Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore merged (pdf.io)

merged (pdf.io)

Published by kittikan2505, 2020-05-31 07:08:17

Description: merged (pdf.io)

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการศึกษา ภาษาสันสกฤตเบอื้ งตน้ Basic Sanskrit ससं ्कृ त เรียบเรยี งโดย พระครกู ติ ตชิ ัยกาญจน์ ป.ธ.๔, พธ.บ., M.A. หลกั สูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา โครงการขยายห้องเรียน มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คณะพุทธศาสตร์ วดั ไชยชมุ พลชนะสงคราม พระอารามหลวง จงั หวัดกาญจนบุรี

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ คำนำ (ในกำรพมิ พค์ รง้ั ท่ี ๓) เอกสารประกอบการเรียนการสอน ภาษาสันสกฤตเบื้องต้น เล่มนี้ ได้พิมพ์เป็นครั้งที่ ๓ ผู้เรียบเรียงได้ปรับปรุงแก้ไขคาศัพท์ต่าง ๆ ที่มีข้อผิดพลาดอยู่บ้าง ให้ถูกต้องมากขึ้น และเพิ่มเนื้อหา ของ สังขยาและอัพยยศพั ท์ และยังไดเ้ พิ่มวตั ถุประสงค์ ขอบข่ายเนอ้ื หาและแบบฝึกหดั ในแต่ละบทให้ มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อใช้เป็นคู่มือในการศึกษาวิชาภาษาสันสกฤตของนิสิตภาควิชา พระพุทธศาสนา โครงการขยายห้องเรียน คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั ห้องเรียนวัดไชยชุมพลชนะสงคราม จังหวัดกาญจนบรุ ี ข้าพเจ้าขออนุโมทนาขอบคุณบุรพาจารย์ผู้สอนภาษาสันสกฤตใหแ้ ก่ข้าพเจ้า และท่านเจ้าของ ตาราที่ข้าพเจ้าได้นามาเพื่อใช้ประกอบการเรียบเรียงครั้งนี้ และขออนุโมทนาขอบใจ นางสาวพิมพา ไทรสังขโกมล และนางสาวสาริณี ไทรสังขสิริพงศ์ เจ้าหน้าที่ มจร. ที่ช่วยจัดหน้ากระดาษให้เป็นท่ี เรยี บรอ้ ย หากเอกสารการเรียนการสอนภาษาสันสกฤตเบอ้ื งตน้ เลม่ นี้ มขี อ้ ผิดพลาด ขอครูอาจารย์และ ท่านผู้รู้ได้เมตตาชี้แนะ จักเป็นพระคุณอย่างยิ่ง และขอบุญกุศล ความดี ที่เกิดจากเอกสารเล่มน้ี จงสาเรจ็ ประโยชน์แก่ทกุ ทา่ น พระครกู ิตติชัยกาญจน์ เรียบเรียง ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ห น้า | ก

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ คำนำ (ในกำรพมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒) เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาภาษาสนั สกฤตท่ไี ดจ้ ดั ทาข้นึ ในครง้ั แรกนนั้ จดั ทา ดว้ ยความเร่งรีบประการหน่ึง และอกี ประการหน่ึงคือ ในเวลานนั้ ยงั ไม่สามารถหาแบบอกั ษรภาษา สนั สกฤตท่จี ะมาใชพ้ มิ พใ์ นคอมพวิ เตอรไ์ ด้ จงึ ใชก้ ารเขยี นดว้ ยลายมอื ทาใหม้ คี วามผดิ พลาดอยู่ บา้ งและไม่สวยงาม หลงั จากใชเ้ ป็นตาราประกอบการเรียนการสอนได้ ๓ ภาคการศึกษา พระครูวรวงศ์ พระ นิสติ ชนั้ ปีท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ซ่งึ มคี วามชานาญทางดา้ นคอมพวิ เตอร์ รบั อาสาพมิ พต์ น้ ฉบบั ใหใ้ หม่ อกี ทง้ั ยงั ช่วยคน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ ประวตั คิ วามเป็นมาของภาษาสนั สกฤตและเน้ือหาบางส่วน ทา ใหเ้อกสารประกอบการเรียนการสอนภาษาสนั สกฤต ในการพมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒ น้ี มคี วามสมบูรณ์และ สวยงามยง่ิ ข้นึ ซง่ึ จะเป็นประโยชนแ์ ก่พระนิสติ ในรุ่นต่อๆ ไปไดใ้ ชเ้ป็นเอกสารประกอบการศึกษาได้ งา่ ยข้นึ จงึ ขออนุโมทนาขอบคุณพระครูวรวงศ์ มา ณ โอกาสน้ี พระครูกติ ตชิ ยั กาญจน์ ๔ ส.ค. ๒๕๕๔ ห น้า | ข

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ คำนำ (ในกำรพมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑) เอกสารการเรียนการสอนภาษาสนั สกฤตน้ี เกิดข้นึ เพราะขา้ พเจา้ ไดร้ บั มอบหมายใหส้ อนใน วชิ าน้ี อนั เป็นวชิ าเลอื ก ท่ยี งั ไม่มีผูส้ อนท่จี บดา้ นน้ีโดยตรง แมแ้ ต่ขา้ พเจา้ เองก็ไมไดจ้ บทางดา้ น ภาษาสนั สกฤตโดยตรง แต่อาศยั ทเ่ี คยไดเ้ รียนมาตง้ั แต่บาลอี บรม จนถงึ อดุ มศึกษา ก็ยงั พอทจ่ี ะมี ความรูห้ ลงเหลอื อยู่บา้ ง ประกอบกบั ไดข้ อคาแนะนาจากท่านผูร้ ู้ และคน้ ควา้ เพ่ิมเติมจากตารา สนั สกฤตต่างๆ ทาใหก้ ารเรียนการสอนพอเป็นไปได้ ซ่งึ ในช่วงแรกใหพ้ ระนิสติ จดตามท่เี ขยี นบน กระดาน ระหว่างปิดภาคเรียนท่ี ๑ ประมาณ ๑๕วนั ไดใ้ ชเ้ วลาในช่วงน้ี เรียบเรียงเอกสาร ประกอบการเรยี นการสอนภาษาสนั สกฤตฉบบั น้ีข้นึ มา เพอ่ื เป็นแบบเรยี นใหพ้ ระนิสติ ใชเ้ป็นคู่มอื ใน การศกึ ษา เอกสารประกอบการเรยี นการสอนฉบบั น้ี จะเกิดข้นึ มไิ ดเ้ ลย หากไม่ไดร้ บั ความเมตตาจาก หลวงพด่ี ารง (พระมหาดารง สริ คิ ุตฺโต) หวั หนา้ ฝ่ายบรหิ ารงานบุคคล (เพอ่ื นร่วมรุ่น) ไดม้ อบสมดุ บนั ทกึ วชิ าสนั สกฤตท่ที ่านยงั สามารถเก็บรกั ษาไวอ้ ย่างดี นบั ว่าเป็นอุปการคุณต่อขา้ พเจา้ เป็นอย่าง ยง่ิ จงึ ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี เอกสารประกอบการเรียนการสอนภาษาสนั สกฤตฉบบั น้ี ไดเ้ รียบเรียงในช่วงเวลาท่เี ร่งรดั ยงั คงมขี อ้ บกพร่องและผดิ พลาดอยู่บา้ ง ขอครูอาจารยแ์ ละท่านผูร้ ูท้ งั้ หลายไดโ้ ปรดเมตตาแนะนา จกั ขอบพระคุณอย่างสูง ขอขอบพระคณุ แดบ่ รุ พาจารยผ์ ูส้ อนภาษาสนั สกฤตใหแ้ ก่ขา้ พเจา้ และเจา้ ของตาราทข่ี า้ พเจา้ ไดน้ ามาเพอ่ื ใชป้ ระกอบการเรยี บเรยี งในครงั้ น้ี ไว้ ณ โอกาสน้ี พระครูกิตตชิ ยั กาญจน์ ๑๕ ต.ค. ๒๕๕๑ ห น้า | ค

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ หนา้ สำรบญั กขค งจฉ คานา สารบญั ๒ บทท่ี ๑ ความรู้เบอื้ งตน้ ๓ ๖ ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั ภาษาสนั สกฤต ๘ ประโยชนข์ องภาษาบาลแี ละสนั สกฤตทม่ี ตี อ่ ภาษาไทย ประเภทของระบบการเขยี น ๑๐ แบบฝึกหดั ๑๒ บทท่ี ๒ อักษรเทวนาครี ๑๕ อกั ษรเทวนาครี ๒๐ วธิ กี ารเขยี นอกั ษรเทวนาครี ๒๐ ตารางแสดงพยญั ชนะ ๒๑ ตารางเปรยี บเทยี บสระ ฯ ๒๒ ตารางเปรยี บเทยี บพยญั ชนะ ๒๔ พยญั ชนะตวั สะกด กฎเกณฑก์ ารเขยี นพยญั ชนะ र् แบบฝึกหดั ห น้า | ง

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ สำรบญั ๒๖ ๒๘ บทที่ ๓ ฐานทเ่ี กดิ ของอกั ษร ๒๙ ฐานทเี่ กดิ ของอกั ษร ๓๔ เสยี งของอกั ษร ๓๖ พยญั ชนะสงั ยกุ ต์ สงั ขยา ๓๘ แบบฝกึ หดั ๓๙ ๔๐ – ๕๔ บทที่ ๔ นารมศพั ท์ นามศพั ท์ ๕๕ วภิ กั ติ ๕๗ แจกนาม अ การนั ตป์ ลุ ลงิ ค์ – उ การันต์ นปสฺุ กลงิ ค์ ๕๗ แบบฝกึ หดั ๕๗ บทที่ ๕ สรรพนาม ๕๘ สรรพนาม ๕๘ บรุ ษุ สรรพนาม ๖๐ สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๑ ๖๓ สรรพนามบุรษุ ที่ ๒ ๗๑ สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๓ นยิ มสรรพนาม อนยิ มสรรพนาม แบบฝกึ หดั ห น้า | จ

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ สำรบญั บทที่ ๖ อัพยยศพั ท์ ๗๓ อพั ยยศพั ท์ ๗๓ อปุ สรรค ๗๔ นบิ าต ๗๗ แบบฝกึ หดั ๗๙ บทท่ี ๗ กรยิ า ๘๐ กริยาอาขยาต ๘๐ วภิ กั ตกิ รยิ า ๘๑ วภิ กั ตหิ มวด วรตฺ มานะ ๘๒ วภิ ก้ ตหิ มวด อนทยฺ ตนภตู ะ ๘๓ ตวั อยา่ งธาตคุ ณะท่ี ๑ ๘๗ แบบฝึกหดั บรรณานกุ รม ห น้า | ฉ

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบอ้ื งต้น บทที่ ๑ ความรู้เบอ้ื งตน้ เก่ยี วกบั ภาษาสนั สกฤต วัตถุประสงค์ ๑. อธิบายความเป็นมาของภาษาสันสกฤตได้ ๒. อธบิ ายประโยชนข์ องภาษาสนั สกฤตได้ ๓. อธบิ ายสัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ในภาษาสนั สกฤตได้ ขอบขา่ ยเนือ้ หา ความเปน็ มาของภาษาสันสกฤต ประโยชน์ของภาษาสนั สกฤต สัญลกั ษณ์ต่าง ๆ ในภาษาสนั สกฤต กิจกรรมการเรยี นการสอน บรรยาย อภปิ ราย, ซักถาม ทำแบบฝกึ หัดท้ายบท ส่ือการเรียนการสอน เอกสารประกอบการสอน Power Piont ห น้ า | ๑

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ ससं ्कृ त ภาษาสันสกฤต (Sanskrit Langue) ภาษาสันสกฤต เป็นภาษาท่ีมีววิ ัฒนาการมาจากภาษาในคัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน ถือเป็น ภาษาที่ศักดิ์สิทธ์ิของคนชั้นสูง แต่เดิมไม่ได้มีการวางหลักเกณฑ์เคร่งครัด ต่อมาเมื่อระยะเวลาล่วงไป ประกอบกับภาษาในคัมภีร์พระเวทน้ีมีภาษาพ้ืนเมืองปะปนอยู่มาก เป็นเหตุให้หลักเกณฑ์ต่างๆ ของ ภาษานี้คลาดเคลื่อนไป กระทั่งได้มีนักปราชญ์ของอินเดียคนหนึ่งชื่อ “ปาณินิ (पाणिणि : Pāṇini)” ได้ ศกึ ษาคัมภีร์พระเวทท้ังหลาย แล้วนำมาแจกแจงวางหลักเกณฑใ์ ห้เป็นระเบียบและรัดกุม แตง่ เป็นตำรา ไวยากรณ์ขึ้นเรียกชื่อว่า “อัษฏาธยายี (अष्टाध्यायी : Aṣṭādhyāyī)” และต่อมาได้มีผู้เรียกภาษาท่ี ปาณินิได้จัดระเบยี บของภาษาไว้เป็นอย่างดีและสมบูรณ์ท่ีสุดน้ีวา่ “สันสกฤต” แต่กฎเกณฑ์ท่ีปาณินิได้ วางไว้นี้กลับเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ภาษาสันสกฤตไม่มีวิวัฒนาการเหมือนภาษาอื่นๆ เพราะนอกจาก ภาษาสันสกฤตจะถือว่าเปน็ ภาษาท่ศี ักด์ิสิทธิ์ ใช้ในหมู่ของนักปราชญ์ โดยเฉพาะกษัตริยแ์ ละพราหมณ์ที่ เป็นบุรุษเพศ กฎเกณฑ์และรายละเอียดปลีกย่อยยังทำให้ไม่เอื้อต่อการใช้ จึงทำให้ภาษาสันสกฤตเป็น ภาษาตายในท่สี ดุ ภาษาสันสกฤต (ससं ्कृ ता वाक् : Saṁskṛtā Vāk : สํสฺกฤตา วากฺ) เป็นภาษาที่เก่าแก่ท่ีสุด ภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน คำว่า สํสฺกฤต (ससं ्कृ त: Saṁskṛta) แปลว่า “กลั่นกรองแล้ว” ส่วนคำว่า สํสฺกฤตา วากฺ แปลว่า “ภาษาที่กลั่นกรองแล้ว” ซ่ึงเป็นภาษาของชนช้ันพราหมณ์ ตรงข้าม กับภาษาพูดของชาวบ้านท่ัวไปที่เรียกว่าปรากฤต ภาษาสันสกฤตมีพัฒนาการในหลายยุคสมัย โดยมี หลกั ฐานเก่าแก่ที่สดุ คือภาษาทป่ี รากฏในคัมภรี ฤ์ คเวท (เมือ่ ราว ๑๒๐๐ ปกี ่อนครสิ ตกาล) ภาษาสันสกฤตไม่มีอักษรสำหรับเขียนชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ และก็คล้ายกับภาษาอื่น หลายภาษา น่ันคือสามารถเขียนได้ด้วยอักษรหลายชนิด อักษรเก่าแก่ที่ใช้เขียนภาษาสันสกฤตมีหลาย ชนิดด้วยกัน เช่น อักษรขโรษฐี (Kharoṣṭhī) หรืออักษรคานธารี (Gāndhārī) นอกจากน้ียังมีอักษร พราหมี (อักษรทั้งสองแบบพบได้ท่ีจารึกบนเสาอโศก) รวมถึง อักษรสิทธัม ซ่ึงใช้บันทึกคัมภีร์พุทธ ศาสนารวมถึงบทสวดภาษาสันสกฤตในประเทศจีนและญ่ีปุ่นโดยเฉพาะในนิกายมนตรยาน อย่างไรก็ ตาม โดยทั่วไปนิยมเขียนภาษาสันสกฤตด้วยอักษรเทวนาครี (Devanāgarī) ส่วนอักษรอ่ืนๆ เป็นความ นิยมในแต่ละท้องถิ่น ทั้งน้ีเน่ืองจากอักษรท่ีใช้ในอินเดีย มักจะเป็นตระกูลเดียวกัน จึงสามารถดัดแปลง และถ่ายทอดระหวา่ งชุดอกั ษรได้ง่าย แม้กระทั่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยังมีจารึกภาษาสันสกฤตที่ใช้ อักษรปัลลวะ อักษรขอม นอกจากน้ีชาวยุโรปยังใช้อักษรโรมันเขียนภาษาสันสกฤต โดยเพ่ิมเติมจุดและเคร่ืองหมายเล็กน้อย เท่านน้ั แม้ว่าภาษาสันสกฤตนั้น สามารถใช้อักษรต่างๆ ไดแ้ ทบทุกแบบของอนิ เดียก็ตาม แต่มักจะนยิ ม ใช้อักษรเทวนาครีเพียงอย่างเดียว ดังนั้นเอกสารประกอบการสอนภาษาสันสกฤตเบื้องต้นน้ี จึงศึกษา ห น้า | ๒

เอกสารประกอบการสอน วิชาภาษาสนั สกฤตเบอ้ื งต้น ภาษาสันสกฤตด้วยอักษรเทวนาครีเป็นหลัก พร้อมท้ังมีการถ่ายอักษรโรมันควบคู่ไปด้วยเพ่ือผู้ศึกษาจะ ไดท้ ำความเขา้ ใจไดโ้ ดยงา่ ย ประโยชน์ของภาษาบาลแี ละสนั สกฤต ท่ีมตี อ่ ภาษาไทย สันสกฤต เป็นภาษาในตระกลู เดียวกันคอื ตระกลู อนิ โด-ยโุ รป (Indo-European) ภาษาในกลุ่มน้ี เป็นภาษาที่มวี ิภตั ตปิ จั จยั หมายความวา่ คำทุกคำ (ยกเวน้ จำพวก อัพยยศัพท)์ ไมว่ า่ จะเปน็ คำนามหรือคำกรยิ า ล้วนแลว้ แต่มีรากศัพท์ หรอื ผา่ นการ ประกอบรูปศัพทท์ ้ังสิ้น ไม่ใช่จะสำเรจ็ เปน็ คำเปน็ ศัพทเ์ ลยทีเดียว และเม่ือจะนำไปใช้ จะตอ้ งมกี ารแจกรปู เสียก่อน เพื่อทำหนา้ ท่ตี า่ งๆ ในประโยคเชน่ เป็นประธาน เป็น กรรม เป็นตน้ ภาษาไทย แม้จะเปน็ ภาษาคนละตระกลู กบั ภาษาบาลีและสันสกฤต แตก่ ็รบั เอาคำ บาลแี ละสันสกฤตมาใชใ้ นภาษาไทยไม่น้อย อาจกล่าวไดว้ า่ มากกว่าภาษาอน่ื ๆ ท่ี นำมาใชใ้ นภาษาไทยในปัจจบุ ัน เชน่ ภาษาอังกฤษ แตเ่ มื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้ว ก็ มกี ารเปลย่ี นรูป เปล่ียนเสยี ง เปล่ยี นความหมาย ฯลฯ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ การกลายรปู กลายเสียง กลายความหมาย ฯลฯ นนั่ เอง ปัจจบุ ัน ภาษาบาลีและสันสกฤตมีอิทธิพลต่อภาษาไทยอย่างย่ิง โดยเฉพาะ ภาษาไทยรบั เอาคำภาษาทัง้ สองน้ีมาใช้เปน็ จำนวนมาก ดังกล่าวแลว้ ข้างตน้ ซงึ่ แนน่ อนวา่ การจะศึกษาภาษาไทยให้ได้ดีนน้ั จำเปน็ จะต้องศกึ ษาภาษาทัง้ สองน้ี อย่าง หลกี เลยี่ งไม่ได้ การเขา้ ใจภาษาทั้งสองอย่างดี จนส้ินข้อเคลือบแคลงสงสัย ย่อมเป็น ประโยชนต์ อ่ การศึกษาภาษาไทยอยา่ งมากมายมหาศาล ดงั นัน้ หากจะประมวลโดยสรุปถงึ ประโยชนข์ องภาษาบาลแี ละสันสกฤตแลว้ อาจจะสรปุ เปน็ ข้อๆ ได้ดังนี้ ๑ ) ทำใหเ้ ข้าใจความหมายของคำต่างๆ ได้เปน็ อยา่ งดี ๑.๑ คำราชาศัพท์ ในภาษาไทยเรามคี ำราชาศัพท์ทเี่ ปน็ คำบาลแี ละสนั สกฤต จำนวนไม่นอ้ ย เชน่ พระเนตร หมายถงึ ดวงตา (บาลี เนตฺต, สนั สกฤต เนตฺร) พระกรรณ หมายถึง หู (บาลี กณฺณ, สนั สกฤต กรฺณ) พระทนต์ หมายถึง ฟัน (บาลี ทนฺต, สนั สกฤต ทนตฺ ) พระบาท หมายถึง เทา้ (บาลี ปาท, สันสกฤต ปาท) พระพาหา หมายถงึ แขน (บาลี พาหา, สันสกฤต พาหา) พระเศยี ร หมายถึง หัว (บาลี สิร, สันสกฤต ศริ ส)ฺ ๑.๒ ชอ่ื จงั หวัด อำเภอ ฯลฯ ในประเทศไทย เชน่ สรุ นิ ทร์ แปลว่า จอมผกู้ ลา้ , จอมเทวดา แยกเป็น สุร (กลา้ , เทวดา) + อนิ ทร (จอม, ผู้ เปน็ ใหญ)่ แตค่ ำวา่ สุรนิ ทร์ นี้ บางคนแปลว่า จอมสรุ า โดยแยกเปน็ สุรา (สุรา, เหลา้ ) ห น้ า | ๓

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ + อินทร์ (จอม, ผู้เปน็ ใหญ่) นัยหลังนี้แปลไม่เหมาะและทำใหภ้ าพพจนข์ องจังหวัด สรุ นิ ทร์เสยี ไป อบุ ลราชธานี แปลว่า เมืองดอกบวั หลวง แยกเปน็ อุบล (ดอกบวั ) + ราช (พระราชา, หลวง) + ธานี (เมอื ง) บรุ ีรมั ย์ แปลว่า เมอื งท่นี ่ายินดี แยกเปน็ บรุ ี (เมือง) + รัมย์ (นา่ ยินดี, อนั เขาพึงยนิ ดี) ปทมุ ธานี แปลว่า เมอื งแหง่ ดอกบัว แยกเปน็ ปทมุ (ดอกบัว) + ธานี (เมือง) สมุทรปราการ แปลวา่ กำแพงแหง่ ทะเล แยกเปน็ สมทุ ร (ทะเล) + ปราการ (กำแพง) สรุ าษฎรธ์ านี แปลวา่ เมอื งคนดี แยกเปน็ สุ (ด)ี + ราษฎร์ (ราษฎร, แคว้น) + ธานี (เมือง) ชยั นาท แปลวา่ เสยี งบรรลือแห่งความชนะ แยกเป็น ชัย (ความชนะ) + นาท (เสียง บรรลอื ) วานรนวิ าส แปลว่า ท่ีอย่ขู องลงิ แยกเป็น วานร (ลิง) + นิวาส (ท่ีอยู่) เศลภูมิ แปลวา่ แผ่นดนิ ทีม่ ภี ูเขา แยกเปน็ เศล (ภเู ขา) + ภูมิ (แผ่นดิน) ๑.๓ ชอื่ - นามสกุลของคน เช่น ทักษิณ แปลวา่ ทศิ ใต้, ดา้ นขวา (บาลี ทกขฺ ณิ , สันสกฤต ทกฺษิณ) กุลสตรี แปลวา่ สตรีของตระกูล แยกเป็น กุล (ตระกูล, สกุล) + สตรี (สตรี, ผ้หู ญงิ ) กญั ญารตั น์ แปลวา่ นางแกว้ , แก้วคอื หญิงสาว แยกเปน็ กัญญา (หญิงสาว) + รตั น์ (แก้ว, รัตนะ) ตุงคมณี แปลว่า มณีชั้นสูง แยกเป็น ตงุ ค (สูง, สงู ส่ง) + มณี (มณี) เศวตศลิ า แปลว่า หนิ สีขาว แยกเป็น เศวต (ขาว) + ศิลา (หิน) ๑.๔ ช่ือมหาวิทยาลัย สถานท่ี วดั เช่น ศลิ ปากร แปลวา่ บ่อเกดิ แห่งศิลปะ แยกเปน็ ศิลป (ศิลปะ) + อากร เกษตรศาสตร์ แปลวา่ ศาสตรท์ ีเ่ กีย่ วกับการเกษตร แยกเป็น เกษตร (เกษตร, ที่นา) + ศาสตร์ (ศาสตร์, ความร้)ู เทพหสั ดิน แปลวา่ ชา้ งของเทพ (หรอื เทพแหง่ ช้าง) แยกเป็น เทพ (เทพ) + หัสดิน (ช้าง) ราช มังคลากฬี าสถาน แปลว่า ทส่ี ำหรบั เล่นอันเปน็ มงคลของพระราชา แยกเปน็ ราช (พระราชา) + มงั คลา (เป็นมงคล) + กีฬา (กีฬา, การเลน่ ) + สถาน (สถาน, ท่)ี เศวตฉตั ร (ชื่อวดั ) แปลวา่ ฉัตรสีขาว แยกเป็น เศวต (ขาว) + ฉัตร (ฉัตร, ร่ม) ๑.๕ ชอื่ เดือนทงั้ ๑๒ เช่น มกราคม แปลวา่ (เดือน) เป็นท่มี าของกลุ่มดาวท่มี รี ูปรา่ งคลา้ ยมังกร แยกเปน็ มกร (มังกร) + อาคม (เปน็ ที่มา) ห น้า | ๔

เอกสารประกอบการสอน วิชาภาษาสนั สกฤตเบ้อื งต้น กมุ ภาพนั ธ์ แปลวา่ (เดือน) ที่เกยี่ วขอ้ งกบั กลมุ่ ดาวทมี่ ีรปู ร่างคลา้ ยหม้อ แยกเปน็ กุมภ (หม้อ) + อาพันธ์ (เกยี่ วขอ้ ง) มีนาคม แปลว่า (เดือน) เปน็ ท่ีมาของกลุ่มดาวทม่ี รี ูปร่างคล้ายปลา แยกเป็น มีน (ปลา) + อาคม (เปน็ ทม่ี า) กรกฎาคม แปลว่า (เดอื น) เป็นทีม่ าของกลุ่มดาวท่ีมีรูปร่างคล้ายปู แยกเปน็ กรกฎ (ป)ู + อาคม (เปน็ ทมี่ า) พฤศจิกายน แปลวา่ (เดือน) เปน็ ที่มาของกลุ่มดาวที่มีรปู ร่างคล้ายแมงป่อง แยกเป็น พฤศจิก (แมงปอ่ ง) + อยน (เปน็ ทมี่ า) ๑.๖ คำท่ีใช้ในบทร้อยกรอง (โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน) เช่น พฤษภกาสร อกี กญุ ชรอนั ปลดปลง โททนตเ์ สน่งคง สำคัญหมายในกายมี นรชาตทิ ี่วางวาย มลายส้ินท้ังอินทรยี ์ สถิตทวั่ แตช่ ัว่ ดี ประดบั ไว้ในโลกา ฯ ๑.๗ คำท่ัวไป เช่น บรรพต แปลว่า ภูเขา (บาลี ปพฺพต, สันสกฤต ปรฺวต) ราตรี แปลว่า กลางคนื (บาลี รตฺติ, สนั สกฤต ราตรฺ ิ,ราตฺรี) ไปรณษี ย์ แปลวา่ ของที่ควรส่งไป (บาลี เปสนีย, สนั สกฤต ไปฺรษณีย) เกษียร แปลว่า นำ้ นม (บาลี ขีร, สนั สกฤต กฺษรี ) เกษียณ แปลว่า สนิ้ ไป (บาลี ขณี , สันสกฤต กฺษีณ) ๒ ) ใช้หรือประกอบคำภาษาบาลแี ละสนั สกฤตได้ถูกตอ้ ง เชน่ โกวทิ แปลวา่ ผ้รู ู้, ผู้ฉลาด (บาลี โกวทิ , สนั สกฤต โกวทิ ) ผู้ท่ีไมร่ ู้อาจใช้ผดิ เปน็ โกวิทย์ เพราะไปเทยี บผดิ กบั คำว่า วิทย์, วทิ ยา ซ่งึ ในภาษาบาลีและสันสกฤตไม่มีคำว่า โกวชิ ชฺ หรือ โกวิทยฺ ) ญาติ แปลวา่ คนท่รี ูจ้ กั กัน, ญาตพิ ่นี ้อง (บาลี ญาติ, สนั สกฤต ชฺญาต)ิ อนญุ าต แปลว่า ยินยอม, ร้ตู ามแลว้ (บาลี อนุญญฺ าต, สันสกฤต อนชุ ฺญาต) ผูท้ ่ีไมร่ ู้ อาจใช้ผดิ เป็น อนุญาติ เพราะไปเทียบผิดกับคำว่า ญาติ (ญาตพิ นี่ อ้ ง) ซ่งึ คำท้งั สองนี้ ลงปจั จัยต่างกนั (คือ ติ กับ ต ปจั จยั ) อานิสงส์ แปลวา่ ผลหรอื ประโยชน์ทีไ่ ด้ (บาลี อานสิ ํส, (สนั สกฤต อาจประกอบเปน็ อานศิ สํ )) ผู้ทไี่ มร่ ู้อาจใช้ผิดเป็น อานสิ งฆ์ เพราะไปเทียบผิดกบั คำว่า สงฆ์ (พระสงฆ์) เกษียรสมทุ ร แปลวา่ ทะเลนำ้ นม แยกเปน็ เกษียร (นำ้ นม) + สมุทร (ทะเล) (ดขู ้อ ๑.๗) เกษยี ณอายุ แปลวา่ สน้ิ หรอื หมดอายุ (ราชการ) แยกเป็น เกษียณ (สนิ้ ไป) + อายุ (ดู ข้อ ๑.๗) ห น้ า | ๕

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ เกษียนหนงั สือ แปลว่า เขียนหนงั สือ แยกเป็น เกษียน (เขียน) + หนังสือ (คำแผลงใน ภาษาไทย) ๓ ) ช่วยให้เรยี นภาษาไทยหรอื ไวยากรณไ์ ทยไดง้ ่าย โดยเฉพาะผ้ทู ี่เรยี นภาษาบาลี (และสนั สกฤต) มากอ่ นน้นั เมื่อไปศึกษาภาษาไทย จะช่วยให้เรียนรไู้ ด้ง่าย เช่น เมอ่ื ไป พบคำศัพท์และลักษณะไวยากรณ์ตา่ งๆ เชน่ นาม คุณศัพท์ สรรพนาม บุรษุ สรรพนาม วเิ ศษณสรรพนาม อุปสรรค นิบาต ปจั จยั สมาส ตทั ธติ สนธิ ประธาน กรยิ า เปน็ ต้น เหล่าน้ีก็คอื นาม (นามนาม) คุณนาม สัพพนาม ปรุ สิ สพั พนาม วเิ สสนสพั พนาม อปุ สัค ฯลฯ ในภาษาบาลีน่นั เอง ซ่งึ มคี วามหมายและลักษณะทางไวยากรณ์เปน็ อย่างไร นัน้ นบั วา่ ไมต่ อ้ งพดู ถงึ เลยทีเดียวเพราะเข้าใจดีอยแู่ ล้วนนั่ เอง ๔ ) ชว่ ยใหส้ ามารถใช้คำภาษาบาลแี ละสนั สกฤตไดอ้ ย่างไพเราะสละสลวยท้ังใน บทรอ้ ย กรองและร้อยแกว้ ข้อนเ้ี ราสงั เกตเหน็ ว่าในการแต่งรอ้ ยกรองและเขยี นร้อย แกว้ กต็ าม ถ้าเราใช้คำภาษาบาลีและสนั กฤตแล้ว จะมีความไพเราะสละสลวยมากกว่า ทีจ่ ะใช้คำในภาษาไทย เชน่ บทรอ้ ยกรองขา้ ง ตน้ (๑.๖) ถ้าเราแตง่ ว่า อันววั ควายตายไป เหลือเขาหนงั ชา้ งตาย ยัง เหลอื งาเปน็ ศักดศิ์ รี อย่างนีก้ ไ็ ด้ แต่ดูเหมอื นไม่คอ่ ยไพเราะสละสลวยในดา้ น คำศัพท์ (ขาดศัพทาลงั การ) แมใ้ นบทร้อยแก้วทั่วๆไปก็เชน่ เดยี วกนั ถา้ หากขาดคำ ภาษาบาลีและสนั สกฤตแล้ว ก็ดเู หมือนวา่ จะทำใหภ้ าษาไทยขาดรสชาติ ขาดความ หนกั แน่น ไม่สละสลวย และไมก่ ระชบั รดั กมุ ประเภทของระบบการเขยี น : อักษรสระประกอบ (Abugida) เป็นระบบท่ีพยัญชนะทุกตัวมีเสียงสระพ่วงมาด้วยอยู่แล้วส่วน ใหญ่จะออกเสียงเป็นเสียง ◌ะ ออกเสียงว่า อะ แม้ไม่มีรูปสระ ◌ะ พ่วงมาก็ตาม หากต้องการเขียน พยางคท์ ีม่ เี สียงสระอืน่ ๆ กท็ ำได้โดยการเติมเคร่อื งหมาย(รปู สระ)ต่างๆ เพิ่มไป อักษรพยางค์ (Alphasyllabary) เนื่องจากระบบการเขียนอักษรเทวนาครีน้ันมีลักษณะของ อักษรทผ่ี สมสระ-พยญั ชนะรว่ มกนั ทิศทางของการเขยี น : เขยี นซ้ายไปทางขวาในเสน้ แนวนอน มเี ส้นเล็กๆ อย่เู หนือตวั อกั ษร หากเขียนตอ่ กัน จะเป็นเส้น ยาวคล้ายเส้นบรรทัด ยกเว้นอักษรบางตัว ไม่มีเส้นอยู่เหนือตัวอักษร ดังนั้นในเวลาเขียน ไม่ควรขีดเส้น ด้านบนก่อน เพราะหากตอ้ งเขยี นตวั อักษรที่ไม่มีเสน้ อยู่ด้วยจะทำให้ความหมายผดิ ไป ลักษณะตวั อักษร : ตวั อกั ษรพยัญชนะ มีท้ังแบบเตม็ รูป ลดรปู และผสมพยัญชนะเข้าด้วยกัน ซง่ึ จะเปลยี่ นแปลงไป ตามกฎของการเขียน หรอื ตามเครอื่ งหมายกำกับ ตัวอักษรสระ มีท้ังแบบเต็มรูป ลดรูป และเขียนเป็นตัวอักษรอิสระท่ีไม่ต้องประกอบด้วย พยัญชนะกไ็ ด้ โดยสระจะมีกฎของการเขียนทแี่ ตกตา่ งกันไปในแตล่ ะตัว ห น้า | ๖

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบือ้ งต้น สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมาย : ในระบบการเขียนอักษรเทวนาครี จะมีการเขียนเคร่ืองหมายประกอบด้วย เพ่ือแสดงว่า พยัญชนะใดเป็นตัวสะกด หรือไม่มีเสียงสระกำกับ โดยมีกฎของการเขียนด้วยเช่นกัน + อ่านว่า “บวก, เพม่ิ เติม, เช่อม, ตอ่ , เตมิ , กับ” - อ่านว่า “หรือ, ถึง” ; ไม่อ่าน : ใช้ระหว่างคำศัพท์กับคำแปล, ใช้บอกหรือแสดงความ ตอ่ เนอื่ งของขอ้ ความหรือเรือ่ ง, ใช้เมอ่ื ขน้ึ ข้อความใหม่ (แทนเลขข้อ) : อ่านวา่ “คอื ” = อา่ นวา่ “เทา่ กับ/เป็น” -> อ่านว่า “เปน็ ” > อ่านวา่ “เป็น/กลายเป็น” < อา่ นวา่ “จาก/มาจาก ः เรยี กวา่ วิสรฺค (णवसर्)ग เป็นเคร่ืองหมายแสดงการพ่นลมหายใจออกมาแรง ๆ เช่นคำว่า कः ( อา่ นวา่ กะฮะ ), णकः ( อ่านวา่ กฮิ ิ ), कः ( อา่ นวา่ กุฮุ ) เป็นตน้ เครอ่ื งหมาย ऽ เรยี กวา่ อรคฺรห (अवग्रह) ใช้แทนสระ अ เวลาต่อสนธิกับศัพท์หน้าที่ลงท้าย ด้วยสระ ए,,ओ และศัพท์ท่ีลงท้ายด้วย अर ्, अस ,् अः ซึ่งทำสนธิกับศัพท์หลังที่ข้ึนต้น ด้วยสละ अ เช่น ते + अणप = तऽे णप , वायो + अणप = वायोऽणप , जिः+ अजः = जिोऽजः เปน็ ตน้ เครอ่ื งหมาย ः เรยี กวา่ วิราม ( णवराम )् วางไวใ้ ต้พยญั ชนะตวั ใด พยัญชนะตวั นั้นจะไม่ออก เสยี ง เท่ากับใชเ้ ป็นตัวสะกด เชน่ दवे म (เทวมฺ), कवीि ् (กวนี )ฺ เป็นตน้ เคร่ืองหมาย । เรียกว่า วิราม วางไว้หลังจบข้อความในประโยค และวางไว้ลังบาทท่ี ๒ ของ โศลกหรือคาถา เครื่องหมาย ॥ เรียกวา่ มหาวริ าม (महाणवराम) ् วางไว้หลงั ข้อความตอนหน่ึง ๆ กอ่ นยอ่ หน้า ขึน้ บรรทดั ใหม่ และวางไวห้ ลังบาทท่ี ๔ ของโศลกหรอื คาถา ลำดับของการเขียนตัวอักษร : การเรียงลำดับของการเขียนตัวอักษรนั้น จะสัมพันธ์กับระบบของสรีระสัทศาสตร์ (Articulatory Phonetics) คอื เรียงต่อกันไปตามการออกเสียงคำพดู นนั่ เอง ห น้ า | ๗

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ แบบฝกึ หดั ประจำบทที่ ๑ ๑. ภาษาสันสกฤต เปน็ ภาษาที่มีววิ ฒั นาการมาจากภาษาในคมั ภีร์.................................ของชาว ............................ ๒. สนั สกฤต แปลวา่ ......................................................... ๓. อักษรเกแ่ ก่ท่ีใชเ้ ขียนภาษาสนั สกฤต ท่พี บในจารึกบนเสาอโศกคือ..................................................... ๔. อักษรทีน่ ยิ มใช้เขยี นภาษาสนั สกฤตโดยท่วั ไปคือ............................................. ๕. ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาท่ีอยูในตระกลู ภาษา........................................................ ๖. คำต่อไปนี้ คำใดเป็นภาษาบาลี และภาษาสนั สกฤต ธมมฺ , บรรพต, พระเนตร, อานิสงส์, เกษยี ณ, วานร, วนิ ยั , ทกั ษิณ ๗. เครอื่ งหมาย ः เรียกว่า...................................... ๘. เครอ่ื งหมาย ऽ เรยี กว่า......................................... ๙. เครือ่ งหมาย ः เรยี กว่า................................................ ๑๐. เคร่องหมาย ॥ เรยี กว่า........................................................ ห น้า | ๘

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสันสกฤตเบ้ืองตน้ บทที่ ๒ अक्षर दवे िार्री อักษรเทวนาครี (Devanagari Alphabet) วัตถปุ ระสงค์ ๑. สามารถเขยี นสระและพยัญชนะได้ ๒. สามารถเทียบอักษรเทวนาครกี ับอักษรไทยและอักษรโรมนั ได้ ๓. สามารถเขียนอักษรคร่งึ ตวั (ลดรูป) และประสมคำได้ ๔. รู้จักการใช้อกั ษร र ् ได้ถูกต้อง ขอบขา่ ยเน้อื หา อักษรทีใ่ ชใ้ นภาษาสนั สกฤต เปรยี บเทียบอักษรเทวนาครกี ับอักษรไทยและโรมนั การใชอ้ ักษรลดรูป (ครง่ึ ตัว) การใชอ้ กั ษร र ् กิจกรรมการเรยี นการสอน บรรยาย อภิปราย, ซักถาม ทำแบบฝกึ หดั ทา้ ยบท สอื่ การเรยี นการสอน เอกสารประกอบการสอน Power Piont ห น้ า | ๙

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ अक्षर दवे िार्री อกั ษรเทวนาครี (Devanagarī Alphabet) อกั ษรเทวนาครี (दवे िार्री: Devanāgarī) พฒั นามาจากอกั ษรพราหมี ใช้เขยี นภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต ภาษามราฐี ภาษาบาลี ภาษาสนิ ธี ภาษาเนปาล และภาษาอื่นๆ ในประเทศอนิ เดีย स्र : Sra สระ (Vowels) สระในภาษาสันสกฤต เขียนด้วยอักษรเทวนาครี มีรูปแบบการเขียนหลายลักษณะ ข้ึนอยู่กับ การนำไปผสมคำ โดยแต่สระแตล่ ะตัวก็มีกฎวางไวช้ ดั เจน ลกั ษณะหลักๆ มดี ังต่อไปนี้ สระเต็มรปู สระเต็มรูปหรือเรียกอีกอย่างว่าสระลอย เป็นความพิเศษของสระแต่ละตัว ที่สามารถเขียนอยู่ ได้ตามลำพังโดยไม่ตอ้ งเขียนร่วมกับพยัญชนะ มเี สียงเป็นเสียง “อ” และ “ฤ ฦ” เชน่ อะ อา อิ อี ฤ ฤา มีตัวเขียนเฉพาะ สระลดรูป สระลดรูปน้ี เป็นสระท่ีถูกนำมาประสมกับพยัญชนะอื่น และรูปของตัวเขียนเปล่ียนไป ไม่ เหมือนกับสระเต็มรปู ออกเสยี งเป็นเสยี งของพยัญชนะท่ีสระน้ันอาศัยอยู่ ซึ่งสระลดรูปน้ัน มีตำแหน่งที่ เขียนหลายตำแหน่ง เช่น ิ เขียนด้านหน้า, ◌า ี เขียนด้านหลัง, เ◌ เขียนด้านบน และ ุ ู เขียนด้านล่าง นอกจากน้ยี ังมีแบบเขยี นสองตำแหน่ง เช่น ไ◌ โ◌ และ เ◌า ท่เี ขียนทง้ั บนและหลังพยัญชนะ ในภาษาสันสกฤตน้ัน มีสระอยู่ ๑๓ (๑๔) ตัว แบ่งเป็นสระเดี่ยวจำนวน ๙ (๑๐) ตัว และสระ ประสมจำนวน ๔ ตวั ดงั นี้ สระเด่ียว ๙ ( ๑๐)ตัว (สทุ ธสระ) Simple Vowels สระส้นั (Short Vowels) สระยาว (Long Vowels) अ อะ aA आ อา ā Ā Ī इ อิ i I ई อี ī Ū Ṝ उ อุ uU ऊ อู ū ऋ ฤ (ร)ิ ṛ Ṛ ॠ ฤา (รี) ṝ ऌ ฦ (ล)ิ ḷ Ḷ (ॡ) (ฦา (ล)ี ) (ḹ Ḹ) ห น้ า | ๑๐































เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ ฐานท่ีเกิดของอกั ษร (Places of Pronunciation) ฐานท่ีเกิดของอักษร คือตำแหน่งที่เสียงพยัญชนะและสระเกิดข้ึน ซ่ึงในภาษาสันสกฤตน้ี มีอยู่ ด้วยกัน ๙ ตำแหน่ง ดังน้ี ๑. กัณฐยะ เสยี งท่ีเกดิ แตค่ อ ได้แก่สระ अ आ พยัญชนะ ก วรรค क ख ग घ ङ् อวรรค ह् และวิสรฺค ः ๒. ตาลัพยะ เสียงทเี่ กดิ แต่เพดาน ไดแ้ ก่สระ इ ई พยญั ชนะ จ วรรค च छ् ज झ ञ อวรรค य श ๓. มูรธนั ยะ เสยี งทเี่ กิดแต่ปุ่มเหงอื ก ไดแ้ ก่สระ ऋ ॠ พยญั ชนะ ฏ วรรค ट् ठ् ड् ढ् ण อวรรค र ष ๔. ทนั ตยะ เสียงทเี่ กดิ แต่ฟัน ได้แกส่ ระ ऌ พยญั ชนะ ต วรรค त थ द् ध न อวรรค ि स ๕. โอษฐยะ เสยี งทเี่ กิดแต่รมิ ฝีปาก ไดแ้ ก่สระ उ ऊ พยัญชนะ ป วรรค प फ ब भ म ๖. กัณฐตาละวยะ เสยี งทีเ่ กิดแต่คอและเพดาน ได้แก่ ए ऐ ๗. กณั เฐาษฺฐฺยะ เสียงท่ีเกิดแต่คอและริมฝปี าก ไดแ้ ก่ ओ औ ๘. ทนั เตาษฺฐยฺ ะ เสียงทเ่ี กดิ แตฟ่ นั และรมิ ฝปี าก ได้แก่ व ๙. นาสิกยะ เสยี งท่ีเกดิ แตจ่ มกู ได้แก่ अ ห น้ า | ๒๖

เอกสารประกอบการสอน วิชาภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ इ ई พยญั ชนะ จ วรรค च छ ज झ ञ य श अं उऊ ऋ ॠ พยญั ชนะ ฏ วรรค ट ठ ड ढ ि र ष พยญั ชนะ ऌ พยญั ชนะ ต วรรค त थ द ध ि ल स ป วรรค पफब भम अआ พยญั ชนะ ก วรรค फ ख र् घ ङ ह , ैः ैःैःैःैःैःैःैःैःैःैः ห น้ า | ๒๗

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสนั สกฤตเบ้อื งตน้ เสยี งของอักษร (Pronunciation) อักษรนั้น แต่ละตัวย่อมมีลักษณะของการออกเสียงแตกต่างกันออกไป เพื่อทำให้คำมีความ แตกต่าง ซ่งึ ระบบเสียงของภาษาสนั สกฤตนน้ั สามารถจำแนกได้ดังนี้ ๑. เสยี งอโฆษะ (เสียงไมก่ ้อง) ได้แกพ่ ยญั ชนะ क ख च छ् ट् ठ् त थ प फ श ष स ๒. เสียงโฆษะ (เสียงกอ้ ง) ได้แก่ สระท้งั หมด अ आ इ ई उ ऊ ऋ ॠ ऌ ए ऐ ओ औ अ अ และ พยัญชนะ र् ् घ ् ङ् ज ् झ ्ञ ् ड ् ढ ् ि ् द ् ध ् ि ् ब ् भ ् म ् य ् र ् ल ् व ् ह ् ๓. เสยี งสิถลิ (เสียงเบา) ได้แก่ क् र् ् च ् ज ् ट ् ड ् त ् द ् प ् ब ् य ् र ् ल ् व ् ๔. เสียงธนติ (เสียงหนกั ) ได้แก่ ख ् घ ् छ ् झ ्ठ ् ढ ् थ ् ध ् फ् भ ् श ् ष ् स ् ह ् ๕. เสยี งอนนุ าสกิ (เสยี งขนึ้ จมกู ) ได้แก่ ङ् ञ ् ि ् ि ् म ् ตารางแยกเสียงพยญั ชนะ ก วรรค อโฆษะ สิถิล โฆษะ จ วรรค สถิ ลิ ธนิต ग ธนติ ธนติ อนนุ าสิก ฏ วรรค कख ज घ ङ् ต วรรค च छ् ड् झञ ป วรรค ट् ठ् द् ढ् ण อรรธสระ तथ ब धन อษู มะ पफ यरिव भम शषस ह् ห น้ า | ๒๘

เอกสารประกอบการสอน วชิ าภาษาสันสกฤตเบอ้ื งต้น พยัญชนะสงั ยกุ ต์ (พยัญชนะซ้อน) ในการประสมคำภาษาสันสกฤต พยญั ชนะท้ังหลายที่ไม่ประสมกับสระ เม่ือเขียนอยูต่ ิดกนั หรือ อยู่ซ้อนกัน จะสามารถเขียนเป็นอีกรูปแบบหน่ึง เป็นลักษณะอักษรรวม (ligature) เรียกว่า พยัญชนะสังยุกต์ พยัญชนะสังยุกต์น้ี บางตัวก็มีรูปคล้ายรูปเดิม บางตัวก็ต่างจากรูปเดิม โดยตัวหนึ่งมี หน้าท่ีเป็นตัวสะกด ตัวหนึ่งเป็นตัวตาม การเขียนพยัญชนะสังยุกต์ มีรายละเอียดของกฏเกณฑ์ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. พยัญชนะตัวท่ี ๑ ซ้อนหนา้ ตนเอง และซ้อนหนา้ พยญั ชนะตัวที่ ๒ ในวรรคของตน ๑.๑ พยัญชนะตวั ที่ ๑ ซ้อนหน้าตนเอง กกฺ क्क , क्क सक्को (sakko) สกฺโก เท้าสักกะ จจฺ च्छ्रच , च्च उच्छ्रचो (ucco) อุจโฺ จ สูง ฏฏฺ ट्ट ् अट्टो (aṭṭo) อฏโฺ ฏ คดี (attā) อตฺตา ตน ตตฺ त्त अत्ता (sappo)สปโฺ ป งู ปฺป प्प सप्पो (akkharaṁ) อกขฺ รํ อักษร (accharā) อจฉฺ รา นางอปั สร ๑.๒ พยญั ชนะตวั ที่ ๑ ซ้อนหนา้ พยญั ชนะตวั ท่ี ๒ กฺข क्ख अक्खर จฉฺ च्छ्रछ् अच्छ्रछरा ฏฐฺ ट्ठ ् अणट्ठ (aṭṭhi) อฏฺฐิ กระดกู ตถฺ त्थ हत्थो (hattho)หตโฺ ถ หัตถ์,มือ ปฺผ प्फ पुप्फ (pupphaṁ)ปุปฺผํ ดอกไม้ ๒. พยัญชนะตวั ที่ ๓ ซอ้ นหนา้ ตนเอง และซ้อนหน้าพยัญชนะตวั ท่ี ๔ ในวรรคของตน ๒.๑ พยัญชนะตวั ที่ ๓ ซ้อนหนา้ ตนเอง คคฺ ग्ग अिग्ग (aggi) อคฺคิ ไฟ ชฺช ज्ज, ज्ज मज्ज (majjaṁ) มชชฺ ํ นำ้ เมา ฑฺฑ ड्ड ् छु ड्डो (chuḍḍo)ฉฑุ โฺ ฑ อนั เขาท้ิงแล้ว ห น้ า | ๒๙




























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook