FErdoimtotrhiael BEdoiatrodr hscr Health science clinical research VOLUME 36 ISSUE 1 JANUARY - JUNE 2021 ISSN 27301737
From the Editor A Message from the Editor-in-Chief ǟǜ˘ǟLJ˭Ʊǖ˘ǍǨǜǙǦǏ˚ǦnjǬǎǖǜLJǨǖ˨ǜǔǦƮ ǨǖǦƮ˨ǨLJ˫njNJǦƴǔǦǟ˚˼ ƶǍ˘ǍNJ˛˭ 1 ƯǣƴǜǦǖǟǦǖǜ˫NJǕǦǝǦǟLjǖ˥ǟ˺ƯǓǦǑǩǙǥǜ˫Ƶ˘ǕNJǦƴƮǦǖ สวัสดีครับ เǩวǑลNJาǕผ˥่าȲHนeไaปltรhวSดcเรie็วnมceากCliเnรiาcaกl็เRดeินsทeaาrงcมhาHสSู่ฉCบRับȳทǎี่ ǖ1ǥƵข˳Ǧอǎงˮ Ǒปȡีพǝ.ȡ2ศ5.265364Ƶ˯ƴตƯǣอǨนƷน˫Ƽ้ีเปƷǜ็นnjชǫ่วǠง˝NJท˚Ǧี่เnjกǏิด˼˝ǣว˚ǦิกnjฤǜตǦขǖอǟงǦมǖNJวล˺ƮมNJ˚นǦnjุษǬยLJช˝ าติ จากการแพรร่ ะบาดǣข˚ǦอnjƴงǦโรnjคǜโ˫Ƶค˘Ǖวดิ ǩǙ1ǥ9ǍแNJลƱะǜชǦǔวี NJติ Ǧขƴอǜง˫ƷทǦกุ ƮคǦǖนNJต˛˭njอ้ ˚Ǧงǟปnjรǫบั ƵเǫปnjǜลǦย่ี ǖนǟไǦปǖสǨǙวู่ ˚ǔถิ njใี ห˞˭LJ˝ǜมǕท่ Ʊเ่ี ǖรยี˘Ǎก วา่ New normal เมอ่ื ไมน่ านมาน้ี ราชบณั ฑติ ยสภา ไดบ้ ัญญตั ศิ ัพท์ “Neǟ˳wǦǠNǖ˘ǍoƱrǜmǦǔaǖl”˼˝NJ˭˛Ǐเพǔǣมิ่ ǕเขǦ้าƮมƵาǥnjโด˳ǦǨยǟnjรǣศǫ.njมǜาǦลǖี ǟบǦุญǖƶศǍิร˘Ǎพิ njัน˭˞Ǩธǎ์ nj˩ คǟณ˛˫ƴNJะ˭˛Ʈก˳ǦรǙร˘ƴมǨƮก˫LJารƯบ˞nj˯ ัญǫnjญǎƵ˙ตั Ƶศิ ˺Ǎพั ˘njทnjน์ ˞˭Ƹิเ˛ท˯ƴǨศǎศnj˩ าǓส˘ǕตNJร˭˛Ǩǖ์รǦาǔชǣบƴณั LJ˝ฑǜǕติ LjยǦสภา ได้อธิบายค�ำ นี้เอาไวǨǎว้ Ǚา่ ˚ǦNǬǔe˚ǨwǠnj˨ NƸo˛˯ƴrǨmƮ˫LJaǏlǙแƮปǖลǥNJวา่ǍǎคǖวǥาƷมǦปƮกǖตNJ˛˘ใิǜหǪǙมƮ,่ ǩฐǙาǥนǖว˺njถิ ǩีชǖวีƴิตNJใ˭˛ǟห˺LJมǫnj่ หƷ˚มǜƴาย3ถ0ึงǎรˮูปƱแ˱ǣบǔบ˭ƮกǦǖารǖดǥǍำ�ǦเนLJินƯǣชƴีวǪิตǖอƱยCา่ oงvใiหdม-1่ท9่ีแǣตƴกƱต˥Ʈ่าǦงǖจาก อดีต อันเน่ืองจากมǣีบnjǦาǔงส˘Ǖิ่งǪǙมƮากȲWระHทOบ) ǎǖจǥนƮแǦบǝบǫǠแ˝ǪผƱนǜ˫LJแ-ล1ะ9แǨนǎnj˩วทɌƮาǦงปǖǖฏǥิบǍัตǦิทLJǫ่ีคǠนƼในɌ˚ NJส˛˘ǜังǪคǙมƮคƵุ้น˯ƴเƵค˳ǦยǨǎอ˩njยNJ่าง˛˭NJเ˺ƮปƱ็นnjปLjก˝ǣตƴิแǔลǦǖะ˼˝Ƶเค˘ƮยǬǜคǖาǟ˘ ดǪหƱมǪǖาnjยǦลNJ่ว˛˭NJง˳ǦหǫนǠ˝้าได้ ต้องเปลย่ี นแปลงไปǨƮส˫LJ่วู ǪิถǖีใƱหǎมǣภ่ LJาǣย˘ƮใǨตǟ้หǍลNJกั˭˛ǖมǥǍาตǦLJรฐǫnjาƵน˭njใหǨǎม˩njท่ ǎีไ่ ǖมǥค่ ǨNJนุ้ ǝเคǩǖยƮƯǣƴǪǙƮǩǙǥǩǑǖ˚ǖǥǍǦLJǬǎNJ˛˘ǜǪǙƮ ǎ˙ƵƵ˺Ǎnj˘ Ǭǜǖ˘ǟǪƱǪǖnjǦǟǦǕǑ˘njNj˺˥ǫǠǔ˚ รูปแบบวิถีชǩีวǑิตǖให˚ǖǥมǍ่นǦี้ LJปǬรǎะǩกǙอ˝ǜǫบnjดǣ้วǕย˚Ǧวƴิธnjีค˝ǣิดǕǰวǷิธǴีเรǎียǖนǥǨรNJู้ ǝวǩิธǙีสǥ่ือLJส˫njาǩรLJnjวิธNJีป˛˘ǜǪฏǙิบƮัตǔิแǏ˭ ล˝˼Ljะ˫LJกǨาƷร˞˱ǣจƮัดǜก˚ǦาDzร,11ก7า,ǶรǴใชǵ้ชƱีวnjิตแNJบ˞˘ƴǬบLJใ˝Ʊหǖม˚Ǧ่เƷก˭ǜิด˫LjขǏึ้น˼˝ƱหnjลǬǎังจǩาǙก˝ǜเกิด การเปลย่ี นแปลงอยƮา่ǜง˚ǦใหDZǰญǶ,ห่DZลǯวǶงƱแnjละรนุ แรงอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ท�ำ ใหม้ นษุ ยต์ อ้ งปรบั ตวั เพอ่ื รบั มอื กบั สถานการณป์ จั จบุ นั มากกวา่ จะธ�ำ รง รักษาวถิ ดี ัง้ เดมิ หรือǬหǜǖว˘ǟนǪหƱาǪǖถnjงึ อǦǟดǦีตǕǑnj˘ Nj˺˥ǫǠǔ˚ Ʊ˱ǣ ǣǥǬǖ “New NorǣmƴƱa˥Ʈl”ǦǖใǣนnjบǦรǔบิ ˘ǕทǪǙสƮถǖาǥนǍก˺ǜา˚ǦรณǬǜก์ǖา˘ǟรƷแnjพ˫LJรnjร่ ˞˭Ʊะ˱ǣบɌาǨƷด˱˞ǣขǬอǜงǖ˘ǟ“ǪโƱคǪวǖดิnj-Ǧ1Ɍ9Ʈ”˚ǣnjชǠว่ njง˝Ǧปnjล˭˞ǑายǍǬพǜǖ.ศ˘ǟ.Ǫ2Ʊ5Ǫ6ǖ2njǦถǔงึ ǦǩพǙ.˝ǜศ.625ǟ6ǦǕ3Ǒน˘nj้ันNj˺˥ NJอ˛˭ǨธƱบิ ǕาǨƮย˫LJได้วา่ เป็นสถานกาณ์ท่ีเกƮิดǦǖขǖ้ึนǥอǍยǦ่าLJงǫรnjวǔดnjเ˺ǞรǕ็ว˥แǟล˳ǦะǠรǖุน˘ǍแǬǜรǖง˘ǟจǪนƱแǪพǖnjรǦ่กǟรǦะǕจǑา˘njยNjไป˺˥ǫǠใǔน˚NJป˭˛Ʈร˳ǦะǙเ˘ทƴǖศǥตǍ่าǦงLJๆǨǎท˩njั่วǟโǦลǕกǑ˘njผNjู้ค˺˥NJน˭˛7เจƱ็บnjปǬNJ่วǕยǖแ˼˝Ƶล˘ƮะǬลǜ้มǖต˘ǟǫาnjยLjจǖำ�ǥนƮว˼Ǚนnjม˭˞ าก จนกลายเป็นความǔสǦูญǩǙเ˝ǜสƵียǦอƮยǪ่าǖƱงใǖหǥǍญǍ่หNJลǦวƴงǨLJอ˫njีกǠคǦรǕั้งǫหƵǨนƶึ่ง˭ǕขǍอǑงǙม˘njนǖ˝ุǦษǕยǩชǖาƴตǠิ ǖม˱ǣนǪุษǖƱยƸ์จǦึงǖจ˥ǟำ�เȲSปe็นvตer้อeงAปc้อuงteกันReตsนpเirอaงtoเพry่ือSใyหn้มdีชroีวmิตeรอ-ดSดA้RวSย)การ ปรับเปล่ยี นพฤตกิ รƸร˛˯ƴมǔก˭ǟาǦรǨǠดLj�ำ ร˺ƵงǦชƮีวǨƷติ ˞˱ǣทǬี่ผǜิดǖ˘ǟไปǪƱจǪาǖกnjวǦถิ ǨƷเี ด˚njิมƮๆ˘nj โดยมีการปรǣับƴหƱ˥ƮาǦวǖิถǣีกnjาǦรǔด˘Ǖำ�ǪรǙงƮชีวȲWิตHแOบ)บǖใǥหǍม˺ǜ่เ˚ǦพǏ่ือ˼˝Ljให˫LJǨ้ปƷล˱˞ǣอǬǜดǖภ˘ǟัยǪƱจǪาǖกnjกǦาǟรǦตǕิดǑเ˘njชNj้ือ˺ǫ˥ Ǡคǔว˚Ƶบǥคǔู่ไ˭ǣปǦกƮับǦǖคǨวǖ˫˛ǔามǩǖพƮยƱา˱ǣยǔามǬ˭ Ưร˝ักLjǦษǔาǔแǦลLJะ˝ǜฟǕื้นǣǦฟƮูศǦักǖǬยǣภาพ ทางเศรษฐกิจและธǩุรǠก˝ƴจิ ɑนǠǙ�ำ ไ˘ƴปƵสǦู่กƮาnjร˞˘njสǖรǦรǜค1์สǟร˘ǎ้างLJสǦ่ิงǠป˥Ƶรǥะǔด˭ǎิษ˙ƼฐǠใ์ หǦǠมǦ่ๆǕǫเƵทLjค˫LJโนƯ˘โLJลǏย˼˝ǎีให˜ǜมǕǣๆ่ ǦมƮǦกี ǖาǠรปnj˘รƮบัƵแǥǔน˭ǣวǦคƮดิ Ǧǖวǎิสǣยั LJทǍัศǜนǔ์ ǣว˘ิธƮกีǨǟาǍรจǖ˚ǜดั ǔกLJา˝ǜรǕตǠลǦอƮดจน พฤติกรรมที่เคยทำ�ǣมǦาƮเปǦน็ǖǖก˺njิจǩวǖัตƴรǔเǦกƮดิ ǣกǦาƵรNJบ˳Ǧา่ ǫยǠเ˝ǣบǜน˘ǕอǜอǥกǓจǦาǕกǫnjคǙว˝ǔามǨǠคǙุ้นǜเคƯยdžอǥนั NJเ˭˛Ʈปǖน็ ǔปƱกǜตǍิมƱา˺ǔแǪตǖ่เƱดƮิมǖในǥNJหǖลǜาƴยǟมǦิตNjิ Ǧทǖ้งั džในǟด˺Ư้านǩnjอǥาnjห˳Ǧาǜร˚ǦกǠาǦรƮแตǏ˼˝NJง่ ก˛˭ าย การรกั ษาสุขอนามǨยั LJ˫njกNJารǦศƴǔึกǦษƵาǦเƮลǑา่ เ˞˱njรNJีย˭˛Ǩนǟ˛˭ǕกƴาƮรǦสǖ่อื ǖสǥาǍรǦLJกƯาǣรทƴǪ�ำ ǖธƱรุ ǔก˭ǣจิ ǦƮฯǦลǖฯǬƯซ˝ǖงึ่ ǜ˚ สǔง่ิ Ʈให˘ǍǣมǦเ่ หƮลǦǖ่าNJนǦี้ไดƴǨก้ LJล˫njาǠยǦเǕปǫ็นƵǣคǕว˚ǦาƴมǫปLJกǣǕต˚Ǧใิ หƴǠมnj่ จ˛˯ƴนǨƷใน˚njทǬส่ีǣดุ ǨƵเ˨ǍมƱือ่ ǣเว ลา ผา่ นไป ก็ทำ�ใหเ้ กิดǔค˭njวǦ˵าǔม˼Ʈคุ้นǠชǦǕินǫกƵ็จǨǠะnjก˛˱ǣลǕาǠยǣเปǍน็ Ʊสǜว่ ǖนǖห˭ǍนǑง่ึǍขǩอǑงNJวǕิถ˥NJชี ˘njวี ƱิตǜปǦกǔตǖ˺njิขǩอǖงƴผƯู้คǣนƴǪใǖนƱสงั คม ส�ำ หรบั “NeǨǖwǦƵNǥoǎrǣ˟ mƴƮa˘njlLj”ǜ˘ ใǬนLJบ˝ǣǕรบิǦ˚ ƴทǬǖ“?COVID-19” นนั้ เหน็ ไดช้ ดั เจนทสี่ ดุ ในดา้ นของการสาธารณสขุ ของเมอื งไทย โดยทาง ศบค. มีการประกาศมาตรการǎกƵ˙ าƵร˺Ǎป˘nj้อǕง˘ƴกǬนั ǔแ˚NJลǖะǦคǍวƷบ˘LJคǨƵมุ njกǜา˚ǦรǨรƷะ˱˞ǣบǬǜาดǖ˘ǟขǪอƱงǪโǖคnjวǦดิ ǟ-1ǦǕ9Ǒท˘njท่ี Njุก˺˥ǫǠคǔน˚ǩตǑอ้ ǖง˚Ʈใหǖǥค้ ƵวǦาǕมƵสǦ�ำ ƮคƱัญnjแǟล˚˼ƱะnjปǬLJฏ˝ǣิบǕัต˚Ǧติ ƴาǬมǖอǩยLjา่˚ǨƷง˞˱เǣคǬรǜง่ ǖค˘ǟรƷัดnjไ˫LJดแ้ ก่ - สวมใส่หนƱǙ้าก˝ǦǕาƮก˘njผǩา้ ǑหǖรǏ˚ือ˚ǦหnjนNJา้ ǦกƴาǙกǥอǣǣนƴาƯมǣยั ƴเǨสǠมǙอǜNJ˭˛ǣǣƮǔǦƵǦƮƮǦǖǬǣ ǩǙǥƵǦǔ - ต้องเวน้ ระยะหา่ ง 2 เมตรƱ˳Ǧǩnjǥnj˳ǦNJ˛˭LJ˭NJ˭˛ǟ˺LJƵǦƮǣƴƱ˥ƮǦǖǣnjǦǔ˘ǕǪǙƮƱ˱ǣǨǖǦǟǦǔǦǖljǎǣ˟ ƴƮ˘njLj˘ǜǨǣƴƵǦƮǬǜǖǟ˘ NJ˭˛Lj˫LJLj˚ǣNJǦƴǖǥǍǍNJǦƴǨLJ˫njǠǦǕǫƵ - ล้างมือบ่อยๆ พกเจลแอลกอฮอล์NJ˺ƮƷnj˫LJǬLJ˝LJ˝ǜǕƮǦǖǙ˝Ǧƴǔ˱ǣǨǙ˭˛ǕƴƮǦǖǨƯǦ˝ ǫƮǙ˝ƱnjNJ˭˛ǬǣǠǖǣ˱ ƵǦǔǠǖ˱ǣǨƯǦǫƮǙ˝ƮǙ˚˺ǔƱnjǠǔ˚˼ǔǦƮLj˝ǣƴǣǕ˼˚ǠǦ˚ ƴƵǦƮNJ˺ƮƱnjǣǕǦ˚ ƴnj˝ǣǕ - หลีกเลย่ี งสถานท่แี ออัด1ȡ5 -2 ǨǔLjǖ ȲPhysical & social distancingȳǫǟ˚Ǡnj˝ǦƮǦƮǣnjǦǔ˘ǕǨǟǔǣǨǔ˛˱ǣǣǣƮƵǦƮǍ˝ǦnjǩǙǥǑǕǦǕǦǔǣǕ˚ǦǨǣǦǔ˱ǣǟ˘ǔǏ˘ǟ - หลกี เล่ียงǫǍกǠลnj่มุ ˝ǦเสLJยี่ ǜงƴหLjรǦอื Ƶผǔู้ท˼Ʈ่ีมǩอี ǙาǥกǎาǦรƮป่วLjย˝ǣƴǙ˝Ǧƴǔ˱ǣƮ˚ǣnjǟ˘ǔǏ˘ǟǨǟǔǣǠǜ˘ƴǜ˚ǦNJ˚ǦnjǏ˼˝ǣ˚ǦnjǜǦǖǟǦǖǨǙ˚ǔnj˭˞ǩǙǥǟǦǖƵǦƮǍǖǖdžǦNj˫ƮǦǖƵǥ ถดั มาคือ “NǎeǙwǣLJNǓo˘ǕƵrmǦƮaƮlǦ”ǖใLjน˫LJบǨƷร˞˱ǣบิ ǪทƱขǜ˫LJอǟง˫กǍาǨƮร˝Ǧทnjำ�˭˞Ʊธǖุร˘Ǎกจิ ค้าขาย รวมถงึ ภาพใหญ่ในระบบเศรษฐกจิ ของไทย พบวา่ ผูค้ นยุคโควิด-19 จ�ำ เปน็ ตอ้ งอยบู่ า้ นมากขNJนึ้ ǦเƴกƮดิ ǣเƴทǍรǖนǖดdžก์ ǦาNjร˫ƮทǦ�ำ ǖงLjา˝นǣƴรƯปู ǣแƯบǣบǍใƱห˺džมǏค่ ˼˝NJอื ˛˭ǟWnjǫoƵrǟk˚ƴfnjro˫ǑmnjNjH˥Ljo˝njmƶǍe˘ǍสǙว่ƴนLj˭Ǒน˫ǔกั Ǒเร˥ǫยี njนǜกǦǖต็ ǟอ้ Ǧงǖปǜร˫NJบั ǕตǦวัǝสǦกู่ǟาLjรǖเ˥ǟร˺Ưยี ǓนǦทǑบ่ี ǩา้ Ǚนǥผǜา่˫Ƶน˘Ǖการ “เรยี นออนไลน”์ กNJาǦรƴจƮบั Ǧจǖา่ǩยǑซNJอ้ื Ǖข˥ ȲอHงeตaา่ltงhๆScกieต็ nอ้ cงeซCอื้ liอniอcนalไRลeนsก์eนัarมcาhกHขSน้ึ CRด)งั Ǩนǎน้ั˩njธǣรุǕก˚ǦจิƴǕห˫˛ƴรƸอื ˛˯ƴกǏาǙรƴคǦา้ njขNJาǦยƴใǜน˫ƷคǦวƮาǦมǖปNJก˛˭Ǩǎต˩njริ ǎปู ǖแǥบǪบǕƷใหnjม˥ǨǠจ่ Ǚงึ ˚Ǧหnjน˞˭Ƶไี ǥมพ่ น้ การทำ�ธรุ กจิ ออนไลǬนLJ˝Ǩ์ ǏโดǕǩยǑเฉǖพǬ˚ ǎาǕะ˘ƴธǏรุ ˼˝ǣก˚ǦิจnjขƸา˛˯ยƴƵสǥนิ Ǩǎคnj˩า้ แƮลǦǖะƵจ˺LJัดǎสǖง่ ǥแƮบǦบǕǫ“Ǡเ˝Ǐด˝˼ǣล˚Ǧิเnjวǔอ˭Ʊรǜี่”Ǧǔทǟ่ีพnjบǫƵวǫ่าnjเตƮǦบิ ǖโLjต˚ǣขǕนึ้ ǣอLJยǫา่njงƮมǦาǖกǑใ˘Džนชnj่วǦงƴนǦnj้ี สǜ˫Ƶ่ว˘นǕǫรǠา้ ˝ǔน˭Ʊอ˺džาหǓาǦรǑกLJต็˭ อ้ ง ปรับตวั สู่ New NoǕrmƴ˛˫ Ưa˞nj˯ lLjเ˚ǣชǬน่ ǎก ǣนั ˘njมƵทีǥƮ้งั ข˚ǣǫาǠย˝ǨแƮบ˫LJǎบǖเดǥǪลǕิเวƷอnjร˥Ljี่ ˚ǣหǏร˼˝ǎอื ǜ˜ บǕาNJง˭˛Ƶรǥ้าǬนLJท˝ǖี่เ˘ǍปƱิด˺džใหǓǦ้รǑบั ǫปnjรƮะǦทǖLJาน˼ǩǙทǖีร่ ˘Ʈ้าǞนǦไNJด˛˭LJแ้ ˭Ǖล˛˫ƴ้วƯก˞nj˯ ต็Lj˚ǣ้อǬงǎมǫีกnjาNJร˛˭ǟก˺LJั้นฉากให้ลกู ค้าแตล่ ะ คน ไมใ่ ห้ลูกคา้ ใกลช้ ดิ หรือแออัดกัน และเวน้ ระยะห่างของการนัง่ ระหวา่ งโต๊ะอาหาร เปน็ ตน้ ǏƷ˼˝ ˚ǜǕǝǦǟLjǖǦƵǦǖǕȲ˥ ǑǨ˫ ǝǞȳȡLJǖȡnjǦǕǩǑNJǕǜ˥ ˘ƷǖǑǙǓ˼njǜǙ ǍǖǖdžǦNj˫ƮǦǖ
FErdomitotrhiael BEdoiatordr เจแสชปละอ่อ็นสะงดตไชะรม้นอ่ดับ่เสมงวจกว่ากอับนถyทยoงึใก้ังนดุคuาก้าดโtรับคuนา้โวผหbนกิดู้ปeลกา-รดกา1ศขรแค9ทกึออรงษอ่อมปðïĒø(ĀงาSDงาฯĆÖúŜŠĂĂîเuไแกLþทąÜ÷ทšćrTลไขÖćgĒÖยี่ėมยVะiøîĆึ้นÝćcǰวกไ่ąกéêÖšaÜกได÷นัšüðĆülับยดĂพ็้ą÷đบMøîกเ้ตหĂĀชบîąา้ćตÜัวaรŠćน่ĞĚćüวöงsเัวอืÜĒĆêา่กดkĆ÷ĂอแพúผĉÖนัđ็ก÷đยöมąใู้บćîŠćเห่าÿęČแĂøแ้อÜČęĂวงđïĂตîบ้ตง่าÜéเĎŠǰĂšปĂ่Ýชเรป่ĉîĀดนÖ÷ćกิ่นรญัìøก็Öîǰ่ันาาČĂ1ćĕหๆกĂรใคîÜöนตđÖฏาือĚĞćŠööใïเา่ïชว÷นรĊêĀčงÙš่วćา่ć“อื่øยúๆîÙเĒงǰเงดคุĆÖแĀรúĂอก็ĔโåเียรìúúîกคุปćๆกĊÖนÖĊęĕðย่ีîวกöทđĂอปิดúวøĒรŠöă่ีปอąĊę÷กร-ÿณĊĂĂ1đรÜะนบัéìćúÖอ์9ะสÜÖไกŤúýćยเëบลćาตšćทøìċ่าÜøนปÜรÿ้อęĊöศÖงøöทĆö์ญ”ัĊแงÙćไąČĂñอ่ปทøüลïหǰĆÿผðงć7รยป็ïาïเö่า0ŜับĂพทกทìø%นđÜเÿายี่บĉđćอ็ปÖทüรęĊ÷ÜวปกĆîĀèลđเาÜรéาïćยี่งǰêรยีมĉรÖîĀชčÙนćวนรöือĀø่อǰÙมวะÝČĊĂĕอถćúงธิ×ถบöđ÷อือทìกีöšǰงึĎÖĔาĕนĊęีĕวČęĂแาÝĂĒดแöไีรดĂหǰǰúลขทŠðĕเĀ÷าąลรöนอśü็ปŠĎćวĔðียง่ŠÝî÷ม์ง÷เเทćนĞćทโลǰìĔาÖคđĂÝอ่ใต็กียĊęßðǰหú÷วงēčมöมŨîéĞŠćเิดćมแßทาêïÜ÷-ส่ลยDîĕš1Ăยี่ĕćะøะöหìLÖÜ9วÖทกŠĕTÿĊęลǰöเéĘêĔอาอ้üVทĊาÙĀšúćรงöยนîี่รšĕšćöตĀแðอกุนÜÝĂิด“öîลóยĞเ็ćแćรตNČĂšîะćา่ïÝรมิ่ ǰÖั้งงเüeêงĒÙรปอćîšóĂเwüียÖชรนิจöÜøìนĂบัน่นÿเćúN÷ตîผÖตüšćทŤìกoอć่าÜöđวั าĆาîóööนrรสĔงรmìęČČĆÿĂĂ÷์เแู่กจนNĊŠǰǰอานูa็ตeรพlหคw”ปฯาวรสทาNะเมญั ี่ไวoกมเ็บญrราค่mว็ไศาซ่อสใณaตยชูงl์้ มส เมวนาา้นตชับรร่วสะกยนยไแาใมะุนหรตห่วลกผ้่ท่าอ็่าา้คู้ังบงครนน้าวดเ้ีหเนปิจมาาัยวเ็นื่อยมนทตทเือ์าหน้แุกงงงลตควาะ้อิชนปดÿ1đìĀางอßร9เกćว้ĞććอŠîปíะÖยÙาéกǰćลกöรกúüüšøนี่ายสĊĕćĎÖา÷è×ศอöนารïÙšǰïÿธเกÿøĉéĕแพปč×čÙĂาĆïąบðป.,รดิÙǰรĂø้Ēาล2ณú.ตąćบนú0งìัวêéส2ąไ.ยęĊöฉĎǰĀป0Āุขø“ังĊĂกุ)øตććอตกćเČĂü×÷่อยฉ้อÖาïĂĔđไ่านิรćßงÝĆîÿปงøทปĘúéŠÜĕทøไเĞćéÖอ่éฏรพą�ำïǰĞćšüงิïบใอื่ēúćท÷เêหïัตคทÖĆÜĒŢąาเ้ìĔิตวรี่ยĂงĂÝÙćาาาวćวĒúüÜตมมĀาúøเđÖอ้สกéรćöมąĂøงĉîสา้ม×ĊÖาăǰงวĀĂาćอืตñĂดหøรĔćšćนรúอĀì÷ĀนกŤจǰอšÙHĞćĔŠö7้าาÝรčèÙกS0ǰทรÙงิñüน%Cóปา”üćšćอøRงøöð้อąกคĂผÿÿĎđงÙêบก÷วüา่ąกčšöĊ÷öŠาน็ćยา้ĂันÙÜมÜĀนังเćǰøโทîคéรîđรĂแÙšĂูท้คÿšงćคÜøล÷Öดëโ่ีทĔอČęĂะนĀćüćำ�นัÜยงÖîĆîšโìเÙดสนล่าĂìčúÖøเงมยîินĊęĆǰüìąทเĂีัยćǰงǰคŠćยี่Ýčð1öทาîรćว-ÖĆ÷นðัด่îง2ไøǰปใคúเ ǰèÙSนทßĂโรuøćŤดǰกียéัดđĚĆörÜยÙõมาgǰiปøร(Ć÷เßอcÖชČęĂเÝašĂราผø่นÜlćยิîรĔöยÖMายǰßÙแàÖกยšะìašĂüćพาปsęĊöแøöïรkรĊñêรตǰ)Ùส่ผĒĎšÿะĉéช่čĒöวลÖĆöเđว่úßทมēšüงñงøąČĚĂîาหศĆนÿÙĕĕนĞĚćตðÝน×น้ัǰǰวĞÖćอ่šĀóé้ากîิจøšüไüกïเ็ üปąัรย÷ĆéาĒîม่ิìîทēกóÙöมøĚĞćาอìüć÷üกีงนĉé÷ÖćÜกาŤǰǰารามใรชัยแเ้ ,ทพคลทโ้ายนง์แโมลลือยะ,ี ทางกองบรรณาธกิ ารตอ้ งขìอćขÜÖอĂบÜคïณุ øøผèทู้ ćสี่ íนĉÖใćจøสêง่šĂนÜพ×ิ Ăน×ธĂต์ ïน้ Ùฉčèบñบั šĎìลĊęÿงîตĔพี ÝมิÿŠÜพîใ์ ĉóนîวาíรŤêสšîาÞรïĆHïúSÜCêRĊóเĉöปóน็ ŤĔอîยüา่ćøงยÿćง่ิ øซüงึ่ ĉìผ÷ลćงýาćนÿทêาøงŤ วชิ าการทเ่ี ปน็ ประโยชนเ์ หลา่ นจี้ ะไดเ้ ผยÿแ×č พõćรóไ่ ปĒúยąงั Üผćอู้ îา่ üนÝĉ ซĆ÷ìง่ึ จćÜะÙเปúĉîน็ ĉÖกǰาýรĎîจ÷ดุ ĒŤ ปóรìะ÷กýาćÿยêใหøýผ้ ċÖอู้ þา่ ćนßมĚĆîคีÙวúาîĉ มĉÖสǰēนøÜใจóใ÷นćïกćาúรĂตčêอ่ øยéอêĉ ดëใđŤ ðนîŨกĂา÷รćŠพÜฒั÷ęĉÜนàาċęÜñงาúนÜćวîจิ ยั ใหม้ คี ณุ ภาพ ดยี งิ่ ขึน้ ตอ่ ไป อนั จะกอ่ ใหìเ้ ćกÜดิ üปßĉ ćรÖะćโøยìชęĊđðนŨî์ตð่อøผąปู้ ē÷ว่ ßยîทđŤ จ่ีĀะúŠćไดîร้ĊĚÝับąĕคéณุđš ñภ÷ĒาóพøใŠĕนðก÷าĆÜรñดšĎĂŠćูแîลàรęċÜกั ÝษąđาðทŨîด่ี Öียć่ิงøขÝčé้ึนðตø่อąไÖปćใ÷นĔĀทšñีส่ šĎĂุดćŠ îöĊÙüćöÿîĔÝĔî ÖćøêŠĂ÷ĂéĔîÖćøóĆçîćÜćîüĉÝĆ÷ĔĀšöĊÙčèõćóéĊ÷ęĉÜ×ĚċîêŠĂĕðǰĂĆîÝąÖŠĂĔĀšđÖĉéðøąē÷ßîŤêŠĂñšĎðśü÷ìĊęÝąĕéšøĆï ÙčèõćóĔîÖćøéĎĒúøĆÖþćìęĊé÷Ċ Üęĉ ×ĚċîêŠĂĕðĔîìÿĊę čé ผชู้ ่วยศñาĎšßสŠüต÷ýรćาÿจêาøรćยÝ์ ć(พø÷เิ Ť ศóษĉđý).þด รé.นøาîยćแ÷พĒóทìย÷์วüŤ ัชßĆ รøพóลúǰõภîĎ นู üวúล บรรïณøøาèธćิกíาÖĉ รćø
FErdoimtortihael BEdoaitrodr Editor-in-Chief EDITOR-IN-CHIEF Assist. Prof. Dr.Watcharapol PoonuaAlssist. Prof. Dr.Watcharapol Poonual Assistant-Editor-in-Chief ASSISTANT-EDITOR-IN-CHIEF Prof. Dr. Capt. Jayanton PatumanonPdrof. Dr. Capt. Jayanton Patumanond Assoc. Prof. Chamaiporn TawichasrAi ssoc. Prof. Chamaiporn Tawichasri Editorial Board EDITORIAL BOARD AAsssosco.cP. Prorfo. fD. rD.Tra. nTyaonnygonPgipaPnipmaankmapaokranporn ChianCghMiaanigUMniavei rUsnityiversity Thailand AAsssosco.cP. Prorfo. fD. rD.Sri.rSiainrioanngoNngamNwamonwgopnrogmprom ChianCghMiaanigUMniavei rUsnityiversity Thailand AAsssosco.cP. Prorfo. fD. rD.Sri.rSidiaridYaouYnogucnhgimchim ChianCghMiaanigUMniavei rUsnityiversity Thailand AAsssosco.cP. Prorfo. fD. rD.Pr.aPnaandaadTaaTecaheacshuabsaumbaormnorn NaresNuaarneUsunaivnerUsintyiversity Thailand AAsssissits.tP. rPorf.oDf.rD.Jrir.aJwiraanwDaeneDluereelure ChianCghMiaanigUMniavei rUsnityiversity Thailand AAsssissits.tP.rPorf.oDf.rD.Crh. iCdhcihdacnhoaknRoukeRnugeonrngorn ChianCghMiaanigUMnivaei rUsnityiversity Thailand AAsssissits. tP.rPorf.oDf.rD.Arp. iAnpyainFyaaktFhaokntghyoonogyoo UttaraUdtittaHroasdpititaHlospital Thailand DDr.r.NNounllaawwaann CChhueeoammouuannggppahnan ChianCghraiai nPgrarcahiparnauckhroahnuHkorsopkitaHlospital Thailand DDr.r.PPaammoronrsnrsi rSiriSwroiwngopnagnpan Mae FMaaheLFuaanhgLUuannivgerUsintyiversity Thailand DDr.r.VVisiisthitShirSipirhipuhwuawnuannun ChianCghMiaanigUMniavei rUsnityiversity Thailand DDr.r.AAppiriarkakSrSibrhibuhtourtnorn UniveUrsnitiyveorfsPithyayoafoPhayao Thailand DDr.r.NNininuutcthcahaPaPnagnsgasi ai NationNaaltHioenaaltlhHSeeacltuhritSyeOcfufircitey(NOHffSicOe) (NHSO) Thailand DDr.r.SSuucchhadaadaInItnatraakraumkuhmanhgannga nRaacRhaacshimaasima BoromBaorraoJmoanraaniJConoallengi eCooflleNguersoinfgNUutrtsairnagdiUt ttaradTithailand DDr.r.AAnnanaynayaKoKooaoriayraikyualkul BoromBaorraoJmoanraaniJConoallengi eCooflleNguersoinfgNUutrtsairnagdiUt ttaradTithailand DDr.r.WWaararpaopronrYnoYttoatvteaevee BoromBaorraoJmoanraaniJConoallengi eCooflleNguersoinfgNUutrtsairnagdiUt ttaradTithailand DDr.r.PPoonnggsasraarnaSnrSipriirpoimrom UttaraUdtittaHroasdpititaHlospital Thailand DDr.r.TThhitiiptiopnogngPoPooporapsrearstert UttaraUdtittaHroasdpititaHlospital Thailand DDr.r.DDuuoonnggkakmamoloPl oPoonounaulal UttaraUdtittaHroasdpititaHlospital Thailand DDr.rK. KaannyayraartaPthPuheungenbganbhaannhan UttaraUdtittaHroasdpititaHlospital Thailand MANAGER ASSISTANT MANAGER Suphawan Khumchoo Piriyaporn Muangtoom
Editorial Board บรรณาธิการ EDITOR-IN-CHIEF ผศ.(พเิ ศษ)ดร.นพ.วชั รพล ภนู วล Assist. Prof. Dr.Watcharapol Poonual คณะท่ปี รกึ ษา ASSISTANT-EDITOR-IN-CHIEF ศ.นพ.ดร.ชยันตรธ ร ปทมุ านนท รศ.ชไมพร ทวิชศรี Prof. Dr. Capt. Jayanton Patumanond Assoc. Prof. Chamaiporn Tawichasri กองบรรณาธกิ าร EDITORIAL BOARD รศA.sดsรo.cพ.ญPr.ตofัน.หDยr.งTพanิพyาoนnเgมฆPาipภaรnณm akaporคnณะแพทยศาสCตhรia nมgหาMวaทิ iยUาnลivัยeเrชsียitงyใหม ประเทศไทย รศA.sดsรo.cพ.ญPr.ศofริ .อิ Dนrง. คSirนiaาnมoวnงgศพNรaหmมwongpromคณะแพทยศาสCตhรia nมgหาMวaทิ iยUาnลivยั eเrชsยี itงyใหม ประเทศไทย รศA.sดsรo.cป.นPดroาf. เDตrช. ทSiรrัพidยaอ Yมoรungchim คณะสหเวชศาCสhตiรa nมgหMาวaทิ i Uยาnลivัยeนrsเรitศyวร ประเทศไทย รศA.sดsรo.cศ.ริ Pิดrาof.ยDังrฉ.Pิมanada TaechasubamorคnณะแพทยศาสNตaรre มsuหaาnวิทUยnาivลeัยrเsชitยี yงใหม ประเทศไทย ผAศs.ดsรis.tจ.ิรPาrวoรfร. ณDr.ดJีเiหraลwอื an Deelure คณะพยาบาลศCาhสiaตnรg มMหaาiวUทิ nยivาeลrยั sเiชtyยี งใหม ประเทศไทย ผAศs.ดsรis.tภ.ญPr.ชofดิ .ชDนr.กCเhรiือdcนhกaอnนok Ruengorn คณะเภสชั ศาสCตhรi aมnหgาMวิทaยi Uาลniยั vเeชrยี sงitใyหม ประเทศไทย ผAศs.(sพisเิ ศt.ษP)rพoญf. .Dอrภ. ญิApญinาyaฟFกaทkอthงoอnยgู yoo โรงพยาบาลอตุ Uรtดtaิตrถa dit Hospital ประเทศไทย ดDร.rพ. Nญu.lนaลwวaนั nทC hเชe้อืomเมoอื uงnพgาpนan โรงพยาบาลเชCียงhรiaาnยgปrรaะipชrาaนcุเhคaรnาuะkหro k Hospital ประเทศไทย ดDร.rภ. Pมaรmศรoีrศnรsวีriงั Sคrพ iwนั oธn gpan มหาวทิ ยาลยั แMมฟaeาหFลahวงLuang University ประเทศไทย ดDร.rว. ิศVษิisฐit hศริSิภirูวipนhันuทwanun คณะแพทยศาสCตhรia nมgหาMวaทิ i ยUาnลivัยeเrชsียitงyใหม ประเทศไทย ดDร.rภ. Aกp. iอraภkิรักSษrib ศhรuภีtoูธrรn คณะเภสชั ศาสUตnรi vมeหrsาiวtทิyยoาfลPัยhพayะเaยoา ประเทศไทย ดDร.rณ. NิณinัชuชtcาhaแปPaงสngายsai สํานักงานหลักNปaรtะioกnนั aสlขุ HภeาaพlthแหSงeชcาuตriิty Office (NHSปOร)ะเทศไทย ดDร.rส. SุชuาcดhาadอaินIทnรtaกrําaแkหuงmณhanรgาชnสaีมRาachasiวmทิ aยาลยั พยาบBาoลrบoรmมaรrาaชJชoนnนaีnอiุตCรoดlleติ gถe of NursingปUรtะtเaทraศdไทitย ดDร.rอ. Aนnญั aญnyาaคKูอoาoรaิยrะiyกaุลkul วิทยาลัยพยาบBาoลrบoรmมaรrาaชJชoนnนaีnอiุตCรoดlleิตgถe of NursingปUรtะtเaทraศdไทitย ดDรr.ว. รWาaภrรaณpo rยnศYทoวtีtavee วิทยาลยั พยาบBาoลrบoรmมaรrาaชJชoนnนaีnอiุตCรoดlleิตgถe of NursingปUรtะtเaทraศdไทitย นDพr..พPงoษnศgรsณัarยanศSรภีripริ มirยom โรงพยาบาลอุตUรtดtaิตrถa dit Hospital ประเทศไทย นDพr..ธTติ hพิ itงipศo nภgปู Pรoะoเสprรaิฐsert โรงพยาบาลอตุ Uรtดtaติ rถa dit Hospital ประเทศไทย ดDรr.ด. Dวงuกoมngลkภamูนวoลl Poonual นักวิชาการอิสรUะttaradit Hospital ประเทศไทย ดDรr.ก. Kญั aญnาyรaตัraนt ผPง่ึhบueรnรหgbาaรnhan นกั วชิ าการอิสรUะttaradit Hospital ประเทศไทย MANAGER ASSISTANT MANAGER Suphawan Khumchoo Piriyaporn Muangtoom
CONTENTS VOLUME 36 ISSUE 1 JANUARY - June 2021 ก กองบรรณาธกิ าร ข บรรณาธกิ ารแถลง ค คำ�แนะนำ�สำ�หรบั ผนู้ ิพนธ์ ORIGINAL ARTICLE 1 ปัจจยั คุกคามสขุ ภาพจากการทำ�งานและภาวะสขุ ภาพตามความเสยี่ งของบคุ ลากร แผนกซอ่ มบำ�รงุ โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ วริ งค์รอง จารชุ าติ 16 การศึกษาประสิทธภิ าพตู้แช่แข็ง UPAC deep freezer ในการผลิต Cryoprecipitate ของภาค บรกิ ารโลหติ แห่งชาตทิ ี่ 9 จังหวัดพิษณุโลก สภากาชาดไทย เจนจิรา อินสว่าง, สรุ เชษฎ์ อ่อนเส็ง, ณิชาภทั ร แสงโสรตั น,์ อุไรวรรณ บญุ จนั ทร์ 28 ผลของน้ำ�ใบยา่ นางสกดั เย็นเพอ่ื ลดอาการเยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบในผปู้ ว่ ยมะเร็งเม็ดเลือดขาว ทไ่ี ดร้ ับเคมีบำ�บดั โรงพยาบาลอตุ รดิตถ์ สนอง ล้วนรัตนากร, สายพิณ เก้ืออารีนนั ทวฒุ ิ, นงนุช แสงสาย 41 ลักษณะการตดิ เช้ือในชอ่ งคอช้ันลึกระหว่างผปู้ ่วยโรคเบาหวาน และไม่เป็นโรคเบาหวาน ในโรงพยาบาลเพชรบูรณ์ อรัญ คำ�ภาอนิ ทร์ 52 ผลการใช้โปรแกรมสขุ ภาพจิตศกึ ษาเพือ่ เพ่ิมความร่วมมือในการรักษาดว้ ยยา ของผปู้ ่วยจติ เภท โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ เบญจมาพร บวั หลวง, สกุ ัญญา เตชะสุวรรณา, วรรณวภิ า ชำ�นาญ 64 ประสทิ ธผิ ลของการนวดเต้านมเพอ่ื กระตุ้นการไหลของนำ้ �นมในมารดา หลงั ผา่ ตดั คลอดบุตรทางหนา้ ทอ้ ง โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ นันทนา วัชรเผา่ , พนิตนาฎ โชคด,ี โสภดิ า ชขู วญั , กาญจนา หลา้ ฤทธ,์ิ นสิ าชล เนียมหนอ่ 74 ปัจจยั ที่มีผลต่อการเกิดภาวะไขร้ ่วมกบั เม็ดเลอื ดขาวตำ่ �ในผ้ปู ่วยมะเร็งตอ่ มน้ำ�เหลือง ที่ไดร้ บั ยาเคมีบำ�บัด ชนนกิ านต์ ศริ ิจนั ทรวจั , ระพีเพญ็ พัฒนาพลกรสกุล 84 ประสทิ ธผิ ลของการฟ้ืนฟสู มรรถภาพหัวใจในผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดหัวใจตบี ทไี่ ด้รับการขยายหลอดเลอื ดด้วยบอลลูน โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ พชั ราพร พวงทอง, สิรินาถ มีเจรญิ , เรณู ทบั คำ�, สุภาภร ปรยิ อัตรกุล
คำช ้แี คจำงแกนาะรนสำส่งำเรหอื่ รงบั เผพนู้ ่ือพิ ลนงธพ์ ิมพ์ นโยบายและวัตถุประสงค์ วารสารวิชาการโรงพยาบาลอตุ รดติ ถ์ เปน็ วารสารดา้ นวิทยาศาสตร์ การแพทย์และสาธารณสุขของโรงพยาบาล อตุ รดิตถ์ เพ่ือเปน็ สื่อกลางและเปน็ เวทที างวชิ าการ ในการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ทางวิทยาศาสตรแ์ ละสาธารณสุข ตลอดจน เผยแพรค่ วามกา้ วหน้าด้านวชิ าการแพทย์ วารสารราย 6 เดือน โดยกำหนดการเผยแพร่ ฉบบั ที่ 1 : มกราคม - มถิ นุ ายน กำหนดเผยแพรภ่ ายในเดอื นมิถนุ ายน ฉบับที่ 2 : กรกฎาคม - ธนั วาคม กำหนดเผยแพร่ภายในเดือนธนั วาคม ขอบเขตการรบั ตีพิมพ์ รับตีพิมพ์บทความคุณภาพในด้านสาขาวิทยาศาสตร์ การแพทย์และสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย คือ บุคลากรทาง การแพทย์สาธารณสุข สาขาที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ โดยมีขอบเขตผลงานที่รับตีพิมพ์ ประกอบไปด้วย นวัตกรรมทางการแพทย์ (medical innovation), นิพนธ์ต้นฉบับ (original article), รายงานผู้ป่วย (case report), บทฟนื้ ฟูวชิ าการ (review article) การสง่ ประเมนิ บทความผู้ทรงคุณวุฒิ บทความต้นฉบับกองบรรณาธิการจะพิจารณาเบื้องต้นเนื้อหา ความถูกต้อง และเอกสารอ้างอิงในรูปแบบทั่วไป ถ้าไมผ่ ่านการพิจารณาจะส่งให้ผู้นิพนธก์ ลับไปแก้ไข ถ้าผ่านจะเข้าสู่การพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้พิจารณาบทความ ใน สาขาท่ีเกีย่ วข้อง 2 ทา่ น และการส่งจะทำการปดิ บังชื่อ (double-blinded) และหนว่ ยงานของเจา้ ของบทความไว้ ซ่ึงไมม่ ีสว่ น ไดส้ ่วนเสยี กับผู้นิพนธ์ ลิขสทิ ธิแ์ ละกรรมสิทธ์ิของบทความ ลิขสิทธิ์ของบทความเป็นของเจ้าบทความ ทั้งนี้บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นทัศนะของผู้เขียนโดยที่กอง บรรณาธกิ ารไม่จำเปน็ ต้องเห็นด้วย และไม่รับผิดชอบต่อบทความนัน้ การสง่ บทความลงตพี มิ พ์ 1. สมัครสมาชิกในเว็บไซต์ พร้อมทำการส่งต้นฉบับบทความผ่านระบบ Online Submission โดยเลือกใช้ช่องทาง เว็บไซต์วารสาร Thai Journal Online System (ThaiJo) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/hscr 2. สง่ บทความตน้ ฉบบั ผ่าน [email protected] 3. ผูน้ พิ นธต์ ้องกรอกแบบฟอรม์ “แบบฟอรม์ สง่ บทความลงวารสาร hscr” โดยสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่หน้า เว็บไซต์ กรอกข้อมลู สง่ กลบั เปน็ ไฟล์อิเล็กทรอนกิ ส์ การเตรยี มต้นฉบบั ➢ ชื่อเรื่อง (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) ต้องมีความยาวไม่เกิน 100 ตัวอักษร ใช้ภาษาที่เป็นทางการ ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษควรตั้งให้ครอบคลุมกระชับ สอดคล้องกับเนือ้ หาชัดเจน ตรงไปตรงมา และครอบคลุมถึงประเด็น ของเรื่องท่ีเขียน ไมก่ วา้ งเกินไป มคี วามใหม่ นา่ สนใจกับเวลาและสถานการณ์ ➢ ชอ่ื ผูน้ พิ นธ์ (หลักและรวม) ใช้ชอื่ จริง พรอ้ มทั้งระบุ สงั กัด/หน่วยงาน เบอรโ์ ทรศัพท์ และ อีเมล์ ของผู้นิพนธ์ทุกคน (หากผู้นพิ นธ์มากกว่า 6 ทา่ น ให้ใส่ชอ่ื ผนู้ ิพนธค์ นแรกและคณะ) ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ *ตน้ ฉบับ จดั พิมพด์ ้วย Microsoft word ขนาดของอกั ษร 14 ทั้งเล่ม และใสเ่ ลขหนา้ ดา้ นขวาลา่ ง
คำแนะนำสำหรบั ผูน้ พิ นธ์ ประเภทท่รี บั ลงตีพิมพ์ ➢ บทความวจิ ัย เป็นงานวิจยั ท่ีเป็นการประเมนิ องค์ความรู้ในสาขาทเี่ กีย่ วข้อง ประกอบด้วย บทคดั ยอ่ ภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษ พร้อมทั้งคำสำคัญ และเน้ือหาบทความ ไดแ้ ก่ บทนำ วตั ถปุ ระสงค์ วิธกี ารวิจัย ผลการวิจยั สรปุ ผล และอภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะ และเอกสารอา้ งอิง ความยาวไมค่ วรเกิน 10-12 หน้า ➢ บทคดั ยอ่ (abstract) คอื การยอ่ เนอื้ หาสำคญั เฉพาะทจี่ ำเปน็ เทา่ นนั้ ระบตุ ัวเลขทางสถติ ทิ ส่ี ำคญั ใช้ภาษารัดกุมเปน็ ประโยชนส์ มบูรณ์ ความยาวไม่ควรเกิน 350 คำ ไมต่ ้องมเี ชิงอรรคอ้างอิง บัดคดั ยอ่ ต้องเขียนท้งั ภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษทีถ่ กู ต้องตรงกนั และมสี ่วนประกอบ ได้แก่ วัตถปุ ระสงค,์ วธิ ีการศกึ ษา, ผลการศึกษา (อย่างยอ่ ), สรุป และอภปิ รายผล, คำสำคญั (ไม่เกนิ 5 คำ) บทนำ เป็นส่วนหนง่ึ ของบทความท่ีอธบิ ายเหตุผล มขี อ้ มลู ทตุ ิยภูมทิ ช่ี ใี้ ห้เห็นปัญหาและเน้นเหตผุ ลทศี่ กึ ษาเพอ่ื นำไปสูก่ ารศกึ ษาให้ไดผ้ ลเพอ่ื แก้ปญั หา หรือตอบคำถามทีต่ ั้งไว้ พร้อมทง้ั ระบุวตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษาในส่วนทา้ ยบของบท นำ (ความยาวประมาณ 1 หนา้ ครงึ่ ) วิธกี ารศึกษา อธิบายข้อมลู และระเบยี บวิธวี ิจัยทีก่ ล่าวถึงระยะเวลาการศกึ ษา พ้นื ที่ แหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู กลมุ่ ตัวอย่างและวธิ กี ารรวบรวมขอ้ มลู วธิ กี ารเลือกตัวอยา่ งเครอื่ งมอื ในการวิจยั ตลอดจนการวเิ คราะห์ขอ้ มลู หรือใชห้ ลกั สถิตมิ า ประยกุ ต์ (ความยาวประมาณ 1หน้าครึง่ ) ผลการศึกษา อธิบายสิ่งทไ่ี ด้จากการวิจัยโดยเสนอหลักฐาน และข้อมลู อยา่ งเป็นระเบยี บ ไมซ่ ับซ้อนไม่มตี ัวเลขมาก หากมตี ัวเลขและตวั แปรมากควรใช้ตารางหรอื แผนภมู ิ โดยไม่ต้องอธบิ ายตัวเลขในตารางซ้ำอกี ในเน้ือเรื่อง ยกเว้นข้อมลู สำคญั ๆ พร้อมทัง้ แปลความหมายของผลทีค่ น้ พบ หรือวิเคราะห์ (ความยาวประมาณ 5 หนา้ ครง่ึ ทั้งนค้ี วรมตี ารางและแผนภมู ิ รวมกนั ไมเ่ กนิ 5 ภาพ) สรุปและอภิปรายผล เขียนสรุปเน้ือหาในงานวจิ ัยทั้งหมดทีก่ ลา่ วมาไม่ควรซ้ำซอ้ นกบั ผลการวจิ ยั แตเ่ ป็นการสรปุ ประเดน็ และสาระสำคัญใหส้ อดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคท์ ่ไี ดต้ ั้งเอาไว้ ขยายความผลการวจิ ัยทไ่ี ด้ว่าสอดคล้อง หรอื ไมส่ อดคล้อง กับกรอบแนวคิด และสมมุติฐานการวิจัยหรอื ไม่อย่างไร ขอ้ คน้ พบสนบั สนุนหรอื ขัดแยง้ กบั แนวคดิ ทฤษฎีรวมท้ังผลการวิจัยท่ี ผา่ นมาของใครบา้ ง และทำไมจึงเป็นเช่นนนั้ (ความยาวประมาณ 1 หนา้ ครึ่ง) ขอ้ เสนอแนะ เป็นการเขยี นจากผลการวจิ ัย ประกอบด้วยข้อเสนอแนะใน การนำผลวจิ ยั ไปใชใ้ นทางปฎิบัติ หรือ ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย และข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ตอ่ ไป ซึง่ การเขยี นข้อเสนอแนะดังกลา่ วต้องเขียน ภายใตข้ อ้ คน้ พบจาก การวิจัย เอกสารอ้างอิง การเรียงรายการอา้ งองิ ท้ายบทความนำรายการอ้างอิงมารวบรวมเขยี นไวท้ ท่ี า้ ยบทความ ภายใต้ หัวข้อรายการอา้ งองิ หรอื บรรณานุกรม โดยเรียงลำดบั หมายเลข 1, 2, 3, ...ตามท่ีปรากฎในเนอ้ื เรื่อง *ขอ้ ควรระวัง คอื ตวั เลขที่กำกบั ในเนื้อเรอื่ งจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ลำดบั ท่ใี นรายการอ้างองิ ทา้ ยบทความ
คำช ีแ้ คจำงแกนาะรนสำส่งำเรห่ือรงบั เผพนู้ ่อื ิพลนงธพ์ มิ พ์ คำแนะนำการเขียนเอกสารอ้างองิ แบบแวนคเู วอร์ (Vancouver style) การอา้ งอิง คอื การนำรายชือ่ เอกสาร สิ่งพมิ พ์หรอื บคุ คลทผ่ี ้เู ขยี นนำมากล่าวถึง หรอื อ้างองิ ในการเขยี น มารวบรวม ไว้อยา่ งมแี บบแผนทสี่ ว่ นท้ายของงานนพิ นธภ์ ายใตห้ วั ขอ้ เอกสารอา้ งอิง หรอื บรรณานุกรม และใชภ้ าษาอังกฤษว่า References หรือ Bibliography ซ่ึงรายการอ้างอิงน้นั มรี ปู แบบตามกฎเกณฑ์ท่กี ำหนด อย่างเป็นระบบในการเขยี นเอกสาร ทางวิชาการแพทย์และวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ โดยนิยมเขยี นเอกสารอา้ งอิงในรปู แบบแวนคเู วอร์ (Vancouver style) ตวั อยา่ งการอ้างองิ ระบบแวนคเู วอร์ 1. การอา้ งองิ บทความจากวารสาร ช่อื ผแู้ ตง่ . ชอ่ื บทความ. ช่อื วารสาร ปพี ิมพ์;เลม่ ที่ของวารสาร:หนา้ แรก-หนา้ สดุ ท้าย. ตัวอยา่ ง อรุณรตั น์ อรณุ เมือง. การพัฒนาคณุ ภาพการใหบ้ ริการงานควบคุม กำกบั ผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารสุขภาพ ก่อน ออกสู่ตลาด สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดชัยนาท. วารสารอาหารและยา 2561;25(1):53-63. Kane RA, Kane RL. Effect of genetic testing for risk of Alzheimer's disease. N Engl J Med 2009;361:298-9. 2. การอา้ งองิ เอกสารทเ่ี ป็นหนงั สอื ตำรา ชื่อผแู้ ตง่ . ชือ่ หนังสอื . ครั้งทีพ่ มิ พ.์ เมอื งท่ี พิมพ:์ สำนกั พิมพ์; ป.ี ตวั อย่าง รังสรรค์ ปญั ญาธัญญะ. โรคตดิ เช้อื ของระบบประสาทกลางในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพมิ พ์; 2536. Janeway CA, Travers P, Walporl M, Shlomchik M. Immunobiology. 5th ed. New York: Garland Publishing; 2001. 3. การอ้างองิ บทหน่ึงของหนงั สอื ทมี่ ีผ้เู ขียนเฉพาะบท และมีบรรณาธกิ ารของหนงั สือ ชอื่ ผ้เู ขยี น. ชือ่ บท. ใน: ชอื่ บรรณาธิการ, บรรณาธกิ าร. ช่ือ หนังสอื . ครงั้ ทพ่ี ิมพ์. เมืองท่พี ิมพ:์ สำนกั พิมพ;์ ปพี มิ พ.์ หน้า. หน้าแรก-หนา้ สดุ ท้าย. ตัวอยา่ ง เกรยี งศักดิ์ จรี ะแพทย์. การใหส้ ารน้ำและเกลือแร่. ใน: มนตรี ตูจ้ นิ ดา, วนิ ัย สวุ ตั ถ,ี อรณุ วงษจ์ ริ าษฎร,์ ประอร ชวลิตธำรง, พภิ พ จิรภญิ โญ, บรรณาธิการ. กุมารเวชศาสตร.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: เรือนแกว้ การพิมพ์; 2540. หน้า 424-78. Esclamado R, Cummings CW. Management of the impaired airway in adults. In: Cummings CW, Fredrickson JM, Harker LA, Krause CJ, Schuller DE, editors. Otolaryngology - head and neck surgery. 2nd ed. St. Louis, MO: Mosby Year Book; 1993. p. 2001-19.
คำแนะนำสำหรับผนู้ ิพนธ์ 4. เอกสารอ้างอิงท่ีเป็นหนงั สอื ประกอบการประชมุ /รายงานการประชมุ ชอื่ บรรณาธิการ, บรรณาธกิ าร. ช่อื เรือ่ ง. ชื่อการประชุม; วัน เดอื น ปีทีป่ ระชุม; สถานทจ่ี ดั ประชมุ . เมืองที่ พิมพ์: สำนกั พมิ พ;์ ปพี ิมพ์. ตวั อยา่ ง สขุ เกษม โฆษติ เศรษฐ, รตั นา เตียงทิพย.์ การหาโปรตนี ในปัสสาวะที่บ่งชโี้ รคไตด้วยวธิ ีโปรตนี โนมกิ ส.์ ใน: ขจร ลักษณช์ ยปกรณ์, บรรณาธกิ าร. ประชมุ วชิ าการคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ประจำปี 2552 Changes: new trends in medicine; วันท่ี 14-17 กรกฎาคม 2552; ณ ห้องประชมุ แพทยาโดม 2 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนยร์ งั สติ . กรุงเทพฯ:โรงพมิ พ์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์; 2552. หน้า 23-40. ฐิตมิ า สนุ ทรสัจ. การทำนายและการป้องกันการคลอดกอ่ นกำหนด. ใน: ประชมุ วิชาการคณะแพทยศาสตร์ ครง้ั ท่ี 30 Tracks and trends in healthcare; 6-8 สิงหาคม 2557; ณ อาคารเรยี นรวมและหอสมดุ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์. สงขลา; 2557. หน้า 73-7. 5. เอกสารอ้างอิงที่เปน็ วทิ ยานิพนธ์ ชื่อผู้นพิ นธ.์ ช่อื เรอื่ ง [ประเภท/ระดบั ปริญญา]. เมืองท่ีพมิ พ:์ มหาวทิ ยาลัย; ปีทไี่ ด้รับปรญิ ญา. ตัวอย่าง องั คาร ศรีชัยรัตนกลู . การศึกษาเปรยี บเทียบคณุ ภาพชีวติ ของผ้ปู ่วยโรคซมึ เศร้าชนิดเฉยี บพลนั และชนดิ เรอื้ รัง [วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ ]. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ; 2543. Kaplan SJ. Post-hospital home health care: the elderly's access and utilization [dissertation]. St. Louis, MO: Washington University; 1995. 6. อา้ งองิ เอกสารทเ่ี ปน็ กฎหมาย ช่ือหน่วยงานเจ้าของกฎหมาย. ชอ่ื กฎหมาย และปี. หนังสือทเ่ี ผยแพร่ เล่มที่, ตอนท่ี (ลงวันท่)ี . ตัวอยา่ ง พระราชกฤษฎีกาเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2521. ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ท่ี 95, ตอน ท่ี 30 ก ฉบบั พิเศษ (ลงวันท่ี 16 มีนาคม 2521). กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 281) พ.ศ. 2547 เรื่อง วัตถุเจอื ปนอาหาร. ราชกิจจานเุ บกษา ฉบบั ประกาศ ทว่ั ไป เล่มท่ี 121, ตอนพิเศษ 97 ง (ลงวันที่ 6 กันยายน 2547). 7. อา้ งอิงเอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ช่อื ผูน้ ิพนธ.์ ช่อื บทความ [ประเภทของส่ือ/วสั ด]ุ . ปี พมิ พ[์ เขา้ ถงึ เมอ่ื ปี เดือน วนั ท]่ี . เข้าถึงไดจ้ าก: http://…………. ตัวอย่าง ววิ ฒั น์ โรจนพิทยากร. การเขยี นเอกสารอ้างอิงในวารสารทางวิชาการโดยใช้ระบบแวนคูเวอร.์ วารสาร โรคตดิ ตอ่ [อนิ เทอรเ์ นต็ ]. 2541 [เข้าถึงเม่ือ 1 มี.ค. 2563];24:465-72. เขา้ ถึงได้จาก: http://stang.li.mahidol.ac.th/image/style.pdf Annas GJ. Resurrection of a stem-cell funding barrier-Dickey-Wicker in court. N Engl J Med [Internet]. 2010 [cited 2011 Jun 15];363:1687-9. Available from: http://www.nejm.org/doi/pdf/10.1056/NEJMp1010466
คำช แี้ คจำงแกนาะรนสำส่งำเรห่อื รงบั เผพู้น่อื ิพลนงธพ์ มิ พ์ 8. บทความวารสารท่ีมีหมายเลข Digital Object Identifier (DOI) ชื่อผู้แตง่ . ชอื่ บทความ. ช่อื ย่อวารสารปี;ปีท:่ี เลขหนา้ (ทีม่ ี e กำกับ). doi: xxxxxxxxxxx. หมายเลขประจำเอกสารใน ฐานข้อมลู PubMed:xxxxxxxx. ตัวอย่าง Winston F, Kassam-Adams N, Vivarelli O’Neill, Ford J, Newman E, Baxt C, et al, Acute stress disorder symptoms in children and their parents after traffic injury. Pediatrics 2002; 109:e90. doi: 10.1542/peds.109.6e90. PubMed PMID: 12042584. สถานทต่ี ิดตอ่ หอ้ งสมดุ ตกึ ศูนยแ์ พทยศาสตรโ์ รงพยาบาลอตุ รดิตถ์ ชั้น 1 ตกึ ศนู ย์แพทยศาสตร์ โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ เลขท่ี 38 ถนนเจษฎาบดินทร์ ตำบทา่ อฐิ อำเภอเมอื ง จังหวดั อตุ รดติ ถ์ รหัสไปรษณยี ์ 53000 โทร. 055 409 999 ต่อ 1412 -1413 โทร. 081 5336655 Email : [email protected]
คำช้แี จงการสง่ เร่อื งเพื่อลงพมิ พ์
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 Occupational Health Hazards and Health Status Related to Risk Among Personnel in Maintenance and Repair Department, Uttaradit Hospital Virongrong Charuchart Department of Occupational Medicine, Uttaradit Hospital ABSTRACT Objective : To study factors of occupational health hazards and health status related to risk among personnel in maintenance and repair department. Study Design : Descriptive study (Cross-sectional survey) Methods : Data are collected by using questionnaires which consist of personal information, occupational health hazards and health status related to risk factors. Yearly check-up data are collected by the personnel health promotion committee. Data are analyzed by using descriptive statistics. Results : This study shows that average age of this group was 45.1± 9.7 years and average of experi enced year was 17.1± 9.5 years and 90.3% were using personal protective equipment at work. Exposure of health hazards were 61.3% ergonomics (work down and tilt up), 32.3% from psychological hazard (urgent works) and physical hazard (loud noises). Health effects related to risk among personnel in maintenance and repair department were musculoskeletal disorders (64.5%), dust/ chemical allergy (51.6%) and stress disorders (38.7%). Occupational injuries were found only 32.3% and all of them were not severe. In terms of Body Mass Index (BMI) and blood total cholesterol except hypertension and chest x-rays, health status of this group were better than the other personnel in Uttaradit hospital. Conclusion : The main problems of occupational health hazards and health status related to risk among personnel in maintenance and repair department are ergonomics, chemical and psychological hazards respectively.Occupationalinjuries/accidentsamongthisgroupcouldbefoundbutnoserious conditions. Health promotion, health education and health risk communication should be done in this group. Keywords : Occupational Health Hazards, Health Status Related to Risk, Maintenance and Repair Department Contact : Virongrong Charuchart Address : Department of Occupational Medicine, Uttaradit Hospital. 38 Jesadabodin Road, Tha-it Subdistrict, Mueang District, Uttaradit Province, 53000.0 E-mail : [email protected] hscr ISSUE 1 1
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 ปจั จัยคกุ คามสขุ ภาพจากการทำ�งานและภาวะสุขภาพตามความเสย่ี งของบคุ ลากร แผนกซอ่ มบ�ำ รงุ โรงพยาบาลอตุ รดติ ถ์ วริ งคร์ อง จารชุ าต กลุม่ งานอาชวี เวชกรรม โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ บทนำ� วัตถุประสงค์ : เพ่ือศึกษาปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำ�งาน ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงของบุคลากรแผนกซ่อมบำ�รุง โรงพยาบาลอตุ รดิตถ์ รปู แบบการศกึ ษา : การศกึ ษาแบบพรรณนาเชงิ สำ�รวจ วิธีการศกึ ษา : บคุ ลากรแผนกซ่อมบ�ำ รุง โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ จำ�นวน 33 คน เครือ่ งมือทใ่ี ช้เป็นแบบสอบถามประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการทำ�งาน ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำ�งานและภาวะสุขภาพตามความเส่ียง วเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยสถติ เิ ชงิ พรรณนา ผลการศกึ ษา : บุคลากรมอี ายเุ ฉลย่ี 45.1± 9.7 ปี มปี ระสบการณก์ ารท�ำ งานหรอื อายุงานเฉลีย่ 17.1± 9.5 ปี รอ้ ยละ 90.3 มี การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในขณะปฏิบัติงาน การสัมผัสปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำ�งานท่ีพบมากที่สุด คือ ปัจจัยคุกคามสุขภาพด้านการยศาสตร์จากการก้ม/เงยศีรษะขณะทำ�งานเป็นประจำ�ร้อยละ 61.3 รองลงมาเป็นปัจจัยด้านจิต สังคมจากการทำ�งานอย่างเร่งรีบเพ่ือให้งานเสร็จตามเวลาร้อยละ 32.3 เท่ากันกับปัจจัยด้านกายภาพจากเสียงดัง ส่วนการ เจ็บป่วย/การบาดเจ็บท่ีอาจเกี่ยวเนื่องจากการสัมผัสปัจจัยคุกคามสุขภาพ จากการทำ�งานท่ีพบมากท่ีสุด คืออาการปวดระบบ โครงร่างกล้ามเนื้อ มีอาการปวดต้นคอ หลัง ไหล่ ร้อยละ 64.5 ปัจจัยคุกคามด้านเคมี พบมีอาการแพ้ฝุ่นหรือสารเคมีร้อยละ 51.6 และปัจจยั ดา้ นจติ สงั คมพบมีภาวะเครยี ด/กงั วลจากงานทเ่ี รง่ รบี ร้อยละ 38.7 การบาดเจ็บท่ีอาจเกี่ยวเนื่องจากสภาพการ ทำ�งานทีไ่ ม่ปลอดภัยพบเพียงรอ้ ยละ 32.3 พบวา่ บุคลากรแผนกซอ่ มบ�ำ รุงมดี ชั นีมวลกายผิดปกติและไขมันในเลอื ดสงู น้อยกว่า แตม่ ีภาวะความดนั โลหติ สูงและผลเอกซเรยป์ อดผิดปกติเป็นจ�ำ นวนมากกวา่ บคุ ลากรแผนกอื่นๆ ของโรงพยาบาล สรุปและข้อเสนอแนะ : ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำ�งานและส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อบุคลากรแผนกซ่อมบำ�รุง ท่ีเป็น ปัญหาหลักคือ ปัจจัยด้านการยศาสตร์ รองลงมาเป็นปัจจัยด้านเคมี ส่วนปัจจัยด้านจิตสังคมพบมีภาวะเครียด/กังวลที่เกิด จากงานเร่งรีบและความยากของงาน การได้รับบาดเจ็บจากทำ�งานพบไม่มากและไม่รุนแรงจนต้องหยุดงาน ดังน้ันในการจัด บริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจึงควรเน้นเร่ืองการสร้างเสริมสุขภาพ โดยเฉพาะการให้สุขศึกษาและส่ือสารข้อมูล ความเส่ียงจากการทำ�งาน เพ่ือสร้างความตระหนกั ในการทำ�งานทป่ี ลอดภยั ค�ำ ส�ำ คัญ : ปจั จยั คุกคามสขุ ภาพ, ภาวะสุขภาพตามความเสย่ี ง, บคุ ลากรแผนกซอ่ มบ�ำ รุง ตดิ ต่อ : วริ งคร์ อง จารุชาต สถานท่ีตดิ ต่อ : กลุม่ งานอาชวี เวชกรรม โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ 38 ถนนเจษฎาบดนิ ทร์ ต�ำ บลท่าอฐิ อ�ำ เภอเมือง จังหวดั อตุ รดิตถ์ 53000 อเี มล์ : [email protected] hscr ISSUE 1 2
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 บทน�ำ โรงพยาบาลเปน็ สถานบรกิ ารทางการแพทยท์ ม่ี ลี กั ษณะและกระบวนการท�ำ งานเหมอื นกบั โรงงานอตุ สาหกรรมหรอื สถานประกอบการ ทมี่ กี ารแบง่ แยกงานเปน็ แผนกตา่ งๆเชน่ งานรกั ษาพยาบาลผปู้ ว่ ยนอก/ผปู้ ว่ ยใน งานหอ้ งผา่ ตดั งานหอ้ งคลอด งานหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารชนั สตู ร งานซอ่ มบำ�รุง งานซักฟอก งานครัว งานจำ�กัดขยะ และของเสียต่างๆ เป็นตน้ บุคลากรท่ที ำ�งานในโรงพยาบาล (Healthcare workers) กจ็ ดั เปน็ กลมุ่ คนท�ำ งาน ทม่ี คี วามเสยี่ งตอ่ การเกดิ ปญั หาดา้ นสขุ ภาพและความปลอดภยั จากการท�ำ งาน เนอ่ื งจากตอ้ งปฏบิ ตั งิ านและสมั ผสั กับส่ิงคุกคามตอ่ สุขภาพอนามยั และความไม่ปลอดภยั ต่างๆ จากลกั ษณะงานทท่ี ำ�1,2,3 การท�ำ งาน ในโรงพยาบาลมสี ภาพการท�ำ งานทไี่ ม่ ปลอดภยั มลี ักษณะงานท่ตี ้องใช้เคร่อื งมอื หรืออุปกรณเ์ คร่ืองใช้ไฟฟา้ ทขี่ าดการบำ�รงุ รักษาหรอื ชำ�รดุ รวมทั้งพ้นื ทที่ ำ�งานทไี่ มเ่ ปน็ ระเบยี บ ทำ�ให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย4,5,6,7 จึงจำ�เป็นที่จะต้องดูแลสุขภาพบุคลากรในโรงพยาบาลให้มีสุขภาวะที่ดีและทำ�งานในโรงพยาบาลอย่าง ปลอดโรคปลอดภัยจากการทำ�งาน การดำ�เนินงานประเมินความเสี่ยงในการทำ�งานของบุคลากรในโรงพยาบาลจึงเป็นกิจกรรมหน่ึงของ การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลท่ีจะช่วยป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพของบุคลากรในโรงพยาบาลท่ีเกิดข้ึนจากการทำ�งาน และจะชว่ ยสนบั สนนุ การด�ำ เนนิ งานพฒั นาและรบั รองคณุ ภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน Hospital Accreditation (HA) และการพฒั นา โรงพยาบาลใหเ้ ปน็ สถานท่ีเพอ่ื การมีสขุ ภาพดี (Healthy setting) ภายใตก้ ระบวนการโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ ดงั น้ัน การด�ำ เนินงาน ประเมินความเสีย่ งจากการท�ำ งานของบุคลากรในโรงพยาบาล จงึ สามารถด�ำ เนินงานควบคไู่ ปกบั กระบวนการพัฒนาเปน็ โรงพยาบาลส่ง เสริมสุขภาพ และการพัฒนามาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล (HA) เพราะเปน็ สว่ นเสริม ซง่ึ กนั และกัน การดำ�เนนิ การทางด้านอาชวี เวชศาสตรน์ น้ั จะต้องมคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั สงิ่ คกุ คาม (hazard) การสมั ผัส (exposure) และ การประเมินความเส่ียง (risk assessment) หลักการของเรื่องนี้เป็นหลักการพ้ืนฐานท่ีสามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้กับการดำ�เนินงานแก้ไข ปญั หาทางดา้ นอาชวี เวชศาสตร7์ ,8,9 โดยสงิ่ คกุ คาม (hazard) หมายถงึ สง่ิ ใดๆ หรอื สภาวการณใ์ ดๆ กต็ าม ทมี่ คี วามสามารถกอ่ ปญั หาทาง สุขภาพต่อคนงานได้ ในการท่ีจะนำ�ปัจจัยคุกคามเร่ืองใดมาพิจารณาว่าเป็นประเด็นปัญหามากน้อยเพียงใด จะต้องดูโอกาสของการเกิด ปัญหาและปริมาณการสัมผัสเป็นหลัก โดยใช้หลักของการประเมินความเสี่ยง (risk assessment)10,11 บุคลากรแผนกซ่อมบำ�รุงของ โรงพยาบาลท�ำ หนา้ ทคี่ วบคมุ ก�ำ กบั ดแู ล งานซอ่ มอปุ กรณก์ ารแพทย์ งานชา่ งไฟฟา้ งานชา่ งโยธาและสขุ าภบิ าล งานชา่ งซอ่ มเครอื่ งท�ำ ความ เยน็ งานช่างเครอื่ งกล งานชา่ งเชอ่ื ม โดยจัดอย่ใู นกลุ่มงานโครงสร้างพืน้ ฐาน และวศิ วกรรมทางการแพทย์ ประกอบไปด้วยบคุ ลากร เชน่ วิศวกรโยธา/เคร่ืองกล/ไฟฟ้า/ส่ิงแวดล้อม นายช่างเทคนิคและเจ้าพนักงานธุรการ จากบทบาทหน้าท่ีและลักษณะการทำ�งานของคน งานแผนกซอ่ มบำ�รุงของโรงพยาบาลทม่ี ีความเสีย่ งตอ่ การเจ็บป่วย และบาดเจบ็ จากการท�ำ งานได้ ดงั ผลการศกึ ษา ของอรญั ขวัญปาน, ชนะกานต์ พงศาสนองกลุ 12 พบวา่ ชา่ งซอ่ มบ�ำ รงุ มกี ารปฏบิ ตั งิ านในทา่ ทางเดมิ ๆ เปน็ ระยะเวลานาน อกี ทงั้ ปฏบิ ตั งิ านในสภาพแวดลอ้ มที่ ไมเ่ หมาะสม จงึ มอี าการเจบ็ ปว่ ยทเ่ี กดิ จากการท�ำ งาน เชน่ ปวดตน้ คอ ปวดหลงั ปวดเอว ปวดแขน ปวดขาและเขา่ เกดิ ปญั หากบั สขุ ภาพตา คือ อาการปวดตา เคอื งตา ตาพรา่ และแสบตา และเกดิ การบาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุ เชน่ โดนของมคี มบาด โดนกระแทก การหกล้ม การ ตกจากทส่ี งู ฉตั รย์ ภุ า จโิ นรส, ชวพรพรรณ จนั ทรป์ ระสทิ ธ,ิ์ วนั เพญ็ ทรงค�ำ 13 พบมปี ระเดน็ ความเสย่ี งจากเครอื่ งจกั ร ความรอ้ น เสยี งดงั และท่าทางในการท�ำ งานทีไ่ มเ่ หมาะสม ก่อใหเ้ กดิ การบาดเจบ็ โรคปวดหลงั ปวดเอวและเม่ือยล้าจากการทำ�งานได้ และการศกึ ษาสทุ ิน ฤทธเ์ิ ดช14 พบว่าปัจจัยด้านเคมีจากน้ํายาท�ำ ความสะอาด รอ้ ยละ 88.8 ท่าทางการท�ำ งานทีไ่ มเ่ หมาะสม การกม้ หรือเงยศรี ษะ ร้อยละ 71.3 และด้านจติ สงั คม ร้อยละ 62.5 ทำ�ให้เกดิ อาการปวดเอว ปวดหลงั ปวดไหลแ่ ละความเครยี ดจากการท�ำ งาน จากข้อมูลการตรวจ สุขภาพตามความเสี่ยงจากระบบเฝา้ ระวังดา้ นอาชีวอนามยั และความปลอดภยั ของกลมุ่ งานอาชวี เวชกรรม (ปีงบประมาณ 2561-2563) พบวา่ บุคลากรแผนกซอ่ มบำ�รงุ มผี ลการตรวจสมรรถภาพการได้ยินผิดปกติ โดยมรี ะดบั การไดย้ นิ ลดลง ร้อยละ 35.3, รอ้ ยละ 60.0 และ ร้อยละ 91.7 ผลการตรวจสมรรถภาพปอดผิดปกติ ร้อยละ 20.0, รอ้ ยละ 8.3 และร้อยละ 10.0 ตามลำ�ดบั โดยพบความผิดปกติเป็น ลักษณะปอดอุดก้ัน (Obstructive pattern) ส่วนการตรวจวัดประเมินความเส่ียงด้านส่ิงแวดล้อม พบว่าท่ีทำ�งานท่ีมีระดับเสียงดังเกิน มาตรฐานคอื งานตัดเหล็ก/ตดั อลมู เิ นยี มและงานไม้ โดยมรี ะดบั ความดงั ของเสยี งเฉลย่ี 97.8 เดซเิ บล เอ (90.7 – 100.5 เดซิเบล เอ) ผวู้ จิ ยั จงึ สนใจท�ำ การศกึ ษาปจั จยั คกุ คามทางสขุ ภาพจากการท�ำ งาน ภาวะสขุ ภาพของบคุ ลากรแผนกซอ่ มบ�ำ รงุ โรงพยาบาลอตุ รดติ ถ์ เพอ่ื ท่ีจะสามารถระบุความเสี่ยง ปัญหาสุขภาพ และนำ�ข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการป้องกันปัจจัยคุกคามทางด้านสุขภาพจาก การทำ�งาน และส่งเสริมภาวะสขุ ภาพของแผนกซอ่ มบำ�รุงได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล hscr ISSUE 1 3
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อศกึ ษาปจั จยั คุกคามสุขภาพจากการท�ำ งานของบคุ ลากรแผนกซ่อมบ�ำ รงุ โรงพยาบาลอตุ รดิตถ์ 2. เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพตามความเสย่ี งของบุคลากรแผนกซอ่ มบำ�รงุ โรงพยาบาลอตุ รดิตถ์ กรอบแนวคิดทใี่ ชใ้ นงานวจิ ัย ผู้วิจัยประยุกต์แนวคิดด้านการพยาบาลชีวอนามัยของโรเจอร์ส (Rogers, 2003)15,16 ร่วมกับการทบทวนวรรณกรรมท่ี เก่ียวข้อง17,18,19 กล่าวคือ ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงเป็นการเจ็บป่วยและการบาดเจ็บที่เก่ียวเนื่องจากการทำ�งานที่เกิดจากการสัมผัส ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากสภาพแวดล้อมการทำ�งาน ประกอบด้วย ปัจจัยคุกคามด้านกายภาพ ด้านเคมี ด้านชีวภาพ ด้านการยศาสตร์ และดา้ นจติ สงั คม รวมทงั้ สภาพการท�ำ งานทไ่ี มป่ ลอดภยั กอ่ ใหเ้ กดิ การเจบ็ ปว่ ยหรอื อาการผดิ ปกตขิ องระบบตา่ งๆ ในรา่ งกาย เชน่ อาการ ผิดปกติของการได้ยิน อาการผิดปกติของผิวหนัง อาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ อาการผิดปกติของระบบโครงร่างกล้ามเน้ือ ความเครียดจากการทำ�งาน รวมถงึ การบาดเจบ็ ท่ีเกยี่ วเนือ่ งจากท�ำ งาน ขอบเขตของการวิจยั ประชากรท่ีศึกษา คือ บุคลากรที่ทำ�งานในแผนกซ่อมบำ�รุงของโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ ในปีงบประมาณ 2563 จำ�นวน 33 คน รวบรวมขอ้ มลู ในช่วงเดือนกนั ยายนถงึ ตลุ าคม 2563 วิธีด�ำ เนนิ การวจิ ัย การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) ประชากรคือ บุคลากรแผนกซ่อมบำ�รุงจำ�นวน 33 คน ใน โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ ประกอบไปด้วยงานช่างซ่อมอุปกรณ์การแพทย์ งานช่างไฟฟ้า งานช่างซ่อมเครื่องทำ�ความเย็น งานช่างเครื่องกล งานช่างเชื่อม งานช่างไม้ งานช่างทาสี งานช่างโยธาและสุขาภิบาล โดยสอบถามความสมัครใจและยินยอมเข้าร่วมการวิจัยในคร้ังน้ี หลังจากท่ีโครงร่างการวิจัยน้ีผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ (เลขที่ REC No.45/2563) และได้รับอนุญาตจากผู้อำ�นวยการโรงพยาบาล จึงขอความอนุเคราะห์จากกลุ่มงานโครงสร้างพื้นฐานและวิศวกรรมทางการแพทย์ เพ่ืออำ�นวยความสะดวกและช่วยเหลือประสานงานในการส่งแบบสอบถาม ชี้แจงและเก็บรวบรวมข้อมูลตามวันเวลาที่นัดหมาย ได้ทำ� การประสานกับทางคณะกรรมการดำ�เนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพบุคลากร โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ ขอข้อมูลสรุปผลการตรวจสุขภาพ ประจำ�ปี 2563 ของบุคลากรแผนกซ่อมบ�ำ รงุ น�ำ ขอ้ มลู ทไี่ ดม้ าทำ�การวิเคราะห์ เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการวจิ ัย เคร่อื งมือท่ีใช้เป็นแบบสอบถามปจั จยั คุกคามสุขภาพจากการทำ�งานและภาวะสุขภาพ ประกอบดว้ ย 3 ส่วน ไดแ้ ก่ 1) ขอ้ มูลส่วน บุคคลและประวตั กิ ารท�ำ งาน 2) ปจั จยั คกุ คามสขุ ภาพจากการทำ�งาน ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบหลกั คอื ปจั จัยคกุ คามสุขภาพจาก สภาพแวดล้อมการทำ�งานและสภาพการทำ�งาน โดยปัจจัยคุกคามสุขภาพจากสภาพแวดล้อมการทำ�งานมี 5 ด้าน ประกอบด้วยปัจจัย คุกคามด้านกายภาพ ด้านเคมี ด้านชีวภาพ ด้านการยศาสตร์และด้านจิตสังคม มีข้อคำ�ถามรวมจำ�นวน 25 ข้อ ส่วนสภาพการทำ�งาน ประกอบด้วย การทำ�งานกับอุปกรณ์/เคร่ืองมือของมีคม ความสะอาดและเป็นระเบียบของสถานท่ีทำ�งาน มีข้อคำ�ถามจำ�นวน 7 ข้อ ลกั ษณะค�ำ ตอบเปน็ แบบมาตรฐานประมาณคา่ 3 ระดับ คอื ไมเ่ คยสมั ผสั สมั ผัสบางครง้ั และสมั ผัสเปน็ ประจ�ำ 3) ภาวะสขุ ภาพตามความ เสย่ี งของบคุ ลากรแผนกซอ่ มบ�ำ รงุ ประกอบดว้ ยความเจบ็ ปว่ ยและการบาดเจบ็ ทเ่ี กยี่ วเนอื่ งจากการสมั ผสั ปจั จยั คกุ คามสขุ ภาพการท�ำ งาน โดยความเจบ็ ปว่ ยทเ่ี กย่ี วเนอ่ื งจากการสมั ผสั ปจั จยั คกุ คาม มขี อ้ ค�ำ ถามจ�ำ นวน 23 ขอ้ ลกั ษณะค�ำ ตอบเปน็ แบบใหเ้ ลอื กตอบวา่ มหี รอื ไมม่ ี ความเจ็บปว่ ย ส่วนการบาดเจบ็ หรอื อนั ตรายทีเ่ ก่ียวเน่อื งจากการสมั ผัส มีขอ้ คำ�ถาม จำ�นวน 5 ขอ้ ได้แก่ ลกั ษณะการบาดเจ็บ อวัยวะ หรือส่วนของร่างกายท่ีได้รับการบาดเจ็บ ความรุนแรงของการบาดเจ็บ และสาเหตุของการบาดเจ็บ ลักษณะคำ�ตอบเป็นแบบให้เลือก ตอบ แบบสอบถามได้ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าดัชนีความตรงของเนื้อหาท้ังฉบับเท่ากับ 1.0 และ วเิ คราะห์หาความเชื่อมน่ั ไดค้ า่ เทา่ กบั 0.8 hscr ISSUE 1 4
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 การรวบรวมขอ้ มลู ผู้วิจัยได้ดำ�เนินการขออนุญาตทำ�การวิจัยจากผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลอุตรดิตถ์และเสนอโครงร่างงานวิจัยต่อคณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัย โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ ผ่านความเห็นชอบ (เลขท่ี REC No.45/2563) จึงขอความอนุเคราะห์จากหัวหน้ากลุ่มงาน โครงสร้างพ้ืนฐานและวิศวกรรมทางการแพทย์ เพื่ออำ�นวยความสะดวกและช่วยเหลือประสานงานในการส่งแบบสอบถาม ช้ีแจงและ เก็บรวบรวมขอ้ มลู ตามวันเวลาท่ีนัดหมาย ไดท้ ำ�การประสานกบั ทางคณะกรรมการดำ�เนินงานดา้ นสง่ เสรมิ สุขภาพบุคลากร โรงพยาบาล อตุ รดติ ถ์ ขอขอ้ มลู สรปุ ผลการตรวจสขุ ภาพประจ�ำ ปี 2563 ของบคุ ลากร แผนกซอ่ มบ�ำ รงุ และน�ำ ขอ้ มลู ทไี่ ดม้ าท�ำ การวเิ คราะห์ จากการ สง่ แบบสอบถามไปใหบ้ ุคลากรแผนกซ่อมบ�ำ รงุ จำ�นวนท้งั หมด 33 ราย ได้รับการตอบกลับมาจำ�นวน 31 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 93.9 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ทำ�การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ด้วยสถติ เิ ชงิ พรรณนา (Descriptive statistics) ท้งั ข้อมลู สว่ นบคุ คลทั่วไป ข้อมูลปจั จัยคุกคามสขุ ภาพจาก การทำ�งาน ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงและภาวะสุขภาพท่ัวไปจากการตรวจสุขภาพประจำ�ปี นำ�มาแจกแจงความถ่ี คำ�นวณร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการศกึ ษา ผลการศึกษา พบว่ากลุ่มตวั อยา่ งส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 93.5 มีอายุอยู่ในช่วง 28 ถงึ 58 ปี โดยมีอายเุ ฉลี่ย 45.1± 9.8 ปี กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 80.6 มีสถานภาพสมรส/คู่ มีรายได้เฉล่ียตอ่ เดอื น 15,239.4 บาท (อย่ใู นชว่ ง 7,500 ถึง 47,480 บาท) โดยส่วนใหญ่ มีรายได้เพียงพอแต่ไม่เหลือเก็บร้อยละ 58.0 และร้อยละ 29.0 ไม่พอใช้/เป็นหนี้ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาระดับมัธยมปลาย หรือ ปวช. ร้อยละ 29.0 รองลงมาเป็นอนปุ ริญญา หรอื ปวส. ร้อยละ 25.8 และปริญญาตรี รอ้ ยละ 22.6 ด้านประสบการณก์ ารท�ำ งานมีอายงุ าน เฉลย่ี 17.1± 9.5 ปี โดยสว่ นใหญ่ร้อยละ 38.7 อยู่ในช่วง 21-30 ปี (ดงั ตารางท่ี 1) ตารางท่ี 1 ขอ้ มลู ท่วั ไป ขอ้ มลู ทว่ั ไป บุคลากรซอ่ มบ�ำ รงุ ( n=31ราย) สถานะเพศ ราย (รอ้ ยละ) - เพศชาย - เพศหญิง 29 (93.5) สถานภาพสมรส 2 (6.5) - คู่ 25 (80.6) - โสด 6 (19.4) อายุ (Mean±SD = 45.1± 9.7 ป)ี 4 (12.9) - 21 – 30 ปี 7 (22.6) - 31 – 40 ปี 9 (29.0) - 41 – 50 ปี 11 (35.5) - 51 ปีขึ้นไป 9 (29.0) ระดับการศกึ ษา 8 (25.8) - มัธยมศึกษาตอนปลายหรือ ปวช. 7 (22.6) - อนุปริญญาหรอื ปวส. 4 (12.9) - ปรญิ ญาตรี 3 (9.7) - ประถมศกึ ษา - มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ hscr ISSUE 1 5
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 ตารางท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไป (ตอ่ ) บุคลากรซ่อมบ�ำ รงุ ( n=31ราย) ราย (รอ้ ยละ) ข้อมลู ทั่วไป 7 (22.6) ลักษณะการท�ำ งาน 4 (12.9) - ชา่ งไฟฟา้ 4 (12.9) - ชา่ งเหล็ก 3 (9.7) - ช่างเครอื่ งมอื แพทย์ 3 (9.7) - ชา่ งแอร/์ เครือ่ งทำ�ความเย็น 2 (6.5) - ช่างโยธา/กอ่ สรา้ ง 2 (6.5) - ชา่ งเทคนิค 2 (6.5) - ช่างประปา 2 (6.5) - ช่างไม้ 1 (3.1) - ช่างปูน 1 (3.1) - ชา่ งสี - ชา่ งฝมี ือ 10 (32.3) ประสบการณก์ ารทำ�งาน/อายงุ าน (Mean±SD = 17.1± 9.5 ปี) 7 (22.6) - 0 – 10 ปี 12 (38.7) - 11 – 20 ปี 2 (6.4) - 21 – 30 ปี - 31 ปขี น้ึ ไป 4 (12.9) รายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ เดือน 18 (58.1) - พอใช้ เหลอื เกบ็ - พอใช้ ไม่เหลือเก็บ ดา้ นสุขภาพพบวา่ รอ้ ยละ 41.9 มีคา่ ดัชนมี วลกายอยรู่ ะหวา่ ง 23.0-24.9 กก./ตร.ม. หรือมีน้าํ หนักเกนิ รองลงมาร้อยละ 35.5 อยใู่ นเกณฑ์ปกติ (ระหว่าง 18.5-22.9 กก./ตร.ม.) พบมีภาวะอ้วนร้อยละ 22.6 สว่ นใหญ่ร้อยละ 64.5 ไมม่ โี รคประจำ�ตวั โดยสว่ นใหญ่ เป็น ความดันโลหติ สูงพบร้อยละ 22.6 ด้านพฤติกรรมสุขภาพพบวา่ ร้อยละ 61.3 ไมส่ ูบบุหรี่ ร้อยละ 19.4 เคยสูบมากอ่ นแตเ่ ลกิ สบู แล้ว มเี พียงรอ้ ยละ 16.1 ทสี่ บู ทุกวัน บคุ ลากรรอ้ ยละ 80.6 ชอบด่มื สุรา โดยสว่ นใหญด่ ่ืมเป็นบางวนั มเี พยี งรอ้ ยละ 6.4 ทดี่ ม่ื ประจ�ำ ทกุ วนั มีการออกกำ�ลงั กายเป็นบางวัน/ ไมส่ มา่ํ เสมอร้อยละ 80.6 ขอ้ มูลด้านพฤตกิ รรมการทำ�งานพบวา่ มเี พยี งร้อยละ 71.0 เคยไดร้ ับความรูท้ างดา้ นอาชวี อนามยั แตใ่ นกลมุ่ นี้ มจี �ำ นวนมากถงึ รอ้ ยละ 81.8 ทจี่ �ำ หวั ขอ้ เรอื่ งไมไ่ ด้ สว่ นเรอื่ งทจี่ �ำ กนั ไดค้ อื เรอื่ งอบุ ตั เิ หตจุ ากการท�ำ งานและการใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตราย สว่ นบคุ คล ในขณะปฏบิ ตั งิ านสว่ นใหญม่ กี ารใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล ถงึ รอ้ ยละ 90.3 โดยมกี ารใชห้ นา้ กากอนามยั มากทสี่ ดุ รองลงมาเปน็ ถงุ มือ แวน่ ตา/หน้ากาก/หมวกนริ ภัยและทีอ่ ดุ หู/เครื่องครอบหู ตามลำ�ดบั (ดังตารางที่ 2) hscr ISSUE 1 6
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 ตารางที่ 2 ขอ้ มลู พฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพ บคุ ลากรซอ่ มบำ�รุง (n=31ราย) ราย (ร้อยละ) ดชั นมี วลกาย - ปกติ (18.5 – 22.9 กก./ตร.ม.) 11 (35.5) - น้ําหนกั เกนิ (23 – 24.9 กก./ตร.ม.) 13 (41.9) - อว้ น (25 – 29.9 กก./ตร.ม.) 6 (19.4) - อ้วนมาก (30 กก./ตร.ม.ข้นึ ไป) 1 (3.2) พฤตกิ รรมการสบู บหุ รี่ - ไม่สูบ 19 (61.3) - สูบทกุ วนั 5 (16.1) - สูบเปน็ บางวนั 1 (3.2) - เคยสูบแต่เลกิ แล้ว 6 (19.4) พฤตกิ รรมการดมื่ สุรา - ไม่ด่ืม 6 (19.4) - ดมื่ ทกุ วนั 2 (6.4) - ด่มื เป็นบางวนั 20 (64.5) - เคยดืม่ แตเ่ ลิกแลว้ 3 (9.7) พฤติกรรมการออกกำ�ลังกาย - ไม่เคยออกกำ�ลังกายเลย 3 (9.7) - ออกก�ำ ลงั กายเปน็ บางวนั 25 (80.6) - ออกก�ำ ลังกายสม่าํ เสมอ 3 (9.7) โรคประจ�ำ ตวั - ไม่มี 20 (64.5) - มโี รคประจำ�ตวั 11 (35.5) - ความดันสูง 7 (22.6) - เบาหวาน, ไขมันในเลอื ดสงู , โรคเก๊าท,์ ไทรอยด,์ หอบหืด, โรคกระเพาะอาหาร, ตับอกั เสบ *(มโี รครว่ มกัน) 4 (12.9) พฤตกิ รรมการทำ�งาน การใชอ้ ปุ กรณ์ปอ้ งกนั อันตรายสว่ นบคุ คล - ไมใ่ ช้ 3 (9.7) - ใช้ 28 (90.3) - อปุ กรณท์ ีใ่ ช้ - ผา้ ปิดปาก/จมกู 26 (45.6) - ถุงมือ 13 (22.8) - แว่นตา/หนา้ กาก 10 (17.5) - ท่อี ุดห/ู ครอบหู 8 (14.1) การไดร้ ับความรู้เก่ยี วกบั อันตราย/การป้องกันโรคและอุบัติเหตุจากการท�ำ งาน - ไมเ่ คยได้รับ 9 (29.0) - เคยไดร้ บั 22 (71.0) - เร่ือง/ความรู้ท่ีเคยไดร้ บั มา - จ�ำ ไมไ่ ด้ 18 (81.8) - อุบัตเิ หตจุ ากการท�ำ งาน 2 (9.1) - การใชอ้ ปุ กรณ์ปอ้ งกนั อันตรายส่วนบคุ คล 2 (9.1) hscr ISSUE 1 7
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 ด้านขอ้ มลู การสัมผสั ปัจจยั คกุ คามสขุ ภาพจากการทำ�งานทพี่ บมากทส่ี ุด คอื ปัจจยั คกุ คามสุขภาพด้านการยศาสตร์ โดยพบว่ากลมุ่ ตัวอย่างมีการก้ม/เงยศีรษะขณะทำ�งานเป็นประจำ�ร้อยละ 61.3 มีการกระดกข้อมือขึ้น-ลงซํ้าๆ ในขณะทำ�งานร้อยละ 41.9 มีท่าทาง บดิ เอยี้ วตวั /เอยี งตวั ขณะท�ำ งาน มกี ารกม้ โคง้ ตวั ไปขา้ งหนา้ หรอื เอนไปดา้ นหลงั ขณะท�ำ งานและมกี ารใชแ้ รงแขนทอ่ นลา่ งท�ำ งานซา้ํ ๆ รอ้ ยละ 38.7 เท่ากัน รองลงมาคือปัจจัยคุกคามสุขภาพด้านกายภาพพบเสียงดังจากอุปกรณ์/เครื่องมือและสัมผัสการส่ันสะเทือนเป็นประจำ� ร้อยละ 32.2 และร้อยละ 22.6 ตามล�ำ ดับ (ดังตารางท่ี 2) สว่ นปัจจยั คุกคามสุขภาพดา้ นเคมี พบว่ากลุม่ ตัวอย่างรอ้ ยละ 16.1 ท�ำ งาน สมั ผสั สารเคมี ฝนุ่ ไอ กา๊ ซหรอื โลหะหนกั ในกระบวนการท�ำ งาน ส�ำ หรบั ปจั จยั คกุ คามสขุ ภาพดา้ นจติ สงั คม กลมุ่ ตวั อยา่ งมปี ญั หาจากการ ท�ำ งานอยา่ งเร่งรบี เพอ่ื ให้งานเสร็จตามเวลามากที่สุดรอ้ ยละ 32.3 รองลงมาคือเรอื่ งรายได้หรือคา่ ตอบแทนทีไ่ ม่แน่นอน พบรอ้ ยละ 16.1 ส่วนสภาพการทำ�งานทไ่ี ม่ปลอดภยั พบว่ากล่มุ ตัวอย่างท�ำ งานกับเครอ่ื งมือ/เคร่ืองจักร/อุปกรณ์ท่ใี ชไ้ ฟฟา้ ร้อยละ 38.7 อุปกรณ์/เครือ่ ง มือของมคี ม รอ้ ยละ 29.0 (ดังตารางที่ 3) ตารางที่ 3 ขอ้ มลู การสัมผัสปัจจยั คกุ คามสุขภาพจากการทำ�งาน (n = 31 ราย) ลกั ษณะท่ีศกึ ษา ความถ่ขี องการสัมผัส ราย (รอ้ ยละ) เป็นประจำ� บางครง้ั ไมเ่ คย ราย(ร้อยละ) ราย(ร้อยละ) ราย(รอ้ ยละ) 1. ดา้ นกายภาพ 1.1 เสยี งดงั 10 (32.2) 18 (58.1) 3 (9.7) 1.2 ความส่ันสะเทอื น 7 (22.6) 16 (51.6) 8 (25.8) 1.3 ความรอ้ น 4 (12.9) 22 (71.0) 5 (16.1) 1.4 แสงสวา่ งมากเกิน/แสงจ้า 4 (12.9) 21 (67.7) 6 (19.4) 2. ดา้ นเคมี 2.1 สัมผัสสารเคม ี 5 (16.1) 14 (45.2) 12 (38.7) 2.2 กลน่ิ ของสารเคมี 4 (12.9) 19 (61.3) 8 (25.8) 2.3 ฝุ่น ไอ กา๊ ซหรือโลหะหนัก 5 (16.1) 20 (64.5) 6 (19.4) 2.4 ละอองสี 4 (12.9) 17 (54.8) 10 (32.3) 3. ดา้ นชวี ภาพ 3.1 อปุ กรณ์เคร่ืองใช้ที่มกี ารปนเปื้อนเลือดหรือสารคัดหล่งั ของผปู้ ่วย 1 (3.2) 15 (48.4) 15 (48.4) 3.2 เชื้อรา/แบคทีเรียทปี่ นเป้ือนกบั โลหะ/อุปกรณ ์ 5 (16.1) 15 (48.4) 11 (35.5) 4. ด้านการยศาสตร ์ 4.1 การก้มหรอื เงยศรี ษะขณะท�ำ งาน 19 (61.3) 10 (32.3) 2 (6.4) 4.2 การกม้ -โคง้ ตัวไปดา้ นหน้าหรือเอนไปด้านหลัง 12 (38.7) 16 (51.6) 3 (9.7) 4.3 การบิดเอยี้ วตวั ขณะทำ�งาน 12 (38.7) 15 (48.4) 4 (12.9) 4.4 ยกแขนอยเู่ หนอื ระดับไหล่ ซํ้าๆ 9 (29.0) 19 (61.3) 3 (9.7) 4.5 การใชแ้ รงแขนทอ่ นลา่ งต้ังแต่ขอ้ ศอกถึงข้อมือซํ้าๆ 12 (38.7) 15 (48.4) 4 (12.9) 4.6 การบดิ เกร็งข้อมือในการจบั อปุ กรณ์ตา่ งๆ 9 (29.0) 18 (58.1) 4 (12.9) 4.7 การกระดกข้อมือขนึ้ -ลงซาํ้ ๆ 13 (41.9) 15 (48.4) 3 (9.7) 4.8 ออกแรงยกวสั ดุหรือสิง่ ของที่มีน้ําหนกั มาก 4 (12.9) 21 (67.7) 6 (19.4) 4.9 ยนื ทำ�งานเปน็ เวลานานเกนิ 2 ชัว่ โมง 5 (16.1) 20 (64.5) 6 (19.4) 4.10 น่ังทำ�งานเปน็ เวลานานเกิน 2 ชั่วโมง 4 (12.9) 16 (51.6) 11 (35.5) hscr ISSUE 1 8
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 ตารางที่ 3 ขอ้ มูลการสัมผัสปัจจยั คุกคามสขุ ภาพจากการทำ�งาน (n = 31 ราย) (ตอ่ ) ลกั ษณะที่ศึกษา ความถข่ี องการสัมผัส ราย (ร้อยละ) รเาปย็น(รปอ้ รยะลจะำ�) ราบย(ารง้อคยรลงั้ ะ) รายไ(มร่เ้อคยยละ) 5. ด้านจติ สังคม 5.1 งานเรง่ รบี 10 (32.3) 20 (64.5) 1 (3.2) 5.2 งานยงุ่ ยาก ซับซ้อนเกินความสามารถ 2 (6.4) 22 (71.0) 7 (22.6) 5.3 รายไดห้ รือค่าตอบแทนท่ีไม่แน่นอน 5 (16.1) 12 (38.7) 14 (45.2) 5.4 ขัดแย้งกับเพือ่ นร่วมงาน 1 (3.2) 8 (25.8) 22 (71.0) 5.5 ขัดแยง้ กับหัวหนา้ งาน 1 (3.2) 5 (16.1) 25 (80.7) 6. สภาพการท�ำ งาน 6.1 เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ ไมไ่ ดม้ กี ารติดตงั้ เครือ่ งปอ้ งกนั อนั ตราย 1 (3.2) 17 (54.9) 13 (41.9) 6.2 ใชเ้ ครอ่ื งมอื /เคร่อื งจักรทเ่ี ปน็ อปุ กรณไ์ ฟฟ้า 12 (38.7) 16 (51.6) 3 (9.7) 6.3 ใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมอื ท่เี ป็นของมีคม 9 (29.0) 18 (58.1) 4 (12.9) 6.4 ใช้อปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ทม่ี ีการช�ำ รดุ เสียหาย 4 (12.9) 12 (38.7) 15 (48.4) 6.5 จัดเก็บวัสดอุ ปุ กรณ์เปน็ ระเบียบเรยี บร้อย 14 (45.2) 17 (54.8) 0 (0.0) 6.6 ไม่มวี สั ดุอุปกรณ์ใดๆ กดี ขวางทางเดิน 6 (19.4) 21 (67.7) 4 (12.9) 6.7 สถานท่ที �ำ งานแห้งสะอาด ไมม่ ีพ้นื ลื่นหรือน้ําขงั 11 (35.5) 14 (45.2) 6 (19.3) ขอ้ มลู ภาวะสขุ ภาพตามความเสยี่ ง ผลการศกึ ษาพบวา่ การเจบ็ ปว่ ย/การบาดเจบ็ ทอี่ าจเกยี่ วเนอื่ งจากการสมั ผสั ปจั จยั คกุ คามสขุ ภาพ หรอื สภาพแวดล้อมจากการท�ำ งานทพ่ี บมากที่สุด คือปจั จัยด้านการยศาสตร์ ได้แก่ อาการปวดระบบโครงรา่ งกล้ามเนอื้ โดยกลมุ่ ตวั อย่าง มีอาการปวดต้นคอ หลัง ไหล่ ร้อยละ 64.5 รองลงมามีอาการปวดเอว ร้อยละ 48.4 ปัจจัยคุกคามด้านเคมีพบมีอาการน้ํามูกไหล ไอ จาม ร้อยละ 51.6 และระคายเคืองตา แสบตา คนั ตา รอ้ ยละ 41.9 สว่ นปจั จัยด้านจติ สงั คมเป็นเร่อื งภาวะเครียด/กังวลจากงานที่เรง่ รบี ร้อยละ 38.7 และร้อยละ 29.0 เป็นอาการเครียด/กังวลจากความยากของงานท่ีรับผิดชอบ ด้านปัจจัยคุกคามด้านชีวภาพ พบว่ามีผ่ืน คนั ตามผวิ หนังตามลำ�ตวั แขน ขาจากเช้อื รา/เชื้อโรค รอ้ ยละ 29.0 สว่ นปัจจัยด้านกายภาพพบมีอาการเหนือ่ ย อ่อนเพลีย เสยี เหง่ือจาก อากาศรอ้ นมากทส่ี ุด ร้อยละ 32.3 รองลงมาเป็นการมองเห็นไมช่ ดั เจน/ตาพร่ามวั ร้อยละ 29.0 (ดังตารางท่ี 4) hscr ISSUE 1 9
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 ตารางท่ี 4 ขอ้ มลู ภาวะสุขภาพตามความเสีย่ ง (n = 31 ราย) การเจบ็ ปว่ ย/การบาดเจบ็ ทอี่ าจเกี่ยวเนอ่ื งกบั การสมั ผัส มี ไม่มี ปัจจัยคุกคามสขุ ภาพจากการทำ�งาน ราย (ร้อยละ) ราย (ร้อยละ) 1. ปัจจยั คุกคามด้านกายภาพ 1.1 ไดย้ ินเสยี งพูดคยุ ไมช่ ดั / ต้องพูดเสยี งดังจึงไดย้ ิน 7 (22.6) 24 (77.4) 1.2 หอู ือ้ หรือมีเสยี งแมลงหว่ดี ังในห ู 5 (16.1) 26 (83.9) 1.3 วงิ เวยี นศีรษะร่วมกบั อาการไดย้ ินผดิ ปกติของหู 1 (3.2) 30 (96.8) 1.4 อาการชาตามอวยั วะตา่ ง ๆ 6 (19.4) 25 (80.6) 1.5 มองเห็นไม่ชดั เจน หรือตาพร่ามัว 9 (29.0) 22 (71.0) 1.6 เหนอ่ื ย อ่อนเพลยี เสยี เหง่ืองา่ ยจากอากาศร้อน 10 (32.3) 21 (67.7) 2. ปจั จยั คกุ คามด้านเคม ี 2.1 ระคายเคืองตา แสบตา คันตา 13 (41.9) 18 (58.1) 2.2 เกิดผืน่ คนั ตามผิวหนัง มือ แขน ลำ�ตัว 9 (29.0) 22 (71.0) 2.3 นํา้ มกู ไหล ไอ จาม 16 (51.6) 15 (48.4) 2.4 หอบ หืด หายใจล�ำ บาก 4 (12.9) 27 (87.1) 2.5 แสบจมกู 9 (29.0) 22 (71.0) 2.6 ปวดศรี ษะ เวยี นศรี ษะ มึนงงคลน่ื ไสอ้ าเจียน 5 (16.1) 26 (83.9) 3. ปจั จยั คุกคามด้านชวี ภาพ 3.1 ผ่ืนคันตามผิวหนงั ตามล�ำ ตัว แขน ขาจากเชื้อรา/เชื้อโรค 9 (29.0) 22 (71.0) 3.2 อาการตดิ เช้อื ระบบทางเดนิ หายใจ 4 (12.9) 27 (87.1) 4. ปจั จยั ดา้ นการยศาสตร ์ 4.1 ปวดต้นคอ หลงั ไหล่ 20 (64.5) 11 (35.5) 4.2 ปวดแขน ขอ้ ศอก มือ ข้อมอื 13 (41.9) 18 (58.1) 4.3 ปวดเอว 15 (48.4) 16 (51.6) 4.4 ปวดขา นอ่ ง เขา่ ข้อเท้า สน้ เท้า 7 (22.6) 24 (77.4) 5. ปจั จยั ด้านจิตสังคม 5.1 เครียด/กงั วลจากงานที่เรง่ รีบ 12 (38.7) 19 (61.3) 5.2 เครียด/กงั วลจากความยากของงานทร่ี บั ผิดชอบ 9 (29.0) 22 (71.0) 5.3 เครยี ด/กังวลจากรายได้หรือค่าตอบแทนทีไ่ ม่แนน่ อน 7 (22.6) 24 (77.4) 5.4 เครียด/กังวลจากความขดั แยง้ กับเพอื่ นร่วมงาน 4 (12.9) 27 (87.1) สำ�หรบั การบาดเจ็บที่อาจเก่ยี วเนอ่ื งจากสภาพการท�ำ งานท่ีไม่ปลอดภยั ในช่วง 3 เดือนที่ผา่ นมาของกลุ่มตวั อยา่ ง พบร้อยละ 32.3 โดยสว่ นใหญพ่ บเพยี งคนละ 1-2 ครงั้ มสี าเหตเุ กดิ จากการถกู วตั ถหุ รอื สง่ิ ของกระแทก/ชน รอ้ ยละ 38.4 รองลงมาเกดิ จากมดี หรอื อปุ กรณ์ ของมคี มตดั /บาด/ทม่ิ แทงรอ้ ยละ 30.8 และสะดุดส่งิ ของทวี่ างในบริเวณท�ำ งาน ตามลำ�ดบั ลกั ษณะการบาดเจ็บเปน็ เพียงอาการเคล็ด/ ขัดยอกร้อยละ 61.5 และเป็นแผลฉีกขาด/บาดแผลต้ืนร้อยละ 23.1 โดยอวัยวะ/ส่วนของร่างกายท่ีได้รับบาดเจ็บบ่อยที่สุด ได้แก่ มือ/ น้ิวมือร้อยละ 61.1 รองลงมาเป็นที่เท้าร้อยละ 16.6 การบาดเจ็บท่ีเกิดข้ึนท้ังหมดทุกราย เป็นการบาดเจ็บเล็กน้อยโดยไม่ต้องหยุดงาน (ดงั ตารางที่ 5) hscr ISSUE 1 10
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 ตารางท่ี 5 การบาดเจบ็ ทเี่ กย่ี วเนอ่ื งจากการท�ำ งาน บุคลากรซ่อมบำ�รุง( n=31 ราย) ข้อมูลการบาดเจบ็ ราย (รอ้ ยละ) ไมเ่ คยมกี ารได้รับบาดเจบ็ 21 (67.7) เคยมกี ารไดร้ บั บาดเจบ็ 10 (32.3) ลักษณะการบาดเจ็บ ( n= 13 ครั้ง) - เคล็ด ขัดยอก ฟกช้ํา 8 (61.5) - แผลฉีกขาด บาดแผลต้ืน 3 (23.1) - บาดแผลไหม้ 2 (15.4) อวัยวะ/ส่วนของร่างกายท่ีได้รบั บาดเจบ็ 11 (61.1) - มอื นิ้วมอื ข้อมอื 3 (16.6) - เทา้ ข้อเทา้ 2 (11.1) - ตา 1 (5.6) - ขา น่อง 1 (5.6) - ลำ�ตัว 5 (38.4) สาเหตุของการบาดเจบ็ ( n= 13 ครงั้ ) 4 (30.8) - วตั ถุหรือสิ่งของกระแทก/ชน 2 (15.4) - มดี /อปุ กรณ์มีคม ตัด บาด ทิ่มแทง 2 (15.4) - เศษวสั ดุหรอื น้าํ ยาเคมีกระเดน็ ใส่ 13 (100.0) - สะดุดส่งิ ของบรเิ วณท่ที �ำ งาน 0 ความรุนแรงของการบาดเจบ็ ( n= 13 ครง้ั ) 0 - บาดเจบ็ เลก็ นอ้ ยโดยไมต่ อ้ งหยดุ งาน - บาดเจ็บโดยต้องหยดุ งานน้อยกวา่ 3 วนั - บาดเจบ็ โดยต้องหยุดงานตัง้ แต่ 3 วันขน้ ไป ขอ้ มลู สรปุ ผลการตรวจสขุ ภาพประจ�ำ ปี พ.ศ.2563 จากคณะกรรมการด�ำ เนนิ งานดา้ นสง่ เสรมิ สขุ ภาพบคุ ลากรโรงพยาบาลอตุ รดติ ถ์ มดี งั นคี้ ือ จ�ำ นวนบคุ ลากรท้ังหมด 1,996 คน มารบั การตรวจ 1,921 คนหรอื คิดเปน็ ร้อยละ 96.2 เมอื่ เปรยี บเทียบกบั แผนกซ่อมบ�ำ รงุ ท่ี มารับการตรวจครบทงั้ หมด 33 คน รอ้ ยละ 100 พบว่าบคุ ลากรแผนกซอ่ มบำ�รงุ มดี ัชนีมวลกายสงู กวา่ ปกติ (มีภาวะอ้วน) มรี ะดับไขมนั ในเลอื ดสงู กวา่ ปกติ มจี �ำ นวนนอ้ ยกวา่ บคุ ลากรโดยรวมของโรงพยาบาล มรี ะดบั นา้ํ ตาลในเลอื ดสงู กวา่ ปกติ ในจ�ำ นวนใกลเ้ คยี งกบั บคุ ลากร โดยรวม แตม่ ภี าวะความดนั โลหติ สงู รอ้ ยละ 48.5 และผลเอกซเรยป์ อดผดิ ปกติ เปน็ จ�ำ นวนมากกวา่ บคุ ลากรโดยรวม โดยมผี ลการตรวจ เอกซเรย์ผิดปกตจิ �ำ นวน 2 ราย รอ้ ยละ 6.1 พบว่าเปน็ มะเร็งทปี่ อดจากประวัตกิ ารสบู บหุ ร่จี ัด สบู มานานโดยมภี รรยาทีต่ รวจพบวา่ เป็น มะเรง็ ปอดมากอ่ นดว้ ยและสว่ นอกี รายพบเปน็ นว่ิ ในถงุ น�้ำ ดี ซง่ึ ทงั้ สองรายไมพ่ บวา่ มปี จั จยั เสยี่ งหรอื สาเหตมุ าจากการท�ำ งานและไดม้ กี าร สง่ ตัวเข้ารับการตรวจรกั ษาจากแพทย์ตอ่ ไป (ดงั ตารางท่ี 6) hscr ISSUE 1 11
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 ตารางที่ 6 ผลการตรวจสุขภาพของบคุ ลากร แผนกซอ่ มบ�ำ รุง ประจ�ำ ปี 2563 (n = 33 ราย) ขอ้ มลู สุขภาพ ร้อยละ 1. มดี ชั นีมวลกายสูงกวา่ ปกต ิ 24.2 2. มีภาวะความดนั โลหิตสูง 48.5 3. มรี ะดบั นา้ํ ตาลในเลอื ดสูงกว่าปกต ิ 4.0 4. มรี ะดับไขมันในเลือดสงู กวา่ ปกต ิ 4.0 5. มผี ลเอกซเรยป์ อดผดิ ปกติ 6.1 อภิปราย บคุ ลากรแผนกซอ่ มบ�ำ รงุ มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบดแู ลอาคารสถานที่ บรหิ ารจดั การความพอเพยี ง/พรอ้ มใช้ บ�ำ รงุ รกั ษาเครอื่ งมอื อปุ กรณ์ ทางการแพทย์ เคร่ืองใชแ้ ละครภุ ณั ฑ์ประจ�ำ อาคารสถานที่ สิง่ แวดลอ้ มและภูมทิ ศั น์ของโรงพยาบาล ซงึ่ มีลักษณะงานที่หลากหลาย จึง จำ�เปน็ ต้องมีบุคลากรทม่ี คี ุณวฒุ ิ และความสามารถทเ่ี ฉพาะเหมาะสมกับกิจกรรมหรือภาระงานท่ีตอ้ งรบั ผดิ ชอบควบคมุ ก�ำ กับ ดูแล โดย มบี คุ ลากรจ�ำ นวน 33 คน ซง่ึ เพยี งพอ และอยใู่ นเกณฑต์ ามกรอบอตั ราก�ำ ลงั (FTE) ทกี่ ระทรวงก�ำ หนดไวค้ อื จ�ำ นวน 33.6 คน (คดิ รอ้ ยละ 80 จากกรอบอตั รากำ�ลงั 40 คน) ประกอบดว้ ยช่างไฟฟ้า ช่างซอ่ มเครือ่ งมอื แพทย์ ชา่ งเหลก็ ช่างโยธา/กอ่ สรา้ ง ช่างแอร์/เคร่อื งท�ำ ความ เย็น ชา่ งประปา เป็นตน้ บคุ ลากรส่วนใหญ่มีอายคุ ่อนขา้ งสงู (อายุเฉล่ยี 45.1±9.7 ป)ี อาจจะมปี ัญหาเรอ่ื งความปลอดภยั ในการทำ�งาน โดยเฉพาะงานที่ทำ�กับเคร่ืองจักรกล การออกแรงท่ีต้องใช้กำ�ลังมากๆ หรืองานท่ีใช้สายตา1,3,4,6 บุคลากรมีรายได้ไม่พอใช้ เป็นหนี้ สูงถึง ร้อยละ 29.0 สขุ ภาพทว่ั ไปอย่ใู นเกณฑ์ที่ดี โดยส่วนใหญม่ ดี ัชนีมวลกายอยใู่ นเกณฑ์น้ําหนักเกนิ มากรอ้ ยละ 41.9 และมีภาวะอ้วนรอ้ ยละ 22.6 เปรยี บเทียบกบั ข้อมลู จากผลการส�ำ รวจสขุ ภาพประชาชนไทยครัง้ ที่ 5 พ.ศ.255719 ท่ีพบสงู ถงึ ร้อยละ 37.5 (ชายพบร้อยละ 32.9) อาจ เนื่องมาจากบุคลากรส่วนใหญ่มีอายุค่อนข้างมาก มีการออกกำ�ลังกายไม่สมํ่าเสมอ ลักษณะงานเป็นงานเบาและมีพฤติกรรมการดื่มสุรา สูงถึงร้อยละ 70.9 และพบวา่ มากกว่า 1 ใน 3 ของบุคลากรกลุ่มนี้ (ร้อยละ 35.5) มีโรคประจ�ำ ตัว คือเป็นโรคความดนั โลหติ สูง ร้อยละ 22.6 เบาหวาน รอ้ ยละ 3.2 และไขมันในเลือดสูง รอ้ ยละ 3.2 ซ่ึงมีอัตราความชุกตา่ํ กว่าเม่อื เปรยี บเทียบกบั ข้อมลู ผลการส�ำ รวจสุขภาพ ประชาชนไทยทั่วไปท่พี บ รอ้ ยละ 24.7 ร้อยละ 8.8 และร้อยละ 16.4 ตามลำ�ดับ มพี ฤติกรรมการดมื่ สรุ าสงู ถึง รอ้ ยละ 70.9 แต่คนท่ีดื่ม ทุกวันพบเพียง ร้อยละ 6.4 ซ่งึ ใกลเ้ คยี งกบั ความชุกในการด่ืมของประชากรชายไทยท่พี บ ร้อยละ 6.1 มกี ารสบู บหุ ร่ีเปน็ ประจำ� รอ้ ยละ 16.1 ความชกุ ของการสบู บหุ รตี่ า่ํ กวา่ ประชากรชายไทยทวั่ ไปทพ่ี บสงู ถงึ รอ้ ยละ 31.119 และสว่ นใหญม่ กี ารออกก�ำ ลงั กายแตไ่ มส่ มา่ํ เสมอ บคุ ลากรมปี ระสบการณ์ในการท�ำ งานมานานโดยพบมากท่ีสุดในช่วง 21-30 ปี สอดคลอ้ งกับอายตุ วั ที่สูงเชน่ กัน มีพฤตกิ รรมการทำ�งาน ที่ดโี ดยมีการใชอ้ ุปกรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คลสงู ถึง รอ้ ยละ 90.3 ปจั จยั คกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอ้ มการท�ำ งานของบคุ ลากรแผนกซอ่ มบ�ำ รงุ พบวา่ มปี จั จยั คกุ คามสขุ ภาพดา้ นการยศาสตรเ์ ปน็ ส่วนมาก สาเหตจุ ากลักษณะทา่ ทางในการทำ�งานมีการก้ม/เงยศีรษะขณะท�ำ งานเป็นประจำ� มีการกระดกขอ้ มอื ข้นึ -ลงซา้ํ ๆ มที ่าทางบดิ เอย้ี วตวั /เอยี งตวั และมกี ารกม้ โคง้ ตวั ไปขา้ งหนา้ หรอื เอนไปดา้ นหลงั ขณะท�ำ งานรวมถงึ มกี ารใชแ้ รงแขนทอ่ นลา่ งท�ำ งานซาํ้ ๆ เปน็ ประจ�ำ รองลงมา คอื ปจั จยั คุกคามสขุ ภาพด้านกายภาพ พบมกี ารสมั ผัสเสยี งดงั จากอปุ กรณ/์ เคร่อื งมอื และการสัน่ สะเทอื นเป็นประจ�ำ ซึง่ เปน็ ไป ตามลกั ษณะการท�ำ งานของงานซอ่ มบ�ำ รงุ เพราะเปน็ งานซอ่ มทมี่ สี าเหตมุ าจากการเสอื่ มสภาพ การช�ำ รดุ จากการรอื้ ถอน ปรบั ปรงุ อาคาร และงานติดตั้งอุปกรณ์ใหม่เพิ่มเติม โดยส่วนใหญ่จะปฏิบัติงานทั้งภายนอกและภายในอาคารสำ�นักงาน8,9,12,18 ส่วนปัจจัยด้านจิตสังคม พบว่า มีปัญหาจากการทำ�งานอย่างเร่งรีบเพื่อให้งานเสร็จตามเวลามากท่ีสุด รองลงมาคือ เรื่องรายได้หรือค่าตอบแทนที่ไม่แน่นอน ซึ่ง สอดคล้องกับข้อมูลท่ัวไปที่พบว่า ร้อยละ 29.0 มีปัญหารายได้ไม่พอใช้/เป็นหนี้ ส่วนปัญหางานยุ่งยาก ซับซ้อนเกินความสามารถและ hscr ISSUE 1 12
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 ความขัดแย้งกับเพื่อนร่วมงานหรือหัวหน้างานพบว่ามีน้อย ด้านสภาพการทำ�งานท่ีไม่ปลอดภัย พบว่าบุคลากรต้องมีการใช้เคร่ืองมือ/ เคร่ืองจักร/อปุ กรณท์ ี่ใชไ้ ฟฟ้าและอุปกรณ์/เคร่ืองมอื ของมคี มในการปฏบิ ัตงิ านเปน็ ส่วนใหญ่ โดยภาพรวมข้อมูลการสัมผัสปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำ�งานดังกล่าว เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับข้อมูลภาวะสุขภาพตาม ความเส่ียงที่ผลการศึกษาพบว่า การเจ็บป่วย/การบาดเจ็บท่ีอาจเกี่ยวเนื่องจากการสัมผัสปัจจัยคุกคามสุขภาพหรือสภาพแวดล้อมจาก การท�ำ งานทพี่ บมากทส่ี ดุ คอื ดา้ นการยศาสตร์ ไดแ้ ก่ อาการปวดเมอื่ ยของระบบโครงรา่ งกลา้ มเนอ้ื โดยพบวา่ บคุ ลากรมอี าการปวดตน้ คอ หลัง ไหล่ และอาการปวดเอว รองลงมาเป็นปัจจัยคุกคามด้านเคมีซ่ึงมีการสัมผัสไม่มาก แต่กลับพบว่า บุคลากรจำ�นวนมากมีอาการ น้าํ มกู ไหล ไอ จามและระคายเคืองตา แสบตา คันตา ซ่ึงน่าจะเกิดจากการสมั ผสั /แพฝ้ ุน่ ละอองหรือสารเคมีในที่ท�ำ งานเพราะปจั จัยด้าน น้ีมผี ลกระทบตอ่ สุขภาพมากกว่าด้านอื่น สว่ นปจั จยั ดา้ นจติ สังคมพบว่า มีภาวะเครียด/กังวลทเ่ี กดิ จากงานเรง่ รีบและความยากของงาน ท่ีรับผิดชอบเป็นส่วนใหญ่ เพราะลักษณะงานของแผนกซ่อมบำ�รุงในโรงพยาบาลมักจะเป็นงานที่เร่งด่วน ต้องซ่อมหรือแก้ไขให้ทันเวลา สามารถนำ�กลับมาใช้งานกับผู้ป่วยได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงเคร่ืองมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์บางอย่างมีความยุ่งยากซับซ้อนมากเกิน ความรคู้ วามสามารถ โดยเฉพาะถา้ เกดิ เหตตุ อนนอกเวลาราชการทผี่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านมอี ยนู่ อ้ ยและภาระงานอาจจะไมต่ รงกบั คณุ วฒุ หิ รอื ความ ถนดั จะท�ำ ใหเ้ กดิ ความเครยี ด/กงั วลไดม้ าก รวมไปถงึ สาเหตจุ ากรายไดห้ รอื คา่ ตอบแทนทไี่ มแ่ นน่ อน ดา้ นปจั จยั คกุ คามดา้ นชวี ภาพ พบวา่ มผี นื่ คนั ตามผวิ หนงั ตามล�ำ ตวั แขน ขาจากเชอ้ื รา/เชอ้ื โรค เนอื่ งจากมงี านทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เครอ่ื งมอื แพทยแ์ ละงานซอ่ มบ�ำ รงุ ตามหอ้ งตรวจ หอผูป้ ว่ ยหรอื อาคารที่เก่ยี วขอ้ งกบั ผู้ป่วยทีน่ ่าจะมกี ารสมั ผัสสง่ิ คุกคามกลมุ่ นไี้ ด้ สว่ นปจั จยั ดา้ นกายภาพพบว่ามอี าการเหน่อื ย ออ่ นเพลยี เสยี เหงอ่ื จากอากาศรอ้ นมากทส่ี ดุ รองลงมาเปน็ การมองเหน็ ไมช่ ดั เจน/ตาพรา่ มวั เพราะมกี ารปฏบิ ตั งิ านทงั้ กลางแจง้ ทอ่ี ากาศรอ้ นจดั หรอื ในพนื้ ทหี่ อ้ งแคบๆ อากาศรอ้ น ถา่ ยเทไมส่ ะดวก มฝี นุ่ /สารเคมแี ละเศษวสั ดทุ ฟี่ งุ้ กระจายเขา้ ตา สถานทท่ี ม่ี แี สงสวา่ งจา้ มากเกนิ กจ็ ะท�ำ ให้ ผู้ปฏิบัติงานต้องหร่ีตาหรือในพื้นที่ท่ีมีแสงสว่างน้อยไม่เพียงพอ ก็จะต้องเพ่งมองเป็นระยะเวลานานทำ�ให้เกิดปัญหากับสุขภาพตาได้ เชน่ กนั ส�ำ หรับการบาดเจ็บท่เี กยี่ วเนื่องจากสภาพการท�ำ งานท่ไี มป่ ลอดภัยในชว่ ง 3 เดอื นทีผ่ ่านพบบคุ ลากรเพยี งร้อยละ 16.08 ที่ไดร้ บั บาดเจบ็ จากท�ำ งาน โดยสาเหตขุ องการบาดเจบ็ ทส่ี �ำ คญั คอื วตั ถหุ รอื สงิ่ ของกระแทก/ชน และถกู อปุ กรณข์ องมคี มตดั /บาด/ทม่ิ แทง ลกั ษณะ การบาดเจ็บทีเ่ กิดขน้ึ ก็สอดคล้องกนั คอื มีอาการเคลด็ ขัดยอก ฟกชา้ํ และเปน็ แผลฉีกขาด/บาดแผลตน้ื อวัยวะ/ส่วนของรา่ งกายทไี่ ด้รบั บาดเจบ็ คอื มือ/นวิ้ มอื การบาดเจบ็ ทีเ่ กดิ ขึ้นทง้ั หมดเปน็ การบาดเจ็บเลก็ น้อย ไม่ต้องหยุดงาน ทง้ั นอ้ี าจเป็นเพราะบุคลากรสว่ นใหญ่มคี า่ ดัชนมี วลกายอยใู่ นเกณฑ์ปกตหิ รอื มีนาํ้ หนกั เกนิ เลก็ น้อย ไม่อว้ น มีโรคประจ�ำ ตวั ไมม่ ากและไมร่ ุนแรง พฤติกรรมสขุ ภาพค่อนขา้ งดี ไมต่ ิด เหล้า/บุหรี่ มีการออกก�ำ ลังกายแต่ไมค่ อ่ ยสมาํ่ เสมอ ประกอบกบั มีอายมุ ากพอสมควร(เฉล่ีย 45.1± 9.7 ป)ี มปี ระสบการณ์การทำ�งานมา นานหรือมอี ายงุ านมาก (สว่ นใหญอ่ ยใู่ นช่วง 21-30 ปี) จงึ สามารถท�ำ งานด้วยความช�ำ นาญ คลอ่ งตวั และมีความระมัดระวงั /ไมป่ ระมาท มีพฤติกรรมการทำ�งานท่ีดีโดยส่วนใหญ่ร้อยละ 90.3 ของบุคลากรมีการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในขณะปฏิบัติงานและยัง เคยไดร้ บั ความรทู้ างดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั โดยเฉพาะเรอ่ื งอบุ ตั เิ หตจุ ากการท�ำ งานและการใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายสว่ น บคุ คล บุคลากรกลุ่มน้ียังมีความใส่ใจในการดูแลสุขภาพเป็นอย่างดี ดังจะเห็นได้จากที่มารับการตรวจสุขภาพประจำ�ปีกันครบทุกคน โดยพบว่ามีภาวะความดันโลหิตสูงกว่าบุคลากรโดยรวม ท้ังน้ีอาจเนื่องมาจากส่วนใหญ่มีดัชนีมวลกายสูงเกินปกติ ร้อยละ 64.5 มีการ ออกก�ำ ลงั กายไมส่ มํา่ เสมอหรอื ไมเ่ คยออกกำ�ลงั เลยประกอบกบั มีพฤติกรรมเสยี่ งจากการด่ืมสุราสงู ถงึ รอ้ ยละ 71.0 สูบบุหรีร่ อ้ ยละ 38.7 มปี ญั หาความเครียดจากการทำ�งานอยา่ งเรง่ รีบเพ่อื ให้งานเสร็จตามเวลามากทสี่ ดุ ร้อยละ 32.3 รองลงมาคือเครียด/กังวลจากความยาก ของงานที่รับผิดชอบและเร่ืองรายได้หรือค่าตอบแทนที่ไม่แน่นอน และผลเอกซเรย์ปอดผิดปกติจากมะเร็งปอดและนิ่วในถุงน้ําดีอย่าง ละ 1 ราย ซงึ ไมพ่ บวา่ มคี วามเสย่ี งหรือเก่ียวเนอ่ื งจากการท�ำ งาน ดังนั้นในการจัดบรกิ ารด้านอาชวี อนามยั และความปลอดภัยจงึ ควรเน้น เรอื่ งการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ โดยเฉพาะการใหส้ ขุ ศกึ ษาเรอื่ งพฤตกิ รรมเสยี่ งตอ่ สขุ ภาพและสอ่ื สารขอ้ มลู ความเสยี่ งจากการท�ำ งาน เพอื่ สรา้ ง ความตระหนกั ในการควบคมุ ป้องกนั โรคประจำ�ตวั และความปลอดภัยในการทำ�งาน hscr ISSUE 1 13
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 สรุปและขอ้ เสนอแนะ ปัจจยั คุกคามสุขภาพจากการท�ำ งานและส่งผลกระทบตอ่ สุขภาพตอ่ บุคลากรแผนกซอ่ มบำ�รงุ ท่ีเป็นปญั หาหลักคอื ปัจจยั คุกคาม สุขภาพด้านการยศาสตร์ รองลงมาเป็นปัจจัยคุกคามด้านเคมีซึ่งมีการสัมผัสไม่มากแต่กลับมีผลกระทบต่อสุขภาพเป็นจำ�นวนมาก ส่วนปัจจัยด้านจิตสังคมพบว่ามีภาวะเครียด/กังวลที่เกิดจากงานเร่งรีบและความยากของงานที่รับผิดชอบเป็นส่วนใหญ่ บุคลากรได้รับ บาดเจบ็ จากท�ำ งานไมม่ ากและไมร่ นุ แรงจนตอ้ งหยดุ งาน โดยสาเหตขุ องการบาดเจบ็ เกดิ จากวตั ถหุ รอื สง่ิ ของกระแทก/ชน และถกู อปุ กรณ์ ของมีคมตัด/บาด/ทม่ิ แทง ข้อเสนอแนะในการนำ�ผลการวิจยั ไปใช้ 1. การจดั บรกิ ารดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ใหก้ บั บคุ ลากรแผนกน้ี ควรเนน้ เรอื่ งการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพโดยเฉพาะการให้ สุขศึกษาและส่ือสารข้อมูลความเสี่ยงจากการทำ�งาน เพ่ือสร้างความตระหนักในการทำ�งานที่ปลอดภัยอันจะนำ�ไปสู่การป้องกันการเจ็บ ป่วยและการบาดเจ็บที่เกี่ยวเน่ืองจากการทำ�งาน โดยเน้นการป้องกันการสัมผัสฝุ่น/สารเคมี การจัดท่าทางในการทำ�งานให้เหมาะสม เพื่อลดปัญหาทางด้านการยศาสตร์/ลดอาการผิดปกติของระบบโครงร่างกล้ามเนื้อและรู้จักแนวทางหรือวิธีการจัดการความเครียดจาก การท�ำ งาน โดยควรจะตอ้ งมกี ารปรบั เปลย่ี นรปู แบบหรอื วิธกี ารด�ำ เนินงาน/กจิ กรรมทแ่ี ตกตา่ งไปจากเดมิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถสรา้ งความตระหนกั แกบ่ ุคลากรไดอ้ ย่างชดั เจนมากย่ิงขน้ึ 2. ด้านการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยสามารถนำ�ผลการวิจัยไปเป็นข้อมูลสนับสนุน ให้ผู้บริหารของ หนว่ ยงานไดใ้ ชใ้ นการก�ำ หนดนโยบายหรอื แนวทางการท�ำ งานทถ่ี กู ตอ้ ง เพอื่ ลดความเสย่ี งจากการเจบ็ ปว่ ยและบาดเจบ็ ทอ่ี าจเกย่ี วเนอื่ งจาก การทำ�งาน เพิม่ ประสิทธภิ าพในการทำ�งานและเปน็ การส่งเสรมิ คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องบุคลากร ขอ้ เสนอแนะในการทำ�วจิ ัยครง้ั ต่อไป ควรมกี ารรวบรวมขอ้ มลู การตรวจวดั สง่ิ แวดลอ้ ม การเฝา้ ระวงั โรค/การเจบ็ ปว่ ยและการบาดเจบ็ ทเี่ กย่ี วเนอื่ งจากการท�ำ งาน ผลการ ตรวจสขุ ภาพตามความเสย่ี ง ลกั ษณะทา่ ทางและพฤตกิ รรมการท�ำ งาน รวมไปถงึ สภาพการท�ำ งานของบคุ ลากรทม่ี คี วามเฉพาะเจาะจงตาม ลกั ษณะของงานซอ่ มบ�ำ รงุ ทแ่ี ตกตา่ งกนั เพอื่ ท�ำ การศกึ ษาและวเิ คราะหท์ ดสอบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการสมั ผสั ปจั จยั คกุ คามสขุ ภาพและ ภาวะสุขภาพตามความเส่ียงจากการทำ�งาน เพื่อค้นหาท้ังปัจจัยที่เป็นสาเหตุทำ�ให้เกิดหรือปัจจัยท่ีช่วยลดการเจ็บป่วยและการบาดเจ็บ ดงั กลา่ ว อนั จะเปน็ ประโยชนใ์ นการบรหิ ารจดั การดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั สามารถจดั รปู แบบการใหบ้ รกิ ารดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั แกบ่ ุคลากรไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สงู สดุ ตอ่ โรงพยาบาลต่อไป เอกสารอา้ งองิ 1. สำ�นักโรคจากการประกอบอาชพี และส่งิ แวดล้อม กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข. คมู่ ือการประเมินความเสย่ี งจากการ ท�ำ งาน ของบคุ ลากรในโรงพยาบาล (ฉบบั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข พ.ศ. 2554). พมิ พค์ รงั้ ที่ 3. นนทบรุ :ี โรงพมิ พ์ ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตร แหง่ ประเทศไทย จำ�กดั ; 2554. 2. สำ�นกั โรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดลอ้ ม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ . คมู่ ือการประเมินความเสยี่ งจากการ ท�ำ งานของบคุ ลากรในโรงพยาบาล (ฉบบั ปรบั ปรงุ แกไ้ ข พ.ศ. 2551). พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3. นนทบรุ :ี โรงพมิ พ์ ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตร แหง่ ประเทศไทย จ�ำ กดั ; 2552. 3. กลุ่มส่ือสารสาธารณะและพัฒนาเครือข่าย สำ�นักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข. ค่มู ือ การตรวจประเมินการด�ำ เนนิ งานการประเมนิ ความเสยี่ งจากการทำ�งาน ของ บคุ ลากรในโรงพยาบาล ฉบับ ปรับปรุงแก้ไข พ.ศ. 2560. พิมพ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อและส่ิงพิมพ์แก้วเจ้าจอม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา; 2560. 4. อดุลย์ บัณฑุกุล, วรรณา จงจิตรไพศาล. งานอาชีวเวชศาสตร์ในโรงพยาบาล. ใน อดุลย์ บัณฑุกุลบรรณาธิการ. ตำ�รา อาชวี เวชศาสตร์.พิมพค์ ร้ังท่ี1. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พร์ าชทัณฑ์; 2554: 67-98. hscr ISSUE 1 14
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 5. Tziaferi, SG., Sourtzi, P. and Kalokairinou, A.et.al. Risk assessment of physical hazards in Greek hospitals combining staff’s perception, experts’ evaluation and objective measurements. Safety and Health at Work (2011); 2: 260-72. 6. El-Hady, M., Alazab, R., Wahed, A., Ghandour, A. and Elsaidy, W. Risk assessment of physical health hazards in Al-Azhar University hospital in new Damietta, Egypt. J. Hosp. Med (2013); 53: 1019-35. 7. กองอาชีวอนามัย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการวินิจฉัยและการเฝ้าระวังโรคจาการประกอบอาชีพ เล่ม 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพส์ งเคราะหท์ หารผ่านศึก; 2538. 8. พชิ ญา พรรคทองสขุ . อาชวี อนามยั และความปลอดภยั ในงานโรงพยาบาล. พมิ พค์ รง้ั ท1่ี . กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร;์ 2555. 9. สสิธร เทพตระการพร. การยศาสตรเ์ บือ้ งตน้ .ใน อดลุ ย์ บณั ฑุกุล,บรรณาธกิ าร. ตำ�ราอาชีวเวชศาสตร์. พมิ พค์ ร้ังที่ กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ราชทัณฑ์; 2554: 259-93. 10. พงศเ์ ทพ ววิ รรธนะเดช. การประเมนิ ความเสย่ี งสขุ ภาพ Health risk assessment. พมิ พค์ รงั้ ที่ 1. เชยี งใหม:่ คณะแพทยศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่; 2554 11. ศิริพร ด่านคชาธาร, มุจลินท์ อินทรเหมือน, นิธิมา หนูหลงและคณะ. การประเมินความเสี่ยงด้านอาชีวอนามัย และความ ปลอดภยั ของแผนกซกั ฟอกในโรงพยาบาลแหง่ หนงึ่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช.วารสารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2563; 28(1): 140-54. 12. อรญั ขวญั ปาน, ชนะกานต์ พงศาสนองกลุ . ความปลอดภยั จากการปฏบิ ตั งิ านของชา่ งซอ่ มบ�ำ รงุ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา. กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา สถาบันวิจัยและพฒั นา, 2555. 13. ฉัตร์ยุภา จิโนรส, ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์, วันเพ็ญ ทรงคำ�. ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำ�งานและภาวะสุขภาพ ตามความเส่ยี งของพนกั งานท�ำ ความสะอาด โรงพยาบาลระดับตติยภูม.ิ พยาบาลสาร 2559; 43: 57-69. 14. สุทิน ฤทธิ์เดช. การศึกษาท่ีปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติตนในการป้องกัน การเกิดอุบัติเหตุและโรค จากการทำ�งาน ของหญงิ พนกั งานทำ�ความสะอาดสถานพยาบาล. วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์ คลินกิ โรงพยาบาลพระปกเกลา้ 2551; 25(4): 348-55. 15. Bonnie Rogers and others. Occupational and environmental health nursing. Workplace Health & Safety(2012). 60(4): 177-81 16. ประกายน้ํา มากศรี, ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์, ธานี แก้วธรรมานุกูล. ปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำ�งานและภาวะ สขุ ภาพตามความเสย่ี งของแรงงานนอกระบบตัดเยบ็ ผา้ . พยาบาลสาร 2561; 45(4): 71-83. 17. สุรดา ถนอมรัตน,์ ชวพรพรรณ จันทรป์ ระสิทธ์ิ, ธานี แกว้ ธรรมานุกูล. ปัจจยั คกุ คามสขุ ภาพจากการท�ำ งานและภาวะสุขภาพ ตามความเสย่ี งของคนงานเคาะพ่นสีรถยนต.์ พยาบาลสาร 2560; 44(4): 118-33. 18. ณัชชารี อนงคร์ กั ษ,์ ทศั นพ์ งษ์ ตันตปิ ญั จพร และคณะ. ปจั จยั คุกคามสุขภาพจากการทางานและภาวะสขุ ภาพตามความเสี่ยง ของคนงานในสถานประกอบการเคาะพ่นสีรถยนต์ อำ�เภอเมือง จงั หวัดพษิ ณโุ ลก. วารสารควบคุมโรค 2559; 42(3): 255-68. 19. วชิ ยั เอกพลากร และคณะ. รายงานการส�ำ รวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย ครง้ั ท่ี 5 พ.ศ. 2557. พมิ พค์ รงั้ ที่ 1. นนทบุร:ี สภาบันวจิ ัยระบบสาธารณสุข; 2559 hscr ISSUE 1 15
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 The Efficiency of UPAC Deep Freezer in the Production of Cryoprecipitate from Regional Blood Centre 9th Phitsanulok, Thai Red Cross Society Janejira Insawang, Surachedt Onseng, Nichapat Sangsorat, Namon Chaiyasit, Uraiwan Boonjan Regional Blood Centre 9th Phitsanulok, Thai Red Cross Society ABSTRACT Objective : To study the efficiency of Deep freezer eutectic plate brand The Cool model DF 160 (UPAC deep freezer) in the production of Cryoprecipitate (CRYO) from CRYO quality test results analysis prepared by the Regional Blood Centre 9th Phitsanulok, Thai Red Cross Society compared to the standards of the American Association of Blood Banks (AABB). Materials and Methods : This is a retrospective, descriptive study on the results of FVIII and fibrinogen contentin120units of CRYO prepared byUPACdeepfreezerfromtheRegionalBloodCentre9thPhitsanulok between April 2015 and March 2019, during a four-years period. Sampling the CRYO produced in 6 units/3 months and studies of FVIII and fibrinogen content compared to AABB standards were per- formed by the National Blood Centre, Thai Red Cross Society. Documented data was evaluated using descriptive statistics and statistical analysis was performed by one sample T-test, independent T-test, ANOVA and Scheffe’s method with significant at 0.05. Results : CRYO 96 units of first month test found that average FVIII and fibrinogen content in CRYO produced passed through standard criteria of AABB equal to 100 and 100 percent, with an average and standard deviation (range) equal to 132.63±20.96 (89.39-204.29) IU/units and 558.59±179.99 (223.86- 958.95) mg/units, respectively. According to the grouping among the samples, the average FVIII content in CRYO such as CRYO volume (p < 0.001) and donors ABO blood group (p = 0.013) were differences statistically significant. The average fibrinogen content in CRYO such as CRYO volume (p < 0.001) and donor gender (p = 0.001) were differences statistically significant. CRYO 24 units of last month test found that the average FVIII content in CRYO produced passed through standard criteria of AABB equal to 100 percent, with an average and standard deviation (range) equal to 110.88±17.64 (82.06-154.44) IU/units, found that the average FVIII content in last month test CRYO was lower than the first month test CRYO. They were statistically significant (p = 0.001), but all passed the standard. Conclusion : The efficient UPAC deep freezer can be used to produce CRYO quality that is not infe- rior to the international standard of FVIII and fibrinogen content. However, that quantity may vary. Considering factors such as CRYO volume, ABO blood group, and donor gender, that may affect CRYO quality. Such data may be used as a guideline for the development of production in order to obtain the high quality standard CRYO for further use. The UPAC deep freezer will reduce produce CRYO costs of expensive equipment and less place, appropriate for an organization with limited area. Keywords : Cryoprecipitate, UPAC deep freezer, Factor VIII, Fibrinogen Contact : Janejira Insawang Address : Regional Blood Centre 9th Phitsanulok, Thai Red Cross Society 138/1 Phra Ong Dam Road, Nai Mueang, Mueang district, Phitsanulok, 65000 E-mail : [email protected] hscr ISSUE 1 16
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 การศึกษาประสิทธภิ าพตู้แชแ่ ข็ง UPAC deep freezer ในการผลติ Cryoprecipitate ของภาคบริการโลหิตแหง่ ชาติท่ี 9 จังหวดั พิษณโุ ลก สภากาชาดไทย เจนจริ า อนิ สว่าง, สุรเชษฎ์ ออ่ นเสง็ , ณชิ าภัทร แสงโสรัตน,์ ณมน ไชยสทิ ธ,์ิ อุไรวรรณ บุญจนั ทร์ ภาคบริการโลหิตแหง่ ชาตทิ ่ี 9 จังหวดั พิษณุโลก สภากาชาดไทย บทนำ� วัตถปุ ระสงค์ : เพ่อื ศึกษาประสิทธภิ าพตแู้ ช่แข็ง Deep freezer eutectic plate ย่ีห้อ The Cool รุน่ DF 160 (UPAC deep freezer) ในการผลิต Cryoprecipitate (CRYO) จากการวิเคราะห์ผลตรวจคุณภาพ CRYO ท่ีผลิตของภาคบริการโลหิต แหง่ ชาตทิ ี่ 9 จงั หวดั พษิ ณโุ ลก สภากาชาดไทย เปรยี บเทยี บกบั มาตรฐานของ American Association of Blood Banks (AABB) วธิ ีการศึกษา : เป็นการศกึ ษาเชิงพรรณนาแบบยอ้ นหลัง จากผลตรวจคณุ ภาพ CRYO จำ�นวน 120 ยนู ติ ทีผ่ ลติ จากตแู้ ช่แขง็ UPAC deep freezer ของภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 9 จ.พิษณโุ ลก ระหว่างเดือนเมษายน พ.ศ. 2558 ถงึ มีนาคม พ.ศ.2562 ย้อนหลัง 4 ปี โดยการสุ่มตัวอย่าง CRYO ที่ผลิตส่งตรวจคุณภาพที่ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานของ AABB วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติ one sample T-test, independent T-test, ANOVA และ Scheffe’s method กำ�หนดนัยสำ�คญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั 0.05 ผลการศกึ ษา : CRYO ทตี่ รวจวดั ภายใน 1 เดอื นหลงั บริจาคโลหิต จ�ำ นวน 96 ยนู ิต พบคา่ ปริมาณ FVIII และ fibrinogen ให้ ผลผา่ นเกณฑม์ าตรฐานของ AABB เท่ากับรอ้ ยละ 100.00 และ 100.00 ตามล�ำ ดับ โดยมคี ่าเฉล่ียและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (พสิ ยั ) เทา่ กบั 132.63±20.96 (89.39-204.29) หน่วยต่อยูนิต และ 558.59±179.99 (223.86-958.95) มิลลกิ รมั ตอ่ ยูนติ ตาม ลำ�ดบั โดยจากการแบ่งกลุ่มในระหว่างกลมุ่ ตวั อย่างพบค่าเฉล่ียปรมิ าณ FVIII มีค่าแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสำ�คญั ทางสถติ ิ ไดแ้ ก่ ปรมิ าตร CRYO มากกวา่ หรือเทา่ กับ 10 มลิ ลลิ ติ ร (p < 0.001) และหมูโ่ ลหิตระบบ ABO (p = 0.013) สว่ นค่าเฉลยี่ ปรมิ าณ fibrinogen มคี า่ แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ทางสถติ ิ ไดแ้ ก่ ปรมิ าตร CRYO มากกวา่ หรอื เทา่ กบั 10 มลิ ลลิ ติ ร (p < 0.001) และ เพศผู้บรจิ าค (p = 0.001) ส่วนใน CRYO ทีต่ รวจวดั ภายใน 1 เดอื นกอ่ นหมดอายุ จำ�นวน 24 ยนู ติ พบค่าปรมิ าณ FVIII ให้ผล ผา่ นเกณฑม์ าตรฐานของ AABB เทา่ กบั รอ้ ยละ 100.00 โดยมคี า่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (พสิ ยั ) เทา่ กบั 110.88±17.64 (82.06-154.44) หน่วยตอ่ ยูนติ และพบค่าเฉล่ียปรมิ าณ FVIII ตา่ํ กวา่ CRYO ทต่ี รวจวัดภายใน 1 เดือนหลงั บรจิ าคโลหติ อย่าง มีนยั สำ�คญั ทางสถติ ิ (p = 0.001) แต่ทั้งหมดมคี า่ ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน สรปุ : ตแู้ ชแ่ ขง็ UPAC deep freezer มปี ระสทิ ธภิ าพสามารถใชใ้ นการผลติ CRYO ทมี่ คี ณุ ภาพไมด่ อ้ ยไปกวา่ มาตรฐานทก่ี �ำ หนด ของปรมิ าณ FVIII และ fibrinogen ในระดบั สากล อยา่ งไรกต็ ามปรมิ าณดงั กลา่ วอาจแตกตา่ งกนั ออกไป เมอื่ พจิ ารณาจากกลมุ่ ของปจั จัย ได้แก่ ปริมาตร CRYO หม่โู ลหติ ในระบบ ABO และเพศผู้บริจาคท่ีอาจมีผลตอ่ คุณภาพ CRYO ขอ้ มลู ดงั กลา่ วอาจใช้ เปน็ แนวทางในการพฒั นาการผลติ เพอื่ ใหไ้ ด้ CRYO ทม่ี คี ณุ ภาพตามมาตรฐานส�ำ หรบั รกั ษาผปู้ ว่ ย ซงึ่ การใชต้ แู้ ชแ่ ขง็ UPAC deep freezer จะช่วยลดตน้ ทนุ การผลติ จากเครอ่ื งมอื ราคาแพงและใชพ้ ื้นทน่ี อ้ ยเหมาะกับหนว่ ยงานท่มี พี ื้นทจ่ี ำ�กัด คำ�ส�ำ คัญ : ไครโอปรซี ิพเิ ตท, ตู้แชแ่ ขง็ UPAC, แฟคเตอร์ 8, ไฟบริโนเจน ติดต่อ : เจนจริ า อินสว่าง สถานทต่ี ิดตอ่ : ภาคบรกิ ารโลหติ แห่งชาติท่ี 9 จงั หวดั พิษณุโลก สภากาชาดไทย 138/1 ถ.พระองค์ดำ� ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พษิ ณโุ ลก 65000 อเี มล์ : [email protected] hscr ISSUE 1 17
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 บทน�ำ ในปี ค.ศ. 1964 Judith Graham Pool ได้ค้นพบ cryoprecipitated antihemophilic factor (AHF) หรือ cryoprecipitated AHF (CRYO-AHF) หรอื เรยี กวา่ cryoprecipitate (CRYO) และไดพ้ ฒั นาวธิ กี ารตรวจปรมิ าณ factor VIII (FVIII) ดว้ ยหลกั การ two-stage assay1,2 CRYO เป็นส่วนประกอบโลหิตที่ประกอบด้วยตะกอนโปรตีนเข้มข้น (cryoglobulin) ที่ได้จากการละลายพลาสมาสดแช่แข็ง (fresh frozen plasma; FFP) ปนั่ แลว้ บบี แยกสว่ นพลาสมาเหนอื ตะกอน (cryo-removed plasma; CRP) ออก CRYO มสี ว่ นประกอบ ส�ำ คญั คอื FVIII, von Willebrand factor (vWF), fibrinogen, factor XIII (FXIII) และ fibronectin1, 3 สำ�หรับรักษาผปู้ ่วยภาวะขาด FVIII (hemophilia A) ผูป้ ว่ ยที่ขาด von Willebrand factor และภาวะ hypofibrinogenemia อีกท้งั ใชใ้ นกรณที ดแทน fibrinogen ในภาวะ dysfibrinogenemia จากสาเหตุต่างๆ วธิ กี ารใช้ CRYO ตอ้ งนำ�มาละลายทอ่ี ณุ หภมู ิ 37 องศาเซลเซียส และผสมกบั น้าํ เกลอื ปราศจากเชื้อก่อนน�ำ ไปใหผ้ ูป้ ว่ ย4, 5 ข้อก�ำ หนดคุณภาพ CRYO 1 ยนู ติ (1 ถุง) ตามมาตรฐานของ American Association of Blood Banks (AABB) ตอ้ งมคี วามเขม้ ข้นของ FVIII ไม่ต่าํ กวา่ 80 หน่วยตอ่ ยูนิต (IU/unit) ในตวั อย่างสุ่มตรวจภายใน 1 เดือนหลังบรจิ าคโลหิต (first month test) ความถอี่ ยา่ งนอ้ ย 6 ยนู ิตตอ่ 3 เดือนกับตวั อยา่ งสมุ่ ตรวจภายใน 1 เดือนก่อนหมดอายุ (last month test) ความถ่ี อย่างนอ้ ย 6 ยูนิตต่อ 12 เดอื น และ fibrinogen ไมต่ ่าํ กวา่ 150 มลิ ลกิ รัมตอ่ ยนู ติ (mg/unit) โดยตรวจเฉพาะในตวั อย่าง first month test ความถอี่ ยา่ งนอ้ ย 6 ยนู ติ ตอ่ 3 เดอื นหรอื สมุ่ ตรวจคณุ ภาพอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 0.5-1 ของยอดผลติ 1 และทกุ ถงุ ตอ้ งผา่ นการตรวจ ABO group, RhD Typing, HIV-1/2, HBsAg, anti-HCV และ syphilis1,6,7 การผลติ CRYO ทำ�โดยนำ�พลาสมาสดที่แยกจากโลหติ ครบส่วนไปแช่แข็งเตรยี มเป็น FFP ดว้ ย alcohol bath หรือ dry ice หรอื blast freezer หรือ deep freezer หรือวิธอี น่ื ๆ ท่อี ณุ หภูมิ -20 องศาเซลเซยี สหรอื ต่าํ กวา่ สำ�หรบั ให้พลาสมาแข็งตวั โดยในขัน้ ตอนการ แชแ่ ขง็ นจี้ ะตอ้ งเลอื กวธิ กี ารทท่ี �ำ ใหพ้ ลาสมาแขง็ ตวั ใหเ้ รว็ ทสี่ ดุ เพอื่ รกั ษาปรมิ าณ FVIII ทมี่ คี ณุ สมบตั สิ ลายตวั เมอ่ื อณุ หภมู สิ งู (heat labile factor) และถอื เปน็ ตวั ชีว้ ดั คุณภาพทีส่ �ำ คัญ แล้วจึงน�ำ FFP มาทำ�ใหล้ ะลาย (thaw) ในตู้เยน็ หรอื หอ้ งเยน็ ค้างคนื (overnight) หรือใน อ่างนํ้าหมนุ วน (circulating water bath) หรอื ใช้ไมโครเวฟ หรอื วิธีอ่นื ๆ ทอ่ี ุณหภมู ิ 1-6 องศาเซลเซยี สหรอื อุณหภมู อิ นื่ ส�ำ หรบั ละลาย พลาสมา เมอื่ FFP ละลายแลว้ นำ�ไปป่นั แยกด้วยเคร่อื งปนั่ แยกส่วนประกอบโลหิตชนดิ ควบคมุ อุณหภมู ิ (refrigerated centrifuge) ท่ี อณุ หภูมิ 1-6 องศาเซลเซยี สทันที ทำ�การแยกพลาสมาสว่ นเกินออกให้เหลือพลาสมาในถงุ ประมาณ 10-20 มิลลลิ ิตรแล้วทำ�การแช่แขง็ CRYO แบบเยน็ จดั ทอ่ี ณุ หภมู ิ -40 องศาเซลเซยี สหรอื ตา่ํ กวา่ อยา่ งนอ้ ย 30 นาทกี อ่ นยา้ ยไปเกบ็ รกั ษาทอี่ ณุ หภมู ติ าํ่ กวา่ -18 องศาเซลเซยี ส จะมอี ายุใช้งานภายใน 12 เดอื น หลังบรจิ าคโลหติ และขนส่งในสภาพแช่แข็งที่อุณหภูมิเดียวกัน1,3,8 การผลติ CRYO ของศนู ยบ์ รกิ ารโลหติ แห่งชาติ สภากาชาดไทย กรุงเทพฯ จะใช้เครอื่ งแช่แขง็ blast freezer ทีอ่ ุณหภมู ิ -40 ถงึ -50 องศาเซลเซียส สำ�หรบั เตรียม FFP และมกี ารใช้ freezing bath ท่อี ุณหภูมิ -80 องศาเซลเซยี ส ในการแช่แข็ง CRYO แต่เครอ่ื งมอื ดงั กลา่ วมรี าคาสงู ทภ่ี าคบรกิ ารโลหติ แหง่ ชาตทิ ่ี 9 จงั หวดั พษิ ณโุ ลกไมม่ เี ครอื่ งมอื ใชง้ าน และจากการศกึ ษาของ Bejrachandra S9 พบวา่ การแชแ่ ขง็ พลาสมาส�ำ หรบั ผลติ CRYO ดว้ ยตแู้ ชแ่ ขง็ freezer ทผ่ี ลติ ในประเทศไทยกบั ตแู้ ช่ Instacool freezer จากตา่ งประเทศไดป้ รมิ าณ FVIII และ fibrinogen ตามมาตรฐานและไมต่ ่างกันอย่างมีนัยสำ�คญั และยงั มีรายงานของ Kasper CK10 ที่พบวา่ ปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ ปรมิ าณ FVIII หรอื fibrinogen ใน CRYO มหี ลายปจั จยั ไดแ้ ก่ การเขยา่ โลหติ ขณะเจาะเกบ็ เวลากอ่ นปน่ั โลหติ ปรมิ าตรพลาสมา เวลากอ่ นปนั่ พลาสมาหลังละลาย เวลาการเกบ็ พลาสมาแช่แขง็ หรอื CRYO คณะผู้วิจัยจึงต้องการศกึ ษาประสิทธภิ าพต้แู ช่แข็ง UPAC deep freezer ในการผลิต CRYO จากการวิเคราะหผ์ ลตรวจคณุ ภาพ CRYO ทผี่ ลติ และทำ�การควบคมุ ปจั จยั อน่ื ท่ีอาจเกีย่ วของกบั คณุ ภาพ CRYO hscr ISSUE 1 18
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ศกึ ษาประสทิ ธภิ าพตแู้ ชแ่ ขง็ UPAC deep freezer ในการผลติ Cryoprecipitate (CRYO) จากการวเิ คราะหผ์ ลตรวจคณุ ภาพ CRYO ท่ผี ลติ ของภาคบรกิ ารโลหิตแห่งชาตทิ ่ี 9 จงั หวดั พษิ ณโุ ลก เปรยี บเทยี บกับมาตรฐานของ American Association of Blood Banks (AABB) วธิ กี ารศึกษา การวจิ ยั ครง้ั นเี้ ปน็ การศกึ ษาเชงิ พรรณนาแบบยอ้ นกลบั ในการวเิ คราะหผ์ ลตรวจคณุ ภาพ CRYO ทผ่ี ลติ จากตแู้ ชแ่ ขง็ Deep freezer eutectic plate ย่ีห้อ The Cool รุน่ DF 160 (UPAC deep freezer) ของภาคบริการโลหติ แหง่ ชาติที่ 9 จังหวัดพษิ ณุโลก อายกุ ารใช้ งาน 1 ปี นบั จากปี พ.ศ.2558 ท่ีผลิตและจดั จำ�หน่ายโดยบริษัท The Cool Insured Co., Ltd, Thailand มีความจุ 522 ลิตร ขนาด (กว้างxลึกxสูง) เท่ากับ 67x87x203 เซนติเมตร ช่วงอณุ หภมู ิใช้งานระหว่าง -20 ถงึ -42 องศาเซลเซยี ส มีชนั้ ภายใน 21 ชน้ั มชี อ่ งใส่ ถาดส�ำ หรบั แชพ่ ลาสมาปริมาตร 200-350 มลิ ลลิ ติ รต่อยูนติ วางในแนวราบ 10-15 ยนู ิตตอ่ ถาด จ�ำ นวน 22 ถาด หรอื ประมาณ 220-330 ยูนิตต่อตู้ สามารถทำ�ให้พลาสมาแข็งตัวได้อย่างสมบูรณ์ภายใน 1-4 ชั่วโมงหลังแช่ (ระยะเวลาขึ้นอยู่กับปริมาณพลาสมาท่ีนำ�ไปแช่) ตูแ้ ชแ่ ขง็ มรี ะบบตดิ ตามอุณหภูมิ (temperature monitoring system; TMS) ส่งสญั ญาณแจ้งเตือนผู้ใชง้ านผ่านระบบแอปพลิเคชั่นใน โทรศัพท์สมาร์ทโฟนเมื่อต้แู ช่แขง็ ท�ำ อุณหภูมผิ ดิ ปกติ มกี ารสอบเทียบอยา่ งน้อย 9 จดุ ภายในต้ทู ีอ่ ุณหภมู ิ - 40 องศาเซลเซยี สปีละ 1 ครัง้ มีการบำ�รงุ รกั ษาโดยการละลายนํา้ แขง็ ท�ำ ความสะอาดภายในและภายนอกอยา่ งน้อยเดอื นละ 1 คร้ัง และมีชา่ งบริษัทเจา้ ของตแู้ ชเ่ ขา้ ตรวจสอบระบบการท�ำ งานเครอื่ งอย่างนอ้ ยปีละ 1 ครง้ั ประชากร คอื CRYO ท่ผี ลิตระหว่างเดอื นเมษายน พ.ศ. 2558 ถงึ เดือนมีนาคม พ.ศ.2562 (ยอ้ นหลงั 4 ป)ี จ�ำ นวน 19,105 ยนู ติ กลมุ่ ตวั อยา่ ง คอื CRYO ทถ่ี กู สมุ่ ตวั อยา่ งสง่ ตรวจคณุ ภาพตามความถแ่ี ละจ�ำ นวนทมี่ าตรฐาน AABB ก�ำ หนด คอื first month test 6 ยนู ติ /3 เดอื น และ last month test 6 ยนู ติ /12 เดอื น หรอื สมุ่ ตรวจคณุ ภาพอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 0.5-1 ของยอดผลติ ได้จ�ำ นวนทง้ั สิน้ 120 ยูนิต หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 0.63 (120/19,105) ของยอดผลติ โดยแบ่งเปน็ กลุม่ first month test จ�ำ นวน 96 ยนู ิต และกลุ่ม last month test จำ�นวน 24 ยนู ติ การตรวจคณุ ภาพตัวอยา่ ง CRYO กลุม่ first month test ตรวจในหวั ขอ้ label, appearance, leakage, volume (ปรมิ าตรตะกอน CRYO ไดจ้ ากการชงั่ นา้ํ หนกั ทง้ั ถงุ หกั ลบนา้ํ หนกั ถงุ เปลา่ ไดเ้ ปน็ นาํ้ หนกั สทุ ธิ ของ CRYO หนว่ ยกรมั แล้วหารดว้ ยค่าความหนาแนน่ ของ CRYO ทมี่ คี า่ 1.030 หน่วยกรัมตอ่ มลิ ลลิ ติ ร (g/ml) จะไดเ้ ปน็ ปรมิ าตรของ CRYO หนว่ ยมิลลลิ ิตร), FVIII และ fibrinogen (FVIII ใช้หลกั การ One-stage clotting assay และ fibrinogen ใชห้ ลักการ Clauss assay, ด้วยเคร่ือง CA 500: Sysmex, Japan) ภายใน 1 เดือนหลังบริจาคโลหิต ส่วนกลุ่ม last month test ตรวจในทุกหัวข้อ (ยกเว้น fibrinogen) ภายใน 1 เดือนก่อนหมดอายุ (เดือนท่ี 12 หลังบริจาคโลหิต) ดังแสดงใน Figure 1 โดยส่งตรวจคุณภาพท่ีห้อง ปฏิบัติการฝ่ายควบคุมคุณภาพ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย (Accreditation No.413/57, ISO 15189: 2012/ISO 15190: 2003) ในการขนส่งใชน้ ํา้ แข็งแห้ง 4-6 กโิ ลกรมั สำ�หรับ CRYO 6 ยูนติ และควบคุมอุณหภมู ใิ หต้ ํา่ กว่า -25 องศาเซลเซียสตลอด การขนส่งในเวลาไม่เกิน 24 ช่ัวโมง1,3,6 วิธีการผลิต CRYO โลหิตครบส่วนจากผู้บริจาคโลหิตท่ีผ่านการคัดกรองและเก็บตามมาตรฐานของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ขณะบรจิ าคโลหติ ไหลสมาํ่ เสมอ ถงุ โลหติ ถกู เขยา่ ตลอดเวลา ใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 15 นาทที กุ ยนู ติ รบั บรจิ าคทง้ั ภายในอาคารและหนว่ ยเคลอ่ื นท่ี ของภาคบรกิ ารโลหติ แหง่ ชาตทิ ี่ 9 จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ปรมิ าตรโลหติ 405-495 มลิ ลลิ ติ ร ในถงุ quadruple bag (Kawasumi Laboratories Co., Ltd, Thailand) นำ�มาปั่นด้วยเครื่องป่ันแยกส่วนประกอบโลหิตชนิดควบคุมอุณหภูมิ Heraeus Cryofuge 6000i (Thermo Scientific, Germany) ความเร็ว 3,400 รอบตอ่ นาที (3,838×g) นาน 12 นาที ที่อุณหภูมิ 20-24 องศาเซลเซียส ภายใน 8 ชวั่ โมงหลงั บริจาค และบีบแยกพลาสมาออกทันทีหลังปั่นโดยเครื่องบีบกึ่งอัตโนมัติ (KAWASUMI KL 520) แล้วนำ� fresh plasma (FA) ท่ีมี ปริมาตรไม่น้อยกวา่ 200 มิลลิลติ ร ไปแช่แข็งดว้ ยตู้ UPAC deep freezer (The Cool Insured Co., Ltd, Thailand) ทอี่ ุณหภมู ิ -40 องศาเซลเซยี ส สำ�หรบั เตรยี มเปน็ fresh frozen plasma (FFP) ใช้เวลาแช่แข็งประมาณ 18–24 ชวั่ โมง หลังจากนั้นน�ำ FFP ไปทำ�การ ละลายในหอ้ งแชเ่ ยน็ (Rivacold (Northern) Co., Ltd., Thailand) ท่ีมีอุณหภมู ิ 1–6 องศาเซลเซียส ใช้เวลาประมาณ 18–24 ชัว่ โมง hscr ISSUE 1 19
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 (slow-thaw)11 แลว้ ปั่นแยกด้วยความเรว็ 3,920 รอบตอ่ นาที (4430×g) นาน 10 นาที ทอ่ี ณุ หภูมิ 1 องศาเซลเซียส นำ�มาแขวนแยก ตะกอน CRYO ออกจาก cryo-removed plasma (CRP) ภายในห้องท่ีควบคมุ อณุ หภมู ไิ ม่เกิน 25 องศาเซลเซยี ส ทำ�การผนกึ สายแยก ดว้ ยเครือ่ งผนกึ สายถงุ (pilot tube sealer; PTS) แลว้ น�ำ CRYO กลบั ไปแชแ่ ขง็ ดว้ ยตู้ UPAC deep freezer ทนั ที ทอี่ ณุ หภมู ิ -40 องศา เซลเซียสประมาณ 30-60 นาที ท�ำ การบรรจุใสถ่ งุ และเกบ็ รกั ษาในห้องแชแ่ ข็ง (Rivacold (Northern) Co., Ltd., Thailand) ที่อุณหภูมิ -30 องศาเซลเซยี ส โดยระยะเวลาตง้ั แต่นำ� FFP ทีล่ ะลายออกจากห้องแชเ่ ยน็ จนถึงนำ� CRYO กลับไปแช่แข็งไม่เกิน 60 นาที ก่อนส่มุ ส่งตรวจคณุ ภาพหรือจา่ ยให้โรงพยาบาลในเขตใหบ้ ริการต่อไป ดงั แสดงใน Figure 1 5 Whole blood (405-495 ml in quadruple bag) Centrifuge within 8 hr post-donation in refrigerate centrifuge (Heavy spin; speed 3,838xg, 12 mins, 20-24 ºC) Separate in semi-automate KAWASUMI KL 520 Leukocyte poor packed red cell (LPRC) Fresh Plasma Buffy coat for pooled LPPC Freeze in UPAC deep freezer within 1 hr.(Temp. -40 ºC, 18-24 hr .;overnight) Slow thaw fresh frozen plasma in cold room (Temp. 1-6 ºC, 18-24 hr.; overnight) Centrifuge in refrigerate centrifuge (Heavy spin; speed 4430xg, 10 mins, 1 ºC) Separate Cryoprecipitate from cryo-removed plasma (Gravity separation) Re-freeze Cryoprecipitate in UPAC deep freezer (Temp. -40 ºC 1 hr. transfer storage to freezer -30 ºC) Random quality test (Sampling CRYO) Delivery to hospital First month test frequency 6 unit/3 month all QC test Last month test frequency 6 unit/12 month all QC test without fibrinogen An AAlglnoarbAitelhglm,oaarpipftpohpermeaCarrfrayoanonrcpcCere,re,ylcoeliepapakirtkeaaagctgeeipe,Pi,PtvravhoePtoilpetuhlsaumiaPtrmnsareaeute,inplo,oFuanFVklrVo,aIbIItITkyFIiIa,ohinabgTanFnduuhiibdfRgraffeyuiieybfRdribbr1ceeionurCdi1oafnrfotgoyCsemgrscnoeoeSsniatsnohticnSoRmioedeRctegeyiaietognhtinodyoandQlaBaullnaBoldloiotdyQoudcCoaeCnlnietttyrnroetclro9etenth9sttrthoalretelsatbaerle, สถิติทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู hscr ISSUE 1 ค่าเฉลี่ย ทส่วำกนาเบรที่ยดงเสบอนบมกาาตรรกฐราะนจาแยลขะอพงขิส้อัยมขูลอง(NคุณorภmาaพlitCyRTY2eOs0tใ)นโหดัวยขส้อถิติปKรoิมlmาตoรgoCrRoYvO-Sปmรiิมrnาoณv test แล้ววิเคราะห์หา FVIII และ fibrinogen หาค่าร้อยละ CRYO ที่ผ่านเกณฑม์ าตรฐานของ AABB (%Passed) และการทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอยา่ งเปรียบเทียบกับ
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 สถติ ิทใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล ท�ำ การทดสอบการกระจายของขอ้ มูล (Normality Test) โดยสถติ ิ Kolmogorov-Smirnov test แลว้ วิเคราะหห์ าค่าเฉลยี่ สว่ น เบย่ี งเบนมาตรฐาน และพิสยั ของคณุ ภาพ CRYO ในหัวข้อ ปริมาตร CRYO ปรมิ าณ FVIII และ fibrinogen หาค่ารอ้ ยละ CRYO ทีผ่ า่ น เกณฑม์ าตรฐานของ AABB (%Passed) และการทดสอบคา่ เฉลี่ยของกลุ่มตวั อยา่ งเปรียบเทียบกบั เกณฑม์ าตรฐานของ AABB ด้วยสถติ ิ One Sample T-test รวมทง้ั หาความแตกตา่ งคา่ เฉลย่ี ปรมิ าตร CRYO ปรมิ าณ FVIII และ fibrinogen ระหวา่ งกลมุ่ first month test กบั กลุม่ last month test โดยสถิติ Independent Sample T-test และหาความแตกต่างคา่ เฉลยี่ ปริมาณ FVIII และ fibrinogen ใน CRYO ของกลุ่มตัวอยา่ งแตล่ ะกลุ่ม แบ่งตามเพศ หมูโ่ ลหิต สถานท่บี ริจาค และปรมิ าตร CRYO เปรียบเทียบกลุ่มตวั อยา่ งท่ีมี 2 กลมุ่ โดยสถิติ Independent Sample T-test และกลุ่มตัวอย่างที่มี 3 กลุ่มข้ึนไป โดยสถิติ F-test (One-way ANOVA) แล้วทดสอบ ความแตกต่างรายคู่ โดยสถิติ Scheffe’s method กำ�หนดให้ p-value < 0.05 ถือว่ามีนัยสำ�คัญทางสถิติ ด้วยโปรแกรม SPSS version 17 ผลการศึกษา ผลการตรวจคณุ ภาพ CRYO ทผี่ ลติ จากตู้แช่แขง็ UPAC deep freezer ทีภ่ าคบริการโลหิตแห่งชาตทิ ี่ 9 จงั หวัดพิษณุโลกระหว่าง เดอื นเมษายน พ.ศ. 2558 ถึงเดือนมนี าคม พ.ศ. 2562 จากยอดผลิตจำ�นวน 19,105 ยนู ติ สุ่มตัวอยา่ งส่งตรวจคุณภาพไดจ้ �ำ นวนทัง้ สน้ิ 120 ยนู ติ หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.63 (120/19,105) ของยอดผลติ พบขอ้ มลู ดา้ นคณุ สมบตั ผิ บู้ รจิ าคโลหติ แสดงเปน็ จ�ำ นวน (รอ้ ยละ) ดงั น้ี แบง่ เป็น CRYO ที่เตรียมจากพลาสมาของเพศชาย จำ�นวน 46 ราย (38.3) และหญงิ จำ�นวน 74 ราย (61.7) แบ่งเป็นการบรจิ าคภายใน ภาคบรกิ ารโลหติ แห่งชาติ จำ�นวน 77 ราย (64.2) และหน่วยเคลือ่ นที่ จ�ำ นวน 43 ราย (35.8) แบง่ เปน็ CRYO ทเ่ี ตรียมจากพลาสมาของ ผบู้ ริจาคหมโู่ ลหิต A จำ�นวน 20 ราย (16.7) หมู่โลหิต B จ�ำ นวน 43 ราย (35.8) หมู่โลหิต O จำ�นวน 46 ราย (38.3) และหม่โู ลหิต AB จ�ำ นวน 11 ราย (9.2) และด้านคุณลกั ษณะการผลิตทอี่ าจมผี ลต่อคณุ ภาพ CRYO ได้แสดงคา่ กลางของข้อมลู และพสิ ัยใน Table 1 Table 1 Characteristics of various production factors which may affect CRYO quality (N=120) Characteristics Mean±SD Range Age (years) 28.5±7.9 19-60 Number of donations (times) 7±10 2-55 Before freeze plasma time (minutes) 30-440 Whole blood volume without anticoagulant (ml) 175±132 415-483 Plasma storage time (days) 449±42 2-18 Plasma volume (ml) 6.7±4.9 221-318 CRYO storage time (days) 256.61±18.35 1-35 CRYO Volume (ml) 11.8±8.9 5.26-20.72 9.63±2.54 ผลการตรวจคณุ ภาพ CRYO ทผ่ี ลติ จากตู้แช่แข็ง UPAC deep freezer ทส่ี ่มุ ตวั อย่างส่งตรวจคณุ ภาพจ�ำ นวนทง้ั สน้ิ 120 ยนู ติ พบว่า ผลการวิเคราะห์ค่าร้อยละ CRYO ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของ AABB (%Passed) ในหัวข้อ ปริมาณ FVIII และ fibrinogen เทา่ กบั 100.00 (120/120) และ 100.00 (96/96) ตามล�ำ ดบั จากเกณฑม์ าตรฐานของ AABB ทกี่ �ำ หนดวา่ ตอ้ งผา่ นรอ้ ยละ 100 ซงึ่ พบวา่ ผ่านเกณฑ์ท้ังหมดที่ส่งตรวจคุณภาพ โดยผลการวิเคราะห์ค่าปริมาณ FVIII และ fibrinogen ใน CRYO พบว่า มีค่าเฉลี่ยและส่วน เบย่ี งเบนมาตรฐาน (พสิ ยั ) เทา่ กบั 130.34±21.63 (82.06-204.29) หนว่ ยตอ่ ยนู ติ และ 558.59±179.99 (223.86-958.95) มลิ ลกิ รมั ตอ่ ยนู ติ ตามลำ�ดับ และยังพบว่า มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานอย่างมีนัยสำ�คัญทางสถิติ ได้แก่ ปริมาณ FVIII (p < 0.05) และปริมาณ fibrinogen (p<0.05) ดังแสดงใน Table 2 hscr ISSUE 1 21
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 Table 2 Factor VIII and fibrinogen content in sampling CRYO compared with AABB standards Characteristics AABB standards Sampling CRYO Parameter Criteria Mean±SD Percent passed Final result (%) (Range) (%) Factor VIII (IU/unit) ≥ 80 100.00 130.34±21.63* 100.00 Pass (N=120) (82.06-204.29) 100.00 Pass Fibrinogen (mg/unit) ≥ 150 100.00 558.59±179.99* (N=96) (223.86-958.95) *One sample T-test indicates statistical significance (p < 0.05) ผลการตรวจคณุ ภาพ CRYO ท่ีผลิตจากตแู้ ชแ่ ขง็ UPAC deep freezer ท่สี มุ่ ตัวอย่างสง่ ตรวจคณุ ภาพได้จ�ำ นวนท้ังสิน้ 120 ยนู ติ แบง่ เป็น CRYO กลุม่ first month test จ�ำ นวน 96 ยนู ติ คดิ เป็นร้อยละ 80.0 และกลุ่ม last month test จ�ำ นวน 24 ยูนติ คิดเป็น รอ้ ยละ 20.0 พบวา่ ผลการวเิ คราะห์คา่ ร้อยละ CRYO ที่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานของ NBC-TRC หรอื AABB (%Passed) ในหวั ขอ้ label, appearance, leakage, volume (ml), FVIII (IU/unit) และ fibrinogen (mg/unit) ในกลมุ่ first month test เทา่ กบั 100, 100, 100, 97.91, 100, และ 100 ตามล�ำ ดบั สว่ นในกลมุ่ last month test เทา่ กบั 100, 100, 100, 100, 100, และ 100 ตามล�ำ ดบั โดยมคี า่ เฉลย่ี ปรมิ าตร CRYO เทา่ กบั 9.48±2.34 มลิ ลลิ ติ ร และ 9.13±1.56 มลิ ลลิ ติ ร ตามล�ำ ดบั และพบวา่ คา่ เฉลยี่ ปรมิ าตร CRYO ทง้ั 2 กลมุ่ มคี า่ ไม่ แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ทางสถติ ิ (p = 0.537) สว่ นคา่ เฉลย่ี ปรมิ าณ FVIII เทา่ กบั 132.63±20.96 (89.39-204.29) หนว่ ยตอ่ ยนู ติ และ 110.88±17.64 (82.06-154.44) หนว่ ยตอ่ ยนู ติ ตามล�ำ ดบั และพบวา่ คา่ เฉลยี่ ปรมิ าณ FVIII ทงั้ 2 กลมุ่ มคี า่ แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ทาง สถติ ิ (p = 0.001) โดยพบกลมุ่ first month test มคี า่ สงู กวา่ กลมุ่ last month test แตย่ งั มคี า่ ผา่ นเกณฑม์ าตรฐานของ AABB ทง้ั หมด ดังแสดงใน Table 3 Table 3 Factor VIII and fibrinogen content in sampling CRYO compared first month test and last month test Sampling CRYO Characteristics Standard parameters Criteria Firs(Nt =m9o6n) th Last month p-value (%) (N=24) Label Clear, Correct, Completea % passed 100 100 Appearance No Abnormal color, Visible clota % passed 100 100 Leakage No leakage in any part of containera % passed 100 100 Volume (ml) < 15a % passed 97.91 100 Mean±SD 9.48±2.34 9.13±1.56 0.537 Factor VIII (IU/U) ≥ 80b % passed 100 100 0.001C Mean±SD 132.63±20.96 110.88±17.64 Not test Fibrinogen (mg/U) ≥ 150b % passed 100 Not test Mean±SD 558.59±179.99 Not test a National Blood Centre Thai Red Cross Society (NBC-TRC) standards, b American Association of Blood Banks (AABB) standards, c Independent Sample T-test indicates statistical significance (p < 0.05) hscr ISSUE 1 22
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล CRYO ที่ตรวจปริมาณ FVIII และ fibrinogen ทัง้ หมด 96 ยนู ติ (เฉพาะกลมุ่ first month test) แสดงเป็น จำ�นวน (ร้อยละ) ดงั น้ี แบ่งเป็น CRYO ท่ีเตรยี มจากพลาสมาของเพศชาย จ�ำ นวน 39 ราย (40.6) และหญิง จำ�นวน 57 ราย (59.4) แบ่ง เป็นการบรจิ าคภายในภาคบริการโลหิตแหง่ ชาติ จำ�นวน 57 ราย (59.4) และหน่วยเคล่ือนที่ จำ�นวน 39 ราย (40.6) แบง่ เป็น CRYO ท่ี เตรียมจากพลาสมาของผู้บริจาคหม่โู ลหติ A จำ�นวน 17 ราย (17.7) หมูโ่ ลหติ B จ�ำ นวน 36 ราย (37.5) หมู่โลหิต O จำ�นวน 34 ราย (35.4) และหมู่โลหติ AB จำ�นวน 9 ราย (9.4) แบง่ เปน็ CRYO ท่ีมีปรมิ าตรน้อยกว่า 10 มิลลิลติ ร จ�ำ นวน 59 ยนู ติ (61.4) และมากกว่า หรือเท่ากับ 10 มิลลิลิตร จำ�นวน 37 ยูนติ (38.6) เม่ือวิเคราะหค์ ่าเฉลี่ยปรมิ าณ FVIII และ fibrinogen ใน CRYO จากการแบ่งกลมุ่ ตวั อยา่ ง พบวา่ คา่ เฉลย่ี ปรมิ าณ FVIII มคี า่ แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ไดแ้ ก่ ปรมิ าตร CRYO (p < 0.001) และหมโู่ ลหติ (p = 0.013) โดยปรมิ าตร CRYO พบวา่ ปรมิ าตรทมี่ ากกว่าหรือเท่ากับ 10 มลิ ลิลติ ร มปี ริมาณ FVIII สูงกว่าปริมาตรท่ีนอ้ ยกว่า 10 มลิ ลิลติ ร อยา่ งมี นยั ส�ำ คญั ทางสถติ ิ (p < 0.001) ในหมูโ่ ลหติ พบว่าหมโู่ ลหิต B มปี ริมาณ FVIII สูงสดุ ตามดว้ ยหมโู่ ลหติ AB หมโู่ ลหิต O และหมู่โลหติ A และพบเพียงหม่โู ลหติ B มปี ริมาณ FVIII สงู กว่าหมู่โลหติ A อย่างมีนยั ส�ำ คัญทางสถติ ิ (p = 0.040) เท่านน้ั แต่ไม่พบความแตกตา่ ง (p > 0.05) ของปรมิ าณ FVIII ใน CRYO ระหวา่ งสถานทบี่ รจิ าค และเพศผบู้ ริจาค ส่วนคา่ เฉลย่ี ปริมาณ fibrinogen มีค่าแตกต่างกนั อย่างมนี ยั ส�ำ คัญทางสถิติ ได้แก่ ปริมาตร CRYO (p < 0.001) และเพศผ้บู ริจาค (p = 0.001) โดยปริมาตร CRYO พบว่าปรมิ าตรท่มี าก กวา่ หรอื เทา่ กบั 10 มลิ ลลิ ติ ร มปี รมิ าณ fibrinogen สงู กวา่ ปรมิ าตรทนี่ อ้ ยกวา่ 10 มลิ ลลิ ติ ร อยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ทางสถติ ิ (p < 0.001) สว่ น เพศพบวา่ เพศหญงิ มีปริมาณ fibrinogen สงู กว่าเพศชาย อยา่ งมีนยั สำ�คัญทางสถติ ิ (p = 0.001) แตไ่ ม่พบความแตกตา่ ง (p > 0.05) ของปริมาณ fibrinogen ใน CRYO ระหว่างสถานที่บริจาคและหม่โู ลหติ ดงั แสดงใน Table 4 Table 4 The means difference of Factor VIII and fibrinogen content in sampling CRYO caused by various factors (N=96) Characteristics Number (%) Factor VIII (IU/U) Fibrinogen (mg/U) Mean±SD p-value Mean±SD p-value Sex Male 39 (40.6) 125.55± 22.15 0.060 457.29±137.35 0.001* Female 57 (59.4) 133.36±20.89 623.94±174.66 Donation place In host 57 (59.4) 128.84±24.27 0.322 549.97±164.73 0.542 Mobile unit 39 (40.6) 133.03±15.82 572.51±203.74 ABO Blood group Gr. A 17 (17.7) 121.72±19.22** 0.013* 548.67±184.48 0.742 Gr. B 36 (37.5) 138.46±25.39** 525.96±184.40 Gr. O 34 (35.4) 126.30±18.57 573.88±179.194 Gr. AB 9 (9.4) 131.69±8.64 540.76±162.89 CRYO volume (ml) <10 59 (61.4) 123.18±6.73 <0.001* 470.93±136.30 <0.001* ≥10 37 (38.6) 141.74±23.74 689.01±157.41 * Independent Sample T-test or F-test (One-way ANOVA) indicates statistical significance (p < 0.05), ** Scheffe’s method indicates statistical significance (p < 0.05) hscr ISSUE 1 23
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 อภิปรายผล จากการศึกษาคุณภาพ CRYO ของภาคบริการโลหิตแห่งชาติที่ 9 จังหวัดพิษณุโลกที่ผลิตจากตู้แช่แข็ง UPAC deep freezer พบว่า ค่าปริมาณ FVIII และ fibrinogen ใน CRYO ผ่านเกณฑม์ าตรฐานของ AABB รอ้ ยละ 100 และพบปริมาณ FVIII ใน CRYO ที่ ตรวจวัดภายใน 1 เดือนหลงั บริจาคโลหติ สูงกว่าท่ตี รวจวัดภายใน 1 เดือนกอ่ นหมดอายุ แตท่ ัง้ หมดมคี า่ ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน แสดงให้ เห็นวา่ ตแู้ ชแ่ ข็ง UPAC deep freezer มีประสิทธภิ าพสามารถใชใ้ นการผลติ CRYO ทม่ี คี ุณภาพไม่ด้อยไปกว่ามาตรฐานท่กี �ำ หนดของ ปริมาณ FVIII และ fibrinogen ในระดบั สากล และวธิ กี ารผลติ CRYO ทใี่ ชอ้ ยู่ ในปัจจุบันเป็นวธิ ีการทไ่ี ดม้ าตรฐาน โดยปรมิ าณ FVIII และ fibrinogen เท่ากับ 130.34±21.63 หน่วยต่อยนู ิต และ 558.59±179.99 มลิ ลิกรมั ต่อยนู ิต ตามล�ำ ดบั และพบปริมาณ FVIII ใน CRYO ที่ตรวจวัดภายใน 1 เดือนหลังบริจาคโลหิตและตรวจวัดภายใน 1 เดือนก่อนหมดอายุ เท่ากับ 132.63±20.96 หน่วยต่อยูนิต และ 110.88±17.64 หน่วยต่อยูนติ ตามลำ�ดับ ซ่ึงสงู กวา่ มาตรฐานของ AABB1 ทกี่ �ำ หนดให้ต้องมีปรมิ าณ FVIII ไมต่ ่ํากว่า 80 หนว่ ย ตอ่ ยนู ติ ปรมิ าณ fibrinogen ไมต่ ่าํ กวา่ 150 มลิ ลิกรัมต่อยนู ิต และพบค่าปริมาณ FVIII และ fibrinogen ใกลเ้ คียงกับการศกึ ษาใน ประเทศสหรัฐอเมรกิ าของ Caudill JS12 ทพ่ี บเท่ากบั 133±37 หน่วยตอ่ ยนู ติ และ 319±76 มิลลกิ รมั ตอ่ ยูนติ ตามลำ�ดบั และการศกึ ษา ในประเทศไทยของ Bejrachandra S13 ทพ่ี บเทา่ กบั 139±43 หนว่ ยตอ่ ยนู ิต และ 200±80 มิลลิกรมั ตอ่ ยนู ติ ตามลำ�ดบั ส่วนปริมาณ fibrinogen พบวา่ มคี า่ ค่อนข้างสูงกว่าทัง้ 2 การศกึ ษา อาจเนื่องจากมคี วามแตกตา่ งกันของวธิ ีการผลติ โดยปรมิ าตร CRYO ส่วนใหญ่ ในการศึกษานีม้ ีค่าคอ่ นข้างตํา่ เทา่ กับ 9.63±2.54 มิลลิลิตร ใกลเ้ คียงการศกึ ษาของ Caudill JS12 และของ Cardigan R14 ทีพ่ บปรมิ าตร CRYO เท่ากับ 8.80±2.61 มลิ ลิลิตร และ 9.26±3.59 มิลลิลิตร ตามล�ำ ดับ อาจเน่ืองจากวิธีการผลติ CRYO นผ้ี วู้ ิจยั ประยุกตใ์ ชต้ แู้ ช่แข็ง UPAC deep freezer แทนเครอ่ื งแชแ่ ขง็ blast freezer และ freezing bath อาจท�ำ ใหไ้ ดป้ รมิ าตรตะกอน CRYO นอ้ ยลงได้ ดงั รายงาน Omidkhoda A15 ทพี่ บวา่ การแชแ่ ขง็ พลาสมาใน blast (rapid) freezer ท�ำ ใหป้ รมิ าตรตะกอน CRYO ปรมิ าณ FVIII และ fibrinogen สงู กวา่ การแชแ่ ขง็ ใน deep freezer อยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามวธิ กี ารแชแ่ ขง็ ดงั กลา่ วทผ่ี วู้ จิ ยั ใชเ้ ปน็ วธิ ที ่ี Bejrachandra S9 รายงาน วา่ การแชแ่ ข็งพลาสมาสำ�หรบั ผลิต CRYO ดว้ ยตแู้ ช่แขง็ freezer ที่ผลิตในประเทศไทยได้ปริมาณ FVIII และ fibrinogen ตามมาตรฐาน โดยตแู้ ชแ่ ขง็ UPAC deep freezer ในการผลติ CRYO ดงั กลา่ วจะชว่ ยลดตน้ ทนุ การผลติ จากการซอ้ื เครอ่ื งมอื ราคาแพงเนอ่ื งจากผลติ ใน ประเทศไทยทำ�ให้มรี าคาถูกกว่าทซี่ ือ้ จากตา่ งประเทศ วิธีใช้งานงา่ ยท�ำ อณุ หภูมิได้ถึง – 40 องศาเซลเซียสหรือต่ํากวา่ ในบางร่นุ มีถาดใส่ พลาสมาในชอ่ งแชแ่ ขง็ แบง่ เปน็ ชน้ั มากกวา่ 20 ชน้ั สามารถวางพลาสมาแชแ่ ขง็ ในแนวราบท�ำ ใหพ้ ลาสมาแขง็ ตวั สมา่ํ เสมอทวั่ ทง้ั ถงุ ภายใน 1-4 ช่ัวโมงและแช่พลาสมาได้มากถึง 220-330 ยูนิตต่อตู้ อีกทั้งตู้แช่แข็งแบบทรงตั้งมีขนาดเล็กไม่เปลืองพื้นที่ในการจัดวางมาก เหมาะสมกบั ภาคบรกิ ารโลหิตหรือโรงพยาบาลทมี่ ีพน้ื ที่คอ่ นข้างจ�ำ กดั เมอ่ื วิเคราะห์คา่ เฉลีย่ ปรมิ าณ FVIII และ fibrinogen ใน CRYO จากการแบง่ กลมุ่ ตัวอย่างพบคา่ เฉลีย่ ปรมิ าณ FVIII มคี า่ ต่างกัน อย่างมีนยั สำ�คญั ไดแ้ ก่ ปรมิ าตร CRYO และหมู่โลหิตผ้บู ริจาค สว่ นคา่ เฉลยี่ ปรมิ าณ fibrinogen มคี า่ ต่างกนั อยา่ งมีนัยส�ำ คญั ได้แก่ ปริมาตร CRYO และเพศผูบ้ รจิ าคโลหติ และยงั พบปรมิ าณ FVIII ใน CRYO ท่ตี รวจวัดภายใน 1 เดอื นหลงั บรจิ าคโลหติ สงู กว่าทต่ี รวจวดั ภายใน 1 เดือนก่อนหมดอายอุ ยา่ งมนี ยั สำ�คญั สอดคลอ้ งกับการศกึ ษาท่ีผา่ นมา ไดแ้ ก่ ปรมิ าตรตะกอน CRYO16,17 CRYO ท่ีเตรยี มจาก ผู้บริจาคหมู่โลหิตต่างกัน13,16-18 ระยะเวลาการเก็บพลาสมาแช่แข็งหรือ CRYO10 มีผลกับปริมาณ FVIII และ/หรือ fibrinogen ใน CRYO แต่การศกึ ษานี้ยงั พบวา่ CRYO จากผู้บริจาคโลหติ เพศหญงิ มปี รมิ าณ fibrinogen สูงกวา่ ใน CRYO จากผูบ้ รจิ าคโลหิตเพศชาย อีกดว้ ย ซงึ่ อาจเปน็ ข้อมลู ท่ีแตกต่างจากการศึกษาทผี่ ่านมา โดยพบปรมิ าตร CRYO ที่มากกว่าหรอื เทา่ กับ 10 มิลลิลติ ร มีปริมาณ FVIII สูงกว่าปริมาตรท่ีน้อยกว่า 10 มิลลิลิตร อาจเน่ืองจาก FVIII มีคุณสมบัติตกตะกอนท่ีอุณหภูมิตํ่าเม่ือนำ�พลาสมาที่ละลายแล้วไปป่ันท่ี อุณหภูมิดังกลา่ วจะทำ�ให้ FVIII หรอื fibrinogen จำ�นวนมากไปรวมตวั กับโปรตีนอ่นื ในตะกอน สอดคล้องกับ Bettigole RE17 ทีร่ ายงาน วา่ ปริมาตร CRYO ท่สี ูงจะมีค่าเฉลี่ย FVIII สูงตามไปดว้ ย และพบหมโู่ ลหติ ในระบบ ABO ของผู้บริจาคมีปริมาณ FVIII ใน CRYO ท่ีต่าง กนั และพบหมโู่ ลหิต B สูงสดุ ตามดว้ ยหมู่โลหิต AB หมูโ่ ลหิต O และหมโู่ ลหิต A ตามลำ�ดบั แต่การศึกษานพี้ บเพยี งหมู่โลหิต B สงู กวา่ หมโู่ ลหติ A อย่างมนี ยั ส�ำ คัญ สอดคล้องกับรายงานที่ผ่านมาที่ว่า CRYO จากหมู่โลหติ ในระบบ ABO แตล่ ะหม่จู ะมปี รมิ าณ FVIII ทต่ี า่ งกัน ดงั รายงานของ Hoffman M16 ที่พบว่า หมู่โลหิต B และหมโู่ ลหติ A มปี รมิ าณ FVIII สงู กวา่ หมโู่ ลหิต O และ Philip J18 ที่ พบวา่ หมู่โลหติ AB มปี ริมาณ FVIII สงู กวา่ หมูอ่ นื่ ๆ สว่ น Bejrachandra S13 ทร่ี ายงานวา่ หมู่โลหิต O มีปริมาณ FVIII ตา่ํ กว่าหมู่อน่ื ๆ hscr ISSUE 1 24
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 จะเห็นวา่ ล�ำ ดับปริมาณ FVIII ในแตล่ ะหมูโ่ ลหิตยังมขี ้อมลู ทหี่ ลากหลายและบางสว่ นขัดแยง้ กบั การศกึ ษานี้ อาจเน่ืองจากการศกึ ษานม้ี ี จำ�นวนตัวอยา่ งในแตล่ ะหมูท่ ่ไี ม่เท่ากนั และบางหมู่โลหติ มีน้อยมาก ส่วนของระยะเวลาการเก็บ CRYO กอ่ นทำ�การตรวจคณุ ภาพ พบว่า กลุม่ first month test มีปริมาณ FVIII สงู กวา่ กลุ่ม last month test สอดคลอ้ งกับ Kasper CK10 ที่รายงานว่า ระยะเวลาเก็บ CRYO ไว้นานเกินไปจะส่งผลให้ปริมาณ FVIII ลดลงได้ แต่การศึกษาน้ียังพบว่า CRYO ในกลุ่ม last month test ยังมีปริมาณ FVIII ผ่าน เกณฑ์ของ AABB ทัง้ หมด แสดงว่าวธิ ีการผลติ และเกบ็ รักษา CRYO ที่ใชอ้ ยูใ่ นปจั จบุ ันเป็นวธิ ีที่ไดม้ าตรฐานระดบั สากล โดยจากผลการ ตรวจคณุ ภาพ CRYO แม้การเก็บรักษากอ่ นนำ�ไปให้ผปู้ ่วยจะเวลาผา่ นไปจนใกลห้ มดอายกุ ็ไมไ่ ดท้ ำ�ให้คณุ ภาพลดตํ่ากวา่ เกณฑม์ าตรฐาน ท่ีกำ�หนด ในส่วนเพศของผู้บริจาคโลหิตพบว่า CRYO ท่ีเตรียมจากพลาสมาของเพศหญิงมีปริมาณ fibrinogen สูงกว่าเพศชาย ซึ่ง แตกตา่ งกบั Weisert O19 และของ Tarallo P20 ท่รี ายงานว่า ไม่พบความแตกต่างอยา่ งมีนยั สำ�คัญของระดับ fibrinogen ระหว่างเพศ ในทุกกลมุ่ อายุ แตท่ ้ังสองงานวจิ ัยดังกลา่ วเป็นการศึกษาในตัวอยา่ งโลหิตไมใ่ ช่ในตัวอยา่ ง CRYO ซง่ึ ผู้วจิ ยั คาดว่าอาจมีปจั จยั อืน่ ในเพศ หญิงทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การเพิม่ หรือรักษาปรมิ าณ fibrinogen ใน CRYO ไดด้ กี วา่ เพศชาย การศึกษานี้มีผลการศึกษาบางส่วนขัดแย้งกับรายงานที่ผ่านมาอาจเน่ืองจากเป็นการศึกษาแบบย้อนหลังที่มีข้อจำ�กัดในจำ�นวน ตัวอย่าง CRYO ทีส่ ุ่มสง่ ตรวจคุณภาพมจี ำ�นวนน้อยเพยี งร้อยละ 0.63 จากยอดผลิตทั้งหมด แตเ่ ปน็ การสมุ่ ตรวจในงานประจ�ำ จำ�นวน และความถ่ตี ามเกณฑม์ าตรฐานของ AABB และเปน็ การสมุ่ แบบความน่าจะเปน็ เทา่ กนั ท�ำ ใหไ้ มส่ ามารถควบคุมจ�ำ นวนตัวอยา่ งในแต่ละ กลมุ่ ปจั จยั ใหเ้ ทา่ กนั ได้ ท�ำ ใหบ้ างปจั จยั มจี �ำ นวนตวั อยา่ งในแตล่ ะกลมุ่ แตกตา่ งกนั มาก เชน่ ปจั จยั ในดา้ นเพศทก่ี ลมุ่ เพศหญงิ มจี �ำ นวนสงู กว่าเพศชาย จ�ำ นวนกล่มุ ตัวอยา่ งในแต่ละหมู่โลหิตที่มีจ�ำ นวนแตกต่างกันมาก หรือวันที่ตรวจคณุ ภาพกลมุ่ first month test มจี ำ�นวน ตวั อย่างสูงกว่ากล่มุ last month test ถึงเกอื บ 5 เทา่ รวมทงั้ ในกลมุ่ last month test ทีไ่ ม่ไดท้ ำ�การตรวจปรมิ าณ fibrinogen ใน งานประจ�ำ อีกด้วย ดงั นั้นอาจต้องมีการเกบ็ ข้อมูลเพิม่ เติมและศึกษาเพม่ิ เติมตอ่ ไป อกี ทั้งการศกึ ษาน้ีเป็นการวเิ คราะหผ์ ลตรวจคณุ ภาพ CRYO ท่ีได้จากการผลิตและส่งตรวจคุณภาพในงานประจำ�ย้อนหลังไป 4 ปี ไม่สามารถทำ�การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้บริจาค โลหติ อนั ได้แก่ นํา้ หนกั สว่ นสูง ความดันโลหิต ปริมาณฮโี มโกลบนิ และข้อมลู สขุ ภาพของผู้บริจาคโลหิต อกี ทั้งยังมีข้อจ�ำ กัดในการ สบื คน้ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วกลบั ไปถงึ ตวั ผบู้ รจิ าคทที่ �ำ ไดค้ อ่ นขา้ งยากจากระบบสารสนเทศทใี่ ชอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั และไมไ่ ดม้ กี ารตรวจปรมิ าณ FVIII หรือ fibrinogen ในผู้บริจาคแต่ละรายเพ่ือใช้มาเป็นตัวควบคุมและเปรียบเทียบ แต่ในการรับบริจาคโลหิตใช้วิธีคัดเลือกผู้บริจาคตาม เกณฑม์ าตรฐาน การเจาะเกบ็ โลหติ บรจิ าค การปน่ั แยกสว่ นประกอบโลหติ การผลติ CRYO การสมุ่ ตรวจคณุ ภาพ และการตรวจคณุ ภาพ รวมท้ังได้ทำ�การควบคุมปัจจัยอ่ืนท่ีอาจเกี่ยวของกับคุณภาพ CRYO โดยการปฏิบัติตามระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานของศูนย์บริการ โลหติ แหง่ ชาติ สภากาชาดไทยทั้งหมด จากผลการศึกษาประสทิ ธิภาพต้แู ชแ่ ขง็ UPAC deep freezer ในการผลิต CRYO พบปรมิ าณ FVIII และ fibrinogen ใน CRYO อาจแตกตา่ งกนั ออกไปเมอ่ื พจิ ารณาจากกลมุ่ ของปจั จยั ไดแ้ ก่ ปรมิ าตร CRYO หมโู่ ลหติ ในระบบ ABO และเพศผบู้ รจิ าคโลหติ นนั้ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วอาจใชเ้ ปน็ แนวทางในการพฒั นาการผลติ เพอ่ื ใหไ้ ด้ CRYO ทมี่ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานส�ำ หรบั รกั ษาผปู้ ว่ ย และจะเหน็ ไดว้ า่ ในการ ผลิต CRYO ยังมีอีกหลายข้ันตอนและหลายปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพ ดังนั้นควรระวังและคำ�นึงถึงการผลิต CRYO ในทุกข้ันตอนตั้งแต่ การรับบรจิ าคโลหติ ที่ไดค้ ุณภาพ ปั่นแยกโลหิตและแช่แขง็ พลาสมาตามเวลา แช่แขง็ และละลายพลาสมาด้วยวธิ ีทไ่ี ด้มาตรฐาน ป่ันและ แยก CRYO ทันทีหลงั ละลาย เก็บรกั ษาและขนสง่ ในสภาวะท่เี หมาะสม รวมถงึ เครือ่ งมอื อปุ กรณท์ ่ใี ชค้ วรผา่ นการสอบเทียบและบำ�รงุ รักษาให้พร้อมใช้ตลอดเวลา อีกทั้งการใชต้ ู้แชแ่ ขง็ UPAC deep freezer แทนเครื่องแช่แข็ง blast freezer และ freezing bath ท�ำ ให้ CRYO ทผี่ ลติ ได้ท้งั หมดมคี ณุ ภาพไมด่ อ้ ยกวา่ มาตรฐานระดบั สากล โดยการใช้ตแู้ ชแ่ ขง็ UPAC deep freezer ที่ผลิตในประเทศไทยช่วย ลดตน้ ทนุ การผลติ จากการซอื้ เครอ่ื งมอื ราคาแพง รวมไปถงึ ชว่ ยลดสถานทท่ี ใ่ี ชว้ างเครอื่ งมอื ขนาดใหญ่ ซงึ่ เหมาะสมกบั ภาคบรกิ ารโลหติ หรอื โรงพยาบาลทมี่ พี นื้ ทค่ี อ่ นขา้ งจ�ำ กดั อกี ทง้ั ยงั สง่ ผลท�ำ ใหภ้ าคบรกิ ารโลหติ แหง่ ชาตทิ ี่ 9 จงั หวดั พษิ ณโุ ลกมผี ลติ ภณั ฑโ์ ลหติ ชนดิ CRYO ส�ำ รองให้โรงพยาบาลในเขตใหบ้ รกิ าร ไดแ้ ก่ จงั หวัดพษิ ณโุ ลก อตุ รดติ ถ์ เพชรบูรณ์ พิจิตร แพร่ นา่ น และจังหวดั ใกล้เคยี ง สามารถ เบกิ ใช้ส�ำ หรับการรกั ษาผปู้ ว่ ยในระยะเวลาทีส่ มควรตามจำ�นวนท่ีเหมาะสมและเกิดประโยชนต์ อ่ ผ้ปู ่วยสงู สุด hscr ISSUE 1 25
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 สรุป ตู้แช่แข็ง UPAC deep freezer มีประสิทธิภาพสามารถใช้ในการผลิต CRYO ท่ีมีคุณภาพไม่ด้อยไปกว่ามาตรฐานท่ีกำ�หนดของ ปริมาณ FVIII และ fibrinogen ในระดบั สากล อยา่ งไรกต็ ามปริมาณดงั กลา่ วอาจแตกตา่ งกันออกไป เมื่อพิจารณาจากกลมุ่ ของปัจจยั ไดแ้ ก่ ปรมิ าตร CRYO หม่โู ลหติ ในระบบ ABO และเพศผบู้ รจิ าคท่อี าจมีผลตอ่ คุณภาพ CRYO ขอ้ มลู ดังกล่าวอาจใช้เปน็ แนวทางในการ พัฒนาการผลิตเพ่ือให้ได้ CRYO ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสำ�หรับรักษาผู้ป่วยในเขตบริการของภาคบริการโลหิตแห่งชาติท่ี 9 จังหวัด พษิ ณโุ ลก อีกทั้งการใชต้ ู้แชแ่ ขง็ UPAC deep freezer ผลิต CRYO จะช่วยลดต้นทุนการผลติ จากการซื้อเคร่อื งมือราคาแพง รวมไป ถงึ ชว่ ยลดสถานทท่ี ี่ใช้วางเครือ่ งมือขนาดใหญ่ ซง่ึ เหมาะสมกบั ภาคบริการโลหิตหรอื โรงพยาบาลทมี่ ีพื้นทค่ี ่อนขา้ งจำ�กดั ข้อเสนอแนะ 1. ควรเลือกตู้แชแ่ ขง็ UPAC deep freezer ตามขนาด ย่หี อ้ และรุ่นให้เหมาะสมกับลกั ษณะและปริมาณการผลติ FFP หรอื CRYO เพอื่ ใหส้ ามารถควบคุมคณุ ภาพการผลิตและเกดิ ความคมุ้ ทุนมากทีส่ ุด 2. ควรควบคุมปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่ คุณภาพ CRYO ในทกุ ขน้ั ตอนการผลิตจนถงึ น�ำ ไปเติมให้ผ้ปู ่วย โดยควรเลอื กพลาสมาจากผู้บรจิ าค หม่โู ลหติ B จากผูบ้ ริจาคเพศหญิง และไมค่ วรน�ำ พลาสมาท่มี ีอายกุ ารเก็บรกั ษาใกลห้ มดอายุมาผลติ CRYO 3. ควรศกึ ษาปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ การเพม่ิ ขนึ้ ของตะกอน CRYO เพม่ิ เตมิ เนอื่ งจากมผี ลตอ่ การเพม่ิ ของทง้ั ปรมิ าณ FVIII และ fibrinogen ซ่ึงถอื เป็นตวั ชวี้ ดั คุณภาพท่สี ำ�คญั ของผลติ ภัณฑ์ กิตตกิ รรมประกาศ ผ้วู จิ ยั ขอขอบคุณรองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงดุจใจ ชยั วานชิ ศริ ิ ผูอ้ �ำ นวยการศนู ย์บริการโลหิตแหง่ ชาติ สภากาชาดไทย ทใ่ี ห้ โอกาสผ้วู จิ ยั ได้ท�ำ การศึกษาวจิ ยั ในครงั้ น้ี ขอขอบคุณเจ้าหน้าท่ฝี า่ ยควบคุมคณุ ภาพ ศูนยบ์ ริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ทใ่ี ห้ ความอนเุ คราะหใ์ นการตรวจคณุ ภาพโลหติ และสว่ นประกอบโลหติ ดว้ ยดตี ลอดมา รวมทงั้ เจา้ หนา้ ทภ่ี าคบรกิ ารโลหติ แหง่ ชาตทิ ่ี 9 จงั หวดั พษิ ณโุ ลกทกุ ท่าน ทใี่ ห้ความรว่ มมอื และอำ�นวยความสะดวกแกผ่ ู้ทำ�วิจยั เปน็ อยา่ งดี เอกสารอา้ งอิง 1. Brecher ME, Leger RM, Linden IV. Technical manual. 16thed. Bethesda, MD: American Association of Blood Banks; 2008. 2. Kasper CK. Judith graham pool and the discovery of cryoprecipitate. Hemophilia. 2012;18:833–5. 3. Council of Europe. Guide to the preparation, use and quality assurance of blood components. 14thed. Strasbourg Cedex: Council of Europe; 2008. 4. Nascimento B, Goodnough LT and Lev JH. Cryoprecipitate therapy. Br J Anaesthesia. 2014;113(6):922–34 5. O’Shaughnessy DF, Atterbury C, Bolton Maggs P, Murphy M, Thomas D, Yates S, et al. Guidelines for the use of fresh-frozen plasma, cryoprecipitate and cryosupernatant. Br J Haematol. 2004;126:11–28. 6. National Blood Centre, Thai Red Cross Society. Standards for blood banks and transfusion services. 4st ed. Bangkok: Udom suksa; 2015. 7. Dhingra N. Screening donated blood for transfusion transmissible infections. World Health Organization; 2010. p. 24-31. 8. Sparrow RL, Greening DW, Simpson RJ. A protocol for the preparation of cryoprecipitate and cryodepleted plasma. Meth Mol Biol. 2011;728:259-65. 9. Bejrachandra S, O’Charoen R, Opartkiattikul N, Siriboonrit U, Kaewkamol K, Sombatnimitsakul S, et al. As sessment of cryoprecipitate preparation by two freezing techiques: InstaCool freezer and freezer. Thai J Hematol Transfus Med. 1992;2(3):303-11. hscr ISSUE 1 26
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 10. Kasper CK, Myhre BA, McDonald JD, Nakasako Y, Feinstein DI. Determinants of factor VIII recovery in cryo precipitate. Transfu-sion. 1975;15:312-22. 11. Kang EP. An improved thaw-siphon method for the cryoprecipitate preparation. Vox Sang. 1980;38:172-7. 12. Caudill JS, Nichols WL, Plumhoff EA, Schulte SL, Winters JL, Gastineau DA, et al. Comparison of coagulation factor XIII content and concentration in cryoprecipitate and fresh-frozen plasma. Transfusion. 2009;49:765–70. 13. Bejrachandra S, Chandanayingyong D, Visudhiphan S, Tumliang S, Kaewkamol K, Siribunrit U. Factor VIII, factor IX and fibrinogen content in cryoprecipitate, fresh plasma and cryoprecipitate-removed plasma. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 1993;24 (Suppl 1):162-4. 14. Cardigan R, Philpot K, Cookson P, Luddington R. Thrombin generation and clot formation in methylene blue-treated plasma and cryoprecipitate. Transfusion. 2009;49:696–703. 15. Omidkhoda A, Tabatabaei MR, Atarodi K, Karimi K, Froushani AR, Pourfathollan AA. A comparative study of the effects of temperature, time and factor VIII assay type on factor VIII activity in cryoprecipitate in Iran. Blood Transfus. 2011;9:394-9. 16. Hoffman M, Koepke JA, Widmann FK. Fibrinogen content of low-volume cryoprecipitate. Transfusion 1987;27:356-8. 17. Bettigole RE, Tourbaf K, Robson EB, Schultz M. The effect of cryoprecipitate volume on factor VIII content. Transfusion. 1974;14:598-601. 18. Philip J, Kumarage S, Chatterjee T, Kumar S, Mallhi R. The possible advantages of cryoprecipitate prepared from fresh frozen plasma from blood stored for 24 hours. Lab Med Spring. 2014;45:111-5. 19. Weisert O, Jeremic M. Plasma fibrinogen levels in 1,016 regular blood donors. Vox Sang. 1974;27:176-85.25. 20. Tarallo P, Henny J, Gueguen R, Siest G. Reference limits of plasma fibrinogen. Clin Chem Clin Biochem. 1992;30:745-51. hscr ISSUE 1 27
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 Effects of Cold-pressed Tiliacora Extract in Reducing Mucositis Among Leukemia Patients Treated with Chemotherapy at Uttaradit Hospital Sanong Luanratanakorn, Saipin Kueareenuntawoot, Nongnuch Sangsai Special ward 1/2, Uttaradit Hospital ABSTRACT Objective : This study was a quasi-experimental research aiming to examine the effects of cold- pressed Tiliacora extract to reduce mucositis who received chemotherapy treatment in the V.I.P. ward at Uttaradit Hospital. Study Design : Quasi-experimental research Methods : The subjects were chosen according to the designated characteristics and were similar relating to genders, age, illness, treatment, and prescribed chemotherapy where all of them were divided into two groups by parings. The first 7 patients were assigned the controlled group to received regular nursing care together with 0.9% normal saline gargle. The other 7 patients were assigned as the experimental group who received nursing care focusing on giving information, practice of stills, encouragement and support for oral health self-care with the use of cold-pressed Tiliacora extract gargle. The data collection was performed with the evaluation on the patients’ mucositis as designed by World Health Organization, evaluation form on pain from mucositis. The research instruments included manuals, posters, and brochures. The statistical analysis was carried out with percentage, mean, standard deviation, and Repeated Measures ANOVA. Conclusion : This study revealed the benefits of nursing care which focuses to provide information, skills practices, encouragement and support for oral health self-care by using the cold-pressed Tili- acora extract gargle. Therefore, it was highly suggested there be information provision, skills practice, encouragement and support for oral health self-care with the use of cold-pressed Tiliacora extract gargle in the types of patients. Additionally, participation from family members and further expansion of the benefit should be also taken for consideration for other types of cancer patients with other oral problems. Keywords : chemotherapy, Leukemia, mucositis Contact : Sanong Luanratanakorn Address : Special ward 1/2, Uttaradit Hospital. 38 Jesadabodin Road, Tha-it Subdistrict, Mueang District, Uttaradit Province, 53000. E-mail : [email protected] hscr ISSUE 1 28
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 ผลของนํ้าใบย่านางสกดั เยน็ เพอื่ ลดอาการเยอื่ บชุ อ่ งปากอกั เสบในผปู้ ่วย มะเร็งเม็ดเลอื ดขาวที่ไดร้ ับเคมบี �ำ บัด โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ สนอง ลว้ นรัตนากร, สายพณิ เกอ้ื อารีนนั ทวุฒ,ิ นงนุช แสงสาย หอผ้ปู ว่ ยพเิ ศษ 1 ช้ัน 2 โรงพยาบาลอตุ รดิตถ์ บทน�ำ วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาผลของนํ้าใบย่านางสกัดเย็นเพ่ือลดอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวท่ีได้รับ เคมบี ำ�บดั ณ หอผู้ป่วยพเิ ศษ โรงพยาบาลอตุ รดติ ถ์ วธิ กี ารศกึ ษา : การวจิ ยั นเี้ ปน็ การวจิ ยั แบบกง่ึ ทดลอง ผวู้ จิ ยั เลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งตามคณุ สมบตั ทิ ก่ี �ำ หนด และแบง่ กลมุ่ ตวั อยา่ งออก เป็น 2 กล่มุ ทม่ี ีลักษณะคล้ายคลึงกันในเร่ืองเพศ อายุ โรค การรกั ษา และยาเคมีบำ�บดั ทไ่ี ดร้ บั โดยวธิ ีการจบั คู่ จดั ใหผ้ ู้ปว่ ย 7 รายแรกเป็นกลมุ่ ควบคมุ ไดร้ ับการพยาบาลตามปกติรว่ มกบั การอมกลว้ั ปากดว้ ย 0.9% Normal Saline 7 รายตอ่ มาเปน็ กลุ่ม ทดลองได้รับการพยาบาลที่เน้นการให้ข้อมูล การฝึกทักษะปฏิบัติ การส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลช่องปากด้วยตนเอง รว่ มกบั การอมกลว้ั ปากดว้ ยนา้ํ ใบยา่ นางสกดั เยน็ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยใชแ้ บบประเมนิ อาการเยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบขององคก์ าร อนามัยโลก แบบประเมินระดบั ความปวดจากอาการเยอื่ บุชอ่ งปากอักเสบ เคร่อื งมือในการทดลองประกอบด้วย เอกสารค่มู อื โปสเตอร์ และแผน่ พบั วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใชส้ ถติ ริ อ้ ยละ คา่ เฉลยี่ คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน และสถติ วิ เิ คราะหค์ วามแปรปรวนแบบ วดั ซํา้ (Repeated Measures ANOVA) ผลการศกึ ษา : พบวา่ เมอ่ื สน้ิ สดุ การทดลองผปู้ ว่ ยมะเรง็ เมด็ เลอื ดขาวทไ่ี ดร้ บั เคมบี �ำ บดั กลมุ่ ทดลองไดร้ บั การพยาบาลทเี่ นน้ การ ให้ข้อมูล การฝึกทักษะปฏิบัติ การส่งเสริมและ สนับสนุนการดูแลช่องปากด้วยตนเองร่วมกับการอมกลั้วปากด้วยนํ้าใบย่านาง สกดั เย็น มีคะแนนเฉล่ียอาการเยอ่ื บุชอ่ งปากอักเสบ และคะแนนเฉล่ียระดบั ความปวดจากอาการเย่ือบชุ ่องปากอกั เสบหลังการ ทดลองตาํ่ กวา่ กลมุ่ ทไี่ ดร้ บั การพยาบาลตามปกตริ ว่ มกบั การอมกลวั้ ปากดว้ ย 0.9% Normal Saline อยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั (p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ : ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นประโยชน์ของการพยาบาลท่ีเน้นการให้ข้อมูล การฝึกทักษะปฏิบัติ การ ส่งเสริมและ สนบั สนนุ การดแู ลช่องปากดว้ ยตนเองรว่ มกบั การอมกล้วั ปากด้วยน้ําใบยา่ นางสกดั เย็น จงึ ควรมกี ารสนับสนุนให้มี การใช้การพยาบาลทเ่ี น้นการให้ขอ้ มูล การฝกึ ทกั ษะปฏิบัติ การส่งเสรมิ และ สนับสนนุ การดแู ลช่องปากดว้ ยตนเองรว่ มกบั การ อมกลั้วปากด้วยน้ําใบย่านางสกัดเย็น ร่วมกับน้ําใบย่านางสกัดเย็นกับผู้ป่วยกลุ่มน้ี ทั้งนี้ควรให้ญาติ เข้ามามีส่วนร่วมด้วย และ ควรมีการน�ำ ไปทดสอบกบั ผปู้ ่วยมะเรง็ ที่มีเยื่อบุชอ่ งปากอกั เสบกลุ่มอ่นื ๆ ตอ่ ไปด้วย ค�ำ ส�ำ คัญ : เคมบี �ำ บดั , มะเรง็ เม็ดเลือดขาว, เย่ือบชุ ่องปากอกั เสบ ตดิ ต่อ : สนอง ล้วนรัตนากร สถานท่ีติดตอ่ : หอผู้ป่วยพิเศษ 1 ชั้น 2 โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ 38 ถนนเจษฎาบดินทร์ ตำ�บลทา่ อฐิ อำ�เภอเมอื ง จงั หวดั อุตรดติ ถ์ 53000 อีเมล์ : [email protected] hscr ISSUE 1 29
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 ความเป็นมาและความส�ำ คัญของปัญหา ประเทศไทย มะเรง็ เป็นสาเหตุการตายที่ส�ำ คญั จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุข พบว่ามผี เู้ สยี ชวี ิต ประมาณ 60,000 ราย ตอ่ ปี หรือเฉล่ยี เกอื บ 7 รายต่อชัว่ โมง1 การรักษามะเรง็ มหี ลายวธิ ี การใหย้ าเคมีบ�ำ บดั เป็นวธิ ีหน่งึ ซ่ึงพบวา่ มีภาวะแทรกซ้อนทส่ี �ำ คญั คือ ภาวะเยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบ ซงึ่ สง่ ผลกระทบท�ำ ใหผ้ ปู้ ว่ ยเจบ็ ปวด ทกุ ขท์ รมาน รบั ประทานอาหารไดน้ อ้ ย นา้ํ หนกั ตวั ลดลง และตอ้ งกลบั เขา้ รบั การรกั ษาในโรงพยาบาลชา้ํ ดว้ ยภาวะไขแ้ ละการตดิ เชอื้ เนอ่ื งจากเยอื่ บชุ อ่ งปากอกั เสบ2 ยาเคมบี �ำ บดั เปน็ หนงึ่ ในวธิ กี ารรกั ษาโรคมะเรง็ ทมี่ งุ่ หวงั ผลการท�ำ ลายเซลลม์ ะเร็งท่ัวร่างกาย (systemic therapy) โดยมีววิ ัฒนาการของการพัฒนาตวั ยาเคมีบ�ำ บดั ทีม่ ีประสทิ ธภิ าพสูง ข้ึนเรือ่ ยๆ และในระยะเวลา หลายสิบปีท่ผี ่านมา การรกั ษาด้วยยาเคมบี ำ�บดั กพ็ บว่าไดผ้ ลดีในการควบคุมการแพร่กระจายของโรคมะเร็ง ทเ่ี ซลลม์ ะเรง็ ยงั อยเู่ ฉพาะท่ี แตใ่ นขณะเดยี วกนั กม็ ผี ลขา้ งเคยี งสงู โดยเฉพาะการเกดิ เยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบ ถงึ รอ้ ยละ 40 อาการเยอื่ บชุ อ่ ง ปากอักเสบก่อให้เกิดปัญหาในช่องปาก ความไม่สุขสบาย ความทุกข์ทรมาน และนับเป็นสถานการณ์ที่คุกคามต่อชีวิต ดังนั้นจึงมีความ จำ�เป็นต้องมีการจัดการกับอาการที่เหมาะสมเพ่ือลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น จากการทบทวนวรรณกรรมทางการพยาบาลเกี่ยวกับ อาการเย่ือบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำ�บัด พบว่า ผู้ป่วยมีความต้องการที่จะจัดการกับอาการเย่ือบุช่องปากอักเสบ ให้เพียงพอ เพ่ือลดผลกระทบและภาวะแทรกซ้อนที่ตามมา และผลการศึกษาก็พบว่ามีวิธีการต่างๆ ที่สามารถบรรเทาอาการเยื่อบุช่อง ปากอกั เสบได้ เพียงแต่มีขอ้ จ�ำ กดั ในการใช้หรือเหมาะสมกบั สถานการณ์ใดสถานการณห์ น่ึง และยังพบผ้ปู ว่ ยท่ีไม่สามารถควบคมุ อาการ เยื่อบชุ ่องปากอกั เสบหลังไดร้ ับยาเคมบี ำ�บัดได้ ผวู้ จิ ัยจงึ สนใจวิธจี ัดการทเ่ี น้นใหผ้ ู้ป่วยมสี ว่ นร่วมในการดแู ลตนเอง การคงไวซ้ ง่ึ พฤตกิ รรม การดูแลตนเองทีถ่ กู ตอ้ ง และสามารถจัดการกับอาการไดเ้ ฉพาะเจาะจงกับอาการท่เี กิดขน้ึ การพยาบาลทเี่ นน้ การใหข้ อ้ มลู การฝกึ ทกั ษะปฏิบัติ การส่งเสรมิ และ สนับสนนุ การดูแลชอ่ งปากด้วยตนเอง พัฒนามาจากทฤษฎี การดูแลตนเองของโอเร็ม ทำ�ให้ผู้ป่วยมีความสามารถในการดูแลตนเองและจัดการกับอาการข้างเคียง ผู้วิจัยจึงออกแบบการพยาบาล ท่ีเน้นการให้ข้อมูล การฝึกทักษะปฏิบัติ การส่งเสริมและ สนับสนุน ภายใต้ความเชื่อว่า พยาบาลจะสามารถพัฒนาความสามารถของ ผูป้ ว่ ยให้สามารถดแู ลตนเองได้ดว้ ยตัวเอง ประกอบด้วย การสรา้ ง สมั พันธภาพ การให้ความรู้โดยใชส้ อ่ื น�ำ เสนอ เร่อื งการดแู ลตนเองและ ช่องปากในผปู้ ว่ ยท่ไี ด้รับยาเคมีบ�ำ บดั ร่วมกับการชีแ้ นะวธิ ีการตา่ งๆ ในการดแู ลตนเองและช่องปาก การฝกึ ทักษะปฏิบตั ิโดยเฉพาะการ ตรวจช่องปากดว้ ยตนเอง ส่วนการสง่ เสริมสนับสนุนผูว้ จิ ัยจัดท�ำ คู่มอื ท่ีมีเนอื้ หาสอดคล้องกับส่อื นำ�เสนอใหก้ ับผูป้ ่วยเพื่อใชท้ บทวนความ รู้ และการสร้างแรงจงู ใจ โดยใหผ้ ู้ป่วยจดบันทึกการเปล่ยี นแปลงภายในช่องปากหลงั ได้รบั ยาเคมบี �ำ บดั ทำ�ให้ผปู้ ว่ ยเห็นการเปลีย่ นแปลง ทเี่ กดิ ภายใตก้ ารดแู ลของตนเองในแตล่ ะชว่ งเวลา เกดิ การเรยี นรแู้ ละทา้ ทายทจ่ี ะแกไ้ ขปญั หาหรอื ปรบั พฤตกิ รรมการดแู ลตนเองใหถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสมภายใต้ความเชื่อว่าผู้ป่วยจะสามารถพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเอง เพ่ือป้องกันและบรรเทาความรุนแรงของอาการ เยือ่ บุช่องปากอักเสบหลงั ไดร้ ับยาเคมีบำ�บดั ได้ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ มีจำ�นวนผู้รับบริการผู้ป่วยในท่ีเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว ปีงบประมาณ 2561 และ 2562 จำ�นวน 69 ราย และ 57 ราย ตามล�ำ ดับ3 เข้ารับบริการในหอผปู้ ่วยพเิ ศษ 1 ช้ัน 2 เพือ่ ใหย้ าเคมบี ำ�บัด จ�ำ นวน 51 ราย และ 48 ราย ผูป้ ่วยเกดิ ภาวะ แทรกซอ้ นเยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบจ�ำ นวน 32 รายและ 30 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.75 และ 62.504 จากสถานการณด์ งั กลา่ วยงั พบเยอื่ บชุ อ่ ง ปากอกั เสบเกนิ ครง่ึ หนง่ึ ของผปู้ ว่ ย หอผปู้ ว่ ยพเิ ศษ 1 ชน้ั 2 จงึ ตอ้ งการพฒั นาแนวทางในการปอ้ งกนั และลดระดบั ความรนุ แรงของการเกดิ ภาวะเยื่อบุช่องปากอกั เสบ ซึ่งแนวทางเดมิ ใช้ 0.9% Normal Saline อมบว้ นปากในผปู้ ่วยโรคมะเรง็ เม็ดเลอื ดขาวทีไ่ ดร้ ับยาเคมบี �ำ บดั การอมกล้ัวปากด้วยนํ้าใบย่านางสกัดเย็น (Tiliacora Juice) เป็นการบำ�บัดทางเลือกด้วยวิธีธรรมชาติ (naturopathy) โดยการ อมและเคลอื่ นน้ําใบย่านางสกดั เยน็ ไปท่วั ชอ่ งปากประมาณ 15-20 วินาที แลว้ บว้ นทิ้งไป น้ําใบย่านางสกัดเย็น ซึ่งผลติ จากใบยา่ นางเป็น พืชสมุนไพรที่มฤี ทธ์ิเย็น ประกอบด้วยสารกระตนุ้ การเพิ่มจ�ำ นวนของเซลล์เม็ดเลอื ดขาวที-ลมิ โฟซัยที (T-lymphocyte) ตา้ นจลุ ชีพ ต้าน อนมุ ลู อสิ ระ ตา้ นการดบั พษิ และลดไข้ มกี ารแนะน�ำ ใชน้ า้ํ คนั้ จากใบยา่ นางดมื่ เพอื่ ปรบั สมดลุ ของรา่ งกาย ลดการหดเกรง็ ของล�ำ ไส้ ตา้ นการ เจรญิ ของเชลลม์ ะเรง็ 5 สำ�หรับในประเทศไทย ไม่พบว่ามรี ายงานการศกึ ษาถึงประสิทธภิ าพ ของการใช้น้ําใบยา่ นางสกดั เย็น เพือ่ ป้องกัน และบรรเทาอาการเย่ือบุช่องปากอักเสบ แต่มีรายงานการใช้นํ้าใบย่านางสกัดเย็นในการเช็ดตัวลดไข้6 และใช้ในการทำ�แผลติดเชื้อ7 ว่า ได้ผลดี รวมทั้งไมม่ กี ารศกึ ษาถงึ วิธีการน�ำ ไปปฏบิ ตั ิในขน้ั ตอนที่ชัดเจน ผู้วิจยั จึงใชน้ ้าํ ใบยา่ นางสกดั เยน็ วา่ มผี ลต่อการปอ้ งกันและบรรเทา อาการเย่ือบุช่องปากอักเสบของผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวท่ีได้รับยาเคมีบำ�บัดหรือไม่ อย่างไร เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลช่องปากของ ผปู้ ่วยขณะได้รับยาเคมีบำ�บดั ต่อไป hscr ISSUE 1 30
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั 1. ศกึ ษาอาการเยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบและระดบั ความปวดจากอาการเยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบในผปู้ ว่ ยมะเรง็ เมด็ เลอื ดขาวทไี่ ดร้ บั เคมี บ�ำ บดั ของกลมุ่ ทไี่ ดร้ บั การพยาบาลทเี่ นน้ การใหข้ อ้ มลู การฝกึ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การดแู ลชอ่ งปากดว้ ยตนเองรว่ มกบั การอมกลว้ั ปากดว้ ยนา้ํ ใบยา่ นางสกดั เยน็ และกลมุ่ ทไ่ี ดร้ บั การพยาบาลตามปกตริ ว่ มกบั การอมกลวั้ ปากดว้ ย 0.9% Normal Saline หลงั ไดร้ ับเคมีบำ�บัด ในวันที่ 1 ถงึ วนั ที่ 14 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบและระดับความปวดจากอาการเย่ือบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งเม็ด เลือดขาวที่ได้รับเคมีบำ�บัดระหว่างกลุ่มท่ีได้รับการพยาบาลท่ีเน้นการให้ข้อมูล การฝึกทักษะปฏิบัติ การส่งเสริมและสนับสนุนการดูแล ช่องปากด้วยตนเองร่วมกับการอมกล้ัวปากด้วยน้ําใบย่านางสกัดเย็น และกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับการอมกล้ัวปากด้วย 0.9% Normal Saline หลงั ไดร้ บั เคมบี �ำ บดั ในวนั ท่ี 1 ถึงวนั ท่ี 14 วิธดี �ำ เนินงานวิจัย การวจิ ยั ครง้ั นเี้ ปน็ การวจิ ยั กงึ่ ทดลอง (Quasi - experimental research) แบบสองกลมุ่ วดั กอ่ นและหลงั การทดลอง (Two group pretest – posttest design) เพอ่ื ศึกษาผลของผลของนาํ้ ใบย่านางสกดั เยน็ เพ่ือลดอาการเย่ือบุช่องปากอักเสบในผปู้ ว่ ยมะเรง็ เม็ดเลือด ขาวท่ีไดร้ ับเคมบี ำ�บดั โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ โดยเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี อาการเยื่อบุชอ่ งปากอักเสบ และคะแนนเฉลีย่ ระดับความปวด จากอาการเย่ือบุชอ่ งปากอกั เสบหลังการทดลองตงั้ แต่วันที่ 1 ถึงวนั ท่ี 14 โดยมวี ิธีการดำ�เนนิ การวจิ ยั รายละเอียด ดังนี้ ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากร คอื ผปู้ ว่ ยผใู้ หญท่ ่ีไดร้ บั การวนิ ิจฉยั ว่าเป็นมะเร็งเมด็ เลือดขาวและไดร้ ับยาเคมีบำ�บดั กล่มุ ตัวอยา่ ง คอื ผูป้ ว่ ยผใู้ หญ่ มอี ายตุ ั้งแต่ 20 ปขี ้ึนไป ได้รับการวนิ จิ ฉยั ว่าเป็นมะเร็งเมด็ เลอื ดขาวท่ไี ด้รับเคมบี ำ�บัด ในหอผปู้ ว่ ย พเิ ศษ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ ระยะเวลาทศ่ี ึกษาระหว่างเดอื น กรกฎาคม 2563 ถึงเดอื นตุลาคม 2563 กำ�หนดจ�ำ นวนกลมุ่ ตวั อย่างโดย สตู รที่ใชก้ ารคำ�นวณ คือ estimate sample size for two-sample comparison of proportion กำ�หนด power of study เท่ากับ 80%, ค่า alpha 0.05, one-sided test สัดสว่ นจ�ำ นวนครง้ั ของผ้ปู ว่ ยมะเร็งเม็ดเลือดขาวท่ีบ้วนปากด้วยน้ําใบยา่ นางสกดั เย็น : จำ�นวน ครงั้ ของผูป้ ว่ ยมะเร็งเมด็ เลือดขาวทบี่ ว้ นปากด้วย 0.9% Normal saline เทา่ กบั 1 : 1 proportion ของกลุ่มผปู้ ว่ ยท่ีไม่เกิดภาวะเย่อื บุ ชอ่ งปากอกั เสบ เทา่ กบั 0.6 proportion ของกลมุ่ ผปู้ ว่ ยทเ่ี กดิ ภาวะเยอื่ บชุ อ่ งปากอกั เสบ เทา่ กบั 0.4 ไดข้ นาดกลมุ่ ตวั อยา่ งผปู้ ว่ ยกลมุ่ ละ 86 ครั้ง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม (random assignment) ตามคุณสมบัติที่ ก�ำ หนด (Inclusion criteria) ดงั นี้ 1) ยาเคมีบำ�บัดจะต้องเป็นสูตรใดสูตรหน่ึงดังต่อไปนี้ CHOP, HIDAC, 3+7Regimen for ANLL, Ara-C, และ Hyper -CVAD เนอ่ื งจากชนดิ ของยาเคมบี �ำ บดั ในสตู รทที่ �ำ การศกึ ษามผี ลท�ำ ใหเ้ กดิ เยอ่ื บใุ นชอ่ งปากอกั เสบไดม้ ากระยะเวลาการไดร้ บั ยาเคมบี �ำ บดั ในแตล่ ะ รอบเท่ากนั (ระยะเวลา 3 วันนับตงั้ แต่วันแรกท่ี ไดร้ บั ยาเคมีบ�ำ บดั ) ระยะหา่ งของรอบการให้ยาเคมบี ำ�บัดเท่ากัน (ทุก 14 วัน) และวธิ ี บริหารยาเคมบี ำ�บัดแบบเดยี วกัน (บรหิ ารยาเข้าทางหลอดเลอื ดด�ำ แบบต่อเนอ่ื ง) 2) สามารถสือ่ สารโดยใช้ภาษาไทยได้ 3) ยินยอมและใหค้ วามรว่ มมือในการวจิ ัย เกณฑ์การคัดออก (Exclusion criteria) คือ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับเคมีบำ�บัดได้ครบทุกวันในรอบการรักษานั้นด้วยปัญหาอื่นๆ ท่ีไม่ใช่อาการเยอ่ื บชุ อ่ งปากอักเสบ และผู้ปว่ ยทีม่ อี าการแพ้ ระคายเคอื ง หรือไมส่ ุขสบายจากการนา้ํ ใบย่านางสกดั เยน็ อมกล้ัวปาก เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวิจยั 1. เครื่องมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู 1) แบบบนั ทึกขอ้ มูลสว่ นบุคคลของผปู้ ่วย ประกอบด้วย เพศ อายุ โรคประจำ�ตวั สูตรยาเคมีบ�ำ บัดท่ไี ดร้ บั 2) แบบประเมนิ อาการเยือ่ บุช่องปากอกั เสบของ WHO (1979) เปน็ เครื่องมอื ทีใ่ ชป้ ระเมินระดับความรุนแรงของอาการเยอื่ บชุ ่อง ปากอกั เสบ ประกอบด้วย 4 ด้าน ไดแ้ ก่ 1) การเปล่ยี นแปลงของเยอ่ื บุช่องปาก 2) อาการเจ็บปวดแผลในปาก 3) ความสามารถในการ hscr ISSUE 1 31
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 รับประทานอาหาร 4) ความสามารถในการด่ืมนํ้า การคดิ ระดบั ความรุนแรงของเยื่อบชุ ่องปากอักเสบเปน็ 5 ระดบั ดงั น้ี ระดับ 0 เย่อื บุชอ่ งปากปกติ ไม่มีอาการแสดงใดๆ ระดบั 1 ช่องปากแดงเล็กนอ้ ย ไมเ่ จบ็ ไม่มรี อยแผล สามารถรบั ประทานอาหารไดป้ กติ ระดับ 2 มกี ารบวมหรอื เกดิ รอยแผลในชอ่ งปาก เจบ็ ปานกลาง สามารถรบั ประทานอาหารได้ ระดบั 3 เกดิ รอยแผลรว่ มกบั มเี ลอื ดออกเลก็ นอ้ ย เจบ็ ในชอ่ งปากมาก ไมส่ ามารถรับประทานอาหารทางปากได้ และระดับ 4 มีแผลในชอ่ งปาก มเี ลือดออกและพบเนื้อตายในชอ่ งปาก เจบ็ ใน ชอ่ งปากมาก ไม่สามารถรบั ประทานอาหารทางปาก 3) แบบประเมินระดับความเจ็บปวดจากอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบโดยใช้การประเมินแบบตัวเลข (numeric scale) เป็นการ ประเมนิ ความความปวดโดยการบอกความรูส้ ึกปวดเปน็ ตัวเลขตอ่ เนื่องกนั ตลอดจาก 0-10 โดยคะแนน 0 หมายถงึ ไมป่ วด คะแนน 1-3 หมายถงึ ปวดเล็กน้อย คะแนน 4-6 หมายถึงปวดปานกลาง คะแนน 7-10 หมายถึงปวดรนุ แรง 2. เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการทดลอง ประกอบดว้ ย 1) แผนการพยาบาลทเี่ นน้ การใหข้ อ้ มลู การฝกึ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การดแู ลชอ่ งปากดว้ ยตนเองทพี่ ฒั นามาจาก ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม12 ประกอบด้วย 1.1 การสรา้ งสมั พนั ธภาพ เพอ่ื ประเมนิ ปญั หาและความตอ้ งการน�ำ ไปสกู่ ารแกไ้ ขปญั หารว่ มกนั และชว่ ยใหผ้ ปู้ ว่ ยเกดิ ความ มนั่ ใจและไวว้ างใจ วนิ จิ ฉยั ความตอ้ งการการดแู ลและจดั ระบบการดแู ลในผปู้ ว่ ยทม่ี คี วามพรอ่ งหรอื มโี อกาสจะเกดิ ความพรอ่ งในการดแู ล ตนเอง ตลอดจนชว่ ยสง่ เสรมิ ความสามารถและคงไว้ซง่ึ ความพยายามในการดูแลตนเองเมอ่ื มีอาการเย่ือบุชอ่ งปากอักเสบ 1.2 การให้ข้อมูล เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับข้อมูลความรู้เก่ียวกับการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง โดยการให้ข้อมูลจะมีการแบ่งให้ เปน็ ตอนๆ สอดคลอ้ งกบั ภาวะสขุ ภาพและมเี นอื้ หาทต่ี รงกบั ความสนใจของผปู้ ว่ ยและสถานการณจ์ รงิ ทผ่ี ปู้ ว่ ยตอ้ งเผชญิ เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยเรมิ่ มีการเรยี นรพู้ ฤติกรรมการดแู ลตนเอง 1.3 การฝึกทักษะปฏิบัติ เพื่อเพิ่มความม่ันใจในการปฏิบัติให้ผู้ป่วย การเรียนรู้ประสบการณ์ด้วยตนเอง นอกจากน้ียังมี การประเมินปัญหาและอุปสรรคในการฝึกทักษะปฏิบัติ พร้อมทั้งให้คำ�แนะนำ� เพ่ือให้ผู้ป่วยมีทักษะท่ีดีในการจัดการอาการด้วยตนเอง ประกอบดว้ ย การเรียนร้ถู งึ ทกั ษะปฏบิ ัติ การทดลองปฏิบตั ิ และการปฏิบัตอิ ย่างสมาํ่ เสมอ 1.4 การสนับสนุนและสร้างแรงจูงใจ โดยผู้วิจัยให้การแนะนำ� ช้ีแนะ การสนับสนุน การกระตุ้น เพื่อส่งเสริมความ สามารถของผปู้ ว่ ยและการวางแผนการรกั ษารว่ มกบั ผปู้ ว่ ยตลอดระยะเวลาของการพยาบาลทเ่ี นน้ การใหข้ อ้ มลู การฝกึ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ การ ส่งเสริมและสนบั สนุนการดแู ลชอ่ งปากด้วยตนเอง โดยทกุ ขน้ั ตอนจะตอ้ งอาศัยสัมพันธภาพทด่ี รี ะหวา่ งพยาบาลและผู้ป่วย เพอ่ื ช่วยเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการเรยี นการสอน ผปู้ ว่ ยมคี วามสามารถในการดแู ลตนเองและชอ่ งปากอยา่ งถกู ตอ้ งสมา่ํ เสมอ มสี ภาพชอ่ งปากดขี นึ้ ตลอดจน สร้างแรงจูงใจในการบรรเทาอาการ สรา้ งสงิ่ แวดล้อมท่เี อื้อตอ่ การเรียนรู้ การสง่ เสริมการดูแลชอ่ งปากดว้ ยตนเองโดยมกี ารจดบันทกึ การ เปล่ียนแปลงภายในช่องอย่างเป็นระบบในรูปแบบปฏิทิน ท�ำ ให้ผู้ป่วยเห็นการเปล่ียนแปลงที่เกิดภายใต้การดูแลของตนเองในแต่ละช่วง เวลา เกดิ การเรยี นรแู้ ละทา้ ทายทจี่ ะแกไ้ ขปญั หาหรอื ปอ้ งกนั ใหเ้ หมาะสม จนกระทงั่ เสรจ็ สน้ิ การรกั ษาดว้ ยเคมบี �ำ บดั โดยปราศจากบคุ ลากร ทางการแพทยค์ วบคมุ ดแู ล โดยมกี ารสรา้ งสอ่ื ประกอบการพยาบาลทเี่ นน้ การใหข้ อ้ มลู การฝกึ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การ ดแู ลชอ่ งปากด้วยตนเองรว่ มกับการอมกลว้ั ปากดว้ ยน�ำ้ ใบย่านางสกดั เย็น ไดแ้ ก่ - คมู่ อื และสอ่ื น�ำ เสนอภาพนงิ่ เรอ่ื งการดแู ลตนเองและชอ่ งปากในผปู้ ว่ ยทไี่ ดร้ บั เคมบี �ำ บดั ประกอบดว้ ย ความรทู้ ว่ั ไป เกยี่ วกบั ยาเคมบี �ำ บดั อาการขา้ งเคยี งทส่ี �ำ คญั วธิ กี ารดแู ลตนเองเพอื่ บรรเทาอาการขา้ งเคยี งจากยาเคมบี �ำ บดั อาการเยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบ จากการรักษาด้วยยาเคมบี ำ�บดั และการดูแลช่องปากระหวา่ งได้รบั ยาเคมบี ำ�บัด เพ่อื ให้ผู้ปว่ ยทีไ่ ด้รับยาเคมบี �ำ บดั มีความรู้เรื่องการดแู ล ตนเองและช่องปาก - รายละเอยี ดการใหค้ วามรเู้ รอื่ งการดแู ลชอ่ งปาก เพอ่ื ปอ้ งกนั และบรรเทาอาการเยอื่ บชุ อ่ งปากอกั เสบในผปู้ ว่ ยมะเรง็ เม็ดเลือดขาวท่ไี ด้รบั ยาเคมีบ�ำ บัดซง่ึ มีเนอื้ หาสอดคล้องกบั คมู่ อื และวิธกี ารประเมินช่องปากด้วยตนเอง โดยใช้เกณฑ์จ�ำ แนกระดับความ รนุ แรงของเยอื่ บุช่องปากอกั เสบขององคก์ ารอนามัยโลก - แผน่ พบั การอมกลว้ั ปากดว้ ยนา้ํ ใบยา่ นางสกดั เยน็ เพอื่ ใหค้ วามรเู้ รอื่ งคณุ สมบตั ขิ องนา้ํ ใบยา่ นางสกดั เยน็ ทชี่ ว่ ยปอ้ งกนั และบรรเทาอาการเยอื่ บชุ อ่ งปากอักเสบจากการไดร้ ับยาเคมีบ�ำ บัด วธิ ีการอมกลั้วปากด้วยนํ้าใบยา่ นางสกัดเยน็ hscr ISSUE 1 32
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 - สอื่ น�ำ เสนอภาพนงิ่ เรอ่ื งการอมกลวั้ ปากดว้ ยนาํ้ ใบยา่ นางสกดั เยน็ ซงึ่ มเี นอื้ หาสอดคลอ้ งกบั แผน่ พบั และวดิ โี อแสดง วธิ กี ารอมกลวั้ ปากดว้ ยนํ้าใบยา่ นางสกัดเย็น ผู้วิจัยดำ�เนินการทดลอง โดยเป็นผู้ให้การช่วยเหลือช้ีแนะ สนับสนุน สร้างแรงจูงใจและส่ิงแวดล้อมในการทดลอง รวมถึงเป็นผู้ สังเกตพฤติกรรมของผูป้ ่วย และให้การช่วยเหลือระหวา่ งท�ำ การทดลองในทกุ ๆ ดา้ น 2) น้าํ ใบยา่ นางสกดั เย็นท่ีใช้เป็นผลติ ภัณฑ์บรรจุขวดพลาสตกิ ขนาด 1000 ซซี ี มีเครอื่ งหมาย อย.70-2-02357-2-0001 มีส่วน ผสมของใบยา่ นาง 6.67 % ราคาขวดละ 90 บาท วิธีผสมใช้นาํ้ ใบยา่ นางสกดั เยน็ 100 ซซี ี ผสมนาํ้ ตม้ สุกทเี่ ยน็ แลว้ ใส่ขวด 900 ซีซี ใช้ อมบ้วนปากคร้ังละ 200 ซีซี วนั ละ 5 ครง้ั คือ หลังตื่นนอน หลงั อาหารเช้า กลางวัน เยน็ และก่อนนอน นา้ํ ใบย่านางสกัดเย็นทผ่ี สมแลว้ สามารถเกบ็ ไวไ้ ด้ 24 ช่วั โมง สว่ นท่ียังไมไ่ ด้ผสมแตเ่ ปดิ ใชแ้ ลว้ เกบ็ ไวไ้ ด้ 30 วัน เก็บไวใ้ นตเู้ ย็นหรืออณุ หภมู หิ อ้ งก็ได้ ถ้าใช้ไมห่ มดในเวลา ต้องทิ้ง จากการสงั เกตผปู้ ว่ ย 1 คนใชห้ มด 1 ขวดภายในเวลา 24 ชว่ั โมง การตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัย ความตรงของเคร่ืองมือ (validity) การควบคุมคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ในส่วนของแผนการพยาบาลที่เน้นการให้ข้อมูล การฝึกทักษะปฏิบัติ การส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลช่องปากด้วยตนเองร่วมกับการอมกล้ัวปากด้วยนํ้าใบย่านางสกัดเย็นต่ออาการ เยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบและระดบั ความปวดจากอาการเยอื่ บชุ อ่ งปากอกั เสบในผปู้ ว่ ยมะเรง็ เมด็ เลอื ดขาวทไ่ี ดร้ บั เคมบี �ำ บดั ผวู้ จิ ยั ตรวจสอบ คณุ ภาพเคร่อื งมือทสี่ รา้ งข้ึนโดยผ้ทู รงคณุ วฒุ ทิ ่มี ีความเชีย่ วชาญดา้ นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวและเคมีบ�ำ บดั ประกอบด้วย อาจารยแ์ พทย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งเม็ดเลือดขาว 1 ท่าน พยาบาลวิชาชีพผู้เช่ียวชาญด้านการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำ�บัด 1 ท่าน อาจารย์ พยาบาลผูเ้ ชีย่ วชาญดา้ นการดแู ลผปู้ ว่ ยมะเร็งและมปี ระสบการณด์ ้านการสร้างเคร่อื งมอื วจิ ยั ทางการพยาบาล 1 ทา่ น หลังจากผา่ นการ ตรวจสอบจากผ้ทู รงคณุ วฒุ ิทัง้ หมดแล้ว ผวู้ จิ ัยนำ�เครอื่ งมือมาปรับปรุงแก้ไขเพ่ิมเติมตามข้อเสนอแนะ และนำ�แผนการพยาบาลทีเ่ น้นการ ใหข้ อ้ มลู การฝกึ ทักษะปฏบิ ัติ การส่งเสริมและสนับสนนุ การดูแลช่องปากดว้ ยตนเองร่วมกับการอมกลวั้ ปากดว้ ยนา้ํ ใบย่านางสกดั เย็นไป ศกึ ษาน�ำ รอ่ งกับผปู้ ่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ได้รับเคมีบ�ำ บดั จำ�นวน 3 ราย ในหอผู้ป่วยพเิ ศษ 1 ชนั้ 2 โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ เพอ่ื ตรวจ สอบความเป็นไปไดใ้ นการนำ�ไปใช้จริง ความเทย่ี งของเครอ่ื งมอื (reliability) แบบประเมินอาการเยอื่ บุช่องปากอกั เสบของ WHO (1979) และแบบประเมินระดับความ เจบ็ ปวดจากอาการเยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบโดยใชก้ ารประเมนิ แบบตวั เลข (numeric scale) น�ำ แบบวดั ไปทดลองใชก้ บั ผปู้ ว่ ยมะเรง็ เมด็ เลอื ด ขาวท่ีไดร้ บั เคมีบำ�บดั ท่มี ลี ักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตวั อยา่ ง จำ�นวน 3 ราย ในหอผู้ป่วยพเิ ศษ 1 ชั้น 2 โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ หลงั จากนั้น ท�ำ การตรวจสอบความเชอ่ื มน่ั ของเครอื่ งมอื โดยหาคา่ สมั ประสทิ ธอ์ิ ลั ฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ไดเ้ ทา่ กบั .91 และ .92 ตามล�ำ ดับ การพิทกั ษส์ ิทธิของผูเ้ ข้าร่วมวิจยั หลังจากโครงร่างวิจัยผ่านการรับรองจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ เรียบร้อยแล้ว เลขที่ REC No.48/2563 ผูว้ จิ ยั แนะนำ�ตนเอง ชแี้ จงวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย ขน้ั ตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลและระยะเวลาในการวิจัย พร้อมทั้งชี้แจงใหท้ ราบถึงสทิ ธขิ องกล่มุ ตวั อย่างในการตอบรับ หรือปฏเิ สธในการเข้าร่วมวิจยั คร้ังน้ี โดยไม่มผี ลตอ่ การรบั บรกิ ารของกล่มุ ตัวอยา่ งดา้ นสุขภาพแต่อย่างใด ในระหวา่ งการทำ�วจิ ยั หากกล่มุ ตัวอยา่ งต้องการถอนตวั ออกจากการเขา้ รว่ มวิจยั สามารถแจ้งโดยตรงกับ ผวู้ ิจัยได้ทันที โดยรับรองว่าไม่มีผลกระทบต่อการได้รบั บรกิ ารของกลุ่มตวั อย่างด้านสขุ ภาพเชน่ กนั ข้อมลู ต่างๆ ไม่มกี ารเปิดเผยช่ือ และ นามสกลุ ทแ่ี ทจ้ รงิ และหากมขี อ้ สงสยั เกยี่ วกบั การท�ำ วจิ ยั สามารถสอบถามผวู้ จิ ยั ไดต้ ลอดเวลา แลว้ จงึ ใหก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งเซน็ ชอ่ื ในใบยนิ ยอม วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการทดลอง การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยก่ึงทดลอง (Quasi - experimental research) แบบสองกลุ่มแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม ศึกษาเพ่ือ ศกึ ษาผลของผลของนาํ้ ใบยา่ นางสกดั เยน็ เพอ่ื ลดอาการเยอื่ บชุ อ่ งปากอกั เสบในผปู้ ว่ ยมะเรง็ เมด็ เลอื ดขาวทไี่ ดร้ บั เคมบี �ำ บดั โดยด�ำ เนนิ การ เป็นขน้ั ตอนดังนี้ ผู้วจิ ยั ชีแ้ จงวัตถุประสงค์การวิจยั ข้ันตอนการวิจัย พิทกั ษส์ ทิ ธกิ ลมุ่ ตัวอยา่ ง ขอความร่วมมอื ในการวจิ ัย และนัดเก็บรวบรวมขอ้ มลู hscr ISSUE 1 33
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 กล่มุ ทดลอง ครั้งที่ 1 ก่อนผู้ป่วยได้รับยาเคมีบำ�บัด (T0) ผู้วิจัยประเมินสภาพช่องปาก หลังจากนั้นให้แผนการพยาบาลที่เน้นการให้ข้อมูล การฝึกทกั ษะปฏิบัติ การส่งเสรมิ และสนบั สนุนการดแู ลช่องปากด้วยตนเอง ตามแผนการให้ความรู้ คร้ังท่ี 1 ครัง้ ท่ี 2 ถงึ คร้งั ท่ี 14 ผูว้ ิจัยประเมนิ ระดบั อาการเยอื่ บชุ อ่ งปากอักเสบและระดับความปวดจากอาการเยอ่ื บชุ ่องปากอกั เสบหลัง ได้รับยาเคมีบำ�บัด วันที่ 1 (T1) ถึงวันท่ี 14 (T14) และให้แผนการพยาบาลที่เน้นการให้ข้อมูล การฝึกทักษะปฏิบัติ การส่งเสริมและ สนับสนนุ การดูแลช่องปากด้วยตนเองร่วมกับการอมกล้วั ปากด้วยน้ําใบยา่ นางสกัดเย็น กลมุ่ ควบคุม คร้ังที่ 1 ก่อนผู้ป่วยได้รับยาเคมีบำ�บัด (T0) ผู้วิจัยประเมินสภาพช่องปาก หลังจากน้ันให้การพยาบาลปกติจากพยาบาลให้เคมี บ�ำ บดั ประกอบดว้ ย การซกั ประวตั ิ ตรวจรา่ งกาย และใหค้ วามรเู้ กีย่ วกบั การดแู ลตนเอง ขณะไดร้ ับเคมีบำ�บัด ภาวะแทรกซอ้ น และให้ คู่มอื การดแู ลตนเองขณะได้รบั เคมีบ�ำ บดั คร้ังที่ 2 ถงึ ครั้งท่ี 14 ผวู้ จิ ัยประเมินระดับอาการเยอื่ บุชอ่ งปากอกั เสบและระดบั ความปวดจากอาการเยอ่ื บุช่องปากอักเสบหลังฅ ได้รบั ยาเคมบี �ำ บัด วันท่ี 1 (T1) ถงึ วันที่ 14 (T14) และใหก้ ารพยาบาลปกตริ ่วมกบั การอมกลั้วปากด้วย 0.9% Normal Saline การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถติ ิที่ใชว้ ิเคราะห์ ผ้วู ิจัยวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ �ำ เร็จรูป โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ 1. ข้อมูลส่วนบุคคลวิเคราะห์ดว้ ยสถิตแิ จกแจงความถ่ี รอ้ ยละ ค่าเฉลีย่ คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน 2. ทดสอบความแตกตา่ งของคา่ เฉลย่ี ระดบั อาการเยอื่ บชุ อ่ งปากและระดบั ความปวดจากอาการเยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบ ในระยะกอ่ น การทดลอง วันที่ 1 ถึงวันท่ี 14 ของกลุ่มควบคมุ และกลุ่มทดลอง โดยใช้สถติ ิ repeated measures ANOVA ผลการวจิ ัย สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป ตารางที่ 1 ข้อมลู ทว่ั ไปของกลุ่มตวั อยา่ ง ขอ้ มลู ทวั่ ไป กล่มุ ทดลอง (n=7) กลุม่ ควบคมุ (n=7 ) value จำ�นวน รอ้ ยละ จำ�นวน รอ้ ยละ 1.00 0.19 เพศ 4 57.1 ชาย 4 57.1 0.82 หญิง 3 42.9 3 42.9 อายุ (ปี) 15-40 6 85.7 4 57.1 41-59 1 14.3 - - 60 ปขี น้ึ ไป - - 3 42.9 mean± SD 33.70 ± 11.30 44.70 ± 21.50 โรคประจำ�ตัว DM 1 14.3 1 14.3 ANLL 1 14.3 3 42.9 AML 2 28.6 2 28.6 CML 3 42.9 - - ALL 1 1 4.3 2 28.6 hscr ISSUE 1 34
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 ตารางท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไปของกลมุ่ ตวั อย่าง (ต่อ) ขอ้ มูลทว่ั ไป กลมุ่ ทดลอง (n=7) กลุ่มควบคมุ (n=7 ) value จ�ำ นวน ร้อยละ จ�ำ นวน รอ้ ยละ 0.78 สตู รเคมบี �ำ บดั ทใ่ี ห ้ 1.00 HIDAC - - 1 14.3 0.023 3+7Regimen for ANLL - - 2 28.6 0.018 Ara-C 3 42.9 3 42.9 Hyper -CVAD 4 57.3 1 14.2 ผลตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากแรกเร่มิ ปกต ิ 7 100 7 100 ผิดปกติ - - - - PAIN SCORE (ใน 14 วัน) 0-3 105 100 104 99 4-6 - - 1 1 7-10 - - - - ระดับเยื่อบชุ อ่ งปากอกั เสบ (ใน 14 วนั ) GRADE 0 94 89.5 96 91.4 GRADE 1 1 0.9 11 10.5 GRADE 2 - - 8 7.6 GRADE 3 - - - - GRADE 4 - - - - จากตารางท่ี 1 พบว่า กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม เพศชาย ร้อยละ 57.1 เพศหญิง ร้อยละ 42.9 กลุ่มทดลอง มีอายุเฉล่ีย 33.70 (S.D. = 11.30) กลมุ่ ควบคุม มอี ายเุ ฉล่ยี 44.70 (S.D. = 21.50) กลุ่มทดลอง มโี รคประจ�ำ ตัวมากทีส่ ดุ มะเร็งเมด็ เลือดขาวเรือ้ รงั ชนดิ ไมอิลอยด์ (CML) รอ้ ยละ 42.9 กลุม่ ควบคุม มีโรคประจ�ำ ตัวมากท่ีสดุ โรคมะเร็งเมด็ เลอื ดขาวทไี่ ม่ใชล่ มิ โฟบลาสท์ (ANLL) ร้อยละ 42.9 กลุ่มทดลอง มีสูตรเคมีบำ�บัดท่ีให้มากท่ีสุด Hyper –CVAD ร้อยละ 57.1 และกลุ่มควบคุม มีสูตรเคมีบำ�บัดท่ีให้มากท่ีสุด Ara-C รอ้ ยละ 42.9 กลมุ่ ทดลอง และกล่มุ ควบคมุ มีผลตรวจสุขภาพชอ่ งปากแรกเรม่ิ ปกติ รอ้ ยละ 100 กล่มุ ทดลอง มี PAIN SCORE (ใน 14 วนั ) อย่ใู นระดบั 0-3 ร้อยละ 100 กลุ่มควบคมุ มี PAIN SCORE (ใน 14 วนั ) อยใู่ นระดบั 0-3 มากทีส่ ดุ ร้อยละ 99 กลมุ่ ทดลอง และกลมุ่ ควบคุม มีระดับเย่ือบชุ อ่ งปากอกั เสบ (ใน 14 วัน) GRADE 0 มากที่สุด รอ้ ยละ 89.5 และ 91.4 ตามล�ำ ดับ hscr ISSUE 1 35
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 ส่วนที่ 2 เปรยี บเทยี บคะแนนเฉลีย่ อาการเยือ่ บุช่องปากอกั เสบหลงั การทดลองตั้งแตว่ นั ท่ี 1 ถึงวนั ที่ 14 ตารางท่ี 2 เปรียบเทยี บความแตกต่างคะแนนเฉลย่ี ระดบั อาการเยอ่ื บุช่องปากอักเสบระหวา่ งกลุ่มทดลอง และกล่มุ ควบคุม โดยใช้ สถิติ Repeated Measures ANOVA เยอื่ บุช่องปากอักเสบ กลมุ่ ทดลอง (n=7) กลุ่มควบคุม(n=7 ) F value กอ่ นการทดลอง Mean S.D. Mean S.D. - - วันท่ี 1 - - วนั ท่ี 2 0.0 0.0 0.0 0.0 - - วันที่ 3 0.0 0.0 0.0 0.0 - - วันที่ 4 0.0 0.0 0.0 0.0 - - วันที่ 5 0.0 0.0 0.0 0.0 - - วนั ท่ี 6 0.0 0.0 0.0 0.0 - - วนั ท่ี 7 0.0 0.0 0.0 0.0 - - วนั ที่ 8 0.0 0.0 0.0 0.0 - - วนั ท่ี 9 0.0 0.0 0.0 0.0 5.760 วนั ท่ี 10 0.0 0.0 0.0 0.0 5.760 .034* วันที่ 11 0.0 0.0 0.1 0.4 26.667 .034* วันที่ 12 0.0 0.0 0.3 0.7 12.162 .000* วันที่ 13 0.0 0.0 0.6 1.0 7.563 .004* วันที่ 14 0.1 0.4 1.0 1.0 7.563 .018* 0.3 0.5 1.0 1.0 .018* 0.3 0.5 1.0 1.0 *p < .05 จากตารางที่ 2 และแผนภาพที่ 2 พบว่า คะแนนเฉล่ียระดับอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวท่ีได้รับเคมี บ�ำ บดั กลมุ่ ทดลอง หลงั ไดร้ บั การพยาบาลทเี่ นน้ การใหข้ อ้ มลู การฝกึ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การดแู ลชอ่ งปากดว้ ยตนเอง ร่วมกับการอมกลวั้ ปากด้วยนาํ้ ใบยา่ นางสกดั เยน็ ตั้งแต่วนั ท่ี 9 จนถึงวันท่ี 14 ตํา่ กว่า กลมุ่ ควบคุม ทไ่ี ดร้ บั การพยาบาลตามปกติรว่ มกบั การอมกลว้ั ปากดว้ ย 0.9% Normal Saline อยา่ งมนี ัยส�ำ คญั ทางสถติ ิ (p < .05) hscr ISSUE 1 36
Health science clinical research Volume 36 ORIGINAL ARTICLE January - June 2021 ภภาาพพทที่ 2่ี 2กรการฟาแฟสแดสงดคงวคาวมาแมตแกตตกา่ตง่าคงะคแะนแนนนเฉเลฉี่ยลรีย่ ะระดดบั ับออาากกาารรเยเยอื่ ่อื บบชุ ชุ ่อ่องงปปาากกออกั กั เเสสบบตตอ่ อ่ เเนนอื่อ่ื งงกกันัน เปเป็นน็เวเวลลาา1144ววนั นั รระะหหวว่า่างงกกลลมุ่ ุม่ ททดดลลอง และกลมุ่ ควบบคคุมมุ ตส ว่าวรนนั าททง่ี่ีท31ี่ 43เ ปสเครปว่ วียนรบบียทคเบทีุ่ม3เียทโบเดียปคยบระใคยีชแว้สบนาถเนมทติ เแียิฉRตบลeกคีย่ pตะรe่าะแaงดนtคับeนะdคเแฉวนMลานี่มยeเรaปฉะsวลuดดี่ยrบั eจรคsาะวกดAาอับNมาคOปกวVาวาAรดมเจยปา่ือวกบดอจุชาาอ่ กกงาอปราาเยกก่อืาอรบกั เุชเยสอ่ื่อบงบปหุชลา่อกังงกอปาัการเกสทอบดักหลเอลสงังบกตราัง้ะแรหทตวดว่ ่าันลงกอทลง่ี 1ตุ่มั้งทถแดงึ ตวล่วันอนั ทงท่ี แ่ี11ล4ะถกึงลุ่ม กตลา่มุ รคาวกรงบะทอ่รดะคนี่ 3ับดุมกับคาเโปรวคดทราวยียมดาใบปชลม้สเอวปทถดงวีย ิตดบิ Rคeวpามeaแtตeกdตา่MงMeคกaะลMesแุ่ม0aกueน.nทล0raนeด n่มุ sเลทฉAอดลNงลยี่ Oรอ(nะงVดA(=SSับ0n...คDD=07ว7 .).า)มปวดจาMกMกก0eอล.ลea0า่มุุ่มna กคคnาววรบเบยคคือ่ ุมุมบ(ชุ(nSn่อ0=.ง.DS0=7ป. .าD)7ก.)อกั เสบระหF- วF่างกลุ่มทดpลv-aอvlงa-ulแeuลeะ ก่อวนันกทา่ี ร1ท ดลอง 0.000.0 00..000 00..00 0 0.00. 00 - - -- วววววววววววววััันนันนัันันนนันนนนัััันัวววววววววววววนนััันนัทททททททททททททนันันนัันันนััันันทททท่ีี่่ีี่ีีี่ี่ี่่ีีี่่่่ี่ ททททททททท5918121764311่ี่่ี่ีี 14 0 2 3 ีี่่่ีี่่ี่่ี่ีี่ี1111625479138 1230 0000000000000.............002000000010000000000000008040000000000.............0003100000003 00000000000000000000000000..........................000000000430000000004055007800000000000 00000000000000000000000000..........................00770100017700000070001177 1441000001000 0101000001010.............00000100000000500004004000............. 30000000099437590000005007 15676511.....556787781.1-------4....66121 7871.1--------408083626171 0830 7 ...........0000000000023322033220---------------54034353044*********** *p < .05วนั ท่ี 14 0.28 0.48 0.71 0.95 6.818 .023* *p <จ.า0ก5ตารางที่ 3 และแผนภาพท่ี 3 พบวา่ คะแนนเฉลยี่ ระดบั ความปวดจากอาการเยอ่ื บชุ อ่ งปากอกั เสบในผปู้ ว่ ยมะเรง็ เมด็ เลอื ดขาว ทดปว้ไกี่กเลดยตาอืร้ตรริ บัดดนว่ เขมูแเคอากลมงวบัชบรีท่อกจ่ว�ำี่ไงมาาบดปกรก้รดั อตาับับมกกากเรดกลคาาล้มุ่วมรงย้ัวทอีบทปตมดำ่ี นา3บกลกเลอัดแอดั้วงลงว้กปรหะยลาว่แลุ่มกม0ผงั ทดก.ไน9ด้วดับภ%ยร้ลกาบันอพาNกํ้างรทใoาอบหี่รrม3mพยลก่าังพยaลนไาบlด้ัวาบวS้รปงา่าaับสาลlกกกคiทnัดดาะเ่ีeรเนแ้วยพยนน้อน็ ยนนกยา้ำาเ่าตบฉใรงง้ับลามใแหลย่ียนีตทข้่รายัว่ ะนอ้่ีเสันนดมา�ำท้นงับลูคี่สกคัญ9กกาวาทัดราจรใามเนฝหยงปถกึส็น้ขวึงทถ้อดวตกติัมันจ้ังษิูลาทแ(pะกต่ีกปอ1่ว<าฏา4ันรกบิ.ฝท0ตาตักึ5ี่รํา่ 9ิท)เกกยักวาจ่ือษา่รนบสะถกชุง่ปึงลเอ่ วสฏมุ่งันริบปคมิทัตวาแ่ีกบิ1ลกอค4ะากัมุสรตเสนส่ำท่งบบักไี่เสใสดวน่นาร้รผิบัมนุ กูป้แกกล่วลาาุ่มยระรคมพดสวะแูยนบเลาับรคบชง็สุมอา่เนมลงทุน็ดปตี่ าามก ได้รบั การพยาบาลตามปกติร่วมกับการอมกลั้วปากดว้ ย 0.9h%scNorrmalISSSaUlinEe อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ (p < .05) 1 37
ORIGINAL ARTICLE Health science clinical research Volume 36 January - June 2021 ภาภพาทพที่ 3่ี 3กกรราฟแแสสดดงงคควาวมาแมตแกต่ากงตคา่ะงแคนนะเแฉนล่ยีนรเะฉดลบั ่ยี ครวะามดปบั วคดวจาากมอปากวาดรจเยาอ่ื กบอุชาอ่ กงปารากเยอ่ือกั เบสุชบต่ออ่งเปนา่ือกงกอันกั เปเส็นบเวตลา่อเ1น4อ่ื วงันกรนั ะเหปวน็่างเวลา 14 วัน ระกหลวุ่ม่าทงดกลลองมุ่ แทลดะลกอลมุ่งคแวบลคะุมกลุม่ ควบคุม รสท่วรดมด Nไสปุ ลดว้กรoผอ้รยปุrับับลmงนผกกา้ํกaหลจาใาlาบารกลรจกพรSยาอังากวaา่ยรไกมานlาวจิดiรกnกบาิจัยศ้รงeาาลยัสกึัแบลรัว้แอกษทลศกปยลดัาเ่ีะกึาา่พนเะายกรงษกน้บกน็มพาากวาดนี ตรรา่ยาพว้ยัคอรงั้อาบสยแใะภภบห�ำตแนวิปค้ขปิาว่น่า้ำัญร้อนัลนครใามททบทเาะยฉูลี่าย9ยี่เแผลงนกผา่ยี่นสจลา้นนรนถลนระติถกฝาเดิงึงึกฉาบั(วสpทรลนัอกกัใยี่าท<หษัดกรี่ 1้ะขา.เะ04ยรป้อด5เฏ็นตยม)บั าิบ่ํอื่ แูลกอตบัตลวาิั้งชุ ะกกา่ กแอ่คาากงาตระรลปรสแ่วฝมุ่าเ่งนนักยคึกเนสอทว่ือทรเบกัฉบี่ิมักเค9ลสแชุษมุย่ีบลจ่อระทะในะงนสปไ่ี ดปดผถนฏบัรปู้้าึงับบัคิบกวว่ สวกยันอัตนาามทักุนมิระกพปกเี่เสร1าายวง็รบรด4าเดมบสจใูแตด็านา่งลกลเำ่เผลชตสอกอืู้ปอ่าารวดมกง่วิม่าขปปายแารากกมวเกลตยทละดริะือ่ ไ่ีุ่ม้วเว่ดบสรยมครุ้ชง็นตกบัว่อเนบัับมเบงคเกปส็ดอคมาางนเบีรุมกรลอ�ุำน่วอือมบทมักกดกดักเี่ไาลสขับดกรวั้บาก้ลรดปใวามุ่บันาูแรททกผกอลดดีไ่ปู้มาดชลว้ว่กรยอ่้อรยลพงบัมง0ว้ั ยะหป.ปเ9าคเลารา%บกมงั็งกาีบดลำ้วตบยาัดตมนปกเลกอุ่ตมงิ ร่วมเมกด็ ับเลกอื าดรขอาวมทกไี่ ดลร้ ้ัวบั ปเคามกบี ด�ำ ้วบยดั ก0ล.9มุ่ %ทดลNอoงrหmลงัaไlดSร้ บัaกliาnรeพยอายบ่าาลงทมเ่ีีนนัน้ยกสาำรคใหัญข้ ทอ้ มาลูงสกถาริตฝิ กึ (ทpกั <ษะ.ป0ฏ5บิ) ตั แิ กลาะรคสง่ะเแสรนมิ นแเลฉะลสนี่ยบัรสะนดนุ ับกคารวามปวดจาก อากดูแาลรชเยอ่ ื่องปบาุชกอ่ดว้งยปตานกเองักรเว่ สมบกับในกผารู้ปอว่มยกมลวั้ะปเรากง็ ดเม้วยด็ นเลํา้ ใือบดยขา่ นาาวงทส่ไีกดั ร้เยับน็ เคตมัง้ แบี ตำ่วบันทัด่ี 9กลจุ่มนถทึงดวลันทอี่ง14หลตงัํา่ ไกดวา่้รับกกลมุ่าครวพบยคามุ บทาลไ่ี ดท้รับี่เนก้นารการให้ข้อมูล การพฝยาึกบทาักลตษาะมปปกฏติบิรว่ัตมิ กกบั ากราสร่งอเมสกรลิมั้วปแาลกะดส้วยน0ับ.9ส%นุนNกorาmรดalูแSลaชlin่อeงปอยา่ากงดมีน้วัยยสตำ�นคญัเอทงารง่วสถมิตกิ ั(บpก<าร.0อ5ม) แกสลดั้วงปใหาเ้ กหน็ดว้ว่ายกนาร้ำพใยบายบ่าาลนางสกัดเย็น แคSตaลวั้งlแาแทสใบะiบnมลกุี่ชเตสนยะัดe่อร่นว่้นาปเงุนันนยับกอปรแ็นาาับทายสงรรมกสใ่ี่านใงีปอนม9หงขุนักรตด้ขมอะเจกำ�ุล้อสีนสงรในามบิทหอาัยรูลถอสธ้กาสดยมึิผงับกกำู่าแุนวลเาางคซลใไันรรรนพลัญฝชุนเทลกรยึกแ่อท์ราี่ท่ือรม่า1รงางักบงปีสป4แงษกา้อชุลาสาะรตงะ่อกยถตปกเ่ำงด่อรฏิตันเกป้ือตป้วิบแิ รว้าา(็นยลัตังpนก่าสะิตอกอจลมน<กนาาดุนกั รเลกุมคไอเ.สกพ0ูลสุ่มว่งงาอ5ารบเครรสมทิส)่ปไววรรร่ีมดแมฏิมุนบะีฤ้สแจิบกแทคสำ�ลรดัตับธาุมนงะิก์ิเงมขกยสวิจใอทนา็นนาหกงรมเรับ่ีรไ้เหอถาอดรหสามกมอนม้รก็นากภุนับากะชวารกสปิ่วลรก่าเาำ�ยพยรั้วการหเ่ือยาปสดรารบายรูแพรับาบุชิมไลพกผยาด่อสชู้ทลดยางรว้่อี่เทป้า้วาบงา่ปงี่เาปบย็นนาภกจานาม้ลนูมอกาละก้ำิตตักดกเาใท้าเร้วาสบสรน็งย่ีมเใรบอทยนตหรปไยนา่า้ข้นดพ่านกนเ้อ้งกอคโสตมมารงาุณาูลคางริรรมก่วสใ่วขใกนามกหมรชาอรกัดถร่่วาก้ขับงฝองยเใั้อบกกยึกภบแามากทก็นิปรยยูลัก้อาอรม่าษาารมชนีปกกยะอก่วาาไรปาลยมดรงะรั้ฏวเเ้วใกพปหฝสิบน่าิ่มลางึิกทัตตือคกจั้วิทธำกดวากปิผรกาัอก้วามาาสยักลรษกสสสนรเใสะรด่งน้ํามดบพเปชใสุ้นกวบแค่ืนรฏยาไยลุณิมพริ่าบะฟแขนป0เร้ืนัตลยอา.้อฟะื่อิ9งงมกูง%สี กาารันรNสแตo่งล่อเrสะตmลรา้ aิมดนl อนสมุ นูลับอสิสนรุนะกจารำดนูแวลนชม่อางปกาชกด่ว้วยยเตสนรเมิ อสงรร่ว้ามงกภับูมกิตาร้าอนมทกาลน้ัวปโราคกดใน้วยรน่า้ํางใกบายย่านชา่วงสยกเพัดเ่ิมยค็นวมาีขม้อสมดูลชจื่นากคฟำ�ื้นถฟามู ปแลลาะยปเปริดบั ขสอมงกดลุลุ่มใทหดก้ ลับอเงซลล์รา่ งกาย เป็นราสยมงาุนนไวพา่ รหทลี่มงั จฤี าทกธป์เิ ฏยิบน็ ตั เกิหามรอามะกสลำัว้หปราับกดผว้ ู้ทยี่เนปาํ้ ็นใบมยะา่ นเรา็งอสกยัด่าเงยมน็ าแกลว้ ชรสู้่วึกยวแา่ กอา้อกาากราเรจเบ็ หปงาอื กกเอจ็บักคเสอลบดแลลงะไเมยเ่ กอื่ ดิบแุชผ่อลใงนปชา่อกงอปากั กเเสมบ่อื อยา่ งรุนแรง แลเะปเรรยี ื้อบรเทังยี จบากกบั กรอาบรกปาฏรไิบดัตร้ บักิ ยิจากเครมรบี ม�ำ กบาดั รรอพบยทาผี่ บา่ นาลมาทส่ีเน�ำ ห้นรกบั ากรารใอหม้ขกอ้ ลมว้ั ปูลากกดาว้ รยฝนึก�ำ้ ใทบักยา่ษนะาปงสฏกิบดั เัตยิน็ กทาใี่ ชรใ้สน่งผเปู้สว่ รยิมมแะเลระง็ เสมนด็ เับลอืสดนขุนาวการดูแลช่อง ปเทหเปลบ่ีลาอืรทคดปร กัง้ายีดับว้วไัญี่จนดดบายขกาห้มวร้าาเแกาบั0สรทยวใจล.รปเนน9ตทยีคาักะใ%ฏชมกบจนษ่ไี เอ่ดบีกเิมบากเกงNา�ำท้รออ่ืยัี่ตปบัรบoบัโี่งวมศาิรกรดัrครเกงึกmาอใาคณุ่พวอนษรรบaม่ืนยมคสบัาอlกาีบๆรมใกกบนมSง้ัาบำับทนาaากรกตับลรlอ่ีี้ลกไผขิiลดัnราดุ่มวู้อซา้ัวจeักใทร้จิง่งึรเนปษนพยับักดอจคไาา้ํิดลบายาดมใกขอรทกวบาส้ ก้นึง้ังา่ดพเีโ่ยง่ ผนคไลรเย้วา่ไดสู้ปงมี้นมา้ัวย้แรผ่วพบ่พาปบีมินมยู้วงาบยใใ้ทำสา้ำลิจหนอาบกุกกใใัยก้ผาบหบดัรัดดลกูม้ไา้ยเายดมุ่ยราีภ้วยาลรตน็่อาส้ปาเยขควัวนทบฏ่งซน้าอมะสี่เบิาง่ึงทสสย้ีบำาเงพัตา่ขุค่ีผมใรำ�สอิงบภบบียามิ่าปยกรางัดนวยใฏา่ถหพัดหา่ง่มาบินถรดตเผก้นือาตั�ำึยงี่อู้ปสมแลผอิา็นเสำ�มานลย่วมุ่งหแใำ้วา่ก่อืยสชตร่างหลรงใ้ทกตวัับเนทะ้รวมอ่กุอักดทกกุบั่ืรอเารยาบวเนู้เสกรยรปานัา่จอ่ืพึดกายร็งนางแยแูรียวปกปเสมาลอบ่ากมฏฏบมส้จเอมาีทขาอขืะุิบิบรากลสภนีย้ใอตัตักชตลนิ้บากมิอ้ิอนาาพสว้ับักมูยํ้ลายรุดปับกขปใ่กา่าจากบาอเกรงางจาากงยตปรตตรตก็่าบดททิฏพอ่่อนนคด้ปวกี่บิยเเเาอลยลนำนตัาางงอมุ่ถบสนกิกือ่ือ่แงคกาจิา้ำงงลแลวัดวเมเใทะลจบทตัสเบค้วปยุก็ครบี่เมยร็นนปวุมลอคอืา่อ้นรันไบานนอดมะกยคจร้กาลากแรบัเ�ำรลงดมบัวัปวใรส้ัวหนัล้จกว่โิดปกด้ขมทะงาาขยดั้อกง้ัรสกเไอทมบัเปฉิ้นมยูลบ่ีผงกพฏส็น่เู้ปกา้าากกนิบรุดท่ะวลาิอดยกกัตแใี่รุ่มมทาแชาลฝิกกรุกทผระึ้กใปิจลนรเททลดมอ้้วัวาผักดปใงอื่ยตัลนกษู้ปามใลรอหนักะาช่วอปง้ ่ยองรรแมงะาปละยจ้วเาำงรวกา็งนันเเมมทว่ือ็ด่าั้ง ปฏิบัติกาจราสก่งเกสราิมรแศลกึ ะษสนาับในสกนุนลกมุ่ าทรดดูแลลอชง่องไปมาพ่ กดบ้วอยาตกนาเอรงขร้า่วมงเกคับยี กงาหรอรมอื กผลลั้วปการกะดท้วบยนจ้ําาใกบกย่าานราใงชส้นกำ้ัดใเยบ็นยแ่าลน้วเาหง็นสผกลดั คเวยา็นมแอตมกกตล่างว้ั ปาก ผ้ปู ่วย ทุกชรดั าเยจนใหค้คอื วไดาผ้มลสนน้อใยจกเวกา่ น่ีย้ันวจคะุณต้อสงมแปบลัตผิขลอดว้งยนค้ำวใาบมยระ่ามนัดารงะสวังกเชัดน่ เกยนั็นเทนอ่ืี่สงาจมากาใรนถรนะหำวม่าางกใชารใ้ ทนดกลาอรงดกลูแุม่ ลตสัวุขอยภา่ างพมีเซขลอลเ์งมตด็ นเลเอือดงขแาลวะครอบครัว โดยเฉพาะการป้องกันปัญหาในช่องปากอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้แม้ในผู้มีภาวะสุขภาพดี สำหรับการพยาบาลตามปกติที่กลุ่ม กปคาวารบกพดคย้วุมายไบนดา้ำ้รลใับบทรยี่เ่วน่ามน้นกากับงาสกรกาใหรัดอ้ขเยม้อน็ มกแูลลลั้วก้วปเาหารก็นฝดึกผ้วทลยคกั วษ0าะ.9มป%แฏติบกNตัตohิา่rกmงsาชcรaดั 3สrlเ8่งจSเนaสlIรSiคnมิ SือeแUไลดEจะ้ผา1สกลนพนับ้อยสยานบกุนวาา่ลกนาใหั้นรด้ยจแูะาเลตคชอ้ มอ่งีบแงปำปบาลกัดผดลถ้วดึงยว้ แตยมนค้วเว่าอาเงมมรร่ือ่วะเมปมกดัรับียรกะบาวเรทังอเียชมบ่นกกกลับัน้ัว เน่ืองจากในระหว่างการทดลองกลุ่มตัวอย่างมีเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนเติบโตมากผิดปกติโดยไม่ทราบสาเหตุซ่ึงเกิดข้ึนจาก
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105