Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1. นวัตกรรม ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรม

1. นวัตกรรม ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรม

Published by juan11552200, 2020-06-29 23:08:50

Description: 1. นวัตกรรม ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรม

Search

Read the Text Version

ชดุ กจิ กรรมการเรียนร้ตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชวี ภาพ วชิ าวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน รหสั วิชา ว 23101 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 นางสาวลาจวน สงี าม ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการ โรงเรียนทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย์ สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

ชุดท่ี 1 ลกั ษณะทางพันธกุ รรม ก คานา ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ เรอื่ ง การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม และความหลากหลายทางชีวภาพ วชิ า วทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน รหัสวชิ า ว23101 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 จดั ทาขึน้ เพ่ือใชเ้ ป็นส่ือการเรียนการสอนตามกระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ ส่งเสริมให้ นักเรยี นได้ลงมือปฏิบัตจิ ริง มีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ซึง่ ถือว่าเปน็ ไปตามแนวทางการจัดการศกึ ษา ของชาตทิ ีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ สนองตอ่ พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 และสอดคล้อง กับหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ท่มี ุ่งเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดร้ บั การพัฒนาทงั้ ด้าน ความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การแกป้ ญั หา ความสามารถในการส่อื สารการตัดสินใจ การนาความร้ไู ปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ตลอดจนมจี ติ วทิ ยาศาสตร์ มคี ุณธรรมจริยธรรมและคา่ นิยมอันพึงประสงค์ ผูจ้ ดั ทาหวงั เป็นอย่างย่งิ วา่ ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ชุดนี้ จะชว่ ยใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจเนอ้ื หาได้ง่ายและชดั เจน ยิ่งข้ึน มีพัฒนาการด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึนและมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์และเป็น ประโยชนต์ อ่ ผู้สนใจศกึ ษาทีจ่ ะนาไปเป็นแนวทางในการปรบั ปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนและใชเ้ ปน็ นวัตกรรม ทางการศึกษา ลาจวน สีงาม

ชุดที่ 1 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม ข สารบญั เรือ่ ง หน้า คานา............................................................................................................................. ........................ ก สารบัญ............................................................................................................................. ..................... ข คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรสู้ าหรบั ครู................................................................................. ง คาชแี้ จงการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรู้สาหรับนกั เรียน........................................................................... จ แผนผงั ขั้นตอนการเรียนโดยใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรู้........................................................................... ฉ สาระ มาตรฐาน ตัวช้วี ัดและจดุ ประสงค์การเรียนรู้............................................................................... ช บตั รคาส่ัง............................................................................................................................................... ญ แบบทดสอบก่อนเรยี น เร่อื ง การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลาย..................... 1 ทางชวี ภาพ แบบทดสอบย่อยก่อนเรียน ชดุ ท่ี 1 เรอ่ื ง ลักษณะทางพันธุกรรม....................................................... 10 บัตรพลังคดิ ที่ 1 มหศั จรรย์พันธุกรรม................................................................................................... 13 บตั รเน้อื หาท่ี 1.1 ลกั ษณะทางพันธกุ รรม............................................................................................. 14 บตั รกิจกรรมท่ี 1.1 ลักษณะทางพนั ธุกรรมของฉัน............................................................................... 17 บัตรคาถามท่ี 1.1 ลักษณะทางพนั ธุกรรม............................................................................................. 19 บตั รเน้อื หาที่ 1.2 ความแปรผันทางพนั ธกุ รรม...................................................................................... 20 บัตรกิจกรรมที่ 1.2 ความแปรผันทางพันธกุ รรม.................................................................................... 23 บัตรคาถามที่ 1.2 ความแปรผันทางพนั ธุกรรม...................................................................................... 26 บตั รเนือ้ หาที่ 1.3 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมกบั ส่ิงแวดลอ้ ม....................................................................... 27 บตั รคาถามที่ 1.3 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมกบั ส่งิ แวดลอ้ ม....................................................................... 31 แบบทดสอบย่อยหลังเรียน ชุดที่ 1 เรอ่ื ง ลักษณะทางพันธุกรรม.......................................................... 32 บรรณานุกรม................................................................................................................... ....................... 35 ภาคผนวก............................................................................................................................................... 37

ชดุ ที่ 1 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ค สารบัญ (ตอ่ ) เรอื่ ง หน้า บัตรเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม......................................... 38 และความหลากหลายทางชีวภาพ บัตรเฉลย แบบทดสอบย่อยก่อนเรยี น – หลงั เรียน ชุดท่ี 1 เรื่อง ลกั ษณะทางพันธุกรรม..................... 39 บัตรเฉลยพลงั คิดที่ 1 มหศั จรรย์พนั ธกุ รรม........................................................................................... 40 บตั รเฉลยกิจกรรมที่ 1.1 ลกั ษณะทางพันธุกรรมของฉนั ........................................................................ 41 บตั รเฉลยคาถามท่ี 1.1 ลักษณะทางพนั ธุกรรม...................................................................................... 43 บตั รเฉลยกจิ กรรมท่ี 1.2 ความแปรผนั ทางพนั ธุกรรม............................................................................ 44 บัตรเฉลยคาถามท่ี 1.2 ความแปรผันทางพันธุกรรม............................................................................... 47 บตั รเฉลยคาถามที่ 1.3 ลักษณะทางพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อม................................................................ 48 บตั รกระดาษคาตอบ.............................................................................................................. .................. 49 ตารางบนั ทึกคะแนนการทาแบบฝึกทักษะในชดุ กิจกรรมการเรียนร.ู้ ....................................................... 50

ชดุ ที่ 1 ลักษณะทางพันธกุ รรม ง คาแนะนาการใช้ ชดุ กจิ กรรมสาหรับครู ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ เรอ่ื ง การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม และความหลากหลายทางชวี ภาพ วชิ า วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน รหัสวิชา ว23101 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบด้วยชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จานวน 7 ชุด ดงั นี้ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ชุดท่ี 1 เร่อื ง ลักษณะทางพนั ธกุ รรม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดท่ี 2 เรอื่ ง โครโมโซมและสารพนั ธุกรรม ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ชุดท่ี 3 เรอื่ ง การแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ชดุ ที่ 4 เร่ือง กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ชุดท่ี 5 เร่อื ง ความผดิ ปกติทางพนั ธกุ รรม ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ชดุ ท่ี 6 เรื่อง การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยชี วี ภาพทีเ่ กยี่ วข้องกับพันธุศาสตร์ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชดุ ท่ี 7 เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพ ซ่ึงชุดกิจกรรมการเรยี นร้ชู ุดน้ีเป็นชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ชุดที่ 1 เรอ่ื ง ลกั ษณะทางพันธุกรรม ใช้เวลาในการศกึ ษา 3 ช่วั โมง ครูควรเตรียมความพร้อมและปฏิบตั ิตามคาแนะนา ดังต่อไปน้ี 1. ครตู ้องศึกษาเนื้อหาท่จี ะสอนและศึกษาชุดกิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้เข้าใจก่อนโดยละเอยี ด 2. ครูเตรียมวัสดอุ ุปกรณ์และห้องเรียนให้เออื้ ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดงั นี้ 2.1 ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกจิ กรรมกล่มุ กลมุ่ ละ 4 คน 2.2 วัสดุอุปกรณห์ รือสารเคมีต่างๆ ตามท่ีระบุไว้ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. ครชู ี้แจงให้นักเรยี นเขา้ ใจบทบาทของตนเอง แนะนาข้ันตอนการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวปฏบิ ัติในระหวา่ งการดาเนนิ กิจกรรมการเรยี นรู้ 4. ครูใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E) ตามข้นั ตอนดงั นี้ 4.1 ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) 4.2 ขน้ั สารวจและคน้ หา (Exploration) 4.3 ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4.4 ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) 4.5 ขน้ั ประเมนิ ผล (Evaluation) 5. ครูมีบทบาทหนา้ ท่ใี ห้คาแนะนาและเปน็ ผอู้ านวยความสะดวกในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เน้นยา้ ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามขัน้ ตอนดว้ ยความต้งั ใจ มีความซอื่ สตั ย์ มีวินัย และมีความรับผิดชอบจึงจะทาให้ การเรียนรโู้ ดยใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรนู้ เ้ี กิดประโยชนส์ ูงสดุ

ชุดท่ี 1 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม จ คาชี้แจงการใช้ ชุดกิจกรรมสาหรบั นกั เรียน ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เร่ือง การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมและ ความหลากหลายทางชีวภาพ วิชา วทิ ยาศาสตร์พนื้ ฐาน รหสั วชิ า ว23101 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ชดุ น้ี เปน็ ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนท่นี ักเรียนสามารถศึกษาไดด้ ว้ ยตนเอง โดยให้นักเรยี นศกึ ษา ตามคาแนะนาและปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามข้นั ตอน จะทาให้ไดร้ ับความรอู้ ย่างครบถ้วน ซึง่ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรชู้ ุดน้ี เป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชดุ ที่ 1 เรอื่ ง ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ใชเ้ วลาในการศึกษา 3 ชั่วโมง นกั เรยี นควรเตรยี ม ความพร้อมและปฏิบตั ติ ามคาแนะนา ดังต่อไปนี้ 1. ศกึ ษาคาชแ้ี จงการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรสู้ าหรบั นักเรียนและแผนผังขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรม การเรยี นรู้ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพอ่ื เปน็ การวดั ความรู้พืน้ ฐานของนักเรียน แลว้ ตรวจคาตอบจากบัตรเฉลย แบบทดสอบกอ่ นเรียน 3. ศกึ ษาสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ดั และจดุ ประสงค์การเรียนรูข้ องชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ 4. ลงมือศกึ ษาและปฏิบตั ิกิจกรรมตามขัน้ ตอนในชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้จากบัตรพลงั คดิ บัตรกิจกรรม บตั รเนอื้ หา บัตรคาถาม และเม่ือปฏิบัติกจิ กรรมต่างๆ เสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้ว ใหต้ รวจสอบคาตอบไดจ้ ากบัตรเฉลย พลงั คิด บัตรเฉลยกจิ กรรม บัตรเฉลยคาถาม 5. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น เพ่ือเปน็ การวดั ผลประเมินผลการเรียนรู้ แลว้ ตรวจคาตอบจากบัตรเฉลย แบบทดสอบหลงั เรียน 6. หากมีข้อสงสยั ให้ขอคาอธิบายหรือปรกึ ษาครผู ู้สอนเพ่ือรว่ มกนั สรุปขอ้ สงสยั นั้น

ชดุ ท่ี 1 ลักษณะทางพันธกุ รรม ฉ แผนผงั ขนั้ ตอนการเรยี น โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ศกึ ษาคาชี้แจงการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรสู้ าหรบั นักเรียน ทดสอบก่อนเรยี น ศึกษาชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ดังน้ี - บตั รพลังคดิ - บตั รเนอื้ หา - บัตรกจิ กรรม - บัตรคาถาม ทดสอบหลงั เรียน ไมผ่ า่ นเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ศึกษาชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ชุดต่อไป

ชดุ ที่ 1 ลักษณะทางพันธกุ รรม ช สาระ มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั และจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระท่ี 1 ส่ิงมีชวี ติ กับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม วิวฒั นาการ ของสงิ่ มีชวี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพ การใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพทม่ี ผี ลกระทบต่อมนุษยแ์ ละสิ่งแวดล้อม มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู้และจติ วทิ ยาศาสตร์ สอื่ สารสง่ิ ท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตวั ชว้ี ดั 1. ว 1.2 ม.3/1 สงั เกต สารวจ และอธบิ ายลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 2. ว 1.2 ม.3/2 สังเกต อธิบายลกั ษณะของโครโมโซม และระบุส่วนประกอบของโครโมโซม 3. ว 1.2 ม.3/3 อธบิ ายความสาคญั ของสารพนั ธกุ รรมหรือดเี อ็นเอและความสัมพันธ์ระหว่าง โครโมโซม ดเี อน็ เอ และยีน 4. ว 1.2 ม.3/4 อธิบายกระบวนการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม 5. ว 1.2 ม.3/5 อภิปรายโรคทางพนั ธุกรรมทเี่ กิดจากความผดิ ปกติของยนี และโครโมโซม และนา ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ 6. ว 1.2 ม.3/6 อธบิ ายการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีชวี ภาพทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั พันธศุ าสตร์ 7. ว 1.2 ม.3/7 สารวจและอธิบายความหลากหลายทางชวี ภาพในท้องถ่ินที่ทาให้สิ่งมีชีวติ ดารงชีวติ อยู่ไดอ้ ย่างสมดุล 8. ว 1.2 ม.3/8 อธิบายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มตี ่อมนษุ ย์ สตั ว์ พืช และสิง่ แวดล้อม

ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธกุ รรม ซ สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหา ร้วู ่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติท่เี กิดขึน้ ส่วนใหญม่ รี ูปแบบที่แน่นอน สามารถอธบิ ายและ ตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมลู และเครอ่ื งมอื ท่ีมอี ยู่ในชว่ งเวลานน้ั ๆ เขา้ ใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และสิง่ แวดลอ้ มมีความเก่ยี วข้องสมั พนั ธก์ ัน ตัวชวี้ ัด ว 8.1 ม.1-3/1 ตั้งคาถามท่ีกาหนดประเดน็ หรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือ ศึกษาค้นควา้ เรื่องทน่ี า่ สนใจได้อย่างครอบคลุมและเช่ือถือได้ ว 8.1 ม.1-3/2 สร้างสมมุตฐิ านท่สี ามารถตรวจสอบไดแ้ ละวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วธิ ี ว 8.1 ม.1-3/3 เลอื กเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบท้ังเชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพท่ีได้ผลเทย่ี งตรง และปลอดภยั โดยใชว้ ัสดแุ ละเคร่อื งมอื ที่เหมาะสม ว 8.1 ม.1-3/4 รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชงิ ปริมาณและคุณภาพ ว 8.1 ม.1-3/5 วิเคราะหแ์ ละประเมนิ ความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุปทง้ั ท่ีสนบั สนนุ หรอื ขดั แยง้ กบั สมมุติฐานและความผดิ ปกติของขอ้ มูลจากการสารวจ ตรวจสอบ ว 8.1 ม.1-3/6 สรา้ งแบบจาลอง หรือรูปแบบทอ่ี ธิบายผลหรอื แสดงผลของการสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.1-3/7 สรา้ งคาถามทน่ี าไปสกู่ ารสารวจตรวจสอบในเรื่องทีเ่ กีย่ วข้องและนาความรทู้ ี่ได้ไป ใชใ้ นสถานการณใ์ หม่หรืออธิบายเกีย่ วกบั แนวคดิ กระบวนการและผลของโครงงาน หรือชน้ิ งานให้ผอู้ ืน่ เข้าใจ ว 8.1 ม.1-3/8 บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจตรวจสอบคน้ ควา้ เพิ่มเตมิ จากแหลง่ ความรตู้ ่าง ๆ ให้ได้ข้อมลู ทเี่ ชอ่ื ถือได้ และยอมรับการเปลย่ี นแปลงความรู้ทค่ี น้ พบ เมอ่ื มีข้อมลู และประจักษพ์ ยานใหมเ่ พม่ิ ขน้ึ หรือโต้แย้งจากเดิม ว 8.1 ม.1-3/9 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงานและ/หรืออธบิ ายเกย่ี วกับแนวคดิ กระบวนการ และ ผลของโครงงานหรอื ช้ินงานใหผ้ อู้ ่นื เข้าใจ

ชุดท่ี 1 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม ฌ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ดา้ นความรู้ (K) 1.1 นักเรียนสามารถบอกความหมายของลกั ษณะทางพนั ธุกรรมได้ 1.2 นักเรียนสามารถเปรยี บเทยี บการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมผา่ นกระบวนการสืบพันธ์ุ แบบอาศยั เพศและไม่อาศัยเพศ พร้อมท้ังยกตัวอย่างลกั ษณะทางพนั ธุกรรมได้ 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 2.1 นกั เรยี นสามารถสารวจการถ่ายทอดลักษณะบางอย่างในครอบครัวได้ 2.2 นักเรียนสามารถปฏบิ ตั ิกิจกรรมโดยใช้ทักษะกระบวนการกลมุ่ ได้ 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค/์ เจตคติ (A) 3.1 ความซื่อสตั ย์ 3.2 ความมีวนิ ยั 3.3 ความสนใจใฝ่เรียนรู้ 3.4 ความรบั ผดิ ชอบ มงุ่ ม่ันและอดทนในการทางาน 3.5 ความมเี หตผุ ล 3.6 การแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเหน็

ชุดที่ 1 ลักษณะทางพนั ธกุ รรม ญ บตั รคาสัง่ 1 ลักษณะทางพันธุกรรม 1. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น เพอ่ื ประเมินความร้เู ดิมของนักเรยี น 2. นกั เรียนแต่ละกลุ่มมีการเลือกประธานกลุ่ม เลขานุการกลุ่ม และสมาชกิ กลุม่ โดยมีการเปล่ยี น บทบาทกนั ในการเรียนแต่ละคร้ัง ซึ่งแต่ละคนมีหนา้ ท่ี ดงั นี้ 2.1 ประธาน ดูแลและควบคมุ การทางานของสมาชกิ ในกลมุ่ ใหเ้ ปน็ ไปตามกาหนดเวลา 2.2 เลขานกุ าร บนั ทึกข้อมูล ปัญหา ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะของสมาชกิ ภายในกลุ่ม 2.3 สมาชกิ ให้ความรว่ มมือในการทากิจกรรมต่างๆ ของกล่มุ ใหบ้ รรลจุ ดุ ประสงค์ เสนอความ คดิ เหน็ จากข้อมูลทไี่ ด้ทาการศึกษาทดลอง และจากการศึกษาบัตรเน้ือหา 3. แตล่ ะกลุ่มให้ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามลาดบั ดงั นี้ 3.1 ศึกษาคาแนะนาในการทากจิ กรรมแต่ละชุดกจิ กรรม โดยทากจิ กรรมตามข้ันตอนที่ระบใุ น คาแนะนาของชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ตามวฏั จกั รการสบื เสาะหาความร้แู ตล่ ะชุด 3.2 ศึกษาบตั รกิจกรรมการทดลอง ปฏบิ ัติตามขั้นตอนในบัตรกิจกรรม ศึกษาบตั รเนื้อหาและ ตอบคาถามในบัตรกจิ กรรมแต่ละกจิ กรรม 3.3 นกั เรยี นระดมความคิด สรปุ สาระสาคญั และรว่ มกันอภิปรายสรุปผลการทากิจกรรม เลือก ตัวแทนกลมุ่ นาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชน้ั เรียน 4. ในการทากิจกรรมแต่ละคร้ัง ควรให้เสรจ็ ส้นิ ในเวลาท่กี าหนด เพราะการตรงต่อเวลาเปน็ เกณฑ์ขอ้ หนึง่ ในการประเมนิ 5. เมื่อเรียนจบแต่ละชุดแลว้ ใหท้ าแบบทดสอบหลังเรยี นประจาชุดกิจกรรม ซงึ่ เป็นแบบทดสอบ ค่ขู นานกบั แบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ เพ่ือประเมนิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

ชุดท่ี 1 ลักษณะทางพนั ธกุ รรม 1 แบบทดสอบ 1 การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม ก่อนเรียน และความหลากหลายทางชีวภาพ คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นเลือกตอบคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งทสี่ ุดเพยี งคาตอบเดียวโดยกาเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงในกระดาษคาตอบท่แี จกให้ จุดประสงค์การเรียนรทู้ ี่ 1 นักเรียนสามารถบอกความหมายของลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมได้ 1. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมได้ถูกตอ้ ง ก. ลักษณะทางพนั ธกุ รรมจะต้องถา่ ยทอดตอ่ ไปได้ ข. ลกั ษณะทางพันธกุ รรมบางลักษณะจะถ่ายทอดต่อไปไม่ได้ ค. ลกั ษณะทางพันธุกรรมทุกลกั ษณะจะต้องมองเหน็ ได้ทันที ง. ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมบางลักษณะเกิดจากการฝกึ ฝนภายหลงั 2. การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรมขอ้ ใดถูกตอ้ ง ก. การแตกหน่อของหน่อไม้ ข. ผง้ึ มีลกั ษณะเหมือนกันทง้ั รัง ค. เบิร์ดฝกึ ร้องเพลงจนเปน็ นักร้องทม่ี ชี ่อื เสียง ง. สมชายมีลกั ษณะเดน่ คือจมูกโด่ง มีลกู ชายกจ็ มูกโดง่ 3. ถ้านาตัวออ่ นท่ไี ด้จากการผสมของกระต่ายขาวเผอื กท้งั คู่มาใสใ่ นมดลูกของกระต่ายขนสีน้าตาลสาเร็จ ดังน้นั เมือ่ คลอดออกมา ลกู กระต่ายมสี ีอะไรอย่างแนน่ อน ก. ขาวเผือก ข. น้าตาลลว้ นๆ ค. นา้ ตาลจดุ ขาว ง. ขาวจุดน้าตาล

ชุดท่ี 1 ลักษณะทางพนั ธุกรรม 652 จดุ ประสงค์การเรยี นร้ทู ี่ 2 นักเรยี นสามารถเปรยี บเทียบการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมผ่านกระบวนการ สบื พันธุ์แบบอาศยั เพศและไม่อาศยั เพศได้ 4. คนมอี อโตโซม 46 แทง่ หรือ 23 คู่เมือ่ สรา้ งเซลล์สืบพันธุจ์ ะมีโครโมโซม เท่าไร ก. 23 แท่ง ข. 28 แท่ง ค. 32 แทง่ ง. 46 แทง่ 5. ลักษณะทางพันธกุ รรมจากรุ่นพอ่ แม่จะถูกถา่ ยทอดไปยังลูกหลานได้โดยผ่านทางใด ก. ยนี ข. โครโมโซม ค. เซลล์ร่างกาย ง. เซลล์สืบพันธุ์ จดุ ประสงค์การเรยี นรูท้ ่ี 3 นักเรียนสามารถสารวจการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมได้ 6. ข้อใดเปน็ ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่มีความแปรผันแบบต่อเนอื่ ง ก. การมีขวญั เวยี นซา้ ย ข. ความสงู ของคนไทย ค. ลนิ้ หอ่ ได้และห่อไมไ่ ด้ ง. เสน้ ผมเหยียดตรงและหยักศก 7. ทุกข้อเปน็ อิทธิพลของส่งิ แวดล้อมทีม่ ีผลต่อลกั ษณะทางพันธกุ รรม ยกเว้น ขอ้ ใด ก. การออกไขข่ องไก่ ข. การใหน้ ้านมของโค ค. ความสามารถในการห่อลน้ิ ง. ความสามารถในการวาดรูป

ชดุ ท่ี 1 ลักษณะทางพันธกุ รรม 3 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้ทู ี่ 4 นักเรยี นสามารถสงั เกต อธบิ ายลักษณะของโครโมโซม และระบสุ ่วนประกอบของ โครโมโซมไดถ้ ูกตอ้ ง 8. รปู รา่ งลกั ษณะที่ปรากฏออกมาใหเ้ ห็นในการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมเรียกว่าอะไร ก. จีโนไทป์ ข. ฟีโนไทป์ ค. ค่ขู องยนี ท่ตี า่ งกัน ง. คูข่ องยนี ทเ่ี หมือนกัน 9. ส่ิงมชี ีวิตมคี ูข่ องยีนเป็น GG หรอื gg เราเรียกวา่ ก. ลกั ษณะเดน่ ข. ลักษณะด้อย ค. โฮโมไซกสั ง. เฮเทอโรไซกสั จุดประสงคก์ ารเรียนรูท้ ี่ 5 นักเรยี นสามารถเปรียบเทยี บจานวนโครโมโซมชนดิ ตา่ งๆ อธบิ ายความหมายของ ออโตโซม และโครโมโซมเพศของคนได้ 10. รนุ่ พอ่ แม่ (P) มคี ู่ยนี เปน็ แบบ Gg สรา้ งเซลลส์ บื พันธุไ์ ด้แบบใดบา้ ง ก. g และ g ข. G และ g ค. G และ G ง. GG และ gg 11. ในหนูตะเภา ให้ R ควบคุมลกั ษณะเดน่ ขนสีขาว และ r เป็นลักษณะด้อย ขนสีดา ถ้าผสมหนูตะเภาทีม่ ี ขน สีขาวกบั หนตู ะเภาขนสดี าได้ลกู หนูตะเภาขนสีขาว 7 ตวั และขนสดี า8 ตวั พอ่ แมห่ นตู ะเภาจะมจี โี นไทป์ อยา่ งไร ก. rr ทั้งคู่ ข. RR ท้ังคู่ ค. Rr ท้งั คู่ ง. ฝ่ายหน่ึงเป็น Rr อีกฝา่ ยหนึ่งเป็น rr

ชดุ ท่ี 1 ลักษณะทางพันธกุ รรม 4 12. จากตารางในเซลล์รา่ งกายของคนมีโครโมโซม 46 แทง่ เซลลส์ ืบพนั ธข์ุ องพ่อและแม่เป็นอย่างไร ถา้ ลูกที่เกิดมาเปน็ ผู้หญิง พอ่ พ่อ แแมม่ ่ 1) 1) 22+X 22+X 222+2+XXYY 2) 2) 22+XX22+XX 222+2+XX 3) 2222++XXX2222++XXX 222222+2+2+X+XXYXY 4) 3) 4) ก. ขอ้ 3 ข. ขอ้ 4 ค. ข้อ 1 ,2 ง. ขอ้ 2 , 4 จุดประสงคก์ ารเรียนร้ทู ี่ 6 นักเรยี นสามารถอธิบายความสาคญั ของสารพนั ธุกรรมหรอื ดีเอ็นเอและ ความสัมพันธ์ระหว่างโครโมโซม ดเี อน็ เอ และยนี ได้ 13. สาร DNA พบได้ในบริเวณใดของเซลล์ ก. นวิ เคลยี ส ข. เยือ่ หุ้มเซลล์ ค. คลอโรพลาสต์ ง. ไซโทพลาสซมึ 14. เบสชนดิ ใดท่ไี ม่พบใน DNA ก. ไทมนี ข. ยรู าซลิ ค. กวานนิ ง. ไซโทซนี จดุ ประสงค์การเรยี นรูท้ ่ี 7 นักเรียนสามารถศึกษาโครโมโซมผา่ นกล้องจุลทรรศน์ได้ 15. ขอ้ ใดเปน็ การแบ่งเซลล์ของเซลล์รา่ งกาย ก. ไมโทซสิ ข. ไมโอซสิ ค. ออโตโซม ง. ไมโอซิสและไมโทซิส

ชุดท่ี 1 ลกั ษณะทางพันธุกรรม 5 16. การแบ่งเซลล์ระยะใดทใ่ี ช้เวลานานท่ีสุด ก. โพรเฟส ข. เมทาเฟส ค. เทโลเฟส ง. อนิ เตอร์เฟส 17. ระยะสุดท้ายของการแบง่ เซลล์คือข้อใด ก. โพรเฟส ข. เทโลเฟส ค. แอนนาเฟส ง. อินเตอร์เฟส จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรทู้ ่ี 8 นกั เรยี นสามารถบอกความหมายของการแบง่ เซลล์ได้ 18. การแบ่งเซลลห์ มายถึงข้อใด ก. แบง่ ผนังเซลล์ ข. แบ่งนวิ เคลยี ส ค. แบ่งไซโทรพลาซมึ ง. แบ่งนวิ เคลยี สและไซโทพลาซมึ 19. โครโมโซม 1 แท่งจะจาลองตัวเองมาเป็นเสน้ คู่แต่ละเส้นของโครโมโซมเรียกวา่ ก. โครมาทดิ ข. โครมาทนิ ค. เซนโทรเมียร์ ง. ไมโทตกิ สปนิ เดิล 20. การแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซิส เซลล์ใหม่ที่ไดม้ ลี ักษณะเปน็ อยา่ งไร ก. 1 เซลล์ เหมือนเดิมทุกประการ ข. 2 เซลล์ เหมอื นเดมิ ทุกประการ ค. 3 เซลล์ มจี านวนโครโมโซมลดลงคร่ึงหนึ่งของเซลล์เดิม ง. 4 เซลล์ มีจานวนโครโมโซมลดลงคร่งึ หน่งึ ของเซลล์เดมิ

ชดุ ท่ี 1 ลักษณะทางพนั ธกุ รรม 6 จุดประสงค์การเรยี นรูท้ ี่ 9 นักเรียนสามารถระบุขนั้ ตอนของการแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิส และแบบไมโอซิสได้ 21. กระบวนการแบ่งตัวของไซโทรพลาซมึ (Cytokinesis) เร่ิมเกดิ ขึ้นทร่ี ะยะใด ก. แอนาเฟส ข. โพรเฟส ค. เทโลเฟส ง. เมทาเฟส 22. ขณะที่เซลล์แบ่งตัว ระยะใดจะเห็นโครโมโซมชัดเจนทส่ี ุด ก. อินเตอรเ์ ฟส ข. โพรเฟส ค. เมทาเฟส ง. แอนาเฟส จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ที่ 10 นักเรียนสามารถวิเคราะหแ์ ละสรปุ ผลการทดลองของเมนเดลได้ 23. ถา้ สงิ่ มชี วี ติ ชนิดหน่ึงมีจีโนไทป์ RrYy ตามกฎแห่งการรวมกลุ่มอยา่ งอสิ ระของเมนเดล เซลลส์ ืบพันธุ์ใด ไมค่ วรเกิดข้ึน ก. RY ข. Rr ค. rY ง. ry 24. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมข้อใด ไมเ่ ปน็ ไปตามกฎของเมนเดล ก. ถว่ั ต้นสงู เปน็ ลกั ษณะเดน่ ถ่ัวต้นเต้ียเป็นลักษณะด้อยผสมกนั รนุ่ ลกู ได้ถ่วั ต้นเตยี้ ทั้งหมด ข. คขู่ องยนี มียนี เด่นเพียงยีนเดยี วกส็ ามารถแสดงลกั ษณะเด่นนนั้ ได้ ค. ถวั่ ต้นสงู เปน็ ลักษณะเด่นรุน่ ลกู ตอ้ งปรากฏถว่ั ตน้ สูงแนน่ อน ง. ถ่วั ตน้ เตย้ี เปน็ ลักษณะดอ้ ยมีโอกาสแสดงออกน้อยกวา่ ถ่ัวตน้ สงู ทีม่ ีลักษณะเด่น จดุ ประสงค์การเรยี นรูท้ ่ี 11 นักเรียนสามารถอธบิ ายความหมายของลักษณะเดน่ ลกั ษณะดอ้ ย ยนี เดน่ ยนี ดอ้ ย ได้ถูกต้อง 25. ถว่ั ต้นสูง ผสมกบั ถว่ั ต้นเต้ีย ได้รนุ่ ลกู (F1) ตน้ สงู ทกุ ตน้ เมื่อนาถ่ัวรุ่นน้ีผสมกับถ่ัวต้นเตี้ยไดต้ น้ ถั่วรุ่น ต่อไป (F 2) 20 ตน้ ในจานวนน้คี วรมีถว่ั ตน้ สงู ประมาณกี่ต้น ก. 5 ตน้ ข. 8 ตน้ ค. 12 ตน้ ง. 20 ตน้

ชดุ ท่ี 1 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 7 312พกจ.6บัดุันข.ปถธอ้ ถ่ัวกุรใ้าลดะรงคกขตนัสรเ....ปอ้มกขงเมทมกตน็งค.ต.ิว่อวิกาาขTTาก์เเใใทาทมอ้tทTาหหรีม่ชหสรช้เทเ้ ีจกเกันรลนัรรีโดิปุิดจักยีจานวททะกบะนไวิเั้ง่ีถาทเวรกัฒกผรูก่าปู้ทิดิดขลนต์แี่เตผอดฉ1า้อบ้นลงีแกพ2งบเถเลเามาสกนใ่ัวระะนียดีย่ลใักผในเตวันนเดลรอ่กสเลเียตสDบัสงิ่ ไนมา่ิงียNมดมทชีสใ้วิAนีชวี่มีาเทมสติวีเีลทิตชง่ิาทกั มา่รอันั้งษนถชีพยณเ้นัีว่าืชขิตะงแยี รตทลน้าน้ัง้ะยแพสสแผชืูงตัรนวแวงภา่ ล์ เาะปพสน็ แตั พสวนัด์ ธงุ์แกทารห้ ถร่าือยทพอนั ดธยท์ุ นีางทจคี่ ะวตบ้อคงุมนลาักตษน้ ณท่สีะงทสายั งผสม จดุ ประสงคค์ก.าtรtเรียนรทู้ ี่ 15 นักเรยี นสามารถสืบคน้ ข้อมูลเกยี่ วกับการนาความรู้ทางด้านพนั ธศุ าสตร์ไปใช้ ประโยชน์ในง.ดขา้ อ้นตก่า.งหๆรตือลขออ้ ดจคน. คกว็ไดาม้ กา้ วหน้าของเทคโนโลยที ีเ่ ก่ียวข้อง 322.7ก.าพรืชโคตลน้ นหนน่งิ ง่ึ สมตั จี วีโ์นไมไท่จปา์เAปa็นBตbอ้Cงcใชถ้ขาส้อรใด้างละอองเรณูได้ 1,000 ละอองเรณูจะมีละอองเรณู ที่มจี โี นไทป์ abc เท1า่ .ใเดซลล์ไข่ 3.กก.า1ร0ป0ฏสิ นธิ 2. เซลล์รา่ งกาย ก.ขเ.ฉ1พ2า5ะข้อ 1 4. การฝังตวั ของเอมบริโอ ข.คเ.ฉ2พ5า0ะข้อ 3 ค.งข. ้อ5020และ 3 332ทจ.8ดุาข.งปอ้ พพรในัดอ่ะงคขกงธสม.....ไขคกกุงีหกขมกกก...รค้อามใ่าาา½1¾ร์กรชรร่เูรม1ลจาถเผ่ ไพเอืรัดา่สดแทเาดเยมรล้รคะเฝยีเยีะปโเทานลนงน็ก4ียคีย้โรเตลมู่โงู้ทอคัวยเ่ีนอร(ชี1ื้อโ่อวีI3มAเนภiยโนาซ)่อื ักพมแพเใมรืชนม่ียรนีห่าสมงากูเ่ ลมาือยาดรถโอทา(นiiา)ยลโกูอทกเี่ากสิดทมรี่ า่นุ จละูกมจีหะมไู่เดล้รอื ับดกเาอรใถนา่อยัตทรอาสด่วลนักเษทณา่ ใะดตา่ งๆ จุดประสงคง.์ก3าร:1เรยี นรูท้ ี่ 16 นกั เรยี นสามารถยกตวั อยา่ งความก้าวหน้าและอธบิ ายการนาความร้ดู ้าน พันจธุดศุ ปารสะตสรงไ์ คปก์ใชาป้รเรระียโนยรชูท้นี่์ไ1ด4้ นักเรยี นสามารถอธบิ ายความผดิ ปกตขิ องยนี และโครโมโซมทีม่ ีผลต่อสง่ิ มชี ีวติ ได้ 342.9ข.อ้ ขใ้อดใเดปคน็ อืผคลวจาามกผกดิาปรนกาตเิทเี่คกนดิ คิจพากนั กธาวุ รศิ ขวากดรหรามยมไาปปขรอะงยโุกคตรโใ์ มช้แโซลมะคยทู่งั เ่ี ป5น็ ปัญหาที่ยังไม่มขี ้อยตุ ิ ก.กก.ากรลโคุ่มลอนากนาง่ิ รขดอางวสนง่ิ ม์ ีชวี ิต ข.ขป.รกบั ลปมุ่ รอุงาพกันาธรพุ์ครืชิดทชู ่ีเรายีตก์ ว่า GMOs ค.คก.ากรลผมุ่ลอิตาฮกอารร์โเมทนอแรลเ์ นะอวัคร์ซีนแก้โรคต่างๆ ง. งก.ากรลตมุ่รอวจากทารไกคใลนเคฟรลรเภตเ์อพร่ือ์ วินิจฉัยโรค 30. ผูป้ ่วยเพศชายคนหน่งึ รปู รา่ งสงู หนา้ อกโต เป็นหมัน เม่ือตรวจโครโมโซมพบว่ามี 47 โครโมโซม โดย โครโมโซมเพศเกินมา 1 โครโมโซม ชายผนู้ ี้จดั อย่ใู นกลมุ่ ใด ก. กลุ่มอาการดาวน์ ข. กลุ่มอาการคริดชู าต์ ค. กล่มุ อาการเทอร์เนอร์ ง. กลุม่ อาการไคลเฟลเตอร์

ชดุ ที่ 1 ลักษณะทางพันธกุ รรม 8 จุดประสงคก์ ารเรยี นรทู้ ี่ 15 นักเรียนสามารถสบื ค้นข้อมูลเกย่ี วกับการนาความรทู้ างด้านพนั ธศุ าสตรไ์ ปใช้ ประโยชนใ์ นดา้ นตา่ งๆ ตลอดจนความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีที่เกีย่ วข้อง 31. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ เทคโนโลยีชวี ภาพ ก. การผสมเทียม ข. การถ่ายฝากตวั ออ่ น ค. การเพาะเลยี้ งเน้ือเย่ือพชื ง. การจดั เรยี งคโู่ ครโมโซมในรา่ งกาย จุดประสงค์การเรยี นรู้ที่ 16 นกั เรียนสามารถยกตวั อย่างความก้าวหน้าและอธิบายการนาความรู้ด้าน พนั ธุศาสตรไ์ ปใช้ประโยชน์ได้ 32. ข้อใดเป็นผลจากการนาเทคนคิ พนั ธุวศิ วกรรมมาประยุกตใ์ ชแ้ ละยงั เปน็ ปญั หาทย่ี ังไม่มขี ้อยตุ ิ ก. การโคลนนิ่งของส่ิงมีชีวติ ข. ปรบั ปรุงพันธพ์ุ ชื ท่ีเรียกว่า GMOs ค. การผลติ ฮอร์โมนและวัคซีนแกโ้ รคต่างๆ ง. การตรวจทารกในครรภเ์ พ่อื วินจิ ฉัยโรค จดุ ประสงคก์ ารเรียนร้ทู ่ี 17 นกั เรียนสามารถอธิบายความหลากหลายทางพันธกุ รรมได้ 33. ดอกไม้ชนิดเดยี วกัน นาไปปลกู ในพื้นทตี่ า่ งๆ กนั ปจั จยั ใดมผี ลตอ่ การเจริญเติบโตน้อยท่ีสดุ ก. ความช้นื ข. พันธกุ รรม ค. ภมู ิอากาศ ง. แร่ธาตใุ นดิน 34. ข้อใดไม่สามารถบอกลกั ษณะการถา่ ยทอดทางพนั ธุกรรมของคนได้ ก. ลูกพลี่ กู น้อง ข. ลกั ษณะของพนี่ ้อง ค. เครือญาติของครอบครวั ง. ญาตทิ างพอ่ และญาตทิ างแม่ จุดประสงค์การเรียนรทู้ ่ี 18 นักเรยี นสามารถอธิบายความหลากหลายในชนิดของส่ิงมีชีวติ ได้ 35. ลักษณะเฉพาะของสัตว์ในกลุ่มอารโ์ ทพอดเป็นอยา่ งไร ก. ลาตัวเปน็ โครงรา่ งแขง็ ภายในเป็นแผน่ หินปนู ผวิ ภายนอกหยาบ ขรุขระ ข. มีรยางค์เป็นข้อปลอ้ งต่อกัน ลาตัวแบง่ เปน็ ส่วนๆ มโี ครงร่างแข็งภายนอก ค. ลาตวั ออ่ นน่มิ ไม่แบง่ เป็นปล้อง บางชนิดมีโครงรา่ งแข็งหมุ้ อย่ภู ายนอก บางชนดิ เปน็ แกนอยภู่ ายใน ง. ลักษณะลาตวั แบน มปี าก ไมม่ ที วารหนกั ถ้าเปน็ ปรสติ จะมีอวยั วะสาหรบั เกาะเปน็ ขอเก่ยี วและดดู อาหาร

ชดุ ที่ 1 ลักษณะทางพนั ธุกรรม 9 จุดประสงคก์ ารเรยี นรทู้ ี่ 19 นกั เรยี นสามารถอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถนิ่ ทท่ี าให้ ส่ิงมีชีวิตดารงชีวติ อยู่ได้อยา่ งสมดุล 36. หลักฐานในขอ้ ใดดีท่ีสดุ ท่ีแสดงให้เห็นว่าสง่ิ มชี ีวติ 2 ชนิด มีลาดับวิวัฒนาการใกลเ้ คียงกัน ก. หลกั ฐานจากซากดึกดาบรรพ์ ข. หลักฐานจากการเปรียบเทยี บโครงสรา้ ง ค. หลักฐานจากการเจรญิ เติบโตของเอมบริโอ ง. หลักฐานจากการศึกษาในระดับโมเลกุล 37. อวยั วะส่วนใดมกี าเนิดแตกตา่ งจากขอ้ อน่ื ก. ปีกนก ข. แขนของคน ค. ปีกค้างคาว ง. ครีบปลาโลมา 38. ข้อความใดที่สนบั สนนุ หลักการของวิวัฒนาการตามแนวของดารว์ นิ ก. งเู ดมิ มขี าแตเ่ ม่ือไมไ่ ด้ใชเ้ ลยหดหายไป ข. ยีราฟคอยาวเทา่ น้นั ท่ีจะดารงพนั ธ์ุตอ่ ไปได้พวกที่คอสัน้ กจ็ ะสูญพนั ธุ์ไป ค. การผสมระหว่างมา้ กบั ลาไดล้ กู ผสมทวี่ ่องไวคลา้ ยมา้ แตม่ ีความอดทนเหมือนลา ง. เมอื่ ตดั หางลกู สุนัขหลายช่วงอายุแตล่ ูกหลานเหลนก็ยังมีหางยาวเหมือนบรรพบรุ ุษของมัน 39. ความสมดลุ ของประชากรในธรรมชาติถกู ควบคุมโดยภาวะใดมากทสี่ ดุ ก. ภาวะเกื้อกูล ข. ภาวะปรสิต ค. ภาวะลา่ เหยื่อ ง. ภาวะท่ตี อ้ งพึ่งพา 40. พชื ช่วยรกั ษาสมดุลของอากาศโดยวิธใี ด ก. การคายน้า ข. การหายใจ ค. ดูดพลังงานแสง ง. ควบคมุ อุณหภมู ขิ องอากาศ ตั้งใจทาข้อสอบนะจ๊ะ.... ขอให้โชคดีทกุ คนจะ้

ชุดที่ 1 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 10 แบบทดสอบยอ่ ย 1 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม กอ่ นเรยี น คาชี้แจง แบบทดสอบปรนัย 4 ตวั เลือก จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาสอบ 10 นาที คาสง่ั ให้นกั เรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องทีส่ ดุ พยี งขอ้ เดยี ว แล้วทาเคร่อื งหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ลักษณะทางพันธุกรรม หมายถงึ อะไร ก. บรรพบุรษุ ของส่ิงมชี วี ิต ข. ความคล้ายคลงึ กนั ของสิง่ มชี วี ติ ค. ลกั ษณะตา่ ง ๆ ที่ถ่ายทอดไดข้ องสง่ิ มีชวี ิต ง. ลักษณะต่าง ๆ ท่ถี า่ ยทอดจากพอ่ แม่ไปยังลกู หลาน 2. ขอ้ ใดเป็นสาเหตสุ าคัญท่ีทาใหส้ ิ่งมีชวี ิตแตกตา่ งกนั ก. สิง่ แวดล้อม ข. การกินอาหาร ค. พันธกุ รรมและสง่ิ แวดล้อม ง. ลักษณะเด่นของพ่อและแม่ 3. โตโต้และตาตา้ เป็นฝาแฝดเหมือน ป้าขอตาตา้ ไปเล้ียงท่ีประเทศองั กฤษ จนกระท่งั อายุ 20 ปี ท้ังสองไดก้ ลับมาพบกนั อีกคร้ัง ปรากฏวา่ ท้งั สองมีความสงู ต่างกัน 2 เซนติเมตร การแสดงออกของ ความสงู เน่ืองมาจากอะไร ก. สภาพแวดลอ้ มเพียงอย่างเดยี ว ข. พันธุกรรมมีอทิ ธิพลเท่ากับส่งิ แวดลอ้ ม ค. สงิ่ แวดลอ้ มมอี ิทธพิ ลมากกว่าพันธุกรรม ง. พันธกุ รรมมอี ทิ ธิพลมากกวา่ สิ่งแวดลอ้ ม

ชดุ ที่ 1 ลกั ษณะทางพันธุกรรม 11 4. ลกั ษณะใดเปน็ ลักษณะทางพนั ธกุ รรมที่มีความแปรผนั แบบตอ่ เนือ่ ง ก. การมีหนังตาชน้ั เดยี ว การมลี กั ย้ิม ข. ความสงู ของคน ปริมาณการให้นา้ นมววั ค. การเวียนของขวัญบนศีรษะ การมผี ิวเผือก ง. หมเู่ ลอื ด ABO ความสามารถในการหอ่ ลิ้น 5. ขอ้ ใดอธิบายการถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรมได้ถกู ต้องทส่ี ุด ก. พ่อเป็นหมอ ลูกกต็ ้องเปน็ หมอ ข. แม่เป็นมนุษย์ คลอดลูกเป็นหอยสงั ข์ ค. พ่อมีล้ินหอ่ ได้ ลูกอาจมีลิน้ ห่อได้ ง. แมถ่ ูกผ่าตดั ให้จมูกโดง่ ลกู ผหู้ ญิงทเ่ี กิดมาก็จะมีจมกู โด่ง 6. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกต้องเก่ยี วกับความแปรผันทางพนั ธุกรรม ก. พ่ีน้องท่เี ปน็ ฝาแฝดไม่มคี วามแปรผันทางพันธุกรรม ข. พืชชนดิ เดียวกันนาไปปลกู ในสภาพดินต่างกันย่อมมีความแปรผนั ทางพันธกุ รรม ค. สิง่ มีชวี ิตชนิดเดียวกนั มคี วามแปรผันทางพันธกุ รรมนอ้ ยกวา่ สิง่ มชี วี ิตต่างชนิดกัน ง. พีน่ อ้ งทเ่ี กดิ จากพ่อแมเ่ ดียวกนั มีความแปรผนั ทางพันธุกรรมเชน่ เดียวกับฝาแฝดเทียม 7. ฝาแฝดทเี่ กิดจากไข่ 2 ใบ จะมลี กั ษณะอยา่ งไร ก. มีเพศตา่ งกนั และมีลักษณะทางพันธุกรรมตา่ งกัน ข. มีเพศเดยี วกันและมีลกั ษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน ค. มเี พศเดยี วกันหรอื ตา่ งเพศกไ็ ดแ้ ละมีลกั ษณะทางพันธุกรรมตา่ งกนั ง. มเี พศเดยี วกันหรือต่างเพศก็ไดแ้ ละมลี ักษณะทางพันธกุ รรมเหมือนกัน

ชุดที่ 1 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 12 8. “นายวินัย สังเกตวา่ ตนเองมคี วามสามารถในการเขยี นหนงั สือดว้ ยมอื ข้างซา้ ยไดด้ ี มากกว่ามอื ขา้ งขวา และเขาสังเกตอีกว่า คณุ พ่อและคุณย่าของเขายังถนัดมือขา้ งซ้ายอีกดว้ ย” จากข้อความน้ีจะสรปุ ได้อย่างไรจึงจะถูกต้องท่สี ดุ ก. การถนัดมือซา้ ยเป็นโรคทางพนั ธกุ รรมอย่างหนึ่ง ข. วินัยมีความสามารถในการใช้มือซา้ ยได้ดกี วา่ คนอื่น ค. คุณแมข่ องวินัยไมถ่ นัดมือซ้ายด้วย ดังนั้นการถนัดมือซา้ ยจงึ ไมใ่ ชล่ ักษณะทางพันธกุ รรม ง. การถนัดมอื ซา้ ยเปน็ ลักษณะทางพันธกุ รรมท่ีถ่ายทอดจากบรรพบุรุษไปสรู่ นุ่ ลูกและหลานได้ 9. จากตารางดา้ นล่างข้อใดกล่าวถกู ต้องเก่ยี วกับลกั ษณะทางพันธุกรรมทีม่ ีความแปรผนั แบบตอ่ เนื่อง และแบบไมต่ ่อเนือ่ ง ขอ้ ลักษณะทางพนั ธุกรรมทีม่ ี ลกั ษณะทางพันธกุ รรมที่มี ความแปรผนั แบบตอ่ เนือ่ ง ความแปรผนั แบบไมต่ ่อเนอื่ ง ก. สามารถจดั จาแนกเปน็ กลมุ่ ไดง้ า่ ย สามารถจดั จาแนกเป็นกล่มุ ไดย้ าก ข. มีความแตกต่างกนั ในหมปู่ ระชากรชดั เจน มีความแตกตา่ งกนั ในหมู่ประชากรไมช่ ดั เจน ค. ส่ิงแวดล้อมมผี ลต่อการแสดงออก สิ่งแวดลอ้ มไมม่ ีผลต่อการแสดงออก ง. เป็นลักษณะเชิงคณุ ภาพ เป็นลักษณะเชงิ ปริมาณ 10. ขอ้ ใดเป็นลักษณะทางพันธกุ รรมทม่ี คี วามแปรผันแบบไมต่ อ่ เนื่องทง้ั หมด ก. การมีหนังตาสองชน้ั , หมูเ่ ลือด ABO, การมีลกั ยมิ้ ข. ความสูง, การกระดกน้ิวหัวแมม่ อื , สตปิ ัญญา ค. การเวยี นของขวัญบนศรี ษะ, นา้ หนกั ตัว, การห่อลนิ้ ได้ ง. ปริมาณการใหน้ า้ นมววั , การมีเชิงผมท่ีหน้าผากแหลม, สผี วิ

บัตรพลงั คิด ชุดที่ 1 ลักษณะทางพนั ธกุ รรม 13 1 มหศั จรรย์พนั ธุกรรม คาช้แี จง ให้นักเรยี นศึกษาภาพข้างลา่ งน้ี แลว้ ตอบคาถามพลังคิด จากภาพจะเห็นไดว้ ่าลกู ลิงมีลักษณะเหมือนแม่ แสดงวา่ ต้องมีอะไรบางอย่างท่ีสามารถส่งผ่าน จากแม่ไปสูล่ ูก และกาหนดให้ลูกมีลักษณะเหมือนแม่ ภาพที่ 1 ลกู ลิงที่มีลกั ษณะเหมอื นแม่ ทม่ี า : http://www.epofclinic.com/showdetail.asp?boardid=2915 คาถามพลงั คดิ ลกั ษณะทส่ี ่งผ่านจากพ่อแม่ไปยังลกู หลานได้น้นั มีกระบวนการอยา่ งไร และสามารถถา่ ยทอดต่อไปยังร่นุ ลกู และรุน่ ตอ่ ๆ ไป ไดห้ รือไม่ ตอบ………………………………………………………………………………………………………………..………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………............................................

ชุดที่ 1 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม 14 บตั รเนือ้ หา 1.1 ลกั ษณะทางพันธกุ รรม พันธศุ าสตร์ พนั ธุศาสตร์ หมายถึง สาขาวิชาแขนงหน่ึงของวทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ ว่าด้วยการศกึ ษาดีเอ็นเอ (DNA) หน่วยพนั ธุกรรมหรือยีน พันธุกรรม (Heredity) โรคทางพนั ธกุ รรม การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม การควบคุมการแสดงออกทางพนั ธกุ รรม และววิ ัฒนาการในสง่ิ มีชวี ติ ต่างๆ พนั ธุกรรม (Heredity) พันธุกรรม (Heredity) หมายถงึ การถา่ ยทอดลกั ษณะของสง่ิ มีชวี ติ จากร่นุ หนึ่งไปยังรุน่ หนง่ึ หรือจาก บรรพบุรุษไปสลู่ ูกหลาน ลกั ษณะทางพันธกุ รรม (genetic character) ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) หมายถึง ลักษณะบางอยา่ งท่ีมีปรากฏอยูใ่ นร่นุ บรรพบุรษุ แล้วถา่ ยทอดลกั ษณะน้ันๆ ให้กับรุ่นลูกหลานต่อไป เช่น ลกั ษณะสนี ยั นต์ า สีผม สีผวิ ความสูง น้าหนักตัว สติปัญญา สีของดอกไม้ ความถนดั เปน็ ตน้ ในการพิจารณาลกั ษณะ ต่างๆ ว่าลกั ษณะใด เป็นลกั ษณะทางพนั ธุกรรมนั้น จะตอ้ งพจิ ารณาหลายๆ รนุ่ หรือหลายชั่วอายเุ พราะลักษณะทางพันธกุ รรม บางอย่างอาจไม่ปรากฏในร่นุ ลกู แต่อาจปรากฏในรุน่ หลานได้ การศึกษาลักษณะทางพนั ธกุ รรมในคนจะไม่ใช้วิธีการทดลองเหมือนกับทที่ ดลองในพืชหรือสัตว์ เน่ืองจากว่า 1. คนเลือกคู่ครองแตง่ งานเองไมส่ ามารถบังคบั ใหค้ นท่ีมีลกั ษณะตรงตามท่ตี ้องการศึกษา แตง่ งานกันเองได้ 2. ช่วงอายุของคนยืนนาน การศึกษาลักษณะที่ถา่ ยทอดทางพันธุกรรมต้องใช้เวลานานมากจน เกนิ อายุขัยของผศู้ ึกษา 3. คนทม่ี ีลกู น้อย การศึกษาลักษณะท่ีถา่ ยทอดทางพันธุกรรมตอ้ งใช้ข้อมลู จานวนมาก

ชุดที่ 1 ลกั ษณะทางพันธกุ รรม 15 การศึกษาลักษณะท่ถี ่ายทอดทางพันธกุ รรมของคน จึงศกึ ษาโดย 1. ศึกษาจากการสืบประวัติของครอบครัวท่ีมลี ักษณะตามทเ่ี ราต้องการ 2. ศกึ ษาลักษณะตา่ ง ๆ จากคู่แฝด 3. ศึกษาลกั ษณะตา่ งๆ จากผู้ป่วยทม่ี ีลกั ษณะผดิ ปกติหรือเปน็ โรคทถ่ี ่ายทอดทางพนั ธกุ รรม และเม่ือพบวา่ ลักษณะทผ่ี ิดปกตหิ รือโรคที่ศึกษาน้นั สามารถถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรมได้ก็จะอนุมานว่า ลักษณะท่ผี ิดปกตคิ งจะถูกควบคุมทางพันธกุ รรมเช่นกนั นอกจากวิธีดังกลา่ วแลว้ ยงั สามารถศึกษาลักษณะการถา่ ยทอดทางพนั ธุกรรมของคนได้จากการใช้ สตั ว์ทดลอง ซ่งึ สตั วท์ ี่นามาทดลองบอ่ ยคร้ัง ได้แก่ หนแู ละแมลงหวี่ เนื่องจากมชี ่วงอายสุ ั้น ทาใหท้ ราบผลการ ทดลองเร็ว ใหล้ กู หลานจานวนมากโดยเฉพาะแมลงหวี่ นอกจากนน้ั ยงั มีการใช้สัตว์ อ่ืนๆ เชน่ กระต่าย ลงิ จุลนิ ทรียจ์ าพวกราและไวรสั และใช้พืชบางชนดิ เช่น ถ่ัวชนดิ ต่าง ๆ ข้าวโพด ข้าวชนดิ ตา่ ง ๆ เป็นตน้ ภาพท่ี 2 สตั ว์ทดลอง ทีม่ า : http://www.thaihealth.or.th/Content/24155.html ขอ้ ควรรู้ 1. เครอื ญาติ หมายถึง คนท่มี ีความสมั พนั ธท์ างสายเลอื ด เชน่ ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา พ่ี ๆ น้องๆ สาหรับพ่อเลีย้ ง แม่เลยี้ ง พ่อบุญธรรม แมบ่ ญุ ธรรม ไม่ใช่คนในเครอื ญาติ 2. ลักษณะทเี่ กิดข้ึนภายหลังไม่ได้เปน็ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม เชน่ แผลเปน็ หรอื ลกั ษณะอ่นื ๆ ทีไ่ ปทาศัลยกรรมตกแต่งรวมถงึ ลกั ษณะทเ่ี กดิ จากอุบัตเิ หตุดว้ ย

ชุดท่ี 1 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม 16 จากการศกึ ษาลกั ษณะทางพนั ธุกรรมในคนด้วยวิธีการตา่ งๆ นักพันธศุ าสตร์พบว่า ลกั ษณะเหลา่ นจ้ี ะถูก ควบคุมด้วยสารพันธุกรรมท่เี รียกวา่ ยีน (gene) จะปรากฏเปน็ คู่ ลักษณะที่มักจะพบมากในประชากรของสิ่งมีชวี ติ ทเ่ี รยี กว่า ลักษณะเดน่ (dominant ) และลักษณะท่ีมักจะ พบน้อยกว่า ในประชากรของสิ่งมีชวี ิตเรยี กว่า ลักษณะดอ้ ย (recessive ) ดงั ตารางแสดงลกั ษณะท่ีถ่ายทอด พันธุกรรมของคน ดงั น้ี ลักษณะเด่น (dominant) ลักษณะดอ้ ย (recessive) 1. ห่อลิน้ ได้ 1. ห่อล้ินไม่ได้ 2. หนังตาช้นั เดียว 2. หนังตาสองชนั้ 3. มตี ่ิงหู 3. ไม่มีต่งิ หู 4. มลี ักย้มิ 4. ไม่มีลักยม้ิ 5. คางมรี อยบุ๋ม 5. คางไม่มีรอยบุ๋ม 6. เชิงผมตรงหน้าผากแหลม 6. เชิงผมตรงหนา้ ผากไม่แหลม 7. จมกู โด่ง 7. จมูกไมโ่ ด่ง 8. หนา้ กลม 8. หน้ารี 9. รูปตากลม 9. รปู ตารี 10.รมิ ฝีปากหนา 10.ริมฝปี ากบาง 11.หกู าง 11.หูไม่กาง 12.นิ้วเกิน 12.น้ิวปกติ 13.นิ้วส้ัน 13.นว้ิ ยาว 14.ผวิ หนังแหง้ 14.ผวิ หนังไม่แห้ง 15.ปานแดงทตี่ น้ คอ 15.ไมม่ ีปานแดงท่ตี น้ คอ 16.ศรี ษะล้านในผู้ชาย 16.ศรี ษะไมล่ ้านในผชู้ าย 17.ผิวหนงั ตกกระ 17.ผิวหนงั ปกติ 18.นว้ิ หวั แม่มอื งอได้ 18.นว้ิ หัวแม่มอื งอไม่ได้ 19.โรคทา้ วแสนปม 19.ไม่เปน็ โรคท้าวแสนปม 20.ผมหงอกก่อนวัย 20.ผมหงอกตามวยั 21.ผมเหยียดตรง 21.ผมหยกั ศก 22.มขี วัญ 1 ขวญั 22. มีขวัญ 2 ขวญั 23. น้วิ ชเ้ี ท้าสน้ั กวา่ น้ิวหัวแมเ่ ทา้ 23.นวิ้ ชี้เท้ายาวกว่านว้ิ หัวแมเ่ ทา้

ชดุ ท่ี 1 ลกั ษณะทางพันธกุ รรม 17 บตั รกิจกรรม 1.1 ลักษณะทางพนั ธกุ รรมของฉนั คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นสงั เกตลักษณะต่าง ๆ ท่ีปรากฏในตวั นักเรยี นและบุคคลใกลช้ ดิ ในครอบครัว เชน่ พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย พี่ นอ้ ง จากนนั้ วิเคราะห์ลกั ษณะท่สี งั เกตไดต้ ามขอ้ มูลในตาราง แลว้ ทาเคร่ืองหมาย √ ลงใน ตาราง และตอบคาถามท้ายบัตรกิจกรรมที่ 1 ตาราง แสดงลกั ษณะท่สี ังเกตไดจ้ ากบุคคลต่าง ๆ ในครอบครัว ลกั ษณะที่สังเกตได้ ตัวนกั เรียน พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่ี นอ้ ง 1.เชงิ ผมที่หน้าผาก - แหลม - ไม่แหลม 2. ผม - เหยียดตรง - หยกั ศก 3. ตงิ่ หู - มีตง่ิ หู - ไม่มตี ง่ิ หู 4. หนังตา - ตาช้ันเดียว - ตาสองชั้น 5. ลกั ย้ิม - มลี กั ย้ิม - ไมม่ ีลักยิม้ 6.ลน้ิ - ห่อลน้ิ ได้ - หอ่ ลิ้นไม่ได้

ชดุ ท่ี 1 ลักษณะทางพันธกุ รรม 18 ลกั ษณะที่สงั เกตได้ ตวั นกั เรยี น พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่ี น้อง 7. นว้ิ หัวแม่มือ - กระดกได้ - กระดกไม่ได้ 8.ความยาวของน้วิ ชีข้ องเท้า - นว้ิ ชเี้ ทา้ ยาวกวา่ นิ้วหัวแม่เท้า - นว้ิ ชเ้ี ทา้ สน้ั กวา่ นิ้วหัวแม่เทา้ 9. ขวัญ - มขี วญั 1 ขวญั - มีขวัญ 2 ขวัญ คาถามท้ายกิจกรรม 1. นักเรียนมีลักษณะอะไรบา้ งทีเ่ หมือนกับพอ่ แม่ ตอบ………………………………………………………………………………………………...........………………………………. ………………………………………………………………………………………………………..........………………………………. ………………………………………………………………………………………………………..........………………………………. 2. นักเรยี นมีลักษณะอะไรบา้ งที่ไม่เหมือนพ่อแม่ แต่เหมอื นกบั ปู่ ย่า ตา หรอื ยาย บุคคลใดบคุ คลหน่งึ ตอบ………………………………………………………………………………………………...........………………………………. ………………………………………………………………………………………………………..........………………………………. ………………………………………………………………………………………………………..........………………………………. 3. นักเรยี นทราบได้อยา่ งไรวา่ ลกั ษณะใดเปน็ ลักษณะทางพันธุกรรม ตอบ………………………………………………………………………………………………...........………………………………. ………………………………………………………………………………………………………..........………………………………. ………………………………………………………………………………………………………..........………………………………. 4. นักเรียนคิดว่าลกั ษณะใดของสตั วท์ สี่ ามารถถ่ายทอดทางพันธกุ รรมได้ ตอบ…………………………………………………………………………………………...........……………………………………. ………………………………………………………………………………………………………..........………………………………. ………………………………………………………………………………………………………..........………………………………. 5. จงยกตวั อย่างลกั ษณะของพชื ท่ถี า่ ยทอดทางพนั ธุกรรมได้ ตอบ………………………………………………………………………………………………...........………………………………. ………………………………………………………………………………………………………..........……………………………….

ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธกุ รรม 19 บตั รคาถาม 1.1 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นตอบคาถามข้างลา่ งนี้ให้ถูกต้อง โดยเขียนคาตอบลงในช่องวา่ งท่ีเวน้ ไว้ให้ 1. ดวงดาวมปี านดาทแ่ี ก้มข้างขวา ลกั ษณะปานดาน้ีจะสามารถถา่ ยทอดไปสลู่ ูกของดวงดาวหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. นตั ตีเ้ ป็นลกู คนฝร่งั มีหนงั ตาช้นั เดียว ซงึ่ เขารู้สึกวา่ เป็นปมดอ้ ยของตัวเองอย่างมากจึงไปทาศลั ยกรรม ตาสองชั้น ต่อมา นัตตี้ได้แตง่ งานกบั ดีนี่ ซ่งึ ได้ทาศลั ยกรรมตาสองชน้ั เชน่ เดียวกัน หากทั้งสองมีลูก จะมี โอกาสได้ลูกตาสองช้ันหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. วิชาท่ศี ึกษาเก่ยี วกบั การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม คอื วชิ าอะไร ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. จงให้เหตุผลวา่ เพราะเหตใุ ดการศึกษาลกั ษณะทางพนั ธุกรรมในคนจงึ ไม่ใชว้ ธิ ีการทดลองเหมือนกับท่ี ทดลองในพชื หรอื สตั ว์ ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชุดที่ 1 ลักษณะทางพันธกุ รรม 20 บตั รเนอ้ื หา 1.2 ความแปรผนั ทางพนั ธุกรรม ความแปรผนั ทางพนั ธุกรรม (Genetic variation) สิ่งมชี ีวิตสปชี สี ์เดยี วกันย่อมมลี ักษณะทางพนั ธุกรรมคลา้ ยคลึงกนั มากกวา่ สิ่งมีชีวติ ต่างสปชี ีส์กัน หรอื สิง่ มีชีวติ ชนดิ เดียวกนั จะมีลักษณะคลา้ ยคลึงกนั และมคี วามแตกต่างกันนอ้ ยกวา่ สงิ่ มีชีวติ ต่างชนดิ กนั ความแตกต่างอนั เน่ืองจากมลี กั ษณะพนั ธกุ รรมแตกต่างกนั เรียกว่า ความแปรผนั ทางพนั ธุกรรม (Genetic variation) เชน่ การมลี กั ยิม้ การมีต่งิ หู ลกั ษณะเหล่าน้ีจะแตกต่างกันมากขึ้น เมื่อคนเราต่างพ่อแม่กันไม่เป็นญาติกนั ความแปรผนั ทางพันธกุ รรม สามารถจาแนกได้ 2 ประเภท 1. ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ีมีความแปรผนั ต่อเนือ่ ง (continuous variation) เปน็ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมท่ี ไม่สามารถแยกความแตกต่างไดอ้ ย่างเดน่ ชัด มีความลดหล่ันกนั ทีละน้อย สามารถนามาเรียงลาดบั กันได้ เชน่ ความสงู นา้ หนกั สีผวิ เปน็ ต้น ซ่งึ เกดิ จากอิทธิพลของกรรมพันธแุ์ ละส่งิ แวดลอ้ มรว่ มกนั เชน่ ความสูง ถ้าได้รับสารอาหาร ถกู ต้องตามหลักโภชนาการและมีการออกกาลงั กาย ก็จะทาให้มรี ่างกายสูงได้ ความถข่ี องจานวนสง่ิ มีชวี ิตที่มีลกั ษณะทางพนั ธุกรรมทม่ี ีความแปรผันตอ่ เนื่อง เม่ือนาจานวนของสง่ิ มีชีวติ ชนิด นั้นๆ มาเขยี นกราฟจะได้กราฟท่มี ีการกระจายรูปโค้งปกติ (normal distribution curve) หรือรปู ระฆังคว่า ตัวอย่างเชน่ ความสูงของนักศึกษาในมหาวทิ ยาลัยแห่งหนึ่งของสหรฐั อเมริกา ดังภาพที่ 3 ภาพท่ี 3 ความสูงของนักศึกษาในมหาวทิ ยาลยั แหง่ หนึ่งของสหรัฐอเมริกา ซ่ึงยืนเขา้ แถวตามช่วงความสงู ตา่ งๆ เรยี งจากน้อยไปหามาก (ซา้ ยไปขวา) ทม่ี า : http://www.citruscollege.edu/lc/archive/biology/Pages/Chapter10-Rabitoy.aspx

ชุดท่ี 1 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม 21 ภาพที่ 4 กราฟแสดงจานวนส่งิ มีชีวติ ที่มคี วามสงู ในช่วงตา่ งๆ ทมี่ า : http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?id=75530 2. ลกั ษณะทางพันธุกรรมทมี่ ีความแปรผนั ไม่ต่อเน่อื ง (discontinuous variation) เป็นลักษณะ ทางพนั ธุกรรมทีส่ ามารถแยกความแตกตา่ งได้อย่างชดั เจนเกิดจากอทิ ธิพลของกรรมพันธุ์เพียงอย่างเดยี ว เช่น หมูเ่ ลือดของคน ลักษณะผิวเผอื ก ลักยม้ิ ตงิ่ หู การห่อล้ิน เป็นตน้ เปน็ ลักษณะทางคุณภาพ ห่อลิ้นได้ หอ่ ล้ินไม่ได้ หกู าง หไู มก่ าง นว้ิ หัวแม่มือกระดกได้ นิ้วหัวแม่มอื กระดกไม่ได้ ผมหยักศก ผมเหยียดตรง เชิงผมหนา้ ผากแหลม เชงิ ผมหน้าผากไม่แหลม มีตงิ่ หู ไม่มตี ่ิงหู ค้วิ ไม่ต่อ นว้ิ ชีเ้ ทา้ สนั้ กวา่ นิ้วหวั แม่เท้า น้วิ ชีเ้ ทา้ ยาวกวา่ นวิ้ หัวแม่เทา้ คิ้วตอ่

ชุดท่ี 1 ลักษณะทางพันธุกรรม 22 มีขวญั 1 ขวญั มีขวัญ 2 ขวัญ มีลักยม้ิ ไมม่ ลี กั ยิ้ม หนงั ตาชน้ั เดยี ว หนังตาสองช้ัน จมกู โดง่ จมูกไม่โดง่ ภาพที่ 5 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมท่มี ีความแปรผนั ไมต่ ่อเนื่อง ที่มา : นางสาวลาจวน สงี าม ความถ่ขี องจานวนสิ่งมชี ีวติ ที่มลี ักษณะทางพนั ธุกรรมที่มีความแปรผันไมต่ อ่ เน่ือง สามารถวดั ได้ ในเชิงคณุ ภาพ (qualitative trait) กลา่ วคอื สามารถบอกจานวนและจัดจาแนกกลมุ่ ได้ ตวั อย่างเชน่ หมู่เลือดระบบ ABO สามารถจาแนกได้ 4 หมู่ คอื หมเู่ ลือด A หม่เู ลอื ด B หมเู่ ลือด AB และหมูเ่ ลือด O และเมอื่ นาจานวนคนทม่ี ีหมู่เลอื ดแบบตา่ ง ๆ มาเขยี นกราฟจะสามารถเขียนได้เปน็ กราฟแท่งแยกจากกัน ไม่เป็นกราฟโคง้ ปกติ ดังภาพที่ 6 50 จานวนประชากร (ร้อยละ) 40 30 หมู่ B หมู่ AB หมู่ O 20 10 ภาพที่ 6 กราฟแสดงจานวนคนทม่ี หี มเู่ ลอื ดแบบตา่ ง ๆ ท่มี า : นางสาวลาจวน สงี าม 0 หมู่ A

ชุดท่ี 1 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม 23 บตั รกิจกรรม 1.2 ความแปรผันทางพนั ธุกรรม ตอนท่ี 1 คาชีแ้ จง ให้นักเรียนสารวจ และบนั ทึกลักษณะทางพนั ธกุ รรมทม่ี คี วามแปรผันแบบต่อเนื่อง โดยการสารวจ บนั ทึกความสูงของเพ่ือนนกั เรียนในชั้นเรยี นจานวน 10 คนแลว้ เขยี นกราฟแสดงความสงู ของนักเรียนทง้ั 10 คน ตารางบันทกึ ผล ความสูงของนักเรยี นจานวน 10 คน ชื่อนกั เรียน ความสงู 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. สรปุ ผลการสารวจ

ชดุ ท่ี 1 ลักษณะทางพันธกุ รรม 24 คาถามทา้ ยกจิ กรรม 1. นักเรียนท้ัง 10 คน มีความสูงเทา่ กนั หรอื ไม่ อยา่ งไร ตอบ………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….………………………………………………………………… 2. กราฟที่ไดม้ ลี กั ษณะอย่างไร ตอบ………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….………………………………………………………………… ตอนท่ี 2 คาชี้แจง ให้นกั เรียนสารวจ บันทกึ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมท่ีมคี วามแปรผนั แบบไม่ต่อเน่ือง โดยการสารวจ และบนั ทึกหมเู่ ลือดของเพื่อนนักเรียนจานวน 10 คน แล้วเขยี นกราฟแสดงหม่เู ลือดของนกั เรียนทง้ั 10 คน ตารางบันทกึ ผล หมู่เลอื ดของนักเรยี นจานวน 10 คน หมเู่ ลือด ชอ่ื นักเรียน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ชุดท่ี 1 ลักษณะทางพนั ธุกรรม 25 สรปุ ผลการสารวจ คาถามท้ายบัตรกจิ กรรม 1. กราฟที่ได้มลี กั ษณะอย่างไร ตอบ………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….………………………………………………………………… 2. กราฟท่ีได้เหมือนหรือแตกต่างจากกราฟความสูงอยา่ งไร ตอบ………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….………………………………………………………………… 3. ลักษณะความสูงกบั ลักษณะหมเู่ ลอื ดมลี ักษณะแปรผนั เหมอื นหรือแตกต่างกนั อย่างไร ตอบ………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….………………………………………………………………… 4. จงสรปุ ผลการทากจิ กรรม ตอบ………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….………………………………………………………………… 5. นอกจากลักษณะที่กล่าวขา้ งต้น ให้นกั เรียนบอกลักษณะทางพันธกุ รรมท่ีมีความแปรผันต่อเน่ือง และลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมท่ีมีความแปรผันไม่ต่อเนอ่ื งอน่ื ๆ ว่ามอี ะไรบ้าง ตอบ………………………………………………………………………………….………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………

ชดุ ท่ี 1 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 26 บตั รคาถาม 1.2 ความแปรผนั ทางพันธุกรรม คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามขา้ งล่างนี้ใหถ้ ูกต้อง 1. จงเตมิ ขอ้ ความลงในตารางขา้ งล่างนใ้ี ห้ถูกต้องและสมบรู ณ์ ส่ิงที่เปรียบเทยี บ ลักษณะทางพนั ธุกรรม ลกั ษณะทางพันธกุ รรม ท่มี คี วามแปรผนั ตอ่ เน่อื ง ทมี่ ีความแปรผนั ไม่ต่อเนอื่ ง 1. การจาแนกเปน็ กลมุ่ จดั กลุม่ ได้ยาก 2. ความแตกต่างในประชากร แตกต่างอย่างชดั เจน 3. อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม 4. เป็นลักษณะเชงิ เชงิ ปรมิ าณ 5. เมื่อนาข้อมูลมาเขยี นกราฟ จะได้กราฟ 6. ตัวอยา่ ง 2. จากการสารวจลักษณะหนังตา และความสูงของนักเรียนทั้งชัน้ ในโรงเรียนแห่งหน่งึ แล้วนาข้อมูล มาเขียนเปน็ กราฟ จะได้กราฟดงั ภาพ ก. และภาพ ข. จากข้อมูลน้บี อกอะไรแก่เราไดบ้ ้าง ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………….…………………………………………………………………………………………………… …….…………………………………………………………………………………………………………………………………………… …

ชดุ ที่ 1 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 27 บตั รเนอื้ หา 1.3 ลักษณะทางพันธกุ รรม กับส่งิ แวดลอ้ ม ลกั ษณะทางพันธุกรรมกบั ส่ิงแวดล้อม ลกั ษณะทางพันธุกรรมหลายๆลักษณะแปรผันไปตามอทิ ธิพลของสง่ิ แวดลอ้ ม ส่วนใหญ่จะเปน็ ลักษณะ ทางพนั ธุกรรมที่มีความแปรผันแบบตอ่ เนื่อง เชน่ น้าหนกั ความสูง ระดับสติปญั ญา เป็นต้น ซงึ่ นอกจากไดร้ บั การถ่ายทอดจากพนั ธกุ รรมแลว้ ยังขึน้ กบั อาหาร การเลีย้ งดูที่ได้รับนบั ตัง้ แตเ่ กิดจนกระทั่งโตเตม็ วยั แต่ลกั ษณะ ทม่ี คี วามแปรผนั แบบไม่ตอ่ เนื่องนั้น การแสดงออกของลักษณะไมเ่ ปลี่ยนไปตามอทิ ธิพลของสง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ ลกั ษณะของชัน้ หนงั ตา ลกั ษณะการหอ่ ล้นิ หมู่เลอื ดระบบ ABO เป็นตน้ จากการศึกษาพบวา่ พนั ธุกรรมเปน็ ตวั กาหนดระดับและขอบเขตการเจรญิ ของส่วนตา่ งๆ ของสิ่งมชี วี ติ ลกั ษณะพันธุกรรมท่ีเกดิ ขึน้ หรอื ลักษณะที่ปรากฏถูกกาหนดดว้ ยยนี (gene) และสง่ิ แวดล้อม (environment) ซงึ่ ส่งิ แวดลอ้ มแบ่งออกเป็น 2 ชนดิ คือ 1. ส่ิงแวดลอ้ มภายนอก ได้แก่ อุณหภมู ิ แสงสว่าง อาหาร สารเคมี รังสีต่างๆ เปน็ ตน้ 2. สิง่ แวดล้อมภายใน ไดแ้ ก่ อายุ เพศ ฮอรโ์ มน เป็นตน้ ตวั อยา่ งอทิ ธิพลของสิ่งแวดลอ้ มที่มีผลต่อลกั ษณะของสิง่ มีชีวิต ไดแ้ ก่ 1. สิง่ แวดล้อมภายนอก 1.1 อุณหภูมิ มีส่วนสาคญั ตอ่ กระบวนการทางชวี เคมขี องรา่ งกายหรือภายในเซลล์ อันมผี ลต่อการ เปลยี่ นแปลงของลักษณะที่แสดงออกมา ตัวอยา่ งเช่น การมว้ นของปีกแมลงวัน เมื่ออยู่ในอณุ หภูมิ 25 องศา เซลเซยี ส (˚C) ปีกแมลงวันจะอยู่ในลักษณะม้วน (ไม่ตรง) แต่ถ้าหากให้อุณหภมู ิลดลงเหลือ 16 องศาเซลเซยี ส (˚C) พบวา่ ลกู แมลงวนั ท่เี กดิ มาจะมปี ีกลักษณะตรง (ไม่มว้ น) ภาพท่ี 7 อุณหภูมมิ ผี ลต่อการแสดงออกของการม้วนปกี ของแมลงวนั ทม่ี า : ประสงค์ หลาสะอาด และจิตเกษม หลาสะอาด, 2542 : 3

ชดุ ที่ 1 ลกั ษณะทางพันธุกรรม 28 การเปลี่ยนสีของกระตา่ ยฮมิ าลายนั (Himalayan) และแมวไทยพนั ธุ์วิเชยี รมาศ (Siamese cat) กระต่ายฮิมาลายันมีขนตามลาตัวสีขาว และขนบรเิ วณปลายอวัยวะจะมสี นี ้าตาลไหม้ สว่ นแมวไทยบางชนิด มีขนตามลาตัวเปน็ สีน้าตาลอ่อนและขนบรเิ วณสว่ นปลายอวัยวะจะเป็นสนี า้ ตาลเข้มเชน่ เดยี วกัน ทั้งน้เี พราะ ในบรเิ วณดังกล่าวมีอุณหภมู ิต่ากว่าอณุ หภูมิของรา่ งกาย ภาพที่ 8 การเปลย่ี นสขี องกระตา่ ยฮมิ าลายัน (Himalayan) ที่มา : http://www.classes.midlandstech.com/carterp/Courses/bio101/chap 11.htm การเปล่ยี นสีดอกของดอกพุดตาน ดอกพดุ ตานจะเรม่ิ แย้มเวลาเช้าตรแู่ ละจะบานเต็มท่ีตอนเชา้ และสายๆ ในตอนเชา้ ดอกจะเปน็ สขี าวกอ่ นแล้วค่อยๆเปลี่ยนเปน็ สชี มพอู ่อนและเข้มในตอนบ่าย ภาพท่ี 9 การเปล่ยี นสดี อกของดอกพุดตาน ที่มา : http://biology.ipst.ac.th 1.2 แสงสว่าง เป็นส่ิงแวดล้อมทม่ี ีอทิ ธิพลต่อการสร้างคลอโรฟลิ ล์ และการสรา้ งสี ตวั อยา่ งเชน่ การสังเคราะห์คลอโรฟลิ ลข์ องใบพชื แมว้ ่าเซลล์พชื จะมยี ีนที่ควบคมุ การสังเคราะห์คลอโรฟลิ ล์กต็ าม แต่ถ้าให้พืช เจริญเตบิ โตในทีม่ ืด พบว่าใบพชื จะเปน็ สเี หลืองไมเ่ ปน็ สเี ขียว แสดงวา่ เซลลพ์ ืชไมส่ ามารถสังเคราะห์คลอโรฟลิ ล์ได้ การสรา้ งสขี องเมล็ดข้าวโพดบางพันธุ์ในท่ีไม่มแี สงแดด เมล็ดข้าวโพดจะไม่มีสี แตถ่ า้ หากข้าวโพด ได้รบั แสงอย่างเพยี งพอจะสามารถสรา้ งสีได้ ภาพที่ 10 การสรา้ งสขี องเมล็ดข้าวโพดบางพนั ธ์ุ ทม่ี า : http://live.phuketindex.com/th/phuket-sweetcorn-farm

ชดุ ที่ 1 ลกั ษณะทางพันธกุ รรม 29 1.3 อาหาร มีอทิ ธิพลต่อการแสดงออกมาของยีน ตัวอยา่ งเช่น การสรา้ งไขมนั สเี หลืองของกระตา่ ย กระตา่ ยสามารถสร้างไขมันสีเหลอื งได้กต็ อ่ เม่อื มอี งค์ประกอบของยีนและมีอาหารทเ่ี หมาะสม ถ้าหากขาด อยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ไปแล้วไขมันที่สรา้ งข้นึ มาจะไม่เป็นสีเหลือง ภาพท่ี 11 การสร้างไขมันสีเหลอื งของกระตา่ ย ทมี่ า : http://pet.pigthai.com/newzealand-white-rabbit 2. ส่งิ แวดล้อมภายใน 2.1 อายุ อายุมคี วามสาคัญต่อการแสดงออกของลักษณะบางลักษณะ (การแสดงออกของยีน) โดยพบว่า ลกั ษณะบางอยา่ งจะยังไมแ่ สดงออกจนกว่าจะถึงวยั อันสมควรหรือมอี ายุมากข้นึ ตัวอย่างเช่น สีผมของคน อาจ เปลี่ยนเมอื่ อายุมากขน้ึ ภาพท่ี 12 - 13 สีผมของคน ทม่ี า : https://th.wikipedia.org/wiki และที่มา : http://m.thairath.co.th/ ลักษณะหวั ลา้ น จะแสดงออกในชายบางคนที่มีอายุมากขึน้ ภาพท่ี 14 - 15 ลักษณะหวั ล้าน ท่มี า : http://70-90memory.blogspot.com และท่มี า : http://www.bloggang.com ลกั ษณะสีขนของสัตว์ เชน่ การเปลยี่ นแปลงของขนและสขี นของไก่ ภาพท่ี 16 - 17 ลักษณะสขี นของสตั ว์ ท่มี า : http://money.sanook.com และท่ีมา : http://arepao-cineko.blogspot.com

ชุดท่ี 1 ลักษณะทางพนั ธกุ รรม 30 2.2 เพศและฮอรโ์ มน ทงั้ เพศและฮอรโ์ มนจะเปน็ สง่ิ ท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ การแสดงออกของลกั ษณะหรอื ของยนี โดยที่ทั้งเพศผู้ และเพศเมียมยี ีนเหมือนๆ กนั แตล่ กั ษณะหลายอย่างทแี่ สดงออกมาแตกตา่ งกนั และบางลักษณะจะแสดงออกมาในเพศใด เพศหนึง่ เทา่ นั้น ตัวอย่างเชน่ การเกิดหนวดเคราในผู้ชาย ส่วนในผ้หู ญงิ ไม่มี ภาพที่ 18 - 19 การเกดิ หนวดเคราในผ้ชู าย สว่ นในผู้หญงิ ไมม่ ี ท่ีมา : นางสาวลาจวน สีงาม การสร้างนา้ นมของสัตว์เลยี้ งลูกด้วยนา้ นมเพศเมีย ส่วนเพศผู้จะไม่มกี ารสรา้ งนา้ นม ภาพท่ี 20 - 21 การสรา้ งนา้ นมของสตั ว์เล้ียงลูกด้วยนา้ นมเพศเมยี สว่ นเพศผูจ้ ะไมม่ ีการสรา้ งนา้ นม ทม่ี า : http://lovebel.exteen.com และทีม่ า : http://www.thaibrahman.org/board/index. การเกดิ เขาในสัตวพ์ วกกวางตวั ผหู้ รือแพะตัวผู้ แต่ในตัวเมียไม่มีเขา ภาพที่ 22 - 23 การเกิดเขาในสตั ว์พวกกวางตัวผหู้ รือแพะตัวผู้ แตใ่ นตวั เมยี ไม่มเี ขา ทีม่ า : https://th.wikipedia.org/wiki และที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki การเกดิ สีตวั ที่เข้มของปลาตัวผู้ สว่ นปลาตัวเมยี จะมีสจี ดื จางกวา่ ภาพท่ี 24 - 25 การเกิดสตี ัวท่ีเขม้ ของปลาตัวผู้ ส่วนปลาตัวเมียจะมสี จี ืดจางกว่า ท่ีมา : http://board.postjung.com/898845.html

ชุดที่ 1 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 31 บัตรคาถาม 1.3 ลักษณะทางพันธุกรรม กับสงิ่ แวดล้อม คาช้แี จง ให้นักเรยี นเขียนเติมขอ้ มูลลงในแผนผงั มโนทศั น์ ใหถ้ กู ต้อง ลักษณะของสิ่งมีชีวติ ลักษณะที่ได้รับอิทธพิ ลจาก…………………… ลักษณะท่ีได้รับอิทธพิ ลจากยีน (พันธุกรรม) ……………………………… สง่ิ แวดล้อมภายนอก เช่น 1. ………………………..…………… เชน่ เชน่ 2. ……………………..……………… 1. ……………………………………… 1. …………………………………… 3. ………………………..…………… - …………………………..………….. - …………………………………….. 4. ………………………..…………… - ………………………………..…….. - …………………………………….. 5. ……………………..……………… - …………………………….....…….. - …………………………………….. - ……………………………..……….. - …………………………………….. 2. ……………………………..……… 2. …………………………………… - …………………………………..….. - …………………………………….. - …………………………………..….. - …………………………………….. - …………………………………..….. 3. …………………………………… - …………………………………….... - ……………………………………..

ชดุ ท่ี 1 ลักษณะทางพนั ธุกรรม 32 แบบทดสอบย่อย 1 ลักษณะทางพนั ธกุ รรม หลังเรียน คาช้ีแจง แบบทดสอบปรนัย 4 ตวั เลอื ก จานวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาสอบ 10 นาที คาสง่ั ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องทีส่ ดุ พียงข้อเดยี ว แลว้ ทาเครอ่ื งหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดอธิบายการถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ถกู ต้องท่ีสดุ ก. พอ่ เป็นหมอ ลกู ก็ตอ้ งเปน็ หมอ ข. แมเ่ ปน็ มนษุ ย์ คลอดลูกเป็นหอยสงั ข์ ค. พอ่ มลี ิน้ ห่อได้ ลูกอาจมีลน้ิ หอ่ ได้ ง. แมถ่ ูกผา่ ตัดให้จมูกโด่ง ลกู ผหู้ ญงิ ท่เี กิดมาก็จะมจี มูกโดง่ 2. “นายวินัย สังเกตว่าตนเองมีความสามารถในการเขยี นหนงั สอื ดว้ ยมอื ข้างซา้ ยไดด้ ีมากกว่า มอื ขา้ งขวา และเขาสงั เกตอีกว่า คณุ พ่อและคุณย่าของเขายงั ถนัดมือข้างซา้ ยอีกดว้ ย” จากข้อความนี้ จะสรปุ ได้อย่างไรจึงจะถกู ต้องทสี่ ุด ก. การถนดั มือซ้ายเปน็ โรคทางพนั ธุกรรมอยา่ งหน่งึ ข. วินยั มคี วามสามารถในการใชม้ ือซา้ ยได้ดีกว่าคนอน่ื ค. คุณแม่ของวิชยั ไม่ถนัดมอื ซ้ายด้วย ดังน้นั การถนดั มือซา้ ยจึงไมใ่ ชล่ กั ษณะทางพนั ธุกรรม ง. การถนดั มือซ้ายเป็นลกั ษณะทางพันธุกรรมท่ีถา่ ยทอดจากบรรพบรุ ุษไปสรู่ ่นุ ลูกและหลานได้ 3. ฝาแฝดทเ่ี กิดจากไข่ 2 ใบ จะมลี กั ษณะอย่างไร ก. มีเพศต่างกันและมีลักษณะทางพนั ธกุ รรมต่างกัน ข. มีเพศเดียวกันและมลี ักษณะทางพันธกุ รรมเหมือนกัน ค. มเี พศเดยี วกนั หรือตา่ งเพศกไ็ ด้และมลี กั ษณะทางพนั ธุกรรมตา่ งกนั ง. มเี พศเดียวกนั หรือตา่ งเพศกไ็ ด้และมลี ักษณะทางพนั ธุกรรมเหมือนกนั

ชดุ ท่ี 1 ลกั ษณะทางพันธกุ รรม 33 4. ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมหมายถึงอะไร ก. บรรพบรุ ษุ ของสงิ่ มชี วี ิต ข. ความคลา้ ยคลงึ กันของสิ่งมีชวี ิต ค. ลักษณะตา่ ง ๆ ที่ถา่ ยทอดได้ของสงิ่ มีชีวติ ง. ลกั ษณะต่าง ๆ ท่ีถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปยงั ลูกหลาน 5. จากตารางดา้ นล่างข้อใดกล่าวถกู ต้องเกย่ี วกับลกั ษณะทางพันธกุ รรมที่มคี วามแปรผนั แบบต่อเน่ือง และแบบไม่ต่อเนอื่ ง ข้อ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมที่มี ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมท่ีมี ความแปรผนั แบบต่อเนือ่ ง ความแปรผันแบบไม่ต่อเน่ือง สามารถจัดจาแนกเปน็ กลุ่มได้ยาก ก. สามารถจัดจาแนกเปน็ กลุ่มได้ง่าย มีความแตกต่างกนั ในหม่ปู ระชากรไมช่ ัดเจน ส่ิงแวดลอ้ มไมม่ ีผลตอ่ การแสดงออก ข. มีความแตกต่างกนั ในหมปู่ ระชากรชัดเจน เปน็ ลกั ษณะเชงิ ปรมิ าณ ค. ส่งิ แวดลอ้ มมผี ลต่อการแสดงออก ง. เปน็ ลกั ษณะเชิงคุณภาพ 6. ข้อใดกลา่ ว ไมถ่ ูกต้อง เกยี่ วกบั ความแปรผนั ทางพนั ธกุ รรม ก. พนี่ อ้ งท่เี ปน็ ฝาแฝดไมม่ ีความแปรผนั ทางพนั ธุกรรม ข. พชื ชนิดเดยี วกนั นาไปปลูกในสภาพดินต่างกนั ย่อมมีความแปรผันทางพันธุกรรม ค. สง่ิ มีชีวิตชนิดเดยี วกนั มคี วามแปรผนั ทางพนั ธกุ รรมน้อยกว่าส่งิ มชี ีวิตต่างชนดิ กนั ง. พ่ีน้องท่เี กดิ จากพ่อแมเ่ ดยี วกันมคี วามแปรผนั ทางพนั ธกุ รรมเชน่ เดยี วกับฝาแฝดเทียม 7. โตโต้และตาตา้ เป็นฝาแฝดเหมือน ปา้ ขอตาตา้ ไปเลยี้ งท่ีประเทศองั กฤษ จนกระทง่ั อายุ 20 ปี ทง้ั สองได้กลบั มาพบกันอีกคร้ัง ปรากฏวา่ ท้ังสองมคี วามสงู ต่างกัน 2 เซนตเิ มตร การแสดงออก ของความสงู เน่ืองมาจากอะไร ก. สภาพแวดลอ้ มเพยี งอย่างเดียว ข. พนั ธกุ รรมมีอิทธิพลเท่ากบั สง่ิ แวดล้อม ค. สิง่ แวดลอ้ มมีอิทธพิ ลมากกว่าพนั ธุกรรม ง. พันธุกรรมมีอิทธพิ ลมากกว่าสิ่งแวดล้อม

ชุดที่ 1 ลักษณะทางพนั ธกุ รรม 34 8. ข้อใดเป็นลกั ษณะทางพนั ธุกรรมทมี่ ีความแปรผันแบบไม่ตอ่ เนอื่ งทง้ั หมด ก. การมีหนังตาสองชั้น, หมเู่ ลอื ด ABO, การมลี ักยิ้ม ข. ความสูง, การกระดกนิ้วหวั แม่มือ, สติปญั ญา ค. การเวยี นของขวญั บนศีรษะ, นา้ หนกั ตวั , การหอ่ ลิน้ ได้ ง. ปรมิ าณการใหน้ า้ นมววั , การมเี ชงิ ผมทห่ี น้าผากแหลม, สผี ิว 9. ขอ้ ใดเป็นสาเหตสุ าคัญที่ทาใหส้ ิ่งมีชีวติ แตกตา่ งกัน ก. สิ่งแวดลอ้ ม ข. การกินอาหาร ค. พันธกุ รรมและส่งิ แวดล้อม ง. ลักษณะเดน่ ของพ่อและแม่ 10. ลกั ษณะใดเปน็ ลกั ษณะทางพันธุกรรมทมี่ คี วามแปรผันแบบต่อเนื่อง ก. การมหี นงั ตาชั้นเดยี ว การมีลักยิม้ ข. ความสูงของคน ปริมาณการใหน้ า้ นมววั ค. การเวยี นของขวญั บนศีรษะ การมีผวิ เผอื ก ง. หมู่เลือด ABO ความสามารถในการห่อลน้ิ

ชดุ ท่ี 1 ลักษณะทางพันธุกรรม 35 บรรณานกุ รม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. กราฟแสดงจานวนสิ่งมีชีวติ ทมี่ ีความสูงในช่วงตา่ งๆ. สบื ค้น กุมภาพนั ธ์ 19, 2560, จาก http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?id=75530 กราฟแสดงจานวนคนทีม่ ีหมู่เลอื ดแบบตา่ งๆ. จดั ทาข้อมูล กมุ ภาพันธ์ 27, 2560, โดย นางสาวลาจวน สงี าม การเกิดเขาในสตั วพ์ วกกวางตัวผู้หรือแพะตัวผู้ แตใ่ นตวั เมยี ไม่มเี ขา. สบื คน้ กุมภาพันธ์ 19, 2560, จาก https://th.wikipedia.org/wiki และ https://th.wikipedia.org/wiki การเกดิ สีตัวทเ่ี ข้มของปลาตัวผู้ ส่วนปลาตวั เมียจะมีสีจืดจางกว่า. สบื คน้ กมุ ภาพนั ธ์ 19, 2560, จาก http://board.postjung.com/898845.html การเกดิ หนวดเคราในผ้ชู าย ส่วนในผหู้ ญงิ ไม่มี. จัดทาขอ้ มูล กมุ ภาพนั ธ์ 27,2560, โดย นางสาวลาจวน สงี าม การเปลี่ยนสขี องกระต่ายฮิมาลายัน (Himalayan). สบื คน้ กมุ ภาพันธ์ 19, 2560, จาก http://www.classes.midlandstech.com/carterp/Courses/bio101/chap 11.htm การเปลยี่ นสดี อกของดอกพุดตาน. สบื ค้น กุมภาพนั ธ์ 19, 2560, จาก http://biology.ipst.ac.th การสรา้ งไขมันสเี หลืองของกระต่าย. สบื คน้ กมุ ภาพันธ์ 19, 2560, จาก http://pet.pigthai.com/newzealand-white-rabbit 2 การสรา้ งนา้ นมของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมเพศเมีย สว่ นเพศผจู้ ะไมม่ กี ารสรา้ งน้านม. สืบค้น กุมภาพันธ์ 19, 2560, จาก http://lovebel.exteen.com และ http://www.thaibrahman.org/board/index. การสร้างสีของเมล็ดขา้ วโพดบางพนั ธุ์. สบื ค้น กมุ ภาพนั ธ์ 19, 2560, จาก http://live.phuketindex.com/th/phuket-sweetcorn-farm ความสูงของนกั ศึกษาในมหาวิทยาลัยแหง่ หนง่ึ ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งยืนเข้าแถวตามช่วงความสูงต่างๆ เรยี งจากน้อยไปหามาก (ซา้ ยไปขวา). สบื คน้ กุมภาพันธ์ 21, 2560, จาก http://www.citruscollege.edu/lc/archive/biology/Pages/Chapter10-Rabitoy.aspx

ชดุ ท่ี 1 ลักษณะทางพนั ธุกรรม 36 จริ ัสย์ เจนพาณิชย์. (2552). Biology for high school student. พิมพ์คร้ังท่ี 12. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์บูมคัลเลอร์ไลน์. ประดษิ ฐ์ เหลา่ เนตร.์ (2553). หนงั สอื เรยี นชวี วิทยา มัธยมศึกษาปที ่ี 4 – 6. กรงุ เทพมหานคร: สานักพิมพ์แม็คเอด็ ดเู คชัน่ . ประสงค์ หลาสะอาดและจติ เกษม หลาสะอาด. (2555). วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา ม.ต้น. กรงุ เทพมหานคร: สานักพิมพ์ พ.ศ.พัฒนา. พฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.), สถาบัน. (2560). หนงั สอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร.์ กรุงเทพฯ: สานักพิมพบ์ ริษัทพัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จากัด. ลักษณะทางพนั ธุกรรมที่มคี วามแปรผันไม่ตอ่ เนอื่ ง. ถ่ายเม่ือ กุมภาพันธ์ 27,2560, โดย นางสาวลาจวน สงี าม ลกั ษณะสีขนของสตั ว์. สบื ค้น กมุ ภาพันธ์ 21, 2560, จาก http://money.sanook.com และท่ีมา : http://arepao-cineko.blogspot.com สมาน แก้วไวยทุ ธ. (2555). Hi-ED’s Biology ชีววิทยา ม.4–6 (รายวิชาพื้นฐาน). กรงุ เทพมหานคร: สานกั พมิ พ์ไฮเอ็ดพับลิชช่งิ . สแตร์, ซี. (2555). ชีววิทยา เลม่ 1. (ทมี คณาจารย์ภาควชิ าชีววิทยามหาวิทยาลัยขอนแก่น,ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์เซนเกจ เลนิ นิ่ง ประเทศไทย. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบนั . (2553). หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน ชวี วิทยา (สาหรับนักเรยี นทเ่ี น้นวิทยาศาสตร)์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4–6. กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์. พมิ พค์ ร้ังที่ 2. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.

ชุดท่ี 1 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม 37 ภาคผนวก ชดุ กจิ กรรมการเรียนร้ตู ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ เร่อื ง การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมและความหลากหลายทางชีวภาพ รายวชิ าวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รหัสวิชา ว23101 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ชุดที่ 1 เร่ือง ลักษณะทางพันธกุ รรม

บัตรเฉลย ชดุ ท่ี 1 ลักษณะทางพันธุกรรม 38 แบบทดสอบ การถา่ ยทอดลกั ษณะ กอ่ นเรียน 1 ทางพนั ธุกรรม และความ หลากหลายทางชวี ภาพ 1. ก 6. ง 11. ง 16. ข 21. ข 26. ง 31. ก 36. ก 2. ง 7. ค 12. ก 17. ข 22. ค 27. ค 32. ข 37. ก 3. ก 8. ข 13. ก 18. ง 23. ข 28. ข 33. ง 38. ข 4. ง 9. ค 14. ข 19. ก 24. ก 29. ข 34. ข 39. ง 5. ง 10. ข 15. ก 20. ข 25. ค 30. ง 35. ข 40. ข

ชุดท่ี 1 ลักษณะทางพนั ธุกรรม 39 บัตรเฉลย 1 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม แบบทดสอบยอ่ ย ก่อนเรียน-หลงั เรยี น แบบทดสอบย่อยก่อนเรยี น แบบทดสอบย่อยหลงั เรียน 1. ง 1. ค 2. ค 2. ง 3. ค 3. ข 4. ข 4. ง 5. ค 5. ค 6. ก 6. ก 7. ข 7. ค 8. ง 8. ก 9. ค 9. ค 10. ก 10. ก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook