Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.64)

วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.64)

Published by boomsdu, 2022-05-17 07:00:31

Description: วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.64)

Search

Read the Text Version

ISSN 1686-0659 (Print) ISSN 2730-289X (Online) ว า ร ส า ร ว ิ ช า ก า ร ISSN 1686-0659 (Print) ISSN 2730-289X (Online) บณั ฑติ วิทยาลยั สวนดสุ ติปที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2564) Suan Dusit Graduate School Academic Journal ปีที่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจำ�เดอื นมกราคม – เมษายน 2564 เจ้าของ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ การเผยแพรง่ านทางวชิ าการในประเภทบทความวจิ ัย บทความวชิ าการ บทความปริทศั น์ และ บทความวิจารณ์หนงั สอื 2. เพื่อเป็นการแลกเปล่ียนความรู้ ความคิด ด้านมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ (ครุศาสตร์ รฐั ประศาสนศาสตร์ รฐั ศาสตร์ นติ ศิ าสตร์ อาชญาวทิ ยา บรหิ ารธรุ กจิ และสาขาอืน่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง) ที่ปรกึ ษา อธิการบดี ประธานท่ปี รึกษาอธิการบดี รองศาสตราจารย์ ดร. ศิโรจน์ ผลพนั ธิน รองอธิการบดีฝ่ายวจิ ยั และพัฒนาการศกึ ษา รองศาสตราจารย์ ดร. สุขมุ เฉลยทรัพย์ รองอธกิ ารบดีฝ่ายวชิ าการ รองศาสตราจารย์ ดร. ชนะศกึ นิชานนท ์ ท่ีปรกึ ษาคณบดีบณั ฑติ วิทยาลยั ดร. สุวมาลย์ ม่วงประเสริฐ รองศาสตราจารย์ ดร. ประกฤติ พลู พัฒน์ บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อาภาศริ ิ สวุ รรณานนท์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กองบรรณาธิการ มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพธนบุรี ศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา คณุ ารักษ ์ ศาสตราจารย์ พล.ต.ต. หญิง ดร. พชั รา สนิ ลอยมา โรงเรยี นนายร้อยต�ำรวจ ศาสตราจารย์ ศรยี า นยิ มธรรม มหาวทิ ยาลัยเกษมบัณฑิต ศาสตราจารย์ ดร. โสภณ ศรีวพจน์ โรงเรยี นนายรอ้ ยต�ำรวจ รองศาสตราจารย์ ดร. รงั สรรค์ ประเสรฐิ ศร ี มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์ ดร. วรนารถ แสงมณ ี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหาร ลาดกระบัง รองศาสตราจารย์ ศริ วิ รรณ เสรีรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ชาติชาย มหาคีตะ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. องค์อร สงวนญาต ิ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ผู้ประสานงาน มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต นางสาวจารุภา ยมิ้ ละมัย บณั ฑติ มวหทิ าวยทิ ายาลลยยัั สวมนหดสุ าติ วทิ ยาลยั สวนดสุ ติ นางสาวณชั ชา ถาวรบตุ ร Graduate School, Suan Dusit University

ISSN 1686-0659 (Print) ISSN 2730-289X (Online) บัณฑติ วทิ ยาลยั สวนดุสิตว า ร ส า ร ว ิช า ก า ร ปีท่ี 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม – เมษายน 2564 เจ้าของ บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือการเผยแพร่งานทางวิชาการในประเภทบทความวจิ ยั บทความวิชาการ บทความปรทิ ศั น์ และ บทความวจิ ารณห์ นงั สอื 2. เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ด้านมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ (ครุศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ รฐั ศาสตร์ นิติศาสตร์ อาชญาวิทยา บรหิ ารธุรกจิ และสาขาอนื่ ท่เี กย่ี วขอ้ ง) ทปี่ รึกษา อธกิ ารบดี ประธานทปี่ รึกษาอธกิ ารบดี รองศาสตราจารย์ ดร. ศโิ รจน์ ผลพนั ธนิ รองอธิการบดฝี ่ายวิจยั และพัฒนาการศกึ ษา รองศาสตราจารย์ ดร. สุขมุ เฉลยทรัพย ์ รองอธิการบดฝี า่ ยวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร. ชนะศึก นชิ านนท ์ ทป่ี รึกษาคณบดบี ณั ฑิตวิทยาลยั ดร. สวุ มาลย์ ม่วงประเสรฐิ รองศาสตราจารย์ ดร. ประกฤติ พลู พฒั น์ บรรณาธกิ าร ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. อาภาศิริ สวุ รรณานนท์ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ กองบรรณาธกิ าร ศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา คณุ ารักษ ์ มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพธนบรุ ี ศาสตราจารย์ พล.ต.ต. หญงิ ดร. พชั รา สนิ ลอยมา โรงเรยี นนายร้อยต�ำรวจ ศาสตราจารย์ ศรียา นยิ มธรรม มหาวทิ ยาลัยเกษมบณั ฑติ ศาสตราจารย์ ดร. โสภณ ศรีวพจน์ โรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ รองศาสตราจารย์ ดร. รงั สรรค์ ประเสรฐิ ศรี มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์ ดร. วรนารถ แสงมณ ี สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหาร ลาดกระบัง รองศาสตราจารย์ ศิรวิ รรณ เสรีรัตน ์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ชาตชิ าย มหาคตี ะ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. องค์อร สงวนญาต ิ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ผูป้ ระสานงาน มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต มหาวิทยาลัยสวนดุสติ นางสาวจารุภา ยม้ิ ละมัย นางสาวณชั ชา ถาวรบุตร

การพิจารณาบทความ ตน้ ฉบบั บทความจะไดร้ ับการพจิ ารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ภายนอก ในสาขาวิชาน้ัน ๆ จำ� นวนไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ทา่ น โดยเปน็ การประเมนิ แบบอำ� พรางสองฝา่ ย (Double Blind) และสง่ ผลการพจิ ารณา แก่ผเู้ ขียน เพอ่ื ปรบั ปรงุ แกไ้ ข บทความ หรือพมิ พต์ น้ ฉบบั ใหม่ แล้วแต่กรณี เมือ่ บทความผ่านการพิจารณา จากผทู้ รงคณุ วุฒแิ ละกองบรรณาธิการแล้วผเู้ ขียนจึงจะไดร้ ับใบตอบรบั การตีพิมพบ์ ทความในวารสาร ก�ำหนดเผยแพร่ จดั พิมพ์เผยแพรป่ ีละ 3 ฉบับ (วารสารราย 4 เดอื น) ฉบับท่ี 1 เดอื นมกราคม-เมษายน ฉบับท่ี 2 เดอื นพฤษภาคม-สงิ หาคม ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน-ธันวาคม ลขิ สทิ ธ์ ิ บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ 145/9 อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 50 พรรษา มหาวชริ าลงกรณ ถนนสุโขทยั เขตดุสิต กรงุ เทพฯ 10300  โทรศัพท์: 02-241-7191-5 ตอ่ 4135  โทรสาร: 02-243-3408 website: http://www.graduate.dusit.ac.th/journal E-mail: [email protected] พิมพท์ ่ี ศนู ย์บริการสื่อและสิง่ พมิ พ ์ กราฟฟิคไซท์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต 295 ถนนนครราชสีมา แขวงดุสติ เขตดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร 10300 โทรศัพท์: 02-244-5081 วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เป็นวารสารปรากฏอยู่ในฐาน TCI (Thai Journal Citation Index Centre) หรือศูนย์ดชั นกี ารอ้างอิงวารสารไทย โดยปฏบิ ัติการพฒั นาคุณภาพ วารสารตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาการตามท่ีส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และส�ำนักงาน กองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว.) กำ� หนดกองบรรณาธกิ ารของวารสาร ประกอบดว้ ย ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ มี่ ตี ำ� แหนง่ ทางวชิ าการ ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รวมทั้งผ้ทู รงคุณวุฒริ ะดบั ปรญิ ญาเอก มีผลงานวิจัยต่อเน่ือง ซึ่งเป็นบุคลากรจากสถาบันภายนอกและภายใน และมีผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) อา่ นพิจารณาบทความ ซึ่งเปน็ ผ้เู ชีย่ วชาญและมผี ลงานทางวิชาการอยา่ งตอ่ เนื่อง ทัศนะและข้อคิดเห็นใด ๆ ท่ีปรากฏในวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน ทางกองบรรณาธิการ เปดิ เสรีในดา้ นความคดิ และไม่ถือว่าเปน็ ความรับผดิ ชอบของกองบรรณาธิการ

ผทู้ รงคณุ วฒุ อิ ่านประเมนิ บทความ (Peer Review) ปที ่ี 17 ฉบบั ที่ 1 ประจ�ำเดอื นมกราคม-เมษายน 2564 รองศาสตราจารย์ ดร. ธงชยั สมบูรณ ์ มหาวิทยาลยั รามค�ำแหง รองศาสตราจารย์ ดร. พงศ์ หรดาล มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร รองศาสตราจารย์ ดร. บญุ ญรตั น์ โชคบนั ดาชัย มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร. จริ ประภา มากลิ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร. สุณีย์ กลั ยะจิตร มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อรอมุ า เจริญสขุ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ถติ รัตน์ พมิ พาภรณ์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บษุ กร เช่ียวจินดากานต์ มหาวทิ ยาลยั รามค�ำแหง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สิรนิ ธร สนิ จนิ ดาวงศ์ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. สุวภัทร ศรีจองแสง มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. มนตา ตุลยเ์ มธาการ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วสธุ ดิ า นุริตมนต ์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนวรรณ แสงสวุ รรณ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พกิ ลุ เอกวรางกรู มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ดร. ชติ พงษ์ อยั สานนท ์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ดร. สรภสั น�้ำสมบูรณ ์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ดร. ธเนศ เกษศิลป ์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ดร. ศภุ กร ปุญญฤทธิ์ มหาวิทยาลยั รังสิต



บทบรรณาธกิ าร วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต ได้ด�ำเนินการตีพิมพ์บทความวิชาการและบทความ วิจัยทเี่ ป็นประโยชน์ทางดา้ นวชิ าการ เพื่อสง่ เสริมและกอ่ ใหเ้ กิดความเข้มแขง็ ทางวิชาการ และเผยแพร่ ผลงานอนั เปน็ ประโยชน์ หรอื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาประเทศ ซง่ึ ในปใี หม่ พ.ศ. 2564 นวี้ ารสารวชิ าการ บณั ฑติ วิทยาลัยได้ดำ� เนนิ การมาเป็นปีที่ 17 แลว้ โดยในฉบับที่ 1 ประจำ� เดอื นมกราคม-เมษายน 2564 ซึ่งถือเปน็ ฉบับปฐมฤกษข์ องปที ี่ 17 น้ี กองบรรณาธกิ ารไดร้ วบรวมบทความไว้อยา่ งน่าสนใจอีกเชน่ เคย เช่น บทความทางด้านการสบื สวนสอบสวนพยานหลกั ฐานในการก่ออาชญากรรมซ่งึ เป็นปัญหาสังคมท่ี สำ� คญั เรอ่ื งการวเิ คราะหล์ กั ษณะทางกายภาพและสว่ นประกอบทางเคมขี องยาบา้ ทตี่ รวจจบั ในเขตพน้ื ที่ จงั หวดั นครราชสมี า การศกึ ษาเปรียบเทียบการปรากฏข้ึนของรอยลายนิว้ มือแฝงบนเคร่ืองหนงั ดว้ ยวิธี การซปุ เปอรก์ ลู และการศกึ ษาเปรยี บเทยี บประสทิ ธภิ าพของชดุ ตรวจเลอื ดแฝงในอจุ จาระและชดุ ตรวจ เลอื ดแฝงในปสั สาวะบนผา้ ทป่ี นเปอ้ื นเลอื ด ในดา้ นของวชิ าการบรหิ ารธรุ กจิ เรอ่ื งปจั จยั ทม่ี คี วามสมั พนั ธ์ กับความต้ังใจที่จะเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ เร่ืองส่วนประสมการตลาด 4.0 จากมุมมองของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียท่ีมีต่อภาพลักษณ์และชื่อเสียงของแบรนด์ท่องเท่ียวเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ เรอื่ งกลยทุ ธท์ างการตลาดบรกิ ารทม่ี ผี ลตอ่ ผบู้ รโิ ภคกลมุ่ มลิ เลนเนยี ลในการตดั สนิ ใจสงั่ อาหารจากรา้ นอาหาร ผา่ นแอพพลเิ คชนั่ สง่ อาหารเดลเิ วอร่ี ซง่ึ เปน็ เรอื่ งทมี่ คี วามทนั สมยั สำ� หรบั การดำ� รงชวี ติ ในปจั จบุ นั ดา้ น การศกึ ษา อาทิ สภาพและปญั หาการใชห้ ลกั สตู รสถานศกึ ษาในโรงเรยี นสงั กดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั นนทบุรี: การวิจัยเชิงส�ำรวจและการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาแบบผสานวิธี ผลการจัดการเรียนรู้ แบบออนไลน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจ และยงั มบี ทความทนี่ า่ สนใจอกี มากมายในฉบบั นท้ี จี่ ะทำ� ใหผ้ อู้ า่ นไดร้ บั มมุ มองทางวชิ าการและกรณศี กึ ษา ต่างๆอย่างกว้างขวางและทันสมัย ตลอดถึงบทวิจารณ์หนังสือเร่ืองจดหมายหลวงอุดมสมบัติของ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ยอดชาย ชุติกาโม ประธานหลักสูตรรฐั ศาสตรบ์ ณั ฑติ โรงเรยี นกฎหมายและการเมอื ง มหาวิทยาลัยสวนดุสิตซึง่ มเี นอ้ื หาท่นี า่ สนใจเปน็ อย่างมาก ในโอกาสวนั ขนึ้ ปใี หม่ พ.ศ. 2564 น้ที างกองบรรณาธิการขออวยพรใหผ้ อู้ า่ นทกุ ท่านมคี วามสขุ และประสบความส�ำเร็จทุกประการ รวมท้ังหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทความจากวารสารฉบับน้ีจะเป็น ประโยชนต์ ่อผู้อา่ นทกุ ทา่ น และหากผ้เู ขยี นหรอื ผ้อู า่ นทา่ นใดมีข้อเสนอแนะทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ วารสาร สามารถส่งมาได้ที่เบอร์โทรศัพท์ 02-2417151-5 ต่อ 4135 โทรสาร 02-2433408 หรืออีเมล์ [email protected] รวมทั้งทางWebsite: http://www.graduate.dusit.ac.th/journal ทางกองบรรณาธกิ ารจะน�ำไปพจิ ารณาปรับปรงุ วารสารให้มคี ุณภาพและประโยชน์มากยงิ่ ขึน้ ตอ่ ไป ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อาภาศริ ิ สุวรรณานนท์ บรรณาธิการ



สารบญั หน้า บทความวจิ ยั 1 ผลการจดั การเรียนรูแ้ บบออนไลนท์ มี่ ีต่อผลสัมฤทธ์ิด้านไวยากรณภ์ าษาองั กฤษของนกั ศกึ ษา หลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจ กนกวรรณ กุลสุทธิ์ สุดารตั น์ เจตนป์ ัญจภคั ขจนี ชุ เชาวนปรชี า การวเิ คราะห์งานวจิ ัยท่ีเก่ียวขอ้ งกับการเรียนการสอนภาษาองั กฤษระดับประถมศกึ ษา 21 รนิ ทร์ฤดี ภัทรเดช และปัญญเดช พนั ธุวฒั น์ ความขดั แยง้ ทางปญั ญาและโครงการปรบั ปรงุ คณุ วุฒิวิชาชีพครู พ.ศ. 2560 41 กรณีศึกษาหลักสูตรการศึกษาบณั ฑิต มศว. วรรธนะ สุขศิริปกรณช์ ัย การสงั เคราะห์งานวจิ ัยทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการจัดการเรยี นรู้ทกั ษะปฏบิ ตั ติ ามแนวคดิ ของแฮร์โรว์ 69 และการจัดการเรียนรวู้ ิชาดนตรตี ามแนวคดิ ของคาร์ล ออรฟ์ นที ปน่ิ วไิ ลรตั น์ และอินทริ า รอบรู้ สภาพและปญั หาการใชห้ ลักสูตรสถานศึกษาในโรงเรียนสงั กดั องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดนนทบรุ ี: 87 การวิจยั เชงิ ส�ำรวจและการประเมินหลักสตู รสถานศึกษาแบบผสานวิธี พวงเพชร จินดามาศ และภิรดี วชั รสนิ ธ์ุ การวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสว่ นประกอบทางเคมขี องยาบ้าทีต่ รวจจบั ในเขตพ้นื ที่ 103 จังหวัดนครราชสมี า เพญ็ พิศ เกตุใหม่ และพชั รา สนิ ลอยมา การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของชุดตรวจเลือดแฝงในอจุ จาระและชุดตรวจเลอื ดแฝง 121 ในปสั สาวะบนผ้าทป่ี นเป้ือนเลือด เพียงจติ ร เงอ่ื นไขน่ �ำ้ และธติ ิ มหาเจริญ การศึกษาเปรยี บเทียบการปรากฏข้ึนของรอยลายนิ้วมือแฝงบนเครอื่ งหนังด้วยวิธีการซปุ เปอรก์ ลู 135 อาภาพร อรุณแสงทอง และพชั รา สนิ ลอยมา

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ ปจั จยั ทม่ี ีความสมั พนั ธก์ ับความต้งั ใจที่จะเปน็ ผปู้ ระกอบการของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ 155 และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา เชยี งใหม่ มานิตย์ มัลลวงค์ และววิ ฒั นโ์ ชติกร เรืองจันทร์ สว่ นประสมการตลาด 4.0 จากมมุ มองของผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียท่มี ีตอ่ ภาพลกั ษณแ์ ละช่อื เสียง 175 ของแบรนดท์ ่องเท่ียวเมอื งหวั หนิ จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ เรวติ า สายสดุ เสรี วงษม์ ณฑา และชวลีย์ ณ ถลาง กลยุทธ์ทางการตลาดบรกิ ารทมี่ ผี ลต่อผู้บริโภคกลุม่ มิลเลนเนยี ลในการตัดสนิ ใจส่งั อาหาร 193 จากร้านอาหารผ่านแอพพลเิ คช่ันสง่ อาหารเดลิเวอร่ี ธณฐั พล เวียงสมิ มา และจอมขวญั สุวรรณรกั ษ์ อทิ ธพิ ลของคณุ ภาพการใหบ้ รกิ ารท่มี ตี ่อนวัตกรรมการให้บริการของนกั ทอ่ งเที่ยวผสู้ งู อายุ 215 ทใี่ ช้บริการสนามบินสวุ รรณภมู ิ ธนกร ณรงค์วานชิ การส่งเสริมสินคา้ เกษตรอนิ ทรยี :์ ความรคู้ วามเข้าใจ ทศั นคติ และปจั จัยทางการตลาด 231 ในมมุ มองของผู้บรโิ ภค สณุ ี หงษว์ เิ ศษ ปรญิ ญา นาคปฐม กฤษฏิพัทธ์ พชิ ญะเดชอนนั ต์ และธนวัฒน์ พิมลจนิ ดา บทความวิชาการ สารตั ถะของ CPTPP: ขอ้ สงั เกตทางกฎหมายเกย่ี วกับการขอเข้าร่วมเป็นภาคขี องไทย 249 ธนะชาติ ปาลยิ ะเวทย์ บทความวิจารณห์ นงั สอื 269 จดหมายหลวงอดุ มสมบัติ 273 ยอดชาย ชุตกิ าโม นโยบายและการด�ำเนินงานจดั พิมพว์ ารสารวิชาการบัณฑติ วิทยาลัยสวนดสุ ติ

ผลการจัดการเรียนรแู้ บบออนไลน์ทมี่ ีตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ดา้ นไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ ของนักศึกษาหลักสตู รภาษาองั กฤษธรุ กจิ The Effects of Online Learning Management Towards English Grammar Achievement of Business English Students กนกวรรณ กลุ สทุ ธ์ิ* สุดารัตน์ เจตนป์ ัญจภคั ขจีนชุ เชาวนปรชี า สรพล จริ ะสวัสดิ์ วลิ าสนิ ี พลอยเล่ือมแสง ลลิตา พลู ทรัพย์ และจุฬาลักษณ์ ปาณะศรี คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต Kanokwan Kunlasuth* Sudarat Jatepanjapak Khacheenuj Chaovanapricha Sarapol Chirasawadi Wilasinee Ploylearmsaeng Lalita Poolsub and Chulaluk Panasri Faculty of Humanities and Social Sciences, Suan Dusit University Received: June, 25 2020 Revised: September, 9 2020 Accepted: September, 15 2020 บทคัดย่อ การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักศึกษา หลกั สตู รภาษาองั กฤษธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ กอ่ นและหลงั ไดร้ บั การจดั การเรยี นรแู้ บบออนไลน์ และเพอื่ ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจที่มีต่อการพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษา องั กฤษดว้ ยการเรยี นออนไลน์ เปน็ การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ กลมุ่ ตวั อยา่ ง ไดแ้ ก่ นกั ศกึ ษาหลกั สตู ร ภาษาอังกฤษธุรกจิ ชนั้ ปที ่ี 4 ปกี ารศกึ ษา 2560 จำ� นวน 43 คน ส�ำหรบั ทำ� แบบทดสอบและตอบแบบสอบถาม และเลือกนักศึกษาแบบเฉพาะเจาะจงจำ� นวน 5 คนเพอ่ื สมั ภาษณ์กลุ่ม เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวจิ ยั ไดแ้ ก่ แบบ ทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี นรู้ แบบสอบถาม และแบบสมั ภาษณ์ โดยคา่ ความเทย่ี งตรงเชงิ เนอื้ หาของขอ้ คำ� ถาม ในแบบสอบถามเท่ากับ 1.00 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทแี บบไมอ่ ิสระ ผลการศกึ ษาทีส่ �ำคัญพบว่า 1) นกั ศึกษาหลกั สตู ร ภาษาอังกฤษธุรกิจมีผลสัมฤทธ์ิทางด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษสูงขึ้นหลังการเรียนออนไลน์ท่ีระดับนัยส�ำคัญ .05 และ 2) นักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจเห็นด้วยต่อการพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ด้วยการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ด้วยตนเอง และมีระดับความคิดเห็นด้วยอย่างย่ิงอันดับแรกใน ประเด็นผู้เรียนศึกษาเน้ือหาจากแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ด้วยตนเองได้เท่าที่ต้องการ ผลจาก การสมั ภาษณ์ พบความคดิ เหน็ 3 ประเดน็ ไดแ้ ก่ ความสะดวกในการเรยี นออนไลนด์ ว้ ยตนเองผา่ นแอปพลเิ คชนั การพัฒนาความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ และความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากการเรียน ออนไลนเ์ พ่อื การสอบโทอคิ คำ� ส�ำคัญ: การเรียนออนไลน์ แบบฝึกไวยากรณ์ออนไลน์ ความรดู้ า้ นไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ * กนกวรรณ กุลสุทธ์ิ (Corresponding Author) ปที ่ี 17 ฉบับที่ 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 1 e-mail: [email protected]

Abstract This research study aimed to compare Business English students’ achievement in English grammar before and after obtaining online learning management, and to explore their perceptions towards the development of English grammar knowledge. Quantitative and qualitative research were used. The subjects were 43 Business English senior students in Academic Year 2017 who did the tests and responded to the questionnaires and 5 students were purposively selected to have a group interview. Research instruments were the pretest-posttest, questionnaire and interview schedule. The content validity index of every question in the questionnaire was 1.00. Quantitative data were analyzed by frequency distribution, percentage, mean, standard deviation and dependent sample t-test. Major findings revealed that Business English students’ achievement in English grammar improved after online self-study at the statistical significance level of .05. The students showed an agreement with the development of English grammar knowledge through online self-study. The first aspect showing a strong agreement indicated that students learned the content from online grammar exercises as much as they could. Findings from the interview revealed three aspects: being convenient for online self-study through Application, development of grammatical competence and an ability to apply their knowledge to take the TOEIC test. Keywords: Online Learning, Online Grammar Exercises, English Grammar Knowledge บทนำ� สืบเนอ่ื งจากแผนพัฒนาระบบเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เรอื่ ง แนวทางการพัฒนาเพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรใู้ ห้มีคุณภาพ โดยการปฏริ ูประบบการเรียน รู้น้ัน ได้มุ่งเน้นให้จัดการเรียนรู้เพ่ือสร้างสมรรถนะก�ำลังคนทั้งระบบการศึกษาต้ังแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการ เรียนรตู้ ลอดชีวิต รวมถงึ การใชเ้ ทคโนโลยีและพฒั นาสื่อเพอื่ การเรยี นรู้ (Office of The National Economic and Social Development Board, 2015) ส่ิงส�ำคัญคือการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาส่ือในการ เรียนรทู้ ่เี หมาะสมกับผู้เรยี นและให้ผ้เู รียนเกดิ ทกั ษะในการเรียนรูไ้ ดต้ ลอดชวี ิต ดังน้นั การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 จงึ เปน็ เรอื่ งสำ� คญั จำ� เปน็ ตอ้ งเขา้ ใจลกั ษณะผเู้ รยี นในปจั จบุ นั ทเ่ี ปน็ คนยคุ ใหมท่ ม่ี คี วามเปน็ อสิ ระทจี่ ะเลอื ก ส่ิงที่ตนพอใจ แสดงความเห็นและลักษณะเฉพาะของตน ต้องการดัดแปลงสิ่งต่าง ๆ ให้ตรงตามความพอใจ และความต้องการของตน ต้องการความเร็วในการสื่อสาร การหาข้อมูลและตอบค�ำถาม (Phanit, 2012) จึงเห็นได้ว่านักศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่งเป็นเด็กสมัยใหม่ควรได้เรียนรู้จากส่ิงที่เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะ ของตนและตอบสนองความพอใจได้ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเฉพาะส่ือการเรียนที่ สามารถใช้ศึกษาและส่ือสารเพื่อหาค�ำตอบได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้น ส่ือการเรียนที่เหมาะสมส�ำหรับผู้เรียนใน ยคุ สมัยน้ี คือ การเรยี นรู้ผ่านส่อื เทคโนโลยีทีส่ ะดวกและง่ายต่อการเขา้ ถึง รวมถงึ สามารถเรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง อยา่ งต่อเนอ่ื ง ตรงตามความต้องการของผ้เู รยี น 2 บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ

นอกจากน้ี มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิตไดก้ ำ� หนดพนั ธกจิ ด้านการผลิตบณั ฑิต โดยวางกลยทุ ธ์ใหป้ รับปรุง รปู แบบและกระบวนการจดั การเรยี นรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั โลกยคุ ดจิ ทิ ลั โดยพฒั นากระบวนการสรา้ งประสบการณ์ การเรยี นรทู้ งั้ ในหอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น มงุ่ เนน้ การจดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการเชงิ รกุ (Integrated Active Learning) ผลิตสื่อการเรียนการสอนท่ีสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ให้นักศึกษา โดยเฉพาะสื่อ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวมทงั้ สามารถนำ� เทคโนโลยมี าใชเ้ พอื่ การจดั การเรยี นรแู้ ละพฒั นาทกั ษะใหส้ ามารถสบื คน้ และ เรยี นรู้ไดโ้ ดยไมจ่ ำ� กัดเวลาและสถานท่ี (Suan Dusit University, 2018) สอดคล้องกบั ปรชั ญาของหลักสูตร ภาษาอังกฤษธุรกิจท่ีมุ่งเน้นให้บัณฑิตมีความเช่ียวชาญในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารในวิชาชีพทาง ธรุ กิจ สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการท�ำงาน ดงั นน้ั เพอื่ พฒั นาความสามารถทางภาษาองั กฤษของนกั ศกึ ษาใหส้ ามารถสอื่ สารในชวี ติ ประจำ� วนั และ การท�ำงานได้ตามเป้าหมาย กล่าวไดว้ ่า การเรยี นไวยากรณน์ บั ว่ามคี วามสำ� คัญและจ�ำเปน็ ต่อการเรยี นรภู้ าษา อังกฤษ เนอ่ื งจากเป็นเคร่ืองมือในการส่อื รูปแบบและความหมายของภาษาท่ใี ชใ้ นการส่ือสาร หากขาดความรู้ ด้านไวยากรณ์ ผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองจะไม่เกิดความเข้าใจและไม่สามารถสื่อสารในระดับสูงได้ ไวยากรณถ์ อื เปน็ เครอ่ื งมอื ทชี่ ว่ ยใหก้ ารสอ่ื สารประสบความสำ� เรจ็ (Dickins & Woods, 1988) เปน็ การเชอ่ื มโยง โครงสร้างเข้ากับความหมายของภาษาและการใช้ภาษาในชีวิตจริง (Leech, 1983) และผู้เรียนสามารถใช้ ไวยากรณใ์ นการสื่อความหมายได้ (Dickins, 1991) โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ หากผูเ้ รียนภาษามคี วามรูห้ รอื ความ สามารถด้านไวยากรณ์ในระดบั ดี ก็จะสามารถใช้ภาษาอังกฤษท้งั ในทกั ษะการฟงั การพดู การอ่าน และการ เขยี นไดด้ เี ชน่ กนั (Nunan, 2004) นอกจากนี้ การรโู้ ครงสรา้ งไวยากรณเ์ ปน็ อยา่ งดกี ช็ ว่ ยใหผ้ พู้ ดู สามารถเขา้ ใจ รปู แบบของคำ� ประโยค สามารถสรา้ งประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ และยงั สามารถพดู สอื่ สารไดอ้ ยา่ ง คล่องแคล่ว (Fluency) และถูกตอ้ ง (Accuracy) (Canale & Swain, 1980) ผู้เรียนท่มี คี วามรู้ไวยากรณ์ดีจะ สามารถเขา้ ใจบทอา่ นไดด้ ี เพราะไวยากรณช์ ว่ ยใหผ้ เู้ รยี นสามารถแยกแยะหนา้ ทขี่ องคำ� โครงสรา้ งประโยค ซงึ่ ชว่ ยใหอ้ า่ นเขา้ ใจขน้ึ (Mccarthy, 2000) ขณะทไ่ี วยากรณม์ บี ทบาทมากในการเขยี น หากผเู้ รยี นมคี วามแมน่ ยำ� ในการใช้ไวยากรณ์ ก็จะช่วยให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ และประเมินการใช้ค�ำ ท้ังยังสามารถใช้ไวยากรณ์ท่ี เหมาะสมในงานเขียนได้ (Derewianka, 2008) อย่างไรก็ดี ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝนภาษาอย่างต่อเน่ือง โดยยึดไวยากรณ์เปน็ หลักในการพัฒนาทักษะการสอ่ื สารท้ังสีท่ กั ษะ และน�ำไปใช้ในชวี ติ จริงได้ อย่างไรก็ตาม คะแนนเฉลย่ี ของประเทศไทยจากรายงานผูส้ อบทว่ั โลกในปี 2015 ของ Educational Testing Service ที่ผูส้ อบชาวไทยไดค้ ะแนนเฉลยี่ อยทู่ ่ี 492 คะแนน จากคะแนนเต็ม 995 คะแนน ทัง้ น้ี ไทย มคี ะแนนตำ่� กวา่ ฟลิ ปิ ปนิ สท์ ไ่ี ด้ 691 คะแนน และมาเลเซยี ที่ 631 คะแนน แตส่ งู กวา่ เวยี ดนามทไี่ ด้ 477 คะแนน และอินโดนีเซยี ท่ีได้ 454 คะแนน (Educational Testing Service, 2016) ดังนน้ั จงึ มคี วามจำ� เป็นอย่างย่ิงท่ี ตอ้ งแสวงหาวธิ กี ารหรอื เครอื่ งมอื ทจี่ ะชว่ ยอำ� นวยความสะดวกผเู้ รยี น กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ แรงจงู ใจและความ สนใจเรียนรู้ โดยต้องคำ� นึงถึงลักษณะของผเู้ รียนยุคใหม่ในปัจจบุ ันที่มีความเป็นอิสระ เลอื กส่งิ ทต่ี นพอใจและ ตรงกับความต้องการของตน รวมท้ังต้องการความเร็วในการสื่อสาร การหาข้อมูลและตอบค�ำถาม (Phanit, 2012) การประยกุ ตเ์ ทคโนโลยคี อมพวิ เตอรม์ าชว่ ยในการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพอื่ พฒั นาผลสมั ฤทธกิ์ าร เรียนรู้จึงมีความเหมาะสมตรงกับกับรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับมหาวิทยาลัย ประกอบกับปัจจุบัน เปน็ ยคุ ทอ่ี ปุ กรณส์ อื่ สารเคลอื่ นทม่ี บี ทบาทสำ� คญั ในชวี ติ ประจำ� วนั คณะผวู้ จิ ยั จงึ นำ� เอาอปุ กรณส์ อ่ื สารเคลอ่ื นทเี่ ขา้ มาเปน็ ส่วนหนึง่ ของสือ่ การเรียนรไู้ วยากรณ์ภาษาอังกฤษ ดังที่กลา่ วแล้ววา่ การเรยี นภาษายังจำ� เป็นตอ้ งเรยี น ปีท่ี 17 ฉบับท่ี 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 3

รู้ไวยากรณ์ซึ่งเก่ียวข้องระบบกฎและกลไกในการผสมผสานและรวมค�ำข้ึนเป็นประโยคเพื่อใช้สื่อความหมาย ในลักษณะต่าง ๆ (Batstone, 1994) ดงั น้นั คณะผวู้ ิจัยจึงเหน็ ความสำ� คญั ของการเพิม่ พูนความรแู้ ละทักษะ ภาษาองั กฤษใหก้ บั นกั ศกึ ษาหลกั สตู รภาษาองั กฤษธรุ กจิ เพอื่ ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจในไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ เหน็ คณุ คา่ และประโยชน์ เกดิ ทศั นคตเิ ชงิ บวกตอ่ รปู แบบและวธิ กี ารสอนไวยากรณภ์ าษาองั กฤษธรุ กจิ จากการ เรยี นรอู้ อนไลน์ และเกดิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นภาษาองั กฤษในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ รวมไปถงึ สามารถไดค้ ะแนนการ ทดสอบภาษาองั กฤษเพอื่ การสอื่ สารนานาชาติ หรอื โทอคิ สงู ขน้ึ เพอ่ื เพม่ิ โอกาสในการประกอบอาชพี ในอนาคต ไดอ้ ยา่ งมัน่ คงยั่งยืน วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษ ธรุ กจิ ก่อนและหลงั ได้รบั การจดั การเรยี นรูแ้ บบออนไลน์ 2. เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจท่ีมีต่อการพัฒนาความรู้ ด้านไวยากรณ์ภาษาองั กฤษด้วยการเรียนออนไลน์ แนวคิดทฤษฎที ี่เกีย่ วข้องและกรอบแนวคดิ การวิจัยครั้งนี้น�ำแนวคิดในการประยุกต์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเรียนการสอนภาษา อังกฤษ (Computer-Assisted Language Learning: CALL) เพอ่ื การทดสอบภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร นานาชาติ หรอื โทอคิ ซึง่ แตกตา่ งจากการเรยี นการสอนแบบด้งั เดิม และเพื่อใหเ้ หมาะสมกบั รูปแบบการเรียน รู้ของผู้เรียนในระดับมหาวิทยาลัย ประกอบกับปัจจุบันน้ีเป็นยุคท่ีอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่มีบทบาทส�ำคัญใน ชวี ติ ประจำ� วนั คณะผวู้ จิ ยั จงึ นำ� เอาอปุ กรณส์ อื่ สารเคลอื่ นท่ี (Mobile-Assisted Language Learning: MALL) เข้ามาเปน็ ส่วนหนึ่งของสอ่ื การเรียนร้ไู วยากรณ์ภาษาองั กฤษ กล่าวได้วา่ ไวยากรณ์มีความส�ำคญั ตอ่ การแสดง ความหมายของข้อมูลภาษา (Dickins & Woods, 1988) เก่ียวข้องระบบกฎและกลไกในการผสมผสานและ รวมคำ� ข้ึนเปน็ ประโยคเพ่อื ใชส้ ่อื ความหมายในลกั ษณะต่าง ๆ (Batstone, 1994) การเรียนรู้ไวยากรณ์จึงเป็น สง่ิ ทจ่ี ำ� เปน็ ในการเรยี นภาษา เพราะเปน็ เครอื่ งมอื ในการสอื่ รปู แบบและความหมายของภาษาทใี่ ชใ้ นการสอื่ สาร ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากมกี ารทดสอบความรดู้ า้ นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษปรากฏในเนอื้ หาสว่ นท่ี 5 แบบทดสอบเตมิ คำ� ในประโยค (Incomplete Sentences) และสว่ นท่ี 6 แบบทดสอบเตมิ ค�ำในบทความ (Text Completion) ของแบบทดสอบความสามารถทางการสอ่ื สารภาษาองั กฤษนานาชาติ หรือโทอิค (The Test of English for International Communication: TOEIC) โดยทั่วไป การอบรมโทอิคนิยมจัดในรูปของการอบรมแบบเร่งรัด (Intensive Course) เช่น 45 หรอื 60 ช่วั โมง ในเวลา 1-2 สปั ดาห์ ซ่ึงชว่ ยให้ผสู้ อนสามารถอธิบายกฎไวยากรณใ์ ห้ผ้เู รียนให้เข้าใจโดยง่าย และใช้เวลาในการสอนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ไมต่ อ้ งเสยี เวลาไปกับการเตรยี มและดำ� เนินกิจกรรมทางภาษา อื่น ๆ ในหอ้ งเรยี น อยา่ งไรกต็ าม ผูเ้ รียนอาจเกดิ ความเครียดหรอื ความเบ่อื หน่าย เนอื่ งจากรปู แบบการเรยี น การสอนจำ� กดั เพยี งการบรรยายในชน้ั เรยี น การนำ� เทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการอบรมโทอคิ ออนไลนจ์ งึ มี ความสะดวก ผเู้ รยี นสามารถเขา้ อบรมจากทไี่ หน เมอ่ื ไรกไ็ ด้ โดยไมต่ อ้ งเสยี เวลาเดนิ ทางมาเขา้ ชนั้ เรยี น นอกจาก 4 บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ

นนั้ การใชค้ อมพิวเตอร์ (Computer-Assisted Language Learning: CALL) หรืออุปกรณส์ อื่ สารเคลื่อนที่ (Mobile-Assisted Language Learning: MALL) ล้วนส่งผลใหผ้ ู้เขา้ สอบมีคะแนนโทอคิ สูงข้ึนและแตกตา่ ง อย่างมีนัยส�ำคัญจากผู้เข้าสอบที่ได้รับการอบรมแบบดั้งเดิมที่ใช้ผู้สอนเป็นศูนย์กลางและเอกสารต�ำราเป็นส่ือ การสอนหลกั อาทิ การใชว้ ิดีทัศน์ (Boldt & Ross, 1998) การใช้ CALL มาชว่ ยสอนทักษะการฟงั (Van Han & van Rensburg, 2014) การใช้โปรแกรมบนโทรศัพท์เคล่ือนท่ีในการสอนค�ำศัพท์ (Wu, 2015) นอกจากนี้ การอบรมโทอคิ โดยนำ� เสนอเนอ้ื หาออนไลนผ์ า่ นอปุ กรณส์ อ่ื สารเชน่ โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทไี่ ปยงั ผเู้ รยี นเพอื่ ใหศ้ กึ ษา กอ่ นเขา้ ชน้ั เรยี น และในชนั้ เรยี นจะเนน้ การทำ� แบบทดสอบเพอื่ วดั ผลการเรยี นเทา่ นน้ั สง่ ผลบวกตอ่ ผลคะแนน โทอคิ และกระตนุ้ การมสี ว่ นรว่ มในการเรยี น (Learning Engagement) (Ishikawa et al., 2015) อกี ทง้ั ผเู้ รยี น ยังมีทัศนคติท่ีดีต่อการเรียน เน่ืองจากเทคโนโลยีสารสนเทศมีความยืดหยุ่นในการใช้งาน และสามารถให้ผล ตอบกลับทันที (Chen, 2014) ส�ำหรับการเรยี นออนไลนแ์ ทนการเข้าอบรมโทอิคในชัน้ เรยี นน้ัน ในการศกึ ษาครั้งน้ี คณะผ้วู จิ ยั เลอื ก ใชก้ เู ก้ลิ ฟอร์ม (Google Form) ในการสร้างแบบฝึกไวยากรณ์ออนไลน์ เนื่องจากเป็นบริการทไ่ี ม่เสียคา่ ใช้จ่าย ใช้งานง่าย สามารถตรวจสอบค�ำตอบได้ทันที ข้อมูลท่ีรวบรวมได้สามารถน�ำมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมกูเกิ้ล ชีท (Google sheets) และเก็บผลลัพธ์ไว้บนกูเกิ้ลไดรฟ์ (Google Drive) (Google, 2017) และเลือกใช้ แอปพลิเคชนั ไลน์ (Line) เพื่อสง่ แบบฝึกหดั ไวยากรณ์ใหก้ บั ผเู้ รียน เน่ืองจากใช้งานฟรี ใชง้ านง่าย และสะดวก สามารถใช้ได้บนโทรศัพท์มือถือท่ีใช้ระบบปฏิบัติการ iOS และ Android และบนคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ระบบ ปฏิบัติการ Windows หรือ MacOS ได้ (Suensilpong, Ornratanasakul, Chansiri, Sukprasert, & Jianwanalee, 2014) กรอบแนวคดิ การจดั การเรียนรูแ้ บบออนไลน์ - ผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ ตัวแปรต้น - ความคิดเห็นมีต่อการพัฒนาความรู้ด้าน ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษด้วยการเรียนออนไลน์ ตัวแปรตาม ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ สมมติฐานการวิจัย นักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีผลสัมฤทธิ์ทางด้านไวยากรณ์ภาษา องั กฤษภายหลังได้รับการจัดการเรยี นรูแ้ บบออนไลนส์ งู ข้ึนกวา่ กอ่ นเรียน ปีที่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 5

ระเบียบวธิ ีวจิ ยั ในการศึกษาวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยเก็บข้อมูลท้ังเชิงปริมาณ และ เชิงคุณภาพ ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 1) ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ นักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจช้ันปีท่ี 4 มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ทก่ี �ำลงั ศึกษาในปกี ารศึกษา 2560 จำ� นวน 50 คน 2) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจช้ันปีที่ 4 มหาวิทยาลัยสวนดุสิตที่เคยเข้าอบรมหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการทดสอบภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร นานาชาตหิ รอื โทอคิ ในภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2559 และเรยี นออนไลนด์ ว้ ยการทำ� แบบฝกึ หดั ไวยากรณ์ ออนไลน์ ในภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 43 คน ในการเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ ปริมาณเพื่อใชใ้ นการ ทดลอง และเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพจากนกั ศกึ ษาจำ� นวน 5 คน โดยใชก้ ารเลอื กตวั อยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง จาก คนท่ีได้คะแนนสูง ปานกลาง และต�่ำ จากการทดสอบความรู้ด้านไวยากรณ์ของนักศึกษาหลังเรียนออนไลน์ เพ่ือทำ� การสัมภาษณ์เชงิ ลึก (in-depth interview) 2. การสรา้ งและพัฒนาคณุ ภาพเครอ่ื งมอื เครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัยครงั้ น้ปี ระกอบดว้ ย 2 สว่ น ได้แก่ 1) เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการทดลอง และ 2) เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดงั รายละเอยี ดและวิธกี ารสรา้ งต่อไปนี้ 2.1 เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการทดลอง เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการทดลอง คอื แบบฝกึ หดั ไวยากรณ์ออนไลนท์ ม่ี รี ปู แบบคล้ายคลงึ กบั แบบ ทดสอบโทอคิ ในสว่ นที่ 5 แบบทดสอบเตมิ คำ� ในประโยค (Incomplete sentences) และสว่ นที่ 6 แบบทดสอบ เตมิ คำ� ในบทความ (Text Completion) ลกั ษณะแบบทดสอบเปน็ แบบตวั เลอื ก (Multiple-choice) 4 ตวั เลอื ก มคี ำ� อธบิ ายคำ� ตอบ และมเี ฉลย ผา่ นรปู แบบของ Google Form โดยผสู้ อนประจำ� หลกั สตู รภาษาองั กฤษธรุ กจิ เปน็ ผอู้ อกแบบฝกึ หัด โดยใช้ Test of Specification และได้รับการตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเช่ือถือ ดา้ นเน้อื หาจากผ้เู ชย่ี วชาญ 3 ทา่ น โดยใช้เครอื่ งมอื การหาค่าความเทยี่ งตรงของแบบฝึกหัด (Index of Item Objective Congruence หรือ IOC) โดยค่า IOC ของขอ้ คำ� ถามของแบบฝึกหดั ไวยากรณ์มคี ่าตั้งแต่ 0.66 - 1.00 ก่อนจะน�ำเข้าระบบออนไลน์ ผ่านแอปพลิเคชันไลน์ (Line Application) ทุกวันจันทร์ วันพุธ และ วันศุกร์ วันละ 2 ข้อ สปั ดาห์ละ 4 ขอ้ จำ� นวน 36 สปั ดาห์ รวมทั้งหมด 144 ขอ้ 2.2 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ในการศึกษาวิจัยน้ี ผู้วิจัยใช้เครื่องมือวิจัย 3 ชนิด ได้แก่ 1) แบบทดสอบก่อนและหลัง การเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ (Pre-test and Post-test) จ�ำนวน 1 ชุด 2) แบบสอบถาม ความคิดเห็นหลังการเรียนออนไลน์ (Questionnaire) จ�ำนวน 1 ชุด และ 3) แบบสัมภาษณ์นักศึกษา (Interview Form) จ�ำนวน 1 ชดุ ดังรายละเอียดตอ่ ไปน้ี 1) แบบทดสอบก่อนและหลังการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ อันได้แก่ แบบทดสอบภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สารนานาชาติ หรอื โทอิค จำ� นวน 100 ขอ้ ทีท่ ดสอบความรู้ไวยากรณ์ ครอบคลุมเนื้อหาในแบบฝึกหดั ออนไลน์ โดยคัดเลือกจากแบบทดสอบ Practice Test ในหนังสอื Longman 6 บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั สวนดุสติ

Preparation Series for the New TOEIC Test – Introductory Course (Lougheed, 2006) และ Intermediate Course (Lougheed, 2007) รวมทั้งแบบทดสอบ Practice Test จากหนงั สือ Barron’s TOEIC Practice Exams (Lougheed, 2017) 2) แบบสอบถามความคิดเหน็ ผูว้ จิ ัยสร้างข้อคำ� ถามจ�ำนวน 12 ขอ้ จากการสอบถาม Pilot study การศกึ ษาคน้ ควา้ ตำ� ราและงานวจิ ยั โดยไดร้ บั การตรวจสอบความถกู ตอ้ งและความนา่ เชอ่ื ถอื ดา้ นเนอ้ื หา จากผเู้ ชย่ี วชาญ 3 ทา่ น โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื การหาคา่ ความเทย่ี งตรงของแบบสอบถาม (Index of Item Objective Congruence หรอื IOC) โดยค่า IOC ของข้อคำ� ถาม 12 ข้อในแบบสอบถามมคี ่าเทา่ กบั 1.00 แบบสอบถาม น้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนออนไลน์ ในการสร้างแบบสอบถามน้ัน ผู้วิจัยก�ำหนดเน้ือหาของแบบสอบถาม ศึกษาแนวคิดท่ีได้ศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และ สรา้ งแบบสอบถามความคดิ เหน็ ของนักศึกษา จ�ำนวน 12 ขอ้ ซงึ่ เปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ ตามแบบ ของลเิ คริ ์ท 3) แบบสัมภาษณ์นักศึกษา ผู้วิจัยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) สร้างข้อค�ำถามให้มีความสอดคล้องกับแบบสอบถาม โดยได้รับการตรวจสอบความถูกต้องและ ความนา่ เช่อื ถือดา้ นเนอื้ หาจากผู้เชีย่ วชาญ 3 ท่าน 3. การวเิ คราะห์ข้อมูล ผู้วจิ ยั ท�ำการวเิ คราะห์ข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากเครื่องมอื วจิ ัยท้งั 3 ชนิด ดงั น้ี 3.1 แบบทดสอบกอ่ นและหลังการเรยี นไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากแบบทดสอบกอ่ นและหลงั การเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลน์ ซงึ่ เปน็ แบบทดสอบแบบ 4 ตวั เลอื ก จ�ำนวน 100 ขอ้ คดิ เปน็ 100 คะแนน ผวู้ จิ ยั ไดด้ �ำเนนิ การวเิ คราะห์ข้อมูล ตามขน้ั ตอนต่อไปนี้ 1) ท�ำการตรวจค�ำตอบ โดยให้ 1 คะแนน เม่ือนักศึกษาตอบถูก และให้ 0 คะแนน เมื่อ นักศกึ ษาตอบผดิ 2) วิเคราะห์คะแนนสอบของนักศึกษาก่อนและหลังเรียนออนไลน์โดยใช้สถิติการแจกแจง ความถี่ (Frequency Distribution) คา่ เฉลีย่ (Mean) สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Derivation) และ เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิไวยากรณ์ภาษาอังกฤษก่อนและหลังท�ำแบบฝึกหัดออนไลน์ด้วยการทดสอบค่าทีแบบ ไม่อิสระ (Dependent Sample T-test) 3) นำ� เสนอขอ้ มลู ในรปู แบบตารางและการบรรยาย 3.2 แบบสอบถามความคดิ เหน็ หลังการเรยี นออนไลน์ ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากแบบสอบถามความคิดเหน็ หลงั การเรยี นออนไลน์ ผ้วู ิจยั ได้ด�ำเนนิ การวเิ คราะห์ข้อมูลตามขน้ั ตอนตอ่ ไปนี้ 1) ตรวจความสมบูรณ์ของข้อมูลในแบบสอบถาม จากน้ันใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปในการ วิเคราะหข์ อ้ มลู 2) วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากแบบสอบถามโดยใชส้ ถติ ริ อ้ ยละ (Percentage) คา่ เฉลยี่ (Mean) และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 3) นำ� เสนอข้อมลู ในรปู แบบตารางและการบรรยาย ปที ่ี 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 7

3.3 การสัมภาษณ์ ผู้วิจัยถอดเทปเสียงสัมภาษณ์ น�ำข้อความมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเน้ือหา (Content Analysis) ทฤษฎี Grounded Theory (Strauss & Corbin, 2015) ใส่รหัสระบายสี (Color- coding) และตารางวเิ คราะหข์ ้อมูล (data matrix) น�ำเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลในรปู แบบการบรรยาย ผลการศึกษา ผวู้ จิ ยั ไดส้ รปุ ผลการวจิ ยั ทไ่ี ดจ้ ากแบบทดสอบกอ่ นและหลงั การเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลน์ จากแบบส1อ. ผบลถสาัมฤคทวธามิ์ทคางิดดเ้หาน็นไทวย่ีมาีตก่อรกณา์ภรพาษัฒานอาังคกฤวาษมขรอู้ดง้นานักไศวึกยษาากหรลณัก์ภสาูตษรภาอาษังกาฤอษังกดฤ้วษยธกุรากริจเรหียลนังกไวายรจากัดรกณาร์ ภเราียษนารอแู้ ังบกบฤอษออนอไลนนไล์ นด์ ว้ ยตนเอง และจากการสัมภาษณ์ ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี 1. ผลสมั ฤทธท์ิ างดา้ นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษของนกั ศกึ ษาหลกั สตู รภาษาองั กฤษธรุ กจิ หลงั การจดั การ เตรายี รนารง้แูทบี่ 1บอคอะนแนไลนนเฉ์ ลี่ยผลสอบก่อนและหลังเรียน ความต่างของคะแนนสอบ และความถี่ในการเข้าใช้แบบฝึก ตารางที่ 1 อคอะนแไนลนนเ์ ฉลี่ยผลสอบกอ่ นและหลงั เรยี น ความตา่ งของคะแนนสอบ และความถี่ในการเข้าใชแ้ บบ คะแนนของฝกึ ออนไคละนแ์ นนสอบ คะแนนสอบ ความต่างของ ความถใี่ นการเข้าใช้ นกั ศกึ ษา กอ่ นเรียน หลงั เรยี น คะแนนสอบก่อน แบบฝกึ หัดออนไลน์ (เตม็ 100 คะแนน) (เต็ม 100 คะแนน) และหลังเรยี น (รวม 36 บท) x̅ 40.23 43.23 3.00 12.67 S.D. 8.37 8.71 8.81 9.65 คคะะแนนสอบบขขอองงนนักักศศึกึกษษาหาลหักลสักูตสรูตภราภษาษอังากอฤังษกธฤุรษกธิจุรกก่อิจนกก่อารนเกรียานรเไรวียานกไรวณยา์ภการษณาอ์ภังากษฤษาอผัง่ากนฤบษทเผร่าียน บออทนเรไยลี น์อโอดนยเไฉลลน่ยี ์ โอดยยูท่ เ่ีฉ4ล0ยี่.2อ3ยทู่ค่าี 4เบ0ยี่.2ง3เบคนา่ มเบาตย่ี รงฐเบานนทมี่า8ต.3ร7ฐาคนะทแี่น8น.3ส7อคบะขแอนงนนกั สศอกึ บษขาอหงลนกั กั สศูตกึ รษภาษหาลอกั ังสกตู ฤรษภธาุรษกาิจ อหังลกงั กฤาษรธเรุ ยีกนิจไหวลยังากราณรเ์ภรียาษนาไอวยังกาฤกษรณผ่า์ภนาบษทาเรอยีังนกอฤอษนผไ่าลนนบ์ โทดเยรเียฉนลอย่ี อยนทู่ ไลี่ 4น3์ .2โด3ยคเ่าฉเลบี่ยี่ยองเยบู่ทนี่ ม4า3ต.ร2ฐ3านคท่า่ี เ8บ.่ีย71งเบโดนย มคาวตามรตฐา่านงขทอ่ี ง8ค.7ะ1แนโนดสยอคบวากม่อตน่าแงลขะอหงลคังะเรแียนนนโสดอยเบฉกลอ่ ี่ยนอแยลู่ทะี่ 3ห.ล00ังเรคียะนแนโดนยคเฉ่าลเบ่ียี่ยองยเ่ทูบนี่ 3ม.0าต0รคฐาะนแทนี่น8.8ค1า่ เทบั้งย่ี นงี้เจบานก มอจโดำอายนตนมวรไีคนฐลา่บานเนทบจ์ ทเี่ย�ำรน่ีงยี 8เวนบ.น8อนเ1อมฉนาลทตไย่ีลง้ัรอนนฐยา้ี์จจนู่ทำานท่ี 1กวี่ 92จน..ำ�663น576วบนบบททเทรโเดยี รนยียมนพคี อบ่าอวเนบ่าไีย่นลงักนเศบจ์ ึกนำ� ษนมาาวเตนขา้รใฐ3ชา6แ้ นบบทบท่ี ฝ9เกึร.6ียห5นัดอพอนบไวลา่ น์จนำักนศวึกนษเฉาลเขย่ี ้าอใยชทู่ ้แ่ี บ12บ.ฝ67กึ หบัดท ตตาารราางงทที่ ่ี 22 เปอเปรอยีรนบียไเบลทเนียท์บียคบวคาวมาสมามสาารมถาใรนถกใานรกใชา้ภรใาชษ้ภาอางัษกาฤอษังกก่อฤนษแกล่อะนหแลลังกะาหรลเรังยี กนาไรวเยราียกนรไณวย์ภาากษราณองั ์ภกาฤษษาอออังนกไลฤนษ์ คะแนนสอบ จำนวนผ้สู อบ คะแนนเต็ม x̅ S.D. t Sig. กอ่ นเรียน 43 100 40.23 8.37 -2.23 .031* หลงั เรยี น 43 100 43.23 8.71 * p = .05 จากการวเิ คราะหผ์ ลคะแนนแบบทดสอบกอ่ นและหลงั การเรยี นไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ พบวา่ ในภาพรวม นักศกึ ษาหลักสตู รภาษาอังกฤษธุรกจิ จำนวน 43 คน มผี ลคะแนนเฉลีย่ หลังการเรียนไวยากรณภ์ าษาอังกฤษออนไลน์ 8 (xบ=̅ัณ4ฑ3ิตว.2ิทย3า,ลSัย.มDห.า=วทิ8ย.7าล1ยั )สวสนูงดกุสติ ว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ (x=̅ 40.23, S.D.=8.37) เมื่อ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ (dependent sample t-test) พบว่า คะแนนเฉล่ีย แบบทดสอบหลังการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์แตกต่างจากคะแนนเฉลี่ยแบบทดสอบก่อนการเรียน

จากการวิเคราะห์ผลคะแนนแบบทดสอบก่อนและหลังการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ พบว่า ในภาพรวม นักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจจ�ำนวน 43 คน มีผลคะแนนเฉล่ียหลังการเรียนไวยากรณ์ ภาษาองั กฤษออนไลน์ (  = 43.23, S.D.=8.71) สงู กวา่ คะแนนเฉลยี่ กอ่ นเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลน์ (  = 40.23, S.D.=8.37) เมื่อทำ� การวเิ คราะหข์ ้อมลู ด้วยการทดสอบค่าทแี บบไม่อิสระ (Dependent Sample T-test) พบว่า คะแนนเฉล่ียแบบทดสอบหลังการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์แตกต่างจากคะแนน เฉล่ียแบบทดสอบก่อนการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดย คะแนนเฉลีย่ หลงั เรียนสูงกวา่ คะแนนเฉลยี่ กอ่ นเรยี น 2. ความคิดเห็นท่ีมีต่อการพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษด้วยการเรียนไวยากรณ์ภาษา อังกฤษออนไลนด์ ว้ ยตนเอง ตารางท่ี 3 ระดับความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษด้วยการเรียนไวยากรณ์ ภาษาองั กฤษออนไลน์ด้วยตนเอง ความคิดเห็น S.D. แปลผล การปฐมนิเทศชี้แจงความจ�ำเป็น ลักษณะของแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ 4.27 0.54 เหน็ ด้วย ออนไลน์ และรูปแบบการเรียนออนไลน์เป็นประโยชน์ต่อการฝึกฝนและพัฒนา อย่างย่ิง ความรดู้ า้ นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษด้วยการเรียนออนไลนด์ ้วยตนเอง แบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาอังกฤษออนไลนต์ รงตามความต้องการของผูเ้ รยี น 4.07 0.82 เหน็ ดว้ ย แบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนส์ รา้ งแรงจงู ใจใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 3.77 0.96 เห็นดว้ ย เนอื้ หาความรไู้ วยากรณใ์ นแบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนม์ คี วามยากงา่ ย 4.23 0.64 เห็นดว้ ย เหมาะสมกบั ผเู้ รยี น อย่างยง่ิ เนื้อหาในแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ครอบคลุมหัวข้อไวยากรณ์ที่ 4.11 0.69 เห็นด้วย จ�ำเปน็ ต่อการทดสอบโทอิค การใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั ในแบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนแ์ ตล่ ะขอ้ เออ้ื 4.32 0.60 เหน็ ดว้ ย ให้ผ้เู รยี นเขา้ ใจวา่ เหตุใดตวั เลือกนนั้ จึงถูกหรือผิด อย่างยิ่ง แบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์มคี วามยืดหยุน่ ผู้เรียนสามารถเรยี นและ 4.25 0.72 เหน็ ด้วย กลบั มาทบทวนได้เมือ่ ตอ้ งการ อยา่ งยง่ิ จำ� นวนขอ้ ของแบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนท์ ผ่ี เู้ รยี นฝกึ ในแตล่ ะสปั ดาห์ 4.16 0.81 เหน็ ดว้ ย มคี วามเหมาะสม ผู้เรียนศึกษาเน้ือหาจากแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ด้วยตนเองได้ 4.32 0.77 เหน็ ดว้ ย เท่าที่ตอ้ งการ อยา่ งยิ่ง ผู้เรียนเข้าถึงการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ 4.18 1.02 เหน็ ดว้ ย ได้สะดวก ปีท่ี 17 ฉบับท่ี 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 9

ตารางท่ี 3 (ตอ่ ) ความคิดเหน็ S.D. แปลผล ผู้เรียนพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษด้วยการท�ำแบบฝึกไวยากรณ์ 4.07 0.90 เหน็ ด้วย ภาษาอังกฤษออนไลนด์ ว้ ยตนเอง ผู้เรียนสามารถใช้ไวยากรณ์เพื่อการส่ือสารในบริบทได้ด้วยการท�ำแบบฝึก 4.05 0.82 เห็นดว้ ย ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนด์ ้วยตนเอง ภาพรวม 4.15 0.14 เห็นดว้ ย ในภาพรวม นักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจเห็นด้วยต่อการพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษา องั กฤษดว้ ยการเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนด์ ว้ ยตนเอง (  = 4.15, S.D. = 0.14) เมอื่ พจิ ารณารายดา้ น พบวา่ นกั ศกึ ษามรี ะดบั ความคดิ เหน็ ดว้ ยอยา่ งยง่ิ ตอ่ การพฒั นาความรดู้ า้ นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษดว้ ยการเรยี น ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนด์ ้วยตนเองทัง้ หมด 5 ประเดน็ โดยอนั ดบั แรก คอื การที่ผ้เู รียนศกึ ษาเนือ้ หา จากแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาองั กฤษออนไลนด์ ว้ ยตนเองได้เทา่ ท่ตี ้องการ (  = 4.32, S.D. = 0.77) อนั ดับทีส่ อง ในประเดน็ การใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั ในแบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนแ์ ตล่ ะขอ้ เออื้ ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจวา่ เหตุใดตัวเลือกนั้นจึงถูกหรือผิด (  = 4.32, S.D. = 0.60) และอันดับที่สาม การปฐมนิเทศช้ีแจงความจ�ำเป็น ลกั ษณะของแบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลน์ และรปู แบบการเรยี นออนไลนเ์ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การฝกึ ฝน และพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษด้วยการเรียนออนไลน์ด้วยตนเอง (  = 4.27, S.D. = 0.54) นอกจากนี้ยังพบว่า นักศึกษามีระดับความคิดเห็นด้วยต่อการพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษด้วย การเรยี นไวยากรณ์ภาษาองั กฤษออนไลนด์ ้วยตนเองท้งั หมด 7 ประเดน็ โดย 3 อนั ดบั แรก คือ ประเด็นผเู้ รียน เขา้ ถงึ การเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนผ์ า่ นแอปพลเิ คชนั ไลนไ์ ดส้ ะดวก (  = 4.18, S.D. = 1.02) จำ� นวน ข้อของแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ที่ผู้เรียนฝึกในแต่ละสัปดาห์มีความเหมาะสม (  = 4.16, S.D. = 0.81) และเนอ้ื หาในแบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนค์ รอบคลมุ หวั ขอ้ ไวยากรณท์ จี่ ำ� เปน็ ตอ่ การ ทดสอบโทอิค (  = 4.11, S.D. = 0.69) ตามลำ� ดบั นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ พบว่า นักศึกษามีความคิดเห็นต่อการพัฒนา ความรูด้ ้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษด้วยการเรยี นออนไลน์ 3 ประเดน็ ส�ำคัญ ได้แก่ 1) ความสะดวกในการเรยี น ออนไลน์ด้วยตนเองผา่ นแอปพลิเคชนั 2) การพัฒนาความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ และ 3) ความ สามารถประยกุ ต์ใชค้ วามรู้จากการเรยี นออนไลน์เพือ่ การสอบโทอคิ ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี 1. ความสะดวกในการเรียนออนไลน์ด้วยตนเองผ่านแอปพลเิ คชัน ผลการวิเคราะหพ์ บว่า การเรียนออนไลน์ดว้ ยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งแอปพลิเคชนั ไลน์ มคี วามสะดวก ดงั ทนี่ กั ศกึ ษากลมุ่ ตวั อยา่ งทง้ั หา้ คนบรรยายตรงกนั วา่ สามารถทำ� แบบฝกึ หดั ไดท้ นั ที ทไี่ หนกไ็ ด้ ไมจ่ ำ� กดั สถานทแี่ ละเวลา ดงั ตวั อยา่ งบทสมั ภาษณ์ “เราอยทู่ ไี่ หนเรากท็ ำ� ไดค้ ะ่ แลว้ กข็ น้ั ตอนทเี่ ขา้ มนั กไ็ มไ่ ดย้ งุ่ ยากจนเกนิ ไป เราสามารถทำ� ไดต้ ลอด ไมว่ า่ แบบเรากนิ ขา้ วอยา่ งนเ้ี รากน็ งั่ ทำ� ไดอ้ ะไรอยา่ งนี้ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งแบบ มานัง่ เปดิ หนงั สือแล้วกท็ ำ� คะ่ ” “อย่างทีบ่ อกว่าเราสามารถทำ� ตอนไหนกไ็ ด้ เวลาไหนก็ได้ ทีท่ เ่ี ราสะดวกค่ะ ที่ ไมต่ อ้ งมาทำ� ทม่ี หาวทิ ยาลยั ตวั นก้ี จ็ ะทำ� ใหเ้ ราสามารถทำ� ทบี่ า้ นได้ อา่ นบนรถหรอื วา่ เวลาเราไปไหนกไ็ ด”้ “หนู 10 บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ

ว่าถ้าเรียนผ่านแอปพลิเคชันก็คือสะดวกสบายค่ะ แบบเวลาเรียน เราได้ท�ำ ฝึกท�ำโจทย์ที่ไหนก็ได้ค่ะ ฝึกท�ำ ทไ่ี หนกไ็ ด้ เวลาไหนกไ็ ด้คะ่ แตถ่ า้ ท�ำผ่านหนงั สือก็คือต้องหาเวลาว่างนั่งอ่านนง่ั ทำ� อยา่ งน.ี้ ..ก็คอื สะดวกสบาย แบบเราทำ� เมอื่ ไหรก่ ไ็ ดค้ ่ะ ถา้ พแี่ ยมสง่ ไปใหค้ ือเราสามารถยอ้ นกลบั ไปทำ� ไดเ้ รอื่ ย ๆ เหมอื นกนั ไมใ่ ชว่ า่ ท�ำแล้ว กค็ ือปลอ่ ยผ่านไปเลย ไมส่ ามารถยอ้ นกลับมาทำ� ได้นะ่ ค่ะ” นอกจากนี้ การใชอ้ ปุ กรณใ์ นการเขา้ ถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ ไดง้ า่ ยเชน่ สมารท์ โฟนกช็ ว่ ยอำ� นวยความสะดวก สบายในการเรยี นออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชนั ไลนไ์ ด้ ดงั ตัวอยา่ งบทสมั ภาษณ์ “อย่างหนังสือใชไ่ หมคะเราต้อง แบบเปิดอ่านแล้วก็พลกิ ไปพลกิ มาท�ำ แต่อันนเ้ี ราใชแ้ บบสมารท์ โฟน เราเลอื กขอ้ น้ี ค�ำตอบมนั ก็จะเดง้ ขึน้ มา เลย ไม่ต้องเปิดไปเปิดมา ท�ำใหไ้ ม่เสยี เวลาในการที่เราจะหาความรคู้ ะ่ ” “หนูก็เปน็ คนไม่คอ่ ยชอบถือหนังสอื มาเปดิ อา่ นนงั่ อา่ นอะไรแบบนค้ี ะ่ ถา้ เกดิ วา่ เปน็ แบบออนไลนโ์ ทรศพั ทต์ ดิ มอื ตลอดอยแู่ ลว้ กส็ ามารถเปดิ ไดเ้ ลย สะดวก อะไรอยา่ งนคี้ ะ่ ” อยา่ งไรกต็ าม นกั ศกึ ษาผใู้ หส้ มั ภาษณค์ นหนง่ึ มคี วามคดิ เหน็ วา่ การเรยี นออนไลนจ์ าก โทรศพั ทม์ อื ถอื อาจไมเ่ หมาะกบั แบบฝกึ หดั ไวยากรณแ์ บบเตมิ คำ� ในบทความ (Text Completion) โดยกลา่ ววา่ “เวลาเราท�ำแบบฝึกหัดผ่านโทรศัพท์ค่ะอาจารย์ โทรศัพท์มันจะหน้าจอเล็กใช่ไหมคะ ในที่เป็น Passage ยาว ๆ คะ่ ตัวโจทย์ ถา้ เป็นในหนงั สือคือเราจะได้ดขู ้างบนและก็ข้างล่างมนั จะเปน็ Choice ลงมาใช่ไหมคะ แต่วา่ ในโทรศพั ท์ มันจะแบบเปดิ ไปอกี หนา้ หนึ่ง ซึง่ เราตอ้ งกลบั มาดูแล้วก็มาดอู ย่างน้อี กี รอบหน่งึ ค่ะ” จงึ อาจ กล่าวได้ว่าการใช้โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนยังมีข้อจ�ำกัดในเร่ืองมุมมองและขนาดหน้าจอที่ต้องตระหนักเป็น สำ� คญั ข้อคน้ พบดงั กล่าวขา้ งตน้ ยังสอดคลอ้ งกบั ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู จากแบบสอบถามทก่ี ลุ่มตัวอยา่ ง แสดงความเหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ ในประเดน็ ผเู้ รยี นศกึ ษาเนอื้ หาจากแบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนด์ ว้ ยตนเอง ได้เท่าท่ีต้องการ ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.32 และแสดงความเห็นด้วยในประเด็นผู้เรียนเข้าถึงการเรียนไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษออนไลน์ผ่านแอปพลเิ คชันไลน์ไดส้ ะดวก ค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.18 (ดังแสดงในตารางที่ 3) แมว้ า่ นกั ศกึ ษาผใู้ หส้ มั ภาษณท์ ง้ั หมดมคี วามเหน็ ตรงกนั วา่ การเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลน์ นน้ั มคี วามสะดวกอยา่ งมากและสามารถศกึ ษาเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองไดเ้ ทา่ ทตี่ อ้ งการ อยา่ งไรกต็ าม พบวา่ นกั ศกึ ษา 4 ใน 5 คนไมไ่ ดเ้ ขา้ ทำ� แบบฝกึ หดั ไวยากรณอ์ อนไลนอ์ ยา่ งสมำ่� เสมอ อาจเปน็ เพราะแบบฝกึ หดั บางขอ้ ประกอบ ดว้ ยประโยคยาวหรอื บทความทค่ี อ่ นขา้ งยาวหลายบรรทดั นกั ศกึ ษาจงึ ขาดความสนใจ ดงั ตวั อยา่ งบทสมั ภาษณ์ “มีความสนใจระดับหน่ึงคะ่ แตว่ ่าเหมือนบางที ถ้าเป็นพวก Sentence ยาว ๆ อะไรประมาณนี้คะ่ ก็อาจจะ ขี้เกียจค่ะ ก็เลยแบบท�ำมั่ว ๆ ไป เลยไม่ค่อยได้สนใจว่าต้องท�ำยังไงถึงจะถูก” “หลัง ๆ ท่ีมันเป็นเหมือน Passage ท่มี นั เป็นแบบยาว ๆ หนูขี้เกียจค่ะอาจารย์ เข้าไปแล้วเจอเยอะ ๆ หลงั ๆ กไ็ มค่ อ่ ยเขา้ แต่ว่าแรก ๆ เขา้ บอ่ ย แลว้ กเ็ ขา้ ไปทำ� บา้ ง” ประกอบกบั นกั ศกึ ษาไมไ่ ดถ้ กู บงั คบั ใหท้ ำ� แบบฝกึ หดั หรอื อาจเคยชนิ กบั อาจารย์ ผู้สอนเป็นผู้ป้อนความรู้ ดังตัวอย่างบทสมั ภาษณ์ “แต่วา่ อยา่ งทบ่ี อกส�ำหรับคนขีเ้ กียจ มันก็ไมม่ กี ฎเกณฑ์ว่า สง่ มาป๊บุ ก็มคี นทำ� นะ อะไรอย่างนค้ี ่ะ อาจจะทำ� ใหเ้ ราเฉยชาไปหน่อย บางทไี ดม้ ากย็ งั ไมต่ ้องท�ำก็ได้ สกั พกั ลืม กไ็ มท่ �ำอะไรแบบนีค้ ่ะ กเ็ ป็นอีกหน่ึงอย่าง น่เี ป็นทตี่ วั เรานะคะ ไม่ได้เปน็ ทีต่ วั แบบฝกึ หัดค่ะ” “ถ้าเกิดว่าไมไ่ ด้ มาท�ำแบบกับอาจารย์ จะท�ำให้ไม่มีวินัยในการท�ำค่ะ ส�ำหรับตัวหนูนะคะคือไม่มีวินัย แบบเราไม่ได้ท�ำเป็น กิจวัตรคะ่ กค็ อื ท�ำตอนไหนก็ได้ ถา้ เราแบบ อุย๊ ฉนั ท�ำวนั หลงั ก็ไดค้ ะ่ แล้วก็จะลืม ถา้ เกดิ เราไมม่ อี นิ เทอรเ์ น็ต พอเรามาเปดิ มันก็เป็นแบบแจง้ เตอื นเยอะ ๆ ใช่ไหมคะ แลว้ ก็จะแบบเยอะ ฉนั ไม่อยากท�ำ อะไรอย่างนคี้ ะ่ อาจารย์” อย่างไรก็ตาม แม้ว่านักศึกษาสนใจเรียนออนไลน์และคิดว่าเป็นประโยชน์กับตนเอง แต่ยังไม่เพียง ปที ี่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 11

พอทจ่ี ะกระตนุ้ ความสนใจในการเรยี นรู้ นกั ศกึ ษายงั ขาดความใสใ่ จ ขาดการฝกึ ฝนอยา่ งตอ่ เนอื่ งสมำ�่ เสมอ หรอื บางคนอาจไมถ่ นดั ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ นกั ศกึ ษาผใู้ หส้ มั ภาษณค์ นหนง่ึ แสดงความคดิ เหน็ วา่ “นา่ สนใจคะ่ แตห่ นไู มค่ ่อยเขา้ ไปทำ� หนคู ดิ วา่ อนั นไี้ มค่ อ่ ยเครง่ เทา่ ไหรค่ ่ะ แบบอาจารยไ์ มค่ ่อยเครง่ ใหท้ ำ� เทา่ ไหร่ หนเู ลยคดิ วา่ ไม่เป็นไร ไมค่ อ่ ยได้เข้าท�ำกไ็ ด้คะ่ กค็ อื แบบว่ามนั เขยี นลงไปไมไ่ ด้ค่ะ คือมนั จับต้องไม่ได้ เป็นเพราะตวั หนู เองทแ่ี บบวา่ ไมค่ อ่ ยชอบเรอื่ งทางออนไลนส์ กั เทา่ ไหรค่ ะ่ แตก่ อ็ ยทู่ ต่ี วั หนอู กี คะ่ เพราะวา่ ไมค่ อ่ ยไดเ้ ขา้ ไปทำ� หนู คิดว่าถ้าเข้าไปท�ำก็น่าจะได้ประโยชน์มากกว่าน้ีค่ะ” จึงอาจกล่าวได้ว่า นักศึกษายังขาดแรงจูงใจจากปัจจัย ภายนอกและแรงจงู ใจทเ่ี กดิ จากภายในบคุ คล จากขอ้ คน้ พบดงั กลา่ ว สอดคลอ้ งกบั ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ความถ่ี ในการเข้าใช้แบบฝึกหัดออนไลน์ที่พบว่า นักศึกษาเข้าใช้จ�ำนวนเฉล่ียอยู่ท่ี 12.67 บท จากจ�ำนวนบทเรียน ออนไลนจ์ ำ� นวน 36 บทเรียน หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 35 (ดังแสดงในตารางที่ 1) 2. การพฒั นาความสามารถด้านไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์พบว่า นักศึกษาได้พัฒนาความสามารถด้านไวยากรณ์ ภาษาองั กฤษ 2 ดา้ น ไดแ้ ก่ ความรไู้ วยากรณ์ และความสามารถในการใชไ้ วยากรณเ์ พอื่ การสอื่ สาร ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ ส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่าตนเองพัฒนาความรู้ในเร่ืองรูปและโครงสร้างไวยากรณ์ส�ำหรับเติมค�ำในประโยค (Incomplete Sentences) มากกวา่ ใชไ้ วยากรณเ์ พอ่ื การสอื่ สาร ดงั ทผี่ ใู้ หส้ มั ภาษณย์ กตวั อยา่ งหลกั ไวยากรณ์ ทต่ี นไดเ้ รยี นรู้ อาทิ Part of Speech - adjective Verb Adverb Conjunction - Prefix Suffix Subject-verb Agreement และ Article นอกจากนี้ ยงั พบวา่ นกั ศกึ ษาสามารถน�ำความรดู้ ้านไวยากรณ์ไปใช้ในการส่อื สาร ในบรบิ ทไดน้ อ้ ย แมว้ า่ ผใู้ หส้ มั ภาษณบ์ างคนสามารถใชไ้ วยากรณใ์ นการสอ่ื สารไดถ้ กู ตอ้ งและเปน็ ระบบมากขน้ึ ดงั ตวั อยา่ งบทสมั ภาษณ์ “เมอ่ื กอ่ นกพ็ ดู งู ๆ ปลา ๆ ตอนนม้ี กี ารจดั ระบบกอ่ นพดู มากขนึ้ เรม่ิ มกี ารเรยี งประโยค เชน่ ประธาน กรยิ า ในสมองมากขน้ึ ” และสามารถนำ� ไปปรบั ใชใ้ นการทำ� แบบทดสอบ ดงั ตวั อยา่ งบทสมั ภาษณ์ “ใช้ถกู ตอ้ งมากขึ้นค่ะ หลังจากท่ีเราทำ� แบบทดสอบแล้วไปสอบ มันมคี วามคดิ มากขึน้ วา่ จะตอบข้อนี้มว่ั ๆ ไม่ ได้ เราเรยี นมาอยา่ งน้ี แสดงวา่ ข้อนใ้ี ช่ เราก็ตอ้ งตดั ท้ิง มันมหี นทางท่ีจะเลือกค�ำตอบได้ถูกตอ้ งมากทส่ี ุดคะ่ ” 3. ความสามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามรูจ้ ากการเรยี นออนไลน์เพื่อการสอบโทอิค ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่าตนเองคาดหวังว่าจะสอบผ่านโทอิค (TOEIC) เพื่อวัด สมทิ ธภิ าพทางภาษาอังกฤษ (English Proficiency) ตามเกณฑก์ ารสำ� เรจ็ การศึกษาของหลกั สูตรศลิ ปศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ และมีความมั่นใจในแบบฝึกออนไลน์ว่าเป็นประโยชน์ส�ำหรับนักศึกษา ดังตัวอยา่ งบทสัมภาษณ์ “อยากสอบผ่านโทอิคของหลักสูตร 600 คะแนน” “อย่างครงั้ แรกทีห่ นูสอบโทอิคใช่ ไหมคะ ไดแ้ ค่ 465 อย่างคร้งั ท่สี องมันไมไ่ ดท้ �ำทกุ วนั คือ อาทิตย์หน่ึงท�ำสองคร้ัง สามครงั้ มันทำ� ใหเ้ กิดความ ต่อเนื่องค่ะ มันก็ท�ำให้คะแนนอัพข้ึนเป็น 575 ได้ค่ะ” “หนูรู้สึกว่าอาจารย์น่าจะรู้มากกว่าว่าเราต้องไม่รู้ อยา่ งน้ี ๆ แน่ ๆ เลย อะไรอยา่ งนค้ี ะ่ เพราะวา่ อาจารยส์ อนเรา อาจารยก์ ต็ อ้ งรวู้ า่ เราแบบวา่ เดยี๋ วตอ้ งไมร่ แู้ นเ่ ลย ค�ำนีว้ า่ จะตอ้ งไม่รูอ้ ันนมี้ นั จะมาจากไหน อะไรยังไงคะ่ ” “นา่ สนใจมากค่ะ สำ� หรบั นกั ศึกษาอย่างพวกหนทู จ่ี ะ ตอ้ งสอบ TOEIC เพราะว่าเราสามารถเปดิ ได้เลยค่ะ อาจารย์สง่ มา พ่แี ยมสง่ มาให้ใช่ไหมคะ กเ็ ปิดเข้าไปดไู ด้ เลยวา่ อาทติ ยน์ อี้ าจารยเ์ ขาจะบอกเรอ่ื งอะไร” สอดคลอ้ งกบั ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากแบบสอบถาม นกั ศกึ ษา เห็นด้วยในประเด็นเนื้อหาในแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ครอบคลุมหัวข้อไวยากรณ์ท่ีจ�ำเป็นต่อ การทดสอบโทอิค ค่าเฉล่ยี เทา่ กับ 4.11 (ดงั แสดงในตารางที่ 3) 12 บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต

อภปิ รายผล ผวู้ จิ ยั สามารถอภปิ รายผลไดใ้ นประเดน็ สำ� คญั 2 ประเดน็ ไดแ้ ก่ 1) ผลสมั ฤทธท์ิ างดา้ นไวยากรณภ์ าษา องั กฤษของนกั ศกึ ษาหลกั สตู รภาษาองั กฤษธรุ กจิ หลงั การเรยี นออนไลน์ และ 2) ความคดิ เหน็ ทมี่ ตี อ่ การพฒั นา ความรู้ด้านไวยากรณภ์ าษาอังกฤษด้วยการเรียนออนไลน์ดว้ ยตนเอง ดังต่อไปน้ี 1. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจ หลงั การเรยี นออนไลน์ ภายหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ด้วยการท�ำแบบฝึกไวยากรณ์ออนไลน์ นักศึกษา หลักสูตรภาษาอังกฤษธุรกิจมีผลสัมฤทธ์ิทางด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษท่ีสูงข้ึนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ี ระดบั .05 (ดงั แสดงในตารางที่ 3) คะแนนเฉล่ียสูงขนึ้ 3.00 คะแนน ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานที่ 8.81 โดยคะแนน เฉล่ียผลสัมฤทธิ์ทางด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษก่อนการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษผ่านบทเรียนออนไลน์ อยู่ที่ 40.23 คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐานท่ี 8.37 สว่ นคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธท์ิ างดา้ นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษหลัง การเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษผ่านบทเรียนออนไลน์ อยู่ที่ 43.23 คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานที่ 8.71 โดยความ ต่างของคะแนนสอบก่อน และหลงั เรียนโดยเฉลยี่ อยูท่ ี่ 3.00 คะแนน คะแนนสอบของนกั ศกึ ษาหลักสูตรภาษา อังกฤษธุรกิจก่อนการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษผ่านบทเรียนออนไลน์ โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 40.23 ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานท่ี 8.37 (ดงั แสดงในตารางท่ี 1) เปน็ ไปตามสมมตฐิ านทตี่ ง้ั ไวว้ า่ นกั ศกึ ษาหลกั สตู รภาษาองั กฤษธรุ กจิ มีผลสัมฤทธ์ิทางด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์สูงข้ึนกว่าก่อนเรียน สอดคลอ้ งกบั ผลการศกึ ษาวจิ ยั เรอ่ื งการพฒั นาบทเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษแบบเนน้ ภาระงานโดยใชเ้ อกสาร จรงิ ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ทพ่ี บว่า ความสามารถทางไวยากรณภ์ าษาอังกฤษของผเู้ รยี น หลังเรียนด้วยบทเรียนไวยากรณ์สูงกว่าก่อนเรียน โดยคะแนนเฉล่ียก่อนเรียน 12.48 คะแนน คะแนนเฉล่ีย หลงั เรยี น 23.26 คะแนน มคี ะแนนผลตา่ งเฉลย่ี ระหวา่ งกอ่ นและหลงั ใชบ้ ทเรยี นเทา่ กบั 10.78 คะแนน (Arsairach & Wongsathian, 2014) ท้ังนี้ อาจเปน็ เพราะการเรยี นออนไลน์เอือ้ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นรูไ้ วยากรณภ์ าษา อังกฤษ แม้วา่ เมอ่ื เปรยี บเทียบคะแนนการทดสอบก่อนเรียนออนไลน์ คะแนนเฉลย่ี ตา่ งกนั ไม่มาก แตก่ ส็ ่งผล ให้นักศึกษาตระหนักถึงการพัฒนาความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษด้วยการเรียนออนไลน์ของตนได้ ไม่มากก็น้อย โดยนักศึกษาเห็นด้วยว่าตนเองพัฒนาความรู้ด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษมากกว่าใช้ไวยากรณ์ เพื่อการส่ือสารในบริบทได้ มีค่าเฉล่ียอยู่ท่ี 4.07 และ 4.05 ตามล�ำดับ (ดังแสดงในตารางท่ี 4) นอกจากน้ี ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การสมั ภาษณพ์ บประเดน็ สอดคลอ้ งกนั ในเรอ่ื งความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษไวยากรณ์ โดยพบวา่ นกั ศกึ ษาเหน็ ตรงกนั วา่ ตนเองไดพ้ ฒั นาทกั ษะในการเรยี นรคู้ ำ� ศพั ท์ เชน่ การสงั เกตอปุ สรรค (Prefix) และปจั จยั (Suffix) การแยกแยะชนดิ ของค�ำ (Part of Speech) การหาค�ำสำ� คญั (Key Word) ในประโยค ไม่สมบูรณ์ หรือสามารถใชไ้ วยากรณ์ในการสอื่ สารไดถ้ ูกต้องและเปน็ ระบบมากขึ้น จากงานวิจัยยังพบว่า การ เรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ท่ีอยู่บนกูเก้ิล ฟอร์ม (Google Form) ผ่านแอปพลิเคชันไลน์ (Line Application) นกั ศึกษาสามารถตรวจสอบความถกู ตอ้ งของการใชป้ ระโยครปู แบบตา่ ง ๆ ตามหลกั ภาษาดว้ ย ตัวเอง สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามที่นักศึกษาเห็นด้วยอย่างย่ิงเป็นอันดับท่ีสองว่า การให้ข้อมูลสะท้อนกลับในแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์แต่ละข้อเอ้ือให้ผู้เรียนเข้าใจว่าเหตุใดตัว เลือกนน้ั จึงถกู หรอื ผิด มีคา่ เฉลยี่ อยู่ที่ 4.32 (ดังแสดงในตารางที่ 4) ซง่ึ ช้ีใหเ้ ห็นวา่ ผู้เรียนสนใจศึกษาค�ำอธบิ าย ปที ี่ 17 ฉบบั ที่ 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 13

ค�ำตอบและเฉลยในแบบฝึกหัดออนไลน์ที่คณะผู้วิจัยออกแบบไว้ และต้องการเรียนรู้ว่าจะน�ำไวยากรณ์ไปใช้ อยา่ งไร สอดคลอ้ งกบั ท่ี Lightbrown (1985) ใหค้ วามเหน็ วา่ การสอนไวยากรณจ์ ะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจ สามารถ ตระหนกั ถึงโครงสร้างไวยากรณแ์ ละสามารถนำ� ไปใชเ้ พอื่ การสอื่ สารภายหลังเม่อื ผู้เรียนพรอ้ ม จากการท่ีนักศกึ ษามีผลสัมฤทธท์ิ ส่ี งู ข้ึนเฉลีย่ 3.00 คะแนน หลังการทำ� แบบฝกึ ไวยากรณอ์ อนไลน์ ซึ่งไม่แตกต่างจากคะแนนสอบก่อนท�ำแบบฝึกไวยากรณ์ออนไลน์มากนัก ประกอบกับที่นักศึกษาเข้าใช้แบบ ฝกึ หดั ออนไลนจ์ ำ� นวนเฉลย่ี อยทู่ ่ี 12.67 บท จากจำ� นวนบทเรยี นออนไลนท์ งั้ สนิ้ 36 บทเรยี น (ดงั แสดงในตาราง ท่ี 1) แสดงให้เห็นว่านักศึกษาบางส่วนมีแรงจูงใจในการเรียนรู้ด้วยตนเองไม่มากนัก ซ่ึงสอดคล้องกับผลจาก แบบสอบถามท่ีนักศึกษาเห็นด้วยในล�ำดับสุดท้ายว่าแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์สร้างแรงจูงใจให้ ผเู้ รยี นเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองได้ มคี า่ เฉลย่ี อยทู่ ี่ 3.77 (ดงั แสดงในตารางท่ี 4) อยา่ งไรกต็ าม กลา่ วไดว้ า่ นกั ศกึ ษารบั รู้ ถึงประโยชน์ท่ีได้รับ (Perceived Usefulness) จากการเรียนออนไลน์ สอดคล้องกับข้อค้นพบจากการ สมั ภาษณน์ กั ศกึ ษาทว่ี า่ การเรยี นออนไลนน์ ไ้ี มม่ กี ารจำ� กดั เวลาในการเขา้ ไปทำ� แบบฝกึ หดั ไมม่ คี ะแนน ไมม่ กี าร บงั คบั ใหท้ ำ� ทำ� ใหน้ กั ศกึ ษาเขา้ ไปทำ� บา้ ง ไมท่ ำ� บา้ ง ดงั นนั้ การนำ� บทเรยี นหรอื แบบฝกึ หดั ออนไลนไ์ ปใชจ้ งึ ควร สรา้ งแรงจูงใจจากภายนอก (Extrinsic Motivation) โดยใหค้ วามสำ� คัญกบั การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) และการเสรมิ แรงทางลบ (Negative Reinforcement) นอกจากนี้ การเรยี นไวยากรณภ์ าษา อังกฤษออนไลน์ในการวิจัยน้ีสามารถกระตุ้นแรงจูงใจเชิงเครื่องมือ (Instrumental Motivation) น่ันคือ นกั ศกึ ษาตอ้ งการเรยี นภาษาเพอ่ื ความเจรญิ กา้ วหนา้ ดงั ท่ี Gardner (1985) กลา่ วไวว้ า่ แรงจงู ใจ คอื การกระตอื รอื รน้ ตอ่ การเรยี นภาษา ความพยายามในกจิ กรรมการเรยี นรู้ และยนิ ดที จ่ี ะสนบั สนนุ การเรยี น รวมทงั้ ความตอ้ งการ เรียนภาษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย โดยแรงจูงใจเชิงเคร่ืองมือนั้นถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนภาษาอังกฤษ โดยตรง (Tamimi & Shuib, 2009) ดงั เช่นข้อคน้ พบจากการสมั ภาษณน์ กั ศึกษาท่ี พบว่า การเรยี นออนไลน์ ท�ำให้มีความรู้ไวยากรณ์มากข้ึน และการเข้าไปท�ำแบบฝึกอย่างต่อเนื่องส่งผลให้คะแนนการทดสอบโทอิค ในครงั้ ที่สองสูงขึ้น รวมถึงนกั ศกึ ษาปรารถนาทจี่ ะน�ำความร้ทู ไี่ ดจ้ ากการเรียนไวยากรณ์ภาษาองั กฤษออนไลน์ นไี้ ปประยุกต์ใช้ในการสอบโทอิคเพ่อื บรรลเุ ป้าหมายในการผา่ นเกณฑ์การสำ� เร็จการศึกษา 2. ความคดิ เหน็ ทมี่ ตี อ่ การพฒั นาความรดู้ า้ นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษดว้ ยการเรยี นออนไลนด์ ว้ ยตนเอง ในภาพรวมนกั ศกึ ษาหลกั สตู รภาษาองั กฤษธรุ กจิ เหน็ ดว้ ยตอ่ การพฒั นาความรดู้ า้ นไวยากรณภ์ าษา องั กฤษดว้ ยการเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนด์ ว้ ยตนเอง มคี า่ เฉลยี่ อยทู่ ่ี 4.15 และพบหา้ ประเดน็ ทเ่ี หน็ ด้วยอย่างยง่ิ ดังผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู จากแบบสอบถามทน่ี ักศึกษาตอบวา่ การท�ำแบบฝึกไวยากรณ์ออนไลน์ ทำ� ใหส้ ามารถศกึ ษาเนอื้ หาไวยากรณด์ ว้ ยตนเองไดเ้ ทา่ ทตี่ อ้ งการ มคี า่ เฉลย่ี อยทู่ ่ี 4.32 การใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั ในแบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนแ์ ตล่ ะขอ้ เออ้ื ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจวา่ เหตใุ ดตวั เลอื กนน้ั จงึ ถกู หรอื ผดิ มคี า่ เฉลี่ยอย่ทู ่ี 4.32 (ดังแสดงในตารางท่ี 4) ซึง่ แสดงว่า การเรยี นออนไลนเ์ ปิดโอกาสให้นักศึกษามอี ิสระที่จะเลอื ก เรยี นส่ิงทีต่ นพอใจ ตรงความต้องการ เม่อื สงสัยก็สามารถร้คู ำ� ตอบได้รวดเรว็ ทนั ที อันกลา่ วไดว้ า่ การประสบ ความสำ� เรจ็ ในการเรยี นภาษาองั กฤษ หรอื การทำ� กจิ กรรมการเรยี นรภู้ าษาองั กฤษจำ� เปน็ ตอ้ งมแี รงผลกั ดนั หรอื ท่เี รียกว่ามแี รงจงู ใจในการเรียนภาษาให้กับผู้เรยี นทั้งจากแรงจงู ใจภายนอก (Extrinsic Motivation) และแรง จงู ใจภายใน (Intrinsic Motivation) กล่าวคือ การเรยี นเกิดจากแรงจูงใจจากปจั จัยภายนอกและแรงจูงใจท่ี เกิดจากภายในบคุ คล (Masgoret & Gardner, 2003) โดยเฉพาะอย่างย่งิ แรงจงู ใจภายนอกมบี ทบาทสำ� คญั ตอ่ ความส�ำเร็จในการเรียนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาตา่ งประเทศอยา่ งมาก (Harmer, 2007) เปน็ ไปในทิศทาง 14 บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ

เดียวกบั Woothiwongsa (2014) ทีก่ ล่าววา่ ในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศให้มีประสิทธิภาพ ผสู้ อน ตอ้ งสรา้ งความสนใจ สรา้ งความเชอื่ มโยงระหวา่ งบทเรยี นกบั ผเู้ รยี น สรา้ งความพงึ พอใจในการเรยี น สรา้ งความ มั่นใจในตนเอง อนั จะสง่ ผลใหผ้ ูเ้ รียนมีทศั นคตเิ ชิงบวกตอ่ ภาษาอังกฤษ เชน่ เดียวกันกบั งานวิจยั น้ีทคี่ ณะผูว้ ิจัย สร้างแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์เพ่ือกระตุ้นความสนใจในการเรียนรู้ สามารถเรียนออนไลน์ได้ อย่างสะดวกสบาย ง่ายตอ่ การเขา้ ใชง้ าน และมกี ารนำ� ความรูโ้ ทอคิ มาเชอ่ื มโยงกบั เน้อื หาทป่ี รากฏในแบบฝึก ออนไลน์ เปน็ การเปดิ โอกาสใหน้ ักศึกษาได้พฒั นาความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของตน นอกจากน้ี ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากแบบสอบถามทนี่ กั ศกึ ษาเหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ วา่ แบบฝกึ ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษออนไลนม์ คี วามยืดหยุน่ ผเู้ รยี นสามารถเรยี นและกลับมาทบทวนไดเ้ มอ่ื ตอ้ งการ มคี า่ เฉลยี่ อยทู่ ่ี 4.25 (ดังแสดงในตารางท่ี 4) สอดคลอ้ งกับการเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลน์ทาง Google Form ผ่าน แอปพลเิ คชนั ไลนน์ มี้ คี วามสะดวก เปน็ การสง่ เสรมิ ใหน้ กั ศกึ ษาสามารถเขา้ ทำ� แบบฝกึ หดั ไดต้ ลอดเวลาและยอ้ น กลบั ไปทำ� เพอ่ื ทบทวนไดบ้ อ่ ยครง้ั เทา่ ทตี่ อ้ งการอกี ดว้ ยหากโทรศพั ทข์ องนกั ศกึ ษาเชอ่ื มตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ นต็ ทำ� ให้ เห็นได้ชัดเจนว่ามีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตรงกับความต้องการของผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับ Ishikawa et al. (2015) ทก่ี ล่าวว่า การนำ� เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการเตรียมความพร้อมในการสอบโทอคิ ไมเ่ พียง ส่งผลบวกต่อผลคะแนนโทอิคอย่างมีนัยส�ำคัญเท่าน้ัน แต่ยังส่งผลต่อการมีส่วนร่วมในการเรียนอีกด้วย นอกจากนี้ ผเู้ รยี นยงั มที ศั นคตทิ ด่ี ตี อ่ การเรยี น เนอื่ งจากเทคโนโลยสี ารสนเทศมคี วามยดื หยนุ่ ในการใชง้ าน และ สามารถให้ผลตอบกลับทนั ที (Chen, 2014) อยา่ งไรกด็ ี แมน้ กั ศกึ ษาเหน็ วา่ การเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษผา่ นแอปพลเิ คชนั ไลนม์ คี วามสะดวก แตก่ ารทน่ี กั ศกึ ษาขาดแรงจงู ใจในการใชแ้ บบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลน์ อาจเกดิ จากการออกแบบสอ่ื บทเรียนออนไลน์ท่ขี าดปจั จยั ในการกระตุ้นความสนใจของนักศกึ ษา เหน็ ไดจ้ ากจำ� นวนบทเรยี นทั้งสนิ้ 36 บท นักศึกษาเขา้ ใชโ้ ดยเฉลี่ยเพียง 12.67 บท หรอื คดิ เปน็ เพยี งร้อยละ 35 เทา่ น้ัน (ดังแสดงในตารางที่ 1) ขอ้ เทจ็ จริงดังกล่าวสอดคล้องกับค�ำตอบในแบบสอบถามท่ีนักศึกษาระบุว่าสามารถเข้าถึงการเรียนไวยากรณ์ภาษา องั กฤษออนไลนผ์ า่ นแอปพลเิ คชนั ไลนไ์ ดส้ ะดวก มคี า่ เฉลยี่ อยทู่ ่ี 4.18 แตแ่ บบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลน์ สรา้ งแรงจงู ใจใหผ้ เู้ รยี นเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองไดน้ อ้ ย มคี า่ เฉลย่ี อยทู่ ี่ 3.77 (ดงั แสดงในตารางท่ี 4) โดยการออกแบบ สอื่ บทเรยี นออนไลนท์ ข่ี าดปัจจัยกระตุน้ ความสนใจมีดังต่อไปน้ี 1. รปู แบบการนำ� เสนอเนอื้ หาในแบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนส์ ว่ นใหญเ่ ปน็ ตวั หนงั สอื (Text) ขณะท่กี ารใชส้ ่ือที่หลากหลาย (Multimedia) จะช่วยให้ผ้เู รยี นเกิดความสนใจและเกดิ การเรียนรู้ เช่น การใช้เสียงอธิบายเน้ือหาหรือใช้เป็นเสียงเตือนหรือเสียงให้ก�ำลังใจ หรือการใช้ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ช่วยให้ผูเ้ รียนมองเห็นภาพเนื้อหานามธรรมเปน็ รูปธรรมมากขึ้น (Winserr & Cheung, 1996) 2. เนอื่ งจากแบบฝกึ ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษออนไลนถ์ กู สรา้ งขน้ึ มาบนแนวคดิ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (Autonomous Learning) ที่ผู้เรียนใฝ่รู้ใฝ่เรียนด้วยความปรารถนาจะพัฒนาตนเองเพื่อความก้าวหน้าใน อนาคต ซ่งึ เกิดจากแรงจงู ใจภายใน (Intrinsic Motivation) ดังนน้ั ในขนั้ ตอนการออกแบบและการนำ� ไปใช้จงึ ขาดการสร้างแรงจงู ใจจากภายนอก (Extrinsic Motivation) ตามทฤษฎกี ารเสรมิ แรง (Skinner, 1971) ท้ัง การเสรมิ แรงทางบวก (Positive Reinforcement) เชน่ การใหร้ างวลั เมอื่ ตอบคำ� ถามถกู หรอื เมอ่ื เขา้ เรยี นครบ ทกุ บทเรยี น การเสรมิ แรงทางลบ (Negative Reinforcement) เชน่ การใหค้ ำ� แนะนำ� หรอื การตดิ ตามใหเ้ ขา้ ใช้ บทเรยี นอยา่ งสม�ำ่ เสมอ และการลงโทษ (Punishment) เชน่ การหกั คะแนนหากเขา้ ใช้บทเรยี นไมค่ รบ เปน็ ตน้ ปที ี่ 17 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 15

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากการวจิ ัย 1. ในการออกแบบสอื่ บทเรยี นออนไลน์ นอกเหนอื จากเนอื้ หาทม่ี ลี กั ษณะตวั หนงั สอื ควรใชส้ อ่ื ทห่ี ลาก หลาย อาทิ ภาพ หรอื เสยี ง เพอื่ กระตนุ้ ความสนใจของนกั ศกึ ษา รวมทง้ั ใชก้ ารเสรมิ แรงทงั้ ทางบวกและลบ เชน่ การให้รางวัลเม่ือตอบค�ำถามถูก และการให้ค�ำแนะน�ำหรือการติดตามให้เข้าใช้บทเรียนอย่างสม่�ำเสมอ เพ่ือ สร้างแรงจงู ใจในการเรียนรู้ ขอ้ เสนอแนะในการวิจยั ครง้ั ตอ่ ไป 1. ควรน�ำแบบฝึกไวยากรณ์ภาษาอังกฤษออนไลน์ไปใช้จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้กับนักศึกษา หลักสูตรต่าง ๆ เพ่ือกระตุ้นให้นักศึกษาฝึกฝนทักษะความรู้ภาษาอังกฤษ สร้างความคุ้นเคยกับลักษณะของ แบบทดสอบมาตรฐาน 2. หากมกี ารเรยี นออนไลน์ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาเขา้ เรยี นออนไลนอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งสมำ�่ เสมอ ควรตดิ ตามการ เข้าใช้งาน เช่น ก�ำหนดให้บทเรียนออนไลน์เป็นส่วนหนึ่งของการวัดและประเมินผลในรายวิชาภาษาอังกฤษ ของหลักสตู ร มีการหักคะแนนหากเข้าใชบ้ ทเรยี นไม่ถงึ ร้อยละ 60 เป็นต้น 3. อาจสร้างแบบฝึกภาษาอังกฤษออนไลน์ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะการฟัง อาจจะเช่ือมโยงเน้ือหา เกยี่ วกบั การภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สารในชวี ติ ประจำ� วนั ในเชงิ วชิ าการ หรอื วชิ าชพี โดยพจิ ารณากระบวนการ และสอ่ื ทจ่ี ะช่วยจงู ใจใหน้ ักศกึ ษาพฒั นาระดับความสามารถทางภาษาด้วยตนเอง เอกสารอา้ งอิง กันตพร สวนศิลป์พงศ์, กนกพรรณ อรรัตนสกุล, ปริชมน จันทร์ศิริ, ภัทรมน สุขประเสริฐ, และ ศิวะภาค เจยี รวนาลี. (2557). เจาะลกึ Line แอพพลเิ คชนั ทม่ี ดั ใจคนทั่วโลก. a day, 14 (165), 89-146. ณภทั ร วฒุ วิ งศา. (2557). กลยทุ ธ์สร้างแรงจงู ใจ: การพัฒนาทกั ษะภาษาอังกฤษ Motivational strategies: Enchancing English language skills. วารสารนกั บริหาร Executive Journal, 34 (1), 89-97. มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ . (2561). แผนกลยทุ ธม์ หาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ 2561-2564 (ฉบบั สมบรู ณ)์ . กรงุ เทพฯ: สวนดสุ ิตกราฟฟกิ ไซต.์ วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถสี ร้างการเรยี นรเู้ พือ่ ศิษย์ในศตวรรษที่ 21. [Online]. Available: http://www. noppawan.sskru.ac.th/data/learn_c21.pdf [2559, มิถนุ ายน 18]. สุพรรณี อาศยั ราช และ นันทวดี วงษเ์ สถยี ร. (2557). การพฒั นาบทเรยี นไวยากรณภ์ าษาอังกฤษแบบเน้น ภาระงานโดยใช้เอกสารจริงด้านสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา. พระนครศรีอยุธยา: มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. ส�ำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต.ิ (2558). ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ. 2560-2564. [Online]. Available: http://www.nesdb. go.th/article_attach/Book_Plan12.pdf [2559, มถิ ุนายน 18]. 16 บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต

References Batstone, R. (1994). Grammar. Oxford: Oxford University Press. Boldt, R.F. & Ross, S.J. (1998). Scores on the TOEIC (Test of English for International Communication) Test as a Function of Training Time and Type. [Online]. Available: https://www.ets.org/Media/Research/pdf/TOEIC-RR-03.pdf [2017, January 28]. Canale, M. & Swain, M. (1980). “Theoretical Bases of Communicative Approaches to Second Language Teaching and Testing.” Applied linguistics, 1, 1-47. Chen, T. (2014). Voices of four Taiwanese College Students’ Experiences With the Test of English for International Communication (TOEIC) Preparation (PREP) Computer Assisted Language Learning (CALL). Doctoral Dissertation, Texas A & M University. [Online]. Available: http://hdl.handle.net/1969.1/152524 [2017, January 28]. Derewianka, B. (2008). A Grammar Companion for Primary Teachers. Sydney: PETA. Dickin, P.M. (1991). What Makes a Grammar Test Communicative?. London: McMillan Publisher Ltd. Dickins, P.M. & Woods, E.G. (1988). Some Criteria for the Development of Communicative Grammar Tasks. TESOL Quarterly, 22 (4), 623-646. Educational Testing Service. (2016). 2015 Report on Test Takers Worldwide: The TOEIC® Listening and Reading Test. [Online]. Available: https://www.ets.org/s/toeic/pdf/ ww_data_report_unlweb.pdf [2017, January 29]. Gardner, R.C. (1985). Social Psychology and Second Language Learning: The Roles of Attitudes and Motivation. London: Edward Arnold. Google. (2017). Google forms. [Online]. Available: https://www.google.com/intl/en/forms/ about/ [2017, January 28]. Harmer, J. (2007). The Practice of English Language Teaching. Essex: Pearson Education. Learning Course Design: Utilizing Students’ Mobile Online Devices. In F. Helm, L. Bradley, M. Guarda, & S. Thouësny (Eds), Critical CALL – Proceedings of the 2015 EUROCALL Conference, Padova, Italy (pp. 261-267). [Online]. Available: http://dx.doi. org/10.14705/rpnet.2015.000343 [2017, February 10]. Leech, G.N. (1983). Principle of pragmatics. Essex: Longman. ปีท่ี 17 ฉบบั ที่ 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 17

Lightbrown, P. (1985). Can Language Acquisition be Altered by Instruction? In Hyltenstam and Pienemann (eds.) Modeling and Assessing Second Language Acquisition. Clevedon, North Somerset: Multilingual Matters. Lougheed, L. (2017). Barron’s TOEIC Practice Exams. Hauppauge, New York: Barron’s Educational Series. Lougheed, L. (2007). Longman Preparation Series for the New TOEIC Test: Intermediate Course. White Plains, New York: Pearson Education. Lougheed, L. (2006). Longman Preparation Series for the New TOEIC Test: Introductory Course. White Plains, New York: Pearson Education. Mccarthy, F. (2000). Lexical and Grammatical Knowledge in Reading and Listening Comprehension by Foreign Language Learners of Spanish. Applied Language Learning, 11, 323-348. Masgoret, A.M. & Gardner, R.C. (2003). Attitudes, Motivation, and Second Language Learning: A Meta-analysis of Studies Conducted by Gardner and Associates. Language Learning, 53 (1),123-163. Nunan, D. (2004). Task-based Language Teaching. Cambridge: Cambridge University Press. Skinner, B.F. (1971). Beyond Freedom and Dignity. Harmondsworth, Middlesex: Penguin Books. Strauss, A. & Corbin, J. (2015). Basics of Qualitative Research: Techniques and Procedures for Developing Grounded Theory. Thousand Oaks, California: Sage. Tamimi, A.A. & Shuib, M. (2009). Motivation and Aattitudes Towards Learning English: A Study of Petroleum Engineering Undergraduates at Hadhramout University of Sciences and Technology. GEMA Online Journal of Language Studies, 9 (2), 29-55. Van Han, N. & van Rensburg, H. (2014). The Effect of Computer Assisted Language Learning (CALL) on Performance in the Test of English for International Communication (TOEIC) Listening Module. English Language Teaching, 7 (2), 30. Winserr, B. & Cheung, W. (1996). The Quality of Software for Computer-based Literacy Learning. RELC Journal, 27 (2), 83-99. Wu, Q. (2015). Designing a smartphone App to Teach English (L2) Vocabulary. Computers & Education, 85 (July), 170-179. 18 บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดุสติ

Translated Thai References Arsairach, S. & Wongsathian, N. (2014). The Development of English Grammar Lessons Employing Task-based Learning Through Native Speakers’ Social and Cultural Authentic Materials. Phra Nakhon Si Ayutthaya: Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi. Office of The National Economic and Social Development Board. (2015). A Road Map of the Twelfth National Economic and Social Development Plan (2017-2021). [Online]. Available: http://www.nesdb.go.th/article_attach/Book_Plan12.pdf [2016, June 18]. (in Thai) Phanit, W. (2012). Ways to Create Learning for Students in the 21st Century. [Online]. Available: http://www.noppawan.sskru.ac.th/data/learn_c21.pdf [2016, June 18]. (in Thai) Suan Dusit University. (2018). The Suan Dusit University Strategic Plan 2018-2021 (Full Version). Bangkok: Suan Dusit Graphic Site. (in Thai) Suensilpong, K., Ornratanasakul, K., Chansiri, P., Sukprasert, P. & Jianwanalee, S. (2014). In-depth Line: An Application that Attracts People All Over the World. a day, 14 (165), 89-146. (in Thai) Woothiwongsa, N. (2014). Motivational Strategies: Enhancing English Language Skills. Executive Journal, 34 (1), 89-97. (in Thai) คณะผู้เขียน นางสาวกนกวรรณ กุลสุทธ์ิ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ เลขที่ 295 ถนนนครราชสมี า แขวงดสุ ิต เขตดสุ ติ กรุงเทพมหานคร 10300 e-mail: [email protected] ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุดารตั น์ เจตน์ปัญจภคั คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เลขที่ 295 ถนนนครราชสีมา แขวงดุสิต เขตดุสิต กรงุ เทพมหานคร 10300 e-mail: [email protected] ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ขจนี ชุ เชาวนปรีชา คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต เลขที่ 295 ถนนนครราชสีมา แขวงดสุ ติ เขตดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร 10300 e-mail: [email protected] ปที ี่ 17 ฉบับที่ 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 19

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สรพล จิระสวัสด์ิ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ เลขท่ี 295 ถนนนครราชสีมา แขวงดสุ ิต เขตดุสติ กรุงเทพมหานคร 10300 e-mail: [email protected] ดร. วิลาสินี พลอยเลอ่ื มแสง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต เลขที่ 295 ถนนนครราชสมี า แขวงดุสิต เขตดุสิต กรงุ เทพมหานคร 10300 e-mail: [email protected] นางสาวลลิตา พลู ทรพั ย์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต เลขท่ี 295 ถนนนครราชสีมา แขวงดุสติ เขตดสุ ติ กรุงเทพมหานคร 10300 e-mail: [email protected] นางสาวจฬุ าลกั ษณ์ ปาณะศรี คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต เลขที่ 295 ถนนนครราชสีมา แขวงดุสติ เขตดสุ ติ กรุงเทพมหานคร 10300 e-mail: [email protected] 20 บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

การวเิ คราะหง์ านวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศกึ ษา An Analysis of Research Concerned with English Teaching in Elementary Education รนิ ทร์ฤดี ภทั รเดช*1 และ ปญั ญเดช พันธวุ ฒั น2์ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ 2 โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต Rinruedee Pattaradej*1 and Panyadech Phantuwat2 1 The Faculty of Humanities and Social Sciences, Suan Dusit University 2 School of Law and Politics, Suan Dusit University Received: June, 28 2020 Revised: August, 31 2020 Accepted: September, 1 2020 บทคัดยอ่ บทความน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือวิเคราะห์แนวทางของงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษา องั กฤษระดับประถมศกึ ษาทเี่ ผยแพรใ่ น ThaiLIS ตั้งแต่ปี 2553 จนถึงปจั จุบนั เปน็ กล่มุ เปา้ หมายทใ่ี ช้ในการ ศกึ ษา จำ� นวน 11 เลม่ ทผ่ี า่ นเกณฑก์ ารการคดั เลอื กทกี่ ำ� หนดขน้ึ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชเ้ ปน็ แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู เพอื่ บนั ทกึ ลักษณะของข้อมูลทั่วไปในงานวิจัยและแบบบันทึกผลงานวิจัยที่เป็นลักษณะองค์ความรู้รวมของงานวิจัยใน การวิเคราะห์เน้ือหาเชงิ คุณภาพในการวเิ คราะห์ 5 ด้าน ประกอบดว้ ย หวั ข้องานวิจยั วตั ถปุ ระสงค์งานวจิ ัย แนวคดิ ทฤษฎี ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั และ ผลการศกึ ษา ผลการวิเคราะหพ์ บว่า ระหวา่ งปี 2553-2563 มีผลงานวิจยั เพยี ง 11 เลม่ ทม่ี กี ารศกึ ษาเกยี่ วขอ้ งกบั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศกึ ษา ดา้ นหวั ขอ้ วจิ ยั พบ วา่ มุ่งเนน้ การพัฒนารปู แบบ วิธกี าร สื่อการสอน สภาพปัญหาของผเู้ รียน ผสู้ อน และการพัฒนาผ้สู อน ดา้ น วัตถุประสงค์พบว่าส่วนใหญ่มีการมุ่งเน้นศึกษาด้านสภาพปัญหาของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในระดับ ประถมศกึ ษา ดา้ นแนวคดิ ทฤษฎที พ่ี บสว่ นมากใชแ้ นวคดิ ในการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ และทฤษฎี การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา ดา้ นระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทพ่ี บมากทส่ี ดุ คอื การออกแบบงานวจิ ยั เปน็ การวจิ ยั และ พฒั นา (Research and Development) และดา้ นผลการวิจยั สามารถจดั กลุ่มผลการวิจัยทไ่ี ดเ้ ป็นหา้ ดา้ นคือ การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ การพฒั นาครผู สู้ อน การพฒั นาเจตคตแิ ละทศั นคตขิ องผเู้ รยี น การพฒั นาสอื่ และ การพฒั นาการวัดผลประเมินผล คำ� สำ� คญั การวิเคราะหง์ านวจิ ัย, การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ, ประถมศึกษา * รินทร์ฤดี ภทั รเดช (Corresponding Author) ปที ี่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 21 e-mail: [email protected]

Abstract This article aimed to analyze the guidelines of researches concerned with teaching and learning English in primary educational level that were published in ThaiLis from 2010 to present. The researches used in this study included 11 research titles satisfying the specified criteria. The research instruments were 1) record forms for recording general information from researches and 2) research result forms for recording the whole body of knowledge from the qualitative researches. The analysis consisted of five aspects: research titles, objectives, conceptualization, research methodology and research results. The results of the study revealed that during 2010-2020, there were 11 researches which were related to teaching and learning English in primary educational level. Regarding the research title, the focus was on the pattern development, methods, teaching medias, problems of teachers and students and development of teachers. The aspect of objectives mostly focused on the states and problems of English teaching in primary educational level. The concept theory mostly was English teaching concepts and theories of educational measurement and evaluation. Research and development were appeared the most in research methodology. In research results, it could be divided into five main groups consisting of development of learning management, development of teachers, development of learners’ attitude, development of media and development of measurement and assessment. Keywords: Analysis of Research, English Teaching and Learning, Primary Educational Level บทน�ำ จากความท้าทายทจ่ี ำ� เป็นต้องปฏริ ูปการศึกษา และกำ� หนดกรอบกลยุทธ์ระยะ 20 ปี ต้งั แต่ ปี 2560- 2579 เพอ่ื ใหท้ กุ เพศทกุ วยั ของไทยมโี อกาสเขา้ ถงึ การศกึ ษาและไดร้ บั การพฒั นา แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม ประเทศไทย ยงั คงมีจุดอ่อนท่มี ีผลตอ่ การพฒั นาประเทศและหน่งึ ในจดุ ออ่ นของการพัฒนาประเทศ และระบบการศึกษาก็ คือ เร่อื งของ \"ภาษาองั กฤษ” (Siam Edunews, 2016) หากมองย้อนกลบั ไปในอดีตแล้ว แรกเร่ิมเดมิ ทีกอ่ น สมยั รชั กาลท่ี 3 ชนชาวสยามไมไ่ ด้มธี รรมเนยี มทจ่ี ะทำ� การศกึ ษาภาษาตา่ งชาติ สำ� หรบั ภาษาองั กฤษนัน้ ถูกจดั ว่าเป็นหนงึ่ ในภาษาต่างชาตทิ เ่ี ปน็ ภาษาช้ันสงู เนอื่ งด้วยพระบาทสมเด็จพระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ถอื เปน็ ชนช้นั น�ำ แห่งสยามประเทศพระองค์แรกที่ทรงศึกษาภาษาอังกฤษ และภาษาอังกฤษถูกจ�ำกัดให้เรียนเฉพาะใน พระราชวังเท่านั้น จนกระทั่งได้มีแนวคิดที่จะจัดการศึกษาภาษาอังกฤษให้กับประชาชนทั่วไปโดยมุ่งที่การ จดั การ “ปถมศกึ ษาชัน้ สูง” ในปี พ.ศ. 2441 แมจ้ ะยงั ไม่กระจายทัว่ ทงั้ แผ่นดนิ กต็ าม (Theera-ake, 2017) เม่ือพิจารณาถึงช่วงเวลาแล้วจะเห็นได้ว่าเราคนไทยเริ่มสัมผัสกับภาษาอังกฤษนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเป็น เวลากวา่ ศตวรรษแลว้ เพียงแตใ่ นอดีตเราอาจจะยังไม่ได้ตนื่ ตัวในเรอ่ื งของภาษาอังกฤษเท่าท่ีควร 22 บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต

สำ� หรบั สถานการณภ์ าษาองั กฤษในชว่ งทศวรรษทผี่ า่ นมานนั้ พบวา่ มผี ใู้ ชภ้ าษาองั กฤษจำ� นวนมากกวา่ 50 ประเทศทั่วโลกและภาษาอังกฤษยังเป็นภาษาที่มีผู้ใช้จ�ำนวนมากท่ีสุดเป็นอันดับหนึ่งของโลกในปี 2020 (Klappenbach, 2019) คดิ เปน็ จำ� นวน 1,132 ลา้ นคน นอกจากนใี้ นผลสำ� รวจภาษาของผใู้ ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ทวั่ โลก พบว่า ภาษาท่ีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใช้มากเป็นอันดับหนึ่งของโลก คือ ภาษาอังกฤษโดยมีจ�ำนวนผู้ใช้ถึง 1,105 ลา้ นคนจากผลส�ำรวจในเดือน เมษายน 2562 (Internet World Status, 2019) นอกจากนีภ้ าษาอังกฤษยงั ถูกนำ� มาใชเ้ ป็นสอื่ กลางในทุก ๆ แขนง เช่น ธุรกิจ การเมืองการปกครอง วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ แวดวง บันเทิงเป็นต้น (Effortless English, 2020) ส�ำหรับประเทศไทยเราเพิ่งมีการต่ืนตัวในเร่ืองภาษาอังกฤษใน ไมก่ ปี่ ที ผี่ า่ นมาจากการผลกั ดนั ใหเ้ กดิ ประชาคมอาเซยี น (ASEAN) อยา่ งสมบรู ณข์ น้ึ ในปี 2558 ถงึ แมว้ า่ อาเซยี น จะถอื กำ� เนดิ มาตง้ั แตป่ ี 2510 เน่ืองจากการปฏิบตั ิงานของอาเซยี นถูกก�ำหนดไวใ้ นกฎบัตรข้อ 34 วา่ “The Working Language of ASEAN Shall be English” “ภาษาทใี่ ชใ้ นการทำ� งานของอาเซยี น คอื ภาษาองั กฤษ” อยา่ งไรกด็ ีคนไทยทส่ี ามารถใชภ้ าษาองั กฤษคิดเปน็ รอ้ ยละ 10 จากจำ� นวนประชากรท้งั หมดในประเทศ และ อยใู่ นอนั ดบั 5 ของภมู ภิ าคอาเซยี น ทงั้ นเ้ี นอื่ งจากภาษาองั กฤษไมใ่ ชภ่ าษาทางราชการของไทย จงึ มเี ฉพาะบาง อาชีพที่ติดต่อสื่อสารกับต่างประเทศเท่าน้ันจึงมีจะสนใจศึกษาภาษาอังกฤษ (Siam Edunews, 2016) อีก ทง้ั คนไทยมกั จะปลอบประโลมกนั เองหากไมส่ ามารถสอ่ื สารดว้ ยภาษาองั กฤษไดว้ า่ ประเทศไทยไมเ่ คยเปน็ เมอื ง ขน้ึ ใครเรามภี าษาประจำ� ประเทศไทย สง่ิ นจี้ งึ เสมอื นเปน็ วาทกรรมทที่ ำ� ใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั สิ บื ตอ่ กนั มาวา่ หากไม่ สามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารภาษาองั กฤษไดก้ ไ็ มม่ คี วามจำ� เปน็ สำ� คญั อะไรตอ่ ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องคนไทยในภาพรวม มากนกั และปล่อยใหเ้ ป็นเรอ่ื งของคนเฉพาะกลมุ่ เฉพาะอาชีพเทา่ น้ัน และผทู้ ่จี ะสนใจในภาษาองั กฤษนน้ั มกั จะเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามรู้ ผแู้ สวงหาความรู้ นกั วชิ าการ และผทู้ ม่ี ที นุ ทรพั ยพ์ อสมควร เนอื่ งจากการเรยี นภาษาองั กฤษ โดยเฉพาะกบั เจา้ ของภาษาไมว่ า่ จะเป็น สหราชอาณาจกั ร สหรัฐอเมริกา แคนาดา และออสเตรเลีย เป็นตน้ น้ันมีค่าใช้จ่ายท่ีค่อนข้างสูง อีกท้ังการศึกษาด้วยตนเองส�ำหรับคนไม่มีพื้นฐานเลยอาจจะประสบความส�ำเร็จ ไดไ้ ม่ง่ายนกั หนว่ ยงานภาครฐั ของไทยจงึ ไดพ้ ยายามอยา่ งยงิ่ ในการสง่ เสรมิ ใหค้ นไทยไดเ้ หน็ ความสำ� คญั ของภาษา อังกฤษและพยายามให้คนไทยทุกคนได้เรียนภาษาอังกฤษผ่านช่องทางต่าง ๆ เพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ภาษา องั กฤษตลอดเวลา แตผ่ ลความสามารถทางภาษาองั กฤษ (English Proficiency) ของคนไทยทอ่ี อกโดยสถาบนั Education First ยงั อยู่ในเกณฑ์ท่ีต่�ำ มาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2554 โดยผลความสามารถทางภาษาอังกฤษของไทย ในปี พ.ศ. 2562 หรือ ปี ค.ศ. 2019 อยใู่ นอันดับท่ี 74 จากจำ� นวน 100 ประเทศ (EF EPI, 2019) เช่นเดยี วกนั กบั ทผี่ ลสมั ฤทธริ์ ะดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานในรายวชิ าภาษาองั กฤษตำ�่ กวา่ รอ้ ยละ 50 ดว้ ยเหตนุ เี้ องทำ� ใหห้ ลาย หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนออกนโยบายการรับคนเข้าท�ำงาน หรือเล่ือนต�ำแหน่งงานจะต้องมีผลการสอบ ภาษาองั กฤษทไ่ี ดม้ าตรฐานเปน็ หลกั ฐานประกอบ หรอื แมแ้ ตส่ ถาบนั การศกึ ษาตา่ ง ๆ กต็ ามยงั ไดอ้ อกกฎเกณฑ์ ส�ำหรับนิสิต และนักศึกษาทุกระดับต้องมีผลภาษาอังกฤษในการเข้าศึกษา หรือจบการศึกษา รวมถึงความ พยายามที่จะเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนการสอนเพ่ือเพ่ิมทักษะภาษาอังกฤษ และการสื่อสารให้กับผู้เรียน นัน่ แสดงใหเ้ ห็นวา่ ภาษาองั กฤษเป็นหนึง่ ในเคร่อื งมือที่ชว่ ยช้ีวัดความรู้ และส่งเสริมภาพลกั ษณข์ องคนในชาติ ให้ดูเป็นผู้มีความรู้และอาจมีผลต่อโอกาสความก้าวหน้า และการพัฒนาประเทศชาติด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ จากเป้าหมายที่ 1 ในแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติที่สนับสนุนให้ประชากรทุกคนที่มีอายุระหว่าง 6-14 ปี ปที ่ี 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 23

ได้เข้าเรียนช้ันประถมศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการมีความประสงค์ท่ีจะจัดให้ผู้เรียนระดับประถมศึกษา ได้เรยี นภาษาองั กฤษ (Sayananon and Padket, 2005; Thepayasuwan, 2001) คณะผ้นู ิพนธจ์ งึ ไดศ้ ึกษา งานวจิ ยั ทไ่ี ดท้ ำ� มาแลว้ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษในระดบั ประถมศกึ ษาเพอ่ื วเิ คราะหข์ อ้ เทจ็ จรงิ และปรากฏการณ์ ของงานวจิ ยั ทอ่ี ยใู่ นขอบขา่ ยเดยี วกนั เพอื่ วเิ คราะหผ์ ลการศกึ ษาวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การเรยี น การสอนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศกึ ษาของประเทศไทย ทพ่ี บวา่ ยงั มกี ารศกึ ษาอยนู่ อ้ ยในฐานขอ้ มลู การวจิ ยั เพ่ือน�ำผลการวิเคราะห์ที่ได้มาใช้เป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยในประเด็นท่ีเป็นปัญหา หรือพัฒนาต่อยอด งานวิจัย และการน�ำผลการวิจัยหรือวิธีการจัดการเรียนการสอนท่ีประสบผลส�ำเร็จมาใช้ให้เป็นประโยชน์ใน การพฒั นาการจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษในระดบั ประถมศกึ ษาตอ่ ไป วัตถุประสงค์ เพ่ือวิเคราะห์งานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษาที่เผยแพร่ ในฐานข้อมลู ThaiLis ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจบุ นั ในดา้ นหัวขอ้ เรอ่ื ง วัตถุประสงค์การวิจยั แนวคดิ ทฤษฎี ระเบยี บวธิ ีวิจัย และผลการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจยั ผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษากรอบของ Zhao (Zhao, 1991), Mnkandla และ Minnaar (Minnaar and Mnkandla, 2017) โดยกรอบแนวคดิ การศกึ ษาอภมิ าน (Meta-study) ของ Zhao นน้ั แสดงถงึ ความสมั พนั ธข์ องการศกึ ษา ขน้ั ปฐมภมู ิ (Primary Study) กบั การศกึ ษาขน้ั อภมิ าน (Meta-study) โดยทกี่ ารศกึ ษาขน้ั ปฐมภมู จิ ะไปจดั การ กับโลกแห่งความเป็นจริง (Real World) ส�ำหรับการศึกษาขั้นอภิมานจะจัดการกับการศึกษาข้ันปฐมภูมิ อกี ครง้ั ขณะทก่ี รอบแนวคดิ การสงั เคราะหอ์ ภมิ าน (Metasynthesis) ของ Mnkandla และ Minnaar ไดก้ ลา่ ว ถึงองค์ประกอบท้ังสามด้านของการสังเคราะห์อภิมานอันประกอบไปด้วย การวิเคราะห์อภิมานข้อมูล (Meta-data Analysis) การวิเคราะห์อภิมานทฤษฎี (Meta-theory Analysis) และการวิเคราะห์อภิมาน วิธีวิจัย (Meta-method Analysis) โดยสังเคราะห์อภิมานน้ันเป็นผลมาจากการวิเคราะห์ของท้ังสาม องคป์ ระกอบที่กลา่ วไปในขา้ งตน้ ดังน้นั คณะผูน้ พิ นธ์จึงไดน้ �ำกรอบแนวคิดทงั้ สองมาปรับ และประยุกต์ใชเ้ พือ่ ให้เหมาะกับการศึกษานี้ เพื่อเป็นแนวทางส�ำหรับการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์งานวิจัยที่ เก่ียวข้องกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา โดยประกอบไปด้วย 5 แนวทางหลักดังน้ี การวเิ คราะหห์ วั ขอ้ งานวจิ ยั วเิ คราะหว์ ตั ถปุ ระสงค์ วเิ คราะหแ์ นวคดิ ทฤษฎี วเิ คราะหว์ ธิ วี จิ ยั และการวเิ คราะห์ ผลการศกึ ษา ดังแผนภาพที่ 1 24 บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต

งานวจิ ยั ในขอบข่าย ศึกษาหวั ข้องานวิจยั วเิ คราะห์ องคค์ วามรูแ้ ละแนวโนม้ ของการเรยี น ในเบ้อื งตน้ หวั ขอ้ วิจยั การเรียนการสอน วเิ คราะห์ ภาษาอังกฤษ การสอนภาษาองั กฤษ ศกึ ษาวตั ถุประสงค์ วัตถปุ ระสงค์ ระดับประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา ในเบอ้ื งต้น วเิ คราะห์ ศึกษาทฤษฎี ทฤษฎีวิจัย ในเบ้อื งต้น วิเคราะห์ วิธีวิจยั ศึกษาระเบียบวธิ ีวิจยั วเิ คราะหผ์ ล ในเบอ้ื งตน้ การวจิ ัย ศกึ ษาผลวิจัย ในเบอ้ื งต้น ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ทางการศกึ ษา ท่ีมา: ประยุกตจ์ าก Zhao (Zhao, 1991) Mnkandla และ Minnaar (Minnaar and Mnkandla, 2017) ระเบียบวิธีวจิ ยั การศกึ ษานเี้ ปน็ การวเิ คราะหง์ านวจิ ยั ทไ่ี ดม้ กี ารศกึ ษาไวก้ อ่ นแลว้ โดยนำ� ขอ้ มลู มาวเิ คราะหซ์ ำ้� เพอ่ื หา ข้อคน้ พบใหมใ่ นประเด็นเกี่ยวการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา กลมุ่ เปา้ หมาย ประกอบดว้ ย ประชากรงานวจิ ยั ไดแ้ ก่ วทิ ยานิพนธ์ ดุษฎนี พิ นธร์ ะดบั บณั ฑติ ศึกษา รวมถึงงานวิจัยท่ีอยู่ในฐานข้อมูลของ Thailand Library Integrated System หรือ ThaiLIS ในช่วงปี พ.ศ. 2553 จนถึงปี พ.ศ. 2562 ทศ่ี ึกษาเก่ยี วกบั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษในระดบั ประถมศึกษา โดยมี กลุม่ ตวั อยา่ ง ท่ีใช้ในการศกึ ษาครง้ั นี้ จ�ำนวน 11 เล่ม เกณฑก์ ารคัดเลอื ก ก�ำหนดเกณฑก์ ารคดั เลือกงานวจิ ยั เพอ่ื น�ำมาใช้ในการวเิ คราะห์ดังน้ี 1) เปน็ งาน วิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา ที่ลงในฐานข้อมูลของ ThaiLIS 2) สามารถสบื คน้ เป็นงานวจิ ัยฉบบั สมบรู ณ์ได้ 3) เปน็ งานวิจยั ต้ังแต่ ปี 2553 จนถงึ ปี 2562 เน่ืองจากเปน็ ชว่ ง หนง่ึ ทศวรรษจนถงึ ปจั จบุ นั และปี 2553 ถือเป็นชว่ งเวลา 6 ปกี อ่ นการประกาศการเขา้ ส่ปู ระชาคมอาเซียน ซง่ึ ประเทศไทยได้ประกาศจดั ตง้ั ประชาคมอาเซียนอย่างเปน็ ทางการในวนั ที่ 31 ธนั วาคม 2558 ดังนั้นภาครัฐ จึงต้องมีนโยบายและกระจายกลยุทธ์เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนโดย เฉพาะในเรอ่ื งของการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ อีกทั้งในปถี ดั มาคือ ปี 2554 เปน็ ปที ่ีประเทศไทยได้เรม่ิ มี การวดั ผลความสามารถทางภาษาองั กฤษจาก Education First ขัน้ ตอนการสืบคน้ งานวจิ ยั ทีน่ �ำมาวเิ คราะห์ จ�ำนวน 11 เร่อื ง โดยมีข้นั ตอนดังน้ี 1. สืบค้นรายช่ือวิทยานิพนธ์, ดุษฎีนิพนธ์, และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องท่ีศึกษาในประเด็นเก่ียวกับการ เรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดบั ประถมศึกษา ในช่วงปี พ.ศ. 2553 จนถึงปี พ.ศ. 2562 จากฐานข้อมลู ของ ThaiLIS ปีที่ 17 ฉบับท่ี 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 25

2. รวบรวมงานวิจัยท่ีได้จากการสืบค้นในขัน้ ตอนท่ี 1 ไดจ้ �ำนวนงานวิจยั ท้ังหมด 11 เรอื่ ง 3. คดั เลอื กงานวจิ ยั ทไ่ี ดจ้ ากการรวบรวมในขนั้ ตอนที่ 2 โดยพจิ ารณาตามเกณฑก์ ารคดั เลอื กงานวจิ ยั ทไี่ ดก้ �ำหนดไวไ้ ด้จำ� นวนงานวิจัยเพือ่ นำ� มาใชใ้ นการสังเคราะห์งานวิจยั จำ� นวน 11 เรอ่ื ง เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ ไดแ้ ก่ แบบบนั ทกึ ขอ้ มลู เพอื่ บนั ทกึ ลกั ษณะของขอ้ มลู ทวั่ ไปในงานวจิ ยั และแบบบนั ทกึ ผลงานวิจยั ท่เี ป็นลกั ษณะองค์ความรู้รวมของงานวจิ ัยท่ีผนู้ พิ นธไ์ ดส้ ร้างขน้ึ เพอ่ื วิเคราะหง์ านวจิ ัยในคร้งั นี้ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู นำ� ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากแบบบนั ทกึ ขอ้ มลู ทนี่ ำ� มาวเิ คราะห์ โดยใชก้ ารจดั กลมุ่ ของขอ้ มลู ใหมท่ ่ีพิจารณาถึงความสอดคล้องของขอ้ มลู ในด้านหัวข้อเร่อื ง วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั แนวคดิ ทฤษฎี ระเบียบ วิธีวิจัย และผลการวิจัย เพ่ือน�ำข้อมูลที่ได้มาสรุปเป็นข้อมูลใหม่ท่ีพบจากการศึกษาน้ี โดยแบ่งการวิเคราะห์ ออกเปน็ 2 ตอน ประกอบดว้ ย ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เก่ยี วกบั คณุ ลกั ษณะงานวจิ ยั ที่ศกึ ษาเกีย่ วกับการเก่ยี วขอ้ งกับการเรียน การสอนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศกึ ษา ในดา้ นหวั ขอ้ เร่ือง วตั ถปุ ระสงค์การวิจัย แนวคดิ ทฤษฎี ระเบียบวิธี วจิ ัย และผลการวิจัย ดว้ ยค่าสถิติพนื้ ฐาน ไดแ้ กค่ ่าเฉล่ยี ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความเบ้ (Sk) ความ โด่ง (Ku) คา่ สงู สดุ (Max) และค่าตำ่� สดุ (Min) เพอื่ น�ำมาค�ำนวณพรอ้ มท้ังแจกแจง เพ่ือประกอบผลการศึกษา แนวโนม้ ของวจิ ยั ทนี่ ำ� มาวเิ คราะห์ โดยกำ� หนดเกณฑ์ และการแปลความหมาย ดงั น้ี (Meksrithongkam, 2004) เกณฑ์การใหน้ ำ้� หนักคะแนน 5 หมายถงึ มีคุณภาพงานวิจยั อยู่ในระดับดมี าก 4 หมายถงึ มคี ุณภาพ งานวจิ ยั อยู่ในระดับดี 3 หมายถึง มีคณุ ภาพงานวจิ ยั อยูใ่ นระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีคณุ ภาพงานวิจยั อยู่ ในระดับค่อนข้างต่�ำ 1 หมายถึง มีคุณภาพงานวิขัยอยู่ในระดับต�่ำ และการแปลความหมายค่าเฉลี่ยน�้ำหนัก คะแนนคะแนน 4.21-5.00 หมายถงึ มีคุณภาพงานวจิ ยั อยู่ในระดบั ดีมาก 3.41-4.20 หมายถงึ มีคณุ ภาพงาน วจิ ยั อยใู่ นระดบั ดี 2.61-3.40 หมายถงึ มคี ณุ ภาพงานวจิ ยั อยใู่ นระดบั ปานกลาง 1.81-2.60 หมายถงึ มคี ณุ ภาพ งานวิจยั อย่ใู นระดับค่อนขา้ งต�่ำ 1.00-1.80 หมายถงึ มีคุณภาพงานวจิ ัยอยู่ในระดับต�่ำ ตอนที่ 2 การวิเคราะห์บริบทของงานวิจัย โดยใช้การวิเคราะห์เน้ือหาในด้านที่ก�ำหนดไว้ ร่วมกับ วเิ คราะหด์ ว้ ยค่าสถติ ิพื้นฐาน ได้แก่ ความถี่และรอ้ ยละ ผลการศึกษา ตอนที่ 1 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเก่ียวกับคณุ ลักษณะงานวจิ ัย เม่ือพิจารณาข้อมูลคุณลักษณะงานวิจัยจากผู้ทรงคุณวุฒิร่วมกับคณะผู้นิพนธ์ จ�ำนวน 3 ท่าน จาก แบบบันทึกข้อมูลในการประเมินคุณภาพงานวิจัย พบว่า มีคะแนนอยู่ในระดับดีมากทุกด้าน โดยหัวข้อเรื่อง ของงานวิจัยท่ีน�ำมาวิเคราะห์มีความชัดเจนที่แสดงถึงประเด็นท่ีต้องการศึกษา ครอบคลุมประชากร กลุ่ม ตวั อย่าง และพ้ืนที่ทศี่ ึกษา วตั ถปุ ระสงค์การวิจัยมีความชดั เจนสอดคลอ้ งกับประเด็นที่ศึกษา และระเบยี บวิธี วจิ ยั ทใ่ี ช้ แนวคดิ ทฤษฎมี กี ารเรยี บเรยี งและสรปุ ถงึ หลกั การทน่ี ำ� มาใชใ้ นการการสรา้ งกรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา ระเบียบวิธีวิจัยมีความสอดคล้องกับประเด็นท่ีศึกษา และวัตถุประสงค์การวิจัย ผลการวิจัยสามารถตอบ วัตถุประสงค์ของการศึกษาได้ รวมถึงมีการน�ำเสนอข้อเสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์จากผลการวิจัย ดังแสดงใน ตารางที่ 1 26 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต

วัตถุประสงค์การวิจัยมีความชดั เจนสอดคล้องกบั ประเด็นท่ีศึกษา และระเบียบวิธีวจิ ัยท่ีใช้ แนวคิดทฤษฎีมีการเรียบ เรียงและสรุปถึงหลักการที่นำมาใช้ในการการสร้างกรอบแนวคิดในการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัยมีความสอดคล้องกับ ประเด็นที่ศึกษา และวัตถุประสงค์การวิจัย ผลการวิจัยสามารถตอบวัตถุประสงค์ของการศึกษาได้ รวมถึงมีการ นำเสนอข้อเสนอแนะท่เี ปน็ ประโยชนจ์ ากผลการวิจยั ดงั แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 การวเิ คราะห์ข้อมลู เตกาย่ี รวากงับที่ค1ุณกลากั รษวิเณคระางะาหน์ขว้อจิ มยั ลู เกยี่ วกับคณุ ลักษณะงานวจิ ยั ดา้ น ( X ) S.D. Min Max Sk Ku ความหมาย หวั ขอ้ เรือ่ ง 4.73 .467 4 5 -1.789 -.764 ระดับดมี าก วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย 4.45 .522 4 5 .213 -2.444 ระดับดีมาก แนวคดิ ทฤษฎี 4.73 .467 4 5 -1.189 -.764 ระดบั ดมี าก ระเบียบวิธวี ิจัย 4.45 .522 4 5 .213 -2.444 ระดับดีมาก ผลการวจิ ัย 4.82 .405 4 5 -1.923 2.037 ระดบั ดีมาก คณุ ลกั ษณะโดยรวม 4.64 .205 4 5 -.037 -.468 ระดบั ดมี าก ตตอนท่ี 2 กาารรววิเเิคครราาะะหห์บบ์ รริบิบททขอขงองงางนาวนจิ วยั จิ ัย ผผลลจจาากกกกาารรศศึกึกษษาาพพบบวา่วง่าางนาวนจิ วัยิจทัยีเ่ ทก่ยีี่เกวี่ยขว้อขงก้อบั งกกาับรกเรายี รนเรกียานรสกอานรสภอาษนาภอาังษกาฤอษังรกะฤดบัษประระดถับมปศรึกะษถามทศี่ตึกรษงตาาทม่ี คมเกตเกนทกกวหรรรคี่มณษาะงาะรีตมตตฑวทรท่สอทิารา์ขรรามศคยชวา้ มวาเงางสว12กา12ตลงศสมีา..รณ..้นศยั ตึกมาถปเปปมปึรษฑกกใสีีจน์ีีีาษ2ษ์ขา22ำ2กธ5มต้าน5า55ากิ5งรา5ธวร55ตา4ศรนพ4ิ44กร้นาถจูดเสา1มจปจใาภจต1รนาีจกา็นาารเกก�ำกเษกภป์ครนาาา่ือคณส็นวอรสษงณุภนิตังพภุภาดกาติาูอดาา1้วฤพาพปงัษภ1ยษกรกปธาาขเฤาธนัีรรอษรอสษีรื่ออทางัางัยทรสนันงวอกะวัยกัปเีวัดงรฤีดวเัรฒกื่้วอรัฒเบัษะรยียฤงนกปนอ่ืรนกษ์อผระง์ชันเบขละรเดั้นอผรขไถอื่อปัป่ือบันลอมงงรดงขปงปนกะกก้วอโรัากรถยารางะรมะเรรงกกปรศเใปถารีอชยรึกรมรยี้กบนะษะในาเชไชาเโมรปมมก้ปั้รนสินดาินาีทงอปรโ้วรโเี่นคยีรค6สยรดว์ระรอียม้ทิวงงถนหนกยกยมดาวามาาศ้ววิธรราทิยึีกกจจจรวยาษััดดงั ีิธยราหกกาเลกี ์วรวาปาัยายีิดัรรทีรรทนเเนาเรยร่ีรรชคียียา6ยีู้โภรดนนนัฏรจยกมกรานใัางโู้าหชชคดรหรส้สารสยสวมมีวรอใอาัิอทาดชนชนงส้ยนตสเมตมปาคีมาหาอล็นมารมางัยฐหรวหเารปทิาลลนาช็นักยักทชสสาฐส่มีภลาูตีูมีตตัฏนยัรอ่รา 33.. ปปีี 22555555จาจกากกากญาจญนจานชาาตชตารตะตกรลู ะ,กวูลน,ดิ วานอิดัญาชอลญัีวิทชยลกีวลุ ทิ , ยปกยิ ลุ ะ,ธดิปาิยสะุกธิดระา, สสรกุ พรละ,จสริ ระพสวลัสดจิ,์ริ ขะวสญัวัสสดุด์,ิา ดขีศวริัญิ แสลุดะาคณดีศะิรเิ รแือ่ ลงะกคาณรพะฒั เนราื่อนงวตั กการรรพมัฒกานราสนอวนัตภการษรามอกงั การฤสษอระนดภบั าปษราะอถังมกศฤกึ ษษราะโดดับยใปชร้วะิธถีกมารศสึกอษนากโาดรยเรใีชยน้วิธรีกู้แบารบ รสว่ อมนมกือารมเหราียวนิทรยูแ้ าบลบยั รา่วชมภมัฏือสมวนหดาุสวติทยาลัยราชภฏั สวนดสุ ิต 4. ปี 2556 จาก สิรกิ์ าญจน์ สิงห์เสน เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกทักษะการเรียนรูค้ ำ� ศพั ท์ภาษาอังกฤษ โดยการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบร่วมมือเทคนคิ STAD ส�ำหรบั นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบรุ ีรมั ย์ บัณฑิตวทิ ย5าล. ัยปมี ห2า5ว5ทิ 6ยาจลายั สกวนสดรุ ุสยี ติ ์พร เพง็ เลยี เร่อื ง การศึกษาสภาพปัญหปาีทแ่ี 1ล7ะฉคบวบั าทม่ี 1พเงึ ดพอื อนมใจกขราอคงมน-กั ธเันรวยี านคมใน2ก56า4ร จัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุตรดติ ถ์ 6. ปี 2557 จาก วโิ ชติ ทองเสมอ, วรารักษ์ มาประสม, และจันทรด์ ารา สุขสาม เรือ่ ง การถา่ ยทอด เทคโนโลยีบนส่ือมัลติมีเดียช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาส�ำหรับอาจารย์ในจังหวัดสุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 7. ปี 2559 จาก สมเดยี ว เกตอุ ินทร์ เรื่อง กลยทุ ธก์ ารขบั เคลือ่ นนโยบายการเรียนการสอนภาษา อังกฤษเพ่ือการเป็นประชาคมอาเซียนของสถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงใหม่ เขต 3 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงราย ปีท่ี 17 ฉบับท่ี 1 ประจ�ำ เดือนมกราคม - เมษายน 2564 27

8. ปี 2559 จาก ณพัฐอร โคตพงษ์ เร่ือง การพัฒนาโมเดลผสมผสานอิงประสบการณ์เพ่ือพัฒนา สมรรถนะด้านการจดั การเรียนรสู้ ำ� หรบั ครภู าษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 9. ปี 2559 จาก ณิชากร นิธวิ ุฒิภาคย์ เรอื่ ง การพฒั นาหลกั สตู รการฝกึ อบรมการจดั การเรียนรแู้ บบ โครงงานของครูสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร 10. ปี 2560 จาก วา่ ทร่ี อ้ ยตรหี ญงิ นารนิ ทร์ มานะการ เรอ่ื ง ปญั หาและแนวทางแกป้ ญั หาการจดั การ เรยี นการสอนรายวชิ าภาษาองั กฤษระดบั ประถมศกึ ษาของครสู งั กดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า เขต 7 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา 11. ปี 2562 จาก ธญั ญลกั ษณ์ เวชกามา เรื่อง รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะครูดา้ นการสอนภาษา อังกฤษของโรงเรยี นประถมศกึ ษาในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนลา่ ง มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบุรรี มั ย์ จากข้อมูลพบว่า งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถม ที่อยู่ในช่วง ปี 2553-2562 ถกู ตีพิมพใ์ นปี 2559 มากที่สดุ จ�ำนวน 3 เล่ม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 27.27 รองลงมา คือ ปี 2554 และ ปี 2556 ปลี ะ 2 เล่ม คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.18 โดยส่วนใหญเ่ ปน็ การศกึ ษาในพืน้ ทีจ่ ังหวดั ในภาคตะวันออก เฉียงเหนือของประเทศไทย จ�ำนวน 8 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 72.73 รองลงมาเป็นการศึกษาในพื้นท่ีจังหวัด ในภาคเหนือ จำ� นวน 2 เร่ือง คดิ เป็นร้อยละ 18.18 และศึกษาในจงั หวดั กรุงเทพมหานคร จำ� นวน 1 เร่อื ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.09 ดา้ นหวั ข้องานวจิ ัย พบวา่ งานวิจัยส่วนใหญ่ถูกศึกษาในลกั ษณะของการพัฒนารปู แบบ และวิธกี ารสอน นอกจากนี้ยงั มี เรือ่ งของสอื่ การสอน การประเมินโครงการ กลยทุ ธ์ และเรอ่ื งของสภาพปัญหา อย่างไรก็ตามยังเปน็ ที่พบวา่ มีงานวิจัยจ�ำนวนห้าเร่ืองด้วยกันที่มุ่งเน้นไปท่ีผู้สอน ส่วนการมุ่งเน้นไปที่ผู้เรียนมีจ�ำนวนห้าเรื่องเท่ากัน และ มเี รอ่ื งของกลยทุ ธท์ มี่ งุ่ เนน้ ไปทร่ี ะดบั ผบู้ รหิ ารรว่ มกบั ครผู สู้ อนจำ� นวนหนงึ่ เรอ่ื ง เมอื่ นำ� มาจดั กลมุ่ ตามประเดน็ ทศี่ กึ ษาสามารถจำ� แนกได้เปน็ 4 กลมุ่ โดยงานวจิ ัยทใ่ี ช้เป็นตัวอย่างในการวิเคราะหส์ ่วนมากมงุ่ เนน้ ศกึ ษาด้าน สภาพปญั หา กลยทุ ธใ์ นการขบั เคลอ่ื น หรอื แนวทางในการแกป้ ญั หาดา้ นการจดั การเรยี นการสอนของครู และ การพัฒนาครูภาษาองั กฤษในระดับประถมศกึ ษา จำ� นวน 5 เลม่ คิดเปน็ ร้อยละ 45.45 กล่มุ ที่ 2 มงุ่ เน้นศกึ ษา ผลของการใช้เครือ่ งมอื หรือนวัตกรรมในการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ จ�ำนวน 4 เลม่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 36.36 กลุม่ ที่ 3 มงุ่ เน้นการประเมนิ โครงการจัดการเรยี นการสอน และ กลมุ่ ท่ี 4 ศึกษาความพึงพอใจของ นกั เรียนในการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ ละ 1 เลม่ คิดเป็นร้อยละ 9.09 ทั้งสองกลุ่ม ด้านวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย สามารถจ�ำแนกตามหัวข้อการศึกษาออกเป็น 4 กลุ่ม ที่ประกอบด้วย 1) การมุ่งเน้นศึกษาด้าน สภาพปญั หา กลยทุ ธใ์ นการขบั เคลอ่ื น หรอื แนวทางในการแกป้ ญั หาดา้ นการจดั การเรยี นการสอนของครู และ การพัฒนาครูภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา 2) มุ่งเน้นศึกษาผลของการใช้เครื่องมือ หรือนวัตกรรม ในการจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ 3) มุ่งเน้นการประเมินโครงการจัดการเรยี นการสอน และ 4) ศึกษา ความพึงพอใจของนักเรยี นในการจดั การเรียนรู้ พบว่า กลุ่มท่ี 1 มุ่งเน้นศึกษาด้านสภาพปัญหา กลยทุ ธใ์ นการ ขบั เคล่อื น หรือแนวทางในการแกป้ ญั หาด้านการจัดการเรยี นการสอนของครู และการพฒั นาครูภาษาองั กฤษ ในระดับประถมศกึ ษา โดยพบประเด็น ดังน้ี 1) มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ศึกษาสภาพการจัดการเรยี นรู้ หรอื สภาพ 28 บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ

การการจัดการเรียนการสอนที่เป็นอยู่ เพื่อรับทราบปัญหา และแนวทางในการแก้ไขที่มีความสอดคล้อง กบั นโยบายการศกึ ษาของเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา เพอ่ื นำ� ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากสภาพปญั หาทม่ี มี าสรา้ งกลยทุ ธใ์ นการขบั เคลื่อนนโยบาย 2) สร้างแนวทางหรือรูปแบบในการพัฒนาสมรรถนะของผู้สอน รวมถึงพัฒนาหลักสูตร การเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมกบั สภาพปญั หาทพี่ บในพน้ื ทศี่ กึ ษา 3) เพอื่ ประเมนิ กลยทุ ธ์ หรอื หลกั สตู รทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา ประเมินสมรรถนะของผู้สอน และประเมินความพึงพอใจของนักเรียน กลุ่มที่ 2 มุ่งเน้นศึกษาผลของการใช้ เครอื่ งมอื หรอื นวตั กรรมในการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ โดยพบประเดน็ ดงั น้ี 1) มีวตั ถุประสงค์เพ่อื ตรวจสอบผลการเรยี นรใู้ นการใชเ้ ครอื่ งมอื หรอื นวตั กรรมดา้ นการเรยี นรภู้ าษาองั กฤษเพอ่ื เปรยี บเทยี บผลการ เรียนรู้ก่อนและหลังการใช้เคร่ืองมือ เพ่ือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 2) มีวัตถุประสงค์เพ่ือตรวจสอบ ประสทิ ธภิ าพของเครอื่ งมอื หรอื นวตั กรรมทนี่ ำ� มาใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ สกู่ ารพฒั นาเครอื่ งมอื หรอื นวตั กรรม ท่ีใช้ 3) เพือ่ ประเมินความพงึ พอใจของการใช้สอ่ื หรือนวตั กรรมดา้ นการเรยี นรูภ้ าษาอังกฤษของผสู้ อน และ ของนกั เรยี น กลมุ่ ที่ 3 มงุ่ เนน้ การประเมนิ โครงการการจดั การเรยี นการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เป็นภาษาอังกฤษระดับประถม โดยศึกษาปัจจัยน�ำเข้า กระบวนการ และผลผลิตของโครงการ ผู้มีส่วนได้ สว่ นเสยี เพอื่ นำ� ขอ้ มลู มาปรบั ปรงุ แกไ้ ข และพฒั นาโครงการ กลมุ่ ที่ 4 มงุ่ เนน้ ศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั เรยี น ในการจัดการเรียนรู้ ถึงรูปแบบของการจัดการเรียนรู้ท่ีมีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของโรงเรียน สภาพปัญหาของผู้เรยี น และผลสัมฤทธข์ิ องนักเรียน ด้านแนวคิดทฤษฎี สามารถจ�ำแนกออกเป็น 5 แนวคิดใหญ่ โดยเรียงล�ำดับจากมากไปหาน้อยดังน้ี 1) แนวคิดเร่ือง การจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษในรปู แบบตา่ ง ๆ 2) แนวคดิ เรอ่ื งการวดั และการประเมนิ ผล/ผลสมั ฤทธ/ิ์ ประสิทธิภาพและสิทธิผลทางการเรียน 3) แนวคิดเรอ่ื งการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์/บุคลากร/ครู 4) แนวคดิ เรื่องหลักสูตร/หลักสูตรขั้นพ้ืนฐาน/หลักสูตรภาษาอังกฤษ และ 5) แนวคิดเรื่องส่ือเทคโนโลยีและ นวัตกรรมสอื่ พบว่า มีแนวคิดเร่ืองการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในรูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงมีลักษณะของการ จดั การเรยี นการสอนทป่ี ระกอบไปดว้ ย การจดั การเรยี นการสอนแบบเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง การเรยี นภาษา แบบรว่ มมอื การสอนภาษาองั กฤษเพ่ือการสอื่ สาร การจัดการเรยี นรู้แบบ CIPPA Model การเรียนรูค้ �ำศัพท์ การฝกึ ทักษะ การเรียนรูแ้ บบโครงงาน การใช้กลวธิ ี STAD เพื่อช่วยในการเรียนการสอน การเรียนรูแ้ บบเป็น ทางการ และไม่เป็นทางการ และการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน รวมไปถึงการพัฒนาโมเดลการสอนภาษา องั กฤษ โดยรปู แบบการเรยี นรทู้ ถี่ กู พบมากทส่ี ดุ คอื การเรยี นรแู้ บบผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง สำ� หรบั การเรยี นรแู้ บบ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมีลักษณะการสอน คือ เน้นที่ตัวผู้เรียนเป็นส�ำคัญโดยจัดเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนได้ เกดิ ความทา้ ทาย และมคี วามอยากทีจ่ ะเกดิ การพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพแหง่ ตน พรอ้ มท้ังเกิดการสร้างความรู้ และรับความรดู้ ้วยตนเอง ผ่านการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนทม่ี ลี กั ษณะอันหลากหลายเนือ่ งจากผูเ้ รียนมี ความแตกต่างกัน ดังน้ัน ความสนใจของผู้เรียนจึงมีความแตกต่างกัน นอกจากน้ีหลักในการจัดการเรียน การสอนภาษาองั กฤษควรประกอบไปดว้ ย 1) หลกั การความรคู้ วามเขา้ ใจ ไดแ้ ก่ การเรยี นรแู้ บบองคร์ วม เขา้ ใจ ในความหมาย และซึมซบั ความหมายใหม่อย่างมีระบบในหนว่ ยความจ�ำทางสมอง ตระหนักถงึ ประโยชนข์ อง ภาษาอังกฤษจนท�ำให้เกิดแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษ และจัดกิจกรรมให้เข้ากับผู้เรียนส่วนใหญ่ 2) หลักการทางความรู้สึกนึกคิดมีหลักการ คือ ต้องสร้างทัศนคติและเจตคติท่ีดีในการเรียนภาษาอังกฤษ ปีที่ 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 29

ตอ้ งสรา้ งความมนั่ ใจทงั้ ตอ่ ตวั ผสู้ อนและตวั ผเู้ รยี นเองใหม้ คี วามมนั่ ใจ และกลา้ ทจี่ ะใชภ้ าษาองั กฤษ นอกจากนี้ ยงั ตอ้ งเชอ่ื มโยงเรอ่ื งของการเรยี นรทู้ างวฒั นธรรมดว้ ยเนอ่ื งจากภาษาเปน็ เรอ่ื งของวฒั นธรรม และ 3) หลกั การ ทางภาษาศาสตร์หลายครั้งที่การเรียนภาษาอังกฤษเกิดจากการที่ภาษาที่หนึ่งหรือที่เรียกว่าภาษาแม่เข้ามา เป็นอุปสรรคหรือแทรกแซง นอกจากน้ีผู้เรียนเองจะมีการเรียนรู้ท่ีเรียกว่า ความสัมพันธ์ระหว่างภาษา หรือ อันตรภาษา (Sukchuen, 2016) และใชภ้ าษาอังกฤษวา่ Interlanguage โดยระหว่างเรยี นหรอื ในขณะ เรยี นผเู้ รยี นอาจจะสรา้ งกลวธิ กี ารเรยี นรภู้ าษาองั กฤษขนึ้ เอง ดงั นน้ั จงึ จำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทผี่ สู้ อนจะตอ้ งปอ้ นขอ้ มลู ท่ีถูกต้องกลับไปยังผู้เรียน อีกทั้งผู้สอนยังต้องสอนให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารได้อย่าง คล่องแคล่วและถกู ต้องอีกด้วย แนวคดิ เรอ่ื งการวดั และการประเมนิ ผล/ผลสมั ฤทธ/ิ์ ประสทิ ธภิ าพและสทิ ธผิ ลทางการเรยี น การวดั ผล ประเมินผลเป็นการตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ อาทิ เช่น การสร้างความรู้ ความรู้ การคดิ วเิ คราะห์ ล�ำดบั กระบวนการ ทักษะ รวมไปถึงคณุ ธรรมโดยใช้วิธีการ และเคร่อื งมอื อันหลาก หลายมาวัด ซ่ึงเครอ่ื งมอื และวธิ ีการท่ีใชว้ ดั น้ันต้องสอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ขณะทีผ่ ลสมั ฤทธ์ิ คือ ผลส�ำเร็จของการเรียนที่ผู้เรียนแต่ละคนได้รับโดยใช้เครื่องมือมาวัดระดับคุณลักษณะของความรู้ความ สามารถทีไ่ ดร้ ับการสั่งสมประสบการณม์ าในวชิ าต่าง ๆ แนวคิดเร่ืองการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์/บุคลากร/ครู เป็นกระบวนการส่งเสริม และเพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ความสามารถ ทัศนคติ เจตคติ รวมไปถึงคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมใหก้ ับผู้สอนในสถานศกึ ษาท�ำใหเ้ กิด การพัฒนางานรวมถึงเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ความคิด วิสัยทัศน์ ไปในทางท่ีดีขึ้นท�ำให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธผิ ลในการท�ำงานและการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ แนวคดิ เรอ่ื งหลกั สตู ร/หลกั สตู รขน้ั พน้ื ฐาน/หลกั สตู รภาษาองั กฤษ โดยใชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีเนื้อหาสาระส�ำคญั ในการจดั การเรียนการสอนคอื ให้ทกุ คนมีความเสมอภาคและ ได้รับโอกาสในการศึกษาท่ีเท่าเทียมกัน มีความยืดหยุ่นทางโครงสร้างของหลักสูตร อีกท้ังยังมุ่งเน้นท่ีผู้เรียน เป็นสำ� คัญ โดยจัดการเรยี นรอู้ อกเป็น 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ส�ำหรบั ภาษาองั กฤษนน้ั จะจดั อย่ใู นกลมุ่ ภาษา ตา่ งประเทศ ซึง่ มีอยู่ 4 สาระ คอื สาระท่ี 1 ภาษาเพอ่ื การส่ือสาร สาระที่ 2 ภาษาและวฒั นธรรม สาระท่ี 3 ภาษากับความสัมพันธ์กบั กลุม่ สาระอ่นื และ สาระท่ี 4 ภาษากบั ความสมั พันธ์กับชุมชนและโลก โดยสาระท่ี 1 และ 2 นั้นเน้นที่ความเข้าใจ ในขณะที่ สาระท่ี 3 และ 4 เน้นที่การใช้ แนวคดิ เร่ืองส่อื เทคโนโลยีและนวตั กรรมสอ่ื นอกจากรูปแบบการจัดการเรยี นการสอนทีห่ ลากหลาย แล้ว การใช้สื่อเทคโนโลยีหรือการสร้างนวัตกรรมสื่อที่มีเน้ือหาที่ทันสมัยเหมาะสมกับบริบท เพ่ือมาใช้ใน การเรียนการสอนถือเป็นส่ิงที่ส�ำคัญเช่นกัน เนื่องจากส่ือเหล่านี้สามารถพัฒนาท้ังตัวผู้สอน และผู้เรียนไป ควบคู่กัน อีกท้ังสื่อที่ดีสามารถยังสามารถช่วยทดแทนผู้สอนได้ นอกจากน้ีผู้เรียนยังสามารถใช้ส่ือเทคโนโลยี เพ่อื การเรยี นร้จู ากแหลง่ ต่าง ๆ ไดต้ ลอดเวลา และไมจ่ ำ� กดั สถานที่ ดังนั้นผู้สอนจึงตอ้ งสรรหาสื่อเทคโนโลยีท่ี เหมาะสมใหก้ บั ผ้เู รยี น และส่งเสรมิ และกระต้นุ ใหผ้ เู้ รยี นได้มกี ารใชส้ อ่ื ดิจทิ ลั ออนไลนต์ า่ ง ๆ ทสี่ ามารถนำ� มา ใชป้ ระโยชน์และนำ� ไปปฏบิ ัติประยุกต์ใชไ้ ดจ้ รงิ ด้านระเบียบวธิ วี จิ ยั ระเบียบวิธีวิจัยที่พบมากท่ีสุด คือ การออกแบบงานวิจัยแบบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) และรองลงมา คอื การวจิ ยั เชงิ ทดลอง นอกจากนยี้ งั พบงานวจิ ยั ในลกั ษณะของวจิ ยั แบบผสม 30 บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต

ผสาน (Mixed Method) และวิจัยเชิงศึกษากรณี ขณะที่เคร่ืองมือที่ใช้ในงานวิจัยจะประกอบไปด้วย แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ และ แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิ การวจิ ยั และพฒั นาเปน็ สว่ นหนง่ึ ของวจิ ยั ประเภทวจิ ยั ประยกุ ต์ (Applied Research) และมลี กั ษณะ เป็นวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั ิ (Action Research) โดยการวิจัยและพฒั นาจะเปน็ การพฒั นา หรือเพิม่ เติมหรอื ตอ่ ยอด องคค์ วามรเู้ ดมิ หรอื สงิ่ ทม่ี อี ยเู่ ดมิ แลว้ ดดั แปลง หรอื เปลย่ี นแปลงเพอ่ื ใหเ้ กดิ องคค์ วามรใู้ หม่ ๆ หรอื เปน็ นวตั กรรม ใหม่ ๆ จากนนั้ จงึ นำ� มาทดลอง และปรบั ปรงุ เพอ่ื ใหใ้ ชไ้ ดจ้ รงิ ทำ� ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ล ทด่ี ขี นึ้ ขณะทงี่ านวจิ ยั เชงิ ทดลองเปน็ การศกึ ษาการเปลยี่ นแปลงของตวั แปร โดยตวั แปรนน้ั จะตอ้ งอยใู่ นเงอื่ นไข ของสถานการณ์ที่ถูกควบคุมหรือถูกทดลอง จากน้ันจึงน�ำผลที่ได้มาเปรียบเทียบความแตกต่าง โดยวิจัยเชิง ทดลองทพ่ี บมากท่สี ดุ คือ แบบ One Group Pretest-Posttest Designซึ่งเป็นการทดลองกลุ่มเดยี วกันโดย มีการวดั ผลกอ่ นและหลังเพื่อเปรยี บเทยี บผล ดา้ นผลการศึกษา สามารถจัดกลุ่มของผลที่ปรากฏได้ดังน้ี คือ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาครูผู้สอน การพัฒนาเจตคติ และทัศนคติของผ้เู รียน การพฒั นาส่อื และการพฒั นาการวดั ผลประเมนิ ผล การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ โดยรปู แบบของโครงการและกจิ กรรมของการจดั การเรยี นรคู้ วรประกอบ ดว้ ยลำ� ดบั ขน้ั ตอนดงั นี้ คอื 1) แนวคดิ หรอื กรอบแนวคดิ ทฤษฎที จี่ ะมาสนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอน หรอื การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน 2) วตั ถปุ ระสงค์ หรอื เป้าหมายของงาน โครงงาน หรอื กจิ กรรมนนั้ ๆ ท่ีมี วสิ ยั ทศั นท์ ช่ี ดั เจนเนน้ การสอ่ื สาร และการใชง้ านภาษาองั กฤษ 3) กระบวนการในการทำ� กจิ กรรมอาจประกอบ ไปดว้ ย แผนงาน แผนกิจกรรม หรอื หลกั สตู ร 4) ขน้ั ตอนในการด�ำเนินงาน และ 5) การวดั ผลประเมนิ ผลท่ี หลากหลายสอดคลอ้ งกบั บริบท การพฒั นาครูผสู้ อน พบวา่ ควรพฒั นาครูใหม้ ีความเชี่ยวชาญในดา้ นทักษะภาษาอังกฤษ ไมว่ า่ จะเป็น เรื่องของการสื่อสาร การออกเสียงภาษาอังกฤษให้ถูกต้อง ทักษะการฟังภาษาอังกฤษ หรือจัดครูให้ตรงตาม วุฒิภาษาองั กฤษ (Ket-in 2016) แต่สำ� หรบั การศกึ ษาของ Thirathaveewat (2554) กลบั ไมพ่ บเร่อื งของครู ผสู้ อนไมต่ รงวฒุ ิ แตก่ ลบั มสี งิ่ ทตี่ อ้ งพฒั นาครคู อื เรอ่ื งของเปา้ หมายหลกั สตู รและการทำ� วจิ ยั ในชน้ั เรยี นเนอ่ื งจาก ครูผู้สอนยังไม่เข้าใจเป้าหมายหลักสูตรและยังไม่รู้กระบวนการทำ� วิจัยในชั้นเรียน เช่นเดียวกับการศึกษาของ Penglia (2013) ทไี่ มพ่ บเรอื่ งครผู สู้ อนไมต่ รงวฒุ ิ แตป่ ระสบการณด์ า้ นการไปสมั ผสั ดงู านตา่ งประเทศนน้ั มนี อ้ ย แต่อย่างไรกต็ ามเม่อื พิจารณางานของทง้ั Thirathaveewat และ Penglia นน้ั จะพบว่า โรงเรยี นท่ีเลอื กศึกษา น้ันเป็นโรงเรียนเอกชนขนาดใหญ่ และโรงเรียนในเขตเทศบาลซึ่งอาจมีความพร้อมในเรื่องของงบประมาณ และทุนรวมถึงสถานท่ีต้ังเข้ามาเกี่ยวข้อง นอกจากนี้ผลการศึกษายัง พบว่า ครูผู้สอนมีกลวิธีการสอนท่ี หลากหลายก็จรงิ แตย่ ังมกี ารเนน้ ทีก่ ารบรรยายอยพู่ อสมควร ดงั น้นั จึงพบว่ามขี ้อเสนอแนะในงานวิจัยว่าครู ตอ้ งไมเ่ น้นบรรยายแตเ่ น้นใหผ้ ูเ้ รยี นไดป้ ฏบิ ตั ิและมสี ว่ นร่วมอย่างเต็มทใ่ี นชน้ั เรียน การพฒั นาเจตคติ และทศั นคติของผู้เรียน พบว่า การพฒั นาชดุ การเรียนการสอนให้มีความทันสมัย เป็นนวัตกรรมหรือพัฒนารูปแบบของเจตคติท่ีเป็นรูปธรรมจะช่วยเสริมสร้างเจตคติ และทัศนคติท่ีดีต่อ การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษของผเู้ รยี น เพราะเจตคติ และทศั นคตทิ ดี่ จี ะชว่ ยจงู ใจใหผ้ เู้ รยี นมแี รงบนั ดาลใจ ใฝ่ในการเรียนรู้ ท�ำให้เกิดการพัฒนาการเรียนภาษาอย่างเต็มศักยภาพ นอกจากน้ีส่ิงที่ส�ำคัญที่สุดท่ีช่วยให้ ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ น่ันคือ การพัฒนาครูผู้สอน เน่ืองจากผู้สอนท่ีดีสามารถช่วย ปีท่ี 17 ฉบับท่ี 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 31

ให้การเรยี นการสอนประสบผลส�ำเร็จ การพฒั นาสอ่ื พบวา่ มกี ารพฒั นาสอ่ื ทเี่ ปน็ การสรา้ งสอ่ื นวตั กรรมในลกั ษณะสอ่ื จรงิ และ สอื่ มลั ตมิ เี ดยี นอกจากน้ยี ังพบการสรา้ งส่อื ที่เปน็ ลักษณะของเกม รปู ภาพและบัตรค�ำ การพัฒนาการวัดผลประเมินผล พบว่า มีการใช้วิธีการวัดผลและประเมินผลทีหลากหลาย เช่น ใช้ การสังเกตในชนั้ เรียน ใช้การทดลอง การประเมินจากการทำ� งานกลมุ่ หรอื การทำ� งานเดย่ี ว การท�ำแบบฝกึ หดั แฟ้มสะสมงาน เป็นตน้ โดยการประเมนิ ผลที่พบว่ามกี ารนำ� มาใช้มากทสี่ ุด คือ การประเมินจากแบบสอบ อภปิ รายผล เมอ่ื พนิ จิ มองย้อนในชว่ งทศวรรษทผี่ า่ นมามีงานวจิ ัยที่เผยแพรใ่ น ThaiLis จำ� นวน 11 เรอ่ื ง คดิ เฉลี่ย แล้วเท่ากับว่า มีการศกึ ษาเกย่ี วกับภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษาจำ� นวน ปลี ะ 1.1 เรือ่ งเท่านั้น ถอื วา่ เปน็ จ�ำนวนทไี่ ม่มากเช่นเดียวกบั การศึกษาของ Chitasuk (1994) ทีพ่ บวา่ การศกึ ษาดา้ นการเรยี นการสอนภาษา องั กฤษระดบั ประถมศกึ ษามนี อ้ ย และนอ้ ยกวา่ งานวจิ ยั ภาษาองั กฤษระดบั มธั ยมศกึ ษาจำ� นวนกวา่ สามเทา่ (3.25 เท่าของสายมัธยม) และจากการข้อค้นพบในด้านหัวข้อวิจัยนั้นจะเห็นได้ว่า ทั้ง 11 เรื่องวิจัยมุ่งเน้นไปท่ีครู ผ้สู อน และผู้เรียนซึ่งทง้ั สององค์ประกอบถอื เป็นองค์ประกอบส�ำคัญสดุ ของการจดั การเรียนการสอนของทุก ๆ รายวิชาไม่เฉพาะแต่ภาษาอังกฤษ โดยทั้งผู้สอน และผู้เรียนจะต้องก้าวไปพร้อมกันโดยผู้สอนสามารถสลับ บทบาทกับผเู้ รียน และแลกเปลย่ี นเรยี นรู้กบั ผ้เู รียนได้เพอ่ื ให้เหมาะกบั การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Shalarak, 2017) ในขณะทดี่ า้ นกลยทุ ธน์ นั้ พบจำ� นวนแคห่ นง่ึ เรอ่ื งแสดงวา่ สว่ นใหญแ่ ลว้ จะสนองนโยบายและปฏบิ ตั ติ าม แผนกลยทุ ธข์ องชาตแิ ละของโรงเรยี น อยา่ งไรกต็ ามหากมองในชอ่ งวา่ งของหวั ขอ้ เรอื่ งทศ่ี กึ ษายงั ไมป่ รากฏชดั ในเรื่องของการศึกษาความมีส่วนเก่ียวข้องของผู้ปกครอง ผู้น�ำชุมชนและชุมชน เนื่องจากการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษนั้นหากจะให้ได้ประสิทธิภาพแล้วต้องเกิดการเรียนรู้ตลอดเวลาไม่ใช่เฉพาะแต่ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ผู้น�ำชุมชน และชุมชนต้องมีส่วนช่วยส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดการใช้ภาษาอยู่ตลอดเวลา จากการศกึ ษาของ Rattanaphumma (2006) และ MALU และ SMEDLEY (2016) พบวา่ การเรยี นภาษา องั กฤษแคใ่ นชน้ั เรยี นนนั้ อาจไมเ่ พยี งพอและไดป้ ระสทิ ธภิ าพ ผเู้ รยี นตอ้ งการโอกาสทจ่ี ะไดฝ้ กึ ฝนนอกชน้ั เรยี น อีกท้ังการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานช่วยพัฒนาทักษะภาษาและความรู้ทางวัฒนธรรมได้ นอกจากน้ีหาก ครอบครวั และชุมชนไมม่ ีสว่ นรว่ ม รวมถงึ มีชอ่ งทางของการน�ำมาใชห้ รอื มีสถานทใี่ ห้ผู้เรียนรวมถงึ ครูผูส้ อนได้ ฝึกและประยกุ ต์ใชภ้ าษาอังกฤษได้ในชีวติ จริงแล้วท้ายท่ีสดุ เราจะเขา้ สู่วงจรเดิม ๆ คือ เรยี นไปไม่ได้ใชแ้ ละใช้ เฉพาะในห้องเรียนเท่านั้น และจะเกิดการผลิตซ�้ำทางความล้มเหลวแห่งการเรียนภาษาอังกฤษของเด็กไทย ดา้ นวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั สว่ นใหญม่ กี ารมงุ่ เนน้ ศกึ ษาดา้ นสภาพปญั หาของการจดั การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ ในระดบั ประถมศึกษา เพ่ือนำ� ผลทไ่ี ด้ศึกษาตามวัตถปุ ระสงค์มาสร้างกลยทุ ธ์ เครือ่ งมือ นวัตกรรม หรือสื่อการ เรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีมีความเหมาะสมสอดคล้องกับบริบท หรือสภาพปัญหาของพ้ืนท่ีที่ศึกษา รวมถงึ การพฒั นาสมรรถนะของผสู้ อนทม่ี งุ่ ผลสมั ฤทธก์ิ ารเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นเปน็ สำ� คญั มกี ารตดิ ตามประเมนิ ผล โดยใชก้ ารวดั ผลการเรียนร้กู อ่ น และหลังการใช้เครือ่ งมอื หรือสอ่ื การเรยี นร้ทู ีน่ ำ� มาใช้ เพ่ือนำ� ไปสู่การพัฒนา หลักสูตรการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับนโยบายของเขตพ้ืนที่การศึกษา ในด้านแนวคิดทฤษฎีท่ีสามารถ จำ� แนกออกเปน็ 5 แนวคดิ ใหญ่ ๆ นนั้ จะพบวา่ ทงั้ หา้ แนวคดิ ไมว่ า่ จะเปน็ แนวคดิ เรอื่ งการจดั การเรยี นการสอน 32 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต

ภาษาอังกฤษในรูปแบบต่าง ๆ ทฤษฎีการวัดและการประเมินผล/ผลสัมฤทธิ์/ประสิทธิภาพและสิทธิผล ทางการเรียน ทฤษฎีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์/บุคลากร/ครู แนวคิดเรื่องหลักสูตร/หลักสูตรขั้นพ้ืนฐาน/ หลกั สูตรภาษาองั กฤษ และแนวคิดเรอ่ื งสื่อเทคโนโลยี และนวัตกรรมส่อื ทกุ แนวคิดนั้นถกู ส่ือถึงครผู ู้สอนเป็น ส�ำคัญ เพราะครู คือ ผผู้ ลิตกจิ กรรมการเรยี นการสอน เปน็ ผวู้ ดั ผลประเมนิ ผลการเรียน ตอ้ งพฒั นาตนเองให้ ก้าวหน้า ต้องเข้าใจหลักสูตรและแผนการสอนจึงจะน�ำพาการท�ำกิจกรรมการเรียนการสอนให้ส�ำเร็จลุล่วง รวมถงึ ตอ้ งมกี ารแสวงหาความรแู้ ละสามารถผลติ สอื่ ทเ่ี ปน็ นวตั กรรมเทคโนโลยไี ด้ ดงั นนั้ จงึ ควรมกี ารอบรมครู ผูส้ อนภาษาองั กฤษอยา่ งต่อเนือ่ งในด้านต่าง ๆ เชน่ อบรมดา้ นภาษาศาสตร์กบั ผเู้ ช่ยี วชาญ หรอื เจา้ ของภาษา โดยตรง การอบรมเทคนิคและวิธกี ารสอนทีท่ นั สมยั สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจบุ นั และทนั กบั ความเป็น จริงที่เกิดข้ึน การอบรมพัฒนาการทำ� สื่อโดยเฉพาะการดิจิทัล และมัลติมีเดียท้ังนี้เนื่องจากว่าสื่อท่ีดีสามารถ ชว่ ยลดภาระการสอนของผคู้ รสู อนได้ รวมถงึ ถา้ สอื่ ดมี ขี อ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งครบถว้ นจะชว่ ยกระตนุ้ สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี น เกิดการอยากแสวงหาความรู้ และการใช้ส่ือดิจิทัลมัลติมีเดียช่วยเป็นการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี และ เป็นผลิตผลทางวิทยาศาสตร์ช่วยส่งเสริมการใช้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีให้กับประเทศชาติไปในตัว หากพิจารณาท้ังห้าแนวคิดน้ีจะ พบว่า มีเช่ือมโยงกับผลของการวิจัยท่ีพบอัน ได้แก่ การพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ การพฒั นาครูผู้สอน การพัฒนาเจตคติและทศั นคตขิ องผู้เรียน การพัฒนาสื่อและการพัฒนาการวัดผล ประเมนิ ผล อยา่ งไรกต็ ามผลดงั กลา่ วมคี วามใกลเ้ คยี งกบั ผลของการสงั เคราะหง์ านวจิ ยั ดา้ นภาษาองั กฤษระดบั ประถมศึกษาของ Chitasuk, (1994) พบวา่ ในสามอนั ดับแรกเปน็ เรอื่ งของเรอ่ื งของการพัฒนาเทคนคิ วธิ กี าร สอน การวัดผลประเมินผลหรือผลสมั ฤทธ์ิ และการพัฒนานวตั กรรมเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการสอน จึงเป็น สิ่งที่น่าขบคิดวา่ ชว่ งปี 2537 และบทความชิ้นนท้ี ผ่ี เู้ ขยี นไดเ้ กณฑ์การคดั กลุม่ ตวั อยา่ งในปี 2553 จนถงึ 2563 ซ่งึ มีความห่างกนั 26 ปี หรอื เกอื บสามทศวรรษนนั้ กลับพบวา่ ผลของการศึกษาในเรอื่ งของการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาท่ีได้ยังคงเป็นรูปแบบคล้ายเดิม เพียงแต่มีรูปแบบกิจกรรมการสอนที่อาจ เปลย่ี นแปลงไปเพอ่ื ใหท้ นั ยคุ ทนั สมยั และความตอ้ งการของสงั คมในขณะนนั้ รวมไปถงึ สอื่ เทคโนโลยที ถี่ กู พฒั นา ข้ึนตามกาลเวลาเพียงเท่าน้ันหรือไม่ ดังน้ันแนวโน้มของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับส�ำหรับ ประเทศไทยยังคงเป็นเร่ืองของการพัฒนากิจกรรม และเทคนิควิธีการเรียนการสอนอยู่ดีและเป็นการเรียน การสอนทพ่ี ฒั นาเฉพาะเมอ่ื อยใู่ นชน้ั เรยี นเทา่ นน้ั มไิ ดข้ ยายขอบเขตวงกวา้ งเพอื่ ใหเ้ กดิ การใชต้ ลอดเวลาเพราะ ภาษาคือการใช้หากไม่ใช้ก็สามารถลืมได้ ส�ำหรับในส่วนของระเบียบวิธีวิจัยน้ัน พบในเรื่องของงานวิจัยและ พฒั นา (R&D) มากที่สดุ ซึ่งเป็นรปู แบบของระเบียบวธิ วี จิ ัยท่ีน�ำมาใช้เพือ่ พัฒนา และทดลองใช้ในส่วนท่เี ปน็ รปู แบบของกจิ กรรมการเรยี นการสอน วธิ กี ารวดั ผลประเมนิ ผลและการทดลองพฒั นาใชส้ อ่ื นวตั กรรมการเรยี น การสอน อย่างไรก็ตามผู้เขียนยังเห็นว่ากลวิธีชาติพันธุ์วรรณนาในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับ ประถมศึกษาของไทยน้ันยังไม่ปรากฏชัดเจน หากน�ำระเบียบวิธีวิจัยในเชิงชาติพันธุ์วรรณนา หรือที่เรียกว่า Linguistic Ethnography ซึ่งเป็นการผสมผสานสหวิทยาการมาใช้ผสมผสานในระเบียบวิธีวิจัยพร้อมศึกษา สงั คม และการประยกุ ตใ์ ช้ทางภาษา (Shaw, Copland, and Snell, 2015; Milans, 2015; Madsen, 2018) จะช่วยใหเ้ กดิ การพัฒนาภาษาองั กฤษของเด็กไทยระดบั ประถมมากข้นึ ปีที่ 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจ�ำ เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 33

สรปุ ผลการศึกษาและขอ้ เสนอแนะ สรปุ ผลการศกึ ษา จากการวเิ คราะหใ์ นขา้ งตน้ ทำ� ใหไ้ ดแ้ นวโนม้ ดงั นค้ี อื 1. ดา้ นหวั ขอ้ งานวจิ ยั งานวจิ ยั ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาถึงลักษณะของการพัฒนารูปแบบวิธีเรียนการสอน และการทดลองใช้สื่อการสอน 2. ด้านวัตถุประสงค์ของการวิจัยส่วนใหญ่มุ่งเน้นศึกษาสภาพปัญหา หรือแนวทางในการแก้ปัญหาด้านการ จัดการเรียนการสอนของครู การพัฒนาครูภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา และผลของการใช้เคร่ืองมือ หรอื นวตั กรรมในการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ 3. ดา้ นแนวคดิ ทฤษฎี สว่ นใหญน่ ำ� แนวคดิ เรอ่ื งการจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และการพัฒนาหลักสูตรมาใช้ร่วมกับแนวคิดเรื่องการวัดและการประเมินผล และแนวคดิ เรอ่ื งการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ 4. ดา้ นระเบยี บวธิ วี จิ ยั สว่ นใหญใ่ ชร้ ะเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั และพฒั นา และการวิจัยเชิงทดลองโดยใช้การศึกษาเปรียบเทียบก่อน-หลัง 5. ด้านผลการศึกษา ตรงตามวัตถุประสงค์ การวิจัยในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาครูผู้สอน การพัฒนาเจตคติ และทัศนคติของผู้เรียน การพฒั นาสอ่ื และการพฒั นาการวดั ผลประเมนิ ผล และจากการทง้ั 5 ดา้ นนน้ั ทำ� ใหส้ ามารถวเิ คราะหแ์ ละสรปุ องคค์ วามร้ไู ด้วา่ การจะพฒั นาภาษาอังกฤษใหก้ ับผู้เรียนในระดับชั้นประถมศกึ ษานน้ั จำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะตอ้ ง พฒั นาครูผ้สู อนเป็นส�ำคญั ก่อน เนอ่ื งจากครูผสู้ อนถือเปน็ องค์ประกอบหลกั ทีจ่ ะเช่อื มโยงกับทกุ องค์ประกอบ ของการเรยี นการสอน หรอื แมแ้ ตเ่ ชอ่ื มโยงไปถงึ บรบิ ทแวดลอ้ มอน่ื ๆ ทเี กย่ี วขอ้ ง ไมว่ า่ จะเปน็ ครอบครวั ชมุ ชน หรือสงั คมของผเู้ รียน เม่อื ผู้สอนทค่ี วามรทู้ ่ถี ูกต้อง แท้จรงิ แม่นยำ� และทนั สมยั จึงจะสามารถนำ� ความรู้ทาง ดา้ นภาษาองั กฤษไปถา่ ยทอด และพฒั นาทกั ษะความรไู้ ปสกู่ ารพฒั นาองคป์ ระกอบอนื่ ๆ เชน่ การจดั การเรยี น การสอน เครอ่ื งมือ การวดั ผลและประเมนิ ผล เปน็ ตน้ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะท่พี บจากงานวิจยั 1. งานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศกึ ษาในประเทศไทยในระบบ ฐานข้อมูล ThaiLis (พ.ศ. 2553-2563) ยังมีอยู่เป็นจ�ำนวนน้อยมาก สะท้อนให้เห็นการพัฒนาการเรียน การสอน และผลสมั ฤทธิ์ด้านการเรียนการสอนท่ีประผลสำ� เรจ็ ตอ่ ทักษะชวี ติ ด้านภาษาองั กฤษของนกั เรยี น 2. การนำ� ผลไปใช้ บทความไดน้ ำ� เสนอแนวทาง และแนวโนม้ ซ่งึ สามารถน�ำไปเพม่ิ เตมิ ศึกษาต่อยอด องคค์ วามรเู้ กยี่ วกับระเบียบวิธวี ิจยั ท่ีใช้ในการพัฒนาการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ และเคร่ืองมือท่ใี ช้ในการ วัดผลการเรียนรู้ท่ีประสบผลสัมฤทธิ์ส�ำหรับการศึกษาในอนาคต ควรมีการศึกษาด้านการติดตามผลการใช้ เครื่องมือ หรือสื่อการเรียนการสอน ในการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ และคุณภาพของส่ือการเรียนการสอน ทเี่ หมาะสมกบั สถานการณป์ จั จบุ นั และนโยบายดา้ นการศกึ ษาของไทย รวมถงึ มกี ารศกึ ษาเปรยี บเทยี บการเรยี น การสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาของประเทศไทยกับประเทศอื่น ๆ ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพอื่ หาคณุ ลกั ษณะเฉพาะทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ ในการนำ� ผลมาปรบั ใชก้ บั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศึกษาของประเทศไทย ขอ้ เสนอแนะในการท�ำวจิ ยั คร้ังตอ่ ไป ควรมกี ารศกึ ษาวจิ ยั เพอื่ ตดิ ตามประเมนิ ผลการใชร้ ปู แบบ หรอื วธิ กี ารทนี่ ำ� มาใชใ้ นงานวจิ ยั เพอ่ื ตรวจ สอบผลสัมฤทธ์กิ ารเรยี นการสอน และการติดตามผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศกึ ษาใน ระยะยาว 34 บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ

เอกสารอา้ งองิ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. Siam Edunews. (2559). ศธ. เผยผลสำ� รวจคนไทยพดู ภาษาองั กฤษไดร้ อ้ ยละ 10 อยใู่ น อันดับ 5 ของอาเซียน. [Online]. Available: http://www.siamedunews.com/articles/ 42275409/ศธ.เผยผลส�ำรวจคนไทยพูดอังกฤษได้ร้อยละ-10-อยู่ในอันดับ-5-อาเซียน.html. [January, 27 2016]. กาญจนา ชาตตระกูล, วนิดา อัญชลีวิทยกุล, ปิยะธิดา สุกระ, สรพล จิระสวัสด์ิ, ขวัญสุดา ดีศิริ. (2555). การพฒั นานวตั กรรมการสอนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศกึ ษาโดยใชว้ ธิ กี ารสอนการเรยี นรแู้ บบ ร่วมมือ. งานวิจัย. หลักสตู รภาษาองั กฤษธุรกิจ คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ . เกรยี งศกั ดิ์ สยะนานนท์ และวฒั นา พัดเกตุ. (2548). อายุกับการเรยี นภาษาอังกฤษทีม่ ี และปจั จัยอิทธพิ ล ตอ่ ความพงึ พอใจหรอื ไมพ่ อใจในการเรยี นภาษาองั กฤษ. คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. คณิตา ปราสยั . (2554). ผลของการใช้การสอนดว้ ยวิธีการเรยี นรโู้ ดยใชส้ มองเป็นฐานทมี่ ีตอ่ ความสามารถ ในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรศิลปศาสตร มหาบณั ฑติ สาขาการสอนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาตา่ งประเทศ คณะศลิ ปศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร.์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า. ณัฐกันต์ สุขชื่น. (2559). แนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับอันตรภาษาในเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์: วัจนกรรม ขอโทษ. วารสารมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชพฤกษ.์ 2 (1): 10-23 ณพฐั อร โคตรพงษ.์ (2559). การพัฒนาโมเดลผสมผสานอิงประสบการณ์เพอื่ พัฒนาสมรรถนะดา้ นการจดั การเรยี นรสู้ ำ� หรบั ครภู าษาองั กฤษระดบั ประถมศกึ ษา. วทิ ยานพิ นธ์ หลกั สตู รปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ณ อญั ชนั ชติ สขุ . (2537). การสงั เคราะหง์ านวจิ ยั ดา้ นภาษาองั กฤษระดบั ประถมศกึ ษา ระหวา่ ง พ.ศ. 2521- 2533. ปริญญานิพนธ์ หลกั สตู รการศกึ ษามหาบณั ฑิต สาขาภาษาศาสตร์ศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. ณชิ ากร นธิ วิ ฒุ ภิ าคย.์ (2559). การพฒั นาหลกั สตู รการฝกึ อบรมการจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงานของครสู อน ภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา คณะครุศาสตร์. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร. ธัญญลักษณ์ เวชกามา. (2562). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการสอนภาษาอังกฤษของโรงเรียน ประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ ีรมั ย์. นวพร ชลารกั ษ.์ (2558). บทบาทของครกู บั การเรยี นการสอนในศตวรรษที่ 21. วารสารวชิ าการฟารอ์ สี เทอรน์ . 9 (1): 64-71. ปีท่ี 17 ฉบับท่ี 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 35

นารินทร์ มานะการ (ว่าที่ร้อยตรีหญิง). (2560). ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน รายวชิ าภาษาองั กฤษระดบั ประถมศกึ ษาของครสู งั กดั สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา นครราชสีมา เขต 7. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า. บญุ เหลอื เทพยสวุ รรณ. (2554). รวบรวมบทความเกยี่ วกบั การเรยี นการสอนภาษา. วารสารภาษาปรทิ ศั น.์ 26 (2544). 22-64. บบุ ผา เมฒศรที องคำ� . (2547). การวจิ ยั ชาตพิ นั ธวุ รรณนาอภมิ านเกยี่ วกบั การมสี ว นรว มของชมุ ชนในการจดั การศกึ ษา. วิทยานพิ นธ์ หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าวจิ ัยการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั . วโิ ชติ ทองเสมอ, วรารกั ษ์ มาประสม, และจนั ทรด์ ารา สขุ สาม. (2557). การถา่ ยทอดเทคโนโลยบี นสอื่ มลั ตมิ เี ดยี ช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาส�ำหรับอาจารย์ในจังหวัดสุรินทร์. สาขาวิชา ระบบสารสนเทศ คณะเทคโนโลยกี ารจัดการ วิทยาเขตสุรินทร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล อสี าน สมเดียว เกตุอินทร์. (2559). กลยุทธ์การขับเคลื่อนนโยบายการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการเป็น ประชาคมอาเซยี นของสถานศกึ ษาในสงั กดั สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนา บัณฑิต วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งราย. สริ ์กิ าญจน์ สิงหเ์ สน. (2556). ผลการใช้แบบฝึกทกั ษะการเรยี นรู้ค�ำศัพทภ์ าษาองั กฤษ โดยการจดั กิจกรรม การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3. วิทยานิพนธ์. หลักสูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาหลกั สูตรและการสอน คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั บุรีรมั ย์ สุภาพ ธีรทวีวัฒน์. (2554). การประเมินโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ เปน็ ภาษาอังกฤษระดบั ประถม โรงเรยี นมารยี ว์ ทิ ยา จงั หวัดนครราชสมี า. วิทยานิพนธ์ หลักสตู ร ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร.์ สุรียพ์ ร เพ็งเลีย. (2556). การศึกษาสภาพปญั หาและความพงึ พอใจของนกั เรยี นในการจดั การเรยี นรวู้ ชิ า ภาษาองั กฤษระดบั ประถมศกึ ษาของโรงเรยี นสงั กดั เทศบาลเมอื งอตุ รดติ ถ.์ วทิ ยานพิ นธ์ หลกั สตู ร ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาหลักสตู รและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ.์ สำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2560). แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟคิ . อาวธุ ธีระเอก. (2560). ภาษาเจา้ ภาษานาย การเมืองเบอ้ื งหลงั ภาษาองั กฤษ สมยั รชั กาลท่ี 5. กรุงเทพฯ: มตชิ น. 36 บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต

References EF EPI. (2019). Thailand. [Online]. Available: https://www.ef.co.th/epi/regions/asia/thailand/ [January 24, 2020]. Effortless English. (2020). Importance of English. [Online]. Available: https://effortlessenglish club. com/importance-of-english [May 9, 2020] Internet World Status. (2019). Internet World Users by Language: Top 10 Languages. [Online]. Available: http://www.internetworldstats.com/stats7.htm [January 24, 2020] Klappenbach, A. (2019). Most Spoken Language in the World 2020. [Online]. Available: https://blog.busuu.com/most-spoken-languages-in-the-world/ [January 24, 2020]. Madsen, L.M., (2018). Linguistic Ethnography: Study English Language, Cultures and Practices. The Routledge Handbook of English Language Studies. [Online]. Available: https://www.academia edu/38110587/Linguistic_Ethnography_Studying_ English_Language _Cultures_and_Practices. [February 10, 2020]. Malu, K.F. and Smedley, B. (2016). Community-based English Clubs: English Practice and Social Change Outside the Classroom. [Online]. Available: https://files.eric.ed.gov/ fulltext /EJ1114170.pdf [February 10, 2020]. Milans, M. P., (2015). Language and Identity in Linguistic Ethnography. The Routledge handbook of Language & Identity. [Online]. Available: https://www. tilburguniversity. edu/sites/ default/files/download/TPCS_132_PerezMilans_2.pdf [February 10, 2020]. Mnkandla, E and Minnaar, A. (2017). The Use of Social Media in E-learning: A metasynthesis. International Review of Research in Open and Distributed Learning. 18 (5): 227- 248. Rattanaphumma, R. (2006). Community-based English Course in Local Perspectives. EDU-COM 2006 International Conference. 391-401. Shaw SE, Copland F and Snell J, (2015). An Introduction to Linguistic Ethnography: Interdisciplinary Explorations, in Snell, Shaw and Copland (eds) Linguistic Ethnography. Interdisciplinary Explorations. Basingstoke, Palgrave Macmillan. Zhao, S. (1991). Metatheory, Meta Method, Meta-data-analysis: What, Why and How?. Sociological Perspective. 34 (3): 377-390. ปที ี่ 17 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 37

Translated Thai References Siam Edunews. (2016). Ministry of Education revealed the percentage that Thai people can speak English was 10 in the range of 5th of Asian. [Online]. Available: http:// www.siamedunews.com/articles/42275409/.html. [January 24, 2020] (in Thai) Charttrakul, K., Anchaleewittayakul, W., Sukkara, P., Chirasawasdi, S. and Deesiri, K. (2011). Developing an Innovation for Teaching English at Primary Levels Using Cooperative Language Learning Approach. Research. Program in Business English. Faculty of Humanities and Social Sciences. Suan Dusit University. (in Thai) Sayananon, K. and Padket, V. (2005). Ages with English Studying and Factor Influence to Satisfaction or Dissatisfaction of English Studying. Faculty of Humanities. Naresuan University. (in Thai) Prasai, K. (2011). Effects of Brain-based Learning Instruction on English Speaking Ability of Prathomsuksa Six Students. Thesis. M.A. (Teaching English as a Foreign Language). Faculty of Humanities and Social Sciences Nakhon Ratchasima Rajabhat University. (in Thai) Sukchuen, N. (2016). Concepts and Theories Relating to Interlanguage Pragmatics: Speech Act of Apologies. Journal of Humanities and Social Sciences Rajapruk Uniniversity. 2 (1): 10-23(in Thai) Khotphong, N. (2016). The Development of Blending Training Model Based on Experience Approach to Enhance Learning Competency for Elementary English Teachers. Thesis. PhD. (Educational Technology and Communications). Faculty of Education. Mahasarakham University. (in Thai) Chitasuk, N. (1994). Research Synthesis of English Language in Primary Education from 1978- 1990. Thesis. M.Ed. (Educational Linguistics). Faculty of Education. Srinakharinwirot University. (in Thai) Nithiwutthphak, N. (2016). A Development of Training Curriculum on Project Work of Primary-level English Teachers under the Office of the Basic Education Commission. Thesis. PhD. (Educational Administration and Development). Faculty of Education. SakonNakorn Rajabhat University. (in Thai) Wechkama, T. (2019). The Model for Development of Teacher Competencies in the Teaching of English in Primary Schools in the Lower Northeastern Region. Thesis. PhD (Educational Administration). Faculty of Education. Buriram Rajabhat University. (in Thai) 38 บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต

Shalarak, N. (2015). The Teacher's Role and Instruction in the 21st Century. Journal of The Far Eastern University. 9 (1): 64-71. (in Thai) Manakarn. N. (2017). Problem and Ways to Solve of Learning English for Teacher of Nakon Ratchasima Education Service Area Office 7. Thesis. M.Ed (Curriculum and Instruction). Faculty of Education. Ratchasima Rajabhat University (in Thai) Thepayasuwan, B. (2001). Article Collection About Teaching and Studying Language. Pasaa Paritat Journal. 26 (2544): 22-64. (in Thai) Meksrithongkam, B. (2004). A Meta-ethnography Research on Community Participation in Educational Management. Thesis M.Ed. (Educational Research). Faculty of Education. Chulalongkorn University (in Thai) Tongsmer, W., Maprasom, W., and Suksam, J. (2014). Multimedia Computer Assisted Instruction and Information Technology in English Subject for Primary School Teachers in Surin Province. Research. Program in Information System. Faculty of Management Technology. Rajamangala University of Technology Isan. (in Thai) Ket-in, S. (2016). Developing Strategies Under the Policy of Leaning and Teaching English Reform in Schools Towards ASEAN Community Under the Office of Chiangmai Primary Education Service Area Office 3. Thesis. PhD (Education and Development). Graduate School. Chiangrai Rajabhat University. (in Thai) Singsen, S. (2013). The Effects of English Vocabulary Learning Exercises through Cooperative Learning Using STAD Techniques for Pratomsuksa 3 Students. Thesis. M.Ed (Curriculum and Instruction). Faculty of Education. Buriram Rajabhat University. (in Thai) Thirathaveewat, S. (2011). An Evaluation of English Program at Marievithaya School, Primary Section Nakon Ratchasima Province. Thesis. M.Ed (Educational Research and Evaluation). Faculty of Education. Kasetsart University. (in Thai) Penglia, S. (2013). A Study of Conditions, Problems and Students’ Satisfaction in English Learning of Primary Schools Under Uttaradid Municipality. Thesis. M.Ed (Curriculum and English Instruction). Faculty of Education. Uttaradid Rajabhat University. (in Thai) Office of The Educational Council. (2017). The National Scheme of Education B.E. 2560- 2579 (2017-2036). Bangkok. Prikwangraphic Ltd. (in Thai) Theera-ake, A. (2017). Language of Royalty, Politics behind the English Language in the Reign of King Rama V. Bangkok. Matichon. (in Thai) ปที ี่ 17 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือนมกราคม - เมษายน 2564 39

คณะผู้เขยี น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รนิ ทรฤ์ ดี ภทั รเดช คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต วทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ ี 57 หมู่ 2 ต. โคกโคเฒ่า อ. เมอื ง จ. สพุ รรณบุรี 72000 e-mail: [email protected] ดร. ปญั ญเดช พนั ธวุ ัฒน์ โรงเรยี นกฎหมายและการเมือง มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ อาคารบณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต 295 ถนนนครราชสมี า แขวงวชิระ เขตดสุ ิต กรงุ เทพมหานคร 10300 e-mail: [email protected] 40 บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั สวนดุสติ

ความขัดแย้งทางปัญญาและโครงการปรบั ปรุงคณุ วฒุ ิวชิ าชีพครู พ.ศ. 2560 กรณีศึกษาหลักสูตรการศึกษาบณั ฑิต มศว. วรรธนะ สขุ ศริ ปิ กรณ์ชัย* คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ Watthana Suksiripakonchai* Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University Received: April, 4 2020 Revised: October, 10 2020 Accepted: October, 27 2020 บทคัดยอ่ การศกึ ษาวชิ าชพี ครเู ปน็ ปจั จยั สำ� คญั ของระบบการศกึ ษาแตท่ ศิ ทางการพฒั นาความรแู้ ละทกั ษะของ ครูไทยในปัจจุบันเกดิ การลดหย่อนคุณภาพลงไปมาก งานวจิ ัยนเ้ี ป็นวจิ ยั เชิงประยุกต์ ศกึ ษาความขัดแยง้ ทาง ปัญญาของนิสิต และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรการศึกษาบัณฑิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัย ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ (มศว) เกยี่ วกบั โครงการปรบั ปรงุ คณุ วฒุ วิ ชิ าชพี ครปู ี พ.ศ. 2560 ซง่ึ ลดระยะเวลาของหลกั สตู ร การศกึ ษาบณั ฑติ จากเดิม 5 ปี เปน็ 4 ปี กลุม่ ตวั อยา่ ง คือ นิสติ หลกั สูตรการศกึ ษาบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษา องั กฤษ 62 คน ไดม้ าจากการสมุ่ ตวั อยา่ งแบบเจาะจง เครอื่ งมอื ทใี่ ชค้ อื แบบสอบถามเกย่ี วกบั ความขดั แยง้ ทาง ปัญญาท่ผี า่ นการตรวจสอบจากผู้เชยี่ วชาญ 3 ท่าน ประกอบกับการสัมภาษณ์แบบกงึ่ โครงสร้าง ผลการวจิ ยั แสดงดว้ ยสถติ เิ ชญิ พรรณนาใหเ้ หน็ วา่ ทงั้ นสิ ติ เกดิ ความขดั แยง้ ทางปญั ญาในดา้ นตา่ ง ๆ ของโครงการปรบั ปรงุ คณุ วฒุ วิ ชิ าชพี ครู พ.ศ. 2560 คอื 45.2% รสู้ กึ ไมม่ น่ั คงเกย่ี วกบั งานในอนาคต 30.6% เสอ่ื มศรทั ธาในประโยชน์ ของหลกั สตู รปจั จบุ นั ทต่ี นศกึ ษา 74.2% เรยี กรอ้ งใหต้ อ่ ตา้ นโครงการปรบั คณุ วฒุ ิ 77.4% ตอ้ งการความคมุ้ ครอง จากโครงการใหม่ และ 56.5% คิดว่าโครงการใหม่ไม่มีความยุติธรรม ผลการสัมภาษณ์อาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรช้ีให้เห็นถึงความไม่ม่ันคงเร่ืองโอกาสการแข่งขันของการท�ำงานในอนาคตและความเช่ือม่ันของนิสิต คงค้างของหลกั สูตร 5 ปี คำ� สำ� คัญ: ความขดั แยง้ ทางปญั ญา การสอนภาษาอังกฤษ หลักสตู รการศึกษา การศกึ ษาครู * วรรธนะ สุขศริ ปิ กรณช์ ัย (Corresponding Author) ปที ี่ 17 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ�เดอื นมกราคม - เมษายน 2564 41 e-mail: [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook