 จ�ำนวนหน้าตน้ ฉบบั ​​​​ ความยาวท้งั หมด ไมค่ วรเกิน 15 หน้ากระดาษ (นับตัง้ แตช่ ่ือเรอื่ ง-เอกสารอ้างอิง) 2. การเรยี งล�ำดบั เน้ือหาตน้ ฉบบั บทความ เน้ือหาภาษาไทยท่ีมคี �ำศัพทภ์ าษาอังกฤษ ควรแปลเปน็ ภาษาไทยใหม้ ากทส่ี ุด (ในกรณีท่คี ำ� ศพั ท์ ภาษาอังกฤษเปน็ ค�ำเฉพาะทแ่ี ปลไม่ได้ หรอื แปลแล้วไมไ่ ด้ความหมายชดั เจน ให้เขียนทับศัพทไ์ ด)้ และควรใช้ ภาษาทผี่ ู้อ่านเข้าใจง่าย ชดั เจน หากใช้ค�ำยอ่ ตอ้ งเขยี นคำ� เตม็ ไว้ครง้ั แรกกอ่ น 2.1 การเรยี งลำ� ดับเนื้อหาตน้ ฉบับบทความวิจยั - ชอ่ื เรื่องภาษาไทย - ชื่อเร่อื งภาษาอังกฤษ - ชื่อผูเ้ ขียน คณะ มหาวทิ ยาลยั หรอื หน่วยงานสงั กดั ภาษาไทย  - ชอ่ื ผเู้ ขยี น คณะ มหาวทิ ยาลยั หรอื หนว่ ยงานสงั กัด ภาษาองั กฤษ - อีเมลลข์ องผเู้ ขยี น - บทคดั ย่อภาษาไทยและค�ำสำ� คญั ปที ่ี 17 ฉบับที่ 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 275

- บทคดั ยอ่ ภาษาอังกฤษและคำ� สำ� คัญ - บทน�ำ - วัตถุประสงค์ - แนวคิดทฤษฎีท่ีเกยี่ วขอ้ งและกรอบแนวคิด - ระเบียบวิธีวิจยั - ผลการศกึ ษา - อภิปรายผล - ขอ้ เสนอแนะ - เอกสารอ้างอิง 2.2 การเรยี งล�ำดบั เน้ือหาต้นฉบับบทความวชิ าการและปรทิ ัศน์ - ชือ่ เร่ืองภาษาไทย - ชอื่ เร่อื งภาษาอังกฤษ - ช่ือผู้เขยี น คณะ มหาวิทยาลยั หรือหนว่ ยงานสังกัด ภาษาไทย  - ชอ่ื ผู้เขียน คณะ มหาวทิ ยาลยั หรือหนว่ ยงานสังกดั ภาษาองั กฤษ - อีเมลล์ของผเู้ ขียน - บทคัดย่อภาษาไทยและค�ำสำ� คญั - บทคดั ยอ่ ภาษาอังกฤษและค�ำสำ� คัญ - บทน�ำ - เนอ้ื หา - บทวเิ คราะห์ วิจารณ์ และข้อเสนอแนะ - บทสรปุ - เอกสารอา้ งอิง 3. การอ้างอิง การอ้างอิงเอกสารให้ใช้ระบบ APA Style (American Psychological Association Style) การอ้างอิงแทรกในเนือ้ หาใชร้ ะบบนามปี ระบุ (ชื่อผู้แต่ง, ปที ี่พมิ พ์: หนา้ ) การอา้ งองิ ทา้ ยเรอื่ งให้เรมิ่ ตน้ ดว้ ย เอกสารภาษาไทยกอ่ นแลว้ ตามดว้ ยภาษาองั กฤษ และตอ้ งมรี ายการอา้ งองิ อยา่ งนอ้ ย 5 รายการ ตอ่ 1 บทความ ตัวอยา่ งการเขียนเอกสารอ้างองิ หนงั สอื ชอ่ื ผแู้ ต่ง. (ปีที่พมิ พ์). ช่ือเรอื่ ง. เมอื งท่พี ิมพ:์ สำ� นักพมิ พ.์ บทความในหนงั สือ ชอ่ื ผแู้ ตง่ บทความ. (ปที พ่ี มิ พ)์ . ชอ่ื บทความ. ใน ชอ่ื ผแู้ ตง่ หนงั สอื (บรรณาธกิ าร), ชอ่ื หนงั สอื . (เลขหนา้ ทปี่ รากฏ ​บทความจากหนงั สอื หนา้ ใดถึงหน้าใด). เมอื งท่พี ิมพ:์ สำ� นกั พมิ พ์. ​​ วารสาร ชอื่ ผแู้ ตง่ . (ปที พ่ี มิ พ)์ . ชอ่ื บทความ. ชอื่ วารสาร. ปที ่ี (ฉบบั ท)่ี , เลขหนา้ ของบทความจากหนา้ แรก-หนา้ สดุ ทา้ ยท่ี ​ปรากฏตพี มิ พ.์ 276 บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ

​​​​ รายงานการประชมุ ช่ือผู้แตง่ . (ปีท่ีพิมพ์). ช่อื เอกสารรายงานการประชมุ . วันเดือนปีท่ีจัด. สถานทจ่ี ดั . เลขหน้า. ​​​​วิทยานิพนธ์ ชอ่ื ผเู้ ขยี นวทิ ยานพิ นธ.์ ปที พี่ มิ พ.์ ชอ่ื วทิ ยานพิ นธ.์ วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบณั ฑติ หลกั สตู ร, ชอื่ มหาวทิ ยาลยั . ชอื่ ผเู้ ขยี นวทิ ยานพิ นธ.์ ปที พี่ มิ พ.์ ชอ่ื วทิ ยานพิ นธ.์ วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ หลกั สตู ร, ชอ่ื มหาวทิ ยาลยั . ​​​​ หนงั สอื พิมพ์ ชอ่ื ผู้แตง่ . (ปี, เดือนทีพ่ ิมพ์). ชือ่ บทความ. ชื่อหนงั สอื พิมพ์, ปีที่ (ฉบับที)่ , เลขหนา้ ทป่ี รากฏของบทความ. ​​​​สือ่ อินเตอรเ์ นต็ ชอื่ ผแู้ ตง่ . (ปที ี่พมิ พ)์ . ชอื่ เร่ือง. (ออนไลน์) แหล่งท่ีมา URL: http://. (วันเดือนปที สี่ ืบค้น). การอ้างองิ ภาษาองั กฤษใช้เชน่ เดียวกับภาษาไทย หมายเหตุ 1. ผ้แู ตง่ ชาวไทยให้ใส่ชื่อและนามสกุล โดยไมต่ อ้ งใสค่ �ำหน้าช่อื ยกเว้นราชทนิ นาม ฐานันดรศักด์ิ ใหน้ ำ� ไปใส่ท้ายชื่อ โดยใช้เครื่องหมายจุลภาคค่นั ระหวา่ งราชทินนามและฐานนั ดรศกั ดิ์ ส่วนสมณศักดใ์ิ ห้คงรูป ตามเดมิ 2. กรณผี ้แู ต่ง 2 คน กรณีภาษาไทย ใหใ้ สช่ อ่ื สองคนตามล�ำดับทป่ี รากฏ เชื่อมด้วยค�ำว่า “และ” ส�ำหรบั ภาษาต่างประเทศ ใชเ้ คร่ืองหมาย & คั่นระหว่างคนที่ 1 และ คนที่ 2 3. ผู้ เขียนต้นฉบับบทความสามารถดูรายละเอียดการเขียนอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลเก่ียวกับ APA Style 6th edition 4. การใช้ภาษาองั กฤษในบทความ 4.1 ชือ่ เฉพาะ ใหข้ ้ึนตน้ ดว้ ยอกั ษรตัวใหญ่ทกุ คำ� เช่น International Association for Impact Assessment 4.2 ภาษาองั กฤษทั้งในวงเลบ็ และนอกวงเล็บ ให้ใชต้ ัวเล็ก เชน่ local knowledge, advanced model เปน็ ตน้ 4.3 ตั ว ย่อให้ใช้อักษรตัวใหญ่ท้ังหมด และควรมีค�ำเต็มบอกไว้ในการใช้คร้ังแรก เช่น IAIA (International Association for Impact Assessment) 4.4 หัวขอ้ เรือ่ ง ให้ข้ึนต้นด้วยอกั ษรตวั ใหญ่ 4.5 ค�ำสำ� คัญ อกั ษรตัวแรกใหใ้ ชต้ วั ใหญ่ 5. การสง่ ตน้ ฉบบั บทความ ผู้เขียนสง่ ตน้ ฉบับบทความตามข้อก�ำหนดของวารสาร จำ� นวน 3 ชุด พรอ้ มแผ่นซีดี 1 แผน่ เปน็ File Microsoft Word พรอ้ มหลักฐานการช�ำระเงนิ ค่าใชจ้ ่ายในการตพี ิมพ์ สง่ ดว้ ยตนเอง หรือทางไปรษณยี ์ ลงทะเบยี นมาท่ี ปที ี่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 277

กองบรรณาธิการวารสารวิชาการบัณฑิตวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ เลขที่ 145/9 อาคารเฉลมิ พระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ ถนนสุโขทยั เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ 10300 6. การพิจารณาบทความ ต้นฉบับบทความจะได้รับการพจิ ารณาจากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ (Peer Review) ภายนอก ในสาขาวิชา นั้ น  ๆ จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 2 ท่าน โดยเป็นการประเมินแบบอ�ำพรางสองฝ่าย (Double Blind) และ ส่งผลการพจิ ารณาแก่ผเู้ ขยี น เพือ่ ปรบั ปรุง แกไ้ ข บทความ หรอื พิมพต์ ้นฉบบั ใหม่ แลว้ แตก่ รณี เมือ่ บทความ ผ่านการพจิ ารณาจากผทู้ รงคณุ วฒุ แิ ละกองบรรณาธกิ ารแลว้ ผเู้ ขยี นจงึ จะไดร้ บั ใบตอบรบั การตพี มิ พบ์ ทความใน วารสาร  ต้นฉบับบทความจะได้รับการตรวจสอบการละเมดิ ลขิ สิทธิอ์ อนไลน์ ผา่ นโปรแกรมส�ำเรจ็ รูปออนไลน์ TurnItIn 7. ลขิ สทิ ธิ์ ต้ น ฉ บับบทความท่ีได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัย สวนดสุ ติ ถอื เปน็ ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 8. ความรบั ผดิ ชอบ เน้ื อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งน้ี ไม่รวมความผิดพลาด อันเกดิ จากเทคนคิ การพมิ พ์ ค​ า่ ใชจ้ า่ ยในการตพี มิ พ์ บทความละ 3,500 บาท ท้งั น้ี วารสารจะไม่คืนเงินดังกลา่ วแกผ่ ู้เขยี น หากไม่ได้รับการพจิ ารณาจาก ผทู้ รงคุณวุฒิ (Peer Review)  การโอนเงนิ ดังกล่าวมาท่ี ธนาคารกรงุ ศรีอยุธยา สาขามหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ติ   บัญชีออมทรพั ย์ เลขทีบ่ ญั ชี 420-1-75977-0  ชอ่ื บญั ช:ี  นางสาวองคอ์ ร สงวนญาติ และนางนวลปราง รกั ษาภกั ดี และนางสาวณชั ชา ถาวรบตุ ร  ค�ำช้แี จงสิทธิส์ ่วนบคุ คล ทางวารสาร ใหค้ วามสำ� คญั กบั ความเปน็ สว่ นตวั ของผเู้ ขา้ ใชร้ ะบบวารสารออนไลนน์ ี้ ดงั นน้ั ชอื่ นามสกลุ และอเี มล์ของผู้เขา้ มาใช้ระบบวารสารออนไลนข์ องเรา จะไม่ถูกนำ� ไปใชเ้ พ่ือประโยชนอ์ ่ืน นอกจากการติดต่อ สอื่ สารจากทางวารสารเทา่ นน้ั และจะไมถ่ กู นำ� ไปสง่ ตอ่ หรอื เผยแพรแ่ กบ่ คุ คลอน่ื ใดทไี่ มเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ทางวารสาร 278 บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต วนั ท.่ี .......................เดอื น............................... พ.ศ........................... ข้อมูลส่วนตัว สมคั รในนามหนว่ ยงาน......................................................................................................................................................................................................... สมัครในนามบุคคล ชือ่ -สกุล............................................................................................................................................................................................ อาย.ุ .............................. ป ี อาชีพ.........................................................ตำ� แหนง่ .................................................................................... การศกึ ษา...................................................โทรศพั ท.์ ........................................................อเี มล.์ ........................................................................ สถานทจ่ี ัดสง่ วารสารบณั ฑิตวทิ ยาลยั ฯ ที่ทำ� งานปจั จบุ ัน....................................................................................................................................................................................................... เลขท่ี................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................. ที่อย่ปู ัจจบุ นั ................................................................................................................................................................................................................ เลขท่ี................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................. การสมัครสมาชิก 1 ปี 2 ฉบับ 500 บาท 2 ปี 4 ฉบับ 900 บาท การชำ� ระค่าสมาชกิ เงนิ สด โอนเงนิ ผา่ นธนาคารกรงุ ศรีอยุธยา สาขามหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ิต  ในนาม: นางสาวองคอ์ ร สงวนญาติ และนางนวลปราง รกั ษาภกั ดี และนางสาวณชั ชา ถาวรบตุ ร  บัญชอี อมทรัพย์ เลขที่บญั ชี 420-1-75977-0  กรณุ าแนบส�ำเนาการโอนเงินพรอ้ มใบสมคั ร หรือส่งแฟกซ์ 02-243-3408 หรือทาง E-mail: [email protected] สอบถามรายละเอยี ดได้ท่ี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต 145/9 อาคารเฉลมิ พระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ ถนนสุโขทัย เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศพั ท:์ 02-241-7191-5 ตอ่ 4135 โทรสาร 02-243-3408 website : http://www.graduate.dusit.ac.th/journal

บทความวจิ ัย 1 • ผลการจดั การเรียนรูแบบออนไลนท ่มี ีตอ ผลสมั ฤทธ์ิดา นไวยากรณภ าษาองั กฤษของนักศกึ ษาหลักสตู รภาษาอังกฤษธรุ กจิ กนกวรรณ กลุ สุทธิ์ สุดารตั น เจตนป ญจภัค ขจีนุช เชาวนปรีชา • การวเิ คราะหงานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวของกบั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษา 21 รินทรฤดี ภัทรเดช และปญ ญเดช พนั ธุวฒั น • ความขดั แยง ทางปญ ญาและโครงการปรบั ปรุงคุณวุฒิวิชาชพี ครู พ.ศ. 2560 กรณีศึกษาหลักสตู รการศกึ ษาบณั ฑติ มศว. 41 วรรธนะ สุขศริ ิปกรณชยั • การสงั เคราะหงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวของกบั การจัดการเรยี นรูทักษะปฏบิ ัติตามแนวคิดของแฮรโรว และการจดั การเรยี นรู 69 วชิ าดนตรตี ามแนวคดิ ของคารล ออรฟ นที ปนวไิ ลรตั น และอนิ ทิรา รอบรู • สภาพและปญ หาการใชหลกั สูตรสถานศึกษาในโรงเรียนสงั กดั องคการบริหารสวนจงั หวัดนนทบรุ ี: 87 การวจิ ัยเชงิ สำรวจและการประเมนิ หลักสูตรสถานศกึ ษาแบบผสานวิธี พวงเพชร จนิ ดามาศ และภิรดี วัชรสนิ ธุ • การวิเคราะหล ักษณะทางกายภาพและสว นประกอบทางเคมีของยาบา ที่ตรวจจับในเขตพ้ืนทจ่ี งั หวดั นครราชสมี า 103 เพญ็ พศิ เกตใุ หม และพชั รา สินลอยมา • การศกึ ษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของชดุ ตรวจเลอื ดแฝงในอุจจาระและชดุ ตรวจเลือดแฝงในปส สาวะบนผาทปี่ นเปอ นเลอื ด 121 เพียงจิตร เงื่อนไขนำ้ และธติ ิ มหาเจริญ • การศกึ ษาเปรยี บเทียบการปรากฏขึ้นของรอยลายน้ิวมือแฝงบนเครอื่ งหนังดวยวธิ ีการซปุ เปอรก ลู 135 อาภาพร อรณุ แสงทอง และพัชรา สนิ ลอยมา • ปจจยั ทีม่ ีความสัมพนั ธกบั ความตง้ั ใจทจี่ ะเปนผูป ระกอบการของนักศึกษาคณะบรหิ ารธุรกิจและศิลปศาสตร 155 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลานนา เชยี งใหม มานติ ย มัลลวงค และวิวฒั นโ ชตกิ ร เรอื งจนั ทร • สวนประสมการตลาด 4.0 จากมุมมองของผมู สี ว นไดส วนเสียท่มี ตี อ ภาพลกั ษณและชือ่ เสียงของแบรนดทองเที่ยว 175 เมอื งหวั หนิ จังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ เรวติ า สายสดุ เสรี วงษมณฑา และชวลีย ณ ถลาง • กลยุทธท างการตลาดบรกิ ารท่ีมีผลตอผบู ริโภคกลมุ มิลเลนเนยี ลในการตัดสนิ ใจสง่ั อาหารจากรานอาหาร 193 ผา นแอพพลเิ คช่ันสงอาหารเดลิเวอร่ี ธณัฐพล เวียงสิมมา และจอมขวัญ สุวรรณรักษ • อิทธิพลของคณุ ภาพการใหบ รกิ ารที่มตี อนวัตกรรมการใหบ รกิ ารของนักทองเที่ยวผูสูงอายุท่ีใชบ ริการสนามบนิ สวุ รรณภมู ิ 215 ธนกร ณรงคว านชิ • การสง เสรมิ สินคา เกษตรอินทรีย: ความรคู วามเขาใจ ทศั นคติ และปจ จัยทางการตลาดในมมุ มองของผบู ริโภค 231 สณุ ี หงษว เิ ศษ ปรญิ ญา นาคปฐม กฤษฏิพัทธ พิชญะเดชอนันต และธนวฒั น พมิ ลจินดา บทความวิชาการ 249 • สารตั ถะของ CPTPP: ขอสงั เกตทางกฎหมายเกี่ยวกบั การขอเขารวมเปน ภาคขี องไทย ธนะชาติ ปาลยิ ะเวทย บทความวิจารณหนงั สือ 269 • จดหมายหลวงอุดมสมบตั ิ ยอดชาย ชตุ ิกาโม • นโยบายและการดำเนนิ งานจัดพิมพวารสารวชิ าการบัณฑิตวิทยาลยั สวนดุสติ 273 บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ วารสารฉบบั นไ้ี ดร บั การบนั ทกึ ฐานขอ มลู จาก ศนู ยด ชั นกี ารอา งองิ วารสารไทย (TCI) 145/9 ถนนสโุ ขทยั เขตดุสิต กรงุ เทพฯ 10300 โทร. 02-241-7191-5 ตอ 4135 โทรสาร 02-243-3408 (http://tci.trf.or.th) 145/9 Sukhothai Rd., Dusit, Bangkok 10300 Tel. 02-241-7191-5 Ext 4135 Fax. 02-243-3408 http://www.graduate.dusit.ac.th/journal


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook