Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.64)

วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.64)

Published by boomsdu, 2022-05-17 07:00:31

Description: วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.64)

Search

Read the Text Version

Abstract Teacher education was one of the most essential components in an educational system. However, it seemed that effort to equip teachers with knowledge and skills for the Thai teaching profession had been loosened lately. This was applied research which examined cognitive dissonance of English teacher students as well as teachers responsible for the education programs at Srinakharinwirot University (SWU) with regards to the new teacher qualification scheme in Thailand as of 2017 that reduced the former five-year education programs to four. The sampling group comprised 62 students of the Bachelor of Education Program in English at SWU based on purposive sampling. The research instrument was the cognitive dissonance questionnaire which was validated by three experts. Semi-structured interviews were conducted on three responsible teachers of the program. The findings through descriptive statistics indicated that students demonstrated cognitive dissonance against some aspects of the revised teacher qualification scheme 2017 reporting 45.2% on insecurity about future employment, 30.6% on despair of benefits of their current degree, 74.2% demanding action against the new scheme, 77.4% protection from the new scheme and 56.5% unfairness of the new scheme. The interview results by teachers responsible for an education program indicated uncertainty in relation to future employment competitiveness and stability of remaining students of the five-year program. Keywords: Cognitive Dissonance, English Language Teaching, Education Program, Teacher Education บทนำ� การเป็นครูภาครัฐในประเทศไทยนั้น บัณฑิตต้องมีคุณวุฒิตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการก�ำหนด โดยทวั่ ไป คอื จะตอ้ งมวี ฒุ กิ ารศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรสี าขาการศกึ ษา จงึ จะมคี ณุ สมบตั สิ ามารถสอบบรรจเุ ปน็ ครูภาครัฐได้ แต่บัณฑิตท่ีไม่ได้ส�ำเร็จการศึกษาสาขาการศึกษาสามารถมีคุณสมบัติผ่านเกณฑ์ได้หากส�ำเร็จ การศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร สาขาวิชาชีพครู ซ่ึงสามารถเข้ารับการศึกษาได้ตามมหาวิทยาลัยราชภัฏ ต่าง ๆ ท่ัวประเทศ หลักเกณฑ์นี้มีปรากฏท่ัวไปแม้ในต่างประเทศ ยกตัวอย่างเช่น ประเทศออสเตรเลีย หากบัณฑิตปรารถนาจะเป็นครูภาครัฐจักต้องมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ส�ำนักงานจดทะเบียนครูของแต่ละรัฐ กำ� หนดไว้ กลา่ วคอื ตอ้ งผา่ นเกณฑข์ น้ั ตำ่� ของการศกึ ษาครู และผา่ นการฝกึ สอนมากอ่ น ในประเทศไทยรปู แบบ ลา่ สุดของการอบรม หรือการศึกษาครู คอื การเข้ารับการศกึ ษาในหลักสตู รการศกึ ษาบณั ฑติ หลักสตู ร 5 ปี หรือหลกั สูตรการศกึ ษามหาบณั ฑติ หลักสูตร 2 ปี (Faikhamta et al., 2018) อย่างไรก็ตาม ต้นปี พ.ศ. 2559 รฐั บาลไทยไดก้ ำ� หนดโครงการใหม่ ซงึ่ อนญุ าตใหบ้ ณั ฑติ ทไ่ี มไ่ ดส้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาหลกั สตู รการศกึ ษาบณั ฑติ หรอื ประกาศนียบัตร สาขาวิชาชีพครู สามารถสอบบรรจุเป็นข้าราชการครูได้ (Mala, 2017) โครงการดังกล่าว กอ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ทางปญั ญาในหมผู่ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ นสิ ติ ทก่ี ำ� ลงั ศกึ ษาอยใู่ นหลกั สตู ร รปู แบบเดมิ (Boonpen & Aramnet, 2017) 42 บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยสวนดุสติ

เกิดการวิพากษ์วิจารณ์นโยบายใหม่ที่มีความหละหลวมของรัฐบาลในวงกว้าง ว่านโยบายดังกล่าวมี ความเหมาะสมหรือไม่ ท่อี นญุ าตให้บุคคลซงึ่ อาจไม่มคี ณุ สมบัตสิ ามารถเปน็ ครไู ด้ ประเดน็ ดังกลา่ วชดั เจนขนึ้ ในหมบู่ ณั ฑติ ผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาในระบบเดมิ โดยมเี หตผุ ลหลกั คอื บณั ฑติ เกรงวา่ การสอบบรรจเุ ขา้ รบั ราชการ ครูซ่ึงมีการแข่งขันสูงอยู่แล้วนั้น จะยิ่งเพิ่มทวีคูณความยากมากข้ึน บัณฑิตเหล่านี้ต้องส�ำเร็จการศึกษาจาก หลักสตู รทีม่ รี ะยะเวลาการศกึ ษา 5 ปี ก่อนจะมคี ุณสมบตั สิ ามารถมีใบประกอบวชิ าชพี ครไู ด้ โดยสงิ่ น้ีเป็นหลกั เกณฑส์ ำ� คญั ของการบรรจเุ ปน็ ขา้ ราชการครใู นประเทศไทย ยงั มคี วามกงั วลเพมิ่ เตมิ ในสว่ นของนสิ ติ ทก่ี ำ� ลงั จะ ส�ำเรจ็ การศกึ ษาอกี ด้วย โดยที่ต้งั แตเ่ ดอื นมนี าคม พ.ศ. 2559 บทความขา่ วในหนังสือพิมพไ์ ทยรฐั รายงานว่ามี กลุ่มนิสิตนักศึกษาจากทั่วประเทศรวมตัวกันโดยความสนับสนุนของสภาคณบดีครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่ง ประเทศไทย เพ่ือย่ืนจดหมายถึงนายกรัฐมนตรีคัดค้านโครงการใหม่ของรัฐบาล (Thairat, 2017) ต้ังแต่มี การนำ� เสนอโครงการดงั กลา่ ว เกดิ ความขดั แยง้ ในหมผู่ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี และสง่ ผลใหบ้ ณั ฑติ สาขาศกึ ษาศาสตร์ หรือนิสิตนักศึกษาที่ก�ำลังจะส�ำเร็จการศึกษาเกิดความกลัวและกังวลเกี่ยวกับโอกาสในการท�ำงานของตน ในอนาคต ดังน้ันงานวิจัยน้ีจึงเป็นก้าวแรกของการศึกษาความขัดแย้งทางปัญญาของครูและนิสิตนักศึกษา เก่ียวกบั โครงการใหมข่ องรฐั บาล วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความขัดแย้งทางปัญญาของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิตจากผลของโครงการปรับ คุณวุฒคิ รู 2. เพอื่ ศึกษาแนวทางของหลักสูตรการศึกษาบณั ฑิตในอนาคต ค�ำถามวจิ ัย 1. ความคดิ เห็นของนิสิตหลังจากการก�ำหนดคณุ วฒุ ิครรู ปู แบบใหม่เป็นอย่างไร 2. แนวทางของหลกั สูตรการศกึ ษาบัณฑิตในอนาคตเปน็ อยา่ งไร แนวคดิ ทฤษฎีทเ่ี ก่ียวข้อง งานวจิ ยั น้ีใช้ทฤษฎีความขดั แย้งทางปัญญา (Festinger, 1957) ซงึ่ ตามทฤษฎีดังกลา่ ว บคุ คลจะเกิด ความไมพ่ งึ พอใจในสถานการณ์ หรือการกระทำ� เพราะมีความร้สู ึก ทัศนคตหิ รอื ความเช่อื ท่ีไม่ตอ้ งการเกดิ ข้ึน หากต้องการก�ำจัดความขัดแย้งทางปัญญาออกไปทฤษฎีได้น�ำเสนอแนวทางไว้ว่า บุคคลดังกล่าวจะต้อง ประสบความส�ำเรจ็ ในสามประการคือ 1) เปลีย่ นความเชื่อ 2) เปลยี่ นการกระทำ� หรือ 3) เปลีย่ นการรับรขู้ อง การกระทำ� ทฤษฎขี า้ งตน้ นำ� มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั งานวจิ ยั นไี้ ด้ คอื นกั วจิ ยั มคี วามเหน็ วา่ โครงการใหมข่ องรฐั บาลเปน็ ความขดั แยง้ ทางปัญญาที่นิสิต นกั ศกึ ษาต้องการจะกำ� จัด เนือ่ งจากโครงการดังกลา่ วขัดตอ่ ความเช่ือเดมิ ทวี่ ่า การแขง่ ขนั สอบบรรจเุ ปน็ ขา้ ราชการครจู ะอยใู่ นกลมุ่ ของบณั ฑติ สาขาศกึ ษาศาสตรเ์ ทา่ นนั้ อกี ทงั้ ตามกฎระเบยี บ เดมิ บณั ฑติ สาขาศกึ ษาศาสตรม์ สี ทิ ธไิ ดร้ บั ใบประกอบวชิ าชพี ครเู ทา่ นน้ั แตโ่ ครงการใหมข่ องรฐั บาลอนญุ าตให้ บณั ฑติ สาขาอน่ื ๆ มสี ทิ ธสิ อบใบประกอบวชิ าชพี ครไู ด้ ตลอดจนโครงการใหมย่ งั สง่ ผลใหน้ สิ ติ นกั ศกึ ษาทกี่ ำ� ลงั ปที ่ี 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 43

ศึกษาอยู่ในรูปแบบของหลักสูตรเก่ามีความรู้สึกว่าหลักสูตรการศึกษาของตนไม่ได้มีความพิเศษมากกว่าวุฒิ การศึกษาจากศาสตรอ์ ่นื ๆ ทจี่ ะสามารถประกอบวชิ าชพี ครไู ด้เช่นกนั หากต้องการก�ำจัดความขัดแย้งทางปัญญาน้ี นิสิต นักศึกษาต้องเปลี่ยนแปลงความเช่ือว่าโครงการ ใหม่ของรัฐบาลจะไม่ส่งผลกระทบต่อโอกาสในการท�ำงานสาขาวิชาชีพครูของตนในอนาคต และยังคงต้องมี ความปรารถนาในใบประกอบวิชาชีพครู พร้อมทั้งคงความเช่ือม่ันว่าหลักสูตรการศึกษาบัณฑิตยังเป็นสาขาที่ มคี ุณคา่ เชน่ เดมิ การศกึ ษาครูในประเทศไทย เป็นท่ีรู้กันว่าหลักสูตรและครูท่ีมีประสิทธิภาพจะท�ำให้นักเรียนประสบความส�ำเร็จในการศึกษาได้ดี ยิ่งขึ้น (Darling-Hammond & Bransford, 2005; Schwille, Dembele & Shubert, 2007; Tellez & Waxman, 2006) ในประเทศไทย คณุ ภาพและมาตรฐานหลกั สตู รการศกึ ษาเปน็ ไปตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ ครขู องครุ ุสภา (Faikhamta et al., 2018) ประเทศไทยมีการปฏริ ปู การศึกษาด้านการออกแบบ และพฒั นาหลักสตู รการศกึ ษาบณั ฑติ มาตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2510 (Office of the National Education Commission, 2015) ท้งั นี้ กอ่ นปี พ.ศ. 2562 หลกั สตู ร การศกึ ษาบณั ฑติ ในประเทศไทย อย่ใู นรปู แบบของหลักสตู ร 5 ปี โดยนสิ ติ นกั ศึกษาใชเ้ วลา 4 ปี ในการศกึ ษา เลา่ เรยี น และปที ี่ 5 เปน็ สว่ นของการฝกึ สอน โดยมหี ลกั การวา่ การออกแบบหลกั สตู รลกั ษณะนเ้ี ปน็ การเตรยี ม พร้อมบัณฑิตเพ่ือเข้าสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาได้ (Faikhamta et al., 2018) นอกจากน้ี หลักสูตรการศึกษาบัณฑิตท่ีมีการจัดสอนตามสถาบันต่าง ๆ ในประเทศไทย ต้องจัดให้มีการเรียนการสอน อยา่ งนอ้ ย 30 หนว่ ยกิต หมวดการศึกษาทัว่ ไป 50 หนว่ ยกิต หมวดวิชาชพี ครู และหมวดวิชาเอก 80 หน่วยกิต โดยหลกั สูตรการศกึ ษาบัณฑิตทง้ั หมดจะต้องผ่านการรับรองและอนุมัติจากครุ สุ ภาอกี ด้วย ใบประกอบวชิ าชีพครู องค์กรหลักท่ีมีหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับการออกใบประกอบวิชาชีพครูในประเทศไทย คือ คุรุสภาและ สำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา นอกจากขอ้ กำ� หนดดา้ นหนว่ ยกติ การศกึ ษาตามหมวดตา่ ง ๆ ดงั ทก่ี ลา่ ว มาแล้วข้างต้น ผู้ท่ีจะบรรจุเป็นข้าราชการครูยังต้องผ่านคุณสมบัติดังปรากฏตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วย มาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548 อีกดว้ ย วรรณกรรมในส่วนนเ้ี กยี่ วขอ้ งกับงานวจิ ัย คอื หลักสูตรการศกึ ษาบณั ฑิตในปัจจบุ นั ของประเทศไทย ถกู ก�ำหนดดว้ ยมาตรฐานของคุรสุ ภาซ่ึงเป็นหนว่ ยงานหลักในการก�ำกับดูแลมาตรฐานการศกึ ษาครู แตร่ ัฐบาล ไดต้ ดั สินใจเปลยี่ นระเบยี บในต้นปี พ.ศ. 2559 โดยท่ีการตดั สนิ ในดังกล่าวจะเปน็ ประโยชนห์ รือไม่ต่อวชิ าชีพ ครูนั้นยังคงตกเปน็ ประเด็นทตี่ อ้ งวิพากษว์ จิ ารณเ์ พมิ่ เตมิ กรอบแนวคดิ งานวจิ ยั น้ีใชท้ ฤษฎคี วามขัดแยง้ ทางปญั ญา (Cognitive Dissonance Theory) (Festinger, 1957) โดยสงั เขป คอื วจิ ยั นเ้ี ปน็ วจิ ยั สหวทิ ยาการ โดยผสมผสานคงความรดู้ า้ นศกึ ษาศาสตร์ และการสอื่ สารเขา้ ดว้ ยกนั การศึกษาเป็นพื้นฐานของการเรยี นร้ตู า่ ง ๆ และการสื่อสารเปน็ ศาสตร์ทม่ี าเสริมกัน เมือ่ เกิดการเปลี่ยนแปลง ของระบบการศกึ ษา พฤตกิ รรมของคนจงึ เปลีย่ นไปดว้ ย ในกรณนี ค้ี อื เกดิ ทัศนคติทางลบขึ้นกบั โครงการปรับ 44 บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

คุณวุฒิครูใหม่ของรัฐบาลซ่ึงอาจส่งผลกระทบต่อไปให้เกิดทัศนคติทางลบกับทั้งระบบการศึกษาได้ หาก ประเทศไทยตอ้ งการจะสง่ เสรมิ หลกั สตู รการศกึ ษาบณั ฑติ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ จำ� เปน็ ตอ้ งสรา้ งความมนั่ ใจ ใหก้ บั ผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสียและไม่ทำ� ให้กลุม่ คนดังกล่าวความขดั แยง้ ทางปัญญากับระบบการศึกษา มีทฤษฎีอ่ืนที่เรื่องพฤติกรรมมนุษย์ที่เก่ียวข้องกับงานวิจัยน้ี ทฤษฎี Social Cognitive Theory กลา่ วไวว้ า่ หากตอ้ งการเปลยี่ นพฤตกิ รรมของบคุ คลจะตอ้ งมตี วั ตดั สนิ สองแบบคอื 1) บคุ คลตอ้ งเชอ่ื วา่ มผี ลลพั ธ์ ทางบวก (ประโยชน์) มากกว่าผลลพั ธ์ทางลบ (ผลเสีย) และ 2) บคุ คลต้องมคี วามมั่นใจในศักยภาพของตวั เอง กล่าวคือ ตามทฤษฎนี ้แี น้วโน้มทนี่ ิสติ จะเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมมีสองปัจจยั คือ นสิ ติ ต้องเช่อื มั่นวา่ โครงการ ปรบั คณุ วฒุ คิ รใู หมม่ ปี ระโยชนก์ วา่ ระบบเดมิ และสองนสิ ติ จะตอ้ งเชอ่ื วา่ ตวั เองมที กั ษะ และความสามารถทจี่ ะ ยอมรับโครงการใหม่ได้ แม้ว่าจะมีความรู้สึกต่อต้านในช่วงระยะแรกก็ตาม ดังนั้นในทางปฏิบัติหากรัฐบาล มุ่งหวงั ใหโ้ ครงการปรบั คณุ วุฒคิ รมู ปี ระสทิ ธภิ าพได้ในระยะยาว จกั ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ ปจั จัยเหลา่ นี้ด้วย ตามทฤษฎี Theory of Reasoned Action หัวใจของทฤษฎี คือ ทัศนคติของบุคคลทีม่ ตี อ่ การปล่ยี น แปลงพฤติกรรม และธรรมเนยี มปฏบิ ัตขิ องการเปล่ยี นแปลงน้นั  ๆ (Ajzen & Fishbein, 1980) ในงานวิจัยนี้ โครงการปรบั คุณวฒุ คิ รูใหม่ นสิ ิตจะต้องมที ัศนคตทิ ี่ดีตอ่ โครงการดังกลา่ ว เช่น นสิ ิตเหน็ ถึงประโยชน์ทจ่ี ะได้ รับจากโครงการใหม่ นอกจากนี้นิสิตยังต้องมีทัศนคติท่ีดีต่อธรรมเนียมปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดความปล่ียนแปลง ทดี่ ีขึ้นของหลักสูตรการศึกษาบณั ฑิต อันหมายความว่าบุคคลรอบขา้ งจะตอ้ ง หรือบุคคลรอบตวั ของนิสติ เอง จะตอ้ งชว่ ยสนบั สนนุ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอีกดว้ ย เนอ่ื งจากเป็นส่วนหนงึ่ ของธรรมเนียมปฏบิ ตั ิ เมื่อมีสอง ปัจจัยน้ีแลว้ การเปล่ียนพฤติกรรมจงึ จะเกิดขนึ้ ได้ ระเบียบวธิ วี จิ ยั วิจัยนเ้ี ป็นวจิ ัยแบบผสม ทง้ั เชิงปริมาณ และเชงิ คณุ ภาพ ประกอบดว้ ยกลุม่ ตวั อย่าง 62 คน เปน็ นิสิต หลักสตู รการศึกษาบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ของมหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ได้มาจากการสุม่ แบบ เจาะจงเนื่องจากเป็นกลุ่มนิสิตท่ีได้รับผลกรทบโดยตรงจากโครงการใหม่ของรัฐบาล เคร่ืองมีวิจัย คือแบบสอบถามรูปแบบมาตรวัดของลิเคอร์ทเพื่อเก็บข้อมูลส่วนเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพเก็บโดย การสมั ภาษณ์อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสูตรการศึกษาบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษองั กฤษ 3 คน ผวู้ จิ ยั สรา้ งแบบสอบถามเรอ่ื งความขัดแยง้ ทางปญั ญาเพ่ือใชใ้ นงานวจิ ัย มาตรวดั ของลเิ คอร์ททใ่ี ช้ใน แบบสอบถามแบ่งเปน็ เห็นดว้ ย ไมม่ ีความเหน็ และไม่เหน็ ด้วย แบบสอบถามประกอบดว้ ย 10 คำ� ถามเพอ่ื สำ� รวจความคดิ เหน็ ของกลมุ่ ตวั อยา่ งเกย่ี วกบั โครงการใหม่ ของรฐั บาล คำ� ถามเขยี นขนึ้ ตามทฤษฎคี วามขดั แยง้ ทางปญั ญา คำ� ถามท่ี 1 ถามถงึ ผลกระทบของโครงการใหม่ ของรฐั บาลเพอ่ื หลกี เลย่ี งอคติ คำ� ถามที่ 2-3 เกยี่ วกบั ความเชอื่ ของผลประโยชนข์ องหลกั สตู รการศกึ ษาบณั ฑติ ท่ีกลุ่มตัวอย่างมีก่อนเกิดโครงการใหม่ของรัฐบาล ค�ำถามท่ี 4-10 เกี่ยวกับความขัดแย้งทางปัญญาของกลุ่ม ตวั อยา่ งทเ่ี ปน็ ผลมาจากโครงการใหมข่ องรฐั บาล คำ� ถามทงั้ หมดตอ้ งการศกึ ษาวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่ เห็นด้วยกับ ความเป็นไปได้ในการลดความขัดแย้งทางปัญญา ค�ำถามในแบบสอบถามเขียนมาจากความเชื่อ และการรบั รขู้ อง การกระทำ� เนอื่ งจากกลมุ่ ตวั อยา่ งเปน็ นสิ ติ และคงไมส่ ามารถกระทำ� การอน่ื ใดไดน้ อกจากมงุ่ หนา้ เร่งศกึ ษาใหจ้ บหลกั สตู ร ปีท่ี 17 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 45

เพ่ือหลีกเลี่ยงประเด็นด้านจริยธรรมของงานวิจัย และเพื่อให้การร่วมมือเป็นไปด้วยความสมัครใจ ผวู้ จิ ยั ไดร้ ะบขุ อ้ ความไวใ้ นแบบสอบถามวา่ แบบสอบถามเปน็ สว่ นหนง่ึ ของงานวจิ ยั และเพอื่ สรา้ งความเทย่ี งตรง ของเนื้อหา แบบสอบถามไดผ้ า่ นการตรวจความเท่ยี งตรงของเนอ้ื หาจากผเู้ ชยี่ วชาญ 3 คน (Payne, 2003) แบบสอบถามตน้ ฉบับมจี �ำนวน 11 ข้อแตข่ ้อ 8 ฉนั รู้สกึ วา่ หลักสูตรควรลดลงเปน็ 4 ปี หากโครงการเดนิ ต่อไป ตัดออกตามค�ำแนะน�ำของผู้เชี่ยวชาญ ซ่ึงผลทดสอบค่าความเช่ือมั่นของครอนบัคได้ที่ .746 หมายความว่า เครอ่ื งมือวิจัยมคี ุณภาพตามระเบียบวธิ วี จิ ัย งานวิจัยเลือกอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสามคนของหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษา อังกฤษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยการสัมภาษณ์แบบก่ึงโครงสร้างเพ่ือศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับ แนวทาง การจดั การหลกั สตู รในอนาคต นกั วจิ ยั เลอื กการสมั ภาษณล์ กั ษณะนเี้ พราะตอ้ งการ เนอื้ หาเชงิ ลกึ ดว้ ย การเปิดโอกาสใหผ้ สู้ มั ภาษณไ์ ด้ถามคำ� ถามและขยายคำ� ตอบของผ้รู บั สมั ภาษณไ์ ด้ (Rubin & Rubin, 2005) คำ� ถามของ การสมั ภาษณป์ ระกอบด้วย 1. คณุ คิดอยา่ งไรเกย่ี วกับหลกั สตู รการศึกษาบัณฑติ ในปจั จบุ นั 2. คุณคิดอย่างไรเกี่ยวกับโครงการใหม่ของรัฐบาลที่อนุญาตให้บัณฑิตท่ีไม่ได้มีวุฒิทางการศึกษา สามารถสอบใบประกอบวิชาชพี ครูได้ 3. มผี ลกระทบอะไรท่คี ณุ คิดวา่ โครงการใหม่ของรัฐบาลจะส่งผลต่อหลักสตู รในปจั จบุ นั เพราะงานวิจัยนี้ต้องการทราบความคิดเห็นโดยทั่วไปของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิตในปัจจุบัน หลังมีการประกาศโครงการใหม่ของรัฐบาล ดังน้ันผู้วิจัยจึงเลือกใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และรอ้ ยละ ในการนำ� เสนอขอ้ มูล นักวจิ ยั สง่ แบบสอบถามผา่ นชอ่ งทางอิเล็กทรอนกิ ส์ใหก้ บั นิสิต 80 คน และได้รบั แบบสอบถามกลับ คืนมา 62 ฉบบั ผลการศกึ ษา ผลวิจัยชี้ให้เห็นว่า 45.2% ของกลุ่มตัวอย่างไม่มีความคิดเห็นเก่ียวกับโครงการปรับคุณวุฒิครูของ รัฐบาล ว่าด้วยการอนุญาตให้บัณฑิตที่มีวุฒิครูสามารถสอบใบประกอบวิชาชีพครูได้ แต่ 37.1% ของกลุ่ม ตัวอย่างแสดงความขัดแย้งทางปัญญาต่อโครงการใหม่ของรัฐบาล มีเพียงแค่ส่วนน้อยของกลุ่มตัวอย่าง คือ 17.7% ทีเ่ ชื่อวา่ ตนเองไมไ่ ด้รบั ผลกระทบจากโครงการใหมข่ องรฐั บาล กล่มุ ตวั อย่างส่วนใหญ่ 61.3% รายงานวา่ เรียนหลักสตู รการศกึ ษาบณั ฑติ เพราะต้องการจะเป็นครู แต่ 8.1% ของกล่มุ ตัวอยา่ ง ซึ่งเปน็ ตวั แทนส่วนนอ้ ยทีร่ ายงานว่าเขา้ เรยี นหลกั สูตรการศึกษาบณั ฑิตโดยไม่ได้ คาดหวังว่าจะเป็นครู ในขณะที่ 30.6% ไม่มคี วามคิดเห็นว่าตนตอ้ งการเปน็ ครหู รอื ไม่ ในสว่ นของใบประกอบวชิ าชีพครู กลุม่ ตัวอยา่ งสว่ นใหญ่ 83.9% รายงานวา่ เรยี นหลกั สตู รการศกึ ษา บณั ฑติ เพราะวา่ เปน็ หลกั สตู รทไี่ ด้รับใบประกอบวิชาชีพครูโดยอัตโนมัติ แต่มี 6.4% ทไ่ี มส่ นใจวา่ หลกั สูตรจะ ทำ� ใหต้ นไดใ้ บประกอบวชิ าชีพหรือไม่ และ 9.7% ไม่มีความเหน็ ใด ๆ ในเรื่องน้ี หลังจากที่มีโครงการใหม่ของรัฐบาล 45.2% ของกลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยว่าตนรู้สึกไม่ม่ันคงเกี่ยวกับ โอกาสในการประกอบอาชีพในอนาคต ในขณะที่ 19.4% ไมเ่ หน็ ด้วย แต่ 35.5% ของกลุม่ ตวั อย่างไม่มีความ เห็นในคำ� ถามข้อนี้ 46 บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ

ในส่วนของผลประโยชน์ของหลกั สตู รการศกึ ษาบณั ฑิตนน้ั กึ่งหนง่ึ ของกลุม่ ตวั อย่าง 50% ยังคงเชอ่ื วา่ หลกั สตู รการศกึ ษาบณั ฑติ ยงั เปน็ หลกั สตู รทมี่ ปี ระโยชน์ ในขณะที่ 30.6% ของกลมุ่ ตวั อยา่ งหมดความศรทั ธา ในหลกั สตู รการศกึ ษาบณั ฑติ ไปแลว้ มเี พยี งแคก่ ลมุ่ ตวั อยา่ งจำ� นวนนอ้ ย 19.4% ทไี่ มแ่ สดงความคดิ เหน็ สำ� หรบั คำ� ถามขอ้ น้ี กลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่ 77.4% อยากไดร้ บั ความคมุ้ ครองจากผลกระทบทอ่ี าจจะเปน็ ผลมาจากโครงการ ใหมข่ องรฐั บาล ในขณะที่ 6.5% ของกลุ่มตัวอย่าง ไมต่ ้องการความคุม้ ครอง ทง้ั นี้มกี ล่มุ ตัวอย่าง 16.1% ทไ่ี ม่ แสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับคำ� ถามในขอ้ นี้ มคี วามคิดเห็นทีแ่ ตกตา่ งกันไปของกลมุ่ ตัวอยา่ งสำ� หรับข้อค�ำถามวา่ ควรจะมีโครงการปรับคุณวุฒคิ รู ใหมห่ รือไม่ โดยท่ี 51.6% เห็นด้วย 14.5% ไมเ่ หน็ ด้วย และอกี 33.9% ไม่ขอแสดงความคิดเห็นในสว่ นน้ี กว่ากึง่ หนึ่งของกลมุ่ ตวั อย่าง 56.5% รายงานว่าโครงการใหมข่ องรัฐบาลไมย่ ุตธิ รรม แต่ 19.4% ของ กลุ่มตวั อย่างไมเ่ หน็ ด้วย ในขณะท่ี 24.2% ท่ีเหลือไม่ขอแสดงความคดิ เห็นส�ำหรบั ขอ้ คำ� ถามน้ี กล่มุ ตัวอยา่ งเกนิ ครง่ึ 56.5% รายงานวา่ โครงการปรบั คุณวุฒิครูแบบใหมข่ องรัฐบาควรจะยกเลิกไป โดยมีเพยี งแค่ 12.9% ทไ่ี มเ่ หน็ ด้วยกับขอ้ ค�ำถามนี้ และมอี กี 33.9% ทไ่ี ม่ขอแสดงความคิดเหน็ ตารางที่ 1 แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั โครงการปรบั คุณวุฒิครู ไม่แสดง ไมเ่ หน็ เห็นด้วย ความ ดว้ ย X S.D. คิดเหน็ 1. คณุ ไดร้ ับผลกระทบจากโครงการใหมข่ องรัฐบาลหรอื ไม่ 37.1 45.2 17.7 2.27 .750 2. ฉันเรยี นหลกั สูตรการศกึ ษาบณั ฑติ เพราะอยากเป็นครู 61.3 30.6 8.1 2.23 .584 3. ฉนั เรียนหลกั สูตรการศกึ ษาบณั ฑิตเพราะไดร้ บั 83.9 9.7 6.4 2.03 .404 ใบประกอบวชิ าชีพครูด้วย 4. ฉันรสู้ ึกไมม่ ั่นคงเกีย่ วกับโอกาสการทำ� งานในอนาคต 45.2 35.5 19.4 2.16 .729 หลงั การเปดิ ตวั โครงการใหม่ของรฐั บาล 30.6 19.4 50 1.69 .781 5. ฉันร้สู กึ วา่ หลกั สตู รการศึกษาบณั ฑิตไม่มีประโยชนต์ ่อ วิชาชีพครูอกี แลว้ 74.2 21 4.8 2.16 .486 6. ฉนั รู้สึกวา่ หลักสูตรควรจะต่อตา้ นโครงการใหม ่ 7. ฉันรสู้ กึ วา่ นสิ ติ ควรได้รับความคมุ้ ครองจากโครงการใหม่ 77.4 16.1 6.5 2.10 .469 ของรัฐบาล 8. ฉันรสู้ กึ วา่ โครงการนี้ไมจ่ �ำเป็น 51.6 33.9 14.5 2.19 .674 9. ฉันรสู้ ึกว่าโครงการนไ้ี มย่ ุติธรรม 56.5 24.2 19.4 2.05 .664 10. ฉนั รู้สกึ ว่าโครงการนีค้ วรยกเลิกไป 53.2 33.9 12.9 2.21 .656 ปีท่ี 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 47

ในสว่ นของการสมั ภาษณ์ พบวา่ ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รเกดิ ความสบั สนเกยี่ วกบั แนวทางของกระทรวง ศกึ ษาธิการ เพราะหลกั สตู รการศกึ ษาบณั ฑติ เคยเปน็ หลักสูตร 4 ปี มากอ่ นในอดตี แตไ่ ดม้ กี ารปรบั เปลยี่ นโดย การเพิม่ ระยะเวลาการศึกษา 1 ปี กลายเปน็ หลักสูตร 5 ปี ในภายหลัง สุดทา้ ยการเปลีย่ นแปลงครง้ั ล่าสดุ คือ ลดระยะเวลาการศกึ ษากลบั ไปเปน็ หลักสูตร 4 ปี ดงั ทเ่ี คยเป็นมากอ่ น ผู้รับการสัมภาษณ์แสดงความคิดเห็นแค่เพียงในส่วนของหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาการสอน ภาษาองั กฤษ คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ เนอ่ื งจากเปน็ สถานทที่ ำ� งานของตน จดุ สำ� คญั คือ ผรู้ ับการสมั ภาษณม์ คี วามพึงพอใจกบั หลักสตู รการศกึ ษาบัณฑติ รูปแบบ 5 ปี ท่ตี นเองรบั ผดิ ชอบอยู่แลว้ การออกแบบหลักสูตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง เน่ืองจากเป็นการ ออกแบบหลกั สตู รลกั ษณะคณะร่วมผลติ กล่าวคือ นิสติ สังกัดการศกึ ษาบณั ฑติ ของมหาวิทยาลัย จะเรยี นวชิ า ด้านการสอนที่คณะศึกษาศาสตร์ ในขณะที่ภาษาอังกฤษท่ีเป็นวิชาเอก จะท�ำการเรียนการสอนท่ีคณะ มนษุ ยศาสตร์ ซงึ่ เปน็ คณะทมี่ คี วามเชยี่ วชาญดา้ นภาษา ผรู้ บั การสมั ภาษณย์ งั รายงานดว้ ยวา่ มคี วามภาคภมู ใิ จ ในหลกั สตู รการศึกษาบณั ฑติ และการบรหิ ารจดั การหลักสูตรทเ่ี ป็นอยูข่ องตนอยแู่ ลว้ อยากไรก็ตาม โครงการปรับคณุ วฒุ คิ รูของรัฐบาล ลดระยะเวลาการศึกษาของหลักสูตรไปเปน็ 4 ปี โดยทผี่ รู้ บั การสมั ภาษณร์ ายงายวา่ มคี วามกงั วลเนอื่ งจากตอ้ งทำ� การลดรายวชิ าออกจากหลกั สตู ร เพราะระยะ เวลาในการศึกษาไม่เพียงพอให้นิสิตสามารถลดทะเบียนเรียนได้ครบ ดังนั้นโครงการใหม่ดังกล่าวอาจส่งผล กระทบใหเ้ นอ้ื หารายวชิ าของหลกั สตู รใหม่ไม่ละเอียด และเข้มข้นเท่ากบั หลักสตู ร 5 ปี อกี ท้งั โครงการยังก่อ ให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญาของนิสิตหลักสูตร 5 ปี เพราะนิสิตรู้สึกว่าเรียนหนักกว่า มีเนื้อหามากกว่า แตต่ อ้ งเขา้ ไปประกอบวชิ าชพี ดว้ ยศกั ดศ์ิ รเี ดยี วกนั กบั บณั ฑติ ทสี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาจากโครงการใหมห่ ลกั สตู ร 4 ปี ทส่ี ำ� คัญทสี่ ุด คอื ผู้รับการสมั ภาษณร์ ูส้ ึกวา่ กังวลในส่วนของหลักสูตรทจ่ี ะสามารถแขง่ ขนั กบั หลักสูตรอน่ื  ๆ ท่ี ไม่ใช่หลักสูตรด้านการศึกษาได้อย่างไร ฉะนั้นแนวทางในการออกแบบหลักสูตรการศึกษาบัณฑิตในอนาคต ควรมุ่งเน้นไปที่กระบวนการการผสมผสานทฤษฎี ปรัชญา และทักษะการฝึกสอนให้ครอบคลุมในหลักสูตร 4 ปี ให้ครบถ้วนไดอ้ ยา่ งไร อภปิ รายผล 1. ความขัดแย้งทางปญั ญาของกลมุ่ ตัวอย่าง การเปน็ ครใู นประเทศไทยนนั้ เปน็ สายงานทต่ี อ้ งแขง่ ขนั สงู มบี ณั ฑติ จำ� นวนมากทสี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษา สาขาการสอนในแต่ละปี และต้องการสอบบรรจุเป็นข้าราชการครูแต่ต�ำแหน่งครูบรรจุนั้นมีจ�ำนวนจ�ำกัด ผลของงานวจิ ยั ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ 61.3% ของกลุ ม่ ตวั อยา่ งเรยี นสาขาการสอนเพราะตอ้ งการเปน็ ครู ซงึ่ เปน็ สถติ ทิ น่ี า่ สนใจเพราะไม่ใช่นิสิตท่ีเรียนสาขาการสอนทุกคนจะอยากเป็นครู หมายความว่า กลุ่มตัวอย่างบางคนเรียน สาขาการสอนด้วยจดุ ประสงคอ์ นื่ สงิ่ ส�ำคัญ คือ เหตผุ ลนม้ี ใิ ช่วา่ จะเป็นผลลัพธ์ทดี่ ีตอ่ วงการการศึกษา เพราะ คนทม่ี คี วามมงุ่ มน่ั ตอ่ วชิ าชพี การสอนควรทจี่ ะมาจากสายการศกึ ษา บณั ฑติ มากมายเขา้ สวู่ ชิ าชพี การสอนเพยี ง เพราะไมร่ ้วู ่าตวั เองสามารถทำ� อะไรอย่างอ่ืนได้ (The Guardians, 2017) โดยปกตแิ ลว้ จดุ เรม่ิ ต้นมาจากการ ทน่ี สิ ติ หรอื นกั ศกึ ษาเลอื กเรยี น สำ� หรบั นกั เรยี นในประเทศไทยนน้ั หลายคนไดร้ บั แรงกดดนั จากพอ่ แมผ่ ปู้ กครอง ใหเ้ ลือกเรียนในสาขาท่ีเป็นท่ีนบั หนา้ ถือตาเชน่ แพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ หรือวิศวกรรมศาสตร์ แตห่ ลายคน อาจจะไมช่ อบวชิ าคณติ ศาสตรห์ รอื วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ดงั นนั้ นกั เรยี นกลมุ่ ดงั กลา่ วจงึ มกั จะไปจบลงทคี่ ณะศกึ ษา 48 บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั สวนดุสิต

ศาสตร/์ ครศุ าสตร์ เนอื่ งจากมกี ารแขง่ ขนั นอ้ ยกวา่ หากดตู ามสถติ คิ ะแนนการสอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั เมอื่ ถงึ เวลา ส�ำเร็จการศึกษา บัณฑิตเหล่านี้จะต้องสู่วิชาชีพครู แต่มิได้มาจากความช่ืนชอบ หรือความสนใจในวิชาชีพ สดุ ทา้ ยแลว้ จะสง่ ผลกระทบตอ่ นกั เรยี น และระบบการศกึ ษาทง้ั หมด ทง้ั นเี้ พราะครทู ไี่ มม่ คี วามชนื่ ชอบในวชิ าชพี จะไมท่ ุม่ เทพลังกายและใจเพื่อการสอน แตม่ ักจะท�ำงานไปวนั  ๆ ในลักษณะไปท�ำงานตอนเช้า และกลับบ้าน ตอนเย็น อยา่ งไรกต็ ามการเปน็ ครนู น้ั มคี วามลึกซึง่ มากกวา่ เพราะครูทดี่ ีจะต้องใช้เวลาในการออกแบบ และ เตรียมตัวสอน เพอ่ื ผลิตเนื้อหาให้นักเรยี นไดอ้ ย่างถกู ต้อง และเหมาะสม ยกตวั อย่างเช่น ระดบั ความยากง่าย ของเนอ้ื หาทจี่ ะสอน ควรจะเปน็ ไปตามกรอบแนวคดิ หรอื ทฤษฎที เ่ี กย่ี วขอ้ ง หากครตู อ้ งการใหน้ กั เรยี นสามารถ ประยุกต์ใช้ความรู้จากชั้นเรียนในชีวิตประจ�ำวันได้ เน้ือหาท่ีจะใช้สอบควรจะมาจากพ้ืนฐานความรู้เร่ือง Bloom’s Taxonomy (Anderson & Krathwohl, 2001) เปน็ ต้น นอกจากนีก้ ารสอนในยคุ ปจั จบุ นั ครตู อ้ ง ท�ำงานหนกั กว่าเดิม โดยสรา้ งบรรยากาศการเรยี นให้นกั เรยี นสามารถมีปฏิสัมพนั ธก์ นั ได้ ครูจะต้องจัดสภาพ แวดล้อมชั้นเรียนให้มีความน่าสนใจ และถือเป็นภาระบ่ันทอนก�ำลังของครูก็ว่าได้ ช้ันเรียนควรมีกิจกรรมที่ หลากหลายเพอื่ สง่ เสรมิ ความสนใจในการเรยี นภาษา เปน็ ตน้ (Brown & Lee, 2015) การเรยี นการสอนในรปู แบบ เดิมอยา่ งการสอนไวยากรณ์ และแปลทีค่ รมู อี �ำนาจสูงสดุ ในช้นั เรยี นคงไม่เป็นวิธีการสอนที่เหมาะสมอีกต่อไป ดังนัน้ คนทีไ่ ม่มใี จรกั การสอนจริง ๆ มักจะทนไมไ่ หว และกลายเปน็ ครทู ี่ไมม่ ปี ระสิทธภิ าพในการสอนตอ่ ไป ดังปรากฏเห็นชัดเจนจากผลของงานวิจยั วา่ สว่ นใหญ่ของกล่มุ ตวั อยา่ ง 83.9% มีความพงึ พอใจ กบั หลกั สตู รทมี่ อบใบประกอบวชิ าชพี ครใู หอ้ ตั โนมตั หิ ลงั สำ� เรจ็ การศกึ ษา แตโ่ ครงการใหมข่ องรฐั บาลนน้ั กระตนุ้ ใหเ้ กิดความขัดแยง้ ทางปัญญา (Festinger, 1957) เนอ่ื งจากเกอื บกึ่งหนง่ึ ของกลุ่มตวั อยา่ ง 45.2% รายงาน วา่ ไมร่ ้สู กึ ม่นั คงในโอกาสเข้ารับการทำ� งานในอนาคตหลงั จากมีโครงการใหมเ่ กดิ ขน้ึ นยั สำ� คัญ คอื อภิสิทธิ์ใน การถือใบประกอบวิชาชีพครูไม่ได้อยู่กับบัณฑิตสาขาการศึกษาอีกต่อไป เพราะจบสาขาอะไรก็สามารถขอได้ นอกจากน้ี 74.2% ของกลุ่มตัวอย่างยังต้องการให้หลักสูตรจัดการบางอย่างกับโครงการ ในขณะท่ี 77.4% ต้องการความคุ้มครองจากผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับตนเอง ท้ังน้ีไม่แปลกท่ีกลุ่มตัวอย่างจะรู้สึกดังท่ีเป็น เนอื่ งจากเปน็ นสิ ติ ของหลักสตู ร 5 ปี และมองวา่ ตนถูกเอาเปรยี บจากระเบียบ กฎเกณฑร์ ุน่ ใหมเ่ พราะต้องใช้ ระยะเวลาในการส�ำเรจ็ การศกึ ษานานกว่าหลักสตู รใหม่ทีม่ ีระยะเวลาแค่ 4 ปี โดยท่ีความตา่ งของระยะเวลา 1 ปี น้นั อาจมีความหมายสำ� หรบั หลาย ๆ คนมากเก่ยี วกบั โอกาสในการเขา้ ท�ำงาน และความก้าวหน้าในการ ทำ� งาน พบความขัดแย้งทางปัญญาในกว่าก่ึงหนึ่งของกลุ่มตัวอย่าง 51.6% เกี่ยวกับความไม่จ�ำเป็นของ โครงการใหม่ และ 56.5% กล่าวว่าโครงการไม่เปน็ โครงการทย่ี ตุ ิธรรม อีก 53.2% ของกล่มุ ตวั อยา่ งเห็นว่า โครงการควรยกเลกิ ไป ความขดั แยง้ ทางปญั ญาดงั กลา่ วเปน็ ปจั จยั ดา้ นลบซง่ึ ชใี้ หเ้ หน็ วา่ นสิ ติ ไมม่ คี วามพงึ พอใจ กับหลักสูตรท่ีตนก�ำลังศึกษาอยู่ และอาจส่งผลกระทบต่อศักยภาพในการเรียนของนิสิตได้ นิสิตจึงประสงค์ ทจี่ ะใหโ้ ครงการรปู แบบใหมย่ กเลกิ ไป มเี พยี งแคก่ ลมุ่ ตวั อยา่ งบางสว่ น 30.6% ทเี่ ชอื่ วา่ หลกั สตู รการศกึ ษาไมม่ ี ประโยชนต์ อ่ ไป จงึ ทำ� ใหท้ ราบวา่ โดยสว่ นใหญแ่ ลว้ กลมุ่ ตวั อยา่ งยงั ไมย่ อมเปดิ ใจแสดงความคดิ เหน็ ในสว่ นของ ความขดั แยง้ ทางปัญญาของตน จากขอ้ มูลท่ีมี อาจตคี วามไดว้ า่ กล่มุ ตัวอย่างที่ไม่แสดงออกความคดิ เห็นเกย่ี ว กับโครงการน่าจะเป็นเพราะความสับสน หรือขาดความตระหนักถึงผลกระทบ ไม่ว่าจะทางบวกหรือลบของ โครงการใหม่ หรอื อาจเปน็ ไปไดว้ า่ กลมุ่ ตวั อยา่ งบางสว่ นยงั เชอ่ื มนั่ ในประโยชนข์ องหลกั สตู รการศกึ ษาบณั ฑติ แมว้ ่าจะเปล่ียนเปน็ รูปแบบใหม่แลว้ ก็ตาม ปที ่ี 17 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 49

ความขัดแย้งทางปัญญาไม่เพียงแต่พบในส่วนของนิสิตเท่านั้น แต่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่าง แสดงความไมพ่ ึงพอใจของโครงการใหมเ่ ช่นกนั การทตี่ อ้ งลดระยะเวลาการศึกษาของหลกั สตู รหมายความว่า รายวชิ าที่สอน และหน่วยกติ ลงตามหลักสูตรเกา่ น้นั ตอ้ งยกเลิกไปด้วย (Faikhamta et al., 2018) ขอ้ เท็จจริง ดงั กลา่ วทำ� ใหผ้ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รรสู้ กึ วา่ มาตรฐานของการเรยี นการสอนนน้ั ลดความเขม้ ขน้ ลงไปจากสงิ่ ทตี่ น เชอื่ วา่ ดี (Darling-Hammond & Bransford, 2005; Schwille, Dembele & Shubert, 2007; Tellez & Waxman, 2006) สง่ ผลให้ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู รขาดความมัน่ ใจในหลักสูตรของตน อนั จะน�ำไปสู่ผลกระทบ ต่อท้ังระบบการศึกษาได้ กล่าวคือ ท้ังอาจารย์ และนิสิตต่างไม่มีความพอใจในหลักสูตรของตนเองท่ีเคย ภาคภมู ิใจมาก่อน สดุ ท้ายความขัดแย้งทางปญั ญาน้อี าจสง่ ผลกระทบต่อประสทิ ธภิ าพของหลกั สตู รการศกึ ษา บัณฑติ หรืออาจลุกลามไปถงึ ระบบการศกึ ษาทง้ั หมดได้ 2. ทิศทางของหลักสตู รการศกึ ษาในอนาคต ดังน้ันเพื่อรักษาระดับของประสิทธิภาพหลักสูตรการศึกษาบัณฑิตในอนาคตเอาไว้ ผู้บริหารการ ศกึ ษาควรพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบวา่ จะหาวธิ กี ารรวมเอาองคค์ วามรทู้ ผ่ี เู้ รยี นควรไดร้ บั ประกอบกบั ทกั ษะปฏบิ ตั ิ ทงั้ หมดใหท้ นั กบั ระยะเวลาของหลกั สตู ร 4 ปี ไดอ้ ยา่ งไรตอ่ ไป ตามที่ Brown & Lee (2015) กลา่ วไว้ หลกั สตู ร ใหมม่ กั จะยงั ไมส่ มบรู ณ์ และมสี ง่ิ ทผ่ี พู้ ฒั นาหลกั สตู รควรพจิ ารณาหลายประการ เนอ่ื งจากตอ้ งมกี ารเปลยี่ นแปลง เพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามนโยบายของรัฐ จึงไม่มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งอภิปรายประเด็นความจ�ำเปน็ ของการเปลี่ยนแปลง แต่ไม่ว่าจะเกิด การเปลย่ี นแปลงไปในทางใด สงิ่ ส�ำคัญ คือ ต้องพิจารณาขอบข่าย และความสมจรงิ ของการ เปลี่ยนแปลงนั้น (Nation & Macalister, 2010) ดังทปี่ รากฏตามผลการสมั ภาษณ์ พบวา่ มคี วามกงั วลเรอ่ื ง การใสเ่ นอื้ หาการเรยี นการสอนของหลกั สตู รเดมิ ใหค้ รบในหลกั สตู รใหมท่ ม่ี รี ะยะเวลาสน้ั ลง แมว้ า่ ในทางทฤษฎี จะสามารถท�ำได้แต่อาจไม่ประสบความส�ำเร็จในทางปฏิบัติ ทั้งนี้เพราะอาจไม่เหมาะสมด้านเวลา และการ แขง่ ขนั กบั หลกั สตู รอน่ื กลา่ วคอื หลกั สตู รทพี่ ฒั นาขน้ึ มาตามหลกั ทฤษฎอี าจไมม่ ปี ระโยชนเ์ ลยหากนำ� มาใชใ้ น ทางปฏิบัติไม่ได้ ประเด็นส�ำคัญท่ีสุดท่ีจะลืมไม่ได้คือหลักสูตรใหม่จะต้องอ�ำนวยให้ผู้สอนสามารถท�ำการสอน ไดต้ ามหลกั การ สรปุ คอื หลกั สตู รใดทบ่ี งั คบั ใหผ้ สู้ อนตอ้ งทง้ิ หลกั การของการสอนมกั จะเปน็ หลกั สตู รทไ่ี มป่ ระสบ ความสำ� เร็จ (Brown & Lee, 2015) ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะท่ไี ด้จากการวจิ ัย ดังที่กล่าวข้างต้นว่าวิจัยนี้เป็นก้าวแรกของการศึกษาในหัวข้อนี้ ผู้วิจัยหวังว่าจะกระตุ้นให้เกิดความ สนใจในประเด็นดงั กล่าวเรอ่ื งข้อดี และข้อเสียของโครงการปรับคณุ วุฒคิ รใู หม่ของประเทศไทย โดยทีม่ คี วาม ไม่สม่�ำเสมอของมาตรฐานคุณวุฒิครใู นประเทศไทยมาในชว่ ง 20 ปที ผี่ า่ นมา ซ่ึงกอ่ นหน้าจะเป็นหลักสตู ร 5 ปี ไดเ้ คยจดั การเรยี น การสอนสาขาการศกึ ษาบณั ฑติ ในรูปแบบ 4 ปี มาก่อนแล้ว กอ่ นจะปรบั มาเปน็ หลักสูตร 5 ปี และสุดท้ายได้ปรับกลับไปเป็นหลักสูตร 4 ปี อีกคร้ัง จะเห็นได้ว่าการท่ีบุคคลระดับนโยบายไม่สร้าง เสถียรภาพให้กับระบบการศึกษาท�ำให้เกิดความยุ่งยากและสับสนกับผู้ปฏิบัติงาน ดังท่ีอภิปรายไว้ข้างต้น หลายคนเลือกที่จะเรียนศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์เนื่องจากไม่รู้ว่าตนอยากเรียนอะไร หมายความว่าเขาไม่มี ความสนใจในการสอนและที่ส�ำคัญไม่มีใจรักในการสอน ด้วยการท่ีมีแรงจูงใจน้อยส�ำหรับครูในประเทศไทย 50 บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดุสติ

เช่น เงนิ เดือนนอ้ ย โอกาสก้าวหนา้ ในวิชาชีพเปน็ ไปไดอ้ ย่างชา้ รัฐบาลควรจะเรง่ หาทางสรา้ งแรงจูงใจใหก้ ับ นกั เรยี นเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความตอ้ งการเรยี นศกึ ษาศาสตร/์ ครศุ าสตรท์ แี่ ทจ้ รงิ ในขณะทกี่ ารลดระยะเวลาของหลกั สตู ร เปน็ 4 ปอี าจจะดงึ ดดู ใหม้ นี กั เรยี นบางกลมุ่ สนใจเรยี นครู แตก่ ารทนี่ โยบายเปลยี่ นกลบั ไปกลบั มา แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การขาดเสถยี รภาพของระบบโดยภาพรวม ส�ำหรับการอภปิ รายในบทความน้ี รฐั บาลได้ลดเวลาการศกึ ษา จาก 5 ปีเป็น 4 ปีน้นั ส่งผลใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ทางปัญญาของนสิ ติ ทก่ี �ำลงั ศึกษาอยู่ในระบบเดมิ ทใ่ี ชเ้ วลา 5 ปี แนน่ อนวา่ นสิ ติ กลมุ่ ดงั กลา่ วยอ่ มไมพ่ อใจกบั การเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ หากอนมุ านวา่ นสิ ติ ระบบเดมิ เลอื กเรยี น ครูเพราะเปน็ อาชพี ในฝัน การอนุมัตโิ ครงการปรับคุณวฒุ ิครูใหม่เทา่ กับเป็นการลดคุณค่า หรอื ทำ� ลายฝนั ของ นิสิตกลุ่มเดิม นอกจากนี้โครงการปรับคุณวุฒิครูใหม่ยังมอบอภิสิทธ์ิของการถือใบประกอบวิชาชีพครูให้กับ บัณฑติ ท่ีไมไ่ ดจ้ บสายครูอกี ด้วย สรุปคอื ความเชยี่ วชาญทมี่ ีอยูใ่ นตวั ครนู ้ันลดลงไป เนอื่ งจากบัณฑติ จากสาขา ใดก็ได้ สามารถทจี่ ะเปน็ ครไู ด้เชน่ เดียวกัน ฉะน้นั คณุ ค่าของวชิ าชีพครลู ดลงด้วยนำ้� มอื ของผู้มอบนโยบายเอง ผลท่ีตามมา คอื รัฐบาลจะตอ้ งพิจารณาประเดน็ นีอ้ ย่างรอบคอบ ถึงขอ้ ดขี ้อเสยี จากการต้ังกฎระเบยี บใหมใ่ ห้ กับหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต ถึงแม้ว่าโลกแห่งทุนนิยมจะมุ่งหวังก�ำไรเป็นหลัก ซึ่งรวมถึงวิชาชีพครูด้วย แต่ หากศกึ ษาศาสตร/์ ครศุ าสตรย์ งั คงเปน็ สาขาทส่ี รา้ งความรพู้ น้ื ฐานใหก้ บั คนรนุ่ หลงั เมอื่ เหตผุ ลเชงิ พาณชิ ยบ์ ดบงั เหตุผลทางการศกึ ษามากเกนิ ไปในอนาคตอาจจะไมม่ ีใครทเ่ี ป็นครูดว้ ยใจรกั เลยกเ็ ปน็ ได้ ขอ้ เสนอแนะสำ� หรับการวิจยั คร้งั ตอ่ ไป งานวจิ ยั ดา้ นความขดั แยง้ ทางปญั ญามคี วามนา่ สนใจ เพราะเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ในการอธบิ ายภาพรวมของ อารมณท์ างจติ วทิ ยาของบคุ คลทีเ่ กย่ี วข้อง และไดร้ ับผลกระทบโดยตรงจากนโยบายทเี่ ปลีย่ นแปลงไปมาของ ระบบการศกึ ษาไทย ผวู้ จิ ยั แนะนำ� ใหศ้ กึ ษางานวจิ ยั รปู แบบนก้ี บั กลมุ่ ตวั อยา่ งขนาดใหญเ่ พอื่ ยนื ยนั หรอื คดั คา้ น ผลงานวจิ ัยในปัจจุบนั เสนอใหม้ วี จิ ัยต่อยอดเกยี่ วกับการเปลยี่ นแปลง ความไม่คงเส้นคงวาของหลักสตู รการ ศกึ ษาบณั ฑติ เพอื่ ศกึ ษาและทำ� ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ประสทิ ธภิ าพและมาตรฐานของหลกั สตู รการศกึ ษาบณั ฑติ หรอื อาจทำ� วิจยั ด้านความนา่ เชอื่ ถือของหลกั สตู รการศกึ ษาบณั ฑิตต่อไปได้ เนื่องจากงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาความขัดแย้งทางปัญญาซึ่งน�ำเสนอมุมมองด้านลบของมนุษย์ นักวิจัย อ่ืน ๆ สามารถศกึ ษามมุ มองตรงกันขา้ มได้ เชน่ การพฒั นาตน้ แบบ หรือข้อดขี องหลกั สูตรแบบใหม่ เป็นตน้ เอกสารอ้างอิง หนงั สอื พิมพไ์ ทยรัฐ. (2560). คา้ นสอบครไู มม่ ใี บวิชาชพี ขอรัฐบาลทบทวน ยันขัดข้อกฎหมาย. [Online]. Available: https://www.thairath.co.th/newspaper/897662 [2560, มนี าคม 28]. References Anderson, L.W. & Krathwohl, D.R. (2001). A Taxonomy for Teaching, Learning, and assessing: A Revision of Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives. New York: Longman. Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding Attitudes and Predicting Social Behaviour. Englewood Cliffs: Prentice Hall. ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 51

Bandura, A. (1997). Self-efficacy Theory: Toward a Unifying Theory of Behavioural Change. Psychological Review. 84: 191-215. Boonpen, K. & Aramnet, C. (2017). Rule on Recruiting Unlicensed Teachers Changed After Outcry. The Nation. [Online]. Available: http://www.nationmultimedia.com/detail/ national/30310599 [2019, March 1]. Brown, D. & Lee, H. (2015). Teaching by Principles. An Interactive Approach to Language Pedagogy (4th ed). New York: Pearson Education. Darling-Hammond, L. & Bransford, J. (2005). Preparing Teachers for a Changing World: What Teachers Should Learn and be Able to do. San Francisco: Jossey-Bass. Faikhamta, C., Ketsing, J., Tanak, A. & Chamrat, S. (2018). Science Teacher Education in Thailand: a Challenging Journey. Asia-Pacific Science Education. [Online]. Available: https://doi.org/10.1186/s41029-018-0021-8 [2019, May, 1]. Festinger, L. (1957). A Theory of Cognitive Dissonance. Evanston: Row & Peterson. Mala, D. (2017, March 29). Government Rethinks Softer Teacher Entry Rules. The Bangkok Post. [Online]. Available: https://www.bangkokpost.com/archive/government- rethinks-softer-teacher-entry-rules/1222860 [2019, May 1]. Nation, I. S. P. & Macalister, J. (2010). Language Curriculum Design. New York: Routledge. Office of the National Education Commission. (2015). State of Teacher Education and Professional Development in Thailand. Bangkok: ONEC. Payne, D. A. (2003). Applied Educational Assessment (2nd ed.). California: Nelson Thomson Learning. Rubin, H. & Rubin, I. (2005). Qualitative Interviewing: The Art of Hearing Data (2nd ed.). California: Sage. Schwille, J. Dembele, M. & Shubert, J. (2007). Global Perspectives on Teacher Learning: Improving policy and Practice. Paris: International Institute for Educational Planning. The Guardians. (2017) Teaching is Ruining my Life, But I don't Know What to do Instead. [Online]. Available: https://www.theguardian.com/careers/2017/oct/23/teaching- is-ruining-my-life-but-i-dont-know-what-to-do-instead [2019, May 10]. Tellez, K. & Waxman, H. (2006). Preparing Quality Teachers for English Language Learners: An Overview of the Critical Issues. Mahwah: Lawrence Earlbaum Associates. 52 บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดุสติ

Translated Thai References Thairat. (2017). Objection Against Illegal Teacher Exam for Non-licensed Teachers. Request Government Review. [Online]. Available: https://www.thairath.co.th/newspaper /897662 [2017, March 28]. (in Thai) ผเู้ ขยี น ดร. วรรธนะ สขุ ศริ ิปกรณช์ ยั คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 ซอยสขุ มุ วทิ 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรงุ เทพมหานคร 10110 e-mail: [email protected] ปที ี่ 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 53



Cognitive Dissonance and Revised Teacher Qualification Scheme 2017: A Case Study of SWU Education Programs Watthana Suksiripakonchai* Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University eceived: April, 4 2020 Revised: October, 10 2020 Accepted: October, 27 2020 Abstract Teacher education is one of the most essential components in an educational system. However, it seems that effort to equip teachers with knowledge and skills for the Thai teaching profession has been loosened lately. This is applied research which examined cognitive dissonance of English teacher students as well as teachers responsible for the education programs at Srinakharinwirot University (SWU) with regards to the new teacher qualification scheme in Thailand as of 2017 that reduced the former five-year education programs to four. The sampling group comprised 62 students reading the Bachelor of Education Program in English at SWU based on purposive sampling. The research instrument was the cognitive dissonance questionnaire which was validated by three experts. Semi-structured interviews were conducted on three responsible teachers of the program. The findings through descriptive statistics indicated that students demonstrated cognitive dissonance against some aspects of the revised teacher qualification scheme 2017 reporting 45.2% on insecurity about future employment, 30.6% on benefits of their current degree, 74.2% demanding action against the new scheme, 77.4% protection from the new scheme, 51.6% non-necessity of the new scheme and 56.5% unfairness of the new scheme. The interview results by teachers responsible for an education program indicated uncertainty in relation to future employment competitiveness and stability of remaining students of the five-year students. Keywords: Cognitive Dissonance, English Language Teaching, Education Program, Teacher Education * Watthana Suksiripakonchai (Corresponding Author) ปีท่ี 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 55 e-mail: [email protected]

Introduction To become a public teacher in Thailand, graduates must possess appropriate teacher qualifications as set by the Ministry of Education. In general, graduates with a Bachelor of Education are eligible to sit the public teacher entry examinations. However, many who do not hold an undergraduate degree in education may also meet this requirement by completing a Graduate Certificate in Education offered by various higher education institutions in across the country predominantly Rajabhat universities. This requirement is also common in other countries. For example, in Australia, a person wishing to become a teacher must meet the requirements by the Teachers Registration Board of each state. The minimum requirements include teacher education and sufficient supervised teaching practice. In Thailand, the most recent form of teacher training has been either a five-year undergraduate’s degree in education or a two-year master’s degree in education (Faikhamta et al., 2018). Nevertheless, in early 2017, the Thai government issued a new scheme allowing graduates who did not hold teacher qualifications, a Bachelor of Education or a Graduate Certificate in Education, to become entitled to sit the public teacher entry examination (Mala, 2017). This provoked cognitive dissonance among stakeholders particularly those currently undertaking or completing a degree in Education (Boonpen and Aramnet, 2017). This softer government teacher entry scheme received wide public criticisms in relation to whether or not it was appropriate for the government to let people who may not necessarily be qualified to educate students. The issue became apparent especially among those who graduated with appropriate qualifications as per the old rules. The reason for this was because they feared the already-competitive public teacher entry examination would now become even more challenging for them. These graduates had to complete a five-year degree in order to become eligible for a teacher licence in Thailand, which is the main requirement to become public teachers. The same fear went to those who were currently completing a degree in education. On March 2017, a Thairath news article reported that a group of Thai education students across the country as supported by the Thailand Education Dean Council to lodge a letter objecting this government scheme to the Prime Minister (Objection to Teacher Examination, 2017). Since the introduction of this particular government’s scheme and despite the government’s reaction in response to the outcry of stakeholders, it left education graduates or graduating students with continuing fear of their future career opportunities. Therefore, to serve as a pilot study, this research aims to study cognitive dissonance of education teachers and students about this particular government scheme. บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต

Objectives 1. To study cognitive dissonance of students studying in an education program as a result of the government teacher qualification scheme. 2. To study directions towards education programs in the future. Research Questions 1. What are the students' opinions after the launch the government teacher qualification scheme? 2. What are the directions of education programs in the future? Theoretical Framework This research was based on the Cognitive Dissonance Theory (Festinger, 1957). According to this theory, a person may become dissatisfied with a situation or an action because of an unwanted feeling, attitude or belief referred to as cognitive dissonance. To resolve a cognitive dissonance, the theory suggests that a person has to achieve one of the three basic elements 1) change beliefs, 2) change actions or 3) change perception of action. To apply the theory in this research, the researcher deemed the government new scheme as a cognitive dissonance that education students intend to resolve. This was because the new scheme goes against the old belief that the competition would only stay among education students upon their graduation. The new government scheme is also against the old action whereby education graduates wishing to become public teachers had exclusive right to a teacher licence but the new rules allow non-education graduates to access such right. Finally, the new government scheme leads the current education students to perceive that a Bachelor of Education is no long a unique degree for potential teachers. In order to resolve such cognitive dissonance, the education students have to change the belief that the new government scheme would not jeopardize their opportunities as potential teachers. They also have to continue to pursue a teacher licence as well as adhere to the perception that an education degree is a worthwhile qualification to hold. Teacher education in Thailand It has been established that effective curricula and teachers allow better achievement on students (Darling-Hammond & Bransford, 2005; Schwille, Dembele & Shubert, 2007; Tellez & Waxman, 2006). In Thailand, quality and standards of education programs fall under the framework of the Teacher Qualification Standards of the Teacher Council of Thailand (Faikhamta et al., 2018). ปีท่ี 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564

In Thailand, there have been reforms in relation to designing and improving teacher education programs since 1967 (Office of the National Education Commission, 2015). Prior to 2019, the teacher education program in Thailand was a five-year undergraduate degree whereby students spend four years in the classrooms and their final year doing their teaching internship. Faikhamta et al. (2018) explained that the reason behind this curricular design was to prepare graduates for the teaching from primary to secondary education. In addition, an undergraduate degree in education offered by institutions in Thailand must provide a minimum of 30 credits for general education with a minimum of 50 credits for teacher professional courses and at least 80 units of specialised courses. All of the teacher education programs in Thailand must also be certified and approved by the Teachers’ Council of Thailand. Teacher licensing The two main bodies that are responsible for the issuance of a teacher licence in Thailand are: Teachers’ Council of Thailand and Office of the Higher Education Commission. In addition to the requirements in terms of minimum credits for each category of an education program previously mentioned, Thai teachers must also possess meet requirements found in the Regulation of the Teachers’ Council of Thailand on Professional Standards and Ethics B.E. 2548. To relate this part of the review with this research, it seems that the current education programs in Thailand are thoroughly regulated by the main governing body in teacher education-Teachers’ Council of Thailand. Nevertheless, the government decided to amend this rule in early 2017. Whether or not the government’s decision was beneficial to the teaching profession was debatable. Conceptual Framework This research is based on Cognitive Dissonance Theory (Festinger, 1957). Essentially, this is an interdisciplinary study combining knowledge of education with communication. Education is the foundation for studies and communication is a supporting field. When there is change in education, behaviour of people may also change. In this case, it is the negative attitudes towards the new scheme of teaching programs which may lead to negative attitudes towards the teaching profession. If Thailand is to promote more effective education programs, it is important to ensure that stakeholders do not hold cognitive dissonance against the education system. There are other relevant theories in terms of human behaviour. According to the Social Cognitive Theory, to change a person’s behaviour, Bandura (1997) stated that two determinants exist – 1) the person must believe the positive outcome (benefits) is greater บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดุสิต

than the negative outcome (costs), and 2) the person must have a sense of self-efficacy. To elaborate on this, according to this theory, the tendency that the students will change their behaviour depends on two factors. The students must believe that the benefits such as the new scheme is significantly better than the old scheme. The second fact is the students must believe that they have skills or abilities to accept the new scheme despite being initial disagreement with the new scheme. As a consequence, in practice, for the new scheme to work, these factors will have to be taken into account. The messages or the reasons for implementing the new scheme have to be convincing to people. The Theory of Reasoned Action lies firstly in the person’s attitudes towards changing his or her behaviour and secondly the person’s subjective norms of changing the behaviour (Ajzen & Fishbein, 1980). To refer this theory to the new scheme, the students must hold positive attitudes towards the new scheme, such as seeing real benefits of the new scheme. Furthermore, the students must hold a positive norm over better education programs. This means people around the students must encourage or support them. It is part of a social norm. When these two factors are met, the change of behaviour should occur. Research Methodology This research was a mixed method containing both quantitative and qualitative nature. The research comprised 62 samples studying Bachelor of Education Program in English at Srinakharinwirot University based on purposive sampling as these students were deemed directly affected by the new government scheme. A researcher-made instrument based on the three-point Likert Scale was used as a tool to collect the required data. The qualitative method used on three educators involved or responsible in the design and management of a Bachelor of Education Program in English. The researcher constructed a questionnaire on cognitive dissonance to apply in this research. The Likert Scale format was employed in the questionnaire with three levels of agreement: agree, neutral and disagree. The questionnaire comprised 10 questions seeking to understand opinions of the samples about the new government scheme. The questions were created based on the framework of the Cognitive Dissonance Theory. Question 1 asked the impact of the new government scheme on the samples in order to avoid bias. Questions 2-3 were based on the belief of the benefits of the English Education Program, which is the belief prior to the new government scheme. Questions 4-10 were based on the cognitive dissonance of the samples resulted from the new government scheme. The questions sought to understand whether the samples agreed or disagreed with some possible ways of resolving cognitive dissonance. The questions in the questionnaire were based strictly on beliefs and perceptions ปีท่ี 17 ฉบบั ที่ 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564

not actions because the samples in the research were still students and they were unlikely to take any other action other than focusing on completing their degree. In order to avoid ethical issues in research and ensure voluntary participation, the researcher included statements identifying the nature of completing the questionnaire at the end of the questionnaire. In order to ensure that the questionnaire was valid, the content validity of the questionnaires was checked by three experts through the use of Index of Congruence (IOC) (Payne, 2003). The original questionnaire comprised 11 questions but Question 8: ‘I feel the program should be reduced to 4 years if the scheme persists’ was deleted by suggestions of the experts; thus, 10 questions were used. The reliability test was conducted and demonstrated .764 in Chronbach’s Alpha. The research selected three educators involved in the design and management of a Bachelor of Education Program in English at Srinakharinwirot University. A semi-structured interview was conducted to seek their opinions about the directions towards an education program in the future. The choice of this interview type was because it allowed “depth to be achieved by providing the opportunity on the part of the interviewer to probe and expand the interviewee’s responses” (Rubin & Rubin, 2005: 88). This meant that the nature of the interview was not as strict as the structured interview while allowing the interviewer to cover the intended areas of investigation. The interview questions were: 1. What do you think about the current education program in Thailand? (i.e. effectiveness and shortfall) 2. What do you think about the revised government scheme that allowed graduates without teacher education to sit the teacher entry exam? 3. What impact, if any, do you think the revised government scheme may have on existing education program? Since this research served to understand general opinions of current education students post the government new scheme; thus, descriptive statistics including mean, Standard Deviation and percentage were presented. The researcher electronically distributed the questionnaire to 80 respondents but 62 completed questionnaires were returned. Findings The findings of the research indicated that 45.2% of the respondents neither agreed nor disagreed with the new government teacher entry examination scheme whereby anyone wishing to become a teacher could apply for the teacher licence regardless of their qualifications. However, 37.1 of the respondents displayed cognitive dissonance against the บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต

new scheme. Only a small number of respondents (17.7%) believed they had not been affected by the new government scheme. The majority of the respondents (61.3%) reported that they studied education because they wanted to become a teacher. However, there were those who did not state their desire of becoming a teacher although they represented only a small percentage of the participants (8.1%). Those that neither agreed nor disagreed with the desire to becoming a teacher contributed to 30.6%. With regards to the teacher licence, most of the respondents (83.9%) reported they studied education because it the teacher licence was attached to their degree. However, there were 6.4% of the respondents who did not focus on this privilege whereby 9.7% of them neither agreed nor disagreed with the degree and the teacher licence. Following the new government scheme, 45.2% of the respondents agreed they became insecure with their future career while 19.4% of them disagreed. Nevertheless, 35.5% of the respondents neither nor disagreed with the insecurity of their future career. In relation to the benefits of an education program, half of the samples (50%) still believed in the benefits of an education program while many of them (30.6%) lost their faith in an education program. Only a small number of people failed to display any agreement or disagreement to this. The results of the questionnaires showed that the majority of the respondents (74.2%) stated that the program should take action against the scheme whereas only a small percentage (4.8%) disagreed with it. The rest of the respondents (21%) remained indifferent about this (19.4%). Most of the respondents (77.4%) would like protection from any effect resulting from the new scheme. However, there were still some respondents (6.5%) who felt they did not require protection. Less than a quarter of the respondents (16.1%) neither agreed nor disagreed with the protection from potential impact resulting from the new scheme. Opinions of the respondents regarding the necessity of the new scheme varied: 51.6% agreed, 14.5% disagreed and 33.9% were indifferent. More than half of the respondents (56.5%) stated that the new scheme was unfair but 19.4% of them disagreed with this. The rest of the respondents (24.2%) did not display any agreement or disagreement. Finally, a little more than half of the respondents (53.2%) felt the new scheme should be cancelled with only a small number of them (12.9%) disagreed with this. Approximately, a little under a quarter of the respondents (33.9%) did not express their agreement or disagreement. ปที ่ี 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564

Table 1 Opinions about the government scheme Agree Neutral Disagree Mean Std. Deviation 1. Are you affected by the government 37.1 45.2 17.7 2.27 .750 softer teacher entry examination scheme? 2. I study education because I want to 61.3 30.6 8.1 2.23 .584 become a teacher. 3. I study education because it comes with a 83.9 9.7 6.4 2.03 .404 teacher licence. 4. I feel insecure about my future career after 45.2 35.5 19.4 2.16 .729 the launch of the new government teacher qualification scheme. 5. I no longer feel an education program is 30.6 19.4 50 1.69 .781 beneficial for a career in teaching. 6. I feel the program should take action against 74.2 21 4.8 2.16 .486 the scheme. 7. I feel that current students should be 77.4 16.1 6.5 2.10 .469 protected from the scheme. 8. I feel the scheme is unnecessary. 51.6 33.9 14.5 2.19 .674 9. I feel the scheme is unfair. 56.5 24.2 19.4 2.05 .664 10. I feel the scheme should be cancelled. 53.2 33.9 12.9 2.21 .656 In relation to the interviews conducted on three interviewees indicated that they had been somewhat confused about the direction of the Ministry of Education. This was because education programs used to run for four years in the past. However, this was changed by adding one extra year to the programs so that all of the education programs in the country were five years. Yet, the most recent change was cutting down one year so that the programs run only for four years. The interviewees only expressed their opinions about the education program in English at the Faculty of Srinakharinwirot University because they worked there. In essence, the interviewees were satisfied with the programs they were responsible for. The design at Srinakhariniwort University was unique in a sense that specialised faculties worked in collaboration with the Faculty of Education. For example, students under the Bachelor of Education Program in English study education subjects at the Faculty of Education whereas English subjects are taught at the specialised faculty, Faculty of Humanities. The interviewees expressed their pride in the running of the program they were responsible for. บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ

Nevertheless, with the new scheme that reduced all education programs to 4 years, the interviewees stated that they were concerned because they had to remove some of the subjects off the program simply because there would not be enough time for students to do them. Therefore, with the new scheme, the interviewees had the opinion that the content the new program design offers may not be as detailed as the old design of five years. In addition, this created some cognitive dissonance on the part of the five-year-program students whereby the students felt they studied harder with more rigorous contents; yet, they would enter the teaching profession with the same credibility as those who will graduate through the new scheme. Most importantly, the interviewees expressed their concerns in relation to how they would go about retaining competitiveness of their program with other non- education programs. Thus, the direction of future education programs should focus on how to ensure that the theoretical and philosophical contents together with rigorous practical teaching skills the old programs offered could all fit into the future programs. Discussion 1. Cognitive dissonance of samples Becoming a teacher is a competitive task in Thailand. There are a number of graduates with a degree in education each year wanting to enter the public school system, but placements are limited. The results of the research indicated that 61.3% study education because they would like to become a teacher. This is an interesting figure that not all of the respondents reported agreement to this question. It means that some of the respondents study education for a different goal. Essentially, this is not always a positive outcome for the teaching industry because people with passion to teaching should ideally come from an education program. For many people, they enter into the teaching profession simply because they do not know what else to do (Teaching is ruining my life, but I don't know what to do instead, 2017). This usually starts from when they choose their degree of study. A number of school leavers in Thailand are pressured by parents to study a culturally prestigious degree such as medicine, pharmacy or engineering. Nevertheless, many do not like mathematics nor do they like science. Often they end up at the faculty of education because of less competition based on university admission results. Upon graduation, these graduates who enter the teaching profession will not do so because of the passion in teaching. Eventually this creates a problem for students and the teaching arena as a whole. Those who do not possess any passion in teaching will not put in sufficient effort to teaching. They will likely do what refers to as a nine-to-five job, which means they turn up to work and leave at the end of the day. However, being a teacher is much more than that. A good teacher should spend time designing and preparing for lessons in order to ensure that the contents ปีที่ 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564

presented to the students are appropriate. For example, the levels of each lesson should be based on relevant theoretical backgrounds. If the teacher intends for the students to be able to apply the knowledge in a language classroom in real life situations, they content of the class should follow specific words as suggested in Bloom’s Taxonomy (Anderson and Krathwohl, 2001). Modern teaching requires even more energy on the part of the teacher. Interactive classroom settings can be tiring when the teacher is expected to conduct a lively and interesting class. A wide variety of classroom activities to generate language interests in students are unavoidable (Brown and Lee, 2015). A traditional teaching method like grammar translation whereby the teacher takes all of the authority in the classroom is no longer a popular fashion. Thus, those who do not enjoy teaching will not cope and they will eventually deliver ineffective teaching. It was clear based on the findings that most of the respondents (83.9%) were satisfied with the fact that their degree comes automatically with a teacher licence. However, it seems that the new scheme had triggered cognitive dissonance (see Festinger, 1957) on the part of almost half of the respondents (45.2%) who expressed their insecurity about their future career following the new scheme. In essence, exclusive privilege to hold a teacher licence no longer lies in the hands of education graduates but rather graduates from all areas. Further, 74.2% of the respondents would appreciation some action by the program and 77.4% protection for they will be graduates under the old program. It was not a surprise because the respondents in the five-year program may see themselves as being disadvantaged when it comes time for them to enter the teaching profession with those who only have to spend four years in their degrees. That one extra year could mean significantly to many in terms of career advancement. Cognitive dissonance was also found by more than half of the respondents in relation to the new scheme being unnecessary (51.6%), unfair (56.5%) and that it should be cancelled (53.2%). Cognitive dissonance could be seen as a negative factor leading students to being unsatisfied with the program they are taking, which would not constitute to optimal performance on the part of the students. Thus, the students would prefer that the new scheme be cancelled. Only a small number of respondents (30.6%) believed that the education program was no longer beneficial, which indicated that the majority of the respondents had not yet formed cognitive dissonance against the education programs. The interpretation of the findings here could be due to confusion and lack of realization about the impact whether it be positive or negative induced by the new scheme. It is possible that some samples may still believe in the benefits of the education program despite the new scheme. Cognitive dissonance was not found in students alone because those responsible for the running of the program also displayed their dissatisfaction with the new scheme. With บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต

the reduced length of study, it means the subjects and credit requirements in the old program under the old regulations are no longer applicable (see Faikhamta et al., 2018). To administrators of the program, this could be loosening the strength of their program from what they believed was an effective curriculum (see Darling-Hammond & Bransford, 2005; Schwille, Dembele & Shubert, 2007; Tellez & Waxman, 2006). With the confidence of the administrators who were also teachers reduced, it could jeopardize the whole system. In other words, neither the students nor the administrators were satisfied with their own program that they used to be proud of. As a result, the cognitive dissonance may become a contributing factor that decreases the effectiveness of the education program and eventually the overall education system. 2. Directions of education programs in future To ensure the degree of effectiveness of future education programs in Thailand, administrators would have to take careful consideration with regards to combining the academic contents and teaching practicum that used to take up the whole five-year period in the tight schedule of the new four-year programs. As mentioned in Brown and Lee (2015) that new courses were not usually perfect. There are important considerations that program developers have to take into account. Since change has to happen due to the government policy, discussion on the need for change may be skipped. Regardless of the change, it is essential that the extent of change, engagement in realistic change be considered (Nation and Macalister, 2010). As previously mentioned in the interview results, it was found that there were concerns about how to fit contents of the old program into the shorter new program. Although this may be possible in theory, it may not necessarily be practical in terms of time and competition with other courses. This is because a perfectly designed course in accordance with appropriate theories may be of little use if it is not practical in reality. Most importantly, it must not be forgotten that a newly designed course has to allow principled teaching on the teachers. After all, courses that force the teachers out of their own principled teaching is rarely successful (Brown and Lee, 2015). Recommendation based on the findings As previously stated in the article that this research was intended to be a pilot study, the researcher hoped it would stimulate interest of other researchers in relation to the advantages and disadvantages of the new model of teacher education programs in Thailand. Clearly, there have been inconsistencies in the standard of teacher qualifications in Thailand over the past 20 years. Prior to the era of the five-year programs, the degrees used to last four years. With administrative policy, changes were made to extend education programs to five years. Yet; they are now back to what they once were many years ago. ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564

Inconsistency at the policy level makes it difficult for practitioners to follow. As discussed earlier in the article that, for many people, they choose to study education because they do not truly know what they want to study. This means they generally do not have an interest in teaching let alone passion in teaching. With very few incentives to become a teacher in Thailand such as low salary and relatively slow career advancement, the government should work on creating attraction to potential students to want to study education. While reducing the length of study to four years may appeal to a number of people, the fact that it does not stay intact demonstrates instability of the system. For the current discussion, the government decided to reduce all education programs to four years led to cognitive dissonance in students of the former scheme of five years. It is without any doubt that these students should feel dissatisfied. On the assumption these students chose to study education because of the passion in teaching, the new scheme may devalue what they hold dear as the career of their dream. The new scheme extends the privilege of the teacher licence upon those who do not hold a degree in education. Therefore, the specialization vested in an education degree seems somewhat loose. In other words, it is not a special degree for the teaching profession since anyone with any degree can become a teacher. Thus, the value of the teaching profession actually drops by the hands of the policy makers. As a result of this, the government should take into consideration the pros and cons of imposing any change to the education programs. Although the capitalist world aims for profits including for the education sector, teaching continues to be the foundation of knowledge for new generations to gain. If commercial reasons dominate too much in the teaching profession, it is possible that there may not be truly passionate teachers left in years to come. Recommendation for future research Research in cognitive dissonance is an interesting start because it can provide an overall picture of psychological emotions of the audience who are directly affected by fluctuating directions in education of the Thai administration. A larger scale research in cognitive dissonance may be required to back up findings of the present research. Studies about change and inconsistency in education programs may also be conducted to explore wider understanding of the issues in relation to effectiveness and standards of education programs. Additional research on credibility of education programs may also be possible. Since the current research focused on cognitive dissonance which represents the negative dimension of human perspective, research projects focusing on the opposites may be possible as well such as prototypes or advantages of new education programs. บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดุสติ

References Anderson, L.W. & Krathwohl, D.R. (2001). A taxonomy for teaching, learning, and assessing: A revision of Bloom’s taxonomy of educational objectives. New York, NY: Longman. Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding attitudes and predicting social behaviour. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. Bandura, A. (1997). Self-efficacy theory: Toward a unifying theory of behavioural change. Psychological Review, 84, 191-215. Boonpen, K. & Aramnet, C. (2017, March 29). Rule on recruiting unlicensed teachers changed after outcry. The Nation. [Online]. Retrieved May 1, 2019 from http://www.nation multimedia.com/detail/ national/30310599. Brown, D. & Lee, H. (2015). Teaching by Principles. An Interactive Approach to Language Pedagogy (4th ed). NY: Pearson Education. Darling-Hammond, L. & Bransford, J. (2005). Introduction. In L. Darling-Hammond & J. Bransford (Eds). Preparing teachers for a changing world: What teachers should learn and be able to do (pp. 1-39). San Francisco, CA: Jossey-Bass. Faikhamta, C., Ketsing, J., Tanak, A. & Chamrat, S. (2018). Science teacher education in Thailand: a challenging journey. Asia-Pacific Science Education. [Online]. Available: https://doi.org /10.1186/s41029-018-0021-8. [Accessed on 1 May 2019] Festinger, L. (1957). A Theory of Cognitive Dissonance. Evanston, IL: Row & Peterson. Mala, D. (2017, March 29). Government Rethinks Softer Teacher Entry Rules. The Bangkok Post. [Online]. Retrieved May 1, 2019 from https://www.bangkokpost.com/archive/ government-rethinks-softer-teacher-entry-rules/1222860. Nation, I. S. P. & Macalister, J. (2010). Language curriculum design. New York, NY: Routledge. Office of the National Education Commission. (2015). State of teacher education and professional development in Thailand. Bangkok: ONEC. Payne, D. A. (2003). Applied Educational Assessment (2nd ed.). Canada: Nelson Thomson Learning. Rubin, H. & Rubin, I. (2005). Qualitative Interviewing: The Art of Hearing Data (2nd ed.). USA: Sage. Schwille, J. Dembele, M. & Shubert, J. (2007). Global perspectives on teacher learning: Improving policy and practice. Paris: UNESCO: International Institute for Educational Planning. ปที ี่ 17 ฉบบั ที่ 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564

Teaching is ruining my life, but I don't know what to do instead (2017, October 23). The Guardians. Retrieved May 10, 2019 from https://www.theguardian.com/careers/2017/ oct/23/teaching-is-ruining-my-life-but-i-dont-know-what-to-do-instead. Tellez, K. & Waxman, H. (2006). Preparing quality teachers for English language learners: An overview of the critical issues. In K. Tellez & H. Waxman (Eds) Preparing quality teachers for English language learners: An overview of the critical issues: Research, policies and practices (pp. 1-22). Mahwah, NJ: Lawrence Earlbaum Associates. Translated Thai References Objection to teacher entry examination without teacher licence, confirmed it is against the law. Request government to rethink. (2017, March 28). Thairath. Retrieved May 1, 2019 from https://www.thairath.co.th/content/897662 (In Thai). Author Mr. Watthana Suksiripakonchai (PhD) Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University 114 Sukhumvit 23 Klong Toei Nue Wattana Bangkok 10110 e-mail: [email protected] บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ

การสงั เคราะห์งานวิจยั ที่เกยี่ วข้องกับการจดั การเรยี นรทู้ ักษะปฏิบัติตามแนวคิดของ แฮร์โรว์ และการจัดการเรียนรวู้ ิชาดนตรีตามแนวคิดของคารล์ ออร์ฟ The Synthesis of Research Related to Learning Practice Skills Based on the Concept of Harrow and Music Learning Based on the Concept of Carl Orff นที ปิ่นวไิ ลรตั น์* และอนิ ทิรา รอบรู้ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนนั ทา Natee Pinwilairat* and Intira Robroo Graduate School, Suan Sunanbha Rajabhat University Received: July, 12 2020 Revised: August, 24 2020 Accepted: September, 14 2020 บทคดั ยอ่ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์งานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตาม แนวคดิ ของแฮรโ์ รว์ และการจดั การเรยี นรวู้ ชิ าดนตรตี ามแนวคดิ ของคารล์ ออรฟ์ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2548 – 2561 มีประเดน็ สังเคราะห์ คอื 1) ดา้ นขอ้ มูลพืน้ ฐาน 2) ด้านวตั ถุประสงคข์ องการวิจยั 3) ด้านวิธดี ำ� เนนิ การวิจัย 4) ด้านผลการศึกษา น�ำเสนอผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดย การพรรณนาเป็นความเรียง เอกสารวิจัย จ�ำนวน 24 เล่ม เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบบันทึกข้อมูล คณุ ลักษณะวทิ ยานพิ นธ์ สถิติท่ใี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู คือ ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ผลการวิจยั พบวา่ 1) ด้าน ขอ้ มลู พ้นื ฐาน สว่ นใหญเ่ ป็นงานวิจยั ของคณะครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าหลกั สตู รและการสอน งานวิจัย สว่ นใหญข่ องมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 2) ดา้ นวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั สว่ นใหญเ่ พอื่ เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนของผู้เรียนก่อนเรยี นและหลัง 3) ด้านวิธดี �ำเนินการวจิ ัย งานวจิ ยั สว่ นใหญเ่ ลือกใชก้ ลมุ่ ตัวอยา่ ง โดยการสมุ่ แบบกลมุ่ เปน็ งานวจิ ยั เพอื่ พฒั นาโดยใชท้ ฤษฎขี องคนอนื่ มกี ารอา้ งองิ จากสอ่ื สง่ิ พมิ พภ์ ายในประเทศ หาคณุ ภาพเครอ่ื งมือโดยการหาคา่ ความเท่ียงตรง สว่ นใหญ่ผลการวิจยั เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน 4) ด้านผลการ วิจัย การจัดการเรยี นรทู้ ักษะปฏิบัติของแฮรโ์ รว์ มี 5 ข้ันตอน โดยการเลียนแบบจากการสงั เกตและลงมอื ทำ� ตามคำ� ส่งั ผู้เรียนฝกึ ฝนให้ถูกต้องและชำ� นาญ ท�ำใหส้ ามารถแสดงออกไดอ้ ยา่ งธรรมชาติ นยิ มน�ำมาใช้ในวชิ า ดนตรี ศลิ ปะ เทคโนโลยีและการงานอาชีพ แนวคดิ การสอนดนตรขี องคารล์ ออร์ฟ จะพฒั นาทักษะทางดนตรี จากงา่ ยไปหายาก จากจงั หวะ ระดบั เสยี ง สญั ลกั ษณต์ วั โนต้ การอา่ นโนต้ และเครอื่ งดนตรี จงึ ทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ พฒั นาการทางดา้ นดนตรไี ดเ้ ปน็ อย่างดี ค�ำสำ� คญั : การสงั เคราะห์ การจดั การเรยี นรทู้ กั ษะปฏบิ ตั ติ ามแนวคดิ ของแฮรโ์ รว์ การจดั การเรยี นรวู้ ชิ าดนตรี ตามแนวคิดของคารล์ ออรฟ์ * นที ปิ่นวไิ ลรัตน์ (Corresponding Author) ปีที่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 69 e-mail: [email protected]

Abstract This article aimed to synthesize research related to the learning practice skills based on the concept of Harrow and music learning based on the concept of Carl Orff between 2005 – 2018. The synthesis covered 4 areas, namely, 1) basic information 2) research purpose, 3) research methodology, and 4) research results. The results of the analysis and synthesis of the data in the quantitative and qualitative forms were presented by descriptive essay. Twenty-four researches were used as the research documentary. The research instrument was the form to record the characteristic data of theses. The statistics used for data analysis were frequency and percentage. The research findings revealed that: 1) Basic Information: Most of the researches were the works in the research curriculum and teaching program, from the Faculty of Education, Mahasarakham University. 2) Research Purpose: Most of the researches were to compare the learning achievement of learners before and after teaching, 3) Research Methodology: Most researches used the sample groups selected by the group sampling method and most of them had the development purpose. The research for development utilized other’s theories and most of them used domestic publication as references. The validity test was used to verify the research measurement and most of the research results were in accordance with the hypothesis. 4) The results of the research can be summarized as the learning practice skills based on the concept of Harrow 5-step practice model by imitating from observation and taking action as instructed with training for learners to practice correctly and to express themselves in a natural way. It is widely applied for music, art, technology and career development. Conceptual music teaching of Carl Orff developed student’s skills from easy to difficult level starting from beat, pitch, learning the notes symbol, reading the notes and musical instrument practice. Therefore, students were able to develop their musical skills well. Keywords: Synthesis, Learning Practice Skills based on the Concept of Harrow, Music Learning based on the Concept of Carl Orff บทน�ำ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 (Ministry of Education, 2009) ได้มีก�ำหนด สาระการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ของวชิ าดนตรไี วใ้ นหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 เปน็ ทกั ษะ เบื้องต้นของการเรียนดนตรี ซึ่งผู้เรียนรู้เข้าใจเก่ียวกับดนตรีรู้และเข้าใจเก่ียวกับเสียงดนตรี เสียงร้อง เครื่องดนตรีและ องค์ประกอบของดนตรี และบรรเลงเคร่ืองดนตรี ใช้และเก็บรักษาดูแลเคร่ืองดนตรีอย่าง ถูกวิธี อ่าน เขยี นโนต้ ไทย และโน้ตสากล เพ่อื ให้ผู้เรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจและมที กั ษะทางดนตรี และทำ� ให้ 70 บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั สวนดุสิต

ผู้เรียนแสดงออกทางดนตรไี ด้อยา่ งสร้างสรรค์ ในการจัดการเรยี นการสอนรายวิชาดนตรีเกิดปัญหา เนอื่ งจาก ดนตรีศึกษาในระดับประถมศึกษามีมาตรฐานการเรียนการสอนท่ีไม่เท่าเทียมกัน หลายโรงเรียนมามาตรฐาน การสอนที่ดีมากมีการพัฒนากิจกรรมตลอดจนสิ่งที่เกื้อหนุนอย่างดี ในขณะที่หลายโรงเรียนไม่ให้ความสนใจ เท่าท่ีควร ท�ำให้การเรียนการสอนดนตรีเป็นไปอย่างไม่ถูกต้องตามหลักการ ท�ำให้นักเรียนไม่ได้รับความรู้ ทางดนตรเี ทา่ ทคี่ วร ซงึ่ กระบวนการการศกึ ษาจะไมม่ คี วามสมบรู ณห์ ากขาดองคป์ ระกอบทางการเรยี นรดู้ า้ นครู ผู้สอน นักเรียน สาระการเรียนรู้ บริบททางการเรียนรู้ของการเรียนการสอน (Pongern, 2011) พบว่า มีงานวิจัยเพ่ือหาทางแก้และค้นคว้ารูปแบบการเรียนการสอนทางดนตรี และรูปแบบเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้น กระบวนการพัฒนาทักษะปฏิบัติ ท่ีสามารถท�ำให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาดนตรีและ การเรยี นทเี่ น้นทกั ษะปฏิบตั ิของผู้เรยี นไดเ้ ปน็ อยา่ งดี การวจิ ัยเร่ืองการพฒั นาทกั ษะปฏิบัติทางดนตรี เปน็ กระบวนการหาวธิ ีการจดั การเรียนการสอนทาง ดนตรที ำ� ใหเ้ กดิ องคค์ วามรใู้ หม่ ๆ รวมทง้ั การจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบตา่ ง ๆ อยา่ งมรี ะบบแบบแผนตาม หลักการทางวิชาการ ยังสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ในรายวิชาดนตรีของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ผวู้ จิ ยั เหน็ วา่ การสงั เคราะหง์ านวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วกบั การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นดนตรี จากการศกึ ษางานวจิ ยั พบวา่ ในชว่ งปี พ.ศ. 2548 – 2561 มีการศึกษาเกี่ยวกับการใชว้ ธิ หี รือรปู แบบการเรียนการสอน และพัฒนา ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิชาดนตรี เพอ่ื แกไ้ ขสภาพปัญหาทางการเรียนร้ใู นรายวิชาดนตรี เรอื่ ง จังหวะ เสียง สัญลกั ษณท์ างดนตรี การอา่ นโน้ต และการปฏบิ ัตทิ างดนตรี และใหผ้ ู้เรยี นเห็นความส�ำคัญของการเรียนการ สอนในรายวชิ าดนตรี โดยรปู แบบการเรียนการสอนดนตรตี ามแนวคิดของคารล์ ออร์ฟ เปน็ รูปแบบการเรยี น การสอนที่นา่ สนใจ โดยมีผู้นำ� วธิ กี ารสอนของคารล์ ออรฟ์ มาพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างดนตรีของผูเ้ รียน เน้นการ พัฒนาทักษะทางดนตรีจากงา่ ยไปหายาก เช่น ทำ� ใหผ้ เู้ รยี นนั้นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างดนตรที ด่ี ี และรวมถงึ รปู แบบ กระบวนการเรยี นรทู้ ม่ี งุ่ เนน้ พฒั นาทกั ษะปฏบิ ตั ิ โดยรปู แบบการสอนทกั ษะปฏบิ ตั ขิ องแฮรโ์ รว์ (Harrow, 1972) ไดจ้ ดั ลำ� ดบั ขน้ั ตอนการเรยี นรโู้ ดยเรมิ่ จากระดบั ทซี่ บั ซอ้ นนอ้ ยไปจนถงึ ระดบั ทซ่ี บั ซอ้ นมาก จงึ มคี วามนา่ สนใจ ทีม่ กี ารชว่ ยพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ ่ดี ขี นึ้ มคี ณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ การฝึกทักษะอยา่ งมีขนั้ ตอน ทำ� ให้การเรยี นรู้ สามารถพฒั นาทักษะปฏบิ ัติได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ผวู้ ิจยั สนใจทจี่ ะศกึ ษาประเด็นของงานวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การจัดการเรยี นรู้ทักษะปฏิบัตติ ามแนวคดิ ของแฮร์โรว์ และการจดั การเรยี นรวู้ ชิ าดนตรีตามแนวคดิ ของคารล์ ออรฟ์ เพ่ือสังเคราะห์องค์ประกอบและน�ำผลการวิจยั เหล่านนั้ ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ทางด้านการจัดการเรยี น การสอนในรายวิชาดนตรีให้ผ้เู รยี นเกดิ ผลสมั ฤทธ์ิทางดนตรีต่อไป การสงั เคราะหง์ านวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การจดั การเรยี นรทู้ กั ษะปฏบิ ตั ิ และการจดั การเรยี นรวู้ ชิ าดนตรี ตามแนวคิดของของคาร์ล ออร์ฟ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2548 - 2561 ผู้วจิ ัยสบื คน้ จากฐานขอ้ มลู ThaiLis ซ่ึงมี เอกสารขอ้ มูล ฉบับเตม็ ของ วิทยานิพนธ์ รายงานการวจิ ยั บทความ ตา่ ง ๆ รวบรวมจากมหาวทิ ยาลัยตา่ ง ๆ ท่วั ประเทศ เพื่อใหผ้ ูท้ ่สี นใจสบื ค้นข้อมูลงานวจิ ยั และสามารถน�ำผลการวิจัยหรอื กระบวนการวจิ ยั ไปพัฒนา ตอ่ ยอดความรเู้ ดมิ รวมถงึ การสรา้ งงานวจิ ยั ใหม่ ๆ โดยผลของการวจิ ยั นนั้ ไดม้ าจากการคน้ ควา้ อยา่ งเปน็ ระบบ การจดั ทำ� อยา่ งมคี ณุ ภาพเหมาะสมกบั การตพี มิ พแ์ ละเผยแพร่ ซง่ึ งานวจิ ยั ไดผ้ า่ นขนั้ ตอนกระบวนการพจิ ารณา จากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลพิจารณาให้งานวิจัยน้ันสมบูรณ์แล้วน�ำมาเผยแพร่ลงในเว็บไซต์ ผวู้ จิ ยั เหน็ วา่ การสงั เคราะหง์ านวจิ ยั เปน็ การสะทอ้ นสภาพของงานวจิ ยั ในการจดั การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั ทกั ษะปฏบิ ตั ิ ตามแนวคดิ ของแฮรโ์ รวแ์ ละการจดั การเรยี นรวู้ ชิ าดนตรตี ามแนวคดิ ของคารล์ ออรฟ์ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน นอกจาก ปีที่ 17 ฉบบั ที่ 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 71

น้ผี ลของการสังเคราะหง์ านวิจยั จากฐานข้อมูล Thailis สามารถน�ำไปประยุกตใ์ ช้ในการจดั การเรยี นการสอน ได้เป็นอยา่ งดี วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อสังเคราะห์งานวิจยั ท่เี กย่ี วขอ้ งกับการสอนทกั ษะปฏิบตั ิตามแนวคดิ ของแฮร์โรว์ และวธิ ีการสอน ดนตรตี ามแนวคิดของคารล์ ออรฟ์ ระหว่างปี พ.ศ. 2548 - 2561 แนวคดิ ทฤษฎีท่ีเกย่ี วข้อง การสังเคราะหง์ านวิจัย 1. ความหมายของการสงั เคราะหง์ านวจิ ยั จากการศกึ ษาความหมายของการสงั เคราะหง์ านวจิ ยั สรปุ ความหมายของการสังเคราะห์งานวิจยั ไดด้ ังน้ี Promata (2014), Sudrung (2009) การสังเคราะห์งานวิจัย คือ การศึกษารวบรวมงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหาประเด็นส�ำคัญท่ี สอดคลอ้ งกันหลาย ๆ เรอ่ื ง นำ� มาวเิ คราะหข์ อ้ มูล อยา่ งเป็นระบบเพอื่ หาข้อสรุปหรือคำ� ตอบของปัญหานัน้ ๆ ท�ำใหเ้ กิดเป็นองค์ความรใู้ หม่ หรอื คำ� ตอบของปญั หานัน้ ได้อยา่ งชดั เจน 2. ความส�ำคัญของการสังเคราะห์งานวิจัย จากการศึกษาความส�ำคัญของการสังเคราะห์งานวิจัย สรปุ ความสำ� คัญได้ดงั นี้ Punyaratabandhu (2015), Jantrkool (2011) ปจั จบุ นั งานวจิ ยั เพม่ิ มาขนึ้ ทำ� ใหผ้ ลของการวจิ ยั นนั้ มมี ากมายทงั้ ทส่ี อดคลอ้ งกนั และไมส่ อดคลอ้ ง กัน จึงท�ำให้เกิดความสับสนของผู้ท่ีศึกษาประเด็นส�ำคัญหรือผลการวิจัยของเร่ืองนั้น ๆ ได้ จึงจ�ำเป็นต้องมี การสงั เคราะหง์ านวจิ ยั เพอ่ื หาขอ้ สรปุ หรอื คำ� ตอบของประเดน็ ปญั หานนั้ และเกดิ เปน็ องคค์ วามรใู้ หม่ เพอื่ ทจี่ ะ สามารถน�ำขอ้ มลู ผลการวิจยั ดังกล่าวไปใช้หรอื ตอ่ ยอดงานวิจัยได้ 3. ประเภทของการสังเคราะห์งานวิจัย จากการศึกษาประเภทของกการสังเคราะห์งานวิจัย สรุป ประเภทได้ดังน้ี Wongwanich (2002) การสังเคราะห์งานวิจัย จำ� แนกออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) การสงั เคราะหเ์ ชงิ คณุ ลักษณะ คอื การนำ� ผลของการวจิ ยั มาสงั เคราะหโ์ ดยใชว้ ธิ กี ารบรรยาย ทำ� ใหเ้ กดิ ขอ้ มลู ผลการวจิ ยั ทเ่ี ปน็ ภาพรวมทสี่ อดคลอ้ ง หรือไม่สอดคล้องกับงานวิจัยก็ได้ 2) การสังเคราะห์เชิงปริมาณ คือ การน�ำผลการวิจัยมาสังเคราะห์ ดา้ นรายละเอยี ดการทำ� การวจิ ยั ผลของการวจิ ยั โดยใชร้ ะเบยี บวธิ กี ารสถติ ิ เพอื่ หาขอ้ สรปุ คำ� ตอบของประเดน็ ส�ำคัญของงานวจิ ัย 4. ข้ันตอนการสงั เคราะหก์ ารวจิ ยั จากการศึกษาข้ันตอนการสงั เคราะห์งานวิจยั สรุปขั้นตอนไดด้ งั น้ี Wiratchai, Khemmani (2003), Aunganapattarakajohn (2003), Punta (2011) ขน้ั ตอนการสงั เคราะห์การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณมีดงั น้ี 1) ขน้ั ตอนการสงั เคราะหง์ านวจิ ยั ดว้ ยวธิ เี ชงิ ปรมิ าณรายงานการวจิ ยั ทตี่ อ้ งนำ� มาสงั เคราะหค์ วรมี อยา่ งนอ้ ย 2-3 เลม่ ทำ� ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ ทคี่ รอบคลมุ และนำ� ไปใชไ้ ดก้ วา้ งขน้ึ 2) กำ� หนดประเดน็ ปญั หาของงานวจิ ยั ทีน่ ำ� มสี งั เคราะห์ เช่น ระดับชั้นทีศ่ ึกษาวจิ ัย รายวชิ าที่ศกึ ษาวจิ ัย วิธีการด�ำเนนิ การวิจัย จ�ำนวนประชากรกลุม่ ตวั อยา่ ง 3) การจำ� แนกวัตถปุ ระสงคข์ องงานวจิ ยั เช่น การวิจยั เพ่ือพฒั นา การวจิ ยั เพ่ือการทดลอง การศึกษา 72 บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ

ผลสัมฤทธิ์ การศึกษาความพึงพอใจ 4) การวิเคราะห์ลักษณะข้อมูลของงานวิจัย ด้านการข้อมูลพื้นฐาน วัตถุประสงค์ วิธีการด�ำเนินการวิจัย และท�ำการสังเคราะห์โดยการแจงนับหาค่าสถิติตามตัวแปร 5) การ สงั เคราะหผ์ ลของการวจิ ยั การนำ� ผลจากการวเิ คราะหผ์ ลของวธิ กี ารทใี่ นการแกป้ ญั หาและความสำ� เรจ็ ของวธิ ี การน�ำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา ผู้วิจัยอาจก�ำหนดเกณฑ์การตัดสินความส�ำเร็จของวิธีการแก้ปัญหาจนเป็นที่ พอใจ กรอบแนวคดิ งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการสอนทักษะ การสังเคราะห์งานวิจัยเชิงปริมาณใน 4 ด้าน ปฏบิ ตั ติ ามแนวคดิ ของแฮรโ์ รว์ และวธิ ี ได้แก่ การสอนดนตรีตามแนวคิดของของ - ด้านขอ้ มูลพื้นฐาน คารล์ ออรฟ์ - ดา้ นวตั ถุประสงค์ของงานวิจัย - ดา้ นวิธกี ารดำ� เนนิ การวจิ ัย - ดา้ นผลการศึกษา ภาพที่ 1 กรอบแนวคิด ระเบียบวิธวี จิ ัย ขอบเขตการวิจัย 1. งานวิจัยคร้ังน้ีเป็นวิจัยเชิงปริมาณ เพ่ือสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ทักษะ ปฏบิ ัติ และการจัดการเรียนรู้วชิ าดนตรีดนตรตี ามแนวคิดของคารล์ ออร์ฟ งานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้องกับการจัดการ เรยี นรู้ทักษะปฏิบตั ิตามแนวคดิ ของแฮร์โรว์ และการจัดการเรียนรวู้ ชิ าดนตรีตามแนวคิดของของคาร์ล ออรฟ์ ทไ่ี ดร้ บั การเผยแพรล่ งในฐานขอ้ มลู ThaiLis ระหวา่ งปี พ.ศ. 2548 – 2561 พบวา่ มงี านวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ทงั้ หมด 24 เรือ่ ง ดังน้ี รวบรวมงานวจิ ยั ทม่ี คี ำ� เกย่ี วกบั การจดั การเรยี นรทู้ กั ษะปฏบิ ตั ขิ องแฮรโ์ รว์ พบไดด้ งั นี้ Srihawong (2010), Lohkham (2011), Meesuk (2012), Chansima (2010), Sanguantakul (2011), Sinthanachai (2011), Chaisawang (2012), Thongsom (2013), Somthong (2017), Winichakom (2014), Kuttiwung (2014), Naengsakun (2013), Aunpia (2013), Thaneerat (2016), Nathongphoon (2018) และ Sitthichen (2017) รวบรวมงานวิจัยทม่ี ีค�ำเกีย่ วกบั การจัดการเรียนรวู้ ชิ าดนตรตี ามแนวคดิ ของของคารล์ ออร์ฟ พบ ได้ดังนี้ Jarusan (2008), Kumchoo (2012), Laithong (2017), Poramart (2010), Purmpul (2011), Sarachan (2018), Tadsanapanid (2015) และ Tiansuk (2005) 2. ประเด็นที่วิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัย คือ การจัดการเรียนรู้ทักษะตามแนวคิดของแฮร์โรว์ และการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรีตามแนวคิดของของคาร์ล ออร์ฟ 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านข้อมูลพ้ืนฐาน 2) ด้านวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 3) ด้านวธิ ีด�ำเนินการวิจัย 4) ด้านผลการศึกษา ปที ี่ 17 ฉบบั ที่ 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 73

วิธีการดำ� เนนิ การวิจัย 1. ศกึ ษางานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ งกับงานวิจัย 1.1 ศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ทักษะตามแนวคิดของแฮร์โรว์ และ การจดั การเรยี นรวู้ ิชาดนตรีตามแนวคิดของของคารล์ ออรฟ์ ในฐานขอ้ มลู ThaiLis ระหวา่ งปี พ.ศ. 2548 – 2561 1.2 ศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการสร้างเคร่ืองมือจากงานวิจัยเอกสาร ต�ำรา เพ่ือน�ำมาเป็นกรอบ แนวคดิ ส�ำหรบั สรา้ งเครอื่ งมอื การวจิ ัย 2. ผวู้ จิ ยั ดำ� เนนิ การสรา้ งเครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั ครงั้ นี้ คอื แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู คณุ ลกั ษณะงานวจิ ยั ให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย ซึ่งการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือหาค่าความสอดคล้องระหว่างผลของ ข้อมูลท่ีบันทึกกับเป้าหมายของผู้วิจัย และตรวจสอบเชิงเน้ือหา (ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ 1) ด้านข้อมูล พื้นฐาน จำ� นวน 4 ข้อ 2) ดา้ นวตั ถุประสงค์ของการวิจัย จ�ำนวน 1 ขอ้ 3) ดา้ นวิธีด�ำเนนิ การวิจยั จ�ำนวน 13 ขอ้ 4) ดา้ นผลการศกึ ษา 3. การตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย โดยผ้วู จิ ยั น�ำแบบบันทึกคณุ ลักษณะของงานวิจัย ท่ีผู้วิจยั สรา้ งข้นึ เสนอตอ่ อาจารย์ทป่ี รึกษา และปรับปรุงแกไ้ ขตามค�ำแนะน�ำ และตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมอื โดยเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 3 ท่าน โดยหาค่าดัชนีความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา IOC (Index of Item Objective Congruence) มคี ่าเฉล่ยี เทา่ กับ 1.00 แสดงใหเ้ หน็ วา่ อยใู่ นเกณฑ์ที่ยอมรับได้ ก่อนน�ำไปวิเคราะห์ และสงั เคราะห์ข้อมูลจรงิ จากฐานขอ้ มูล ThaiLis 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผวู้ จิ ัยไดท้ �ำการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล โดยการบนั ทึกข้อมลู จากงานวจิ ยั จำ� นวน 24 เรอ่ื ง ระหวา่ งปี พ.ศ. 2548 – 2561 ตามขอบเขตของการวิจัย ลงในแบบบันทึกขอ้ มูลตามโครงสร้างทผ่ี ู้วจิ ัยออกแบบไว้ แล้ว นำ� มาทำ� การวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหข์ อ้ มลู จากแบบบนั ทกึ ขอ้ มลู โดยการหาคา่ สถติ พิ นื้ ฐานและการวเิ คราะห์ เนอ้ื หา นำ� เสนอผลการศกึ ษาสังเคราะห์ข้อมลู ในเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพโดยการพรรณนาเปน็ ความเรยี ง 5. การวเิ คราะห์และนำ� เสนอข้อมูล สถิติที่ใข้การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยท�ำการประมวลข้อผลข้อมูลจากแบบบันทึก โดยหาค่าสถิติ พื้นฐาน คอื การแจกแจงความถ่ี (Frequency) และหาคา่ ร้อยละ (Percentage) ผลการวิจัย 1. ดา้ นข้อมูลพ้นื ฐาน จากการสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนทักษะปฏิบัติ และวิธีการสอนดนตรีของคาร์ล ออร์ฟ รวมจ�ำนวน 24 เรื่อง ทเี่ ผยแพรใ่ นฐานข้อมูล ThaiLis ระหวา่ งปี พ.ศ. 2548 – 2561 จำ� นวน 24 เรือ่ ง 1) หลักสตู รของงานวิจัย พบวา่ งานวิจยั ครศุ าสตรมาหบัณฑติ จำ� นวน 10 เร่อื ง ส่วนใหญ่เปน็ งานวจิ ยั ศกึ ษา ศาสตรมหาบณั ฑติ จ�ำนวน 7 เรอ่ื ง งานวิจยั การศึกษามหาบัณฑติ จำ� นวน 7 เร่ือง 2) สาขาวิชาของงานวจิ ัย พบวา่ ส่วนใหญ่เป็นงานวจิ ัยของสาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน จ�ำนวน 16 เรอื่ ง รองลงมาสาขาวิชาดนตรี ศกึ ษา จำ� นวน 2 เรือ่ ง 3) สถาบันของงานวิจยั พบวา่ งานวจิ ัยสว่ นใหญเ่ ป็นของมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม จำ� นวน 7 เรอื่ ง งานวจิ ยั ของจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั จำ� นวน 3 เรอื่ ง งานวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ 74 บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ

จ�ำนวน 2 เรื่อง 4) งานวจิ ัยส่วนใหญเป็นปี พ.ศ. 2554 จ�ำนวน 4 งานวิจยั ปี พ.ศ. 2557 จ�ำนวน 4 งานวจิ ยั ปี พ.ศ. 2553 จำ� นวน 3 เรื่อง งานวิจยั ปี พ.ศ. 2555 จำ� นวน 3 เรอื่ ง งานวิจยั ปี พ.ศ. 2560 จำ� นวน 3 เรื่อง งานวจิ ยั ปี พ.ศ. 2556 จำ� นวน 2 เรือ่ ง งานวิจยั ปี พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 2 เรอ่ื ง ดังตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 ดา้ นขอ้ มูลพื้นฐาน จ�ำนวนงานวจิ ยั คิดเป็นร้อยละ หวั ข้อ 10 41.66 7 29.17 ชอื่ หลักสูตร 7 29.14 1. หลักสูตรครศุ าสตรมหาบัณฑิต 16 66.66 2. หลักสตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต 2 8.32 3. หลักสูตรการศกึ ษามหาบณั ฑิต 1 4.17 สาขาวชิ าของงานวิจัย 1 4.17 1. งานวิจยั ในสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน 1 4.17 2. สาขาวิชาดนตรีศกึ ษา 1 4.17 3. สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารวจิ ยั และพัฒนาหลักสตู ร 1 4.17 4. สาขาวชิ าพฒั นาการศึกษา 1 4.17 5. สาขาวชิ าเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ 7 29.16 6. สาขาวิชาอาชีวะศึกษา 3 12.5 7. สาขาวิชาศิลปศึกษา 2 8.33 8. สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ศกึ ษา 1 4.17 สถาบันของงานวจิ ัย 1 4.17 1. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1 4.17 2. จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 1 4.17 3. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ 1 4.17 4. มหาวิทยาลัยธุรกจิ บัณฑติ ย์ 1 4.17 5. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร ี 1 4.17 6. มหาวิทยาลัยราชภฏั บ้านสมเดจ็ 1 4.17 7. มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร 1 4.17 8. มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร 1 4.17 9. มหาวิทยาลัยขอนแกน่ 10. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนอื 11. มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ 12. งานวจิ ัยของมหาวิทยาลยั หาดใหญ่ 13. มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธาน ี ปที ่ี 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 75

ตารางท่ี 1 (ต่อ) จำ� นวนงานวจิ ยั คิดเปน็ ร้อยละ 1 4.17 หวั ขอ้ 1 4.17 14. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 15. มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช 4 16.67 ปขี องงานวิจัย 3 12.5 1. งานวจิ ัยปี พ.ศ. 2557 3 12.5 2. งานวจิ ยั ปี พ.ศ. 2553 3 12.5 3. งานวจิ ยั ปี พ.ศ. 2555 2 4.17 4. งานวิจัยปี พ.ศ. 2560 2 8.33 5. งานวิจยั ปี พ.ศ. 2556 1 4.17 6. งานวิจยั ปี พ.ศ. 2561 1 4.17 7. งานวิจัยปี พ.ศ. 2548 1 4.17 8. งานวจิ ยั ปี พ.ศ. 2551 9. งานวจิ ัยปี พ.ศ. 2558 2. ด้านวตั ถปุ ระสงคข์ องงานวิจัย จากการศึกษาสังเคราะห์วัตถุประสงค์ของงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติ ตามแนวคดิ ของแฮรโ์ รว์ และการจดั การเรยี นรดู้ นตรตี ามแนวคดิ ของคารล์ ออรฟ์ จำ� นวน 24 เรอ่ื ง ผลการวจิ ยั พบว่า งานวจิ ัยท่ีเกีย่ วข้องกับการสอนทกั ษะปฏิบตั ิตามแนวคิดของแฮร์โรว์ มจี �ำนวน 16 เร่ือง จากการศึกษา สังเคราะห์วัตถุประสงค์ของงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของแฮร์ พบว่า เพือ่ ศกึ ษาความพึงพอใจของนกั เรยี น จ�ำนวน 14 เร่อื ง เพอื่ พฒั นาแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ จำ� นวน 12 เรอื่ ง เพื่อพัฒนาทักษะปฏิบตั ิ จ�ำนวน 8 เรอ่ื ง เพอ่ื ศกึ ษาคา่ ดัชนีประสทิ ธิผล จ�ำนวน 6 เรือ่ ง เพอ่ื เปรียบเทยี บ ผลสัมฤทธิ์ของนักเรยี นกอ่ นเรยี นและหลังเรยี นได้ จ�ำนวน 5 เรือ่ ง ดงั ตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 วตั ถปุ ระสงคข์ องงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวกับการสอนทกั ษะปฏบิ ัติตามแนวคิดของแฮร์ วัตถปุ ระสงคง์ านวจิ ยั จำ� นวนงานวิจัย คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.67 1. เพือ่ ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนทม่ี ีตอ่ การจัดกจิ กรรม 4 การเรยี นรทู้ ักษะปฏบิ ตั ิตามแนวคดิ ของแฮร์โรว์ 3 12.5 2. เพ่อื พฒั นาแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู กั ษะปฏิบัตติ าม 3 แนวคดิ ของแฮร์โรว์ 14 12.5 3. เพอ่ื พัฒนาทักษะปฏบิ ตั ิตามแนวคิดของแฮร์โรว์ 87.5 4. เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ีตอ่ การจดั กิจกรรม การเรียนรู้ทกั ษะปฏบิ ตั ิตามแนวคดิ ของแฮรโ์ รว์ 76 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต

ตารางที่ 2 (ต่อ) วตั ถปุ ระสงค์งานวจิ ัย จ�ำนวนงานวิจัย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75 5. เพอ่ื พฒั นาแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ กั ษะปฏบิ ัต ิ 12 ตามแนวคดิ ของแฮรโ์ รว์ 50 6. เพ่อื พฒั นาทักษะปฏิบตั ิตามแนวคิดของแฮรโ์ รว์ 8 37.5 7. เพ่อื ศึกษาคา่ ดชั นีประสิทธิผลการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ทู ักษะ 6 ปฏบิ ตั ิตามแนวคดิ ของแฮรโ์ รว์ 31.25 8. เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธขิ์ องนักเรยี นกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน 5 ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ กั ษะปฏบิ ตั ติ ามแนวคดิ ของแฮรโ์ รว์ งานวิจัยที่เก่ียวกับการจัดการเรียนรู้วิชาดนตรีตามแนวคิดของ คาร์ล ออร์ฟ มีจ�ำนวน 8 เรื่อง จากการศกึ ษาสงั เคราะหว์ ตั ถปุ ระสงคข์ องงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การจดั การเรยี นรดู้ นตรตี ามแนวคดิ ของ คารล์ ออร์ฟ พบว่า เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน จ�ำนวน 5 เพ่ือเปรียบเทียบ ทักษะปฏบิ ตั ิของผเู้ รียนก่อนเรยี นและหลังเรียน จำ� นวน 4 งานวจิ ยั เพ่อื เปรยี บเทยี บคดิ สร้างสรรค์ของผู้เรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียน จำ� นวน 4 งานวิจัย เพ่อื ศึกษาความพงึ พอใจของผเู้ รียน จ�ำนวน 4 งานวจิ ัย เพื่อพัฒนา แผนจดั กจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้วธิ กี ารสอนดนตรีของคารล์ ออร์ฟ จ�ำนวน 5 งานวิจัย ดงั ตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 วัตถปุ ระสงคข์ องงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วกับวิธีการสอนดนตรีตามแนวคิดของ คารล์ ออร์ฟ วัตถุประสงคง์ านวิจัย จ�ำนวนงานวจิ ัย คิดเป็นร้อยละ 62.5 1. เพือ่ เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน 5 50 2. เพื่อเปรยี บเทียบทกั ษะปฏบิ ตั ขิ องผู้เรียนก่อนเรยี นและหลังเรียน 4 50 3. เพือ่ เปรียบเทียบคดิ สร้างสรรค์ของผเู้ รียนก่อนเรยี นและหลงั เรยี น 4 12.5 4. เพอ่ื เปรียบเทียบความเชือ่ ม่ันของผเู้ รยี นก่อนเรียนและหลังเรียน 1 62.5 5. เพอ่ื ศึกษาทกั ษะทางดนตรขี องผูเ้ รยี น 5 25 6. เพอ่ื ศกึ ษาทกั ษะทางนาฏศิลปข์ องผู้เรียน 2 50 7. เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของผเู้ รยี น 4 62.5 8. เพอ่ื พฒั นาแผนจดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้วิธกี ารสอนดนตร ี 5 ของคาร์ล ออรฟ์ 1 12.5 9. เพ่อื ใชใ้ นวชิ าการบรรเลงเคร่ืองดนตรรี ะนาดและฆ้องวงใหญ่ 1 12.5 10. เพือ่ ใช้ในวิชาการเปา่ ขล่ยุ ไทย 1 12.5 11. เพอ่ื เปรียบเทียบระหวา่ งวธิ กี ารสอนดนตรีของคาร์ล ออรฟ์ กบั วิธีสอนดนตรีแบบพื้นฐาน ปีที่ 17 ฉบบั ที่ 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 77

3. ดา้ นวิธกี ารด�ำเนนิ การวจิ ัย จากการศกึ ษาสังเคราะหง์ านวจิ ัยท่เี ผยแพร่ในฐานข้อมูล ThaiLis ระหว่างปี พ.ศ. 2548 – 2561 การเลอื กใชป้ ระชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ งทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั จากงานวจิ ยั ทงั้ 24 เรอ่ื ง ดงั น้ี จากการศกึ ษาสงั เคราะห์ 1) การเลือกใช้ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย พบว่า ส่วนใหญ่เลือกใช้กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 22 เร่ือง การเลือกใชป้ ระชากรทง้ั หมด จ�ำนวน 2 เรื่อง 2) เทคนคิ การกำ� หนดกล่มุ ตัวอย่างในงานวิจัย พบวา่ อนั ดบั 1 การสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) จ�ำนวน 9 เรือ่ ง อนั ดบั 2 การสุ่มอย่างเจาะจง (Purposive Sampling) จ�ำนวน 7 เรอ่ื ง 3) ประเภทของงานวจิ ัย พบว่า เป็นงานวิจยั เพ่อื พัฒนา จ�ำนวน เรอ่ื ง 15 และเปน็ งานวจิ ัยเชงิ ทดลอง จำ� นวน 9 เรอ่ื ง 4) กรอบแนวคดิ ในการวิจัย งานวิจัยส่วนใหญ่มีการน�ำเสนอ กรอบแนวคดิ ทใี่ นการวจิ ยั โดยใช้ทฤษฎขี องคนอื่น 23 เรอื่ ง สงั เคราะห์เปน็ กรอบแนวคิดของตนเอง จำ� นวน 1 5) งานวจิ ยั ที่เก่ยี วข้องในงานวจิ ยั จำ� นวน 24 เรื่อง มกี ารอา้ งองิ งานวิจัยที่เกีย่ วข้อง 281 รายการ ส่วนใหญ่ เปน็ การอา้ งองิ งานวจิ ยั ภายในประเทศ 190 รายการ และมอี า้ งองิ งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ 91 รายการ 6) รายการ อ้างองิ ท้ายงานวจิ ยั 24 เรอ่ื ง จำ� นวน 1,327 รายการ อันดับ 1 อ้างองิ จากตำ� ราและ ส่อื ส่งิ พิมพ์ภายในประเทศ จำ� นวน 963 รายการ อนั ดับ 2 อ้างองิ จากต�ำรา สอ่ื สิง่ พิมพ์ต่างประเทศ จำ� นวน 322 รายการ อันดบั 3 อา้ งอิง จากเวบ็ ไซตภ์ ายในประเทศ จำ� นวน 35 รายการ 4 อนั ดับ 4 อ้างอิงจากเวบ็ ไซตต์ ่างประเทศ จำ� นวน 7 รายการ 7) เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการวิจยั จำ� นวน 75 รายการ ประกอบดว้ ย อนั ดบั 1 แผนการจดั การเรียนรู้ จำ� นวน 24 รายการ 2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ จ�ำนวน 18 รายการ อนั ดบั 3 แบบประเมินความพงึ พอใจ จำ� นวน 14 รายการ อนั ดบั 4 แบบวดั ทกั ษะปฏบิ ตั ิ จำ� นวน 12 รายการ อนั ดบั 5 แบบวดั ทกั ษะความคดิ สรา้ งสรรค์ จำ� นวน 4 รายการ อันดับ 6 แบบสงั เกตพฤตกิ รรม จ�ำนวน 3 รายการ 8) การหาคุณภาพเครือ่ งมอื พบว่า มกี ารหา คณุ ภาพเครอื่ งมอื จำ� นวน 19 และไมม่ กี ารหาคณุ ภาพของเครอื่ งมอื จำ� นวน 5 เรอื่ ง 9) วธิ ที ใ่ี ชใ้ นการหาคณุ ภาพ ของเคร่ืองมือ อันดบั 1 การหาคา่ ความเทย่ี งตรง จำ� นวน 18 เรอ่ื ง อันดับ 2 การหาคา่ ความเชื่อมั่น 15 เรอ่ื ง อนั ดับ 3 การหาประสทิ ธิภาพชดุ การสอน จ�ำนวน 11 เร่อื ง 10) สถติ ิทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลในงานวิจยั 1 ค่าความถ่ี รอ้ ยละ ค่าเฉลยี่ จำ� นวน 21 เร่ือง 2 เปรียบเทยี บค่าเฉลี่ย 2 กล่มุ จ�ำนวน 4 เร่ือง 11) พน้ื ท่ใี นการ เกบ็ ขอ้ มลู วจิ ัย อนั ดับ 1 ห้องเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 จำ� นวน 5 เรื่อง อนั ดับท่ี 2 ห้องเรียนชน้ั ประถมศกึ ษา ปที ี่ 6 จำ� นวน 4 เรอ่ื ง หอ้ งเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6 จำ� นวน 4 เรอื่ ง หอ้ งเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 จำ� นวน 4 เรอ่ื ง อนั ดับที่ 3 หอ้ งเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จำ� นวน 2 เร่อื ง 12) การทดสอบสมมตฐิ านในการวิจัย งาน วจิ ยั 24 เรอื่ ง สว่ นใหญ่เปน็ งานวจิ ยั ท่มี กี ารทดสอบสมมติฐาน จ�ำนวน 18 เร่อื ง และ ผลการทดสอบสมมติฐาน การวจิ ยั ในงานวจิ ยั ทมี่ กี ารสมมตฐิ าน จำ� นวน 18 เรอื่ ง มผี ลการทดสอบเปน็ ไปตามสมมตฐิ าน จำ� นวน 18 เรอื่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ดังตารางท่ี 4 ตารางท่ี 4 ดา้ นวิธีการดำ� เนินการวจิ ัย จำ� นวนงานวจิ ัย คิดเป็นรอ้ ยละ 22 91.67 หวั ขอ้ ด้านวิธกี ารด�ำเนนิ งานวจิ ยั 2 8.33 การเลอื กใชก้ ล่มุ ตวั อย่าง 1. การเลือกใช้กล่มุ ตัวอย่าง 2. การเลอื กใช้ประชากรทั้งหมด 78 บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ

ตารางที่ 4 (ต่อ) หัวข้อดา้ นวิธกี ารดำ� เนนิ งานวิจยั จ�ำนวนงานวจิ ัย คดิ เป็นร้อยละ เทคนิคการกำ� หนดกลุ่มตวั อยา่ ง 9 37.5 1. การสุ่มแบบกลมุ่ (Cluster Random Sampling) 7 29.17 2. การสมุ่ อยา่ งเจาะจง (Purposive Sampling) 8.33 3. การสมุ่ อยา่ งง่าย (Simple random Sampling) 2 4.17 4. การสุม่ แบบเครซี่และมอร์แกน (Krejice and Morgan) 1 20.89 5. ไม่ระบวุ ธิ กี ารเลือกกลุม่ ตวั อย่าง 5 62.5 ประเภทของงานวิจัย 15 37.5 1. งานวิจัยเพ่ือพัฒนา 9 2. งานวจิ ัยเชิงทดลอง 95.89 4.17 กรอบแนวคดิ ของงานวจิ ยั 23 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1. การนำ� เสนอกรอบแนวคิดที่ในการวจิ ัย โดยใช้ทฤษฎีของคนอ่นื 1 67.62 2. สังเคราะห์เปน็ กรอบแนวคิดของตนเอง 32.28 งานวิจัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง รายการ 72.57 1. อา้ งองิ งานวิจัยภายในประเทศ 190 24.26 2. งานวจิ ยั ต่างประเทศ 91 2.64 0.53 งานวิจยั ท่ีน�ำมาสังเคราะห์ 963 1. จากตำ� ราและ สื่อสิง่ พิมพ์ภายในประเทศ 322 32 2. จากต�ำรา สื่อส่ิงพมิ พ์ต่างประเทศ 24 3. จากเว็บไซต์ภายในประเทศ 35 18.67 4. จากเว็บไซต์ตา่ งประเทศ 7 16 5.33 เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ยั 24 4 1. แผนการจดั การเรยี นรู้ 18 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ ิ 14 79.16 3. แบบประเมินความพงึ พอใจ 12 20.33 4. แบบวัดทกั ษะปฏบิ ตั ิ 4 5. แบบวัดทกั ษะความคดิ สร้างสรรค ์ 6. แบบสงั เกตพฤติกรรม 3 การหาคณุ ภาพเครอ่ื งมอื จำ� นวนงานวิจยั 1. มกี ารหาคุณภาพเคร่ืองมอื 19 2. ไม่มกี ารหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื 5 ปที ่ี 17 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 79

ตารางท่ี 4 (ต่อ) จำ� นวนงานวิจยั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18 85 หวั ข้อดา้ นวธิ ีการด�ำเนินงานวจิ ยั 15 62.5 11 45.89 วิธีทใ่ี ช้การหาคุณภาพเครอ่ื งมอื 21 87.5 1. การหาค่าความเที่ยงตรง 4 12.5 2. การหาคา่ ความเชอ่ื ม่นั 4 16.67 3. การหาประสทิ ธภิ าพชุดการสอน 4 16.67 สถติ ทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูลในงานวจิ ัย 4 16.67 1. ค่าความถ่ี ร้อยละ คา่ เฉลี่ย 5 20.83 2. เปรียบเทียบค่าเฉลย่ี 2 กล่มุ 2 8.33 พื้นที่ในการเก็บขอ้ มลู วจิ ัย 1 4.17 1. หอ้ งเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 1 4.17 2. ห้องเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6 1 4.17 3. ห้องเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 1 4.17 4. ห้องเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 1 4.17 5. หอ้ งเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 18 75 6. หอ้ งเรยี นชัน้ อนบุ าลปที ่ี 2 6 25 7. หอ้ งเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 8. หอ้ งเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 9. ห้องเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 10. คณะครอู าจารย์ การทดสอบสมมติฐานในการวจิ ยั 1. มกี ารทดสอบสมมตฐิ าน 2. ไมม่ ีการทดสอบสมมตฐิ าน 4. ดา้ นผลการศึกษา รปู แบบการสอนทักษะปฏิบตั ทิ ่ีใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน คอื รูปแบบการสอนทักษะปฏิบตั ิ ตามแนวคดิ ของแฮรโ์ รว์ เรม่ิ จากการปฏบิ ตั ทิ ม่ี รี ายละเอยี ดของขนั้ ตอนทน่ี อ้ ยไปจนถงึ การปฏบิ ตั ทิ ม่ี รี ายละเอยี ด ของขนั้ ตอนทม่ี าก โดยมขี น้ั ตอนดงั น้ี การเลยี นแบบ การลงมอื กระทำ� ตามคำ� สงั่ การกระทำ� อยา่ งถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ การแสดงออกและการกระทำ� อยา่ งเป็นธรรมชาติ นยิ มนำ� มาใชใ้ นวิชา ดนตรี ศิลปะ เทคโนโลยีและการงาน อาชพี วธิ กี ารสอนดนตรตี ามแนวคดิ ของคารล์ ออรฟ์ นนั้ เปน็ ทย่ี อมรบั ของทวั่ โลก โดยใหผ้ เู้ รยี นมพี ฒั นาทกั ษะ ทางดา้ นดนตรี และสามารถพฒั นา ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องผเู้ รยี นได้ เนอื่ งจากวธิ กี ารสอนของคารล์ ออรฟ์ จะ พฒั นาทักษะจากงา่ ยไปหายาก เคาะจังหวะ การแยกเสยี งสงู ต่�ำ การเรียนรู้สญั ลักษณ์โน้ตสากล การอา่ นโนต้ สากล การปฏบิ ัตเิ ครอ่ื งดนตรี คารล์ ออรฟ์ ใหค้ วามสนใจจากเร่อื งพนื้ ฐานทางดนตรี เมอื่ ผเู้ รยี นมพี น้ื ฐานทาง 80 บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต

ดนตรีแล้ว ผู้เรียนสามารถน�ำความรู้น้ันไปพัฒนาทักษะที่ยากข้ึนไปอีก และให้ผู้เรียนมีการแสดงออกทักษะ ทางดนตรใี นสถานการณต์ ่าง ๆ อภิปรายผล การสังเคราะห์งานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการสอนทักษะปฏิบัติ และวิธีการสอนดนตรีของคาร์ล ออร์ฟ ระหว่างปี พ.ศ. 2548 – 2561 อภปิ รายผลของการวจิ ัยได้ 4 ประเดน็ ดังน้ี 1. ดา้ นขอ้ มูลพ้นื ฐาน งานวิจยั ท่ีไดร้ ับเผยแพรใ่ นฐานขอ้ มูล ThaiLis ระหว่างปี พ.ศ. 2848 – 2561 จำ� นวน 24 เร่อื ง ส่วนใหญเ่ ปน็ งานวจิ ัยในสาขาวิชาหลักสตู รและการสอน เนอ่ื งจากหลักสูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ หรือ ศกึ ษา ศาสตรมหาบณั ฑติ มกี ารเปดิ สอนในสาขาวชิ าหลกั สตู รและการสอน โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหผ้ เู้ รยี นนนั้ มคี วาม รคู้ วามเขา้ ใจหลกั การและทฤษฎขี องหลกั สตู ร การจดั เรยี นการสอน และการนำ� ความรไู้ ปปรบั ใชจ้ รงิ เพอื่ ใหก้ าร จดั การเรยี นรไู้ ดเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ แกผ่ เู้ รยี น ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของ Sukhothai Thammathirat Open University (2012) ไดศ้ กึ ษาวจิ ยั เรอื่ งมาตรฐานวชิ าชพี ครพู บวา่ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ มี 6 ดา้ น 1) คณุ ธรรม จริยธรรม 2) ความเป็นผู้น�ำ 3) การท�ำงานเป็นทีม 4) การพัฒนาตนเอง 5) การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ 6) การมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิในการปฏบิ ัตงิ าน 2. ดา้ นวตั ถุประสงคข์ องงานวจิ ัย จากการสังเคราะห์วัตถุประสงค์ของงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการสอนทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของ แฮร์โรว์ และวธิ กี ารสอนดนตรีของคารล์ ออรฟ์ ส่วนใหญเ่ พอื่ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของผ้เู รยี น กอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นโดยการใชร้ ปู แบบการเรยี นการสอนทกั ษะปฏบิ ตั ขิ องแฮรโ์ รว์ เนอ่ื งจากมงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี น เกิดความรู้ ความเข้าใจจาการลงมือปฏิบัติทักษะ โดยจากการเรียนเลียนแบบและฝึกฝนจากง่ายไปหายาก จนเกดิ ความเขา้ ใจในขนั้ ตอนของทกั ษะปฏบิ ตั นิ นั้ และฝกึ ฝนใหเ้ กดิ ความชำ� นาญจนสามารถแสดงออกไดอ้ ยา่ ง เปน็ ธรรมชาติ ซงึ่ การวดั ผลสมั ฤทธข์ิ องผเู้ รยี น จะมกี ารวดั ผลกอ่ นเรยี นเพอื่ วดั ทกั ษะเดมิ ของผเู้ รยี นอยใู่ นระดบั ใด เมอื่ ทำ� การสอนทกั ษะปฏบิ ตั ิ และมกี ารประเมนิ ผเู้ รยี นตามสภาพจรงิ แลว้ จงึ ทำ� การทดสอบหลงั เรยี น โดยแบบ ทดสอบอาจเปน็ แบบทดสอบการปฏบิ ตั ขิ องผเู้ รยี น ซงึ่ ครจู ะมกี ารกำ� หนดเกณฑก์ ารประเมนิ วา่ ผเู้ รยี นสามารถ ปฏิบตั ิไดอ้ ยูท่ รี่ ะดบั ใด การทดสอบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของผ้เู รยี นช่วยให้เหน็ พฒั นาการของผู้เรียน และ จะท�ำใหท้ ราบผลการทดลองทฤษฎีว่าไดผ้ ลมากนอ้ ยเพียงใด สอดคลอ้ งกับการศึกษาของ Yosida (2011) ได้ กลา่ ววา่ ผลสมั ฤทธห์ิ มายถงึ ความรคู้ วามสามารถและทกั ษะในเนอ้ื หาวชิ าทเ่ี รยี นมาแลว้ วา่ เกดิ การเรยี นรเู้ ทา่ ใด โดยสามารถวดั ได้จากแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ในลกั ษณะต่าง ๆ และพิจารณาจากคะแนนทีไ่ ด้ 3. ดา้ นวธิ กี ารด�ำเนนิ การวจิ ยั จากการศกึ ษางานวิจยั ที่เผยแพรใ่ นฐานขอ้ มูล ThaiLis ระหวา่ งปี พ.ศ. 2548 – 2561 จำ� นวน 24 เรอื่ ง งานวจิ ยั สว่ นใหญเ่ ลอื กใช้กลุ่มตัวอย่าง เนือ่ งจากการเลอื กใชป้ ระชากรทั้งหมดอาจท�ำการเก็บขอ้ มูล นน้ั ใชเ้ วลาและคา่ ใช้จา่ ยสงู และในเวลาทจ่ี ำ� กดั อาจท�ำใหเ้ กบ็ รวบรวมข้อมลู อาจไมค่ รบถว้ น ซงึ่ กล่มุ ตวั อยา่ งท่ี มีการคัดเลือกจากประชากรมีความส�ำคัญต่อการท�ำงานวิจัย เพื่อน�ำผลที่ได้ไปสรุปอ้างอิงถึงประชากรได้ เทคนคิ การเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งในงานวจิ ยั ทน่ี ำ� มาสงั เคราะห์ สว่ นใหญเ่ ปน็ การสมุ่ แบบกลมุ่ (Cluster Random ปที ี่ 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 81

Sampling) สอดคล้องกับการศึกษาของ Srisawat (2011) การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยต้องการศึกษากลุ่ม ตวั อยา่ งโดยการหากลมุ่ ตวั แทนจากประชากรทง้ั หมด ซงึ่ ใชว้ ธิ กี ารสมุ่ แบบกลมุ่ (Cluster Random Sampling) โดยการแบง่ ประชากรออกเปน็ ระดบั ของพน้ื ทแี่ ลว้ มกี ารสมุ่ เลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งตามระดบั ทผี่ วู้ จิ ยั เปน็ คนกำ� หนด เช่น จากระดับจังหวัด เขตพื้นท่ีการศึกษา โรงเรียน ระดับชั้น ห้องเรียน เป็นต้น กรอบแนวคิดในการวิจัย สว่ นใหญม่ กี ารนำ� เสนอกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั โดยใชท้ ฤษฎขี องคนอน่ื โดยจะนำ� แนวคดิ และวธิ กี ารบางสว่ น เข้ามาปรบั ใชก้ บั การจดั การเรยี นการสอนกบั ผูเ้ รยี นโดยการน�ำทฤษฎี หรือแนวคดิ นนั้ เปน็ ทย่ี อมรบั เครอ่ื งมือ ที่ใช้ในการวิจัยส่วนใหญ่เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ เพ่ือให้ได้ค�ำตอบตาม วัตถุประสงค์ ซงึ่ เป็นเครือ่ งมอื หน่งึ ในการวจิ ัย ซงึ่ จะต้องมีการหาคณุ ภาพของเคร่ืองมอื กอ่ น โดยการวดั ความ สอดคล้องกับเนื้อหาสาระ หรือวัตถุประสงค์การเรียนรายวิชาน้ัน ๆ ด้วยการหาค่า IOC (Index of Item- Objective Congruence) ซ่งึ เป็นการหาคา่ ความเที่ยงตรงเป็นรายข้อโดยมีผูเ้ ชี่ยวชาญพิจารณา สอดคล้อง กบั การศกึ ษาของ Ongiem (2018) ได้กลา่ วว่า ความเทย่ี งตรง ความเช่อื มัน่ ความเป็นปรนยั ความยากง่าย และอ�ำนาจจ�ำแนก เป็นคุณภาพพ้ืนฐานของเครื่องมือวิจัย ที่ผู้วิจัยจ�ำเป็นต้องรายงานกระบวนการอย่างเป็น ข้นั ตอนโดยละเอยี ด ถูกต้องตามหลกั วิชาการและสถิติ เพอ่ื ข้อมูลมคี วามน่าเช่อื ถือ มีความคลาดเคลื่อนนอ้ ย และผลงานวิจยั มีความเที่ยงตรงสอดคลอ้ งกับเรอ่ื งท่ตี ้องการศึกษา 4. ด้านผลการวจิ ยั จากการศึกษาพบว่า รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน คือ รูปแบบ การสอนทกั ษะปฏิบตั ติ ามแนวคดิ ของแฮรโ์ รว์ เรม่ิ จากการปฏบิ ตั ขิ ั้นตอนทม่ี ีรายละเอยี ดนอ้ ยไปจนถงึ ขน้ั ตอน ทมี่ รี ายละเอยี ดทมี่ าก โดยมี 5 ขน้ั ตอน 1. การเลยี นแบบ ขน้ั นคี้ รสู าธติ ทกั ษะใหผ้ เู้ รยี นสงั เกตทกั ษะวา่ มขี นั้ ตอน อยา่ งไร และผเู้ รยี นสามารถบอกขนั้ ตอนหลกั ๆ ของทกั ษะปฏบิ ตั ไิ ดถ้ งึ จะไมส่ มบรณู ก์ ต็ าม 2. การลงมอื กระทำ� ตามค�ำส่ัง ครูให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะตามที่ครูสอนอย่างเป็นข้ันตอน การลงมือปฏิบัตินี้ถึงจะไม่สมบูรณ์ แตผ่ เู้ รยี นจะไดร้ บั ประสบการณใ์ นการลงมอื ปฏบิ ตั แิ ละรสู้ ง่ิ ทบ่ี กพรอ่ ง สามารถนำ� ไปปรบั แกไ้ ขได้ 3. การกระทำ� อย่างถูกต้องสมบูรณ์ ผู้เรียนฝึกฝนทักษะปฏิบัติได้อย่างถูกต้องสมบรูณ์ได้ด้วยตนเอง 4. การแสดงออกเป็น ขั้นทีใ่ หผ้ ูเ้ รยี นแสดงทักษะทฝ่ี ึกฝน และน�ำมาประยุกต์ตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยผเู้ รยี นอาจมกี ารผสมผสาน ทักษะอื่น ๆ เข้ามาในการปฏิบัติ 5. การกระท�ำอย่างเปน็ ธรรมชาติ เป็นขน้ั ทผ่ี เู้ รียนสามารถแสดงออกทักษะ ปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งเปน็ ธรรมชาติ สมบรู ณ์ นยิ มนำ� มาใชใ้ นวชิ า ดนตรี ศลิ ปะ เทคโนโลยแี ละการงานอาชพี สอดคลอ้ ง กบั การศกึ ษาของ Sinthanachai (2011) การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ตามแนวคดิ พฒั นาทกั ษธปฏบิ ตั ขิ องแฮรโ์ รว์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเซ้ิงศูนย์ศิลป์ดินปั้นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 เป็นการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะปฏิบัติอย่างมีข้ันตอน ท�ำให้นักเรียนมีความสุข เกดิ ความม่นั ใจ และกลา้ แสดงออก ส่งผลให้ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสูงขนึ้ วิธีการสอนดนตรีตามแนวคดิ ของ คารล์ ออรฟ์ นนั้ เปน็ ทย่ี อมรบั ของทว่ั โลก โดยใหผ้ เู้ รยี นมพี ฒั นาทกั ษะทางดา้ นดนตรี และสามารถพฒั นาความคดิ สร้างสรรคข์ องผ้เู รียนได้ เนือ่ งจากวิธกี ารสอนของคาร์ล ออร์ฟ จะพัฒนาทักษะจากง่ายไปหายาก เริม่ จากการ เคาะจังหวะ การแยกเสียงสูงต�่ำ การเรียนรู้สัญลักษณ์โน้ตสากล การอ่านโน้ตสากล การปฏิบัติเครื่องดนตรี คารล์ ออรฟ์ ใหค้ วามสนใจจากเรอื่ งพนื้ ฐานทางดนตรี เมอื่ ผเู้ รยี นมคี วามรเู้ กย่ี วกบั พน้ื ฐานแลว้ ผเู้ รยี นสามารถ น�ำความรู้น้ันไปพัฒนาทักษะท่ียากขึ้นไปอีก จึงท�ำให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการทางด้านดนตรีได้เป็นอย่างดี สอดคลอ้ งกับการศกึ ษาของ Laithong (2017) การจัดการเรียนรู้วิชาดนตรีตามแนวคิดของคารล์ ออรฟ์ นัน้ 82 บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ

เปน็ การจดั การเรยี นรทู้ ม่ี เี นอื้ หาสาระทสี่ อดคลอ้ งกบั พฒั นาการของนกั เรยี นจากประสบการณเ์ รยี นรู้ และลงมอื ปฏบิ ตั ิ จงึ ทำ� ใหน้ กั เรยี นเกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั องคป์ ระกอบทางดนตรดี า้ นตา่ ง ๆ เปน็ วถิ ที างแหง่ การนำ� ไปสู่ความร้คู วามเข้าใจในเชิงคุณภาพของสุนทรภี าพทางดนตรีเกดิ ความซาบซง้ึ ในดนตรีอยา่ งแท้จรงิ ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำ� ผลการวิจยั ไปใช้ 1. การน�ำผลจากการสังเคราะห์งานวิจยั ท่ีเกยี่ วข้องกบั การสอนทักษะปฏบิ ตั ิ โดยการนำ� รปู แบบการ สอนทกั ษะปฏบิ ตั ขิ อง แฮรโ์ รว์ ไปปรบั ใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ พฒั นาทกั ษะปฏบิ ตั ขิ องผเู้ รยี น โดย ท�ำการศึกษาข้ันตอนกระบวนการเรียนการสอน และจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน สอดคล้อง กบั เนอื้ หาและวตั ถุประสงคใ์ นการจดั การเรียนการสอน 2. การนำ� ผลจากการสงั เคราะหง์ านวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั วธิ กี ารสอนดนตรขี องคารล์ ออรฟ์ โดยการนำ� วธิ กี ารสอนดนตรขี องคารล์ ออร์ฟ ไปปรับใช้ในรายวิชาดนตรี เพ่ือพัฒนาทักษะพ้นื ฐานทางดนตรใี หผ้ เู้ รยี นมี ความเขา้ ใจในเรอื่ งจงั หวะ ระดับเสียง สญั ลกั ษณต์ วั โน้ต การอา่ นโน้ต ข้อเสนอแนะสำ� หรบั การวจิ ยั คร้งั ต่อไป 1. ควรศึกษาและรวบรวมข้อมูลงานวิจัยจากฐานข้อมูลอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น ฐานข้อมูลจาก เช่น ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เพื่อเปรียบเทียบข้อค้นพบท่ีได้จากการศึกษาและแนวโน้มของหัวข้อ ทท่ี �ำการวิจัย และหาข้อสรปุ ของงานวิจยั ได้ชัดเจนมากยิง่ ข้ึน รวมถึงรายวิชาท่ีเนน้ ทักษะปฏิบัติ เชน่ การงาน อาชีพและเทคโนโลยี 2. การสังเคราะห์งานวิจัยท่ีศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบ อื่น ๆ เชน่ การพฒั นาทักษะปฏิบัตขิ องซิมพซ์ นั การสอนดนตรีตามแนวคดิ ของโคดาย เพื่อสง่ เสริมผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นรู้วิชาดนตรี และพัฒนาทกั ษะทางดา้ นดนตรขี องนักเรียน เอกสารอา้ งอิง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552). หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ: ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. จุไรรัตน์ สุดรุ่ง. (2552). การสังเคราะห์วิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตที่เกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั จินตวีร์ โยสีดา. (2554). การพัฒนาชุดกิจกรรมสืบเสาะหาความรู้เรื่องไบโอดีเซล ส�ำหรับนักเรียน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย. สารนพิ นธป์ รญิ ญาการศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ าเคมี บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรต. ฌานดนู ไล้ทอง. (2560). ผลการใช้ชุดแบบฝกึ ตามแนวคิดของคาร์ล ออรฟ์ เพ่ือพฒั นาความเข้าใจทางดา้ น จังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิตระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรศี ึกษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ณรงค์ ศรสี วัสดิ.์ (2554). วิธีการวิจยั ทางสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ ปีที่ 17 ฉบบั ที่ 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 83

เทพศักด์ิ บณุ ยรัตพันธ.์ (2558). การสงั เคราะหง์ านวจิ ยั . นนทบรุ :ี สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัย สุโขทยั ธรรมาธิราช. นงลกั ษณ์ วิรัชชัย และทิศนา แขมมณ.ี (2546). เกา้ กา้ วส่คู วามสำ� เร็จในการวจิ ัยปฏบิ ตั ิการในชั้นเรียนและ การสังเคราะห์งานวิจัย. กรุงเทพฯ: สถาบันพฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ. พรทิพย์ พันตา. (2554). การสังเคราะห์งานวิจัยนวัตกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์การวิเคราะห์ อภิมาน และการวิเคราะห์กลุ่มแฝง. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิธวี ิทยาการวจิ ัยการศึกษา คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. พรทิพย์ สินธนันชัย. (2554). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติแฮร์โรว์ กลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ เรอ่ื ง เซง้ิ ศนู ย์ศิลป์ดนิ ปน้ั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2. การศึกษาค้นควา้ อิสระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2555). มาตรฐานวิชาชีพครูการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. กรุงเทพฯ: ส�ำนัก เลขาธกิ ารครุสภา. เวชฤทธิ์ อังกนภัทรขจร. (2546). การสังเคราะห์งานวิจัยที่เก่ียวข้องกับมโนทัศน์ที่คลาดเคล่ือนในวิชา คณิตศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร์ คณะ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ศกร พรหมทา. (2557). การสังเคราะวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร คณะ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. สภุ ัชชา โพธ์ิเงิน. (2554). การนำ� เสนอรปู แบบการจดั การเรยี นรูว้ ิชาดนตรสี ำ� หรับนักเรียนระดับชั้นประถม ศึกษาปที ี่ 4 – 6. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาดนตรีศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สวุ มิ ล ว่องวาณิช. (2545). เคลด็ ลบั การท�ำวิจยั ในช้ันเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์อักษรไทย. สริ วิ รรณ จนั ทรก์ ลู . (2554). การสงั เคราะหว์ ทิ ยานพิ นธท์ างการศกึ ษาคณติ ศาสตรท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั ทกั ษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา คณติ ศาสตร์ คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . อารยา องคเ์ อยี่ ม. (2561). การตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื วจิ ยั . บทพนื้ ฟวู ชิ าการ ภาควชิ าวสิ ญั ญวี ทิ ยา คณะ แพทย์ศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหิดล. References Harrow. (1972). A Taxonomy of the Psychomotor Domain: A Guide for Developing Behavioral Objectives. New York Longman. 84 บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ

Translated Thai Referencess Aunganapattarakajohn, V. (2003). A Synthesis of Research on Misconceptions in Mathematics. Thesis Master of Education Mathematics Education Faculty of Education. Chulalongkorn University. (in Thai) Jantrkool, S. (2011). A Synthesis of Mathematics Education Theses on Mathematical Skills and Processes. Thesis Master of Education Mathematics Education Faculty of Education. Chulalongkorn University. (in Thai) Laithong, C. (2017). Effects of Exercises Based on Carl Orff’s Approach to Develop Rhythmic Understanding in Elementary School Band Students. Thesis Master of Education Music Education Faculty of Education. Chulalongkorn University. (in Thai) Ministry of Education. (2009). Basic Core Education Course 2008. Bangkok: Agricultural Cooperative Assembly of Thailand. (in Thai) Ongiem, A. (2018). Validation of the Test. Review Article Department of Anesthesiology Faculty of Medicine Siriraj Hospital. Mahidol University. (in Thai) Pongern, S. (2011). A Proposed Model of Organizing Music Learning Courses for Grades 4 to 6 Students. Thesis Master of Education Music Education Faculty of Education. Chulalongkorn University. (in Thai) Promata, S. (2014). Synthesis of Theses on Local Curriculum Development in Thailaind. Thesis Master of Education Supervision and Curriculum Faculty of Education. Chulalongkorn University. (in Thai) Punta, P. (2011). A Synthesis of Mathematics Teaching Innovation Research: Meta – Analysis and Latent Class Analysis. Thesis Master of Education Research Methodology Department Educational Faculty of Education. Chulalongkorn University. (in Thai) Punyaratabandhu, T. (2015). Research Synthesis. Nonthaburi: School of Management Science Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai) Sinthanachai, P. (2011). Results of Learning Activities Based on The Conceptual Development Practical Skills of Harrow Arts Department Story of Clay Art Center Secondary 2. Independent Study Report Master of Education Curriculum and Instruction Faculty of Education. MahasaraKham University. (in Thai) Srisawat, N. (2011). Sociological Research Methods. Bangkok: Kasetsart University Press. (in Thai) ปที ่ี 17 ฉบบั ที่ 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 85

Sudrung, J. (2009). Synthesis of Master's Thesis in Educational Supervision. Bangkok: Chulalongkorn University. (in Thai) Sukhothai Thammathirat Open University. (2012) Teachers in Basic Education. Bangkok: Secretariat Office of The Teacher’ Council oF Thailand. (in Thai) Wiratchai, N. Khemmani, T. (2003), Nine Steps to Success in Classroom Research And research synthesis. Bangkok: Institute of Academic Development. Wongwanich, S. (2002). Tips for Doing Classroom Research. Bangkok: Thai font printing house. (in Thai) Yosida, J. (2011). The Development of Inquiry Process Activity Packages on Biodiesel Topic for High School Students. Master’s Project Education Chemistry Graduate School. Srinakharinwirot University. (in Thai) คณะผเู้ ขยี น นายนที ปิ่นวิไลรตั น์ บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เลขท่ี 95/268 หมูท่ ี่ 1 ตำ� บลบ้านใหม่ อำ� เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73110 e-mail: [email protected] ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. อนิ ทิรา รอบรู้ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา เลขที่ 1 ถนนอทู่ องนอก แขวงดสุ ิต เขตดุสติ กรงุ เทพมหานคร 10300 e-mail: [email protected] 86 บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ

สภาพและปญั หาการใชห้ ลกั สตู รสถานศกึ ษาในโรงเรยี นสงั กดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั นนทบรุ :ี การวจิ ยั เชิงส�ำรวจและการประเมินหลกั สูตรสถานศกึ ษาแบบผสานวธิ ี The State and Problems of Implementing School Curriculum for Nonthaburi Provincial Administrative Organization Schools: A Survey Research and Mixed Methods of School Curriculum Evaluation พวงเพชร จินดามาศ* และภริ ดี วชั รสนิ ธ์ุ บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต Puangpech Jindamas* and Phiradee Watcharasin Graduate School, Suan Disit University Received: December, 14 2019 Revised: February, 9 2020 Accepted: February, 12 2020 บทคดั ย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ส�ำรวจสภาพปัญหาในการใช้หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียน สังกดั องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั นนทบรุ ี และ 2) ประเมินหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนคลองโยงเวทอี ุปถมั ภ์ ด้านบริบท ปจั จัยนำ� เขา้ กระบวนการ ผลผลติ ประสทิ ธผิ ล และความพึงพอใจ การส�ำรวจสภาพปญั หาและ ประเมินหลักสูตรสถานศึกษา เก็บข้อมูลโดยใช้แบบส�ำรวจและแบบประเมินหลักสูตรจากประชากรกลุ่ม ผอู้ ำ� นวยการสถานศึกษา จ�ำนวน 28 คน และกลุ่มตวั อยา่ งครผู ูส้ อน จ�ำนวน 300 คน ซ่ึงได้จากการสุ่มแบบ แบง่ ชน้ั ส�ำหรับการสัมภาษณผ์ มู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การน�ำหลกั สตู รไปใช้ เกบ็ ขอ้ มูลจากกล่มุ ผู้อำ� นวยการ/คณะ กรรมการสถานศกึ ษา จำ� นวน 9 คน กลมุ่ ครูผูส้ อน ผู้ปกครองนักเรยี น และผูส้ �ำเรจ็ การศกึ ษา กลมุ่ ละ 10 คน โดยใชแ้ บบสัมภาษณ์ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู วิเคราะหข์ อ้ มูล รอ้ ยละ ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบวา่ 1) สภาพปัญหาการใช้หลกั สูตรสถานศกึ ษาในภาพรวมพบวา่ มีสภาพปัญหาในระดบั ปาน กลาง (  = 1.56, SD = 0.95) 2) ผลการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาเชิงปริมาณ ตามตัวแปรท้ังหมด ในภาพรวม พบว่า หลักสูตรสถานศึกษามีตัวแปรทั้ง 6 ด้านอยู่ในระดับมาก (  = 2.63, S.D. = 0.83) 3) ผลการประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษาเชงิ คณุ ภาพพบวา่ สงิ่ ทคี่ วรพฒั นา คอื การนำ� ความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาวิเคราะห์เพ่ือก�ำหนดเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ควรมี ผู้รับผิดชอบในการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาที่ชัดเจน นอกจากน้ันครูควรน�ำหลักสูตรสถานศึกษามาใช้ ในการก�ำหนดแผนการจดั การเรยี นรู้ ทเี่ ชอ่ื มโยงกบั ทอ้ งถนิ่ และเนน้ การปฏิบัติจริง คำ� ส�ำคัญ: การวิจัยเชิงสำ� รวจ การประเมนิ หลกั สูตรสถานศึกษา การประเมินแบบผสานวิธี * พวงเพชร จนิ ดามาศ (Corresponding Author) ปที ่ี 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 87 e-mail: [email protected]

Abstract The objectives of this research were: 1) to survey the state and problems of implementing the school curriculum for Nonthaburi Provincial Administrative Organization schools and 2) to evaluate the school curriculum of Klongyongwetheeuptham School in terms of contexts, inputs, processes, products, effectiveness, and satisfaction of relevant persons. The respondents can be categorized as 28 school directors and 300 teachers recruited by stratified random sampling in proportion to the teachers in each school. In the interviewing phase, the researcher collected data from key informants of 9 directors/ school board, 10 teachers, 10 students’ parents and 10 graduates. The statistical analysis included percentage, means and standard deviation. The findings showed that 1) Regarding the overall problems of implementing the school curriculum from the perspective of the school directors and teachers, it revealed that the problems were found at the moderate level (  = 1.56, SD = 0.95) 2) The overall finding of the school curriculum evaluation of 6 aspects was rated at the high level (  = 2.63, SD = 0.83) 3) The qualitative results of the school curriculum evaluation showed that the administrator should avidly include local needs and the sufficiency economy philosophy in the analysis to define the desirable outcomes of students. The appointment of a supervisory board for curriculum administration must be clear and consistent. In addition, teachers should utilize the school curriculum to determine the learning management plan which was related with local community and focused on the practical implementation. Keywords: Survey Research, School Curriculum Evaluation, Mixed Methods บทนำ� หลักสูตรเป็นเคร่ืองมือท่ีส�ำคัญในการจัดการศึกษา เพราะเป็นการขยายแนวคิดในการจัดการศึกษา หรือปรัชญาการศึกษาไปสู่การปฏิบัติ ดังนั้นหากสามารถสร้างหลักสูตรท่ีดีได้ย่อมจะท�ำให้การจัดการศึกษา บรรลตุ ามจุดประสงค์ที่วางไว้ การที่จะทราบไดว้ า่ หลักสูตรท่สี รา้ งขึ้นไวน้ น้ั เหมาะสมหรอื ไมเ่ พยี งใด จึงจ�ำเป็น ตอ้ งมกี ารประเมนิ ผล การประเมนิ หลกั สตู รมคี วามสำ� คญั อยา่ งมากในกระบวนการจดั การศกึ ษา เปน็ เครอื่ งมอื ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับการควบคุมคุณภาพ การประกันคุณภาพของการศึกษาหลาย ๆ ระดับ ตั้งแต่ระดับ ห้องเรียน ระดับโรงเรียน ระดับเขตจนถึงระดับชาติ  ผู้ท่ีมีบทบาทในการประเมินท้ังในระดับผู้จัดท�ำนโยบาย การศกึ ษา ผกู้ ำ� กบั ดแู ล จนถงึ ระดบั ผปู้ ฏบิ ตั  ิ จงึ ควรทำ� ความเขา้ ใจกบั ประเดน็ ตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ของการประเมินหลักสูตรให้ชัดเจน เพ่ือจะได้ก�ำหนดวางแผนการประเมินหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับเป้าหมาย ของการประเมนิ และสามารถนำ� ผลการประเมนิ หลกั สตู รไปใชไ้ ดจ้ รงิ ดงั นนั้ การประเมนิ ผลหลกั สตู รจงึ เปน็ ขนั้ ตอนที่ขาดไม่ได้ในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และเนื่องจากหลักสูตรน้ันต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม 88 บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ

ยคุ สมยั ไมส่ ามารถกำ� หนดไวต้ ายตวั ได้ การพฒั นาหลกั สตู รจงึ เปน็ กระบวนการทต่ี อ่ เนอื่ งกนั ไปตง้ั แตก่ ารสรา้ ง หลกั สตู ร การประเมนิ หลกั สูตร จนถงึ การนำ� ไปใช้ในโรงเรยี น โรงเรียนใดที่มีการประเมินหลักสูตรก็จะมีการพัฒนาทางวิชาการต่าง ๆ ได้ดีขึ้นตามโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในทางด้านวิชาการและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจะสูงข้ึนทุก ๆ ปีอย่างต่อเนื่อง การประเมินหลักสูตร จงึ เปน็ การคดั กรองใหไ้ ดห้ ลกั สตู รทมี่ คี ณุ ภาพ และเหมาะสม มนี กั วชิ าการหลายทา่ นทน่ี ำ� เสนอรปู แบบการประเมนิ หลักสูตรไว้ รูปแบบการประเมินทเี่ ปน็ ทีร่ ู้จกั กว้างขวางไดแ้ ก่การประเมนิ ทเ่ี นน้ การตดั สินใจทร่ี จู้ ักในช่อื CIPP Model ของ Stufflebeam (1971) และการประเมนิ อิงวัตถปุ ระสงคข์ อง Tyler (1987) โมเดลการประเมิน ท้งั 2 โมเดลต่างก็มจี ดุ เด่น กลา่ วคือ การประเมินตามโมเดล CIPP มีจดุ เดน่ คือ เป็นการประเมนิ ท่คี รบทุกขนั้ ตอนกระบวนการไดแ้ ก่ การประเมนิ ด้านบริบท (Context: C) ปัจจยั น�ำเขา้ (Input: I) กระบวนการ (Process: P) และผลผลติ (Product: P) โมเดลการประเมินยังอาจใชร้ ปู แบบการประเมินเชงิ ปริมาณรว่ มกบั การประเมนิ เชงิ คณุ ภาพเพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทลี่ มุ่ ลกึ ยงิ่ ขน้ึ การประเมนิ เชงิ ผสานวธิ ี (Mixed-Method Evaluation) เปน็ แนวทาง หนงึ่ ทนี่ ำ� วธิ กี ารเชงิ คณุ ภาพ และวธิ กี ารเชงิ ปรมิ าณมาใชร้ ว่ มกนั เพอ่ื หาคำ� ตอบใหก้ บั สงิ่ ทไ่ี ดร้ บั การประเมนิ โดย อาจเรมิ่ ตง้ั แตก่ ารใชร้ ว่ มกนั ในขนั้ ตอนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์ และสรปุ ตคี วามหมายขอ้ คน้ พบรว่ มกนั การประเมนิ ผสานวธิ เี กดิ ขน้ึ กเ็ พราะนกั ประเมนิ ตระหนกั วา่ การใชว้ ธิ กี ารเชงิ คณุ ภาพ หรอื เชงิ ปรมิ าณวธิ กี ารใด วิธีการหน่ึงส�ำหรับศึกษาหาค�ำตอบ ในส่ิงที่ได้รับการประเมินต่างก็ยังมีช่องโหว่อันเป็นจุดอ่อน หรือข้อจ�ำกัด ของวิธีการดังกล่าวเกี่ยวกับผล หรือค�ำตอบที่ได้รับจากการใช้วิธีการนั้น ๆ หากท�ำการศึกษาแต่เพียงล�ำพัง ในการวิจัยเพ่ือประเมินหลักสูตรซึ่งเก่ียวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่มและมีประเด็นที่ต้องประเมิน หลากหลาย จงึ มีขอ้ มูลที่ผู้ประเมนิ ควรพิจารณาอย่างรอบด้าน การวิจยั เพ่อื ประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษาสังกัด องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั นนทบรุ ใี นครงั้ น้ี ผวู้ จิ ยั จงึ มงุ่ ทจี่ ะหาแนวทางการประเมนิ หลกั สตู รโดยใชก้ ารประเมนิ แบบผสานวิธีเพ่ือศึกษาผลการน�ำหลักสูตรไปใช้ให้ครอบคลุมโดยน�ำแนวคิดองค์ประกอบท่ีเก่ียวข้องกับ ด้าน บริบท (C) ปจั จยั นำ� เข้า (I) กระบวนการ (P) และผลผลิต (P) ตามแนวคดิ CIPP Model ของ Stufflebeam นอกจากนั้นยังผสานวิธีประเมินแบบอิงวัตถุประสงค์ตามแนวคิดของ Tyler โดยเพ่ิมองค์ประกอบด้าน ประสทิ ธผิ ล (Effectiveness: E) และความพงึ พอใจ (Satisfaction: S) ของผเู้ กยี่ วขอ้ งเพอื่ นำ� โมเดลการประเมนิ CIPPES น้ีไปประเมนิ ความส�ำเรจ็ ของการนำ� หลักสูตรไปใชไ้ ด้อยา่ งครอบคลมุ มากขนึ้ จากความสำ� คญั ดงั กลา่ ว ผวู้ จิ ยั จงึ มงุ่ ศกึ ษาเพอื่ สำ� รวจสภาพการนำ� หลกั สตู รไปใช้ และประเมนิ หลกั สตู ร สถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรีในภาพรวม รวมท้ังศึกษาภาพย่อยจากกรณีศึกษาการ ประเมนิ หลกั สตู รโรงเรยี นคลองโยงเวทอี ปุ ถมั ภ์ เพอ่ื องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั นนทบรุ จี ะไดน้ ำ� ขอ้ มลู ดงั กลา่ ว ไปใช้ในการกำ� หนดนโยบาย วางแผน ปรับปรงุ และพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาของโรงเรียนในสงั กดั ตลอด จนเป็นข้อมูลเชิงเปรียบเทียบส�ำหรับผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนคลองโยงเวทีอุปถัมภ์ เพื่อน�ำไปพัฒนา แผนการจัดการศกึ ษาและปรับปรุงหลกั สูตรให้มีคุณภาพตอ่ ไป วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อส�ำรวจสภาพปัญหาในการใช้หลักสูตรสถานศึกษา และประเมินหลักสูตรสถานศึกษาของ โรงเรียนสงั กดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั นนทบุรี ปที ่ี 17 ฉบบั ที่ 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 89

2. เพื่อประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนคลองโยงเวทีอุปถัมภ์ในด้านบริบท ปัจจัยน�ำเข้า กระบวนการ ผลผลิต ประสทิ ธิผล และความพึงพอใจของผู้ทเ่ี กีย่ วข้อง แนวคิดทฤษฎที ีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 1. แนวคิด ทฤษฎี ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การประเมนิ หลักสตู ร การประเมนิ หลกั สตู รดว้ ยรปู แบบการประเมนิ CIPP Model ของ Stufflebeam (1971) มลี กั ษณะ เดน่ คอื เปน็ การประเมนิ ทมี่ ุง่ เน้นการตดั สินใจ (Decision - Oriented Evaluation) เพ่อื ใหไ้ ด้มาซง่ึ ข้อมลู สารสนเทศสำ� หรบั การตดั สินใจและพิจารณาว่าควรด�ำเนนิ การบริหารหลักสูตร โครงการ/แผนงาน ขั้นตอ่ ไป หรอื ไม่ และมกี ารประเมนิ ที่ครอบคลุมองคป์ ระกอบ ได้แก่ ดา้ นบรบิ ท ปัจจัยนำ� เขา้ กระบวนการ และผลผลติ ส่วนรูปแบบการประเมิน Goal-Based Evaluation Model ของ Tyler (1987) มีลักษณะเด่น คือ เป็น การประเมินทมี่ ุง่ เน้นวัตถุประสงค์ของหลกั สตู รเปน็ หลัก อีกท้ังยึดความส�ำเรจ็ ของผู้เรียนเปน็ เกณฑ์การตัดสิน 2. รูปแบบการประเมนิ แบบผสานวธิ ี Chen (1997: 65 อา้ งถงึ ใน Buason, 2013) ใหค้ วามหมายของการประเมนิ ผสานวธิ วี า่ คอื การนำ� วิธกี ารเชงิ คุณภาพ และวธิ ีการเชิงปริมาณมาใชร้ ่วมกนั เพ่อื หาค�ำตอบให้กบั สิง่ ท่ีได้รับการประเมิน โดยอาจเริม่ ต้ังแต่การใช้ร่วมกันในข้ันตอนการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ และสรุปตีความหมายผลข้อค้นพบร่วมกัน วิธีการ ประเมนิ ผสานวธิ เี กดิ ขน้ึ กเ็ พราะนกั ประเมนิ ตระหนกั วา่ การใชว้ ธิ กี ารเชงิ คณุ ภาพ หรอื ปรมิ าณตา่ งกย็ งั มชี อ่ งโหว่ อนั เปน็ จดุ ออ่ น หรอื ขอ้ จำ� กดั ของวธิ กี ารดงั กลา่ วเกย่ี วกบั ผล หรอื คำ� ตอบทไี่ ดร้ บั จากการใชว้ ธิ กี ารนน้ั ๆ ทำ� การ ศึกษาแตเ่ พยี งล�ำพงั แบบแผนการประเมนิ แบบผสานวิธตี ามแนวคดิ ของ Buason (2013) แบง่ ไดเ้ ป็น 5 แบบ คอื แบบสามเสา้ แบบสง่ เสริมเตมิ เตม็ แบบพฒั นา แบบแสวงหาสิง่ ใหม่ และแบบขยายออก ซ่งึ ในการวิจัย คร้ังน้ีผู้วิจัยใช้การประเมินผสานวิธี ได้แก่ 1) แบบสามเส้า คือ การหาความสอดคล้องของผลการประเมิน หลักสูตรโดยใช้ข้อมูลท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ และ 2) แบบส่งเสริมเติมเต็ม โดยการก�ำหนดรูปแบบ การประเมินหลกั สตู รตามแนวคดิ CIPP ของ Stufflebeam ผสมผสานกบั แนวคดิ การประเมนิ องิ วตั ถุประสงค์ ของ Tyler โดยผนวกประเด็นด้าน ประสิทธิผลของหลักสูตร (Effectiveness) และความพึงพอใจ (Satisfaction) ของผเู้ กี่ยวข้องเข้าไปด้วย 3. กรอบแนวคิดในการวิจยั จากแนวคิดทฤษฎี หลักการประเมนิ หลกั สูตร และการประเมนิ ผสานวธิ ี ตลอดจนขอ้ คน้ พบจาก งานวิจัยในอดีต จะเห็นได้ว่ารูปแบบการประเมินของ Stufflebeam (CIPP Model) เป็นการประเมินองค์ ประกอบหลายมิติของหลักสูตร และมุ่งเน้นวิเคราะห์ว่าหลักสูตรเป็นอย่างไร มีส่วนใดที่ต้องปรับปรุงพัฒนา เปล่ยี นแปลงแกไ้ ขให้เหมาะสม เป็นรปู แบบการประเมินท่ีสามารถบูรณาการเข้าด้วยกนั เพื่อใหไ้ ดส้ ารสนเทศ ที่ครอบคลุมยง่ิ ข้นึ และรูปแบบการประเมนิ ของ Tyler ซงึ่ เปน็ การประเมินอิงวตั ถปุ ระสงค์ ในการวจิ ยั ครั้งนี้ ผู้วจิ ัยจึงได้ประยกุ ตใ์ ช้รูปแบบการประเมนิ ตามแนวคิดของ CIPP ของ Stufflebeam ผสมผสานกับแนวคดิ การประเมินอิงวัตถุประสงค์ของ Tyler ซ่ึงการประเมินดังกล่าว น�ำเสนอเป็นกรอบความคิดของการวิจัย ซึง่ วดั จากองค์ประกอบ CIPPES ดงั ปรากฏในแผนภูมทิ ่ี 1 90 บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต

ความส�ำเรจ็ ของ CIPP Model (Stufflebeam, 1971) การนำ� หลกั สตู รสถานศกึ ษา บรบิ ท (Context) ไดแ้ ก่ ปรชั ญาทเี่ ปน็ พน้ื ฐานในการพฒั นาหลกั สตู ร ไปใช้ จุดมุ่งหมายและพันธกิจของสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลในการ พฒั นาหลกั สตู ร ความเชอ่ื มโยงของหลกั สตู รสถานศกึ ษากบั หลกั สตู ร แกนกลางและความต้องการของท้องถ่ิน ตลอดจนการสร้างความ ตระหนักและความเขา้ ใจแกผ่ ทู้ ีเ่ กย่ี วข้องกับการใช้หลักสตู ร ปจั จยั นำ� เขา้ (Input) ไดแ้ ก่ ภาวะผนู้ ำ� ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา และ บุคลากรของสถานศึกษา ทรัพยากรด้านงบประมาณองค์ความรู้ ส่อื การเรียนรู้ ตลอดจนการจัดเน้อื หารายวชิ าตา่ ง ๆ เพอ่ื เป็นกรอบ ในการจัดการศึกษา กระบวนการ (Process) ไดแ้ ก่ การมอบหมายหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์พัฒนาผู้เรียน การบริหารงานวิชาการ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์หลักสูตร การวัดและการประเมินผล การบริหาร หลักสูตรแบบมีสว่ นรว่ มและการปรับปรงุ พฒั นาหลักสตู ร ผลผลิต (Product) ได้แก่ การส�ำเร็จการศึกษาของผู้เรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษาโดยผู้เรียนมีคุณภาพการเรียนรู้ตามมาตรฐาน การเรยี นรู้ มคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และมสี มรรถนะสำ� คญั Goal-based Evaluation Model (Tyler, 1987) ประสิทธิผล (Effectiveness) ได้แก่ การบรรลุวัตถุประสงค์ของ หลักสูตรสถานศึกษาในด้านการน�ำหลักสูตรไปใช้ การเสริมสร้าง อัตลักษณ์ของสถานศึกษา และการมีส่วนร่วมบริหารหลักสูตรของ ผู้เกี่ยวขอ้ ง ความพงึ พอใจ (Satisfaction) ไดแ้ ก่ ความพงึ พอใจของผเู้ กย่ี วขอ้ ง ในด้านการน�ำหลักสูตรไปใช้ และความพึงพอใจโดยรวมต่อผลผลิต ของหลักสตู ร แผนภมู ทิ ่ี 1 CIPPES Model ส�ำหรบั การประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษา ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย การวิจัยคร้ังนี้แบ่งข้ันตอนการด�ำเนินงานวิจัยออกเป็น 2 ระยะ ได้แก่ การวิจัยระยะท่ี 1 ผู้วิจัยใช้ แบบสำ� รวจและแบบประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษาในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกยี่ วกบั สภาพปญั หาการใชห้ ลกั สตู ร สถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี จ�ำนวน 28 โรงเรียน การวิจัยระยะที่ 2 ปที ี่ 17 ฉบบั ที่ 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 91


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook