การศกึ ษา “แนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนารอ่ ง รปู แบบการตงั้ คณะบคุ คลในระดบั จงั หวดั เพื่อพัฒนา การศกึ ษาตามกฎหมายการศกึ ษาชาติ (จงั หวดั ชมุ พร)” สำนักงำนศกึ ษำธกิ ำรจงั หวดั ชมุ พร สำนกั งำนปลดั กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร 2564
การศึกษาแนวทางการพฒั นากฎหมายเพือ่ นำรอ่ งรูปแบบการตั้งคณะบคุ คลในระดบั จังหวดั ชมุ พร | หน้าท่ี 105 การศกึ ษาเรอ่ื ง “แนวทางการพัฒนากฎหมายเพือ่ นำรอ่ ง รปู แบบการตั้งคณะบคุ คลในระดับจงั หวัด เพ่ือพัฒนาการศึกษาตาม กฎหมายการศกึ ษาชาติ (จังหวดั ชมุ พร)” นางสาวพรรณา พรหมวิเชียร และคณะ สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั ชุมพร สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ 2564
การศกึ ษาแนวทางการพฒั นากฎหมายเพื่อนำรอ่ งรปู แบบการตัง้ คณะบคุ คลในระดบั จังหวดั ชมุ พร | หน้าที่ 105 คำนำ รายงานการศึกษานี้เป็นรายงานการศึกษาเรื่อง“แนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำ รอ่ งรปู แบบการตั้งคณะบุคคลในระดบั จงั หวัด เพอื่ พัฒนาการศกึ ษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จงั หวัด ชุมพร)” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการบูรณาการความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อ พัฒนาการศึกษา กฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัดชุมพร 2) จัดทำและการ นำรอ่ งรปู แบบ กลไก ในการบรหิ ารจัดการของคณะบุคคลท่ีกำกับดูแลและสนับสนุนการศึกษาในระดับ จังหวัดชุมพรโดยมีเป้าหมายและจุดเด่นที่ชัดเจนเป็นการเฉพาะ ซึ่งสามารถดำเนินการได้อย่างมี ประสิทธิภาพและส่งผลต่อการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และ 3) จัดทำข้อเสนอการปรับปรุง กฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การบริหารจัดการของคณะบุคคลที่ดูแลด้าน การศึกษาในระดบั จังหวัดชุมพรดำเนินการได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ คณะผศู้ ึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งผลจาก การศกึ ษาในเอกสารฉบับน้จี ะเป็นประโยชน์ต่อการขบั เคลื่อนการจดั การศึกษาเกดิ คุณภาพสอดคล้องกับ ความต้องการ และบริบทของจังหวัดชุมพร และเป็นแนวทางให้กับพื้นที่ใกล้วเคียงในการจัดการศึกษา ผ่านองคค์ ณะบุคคล รายงานฉบับนี้ สำเร็จลงได้ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม นักวิชาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ท้องถิ่น ชุมชน ประชาสังคม ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารภาครัฐ ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหาร องค์กรเอกชน ผู้บริหารองค์กรท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ผู้นำคณะบุคคลที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการศึกษาในจังหวัด ผู้เกี่ยวข้องทั้งระดับนโยบาย ระดับพื้นที่ และระดับสถานศึกษา และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนท่ี ให้คำสัมภาษณ์เชิงลึก ให้ความร่วมมือในการจัดทำ Focus Group และให้ความร่วมมือในกิจกรรม ทกุ กิจกรรมมา ณ โอกาสน้ี คณะผศู้ ึกษา
บทสรุปผบู้ ริหาร ชือ่ เร่อื ง การศกึ ษาเร่ือง“แนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรปู แบบการต้งั คณะบคุ คล ในระดบั จงั หวัด เพ่ือพัฒนาการศกึ ษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวัดชมุ พร)” ผู้ศึกษา นางสาวพรรณา พรหมวเิ ชยี ร และคณะ ปที ศ่ี กึ ษา 2564 หน่วยงาน สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั ชุมพร การศึกษานี้ เป็นการการศึกษาเรื่อง“แนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบ การตัง้ คณะบุคคลในระดับจังหวัด เพอื่ พฒั นาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จงั หวดั ชุมพร)” มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการบูรณาการความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนา การศึกษา กฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัดชุมพร 2) จัดทำและการนำร่อง รปู แบบ กลไก ในการบริหารจดั การของคณะบุคคลที่กำกับดูแลและสนับสนนุ การศึกษาในระดับจังหวัด ชุมพรโดยมีเป้าหมายและจุดเด่นที่ชัดเจนเป็นการเฉพาะ ซึ่งสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และส่งผลต่อการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และ 3) จัดทำข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศึกษา และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การบริหารจัดการของคณะบุคคลที่ดูแลด้านการศึกษาในระดับจังหวดั ชุมพรดำเนินการได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ คณะผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างยิง่ ผลจากการศึกษาในเอกสารฉบบั นี้จะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเกิดคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการ และ บริบทของจังหวดั ชุมพร และเป็นแนวทางให้กับพื้นท่ีใกล้วเคียงในการจัดการศึกษาผ่านองคค์ ณะบุคคล ประชากร ผู้ทรงคุณวฒุ ิของจงั หวัดชมุ พรดา้ นการศึกษา ด้านการมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาของคณะ บุคคล ด้านกฎหมาย ด้านภูมิสังคมของชุมพร และด้านนโยบายการศึกษาผู้ศึกษาได้ทำการเลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) มาเป็นกลุ่มตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น 5 คน เพื่อดำเนินการ สมั ภาษณเ์ ชิงลึกและนักวชิ าการทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน ท้องถน่ิ ชมุ ชน ประชาสังคม ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ผู้บรหิ าร ภาครฐั ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา ผบู้ ริหารองคก์ รเอกชน ผ้บู ริหารองค์กรทอ้ งถิน่ ผนู้ ำชุมชน ผนู้ ำคณะบุคคลท่ี จดั ตงั้ ข้นึ เพื่อการศึกษาในจงั หวดั ผูเ้ ก่ียวขอ้ งทงั้ ระดับนโยบาย ระดับพน้ื ท่ี และระดบั สถานศึกษา และผู้ ศึกษาไดท้ ำการเลือกกลุ่มตวั อย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) มาเปน็ กลุม่ ตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น 23 คน เพื่อการทำ Focus Group และคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด และผู้ช่วยเลขานุการ จำนวน 17 คน เพือ่ ตอบแบบสอบถาม ผลของการศกึ ษา พบวา่ 1. ผลการศึกษาแนวทางการบูรณาการความร่วมมือในการจัดต้ังคณะบุคคลเพื่อพัฒนา การศึกษา กฎหมายการศึกษา และกฎหมายท่เี ก่ียวข้องในระดับจังหวัดชมุ พร พบวา่ แนวทางการบูรณา การความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษา กฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่ เกีย่ วขอ้ งในระดับจงั หวัดชุมพร ดังประเดน็ ต่อไปน้ี
| หนา้ ที่ ค 1.1 กฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ ง (1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 วรรคสาม กำหนดให้ “รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมท้ัง ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดบั โดยรฐั มหี น้าทีด่ ำเนินการ กำกบั สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้ การจัดการศึกษาดังกลา่ วมคี ุณภาพและได้มาตรฐานสากล” ผู้เชี่ยวชาญดา้ นการศกึ ษา และการประชมุ อภิปราย ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกภาคส่วนระดับจังหวัด (Focus group discussion) พบว่า ท่ปี ระชุม เห็นด้วยกับรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 วรรคสาม และ มีข้อเสนอเพิ่มเติม คือ ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ อย่างมีคุณภาพ เสมอภาค ทั่วถึงและเป็นธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต จัดให้มีการร่วมมือกันระหว่าง รัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมในการจัดการศึกษา (2) ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ ของคณะกรรมการอิสระเพื่อการ ปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา และการประชุมอภิปราย ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกภาคส่วนระดับ จังหวัด (Focus group discussion) พบว่า ที่ประชุมผู้เกีย่ วข้องทุกฝ่ายเห็นด้วยกับร่างพระราชบญั ญัติ การศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ ของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านการพิจารณาของ คณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 และขอเพิ่มผู้เกี่ยวข้องดังนี้ มาตรา 82 เพม่ิ เลขาธกิ ารครุ ุสภา /ผู้แทนคร/ู ผูแ้ ทนผ้บู ริหารสถานศกึ ษา และเห็นด้วยตามกฎหมายที่กำหนด แต่ ขอเพิ่มเตมิ มาตรา 23 ใหบ้ ุคคลเหลา่ นเ้ี ป็นกรรมการในตำแหน่ง ได้แก่ นายกเทศมนตร/ี นายกองค์การ บริหารส่วนตำบล/ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล(ดูแลเด็ก)/ผู้กำกับการสถานี ตำรวจภูธรในท้องถนิ่ (ความปลอดภยั ) สามารถสรุปโดยภาพรวมให้มีการจัดทำกฎหมายว่าการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่เพื่อให้ เป็นกฎหมาย กลางท่เี นน้ การบรหิ ารและการจดั การศึกษาให้มีความยืดหยุ่นหลากหลาย การมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนใน การบริหารและจัดการศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา และปฏิรูป กลไกการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษาและวางกลไกสำคัญให้สอดคล้องกับการจัด องค์กร รวมถึงการจัดองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาตามภารกิจของการจัดการศึกษา ท้ังนี้ จะต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และสอดคล้องกับ แนวทางของยทุ ธศาสตรช์ าติและ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศกึ ษา 1.2 การแต่งตั้งคณะบุคคล ผลการศึกษารูปแบบการจัดตั้งคณะบุคคลของจังหวัด และ ประเทศที่ประสบความสำเร็จ พบว่า รูปแบบการจัดตั้งคณะบุคคลของจังหวัดที่ประสบความสำเร็จ ประกอบด้วยการขับเคล่ือนโดยมีหลักการ วัตถุประสงค์ บทบาทหน้าที่ และรูปแบบกลไกความร่วมมอื ที่ชัดเจน ตามแตบ่ รบิ ทของแต่ละจังหวดั และประเทศท่ีมผี ลการศึกษารูปแบบการจดั ตัง้ คณะบุคคลของ ประเทศที่ประสบความสำเร็จแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ สิงคโปร์และ ญี่ปุ่น จะเน้นการมีส่วนร่วมใน กำกับของนโยบาย ส่วน ประเทศฟินแลนด์และแคนาดา เน้นการมีส่วนร่วมของภาครัฐและเอกชนตาม บรบิ ทของพื้นที่
| หน้าที่ ง 1.3 จดั ต้งั กลุม่ คณะบคุ คลเพ่อื เป็นกลไกในการรว่ มกนั พฒั นาทรัพยากรมนษุ ยแ์ ละ การศึกษา เป็นกลไกผลักดนั ขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษาของจังหวัดชุมพร โดย ใช้ชื่อว่า “สมัชชาการศึกษาจังหวดั ชุมพร” เพื่อให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย 2560 ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ กฎหมายว่าด้วยการศึกษาชาติ และโครงการต่าง ๆ ของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษาของ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง โดยมีหลักการ วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ และอำนาจหน้าท่ี ตามคิดเห็นของ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ จากประเด็นการสัมภาษณ์เชิงลึก สรุปได้ว่า จากการสัมภาษณ์เชิ งลึก ผทู้ รงคณุ วุฒดิ ้านการศกึ ษา ด้านการมสี ว่ นร่วม ดา้ นกฎหมาย ด้านภมู สิ ังคม และดา้ นนโยบายการศึกษา พบวา่ ผทู้ รงคณุ วุฒิด้านตา่ ง ๆ มีความเห็นสอดคลอ้ งกนั ในทุกประเดน็ การสัมภาษณ์ 2. จัดทำและการนำร่องรูปแบบกลไก ในการบริหารจัดการของคณะบุคคล ที่กำกับดูแล และ สนับสนุนการศึกษาในระดับจังหวัดชุมพร โดยมีเป้าหมายและจุดเด่นที่ชัดเจนเป็นการเฉพาะ ซึ่งสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งผลต่อการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา จากการ จัดเก็บข้อมูลผ่านการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ และการจัดทำ Focus Group จึงได้จัดทำและการนำร่อง รปู แบบกลไกในการบริหารจดั การของคณะบุคคลที่กำกับดูแลและสนับสนุนในระดับจังหวัดชุมพรโดยมี เปา้ หมายและจดุ เด่นทชี่ ดั เจนเป็นการเฉพาะ ซง่ึ สามารถดำเนินการไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพและส่งผลต่อ การปฏิรปู การศกึ ษาประเทศดา้ นการศึกษาของจังหวัดชมุ พร พบว่า กลไกในการบรหิ ารจัดการของคณะ บุคคลที่กำกับดูแลและสนับสนุนในระดับจังหวัดชุมพร มีเป้าหมายเพื่อให้การจัดการศึกษาในจังหวัด ชมุ พรไดส้ รา้ งคนดี คนเก่ง อยอู่ ยา่ งมีความสุข เป็นบคุ คลทรี่ ับผิดชอบตอ่ สังคม สรา้ งความเสมอภาคทาง การศึกษา สรา้ งหรือผลติ คนสอดคลอ้ งกบั ตลาดแรงงาน เป็นบคุ คลท่ีรกั ถ่ินฐานบา้ นเกดิ ซ่ึงเปน็ เป้าหมาย ทเ่ี กดิ มาจากความต้องการให้สถานศึกษาดำเนินการเพิ่ม พฒั นาหลักสูตรดา้ นการแกไ้ ขปญั หายาเสพติด ความมรี ะเบียบวินัยตอ่ ตนเองและสงั คม การรู้จักหนา้ ทก่ี ่อนสทิ ธิ ความรักและการเรียนรู้ท้องถ่ินชุมพร ทักษะชีวติ และโครงการพระราชดำริในพื้นทีจ่ งั หวดั ชมุ พร ใหม้ ีอยู่ในหลกั สูตรสถานศึกษา มีการพัฒนา ความรู้ความเข้าในในการเลี้ยงดูบุตรให้แก่ผู้ปกครอง และให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาของ ผู้เรียน ต้องการให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค ผู้เรียนกลุ่มนักเรียนต่างด้าว นักเรียน ด้อยโอกาส นักเรียนต้องการการดแู ลพิเศษ และนักเรียนมีความต้องการพิเศษ ได้รับการศึกษาอย่าง เหมาะสม สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ต้องการให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ เลือกเรียนรู้ตามความต้องการทีแ่ ทจ้ ริงของตนเอง พัฒนานวัตกรรมเพื่อใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น สร้าง ความภาคภูมิ คนชุมพร เรียนชุมพร จบชุมพร พัฒนาชุมพร และมุ่งสู่สากล ต้องการให้ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นำความรู้ นวัตกรรมและภมู ิปัญญาในท้องถิ่นชมุ พร ไปปรับใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการรู้ของผูเ้ รียน ผา่ นเทคโนโลยี วธิ กี ารทีเ่ หมาะสม ทันสมยั การจัดทำระบบเครือข่าย จำเป็นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้พื้นที่จังหวัดชุมพรเป็นฐานการ รวมตัวของทุกภาคส่วนประกอบไปด้วยภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และท้องถิ่น นอกจากนี้ยัง จะต้องมีการจัดทำฐานข้อมูลกลาง ที่เป็นข้อมูลด้านการศึกษา ข้อมูลเชิงมิตสิ ังคม ข้อมูลเด็กในพื้นทีท่ งั้ เด็กในระบบ นอกระบบ เด็กด้อยโอกาส เด็กตกหล่น เด็กต่างด้าว รวมถึงความต้องการของ ตลาดแรงงานในพื้นที่จังหวัดชุมพร ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย ศาล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น และเอกชน กิจกรรมของสมัชชาการศึกษา
| หนา้ ที่ จ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริม และสนับสนุนเพื่อนำไปสู่เป้หมายที่ตั้งไว้ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับความ ต้องการ การจัดตั้งสมัชชาการศึกษาจังหวัดชุมพร มีการรวมทกุ ภาคสว่ นเข้ามามาสว่ นรว่ ม สร้างรูปแบบ การมสี ว่ นรว่ มต้ังแตเ่ ร่ิมต้น วางแผนการบริหารจัดการ ในสมชั ชาเบือ้ งต้นใหม้ ีผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานสมัชชาการศึกษาจังหวัดชุมพร และมีองคการบริหารส่วนท้องถิ่น และ ประธานหอการค้าจังหวดั ชุมพรปฏิบตั ิหน้าทีเ่ ป็นรองประธานสมชั ชาจังหวัดชมุ พร โดยมแี นวทางในการ ดำเนินการ กำหนดบทบาทอำนาจหน้าที่ของสมัชชาการศึกษาให้ชัดเจน กำหนดองค์ประกอบของ คณะกรรมการ โดยกำหนดใหม้ ีผู้มคี วามรู้ความเช่ียวชาญ ทางดา้ นการศึกษาในระดับจงั หวัดและผู้เรียน รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในองค์ประกอบ สมัชชาการศึกษาระดับจังหวัดควรมีความเป็น อิสระในการดำเนินการขับเคลื่อน กำหนดบทบาทหน้าที่ของสมัชชาในด้านการมีส่วนร่วมต่อการยกร่าง กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเกี่ยวข้องกับความก้าวหน้าในตำแหน่งอาชีพของครู กำหนดรูปแบบ แนวทางการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน กำหนดแนวทางการนำผลมาถอดบทเรียน เพ่ือ ปรับปรุงพัฒนารวมทั้งเผยแพร่ มีการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานต่อผู้ที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน มีการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างแรงบันดาลใจจากบุคคลต้นแบบของจังหวัดชุมพร ทุกความร่วมมือต้องมี อิสระ/ไม่เพิ่มภาระให้สถานศึกษา/ร่วมกับส่วนกลาง การผลักดันความต้องการทางการศึกษาเป็น นโยบายสาธารณะ การจัดการความรู้และพัฒนาศักยภาพของคนในเครือข่าย ใช้การสื่อสารเชิง สร้างสรรค์ผ่านสื่อเทคโนโลยีพัฒนางานวิจัยทางการศึกษาในพื้นที่ ตามเป้าหมายในการทำงานของ สมชั ชา โดยความรว่ มมอื ของสถาบนั อดุ มศึกษาในพ้นื ที่ ปราชญช์ าวบ้าน และผู้เก่ียวข้อง ควรส่งเสริมให้ มีงานวิจัยทางการศึกษาระดับพื้นที่เพิ่มมากขึ้น ประชาสัมพันธ์ทิศทาง โลกของงานในปัจจุบันและ อนาคตให้ผ้ปู กครองทราบ ส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งท่ีสมัชชาการศึกษาในจงั หวัดชุมพรสามารถที่ขบั เคลือ่ นไปได้เพือ่ ให้เกดิ คุณภาพในการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่อย่างแท้จริง นั้นก็คือกฎหมายจึงจำเป็นต้องการการทบทวนหรือ ปรับแก้กฎหมายบางตวั ทจ่ี ะมาสนับสนุนการดำเนินงานการส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษาในพ้ืนท่ี โดยผ่านการมีส่วนร่วม รวมทั้งสภาการศึกษาจำเป็นจะต้องเป็นศูนย์ข้อมูลกลางที่สามารถเชื่อมโยง ข้อมูลระหว่างสมัชชาการศึกษาจังหวัดชุมพรกับส่วนกลาง สนับสนุนงบประมาณ งานวิชาการ และ บคุ ลากรในเบือ้ งตน้ วางโครงการและกิจกรรมสนับสนุนสามารถนำสิ่งทไี่ ด้ไปขยายยังจังหวัดอ่ืนๆ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าในการดำเนินการจัดตั้งสมัชชาในพื้นที่จังหวัดชุมพร ก็เริ่มจากการจัดต้ัง สมัชชาจังหวัดชุมพร จัดทำและสร้างฐานข้อมูล มีการแก้ไขกฎหมายบางตัวเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการ ขับเคล่อื นงานของสมัชชาในพนื้ ท่ี มกี ารประเมิน และตดิ ตาม ได้มาซึ่งขอ้ มูลสำคัญทส่ี ามารถนำไปขยาย ตอ่ ในพนื้ ท่ีอน่ื ๆ และส่งผลใหพ้ ืน้ ทจ่ี ังหวัดชุมพรมพี ลเมืองที่เข้มแข็ง มีความรบั ผดิ ชอบต่อบา้ นเมือง และ สังคม มีทักษะชีวิตสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีความสามารถในเรื่องที่ตนถนัด และสามารถประกอบอาชพี ได้ ดงั ภาพ
| หนา้ ที่ ฉ 3. จัดทำข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศึกษา และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง พบว่า คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดชุมพรมีความคิดเห็นสอดคล้องสูงสุด คือ ควรมีกฎหมายที่ส่งเสริมให้ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษานำประเด็นความต้องการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และ การศึกษาไปสู่การปฏิบัติด้วยวิธีการ/รูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม รองลงมาคือ ประธาน คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 24) ในแต่ละจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุม ร่วมกันของประธานในคณะกรรมการสถานศึกษาตามมาตรา 23 ทุกแห่งอย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง (เดิม 1 ครั้ง) ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ อย่างมีคุณภาพ เสมอภาค ทั่วถึงและเป็นธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ กฎหมายควรให้อำนาจในการ บริหารจัดการขององค์คณะตามมาตราที่ 18 อย่างแท้จริง ตามลำดับ และรายการที่มีความคิดเห็น สอดคล้องต่ำสุดคือ คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 23) ควรมีบุคคลท่ีเก่ยี วข้องกับนโยบายของ ท้องถ่ินเหลา่ นเี้ ปน็ กรรมการในตำแหนง่ ไดแ้ ก่ นายกเทศมนตรี นายก อบต. ผอ.รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ตำบล ผกก.สถานตี ำรวจภูธรในท้องถน่ิ
| หนา้ ท่ี ช ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาครั้งน้ี 1.1 ควรมกี ารใหค้ วามสำคญั กบั ทุกมติ ิ ทัง้ มติ ิการมสี ่วนร่วม มิติภูมสิ งั คม มติ เิ ชิงกฎหมาย และมิตเิ ชงิ นโยบายการศกึ ษา ซึ่งเปน็ สว่ นสำคญั ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในพื้นท่ี 1.2 ควรให้ความสำคัญกับความต้องการในเชิงพื้นที่อย่างแท้จริงเพื่อให้มีการกำหนด เป้าประสงค์ กิจกรรม ที่มีความแม่ยำ เป็นไปได้ ในการสนับสนุนขัดเคลื่อนองค์คณะบุคคลในพื้นท่ี จงั หวดั ใหเ้ กิดผลสำฤทธิท์ แี่ ท้จริง 1.3 ควรมีการกำหนดจำนวนของคณะบุคคล สัดส่วน ไว้อย่างชัดเจน ใน ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่อาจ ว่ามีบุคคลได้กี่คณะหรือมีการจัดตั้งคณะใดบ้างใน การจดั ประชุมตามมาตรา 24 2. ขอ้ เสนอแนะในการทำการศกึ ษาครั้งตอ่ ไป 2.1 ควรมีการศึกษารูปแบบ องค์ประกอบ และแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สถานศึกษา เพื่อเป็น แนวทางในการกำหนดองค์ประกอบ คุณสมบัติ ที่มา และข้อเสนอแนะ ในการสง่ เสรมิ การมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาของ คณะกรรมการสถานศึกษา 2.2 ควรมีการศกึ ษารปู แบบและองคป์ ระกอบของคณะบุคคลตามมาตรา 18 เพื่อเป็นข้อมูล และแนวทางในการรวมตัว ของประชาชนในจังหวัดที่ต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ในจังหวัด/พ้ืนท่ี
สารบัญ หนา้ คำนำ…………………………………………………………………………………………………………………………. ก บทสรุปผูบ้ รหิ าร........................................................................................................................ ข สารบัญ............................................................................................................................. ......... ซ สารบัญตาราง........................................................................................................................... ญ สารบัญภาพ............................................................................................................................. . ฎ 1 บทท่ี 1 บทนำ…………………………………………………………………………………………… 1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา......................................... 3 วัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษา............................................................. 3 คำถามของการศึกษา...................................................................... 4 ขอบเขตของการศึกษา.................................................................... 5 กรอบแนวคิดในการศึกษา............................................................... 6 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ............................................................................ 8 8 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วข้อง………………………………………………………. 8 กฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ ง........................................................................... 9 รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.................. 10 พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542............................. 11 ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564... 12 คำสง่ั คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560........................... 15 ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)........................... 16 แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ................................................. แผนปฏิรูปประเทศ........................................................................ 21 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 25 (พ.ศ. 2560-2564)......................................................................... 28 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560-2579).................................. ยทุ ธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ............................................. 29 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษาของ สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.............................................. 31 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษาของสำนักงาน 33 ศกึ ษาธกิ ารภาค 5......................................................................... 35 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาจังหวัดชุมพร.............................................. อำนาจหน้าท่ีของสำนักงานศึกษาธิการจังหวดั ..............................
| หน้าที่ ฌ สารบัญ (ตอ่ ) หน้า การมีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษาของคณะบุคคล............................. 36 การมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา................................................. 36 การมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษาของประชาชน.......................... 38 รูปแบบการจัดการศึกษาโดยการมสี ว่ นร่วม................................... 40 รปู แบบการต้งั คณะบุคคลและการมสี ว่ นร่วม................................ 41 43 งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้อง............................................................................ 43 งานวจิ ัยในประเทศ........................................................................ 63 งานวิจัยต่างประเทศ...................................................................... 66 บทที่ 3 วิธีดำเนนิ การศกึ ษา.................................................................................. 66 ข้นั ตอนที่ 1 การศึกษาแนวทางการบรู ณาการความร่วมมือ ในการจดั ตงั้ คณะบคุ คลเพอ่ื พฒั นาการศึกษา................................... 67 ขั้นตอนที่ 2 การสรา้ ง และพัฒนา รปู แบบ กลไก ในการมสี ่วนร่วมทางการศกึ ษาของคณะบุคคลที่กำกบั ดแู ล 69 และสนับสนนุ การศกึ ษาในระดบั จังหวัดชมุ พร................................. 72 ข้นั ตอนที่ 3 กำหนดข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศึกษา 100 และกฎหมายที่เกยี่ วข้อง เพือ่ ใหก้ ารบรหิ ารจดั การ 100 ของคณะบคุ คลที่ดแู ลดา้ นการศึกษา 103 ในระดับจังหวัดชุมพร....................................................................... 110 111 บทที่ 4 ผลการศึกษา............................................................................................ 112 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ.................................................... 113 130 สรุปผล............................................................................................. อภิปรายผล...................................................................................... ข้อเสนอแนะ.................................................................................... บรรณานุกรม............................................................................................................................ ภาคผนวก...................................................................................................................... ........... ภาคผนวก ก เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการจัดเกบ็ ข้อมลู .............................................................. คณะผู้ศกึ ษา.................................................................................................................. ............
สารบญั ตาราง ตารางที่ หนา้ 1 ระยะเวลาในการศึกษา…………………………………………………………………… 70 2 เปรียบเทียบผลการศึกษารปู แบบการจดั ตั้งคณะบคุ คลของจังหวัดท่ี 85 ประสบความสำเร็จ………………………………………………………………………… 86 3 เปรียบเทยี บผลการศึกษารปู แบบการจัดตง้ั คณะบคุ คลของประเทศท่ี 92 ประสบความสำเร็จ.................................................................................. 4 ความคดิ เหน็ ของผู้ทรงคณุ วุฒิจากการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ ............................ 97 5 ความคดิ เห็นของคณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวัดชุมพร ตอ่ การเสนอแก้ไขปรับปรงุ กฎหมายการศึกษาและ กฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และ Focus Group จากผ้เู ช่ียวชาญ.......................................................
สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา้ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา........................................................................ 5 2 กลไกปัญจภาคี......................................................................................... 44 3 แผนปฏิรปู ประเทศด้านการศึกษา (พ.ศ. 2561-2565)............................ 83 4 แสดงการจดั ทำและการนำร่องรูปแบบกลไก ในการบรหิ ารจดั การของคณะบคุ คลท่กี ำกับดูแล และสนบั สนุนการศึกษาในจังหวดั ชุมพร.................................................. 93
บทท่ี 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 วรรคสาม กำหนดให้ “รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมให้ มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริม และสนับสนุน ให้การจัดการศึกษา ดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล” ซึ่งเป็นหลักการการมีส่วนร่วมให้ ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมด้านการศึกษาโดยรัฐต้องเป็นผู้สนับสนุนองค์กร หน่วยงาน ชุมชน หรือ คณะบุคคลอื่นที่เข้ามามีส่วนร่วมด้านการศึกษาซึ่งมีเป้าหมายตรงกันคือการเพิ่มคุณภาพการศึกษา ของผู้เรียนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ที่มีเป้าหมายการพัฒนาที่ให้ความสำคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสงั คม ชุมชน ทอ้ งถ่ินมาร่วมขบั เคล่ือนการศึกษา และยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ทีก่ ำหนดให้มกี ารสง่ เสริมบทบาทการมีส่วนรว่ มของภาครัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่นิ และภาคเอกชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ปจั จบุ ันรฐั ธรรมนญู กำหนดให้มีการปฏิรูป ประเทศในด้านต่าง ๆ ตามแผนปฏิรูปประเทศ โดยแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษากำหนดให้มี การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา การกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมจาก ทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการศึกษาและการสนับสนุนการศึกษา การสร้างระบบบูรณาการกลไก การดำเนินงานในระดับพื้นที่ การตรวจสอบประเมินผลการจัดการศึกษา รวมทั้งการจัดทำกฎหมาย การศึกษาชาติฉบับใหม่โดยกำหนดให้มีคณะบุคคลซึ่งเป็นประชาชนที่มีภูมิลำเนาหรือประกอบอาชีพ หรอื ธรุ กิจในจงั หวดั รวมตัวกันเปน็ คณะบคุ คลเพอ่ื การส่งเสริม สนบั สนนุ ชว่ ยเหลือ เสนอแนะ อุดหนนุ หรือให้ความร่วมมือในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในจังหวัด ซึ่งเป็นการสร้างความร่วมมือ ระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน ชุมชน เพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา เพื่อให้การปฏิรูปประเทศด้านการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การมีส่วนร่วมของจาก ทุกภาคส่วนในการพัฒนาการศึกษาจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะในระดับพื้นที่ เนื่องจาก เป็นกลไกทเี่ น้นความร่วมมือในการบริหารจัดการและมปี ระสิทธภิ าพเพื่อการพัฒนาการศึกษา จากร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ ของคณะกรรมการอิสระเพื่อ การปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 มีความแตกต่างจากพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หลายประการ โดยเฉพาะสิทธิของผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบการศึกษาอย่างชัดเจน เพื่อสร้างการมีส่วน ร่วมในการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย เช่น การกำหนดหน้าที่และบทบาทของผู้ปกครอง การกำหนดให้เอกชนมีสิทธิในการจัดการศึกษา การจัดการศึกษาทางเลือกและการศึกษาสำหรับ ผู้มีความต้องการจำเป็นพิเศษ บทบาทของกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ จัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งความชัดเจนในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา กล่าวได้ว่า ร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวมีแนวคิดในการ ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการศึกษา โดยเปิดโอกาสให้ประชาชน
| หนา้ ท่ี 2 ภาคประชาสังคมหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholders) มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาโดยวาง รปู แบบและกลไกการมีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษาไว้ในหลายมาตรา เอกพล ดวงศรี (2563, น.68) สาระในร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ..... ฉบับผ่านการพิจารณาจาก คณะกรรมการกฤษฎีกาวาระ 3 ในหมวดวัตถปุ ระสงค์ และเป้าหมายของการจัดการศึกษา มาตรา 18 ได้ระบุไว้ว่า “เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา 11 (6) ประชาชนซึ่งมีภูมิลำเนาหรือ ประกอบอาชีพหรือธุรกิจในจังหวัดใด อาจรวมตัวกันเป็นคณะบุคคล เพื่อให้การส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ เสนอแนะ อุดหนุน หรือให้ความร่วมมือในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในจังหวัดน้ัน หรือจังหวัดใกล้เคียงได้ คณะบุคคลตามวรรคหนึ่งอาจจัดตั้งเป็นสมัชชา สภา กลุ่ม หรือหมู่คณะท่ี เรียกชื่ออย่างอื่นได้” (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2562, น. 3) ถือเป็นการกำหนดให้กลุ่ม คณะบุคคลที่มีเจตจำนงเพื่อพัฒนาการศึกษาของจังหวัดสามารถจัดตั้งและดำเนินการได้อย่างชัดเจน มากขนึ้ ด้วยมีกฎหมายรองรบั น่นั เอง เมื่อการขับเคลื่อนความร่วมมือจากกลุ่มสมัชชา หรือสภาทางการศึกษาในระดับจังหวัด เกิดขึ้น โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้สนับสนุนอำนวยความสะดวกให้เกิดการรวมตัวในผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียได้ดำเนินการตามเจตนารมณ์ของกฎหมายข้างต้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้มีเป้าหมาย หลักในการจัดตั้งกลุ่มสมัชชา หรือสภาทางการศึกษาระดับจังหวัดโดยทั่วไปเพื่อให้ประชาชนได้มี ส่วนร่วมพิจารณาสารสนเทศผลการปฏิบัติด้านการศึกษา แลกเปลี่ยนสารสนเทศเพื่อความก้าวหน้า ทางการศึกษา และนำเสนอนโยบายและยุทธศาสตร์สู่การปฏิบตั ิของการพฒั นาการศึกษาของจังหวัด นน่ั เอง (พฤทธ์ิ ศริ ิบรรณพิทักษ์ และคณะ, 2563, น.27) ปัจจุบัน รัฐกำหนดให้มีคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเพื่อทำหน้าที่กำกับดูแล ดา้ นการศกึ ษาของจังหวัด โดยมีผูแ้ ทนจากทุกภาคส่วน พบว่าเกดิ ปัญหาการบรหิ ารจัดการซึ่งเกิดจาก ความเข้าใจของผู้ปฏิบัติ และการบริหารจัดการเป็นไปในเชิงการบังคับบัญชาและการกำกับดูแล จากส่วนกลางสู่จังหวัดซึ่งขัดแย้งกับหลักการกระจายอำนาจและการส่งเสริมให้เน้นการบูรณาการ จากทุกภาคสว่ นให้เข้ามามสี ่วนร่วมในระดับพื้นที่ จงึ ควรมกี ารศกึ ษาหาแนวทาง รูปแบบ กลไกในการ จัดต้ังคณะบุคคลที่มาจากทุกภาคส่วนในระดับจังหวัดเข้ามาสนับสนุนด้านการศึกษาของพื้นที่ตนเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในปัจจุบันพบว่ายังขาดกฎหมายที่ให้อำนาจในการพัฒนาการศึกษา ในระดับจังหวัดโดยการตั้งคณะบุคคลที่เกิดจากการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเพื่อการลดความ เหลื่อมล้ำทางการศึกษา เสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนและการเพิ่มประสิทธิภาพของสถานศึกษาของรัฐ และการสนับสนนุ ดา้ นงบประมาณ เพื่อให้การดำเนินการตามบทบาทและภารกิจบรรลุตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและ บ ร ร ล ุ ผ ล ใ น ก า รป ฏ ิร ู ปป ร ะเ ท ศ ด ้า น ก า รศ ึ ก ษ า เ ป ็น ไป ต า ม รั ฐ ธร รม น ู ญ แ ห่ ง ร าช อา ณ า จั ก รไทย พุทธศักราช 2560 ที่กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการ ในระบบต่าง ๆ รวมท้งั ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดใหม้ ีการร่วมมือกนั ระหวา่ งรัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ การสนับสนุนส่งเสริม ด้านการศึกษาจากทุกภาคส่วน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม และยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ การมีส่วนร่วมจากทุก ภาคส่วนในการปฏิรูปประเทศ แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น
| หน้าที่ 3 จึงมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาแนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบการตั้งคณะบุคคลใน ระดับจังหวดั เพอ่ื พฒั นาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ เนื่องจากผลการประเมินการบังคับใช้กฎหมายการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าจังหวัดชุมพรได้มี แนวคิดในการสร้างการบูรณาการความร่วมมือโดยการจะจัดตั้งคณะบุคคลที่ใช้ชื่อว่าสมัชชาจังหวัด ชุมพรเพื่อความร่วมมือในการพัฒนาการศึกษาแต่เนื่องจากยังขาด กฎหมายที่รองรับการดำเนินการ และขาดกลไก รูปแบบ หรือแนวทางการจดั ตั้งคณะบคุ คล อีกทั้งจังหวดั ชุมพรยังมีบริบทของพ้ืนที่ที่มี ความหลากหลาย มีคนต่างด้าวเข้ามาทำงานในพื้นที่และนำบุตรหลานเข้ารับการศึกษาในไทยเป็น จำนวนมาก มีการประกอบอาชีพที่หลากหลาย ทั้งภาคเกษตร ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม หรือกรรมกร และมีกลุ่มบุคคลจากหลายภาคส่วนที่ต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางและการพัฒนา การศึกษาของจังหวัดตนเอง คณะผู้ศึกษาของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดชุมพร ที่มีบทบาทหน้าที่ โดยตรงในการวางแผน ดำเนินการ กำกับติดตาม และเสนอแนวทางการพัฒนาคณะบุคคลตาม กฎหมายข้างต้น จึงได้ดำเนินการศึกษา “แนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบการตั้ง คณะบุคคลในระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวัดชุมพร)” โดยในการศึกษาน้ีมุ่งเน้นการศึกษาแนวทางการบรู ณาการความร่วมมือ รปู แบบ กลไก วิธีการ ในการ จดั ตง้ั คณะบุคคลในระดับจงั หวัดชุมพร การขบั เคลอ่ื นการดำเนินการ สภาพปญั หา สาเหตุ และค้นหา รูปแบบการจัดตั้งคณะบุคคลในจังหวัดที่มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนา การศกึ ษา เพอ่ื พัฒนากฎหมายตอ่ ไป 2 วตั ถปุ ระสงค์การศกึ ษา ในการศกึ ษาครั้งนค้ี ณะผู้ศึกษาได้ต้ังความมงุ่ หมายไว้ดงั นี้ 2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการบูรณาการความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนา การศกึ ษา กฎหมายการศกึ ษาและกฎหมายท่เี กยี่ วขอ้ งในระดับจังหวดั ชมุ พร 2.2 เพือ่ จดั ทำและการนำร่องรูปแบบ กลไก ในการมีส่วนร่วมทางการศึกษาของคณะบุคคล ทกี่ ำกับดแู ลและสนับสนนุ การศึกษาในระดบั จังหวัดชมุ พรโดยมเี ป้าหมายและจุดเดน่ ทช่ี ัดเจนเป็นการ เฉพาะ ซึ่งสามารถดำเนนิ การไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพและส่งผลตอ่ การปฏริ ูปประเทศดา้ นการศกึ ษา 2.3 เพื่อจัดทำข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ การบริหารจัดการของคณะบุคคลที่ดูแลด้านการศึกษาในระดับจังหวัด ชุมพรดำเนินการได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 3 คำถามการศึกษา คณะศกึ ษาตง้ั คำถามของการศึกษา ดงั นี้ 3.1 แนวทางการบูรณาการความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษา กฎหมายการศกึ ษา และกฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ งในระดับจังหวัดชมุ พร เป็นอยา่ งไร 3.2 รูปแบบ กลไก ในการมีส่วนร่วมทางการศึกษาของคณะบุคคลที่กำกับดูแลและ สนับสนุนการศึกษาในระดับจังหวัดชุมพรโดยมีเป้าหมายและจุดเด่นที่ชัดเจนเป็นการเฉพาะ ซึ่งสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งผลต่อการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เปน็ อย่างไร
| หน้าที่ 4 3.3 ข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การบริหาร จัดการของคณะบุคคลที่ดูแลด้านการศึกษาในระดับจังหวัดดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เปน็ อยา่ งไร 4 ขอบเขตของการศึกษา 4.1 ขอบเขตด้านพื้นที่ การศึกษาแนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบการตั้งคณะบุคคลในระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวัดชุมพร) ครอบคลุมพื้นท่ีในการจัดการศึกษา ทั้ง 8 อำเภอ ในจังหวัดชุมพร ได้แก่ อำเภอท่าแซะ อำเภอปะทิว อำเภอเมือง อำเภอสวี อำเภอทงุ่ ตะโก อำเภอหลงั สวน อำเภอพะโต๊ะ และอำเภอละแม 4.2 ขอบเขตดา้ นเนื้อหา การศึกษาแนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบการตั้งคณะบุคคลในระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวัดชุมพร) มีเนื้อหาครอบคลุมแนวทาง การบูรณาการความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลในระดับจังหวัดชุมพร รูปแบบ กลไก ของคณะ บุคคลที่กำกับดูแลและสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และ ตามอัธยาศัย ในระดับจังหวัดชุมพร ตลอดจนข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศึกษาและกฎหมาย ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง เพ่ือใหก้ ารบรหิ ารจัดการของคณะบุคคลดังกล่าว 4.3 ขอบเขตด้านประชากร กลมุ่ ตัวอยา่ ง และผใู้ ห้ขอ้ มูลในการศึกษา ประชากร กลมุ่ ตวั อยา่ ง และผู้ใหข้ ้อมลู ในการศึกษา ไดแ้ ก่ นักปราชญ์ นกั คดิ ผ้เู ช่ียวชาญหรือ ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย นักวิชาการการศึกษาทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ผนู้ ำหรอื ผูแ้ ทนทอ้ งถิ่น ชมุ ชน ประชาสงั คม ผ้บู รหิ ารหน่วยงานภาครฐั ผูบ้ ริหารการศึกษา ผู้บริหารองค์กรเอกชน ผู้นำคณะบุคคลที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการศึกษาในจังหวัด ผู้เกี่ยวข้องทั้งระดับ นโยบาย ระดับพ้นื ที่ และระดับสถานศึกษา ของจงั หวดั ชุมพร 4.4 ขอบเขตด้านระยะเวลา ระยะเวลาในการศึกษาแนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบการตั้งคณะบุคคลใน ระดับจังหวัดเพื่อพัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวั ดชุมพร) ตั้งแต่เดือน ตลุ าคม - ธนั วาคม พ.ศ. 2564
| หนา้ ท่ี 5 5 กรอบแนวคิดในการศกึ ษา กฎหมายการศึกษาท่เี กยี่ วข้อง -รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2560 -ร่างพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาตฉิ บบั ใหม่ ของ คณะกรรมการอสิ ระเพอื่ การปฏริ ูปการศึกษาท่ีผา่ น การพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎกี า วาระ 3 เมอ่ื วนั ท่ี 30 เมษายน 2562 -โครงสรา้ งการบรหิ ารของกระทรวงศกึ ษาธิการใน สว่ นภมู ภิ าค -แผนปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษาของจงั หวัดชุมพร รปู แบบ กลไก ในการมีสว่ นรว่ มทางการศึกษาของ แนวทางการพัฒนาการจัดต้งั คณะบุคคล ขอ้ เสนอการปรับปรงุ กฎหมาย คณะบุคคลที่กำกับดแู ลและสนับสนุนการศกึ ษาท่ี ในระดบั จังหวดั เพือ่ พฒั นาการศกึ ษา การศึกษาและกฎหมายที่ ตามกฎหมายการศึกษาชาติ เก่ียวขอ้ ง เพอ่ื ให้การบรหิ าร ประสบความสำเร็จ (จังหวัดชมุ พร) จดั การของคณะบคุ คลที่ดแู ล -รูปแบบการมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาของคณะ ดา้ นการศกึ ษาในระดบั จงั หวดั บคุ คล และภาคประชาสังคม -แนวทางการบูรณาการความร่วมมอื ใน ชมุ พร -กรณศี กึ ษารูปแบบการตงั้ คณะบุคคล และการมสี ว่ นรว่ ม การจดั ตง้ั คณะบคุ คลเพ่ือพัฒนาการศกึ ษา ในการจัดการศกึ ษาทป่ี ระสบความสำเร็จในต่างประเทศ ในระดบั จังหวัดชุมพร -กรณศี ึกษารูปแบบการตง้ั คณะบคุ คล และการมสี ่วนร่วม -รปู แบบ กลไก ในการมสี ว่ นร่วมทาง ในการจัดการศกึ ษาทป่ี ระสบความสำเร็จในประเทศ การศึกษาของคณะบคุ คลทก่ี ำกับดูแลและ สนบั สนุนการศึกษา 33 (Triple Three งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง Model) ได้แก่ 1) 3 ระดับการมีส่วนรว่ ม -สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2563) ทางการศึกษา 2) 3 องคป์ ระกอบ -พฤทธ์ิ ศิริบรรณพิทกั ษ์ และคณะ (2563) 3) 3 กจิ กรรมหลกั -เอกพล ดวงศรี (2563) -Delancy (2000) -Pryor (2005) ฯลฯ สมั ภาษณผ์ ทู้ รงคุณวุฒิ -ด้านการศึกษา -ดา้ นการมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาของคณะ บุคคล -ด้านกฎหมาย -ดา้ นภมู ิสังคมของชมุ พร -ด้านนโยบายการศึกษา ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา
| หน้าที่ 6 6 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ คณะผู้ศึกษาได้กำหนดนิยามศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ความหมายตรงกนั ดังตอ่ ไปน้ี 6.1 คณะบุคคลในระดับจังหวัด หมายถึงกลุ่มคนหรือคณะบุคคลที่รวมตัวกัน ตามกระบวนการ วิธีการท่ีกฎหมายกำหนดให้ร่วมกัน โดยรวมตัวเพื่อเป้าหมายในการวางแผน ปฏิบัติการ และติดตามการดำเนินการด้านการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ครอบคลุมการจัดการศึกษา ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ของจังหวัดชุมพร ซึ่งมีบทบาทในการให้การสนบั สนุนส่งเสริม ก า ร พ ั ฒ น า ก า ร ศ ึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร จ ั ด ก า ร ศ ึ ก ษ า ใ ห้ เ ป ็ น ไ ป ต า ม ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ แ ผ น ป ฏ ิ ร ู ป ป ร ะเ ทศ ดา้ นการศึกษา ตลอดจนทศิ ทางการพฒั นาตามเปา้ หมายของจังหวดั ชุมพร 6.2 แนวทาง หมายถึง ผลที่เกิดข้ึนจากกรอบความคิดที่กำหนด กระบวนการ วิธีการ และ องค์ประกอบต่าง ๆ ของคณะบุคคลในระดับจังหวัดชุมพร เกี่ยวกับแนวทางการบูรณาการ ความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษา ในระดับจังหวัดชุมพร ตลอดจนรูปแบบ กลไก ในการบริหารจัดการของคณะบุคคลทีก่ ำกับดูแลและสนับสนุนการศึกษาในระดบั จังหวดั ชุมพร ใหป้ ระสบความสำเรจ็ 6.3 กฎหมายการศึกษาชาติ หมายถึง กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 และร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ ของคณะกรรมการอิสระเพ่ือ การปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 ในมาตราที่ 18เกี่ยวข้องกับการตั้งคณะบุคคลในระดับจังหวัดเพื่อพัฒนาการศึกษา ซึ่งนำมาใช้ เป็นกรอบในการวิเคราะห์ ให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้การตั้งคณะบุคคล ในระดับจงั หวัดชมุ พรประสบความสำเร็จ 6.4 รูปแบบ หมายถึง กระบวนการ วิธีการที่หน่วยงานหรือ องค์กรทางการศึกษา กำหนดให้คณะบุคคลในระดับจังหวัดชุมพร สามารถรวมตัวกันเพื่อมีส่วนร่วมด้านการศึกษา ในการชว่ ยเหลอื การจัดการเรียนรู้ตามเป้าหมายในการวางแผน ปฏิบัติการ และตดิ ตามการดำเนนิ การ ด้านการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ครอบคลุมการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ให้เป็นไปตามกฎหมายและแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ตลอดจนทิศทางการพัฒนาตาม เป้าหมายของจังหวัดชุมพร ด้วยรูปแบบ 333 หรือ 33 ใช้ภาษาอังกฤษว่า Triple Three Model ประกอบดว้ ย 6.4.1 3 ตัวแรก หมายถึง ระดับการมสี ว่ นร่วมทางการศกึ ษา 3 ระดับ ได้แก่ 1) การมสี ่วนร่วมทางการศึกษาระดับชาติ 2) การมสี ่วนรว่ มทางการศึกษาระดับภูมิภาค 3) การมีสว่ นร่วมทางการศกึ ษาระดบั จงั หวัด 6.4.2 3 ตัวที่สอง หมายถึง องค์ประกอบของคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษา ในแตล่ ะระดบั ซึ่งมี 3 ภาค โดยมีการสอ่ื สาร 2 ชอ่ งทาง ได้แก่ 1) ภาคองค์ความรู้ 2) ภาคประชาชน 3) ภาครัฐ
| หน้าที่ 7 6.4.3 3 กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมหลักของคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษา ในแตล่ ะระดบั ซึง่ มี 3 กจิ กรรมหลกั ได้แก่ 1) การวจิ ัยและพัฒนาองคค์ วามรู้ 2) การประชุมคณะบุคคลเพ่ือพัฒนาการศึกษา 3) การติดตามผลข้อเสนอเชิงนโยบายและยทุ ธศาสตรส์ ู่การปฏิบตั ิ 6.5 สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดชุมพร หมายถึงหนว่ ยงานทางการศกึ ษา สังกัดสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 5 กระทรวงศึกษาธิการ ที่ดูแลรับผิดชอบด้านการจัดการศึกษาทุกระดับ และ ทุกประเภท ในพื้นที่จังหวัดชุมพร โดยมีหนึ่งในหน้าที่ของหน่วยงานในการการวางแผน ดำเนินการ กำกับติดตาม และเสนอแนวทางการพัฒนาการแต่งตั้งคณะบุคคลในระดับจังหวัดชุมพร เพื่อพัฒนา การศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวัดชุมพร) ให้ประสบความสำเร็จ
| หน้าท่ี 8 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กยี่ วขอ้ ง การศึกษาแนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบการตั้งคณะบุคคลในระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวัดชุมพร) ผู้ศึกษาได้ดำเนินการศึกษาเอกสารและ งานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ดังน้ี 1. กฎหมายการศกึ ษาที่เกย่ี วขอ้ ง 1.1 รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 1.2 พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 1.3 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1.4 คำสง่ั คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ที่ 19/2560 1.5 ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) 1.6 แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ 1.7 แผนปฏิรปู ประเทศ 1.8 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) 1.9 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560-2579) 1.10 ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงศกึ ษาธิการ 1.11 ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาของสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 1.12 ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาการศึกษาของสำนกั งานศกึ ษาธิการภาค 5 1.13 ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวดั ชุมพร 1.14 อำนาจหน้าท่ีของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั 2. การมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาของคณะบุคคล 2.1 การมสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา 2.2 การจดั การศกึ ษาโดยการมีสว่ นร่วมของประชาชน 2.3 รูปแบบการจัดการศึกษาโดยการมสี ว่ นรว่ ม 2.4 รปู แบบการตง้ั คณะบคุ คลและการมีส่วนร่วม 3. งานวิจัยท่เี กยี่ วข้อง 3.1 งานวจิ ัยในประเทศ 3.2 งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ 1. กฎหมายการศึกษาท่เี กย่ี วข้อง 1.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 ได้กำหนดแนวทางขับเคลื่อนประเทศให้พัฒนาไปขา้ งหน้าได้อย่างเป็นขน้ั ตอนจนเกิดความมั่นคง มง่ั คัง่ และยัง่ ยนื รวมท้ังการกำหนดกรอบการพฒั นาด้านการศึกษา ไว้ในมาตรา 54 ดังน้ี
| หนา้ ที่ 9 รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ ก่อนวัยเรียนจนจบ การศึกษาภาคบังคบั อย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บคา่ ใช้จ่าย รัฐตอ้ งดำเนนิ การใหเ้ ดก็ เล็กไดร้ บั การดแู ลและพัฒนากอ่ นเขา้ รับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ และภาคเอกชนเขา้ มสี ว่ นรว่ มในการดำเนินการดว้ ย รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริม ให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตและจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริม และสนับสนุน ให้การจัดการศึกษา ดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติ ซึ่งอย่างน้อย ต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดำเนินการ และตรวจสอบการดำเนนิ การ ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติดว้ ย การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา ตามวรรคสาม รัฐต้องดำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา ตามความถนดั ของตน ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหลื่อมล้ ำ ในการศึกษา และเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณ ให้แก่กองทุนหรือใช้มาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์ สินเข้ากองทุน ได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีด้วย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่าง น้อย ต้องกําหนดให้การบริหารจัดการกองทุน เป็นอิสระและกําหนดให้มีการใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อ บรรลวุ ตั ถุประสงคด์ ังกลา่ ว 1.2 พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวดท่ี 1 บททั่วไป ความมงุ่ หมายและหลักการ มาตรา 6 กล่าวว่า การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เปน็ มนุษย์ทีส่ มบูรณ์ทงั้ ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ รว่ มกับผอู้ ื่นได้ อยา่ งมคี วามสุข 2[2] มาตรา 4 นิยามคำว่า “กฎกระทรวง” แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2545 3[3] มาตรา 5 แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 7 ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสรมิ สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความ เป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์
| หน้าท่ี 10 ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความริเร่ิม สรา้ งสรรค์ ใฝร่ ้แู ละเรียนรดู้ ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง มาตรา 8 การจัดการศึกษาให้ยึดหลักดังน้ี (1) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน (2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่าง ตอ่ เน่อื ง มาตรา 9 การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังน้ี (1) มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ (2) มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่ การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (3) มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และ จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ ประเภทการศึกษา (4) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐาน วิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และการ พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง (5) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา (6) การมีส่วนรว่ มของ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอ่ืน หมวด 3 ระบบการศกึ ษา มาตรา 15 การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย (1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวดั และประเมนิ ผล ซงึ่ เป็นเงือ่ นไขของการสำเรจ็ การศึกษาท่ีแนน่ อน (2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของ การสำเรจ็ การศกึ ษาโดยเน้อื หาและหลกั สูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปญั หาและความ ตอ้ งการของบคุ คลแตล่ ะกลมุ่ (3) การศึกษาตามอัธยาศยั เป็นการศึกษาท่ใี ห้ผู้เรียนไดเ้ รียนร้ดู ว้ ยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อ หรือแหลง่ ความรู้อ่ืน ๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ ให้มีการ เทียบโอนผลการเรียนที่ผูเ้ รียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ ไม่ว่าจะเป็นผลการ เรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบ ตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรอื จากประสบการณก์ ารทำงาน 1.3 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายและจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ประกาศ ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2562 นั้น กล่าวว่า เนื่องจากในห้วงสถานการณ์ การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รัฐบาลจึงได้กำหนดมาตรการป้องกันและ ควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ซงึ่ ทำให้สังคมไทยต้องปรับเปล่ียน ชีวิตให้เข้ากับวิถีชีวิตใหม่ หรือ New Normal จึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินการ
| หน้าที่ 11 ใหม้ ีความปลอดภัยทั้งต่อตัวผูเ้ รยี น ขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย ดังนั้น นโยบาย “การศึกษายกกำลังสอง (Thailand Education Eco – System : TE2S) เป็นการศึกษา ที่เข้าใจ Supply และตอบโจทย์ Demand” ดังกล่าว อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (เพม่ิ เตมิ ) ดงั น้ี หลักการ เพ่ือใหบ้ รรลผุ ลตามนโยบาย “การศกึ ษายกกำลงั สอง (Thailand Education Eco – System : TE2S) การศกึ ษาที่เขา้ ใจ Supply และตอบโจทย์ Demand” โดย ปลดลอ็ ก กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั ประกาศตา่ ง ๆ เพ่อื ให้เกดิ ความรว่ มมือกนั ระหวา่ งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมให้สามารถดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาได้อย่างรวดเร็ว รวมถึง การบริหารการศกึ ษาของประเทศให้ครอบคลมุ ทุกพน้ื ที่ ปรับเปลี่ยน หลักสูตรการเรยี นการสอนที่มุ่งเน้นการพัฒนาขีดความสามารถและศักยภาพให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ปรับเปลี่ยนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านศูนย์พัฒนา ศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) เพื่อให้ครู Up Skill และ Re-Skill ของตนเองได้ตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อส่งต่อความรู้ไปยังผู้เรียนให้เป็น คนดี คนเก่ง และคน ทมี่ คี ุณภาพ เปิดกว้าง เสรีทางการศึกษาให้ภาคเอกชนที่มีคุณภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา รว่ มประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผู้เรียนผา่ นศนู ย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพ่ือความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) จากแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Education Excellence Platform : DEEP) ให้ครอบคลุมผู้เรียนทั่วประเทศทั้งนี้ เพื่อนำไปสู่นักเรียนยกกำลังสอง ที่เน้นเรียนเพื่อรู้ พัฒนา ทักษะ เพื่อทำครูยกกำลังสองที่เน้นเพิ่มคนเก่งมาเป็นครู พัฒนาครูในระบบห้องเรียนยกกำลังสองที่เน้น เรียนที่บ้าน ถามที่โรงเรียน หลักสูตรยกกำลังสองที่เน้นลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สื่อการเรียนรู้ยกกำลัง สองที่เน้นเรียนผ่านสื่อผสมผสาน ผ่านช่องทางที่หลากหลาย ได้แก่ On-Site เรียนที่โรงเรียน Online เรียนออนไลน์ผ่านแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) ที่มีเนื้อหามาตรฐานจากผู้ผลิตที่เป็นภาคเอกชน On-Air เรียนผ่านโทรทัศน์ DLTV มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โดยเนื้อหามาตรฐานจากผู้ผลิตที่เป็นภาคเอกชน และ On-Demand ซึ่งสามารถเรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา ที่มีอินเทอร์เน็ตและอุปกรณ์เชื่อมต่อ โรงเรียนยกกำลัง สองที่มุ่งเน้นคุณภาพในโรงเรยี นระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อความเป็นเลิศทางวชิ าการ เพื่อความเปน็ เลศิ ทางภูมิปญั ญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชนท่ีเนน้ คุณภาพของวิทยาลยั อาชวี ศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศและ ความเชย่ี วชาญท่สี ามารถตอบโจทยท์ ักษะและความรูท้ เี่ พ่ิมความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน 1.4 คำสงั่ หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 19/2560 ตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาใน ภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ 11 ให้มีสำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั สังกัดสำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ นโยบาย และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ตา่ งๆ ทีม่ อบหมายและใหม้ ีอำนาจหน้าท่ใี นเขตจังหวดั ดงั ต่อไปนี้
| หนา้ ท่ี 12 1. รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด คณะอนุกรรมการ ศึกษาธิการจังหวัด คณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ คณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการ พัฒนาการศึกษา คณะอนุกรรมการและคณะทำงาน รวมทั้งปฏิบัติงานราชการที่เป็นไปตามอำนาจและ หนา้ ที่ของคณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวัด และตามทคี่ ณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดมอบหมาย 2. จดั ทำแผนพฒั นาการศกึ ษาและแผนปฏบิ ตั ิการ 3. สั่งการ กำกับ ดูแล เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการ หรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นไปตามนโยบายของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 4. จัดระบบ ส่งเสริม และประสานงานเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล เพอื่ การศึกษา 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาเพอ่ื คนพกิ าร ผดู้ ้อยโอกาส และผู้มคี วามสามารถพเิ ศษ 6. ดาํ เนินงานเก่ียวกบั การบรหิ ารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 7. ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการเกี่ยวกับงานด้านวิชาการ การนิเทศ และแนะแนว การศกึ ษาทุกระดบั และทุกประเภท รวมท้งั ตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา 8. ดำเนินการเกี่ยวกบั การตรวจสอบด้านการบริหารการเงิน และการบัญชีของส่วนราชการ หรือหนว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 9. สง่ เสรมิ และประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬาเพือ่ การศกึ ษา 10. ส่งเสรมิ สนับสนุน และดำเนินการเกี่ยวกบั การจัดการศึกษาเอกชน 11. ปฏิบัติภารกิจตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการหรือตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย รวมท้ัง ปฏบิ ตั ภิ ารกิจเก่ียวกบั ราชการประจำทวั่ ไปของกระทรวงศึกษาธกิ าร และประสานงานต่างๆ ในจังหวัด 1.5 ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2580) คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) และประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2561 เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศ ในระยะ 20 ปี โดยกำหนดวิสัยทัศน์ เปา้ หมาย และยุทธศาสตร์ ดงั น้ี วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” หรือเปน็ คตพิ จนป์ ระจำชาติวา่ “ม่นั คง ม่ังคัง่ ยง่ั ยนื ” ความมั่นคง หมายถึง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายใน ประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และ ปัจเจกบคุ คล และมคี วามมน่ั คงในทุกมิติ ทง้ั มติ ทิ างการทหาร เศรษฐกจิ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และการเมือง เช่น ประเทศมีความมัน่ คงในเอกราชและอธิปไตย มีการปกครองระบบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษตั รยิ ์ ทรงเป็น พระประมุข สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นท่ี ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน มีระบบการเมืองที่มั่นคงเป็นกลไกที่นำไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเนื่อง และโปรง่ ใส ตามหลักธรรมาภิบาล สงั คมมคี วามปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกำลงั เพื่อพัฒนา ประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้
| หนา้ ท่ี 13 ที่มั่นคง พอเพียงกับการดำรงชีวิต มีการออมสำหรับวัยเกษียณ ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้ำ มีที่อยอู่ าศยั และความปลอดภยั ในชวี ติ ทรพั ยส์ ิน ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืน จนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับ ผลประโยชน์จากการพัฒนาอยา่ งเท่าเทียมกนั มากข้ึน และมีการพัฒนาอย่างท่ัวถึงทุกภาคสว่ น มีคุณภาพ ชีวิตตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนที่อยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจ ในประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่างๆ ทั้งในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศ เพื่อให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต เพื่อให้สอดรับกับบริบทการพัฒนาที่ เปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทยมีบทบาทที่สำคัญในเวทีโลก และมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการคา้ อย่างแน่นแฟ้นกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสำคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคทั้งการคมนาคม ขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการทำธุรกิจ เพื่อให้เป็นพลังในการพัฒนา นอกจากนั้น ยังมี ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่องไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทนุ ทางการเงิน ทุนท่ีเป็นเครือ่ งมอื เคร่ืองจกั ร ทุนทางสงั คม และทนุ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของ ประชาชนให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้ การรักษา และการฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ ตอ่ สิ่งแวดล้อมจนเกนิ ความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนเิ วศ การผลิตและการบรโิ ภคเป็น มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม และสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายการพัฒนาท่ียง่ั ยืน ทรพั ยากรธรรมชาตมิ ีความอุดมสมบูรณ์ มากขึ้นและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสี ยสละ เพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาลมีนโยบายที่มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน และให้ความสำคัญกับการมี ส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื การพฒั นาอย่างสมดลุ มีเสถยี รภาพและยั่งยืน เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา อย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศ ในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชน เพอื่ ประชาชนและประโยชนส์ ่วนรวม โดยการประเมินผลการพฒั นาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบดว้ ย 1) ความอยดู่ มี ีสุขของคนไทยและสงั คมไทย 2) ขดี ความสามารถในการแข่งขนั การพัฒนาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้ 3) การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยข์ องประเทศ 4) ความเทา่ เทยี มและความเสมอภาคของสงั คม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสง่ิ แวดล้อม และความยั่งยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติ 6) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเขา้ ถงึ การใหบ้ ริการของภาครัฐ
| หน้าที่ 14 ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) มี 6 ยุทธศาสตร์ 1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒ นา คน เครื่องมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม และภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความ มั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทัง้ กับส่วน ราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพือ่ นบ้านและมิตรประเทศ ทั่วโลกบน พื้นฐานของหลักธรรมาภิบาลเพื่อเอื้ออำนวยประโยชน์ต่อการดำเนินการของยุทธศาสตร์ชาติ ด้านอื่นๆ ใหส้ ามารถขับเคล่อื นไปไดต้ ามทศิ ทางและเปา้ หมายที่กำหนด 2. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้น การยกระดบั ศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ บนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ 1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี ีวิต และจดุ เด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมท้ังความได้เปรยี บเชิงเปรียบเทียบ ของประเทศในด้านอื่นๆ นำมาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อให้สอดรับกับบริบท ของเศรษฐกจิ และสังคมโลกสมยั ใหม่ 2) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศใน มติ ิต่างๆ ทัง้ โครงขา่ ยระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัลและ การปรับสภาพแวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบรกิ ารอนาคต 3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึง ปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับ อนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ ประเทศไทยสามารถสรา้ งฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการคา้ และการลงทุนในเวทโี ลก ควบคู่ ไปกบั การยกระดับรายได้และการกินดีอยดู่ ี รวมถึงการเพ่ิมข้ึนของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมล้ำของคนใน ประเทศไดใ้ นคราวเดียวกนั 3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการ พฒั นาที่สำคญั เพื่อพฒั นาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวยั ให้เป็นคนดี เก่ง และมคี ุณภาพ โดยคนไทย มคี วาม พร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของ ชาติมีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตสู่การเป็น คนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอื่นๆ โดยมีสัมมาชีพ ตามความถนดั ของตนเอง 4. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนา ที่สำคัญที่ให้ความสำคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น
| หน้าที่ 15 มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิด ร่วมทำเพื่อส่วนรวม การกระจายอำนาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทย ทั้งในมิติ สขุ ภาพ เศรษฐกจิ สงั คม และสภาพแวดล้อมให้เปน็ ประชากรทม่ี คี ุณภาพ สามารถพง่ึ ตนเอง และทำประโยชน์แก่ ครอบครวั ชุมชน และสังคมให้นานท่ีสุด โดยรัฐใหห้ ลักประกันการเข้าถึงบริการและสวสั ดิการที่มีคุณภาพ อยา่ งเปน็ ธรรมและทวั่ ถงึ 5. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีเปา้ หมายการพฒั นาที่สำคัญเพ่ือนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติด้านสังคม เศรษฐกจิ สง่ิ แวดล้อม ธรรมาภบิ าล และความเปน็ หุ้นส่วนความร่วมมือระหวา่ งกันทั้งภายในและภายนอก ประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการดำเนินการ บนพ้ืนฐานการเติบโตร่วมกนั ไม่วา่ จะเปน็ ทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชวี ติ โดยให้ความสำคัญ กับการสรา้ งสมดุล ท้ัง 3 ด้าน อนั จะนำไปส่คู วามยง่ั ยืนเพอื่ คนรนุ่ ต่อไปอย่างแท้จรงิ 6. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญเพื่อปรบั เปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชน์ ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรัฐ ที่ทำหน้าที่ในการกำกับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแข่งขันมีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลัก ธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวมมีความทันสมัยและ พร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงาน เทียบไดก้ บั มาตรฐานสากล รวมทงั้ มลี กั ษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถงึ กันและเปดิ โอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามา มีส่วนร่วม เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุก ภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสำนึก ในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างสิ้นเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จำเป็นมีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนำไปสู่การลดความเหลื่อมล้ำ และเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติและการอำนวยคว ามยุติธร รมต ามหลั กนิติธร ร ม 1.6 แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ตามพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 10 บัญญัติว่า เมื่อมี พระบรมราชโองการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติแล้ว ให้คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติแต่ละด้าน จัดทำแผนแม่บทเพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ เสนอคณะกรรมการพิจารณา ใหค้ วามเหน็ ชอบและเสนอตอ่ คณะรฐั มนตรใี ห้ความเหน็ ชอบและประกาศในราชกิจจานเุ บกษา แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ ในยุทธศาสตร์ชาติ มีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น รวมทั้ง
| หน้าที่ 16 การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทด้วย โดยแผนแม่บทภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ชาติ ประกอบดว้ ย 6 ด้าน 23 ประเด็น (ข้อมลู : พฤศจิกายน 2561) ดงั นี้ 1. ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านความมัน่ คง 1.1. แผนแม่บทประเดน็ ความม่นั คง 1.2. แผนแม่บทประเดน็ การต่างประเทศ 2. ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั 2.1. แผนแมบ่ ทประเดน็ การพัฒนาการเกษตร 2.2. แผนแม่บทประเดน็ อตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 2.3. แผนแมบ่ ทประเดน็ การทอ่ งเท่ยี ว 2.4. แผนแม่บทประเดน็ การพัฒนาพ้นื ทีแ่ ละเมืองนา่ อยูอ่ ัจฉริยะ 2.5. แผนแมบ่ ทประเด็นโครงสร้างพืน้ ฐาน ระบบโลจิสติกส์ และดิจิทัล 2.6. แผนแม่บทประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่และ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม 2.7. แผนแม่บทประเดน็ เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก 3. ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ 3.1. แผนแมบ่ ทประเด็นการปรับเปล่ยี นคา่ นยิ มและวัฒนธรรม 3.2. แผนแมบ่ ทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต 3.3. แผนแมบ่ ทประเดน็ การพัฒนาการเรยี นรู้ 3.4. แผนแม่บทประเดน็ การเสริมสร้างใหค้ นไทยมีสขุ ภาวะท่ดี ี 3.5. แผนแม่บทประเดน็ การพฒั นาศกั ยภาพการกีฬา 4. ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1. แผนแม่บทประเดน็ การเสริมสร้างพลงั ทางสังคม 4.2. แผนแม่บทประเดน็ การพัฒนาความเสมอภาค และส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก 4.3. แผนแม่บทประเดน็ การสร้างหลักประกันทางสังคม 5. ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มิตรต่อสงิ่ แวดล้อม 5.1. แผนแมบ่ ทประเด็นการสร้างการเตบิ โตอย่างยัง่ ยืน 5.2. แผนแมบ่ ทประเด็นการบริหารจดั การน้ำทง้ั ระบบ 6. ดา้ นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ 6.1. แผนแม่บทประเด็นการพฒั นาการบริการประชาชนและการพัฒนาประสทิ ธิภาพภาครัฐ 6.2. แผนแม่บทประเด็นการต่อตา้ นการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ 6.3. แผนแม่บทประเดน็ การพฒั นากฎหมายและการพฒั นากระบวนการยุตธิ รรม 6.4. แผนแมบ่ ทประเด็นวจิ ยั และพัฒนานวตั กรรม 1.7 แผนการปฏริ ปู ประเทศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 กำหนดให้รัฐจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเป็นเป้าหมายระยะยาวในการพัฒนาประเทศ ประกอบกับมาตรา 257 และมาตรา 259 กำหนดให้
| หนา้ ท่ี 17 ทำการปฏิรูปประเทศเพื่อวางรากฐานการพัฒนาไปสู่ประเทศที่มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนา อย่างยัง่ ยืน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมีความสมดลุ ประชาชนในสงั คมมีโอกาสทัดเทียม กัน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครอง ในระบอบ ประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข โดยจะตอ้ งดำเนนิ การปฏิรูปอย่างต่อเนื่องในช่วงห้าปี ข้างหน้า เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนการปฏิรูปแต่ละด้าน คือ 1) ด้านการเมือง 2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุติธรรม 5) ด้านเศรษฐกิจ 6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7) ด้านสาธารณสุข 8) ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยี สารสนเทศ 9) ด้านสังคม 10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบ(ภาพรวมแผนการปฏิรูปประเทศ : สศช. มีนาคม 2561) มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร จำนวน 7 ด้าน ดังนี้ 1.7.1. แผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นการเมือง การธำรงไวซ้ ่ึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขท่มี ี ความมั่นคง มีความชอบธรรม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประเทศชาติ บ้านเมืองและประชาชน สร้างการมีส่วนร่วม รู้จักยอมรับความเห็นที่แตกต่างกัน พรรคการเมืองดำเนิน กิจกรรมโดยเปิดเผยและตรวจสอบได้และพัฒนาเป็นสถาบันทางการเมืองของประชาชน ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และรับผิดชอบต่อประชาชนในการ ปฏิบัติหน้าที่ของตน และสร้างให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองโดยสันติวิธี โดยมี เป้าหมายและประเดน็ การปฏริ ปู ท่ีเกีย่ วข้องกบั สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ดงั นี้ เป้าหมายที่ 1 ให้ประชาชนมีความรูค้ วามเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง รวมตลอดทัง้ การตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรฐั รูจ้ ักยอมรับในความเหน็ ทางการเมอื งโดยสุจริตที่แตกต่างกัน และให้ประชาชนใชส้ ิทธิเลือกต้งั และออกเสยี งประชามติโดยอิสระปราศจากการครอบงำไมว่ ่าดว้ ยทางใด ประเด็นปฏิรูปที่ 1 การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองและการมีส่วนร่วม ของประชาชนในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข พันธกิจที่ 1 การให้การศึกษาและเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุขของพลเมอื ง กลยุทธ์ที่ 1 การให้การศึกษาและเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุขของพลเมอื ง กลยทุ ธท์ ่ี 2 จัดให้มีการให้ความรู้ทางดา้ นการเมืองการปกครอง (Political Education) วัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยฯ 1.7.2 แผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ เป้าหมายปรับเปลี่ยนภาครัฐ สู่การเป็น “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน” ตาม ยุทธศาสตร์ชาติที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการของประชาชน อันจะส่งผลให้ ภาครัฐได้รับความเชื่อถือไว้วางใจจากประชาชน (Public Trust) แผนปฏิรูประเทศด้านการบริหาร
| หน้าที่ 18 ราชการแผ่นดิน กำหนดประเด็นปฏิรูปไว้ 6 ประการ และกำหนดกลยุทธ์ แผนงาน ไว้ในแต่ละประเด็น ปฏริ ูป ในสว่ นของสำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารเกย่ี วข้องอยู่ 2 ประเด็นปฏริ ปู ประเด็นปฏิรูปที่ 2 : ระบบข้อมูลภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัย และเชื่อมโยงกัน ก้าวสู่ รัฐบาลดจิ ทิ ัล กลยุทธ์ท่ี 2 นำระบบดจิ ิทัลมาใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงาน และการบริหารราชการ แผนงานท่ี 1 การพัฒนาหรือนำระบบดจิ ิทัลมาใชป้ ฏบิ ตั ิงานและการบรหิ ารราชการ เปา้ หมาย : หน่วยงานภาครฐั สามารถดำเนนิ งานตามภารกิจไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพโดยการ นำเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใช้งาน กจิ กรรม : พัฒนาหรือนำระบบดจิ ทิ ลั เพื่อรองรับทำงานตามภารกจิ เฉพาะของหน่วยงาน กิจกรรม : พัฒนาหรือนำระบบดิจิทัล เพื่อรองรับงานพื้นฐานของหน่วยงาน เช่น งาน สารบรรณ งานแผนและงบประมาณ งานพสั ดุ งานบรหิ ารบุคคล เป็นตน้ กลยุทธท์ ี่ 3 บูรณาการขอ้ มูลของหน่วยงานภาครฐั เพื่อการบริหารราชการแผ่นดิน แผนงานที่ 1 การปรับปรุงพัฒนาการจัดทำ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลดิจิทัลของ หน่วยงานภาครัฐ เป้าหมาย : หน่วยงานภาครฐั มีการจดั ทำขอ้ มูลสำคัญตามมาตรฐานทก่ี ำหนด และเชอ่ื มโยง ข้อมลู กับหน่วยงานภายนอกได้ กิจกรรม : จัดทำชุดข้อมูลสำคัญของหน่วยงานให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลที่เป็นไปตาม มาตรฐานทก่ี ำหนด เป้าหมาย : ผบู้ รหิ ารระดบั สงู มขี อ้ มูลท่ถี กู ต้อง ครบถว้ น ทนั สมยั สำหรบั ใช้ในการตัดสินใจ และการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ กิจกรรม : เชื่อมโยงข้อมูลสำคัญของต้นเข้าสู่ศูนย์ข้อมูลกลางภาครัฐเพื่อให้ผู้บริหาร ระดบั สูงสามารถนำไปใช้ในการตดั สินใจและการบริหารราชการแผ่นดินได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ แผนงานที่ 3 สนับสนุนให้นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดิน การ บริการประชาชน และการมีสว่ นรว่ มของภาคประชาชน เปา้ หมาย : บคุ ลากรภาครฐั มสี มรรถนะดา้ นการบรหิ ารจดั การขอ้ มูล การวเิ คราะห์และนำเสนอข้อมูล กิจกรรม : พัฒนาสมรรถนะบุคลากรภาครัฐในด้านการบริหารจัดการข้อมูล การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลและการใชป้ ระโยชน์ร่วมกนั ประเด็นปฏริ ปู ท่ี 3 : โครงสรา้ งภาครัฐ กะทัดรัด ปรบั ตัวไดเ้ รว็ และระบบงานมีผลสัมฤทธิ์สูง กลยุทธ์ที่ 1 ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานของรัฐ และลด/ละลาย ความเปน็ นิตบิ ุคคลของกรม แผนงานที่ 1 การดำเนินการจัดทำแผนปฏริ ูปองค์การ เปา้ หมาย : สว่ นราชการมีการจัดทำแผนปฏริ ูปองค์การ โดยมกี ารทบทวน 4 ด้าน ได้แก่ โครงสร้าง กระบวนงาน บุคลากร และกฎหมาย กิจกรรม : การดำเนินการจัดทำแผนปฏิรปู องค์การ แผนงานที่ 2 การปฏริ ปู ระบบราชการ (Government Reform)
| หนา้ ที่ 19 เป้าหมาย : ปรับปรุงประสิทธภิ าพการบรกิ ารภาครัฐ กิจกรรม : การปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพการบริการภาครัฐ (Service Reform) 1.7.3 แผนการปฏิรปู ประเทศด้านกฎหมาย กฎหมายเป็นเครื่องมือสนับสนุนการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ให้ทันต่อการพัฒนาตามกระแสโลกาภิวัตน์ เป็นธรรม และขจัดความเหลื่อมล้ำในสังคม โดยมีเป้าหมาย และประเด็นการปฏริ ูปท่ีเก่ียวขอ้ งกบั สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ดังน้ี เป้าหมายที่ 1 มีกลไกให้การออกกฎหมายเป็นกฎหมายที่ดีและเท่าที่จำเป็น รวมทั้ง มีกลไกในการทบทวนกฎหมายที่มีผลบังคับแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการ ตามมาตรา 77 ของ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ประเด็นการปฏิรูปที่ 1 มีกลไกให้การออกกฎหมายเป็นกฎหมายที่ดีและเท่าที่จำเป็น รวมทั้งมีกลไกในการทบทวนกฎหมาย ที่มีผลบังคับแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการ ตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย กิจกรรม จัดทำกฎหมายเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดทำร่างกฎหมาย การกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการตรวจสอบความจำเป็นในการตรากฎหมาย การรับฟังความคิดเห็น ของผ้เู กี่ยวข้อง การวิเคราะหผ์ ลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย เพื่อเปน็ หลักเกณฑ์ประกอบการจัดทำ รา่ งกฎหมายรวมทั้งกำหนดหลักเกณฑก์ ารประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิของกฎหมายที่มผี ลใชบ้ งั คับแล้ว 1.7.4 แผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการรักษา ฟื้นฟูให้สมบูรณ์และยั่งยืน เป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศอย่างสมดลุ ท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม มีการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคม เกิดความสมดุลระหว่างการคุ้มครองรักษาและการใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน รวมทั้งมีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพบนพื้นฐานการมีส่วน ร่วมของภาคส่วนต่างๆ โดยมีเป้าหมายและประเด็นการปฏิรูปที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธิการ ดงั นี้ เป้าหมายที่ 1 ระบบบริหารจัดการมลพิษที่แหล่งกำเนิดมีประสิทธิภาพส่งผลตอ่ คุณภาพ สงิ่ แวดล้อมและคุณภาพชวี ิตทด่ี สี ำหรบั ประชาชน ประเด็นการปฏิรูปที่ 1 เสริมสร้างระบบบริหารจัดการมลพิษที่แหล่งกำเนิดให้มี ประสิทธภิ าพ กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้และทักษะกับชุมชนและโรงเรียนในการคัดแยกขยะแต่ละประเภท รวมทัง้ ผนวกความรู้เรอื่ งการคดั แยกขยะเขา้ ไปในหลกั สตู รการเรยี นการสอน 1.7.5 แผนการปฏิรูปประเทศดา้ นส่ือสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ การสร้างดุลยภาพระหว่างเสรีภาพของการทำหน้าที่ของสื่อบนความรับผิดชอบ กับการกำกับที่มีความชอบธรรม และการใช้พื้นที่ดิจิทัลเพื่อการสื่อสารอย่างมีจรรยาบรรณ ดำรงรักษา เสรีภาพของการแสดงออก การรับรู้ของประชาชน ด้วยความเชื่อว่าเสรีภาพของการสื่อสาร คือ เสรีภาพ ของประชาชนตามแนวทางของประชาธิปไตย สื่อเป็นโรงเรียนของสังคม ในการให้ความรู้แก่ประชาชน
| หนา้ ท่ี 20 ปลูกฝังวัฒนธรรมของชาติ และปลูกฝังทัศนคติที่ดี โดยมีเป้าหมายและประเด็นการปฏิรูปที่เกี่ยวข้องกับ สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ เป้าหมาย 1. การมุ่งเน้นการสร้างดุลยภาพระหว่างเสรีภาพของการทำหน้าที่ของสื่อบนความรับผิดชอบ กับการกำกับที่มีความชอบธรรม และการใช้พื้นที่ดิจิทัลเพื่อการสื่อสารอย่างมีจรรยาบรรณดำรงรักษา เสรีภาพของการแสดงออก การรับรู้ของประชาชน ด้วยความเชื่อว่าเสรีภาพของการสื่อสารคือเสรีภาพ ของประชาชนตามแนวทางของประชาธปิ ไตย 2. สื่อเป็นโรงเรียนของสังคม ในการให้ความรู้แก่ประชาชน ปลูกฝังวัฒนธรรมของชาติ และปลกู ฝังทัศนคติท่ีดี ประเด็นการปฏิรูปท่ี 1 การปฏริ ูปการรู้เทา่ ทันส่ือของประชาชน กจิ กรรม การจัดสมั มนาเร่ือง “การรู้เทา่ ทนั ส่ือ” ในโรงเรียนและในมหาวทิ ยาลัยและในสถานที่ สาธารณะสำหรับกลมุ่ เป้าหมายท่อี ยู่นอกสถานศกึ ษาในกรงุ เทพมหานครและต่างจงั หวัดอย่างต่อเนื่อง 1.7.6 แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นสังคม คนไทยมีหลักประกันทางรายได้ในวัยเกษียณที่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปสู่การมีจิตสาธารณะเพิ่มขึ้น สังคมไทยเป็นสังคมแห่งโอกาสและ ไม่แบ่งแยก ภาครฐั มขี อ้ มูลและสารสนเทศดา้ นสงั คมท่ีบรู ณาการทุกหนว่ ยงานและเปิดโอกาสใหป้ ระชาชน สามารถเข้าถึงได้ และให้ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง โดยสามารถบริหารจัดการชุมชนได้ด้วยตนเอง โดยมเี ป้าหมายและประเด็นการปฏริ ปู ท่ีเก่ียวข้องกบั สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดังน้ี เป้าหมาย คนไทยมีการปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมไปสกู่ ารมีจติ สาธารณะเพมิ่ ขน้ึ ประเดน็ การปฏิรปู ที่ 5 การมีส่วนร่วม การเรยี นรู้ การรับรแู้ ละการส่งเสริมกจิ กรรมทางสังคม กิจกรรมท่ี 2 สรา้ งพลงั แผ่นดนิ 1.7.7 แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ ประชาชนมคี วามร้เู ก่ียวกับการทจุ รติ มีมาตรการควบคมุ การบรหิ ารจัดการของหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน และยกระดับการบังคับใช้มาตรการทางวินัยและกฎหมายต่อเจ้าพนักงานของรัฐโดย มเี ป้าหมายและประเด็นการปฏิรูปที่เกย่ี วข้องกับสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ดงั นี้ เป้าหมาย ประเทศไทยมีระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต ( Corruption Perceptions Index : CPI) อยใู่ น 20 อนั ดบั แรกของโลกในปี 2579 ประเด็นการปฏิรูปที่ 1 ดา้ นการปอ้ งกนั และเฝา้ ระวงั กลยุทธ์ที่ 1 เร่งสร้างการรับรู้และจิตสำนึกของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต ประพฤตมิ ิชอบ โดยความร่วมมอื ระหวา่ งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม กิจกรรมที่ 1.9 สร้างทัศนคติ ความรู้และปลูกฝังเยาวชนในสถานศึกษาทุกระดับ ใหร้ ังเกยี จการทจุ รติ และตระหนักถงึ โทษภัยของการทุจริตคอรร์ ปั ชน่ั ต่อประเทศชาติ ประเด็นการปฏริ ูปที่ 2 ดา้ นการปอ้ งปราม กลยุทธ์ที่ 2 ให้หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หรือผู้บังคับบัญชา มีมาตรการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
| หนา้ ท่ี 21 และเป็นตัวอย่างในการบริหารงานด้วยความซื่อตรงและรับผิดชอบ กรณีปล่อยปละละเลยไม่ดำเนินการ ใหถ้ อื เปน็ ความผดิ วนิ ัยหรอื ความผดิ อาญา กิจกรรมที่ 2.2 ปลุกจิตสำนึกให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีคุณธรรมความซื่อตรง (Integrity) โดยเนน้ ความซอ่ื ตรงต่อหนา้ ที่ (ซ่ือสัตยส์ จุ รติ ตามเปา้ หมายอยา่ งดีทีส่ ดุ ) และซื่อตรงต่อประชาชน กลยุทธ์ที่ 3 เสริมสร้างหน่วยงานตรวจสอบภายในให้เป็นกลไกอิสระและมีการเฝ้าระวัง การทุจรติ ในหนว่ ยงาน กิจกรรมที่ 3.3 วางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบ ในส่วนราชการเป็นประจำทุกปี และรายงานผลการปฏิบัติต่อผู้บังคับบัญชาเหนือตนตามระยะเวลา ท่ีกำหนด กลยุทธ์ท่ี 4 ทำใหก้ ารให้สินบนแกเ่ จ้าหน้าทีข่ องรฐั เปน็ เร่ืองทีน่ ่ารังเกียจไมพ่ งึ กระทำ กิจกรรมที่ 4.3 พัฒนาแนวทางการกำหนดมาตรการควบคุมภายในที่เหมาะสมเพื่อใช้ ในองค์กรภาครัฐและเอกชนในการป้องกันการให้สินบนและการเรียกรับสินบนของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในทุกรูปแบบ 1.8 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564 สำหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซึ่งเป็นการแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมและ วางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแลว้ มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ด้วยการ พัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) มหี ลกั การท่ีสำคัญ คือ 1) ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพื่อให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติอย่าง สมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุ้มกันและการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ดี ซึ่งเป็น เงื่อนไขที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคน มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ สังคมไทย เป็นสังคมคุณภาพ มีที่ยืนและเปิดโอกาสให้กับทุกคนในสังคมได้ดำเนินชีวิตที่ดีมีความสุข และอยู่ร่วมกัน อย่างสมานฉนั ท์ 2) ยดึ “คนเป็นศูนยก์ ลางการพัฒนา”มุง่ สร้างคุณภาพชวี ิต และสขุ ภาวะท่ีดี สำหรับคนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวัยและเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับสิ่งแวดล้อมอย่างเกื้อกูล อนุรักษ์ ฟื้นฟู ใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมอยา่ งเหมาะสม 3) ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวิสัยทัศน์ประเทศ ไทยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง พ.ศ. 2560-2564 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทย มคี วามมน่ั คง ม่งั คั่ง ย่งั ยืน เป็นประเทศพฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” หรือ เป็นคติพจน์ประจำชาตวิ า่ “มนั่ คง ม่ังค่งั ยงั่ ยืน”
| หน้าที่ 22 4) ยึด “เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579” ที่เป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี มาเป็นกรอบในการกำหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมา ควบคู่กับกรอบเปา้ หมายทยี่ ั่งยนื (SDGs) 5) ยึด “หลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล้าและขับเคลื่อนการ เจริญเติบโต จากการเพม่ิ ผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใชภ้ ูมปิ ญั ญาและนวัตกรรม” 6) ยึด “หลักการนำไปสูก่ ารปฏบิ ตั ใิ ห้เกิดผลสมั ฤทธอิ์ ย่างจริงจังใน 5 ปที ตี่ อ่ ยอดไปสู่ผลสัมฤทธิ์ ท่เี ปน็ เปา้ หมายระยะยาว” วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเปน็ คนทส่ี มบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินยั ค่านิยมท่ีดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งที่มี ทกั ษะความรคู้ วามสามารถและพฒั นาตนเองได้ต่อเน่ืองตลอดชวี ติ 2. เพอื่ ใหค้ นไทยมีความม่นั คงทางเศรษฐกจิ และสงั คม ไดร้ ับความเป็นธรรมในการเข้าถึง ทรัพยากรและบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งชุมชนมีความเข้มแข็ง พงึ่ พาตนเองได้ 3. เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืน สร้างความ เข้มแข็งของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมที่เข้มข้นมากขึ้น สร้าง ความเข้มแขง็ ของเศรษฐกจิ ฐานราก และสร้างความมน่ั คงทางพลงั งาน อาหาร และน้ำ 4. เพื่อรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สามารถสนับสนนุ การเตบิ โตทเ่ี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ มและการมคี ณุ ภาพชีวติ ท่ีดีของประชาชน 5. เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัย และมีการทำงาน เชงิ บรู ณาการของภาคกี ารพัฒนา 6. เพื่อให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อรองรับ การพัฒนายกระดบั ฐานการผลิตและบรกิ ารเดมิ และขยายฐานการผลติ และบริการใหม่ 7. เพื่อผลักดันให้ประเทศไทยมีความเชื่อมโยง (Connectivity) กับประเทศต่างๆ ทั้งใน ระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ประเทศไทยมี บทบาทนำและสร้างสรรค์ในดา้ นการค้า การบริการ และการลงทุนภายใต้กรอบความร่วมมือต่างๆ ทั้งใน ระดับอนุภูมิภาค ภมู ภิ าค และโลก เป้าหมายรวม เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ได้กำหนดเป้าหมายรวมการพัฒนา ของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 ประกอบด้วย 1. คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยท่ีสมบูรณ์ มวี ินยั มีทศั นคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดี ของสังคม มีความเป็นพลเมืองตื่นรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์มีความ รับผิดชอบและทำประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญ าณมี วิถีชีวิตทพ่ี อเพียง และมีความเปน็ ไทย
| หนา้ ท่ี 23 2. ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมี ความเข้มแข็งประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคม ที่มีคุณภาพอย่างทว่ั ถงึ และเป็นธรรม 3. ระบบเศรษฐกจิ มคี วามเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจฐาน บริการและดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาดกลางและ ขนาดเล็กที่เข้มแข็งสามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและบริการ มีระบบการผลิตและให้บริการจากฐานรายได้เดิมที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลิตและ บริการฐานความรู้ชั้นสูงใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมทั้งกระจายฐานการผลิตและ การให้บริการสู่ภูมิภาคเพื่อลดความเหลือ่ มล้ำ โดยเศรษฐกิจไทยมเี สถยี รภาพ 4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดลอ้ ม มีความมนั่ คงทางอาหาร พลงั งาน และน้ำ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจ ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 9 ยุทธศาสตร์ ดังน้ี ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ให้ความสำคัญกับการ วางรากฐานการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ เริ่มตั้งแต่กลุ่มเด็กปฐมวัยที่ต้องพัฒนาให้มีสุขภาพกายและ ใจที่ดี มีทักษะ ทางสมอง ทักษะการเรียนรู้ และทักษะชีวิต เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่กับการ พัฒนาคนไทยในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสำนึกที่ดี ต่อสังคมส่วนรวม มีทักษะความรู้ และความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงรอบตัว ทร่ี วดเรว็ บนพื้นฐานของการมีสถาบันทางสังคมท่ีเขม้ แขง็ ทั้งสถาบันครอบครัว สถาบันการศกึ ษา สถาบัน ศาสนา สถาบนั ชุมชน และภาคเอกชนท่รี ่วมกนั พัฒนาทุนมนุษย์ใหม้ ีคณุ ภาพสูง อีกท้ังยงั เป็นทนุ ทางสังคม สำคัญในการขบั เคล่อื นการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ให้ความสำคัญกับ การดำเนินการยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมให้ทั่วถึงโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการศึกษาและ สาธารณสุข รวมทั้งการปิดช่องว่างการคุ้มครองทางสังคมในประเทศไทยซึ่งเป็นการดำเนินงานต่อเนื่อง จากที่ได้ขับเคลื่อนและผลักดันในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และมุ่งเน้นมากขึ้นในเรื่องการเพิ่มทักษะ แรงงานและการใช้นโยบายแรงงานที่สนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพแรงงานและเสริมสรา้ งรายได้สงู ขึ้น และ การสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและสงั คมโดยเฉพาะอย่างยิง่ การสนบั สนนุ ในเรื่องการสร้างอาชีพ รายได้ และให้ ความช่วยเหลือที่เชื่อมโยง การเพิ่มผลิตภาพสำหรับประชากรกลุ่มร้อยละ 40 รายได้ต่ำสุด ผู้ด้อยโอกาส สตรี และผู้สูงอายุ อาทิ การสนับสนุนธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชนและ วิสาหกิจเพ่ือสังคมการพัฒนาองค์กรการเงิน ฐานรากและการเขา้ ถงึ เงนิ ทุนเพือ่ สรา้ งอาชีพ และการสนับสนุน การเข้าถึงปัจจัยการผลิตคุณภาพดีที่ราคาเป็นธรรม เป็นต้น และในขณะเดียวกันก็ต้องเพิ่มประสิทธิภาพ การใชง้ บประมาณเชงิ พ้ืนทีแ่ ละบรู ณาการเพื่อการลดความเหลื่อมล้ำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน เน้นให้ เศรษฐกิจเติบโตได้ตามศักยภาพและมีเสถียรภาพ ภาคส่งออกมีการพัฒนาจนสามารถขยายตัวและเป็น กลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ผลิตภาพการผลิตของประเทศเพิ่มขึ้น การลงทุนภาครัฐและ
| หน้าท่ี 24 เอกชนมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมาจากความร่วมมือกันมากขึ้น ประชาชนและผู้ประกอบการเข้าสู่ ระบบภาษีมากขึ้น และประเทศไทยมขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ สงู ข้นึ นอกจากน้ี ยังเนน้ ให้เศรษฐกิจรายสาขามีการเติบโตอย่างเข้มแข็ง ภาคการเกษตรเน้นเกษตรกรรมยั่งยืนและให้เกษตรกร มรี ายไดเ้ พม่ิ ขึ้น มีการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมนิเวศ การทอ่ งเที่ยวสามารถทารายได้และแข่งขนั ได้มากข้ึน วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมมีบทบาทต่อระบบเศรษฐกจิ มากขึน้ ภาคการเงินมปี ระสทิ ธิภาพเพิ่มขึ้น และใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นก้าวหน้าที่เข้มข้นมากขึ้น การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล การพัฒนาและยกระดับคุณภาพของกำลังคน และความคิดสร้างสรรค์ในการขยายฐานเศรษฐกิจ การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ การผสมผสานภาคบริการ เขา้ กบั การคา้ และการเตรียมความพร้อมของภาคบริการ ให้สามารถรองรับการแขง่ ขันทเ่ี สรีข้ึน ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยนื ประเด็นท้าทาย ที่ต้องเร่งดำเนินการในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้แก่ การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากร ธรรมชาติและยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ คุณภาพชีวิตของประชาชน เร่งแก้ไขปัญหาวิกฤติสิ่งแวดล้อมเพื่อลดมลพิษที่เกิดจากการผลิต และ การบริโภค พัฒนาระบบบริหารจัดการที่โปร่งใสเป็นธรรม ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมเป็นวงกว้างมากขึ้น ต้องเร่งเตรียมความพร้อมในลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเพิ่ม ขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยง ด้านภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสูค่ วามมัน่ คั่งและยั่งยืน ให้ความสำคัญต่อการฟื้นฟูพื้นฐานด้านความมั่นคงที่เป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนา ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติของผู้มีความเห็นต่าง ทางความคิดและอุดมการณ์บนพื้นฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุขและการเตรียมการรับมือกับภัยคุกคามข้ามชาติซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างมีนัยยะสำคัญ ตอ่ การพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศในระยะ 20 ปีขา้ งหนา้ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ ธรรมาภิบาลในสังคมไทย เป็นช่วงเวลาสำคัญที่ต้องเร่งปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดผลสัมฤทธิ์ อย่างจริงจัง เพื่อให้เป็นปัจจัยสนับสนุนสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาประเทศในทุกด้านให้ประสบ ผลสำเรจ็ บรรลุเปา้ หมาย ทั้งการบริหารจัดการภาครัฐให้โปรง่ ใส มีประสิทธภิ าพ รับผิดชอบ ตรวจสอบได้ อย่างเป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม มีการกระจายอำนาจ และแบ่งภารกิจรับผิดชอบที่เหมาะสม ระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น และวางพื้นฐานเพื่อให้บรรลุตามกรอบเป้าหมายอนาคตในปี 2579 ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ มุ่งเน้นการขยาย ขีดความสามารถและพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจหลัก และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกกลุ่มในสังคม สนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงในอนุภูมิภาคและใน อาเซียนอย่างเป็นระบบ โดยมีโครงข่ายเชื่อมโยงภายในประเทศที่สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ตามแนว ระเบียงเศรษฐกิจต่างๆ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและการกำกับดูแลให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล
| หน้าที่ 25 เพื่อเพิ่มประสิทฺธิภาพ การดำเนินการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการพื้นฐาน และการคุ้มครอง ผู้บริโภคการพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ และการพัฒนา ผ้ปู ระกอบการในสาขาโลจิสตกิ สแ์ ละหน่วยงานที่มีศักยภาพเพ่ือไปทำธุรกิจในตา่ งประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 8 การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวตั กรรม ใหค้ วามสำคัญกับการ ใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพัฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและ ความคิดสร้างสรรค์อย่างเข้มข้นทั้งในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม รวมทั้งให้ความสำคัญกับ การพัฒนาสภาวะแวดล้อมหรือปัจจัยพน้ื ฐานท่เี อื้ออำนวยท้ังการลงทุนดา้ นการวิจัยและพัฒนา การพฒั นา บุคลากรวิจยั โครงสร้างพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และการบริหารจัดการ เพอื่ ช่วยขับเคล่ือน การพฒั นาประเทศใหก้ า้ วสเู่ ป้าหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ประเทศไทยต้องใช้ ประโยชนจ์ ากศกั ยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพ้ืนท่ี และการดำเนินยุทธศาสตรเ์ ชิงรุกเพ่ือเสริมจุดเด่นใน ระดับภาคและจังหวัดในการเป็นฐานการผลิตและบรกิ ารที่สำคัญ ประกอบกับการขยายตัวของประชากร ในเขตเมืองจะเปน็ โอกาสในการกระจายความเจริญและยกระดับรายไดข้ องประชาชนโดยการพัฒนาเมือง ให้เป็นเมืองน่าอยู่และมีศักยภาพในการรองรับการค้าการลงทุน รวมทั้งลดแรงกดดันจากการกระจุกตัว ของการพัฒนาในกรุงเทพฯ และภาคกลางไปสู่ภูมิภาค นอกจากนี้ การเป็นส่วนหนึ่งของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนยังเป็นโอกาสในการเปิดพื้นที่เศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดนเชื่อมโยงการค้าการลงทุนใน ภูมิภาคของไทยกับประเทศเพอ่ื นบ้านอีกด้วย 1.9 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560 – 2579) สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา ไดจ้ ดั ทำแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ขึ้นเพือ่ วาง กรอบเปา้ หมายและทิศทางการจดั การศึกษาของประเทศ โดยมสี าระสำคญั ดงั นี้ วิสัยทัศน์ คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่าง เป็นสขุ สอดคล้องกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ พฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ 3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และรว่ มมอื ผนึกกำลงั มุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพอ่ื นำประเทศไทยกา้ วขา้ มกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมลำ้ ภายในประเทศลดลง ยทุ ธศาสตร์ ประกอบ 6 ยทุ ธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมัน่ คงของสังคมและประเทศชาติ เปา้ หมาย 1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
| หนา้ ท่ี 26 2. คนทกุ ช่วงวยั ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้และพ้ืนท่ีพเิ ศษได้รับ การศึกษาและเรียนร้อู ย่างมคี ุณภาพ 3. คนทุกช่วงวยั ไดร้ บั การศกึ ษา การดูแลและป้องกันจากภยั คกุ คามในชีวิตรปู แบบใหม่ แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข 2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสรมิ โอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ กิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พื้นที่สูง พื้นที่ตามแนวตะเข็บชายแดน และพื้นที่เกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และ วฒั นธรรม กลมุ่ ชน-ชายขอบ และแรงงานตา่ งดา้ ว) 4. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบ ใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรนุ แรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพตดิ ภัยพบิ ตั จิ ากธรรมชาตภิ ยั จากโรคอุบัติ ใหมภ่ ัยจากไซเบอร์ เปน็ ต้น ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การผลติ และพัฒนากำลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรมเพ่ือสรา้ งขดี ความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ เป้าหมาย 1. กำลงั คนมีทักษะที่สำคัญจำเป็น และมีสมรรถนะตรงตามความตอ้ งการของตลาดงาน และการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2. สถาบนั การศกึ ษาและหนว่ ยงานทจ่ี ัดการศกึ ษาผลิตบณั ฑติ ทีม่ ีความเช่ียวชาญและเป็นเลิศ เฉพาะดา้ น 3. การวิจัย และพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและ มลู คา่ เพิ่ม ทางเศรษฐกจิ แนวทางการพัฒนา 1. ผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาทีต่ รงตามความต้องการของตลาดงาน และการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ 2. ส่งเสริมการผลิตและพฒั นากำลังคนทม่ี ีความเชยี่ วชาญและเป็นเลิศเฉพาะดา้ น 3. ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมทีส่ ร้างผลผลติ และ มลู คา่ เพิม่ ทางเศรษฐกิจ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ เปา้ หมาย 1. ผเู้ รยี นมีทกั ษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทกั ษะและคุณลักษณะท่ี จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 2. คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ และพฒั นาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ
| หนา้ ท่ี 27 3. สถานศึกษาทุกระดบั การศึกษาสามารถจดั กิจกรรม/กระบวนการเรยี นรู้ตามหลักสูตร ได้อย่างมีคณุ ภาพ และมาตรฐาน 4. แหลง่ เรียนรู้ สือ่ ตำราเรียน นวตั กรรมและสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานท่ี 5. ระบบและกลไกการวดั การติดตามและประเมินผลมปี ระสิทธภิ าพ 6. ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล 7. ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้รบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน แนวทางการพฒั นา 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนา คุณภาพชีวิตอยา่ งเหมาะสม เต็มตามศกั ยภาพในแต่ละชว่ งวัย 2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อตำราเรียน และสื่อการเรียนรู้ต่างๆ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงแหลง่ เรยี นรไู้ ด้โดยไมจ่ ำกัดเวลาและสถานที่ 3. สรา้ งเสริมและปรับเปล่ียนค่านิยมของคนไทยใหม้ วี ินยั จิตสาธารณะ และพฤติกรรมท่ี พึงประสงค์ 4. พัฒนาระบบและกลไกการตดิ ตาม การวัดและประเมินผลผูเ้ รยี นใหม้ ีประสิทธภิ าพ 5. พฒั นาคลงั ขอ้ มลู สอื่ และนวตั กรรมการเรยี นรู้ ทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน 6. พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา 7. พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา เปา้ หมาย 1. ผูเ้ รียนทุกคนไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพ 2. การเพิม่ โอกาสทางการศกึ ษาผ่านเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อการศึกษาสำหรบั คนทุกชว่ งวัย 3. ระบบข้อมูลรายบุคคล และสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน เพอื่ การวางแผนการบรหิ ารจดั การศึกษา การตดิ ตามประเมิน และรายงานผล แนวทางการพฒั นา 1. เพ่มิ โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพ 2. พฒั นาระบบเทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื การศึกษาสำหรบั คนทกุ ช่วงวยั 3. พฒั นาฐานขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษาทมี่ มี าตรฐาน เช่ือมโยงและเข้าถงึ ได้ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพือ่ สร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม เปา้ หมาย 1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติ 2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิง่ แวดลอ้ ม คุณธรรม จรยิ ธรรม และการนำแนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติ
| หน้าที่ 28 3. การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็น มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม แนวทางการพัฒนา 1. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำ แนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบตั ิในการดำเนนิ ชีวิต 2. ส่งเสรมิ และพัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้ และสอื่ การเรียนรู้ต่างๆ ท่ี เก่ยี วขอ้ งกับการสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม 3. พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรม ด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็น มติ รกับสิง่ แวดล้อม ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา เปา้ หมาย 1. โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ 2. ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพ และประสทิ ธิผลสง่ ผลต่อคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา 3. ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนและพน้ื ท่ี 4. กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะที่ แตกต่างกนั ของผเู้ รยี น สถานศึกษา และความตอ้ งการกำลังแรงงานของประเทศ 5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา มีความเป็นธรรม สรา้ งขวัญกำลงั ใจ และส่งเสริมใหป้ ฏบิ ัติงานได้อย่างเต็มตามศกั ยภาพ แนวทางการพัฒนา 1. ปรบั ปรงุ โครงสร้างการบรหิ ารจัดการศึกษา 2. เพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การสถานศึกษา 3. สง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วนในการจดั การศกึ ษา 4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพื่อการศึกษา ที่ส่งผลต่อคุณภาพและ ประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษา 5. พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 1.10 ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการมีกรอบทิศทางการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา ใน ภาพรวมของประเทศ ตามแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2563-2565) ที่สอดคล้องกับแผน แมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติในช่วงแรก (พ.ศ. 2561-2565) ดังนี้ เปา้ หมายหลกั 1. คุณภาพการศกึ ษาของไทยดีขึ้น ผเู้ รียนมคี ุณลักษณะตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ 2. ครูมสี มรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชพี
| หน้าที่ 29 3. สถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานในภูมภิ าค มที รพั ยากรพ้ืนฐานที่เพยี งพอตามเกณฑ์มาตรฐาน 4. ผู้เรยี นทกุ กลุม่ ทกุ ช่วงวัยได้รับโอกาสในการเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต 5. ระบบและวธิ กี ารคดั เลือกเพ่อื การศึกษาต่อ ได้รับการพฒั นา ปรบั ปรงุ แก้ไข 6. ผ้เู รียนในแต่ละระดบั การศกึ ษา ได้รบั การเพ่ิมเตมิ ความรู้ ทักษะในการประกอบอาชีพ ทตี่ รงกับสภาพตลาดแรงงานในพื้นท่ชี มุ ชน สังคม จงั หวัด และภาค 7. กำลงั คนได้รับการผลติ และพฒั นาตามกรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาติ 8. ผเู้ รียนปฐมวัยไดร้ ับการเตรยี มความพรอ้ มในดา้ นสุขภาพและโภชนาการ ร่วมกบั หนว่ ยงานที่เกยี่ วข้อง 9. มีองค์ความรู้ นวตั กรรม สิง่ ประดษิ ฐ์ ท่ีสนับสนุน วิสัยทัศน์ “กระทรวงศึกษาธิการวางระบบเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพ้นื ฐานชีวิตทม่ี ั่นคง มีคุณธรรม มีงานทำ มอี าชีพ และเปน็ พลเมอื งทเี่ ขม้ แขง็ ” พันธกิจ 1. ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา 2. ลดความเหลื่อมล้ำทางการศกึ ษา 3. มงุ่ ความเปน็ เลศิ และสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 4. ปรับปรงุ ระบบบรหิ ารจัดการศึกษาให้มีประสทิ ธภิ าพในการใชท้ รัพยากร เพ่ิมความ คลอ่ งตัวนการรองรับความหลากหลายของการจดั การศึกษา และสร้างเสริมธรรมาภิบาล ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 พฒั นาหลักสตู ร กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ผลติ และพฒั นากำลังคน รวมท้ังงานวิจัยท่ีสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการ ของประเทศ ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 เพมิ่ โอกาสใหค้ นทกุ ชว่ งวัยเข้าถงึ บรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง ตลอดชวี ติ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 ส่งเสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพือ่ การศึกษา ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาระบบบริหารจัดการและสง่ เสริมใหท้ ุกภาคสว่ นมีส่วนรว่ ม ในการจดั การศกึ ษา 1.11 ยุทธศาสตร์การพฒั นาการศกึ ษาของสำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีทิศทางการพัฒนา ดังน้ี วิสัยทศั น์ การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้ตลอด ชวี ติ อย่างมีคุณภาพและมที ักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
| หนา้ ที่ 30 พันธกิจ 1. ส่งเสริม สนบั สนุน การบริหารและจัดการศึกษาแบบบรู ณาการ ทุกระดับ ทกุ พ้ืนทีอ่ ยา่ ง มปี ระสิทธภิ าพ สง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพของผ้เู รยี น 2. สง่ เสรมิ สนับสนนุ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหส้ อดคลอ้ งกบั ทกั ษะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษที่ 21 3. สง่ เสรมิ สนบั สนุนการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศกึ ษาอยา่ ง ทั่วถงึ ตามศักยภาพของผู้เรียน เพ่อื ลดความเหลือ่ มลำ้ ทางการศึกษา 4. ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและพัฒนาศักยภาพของ ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะที่จำเป็นของ ผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 เปา้ ประสงคร์ วม 1. สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการมกี ารบรหิ ารและการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการตาม หลกั ธรรมาภิบาล 2. ผเู้ รยี นมีการศกึ ษาและเรียนร้ตู ลอดชวี ติ ทมี่ ีคุณภาพและมีทักษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 3. ผเู้ รียนไดร้ ับโอกาสเขา้ ถงึ การศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพอย่างทว่ั ถึงและเสมอภาค 4. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะที่จำเป็นของ ผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ 1. พฒั นาการจดั การศึกษาเพ่ือความม่ันคง 2. พัฒนากำลงั คน การวจิ ยั เพอ่ื สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 3. พฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ใหม้ คี ุณภาพ 4. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 5. พัฒนาระบบบริหารจดั การใหม้ ปี ระสิทธิภาพ เป้าประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ผู้เรียนมีคุณภาพ ทกั ษะ และสมรรถนะการเรียนรู้ท่จี ำเป็นในศตวรรษที่ 21 สอดคล้อง เหมาะสมกับการเสริมสร้างความม่ันคงในแตล่ ะบริบท 2. ผเู้ รยี น ขา้ ราชการ ครู บคุ ลากรทางการศึกษามสี มรรถนะท่ีตอบสนองความต้องการของ ตลาดแรงงานและการแข่งขันของประเทศ 3. ผู้เรียนมีคณุ ภาพ ทกั ษะ และสมรรถนะการเรียนรู้ทจ่ี ำเป็นในศตวรรษที่ 21 4. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา มสี มรรถนะท่ีส่งผลตอ่ การพฒั นาทกั ษะทีจ่ ำเป็นของผเู้ รยี นใน ศตวรรษท่ี 21 5. หน่วยงานและสถานศกึ ษามกี ิจกรรมส่งเสริมคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์และปรบั เปลย่ี น พฤติกรรมให้เปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม 6. ผู้เรียนไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ อยา่ งทวั่ ถงึ และเสมอภาคดว้ ยรูปแบบท่ีหลากหลาย
| หน้าท่ี 31 7. หนว่ ยงานมีระบบการบริหารจัดการทีม่ ีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของผู้รบั บริการได้ อย่างสะดวก รวดเรว็ โปร่งใส ตามหลักธรรมาภิบาล 1.12 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาการศกึ ษาของสำนักงานศึกษาธิการภาค 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาของสำนักงานศึกษาธิการภาค 5 ซึ่งประกอบด้วยจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา โดยภาคการศึกษาที่ 5 ตั้งอยู่ที่จังหวัด นครศรธี รรมราช ไดจ้ ัดทำแผนพฒั นาด้านการศึกษาระดับภาคใต้ พ.ศ.2563-2565 (ฉบับทบทวน) ดังนี้ วสิ ยั ทัศน์ : คนไทยทุกคนไดร้ บั การพฒั นาศักยภาพและการเรยี นร้ตู ลอดชว่ งชีวิตอย่างมีคุณภาพ รองรบั ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาภาคใต้ ยุทธศาสตร์ 1. ผลิตและพฒั นากำลังคนให้มีศักยภาพรองรบั อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวและการบรกิ าร 2. ผลิตและพฒั นากำลงั คนให้มที ักษะและสมรรถนะทางวิชาชีพรองรับการพัฒนาอตุ สาหกรรม การแปรรูปยางพาราและปาล์มนำ้ มันแห่งใหม่ของประเทศ 3. ผลติ และพัฒนากำลงั คนให้มที ักษะและสมรรถนะวชิ าชีพ รองรับการพฒั นาการผลติ สนิ ค้า เกษตรหลกั ของภาคและสรา้ งความเข้มแข็งสถาบันเกษตรกร 4. ศกึ ษาและวิจยั เพ่ือพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานทส่ี นับสนุนการท่องเที่ยวการพฒั นาเขต อตุ สาหกรรมและการเชือ่ มโยงการคา้ โลก 5. จดั การเรียนรู้ เพื่ออนรุ ักษ์ ฟ้ืนฟแู ละบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มอยา่ ง เป็นระบบเพื่อเป็นฐานการพัฒนาทย่ี ่ังยนื 6. พัฒนาศกั ยภาพของคนใหม้ ีความพรอ้ มสำหรับการพฒั นาพนื้ ท่รี ะเบียงเศรษฐกิจภาคใต้อยา่ งยง่ั ยืน เปา้ ประสงค์ 1. สถาบันการศกึ ษาเปิดสอนหลักสูตรเฉพาะทางด้านการท่องเทย่ี วและการบรกิ ารที่สอดคล้องกับ ศักยภาพและความตอ้ งการของสถานประกอบการในภูมิภาค 2. ประชากรวยั เรียนมขี่ าดแคลนทุนทรัพย์ไดศ้ ึกษาต่อในสายอาชีพ 3. สรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื ระหว่างสถาบันการศกึ ษากับสถานประกอบการทง้ั ในและ ต่างประเทศ 4. ผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษามีทักษะ สมรรถนะและมาตรฐานคุณวุฒวิ ิชาชพี ตามความตอ้ งการของสถาน ประกอบการ 5. การนำแพลทฟอรม์ การเรียนรู้ และเทคโนโลยดี จิ ิทัล มาใช้ในการจัดการศึกษา เพ่อื เสรมิ สร้าง ทักษะ สมรรถนะที่จำเป็นให้ตอบสนองกับความต้องการของสถานประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยวและ การบริการ 6. แรงงานในภมู ภิ าคมีความรแู้ ละศกั ยภาพในการทำงานในอตุ สาหกรรมแปรรปู ยางพารา 7. แรงงานในภูมภิ าคมีความรคู้ วามเข้าใจและทักษะรองรบั อุตสาหกรรมโอเลโอเคมคิ อล 8. อุตสาหกรรมแปรรูปยาพาราและอุตสาหกรรมโอเลโอเคมีคอล ดำเนินการอยา่ งเป็นมติ รกบั สิง่ แวดล้อม
| หน้าที่ 32 9. สถาบนั อาชวี ะในภาคใตม้ ีหลกั สตู รการใชเ้ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการผลติ ภาคเกษตร แนวใหม่ 10. นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิตเกษตรแนวใหม่ 11. สนิ คา้ เกษตรอัตลกั ษณ์พนื้ ถิ่นมมี ูลคา่ เพ่ิมขึ้น 12. สินค้าเกษตรปลอดภัยมีมลู ค่าเพ่มิ ข้ึน 13. ผลติ ภณั ฑเ์ กษตรปลอดภยั ของไทยไดร้ ับการยอมรับด้านคุณภาพความปลอดภยั และคุณคา่ ทาง โภชนาการสงู ขึน้ 14. เกษตรกรมศี ักยภาพในการทำเกษตรแบบผสมผสาน 15. วิสาหกิจชมุ ชนการเกษตรจากฐานชีวภาพมีจำนวนเพมิ่ ข้ึน 16. ผลิตและพฒั นากำลงั คนให้มที ักษะและสมรรถนะรองรบั การพัฒนาและผลติ สินคา้ งการเกษตร ท่ไี ดจ้ ากเทคโนโลยีสมัยใหม่เพมิ่ ขึน้ 17. เด็กเกดิ อยา่ งมคี ณุ ภาพ มีพัฒนาการสมวัยสามารถเข้าถงึ บริการทม่ี ีคุณภาพมากขน้ึ 18. วยั เรียน วัยรุ่น มีความในศตวรรษท่ี 21 ครบถว้ น รู้จักคิดวเิ คราะห์ รักการเรยี นรู้ มีจติ สำนกึ 19. แรงงานมีศักยภาพในการเพิม่ ผลผลิต มีทกั ษะอาชีพ 20. ผู้สูงอายุมคี ุณภาพชวี ิตทีด่ ี มีความมัน่ คงในชีวิตมีทกั ษะการดำรงชีวิตเรยี นรู้ พัฒนาตลอดชวี ติ 21. พัฒนาระบบฐานข้อมลู ดา้ นการศกึ ษา (Big Data) 22. ยกระดับฐานข้อมลู สารสนเทศด้านข้อมลู คน อุตสาหกรรม เพอ่ื ตอบสนองเขตอุตสาหกรรม และสภาพปัญหาของท้องถิ่น 23. คณุ ภาพชวี ิต ศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์และความเสมอภาคทางสังคมได้รบั การยกระดับ เพม่ิ ข้ึนจากผลการวิจัยเชงิ ท่องเทย่ี ว 24. สดั สว่ นการลงทุนวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนตอ่ ภาครฐั เพ่ิมข้ึน 25. คณุ ภาพชีวิต ศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์และความเสมอภาคทางสงั คมได้รบั การยกระดบั เพ่มิ ข้ึน และพฒั นานวัตกรรมเชงิ สังคม 26. สร้างนวตั กรรมเชงิ ทอ่ งเท่ยี วด้วยภูมิปญั ญาท้องถ่ินและวฒั นธรรมท่เี ป็นเอกลักษณ์ 27. สร้างนวตั กรรมเพื่อพัฒนาเขตการอุสาหกรรมและเชื่อมโยงการค้า 28. สถานศกึ ษามหี ลกั สูตรด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมในอุตสาหกรรมเพมิ่ ขน้ึ 29.คนไทยมีความสามารถในการใชว้ ทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี นวัตกรรมในอตุ สาหกรรมเป้าหมายเพิ่มขน้ึ 30. ผู้เรยี นดำรงชวี ติ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและมที ักษะความเป็นพลเมือง 31. ผเู้ รยี นมคี วามรู้ในการใช้พลงั งานทดแทนและพลังงานทางเลือกอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 32. สถานศึกษาบูรณาการจัดการเรียนการสอนด้านการใช้พลังงานทดแทน 33. สถานศึกษามีกระบวนการจัดการเรียนรู้เพ่ืออนรุ ักษ์ ฟน้ื ฟูทรัพยากรธรรมชาติท่ยี งั่ ยืน 34. สถานศกึ ษาจัดการเรียนรู้เพื่อพฒั นาการบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งเปน็ ระบบ 35. การขยายตวั ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของพื้นทร่ี ะเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ 36. การลงทุนในพืน้ ทร่ี ะเบยี งเศรษฐกจิ ภาคใต้เพิม่ ขึ้น 37. เมืองในพื้นทร่ี ะเบยี งเศรษฐกิจภาคใต้ทไี่ ด้รับการพฒั นาใหเ้ ป็นเมืองน่าอยู่มากขึ้น
| หนา้ ท่ี 33 1.13 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาจังหวดั ชมุ พร การกำหนดตำแหนง่ ในการพัฒนาจังหวัด (Positioning) จังหวัด ได้วิเคราะห์ศักยภาพและอุปสรรค ในแผนพัฒนาจังหวัด โดยนำเอาข้อมูลข้อเท็จจริงผ่านกระบวนการวิเคราะห์โดยกระบวนการมีส่วนร่วม จากภาคส่วนต่างๆ ประกอบด้วย ภาคราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม ประกอบกบั พิจารณาปัญหา และความต้องการในการพัฒนาของพื้นที่ (Area) อำเภอต่างๆ และได้ร่วมกันกำหนดตำแหน่งการพัฒนา ชุมพร “การพัฒนาการเกษตร ควบคู่การท่องเที่ยวอย่างมีคุณภาพ”และได้กำหนดยุทธศาสตร์การ พฒั นาจังหวัดเป็น 4 ดา้ น ประกอบดว้ ย ประเดน็ การพฒั นาที่ 1 การพัฒนาการเกษตรกรรม สู่การเกษตรคุณภาพและเกษตรทันสมัย ประเดน็ การพัฒนาที่ 2 การพัฒนาการทอ่ งเที่ยว เพือ่ เป็นแหล่งทอ่ งเทีย่ วช้ันนำและเปน็ ประตูสู่การ ทอ่ งเที่ยวฝ่งั อ่าวไทย และอันดามัน ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐาน คมนาคม และโลจิสติกส์ ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การพัฒนาคน ชุมชน และสังคมให้ความมั่นคงตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และความมัน่ คงปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ย์สิน ประเด็นการพัฒนาท่ี 5 การบริหารจัดการทรพั ยากรรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มให้มคี วามสมดลุ และยัง่ ยืน เป้าหมายการพฒั นาจังหวัด “ชุมพรเมืองน่าอยู่ บนพื้นฐานการเกษตรกรรมและการท่องเที่ยวคุณภาพ เชื่อมโยงการพัฒนาสอง ฝ่งั ทะเล” ประเด็นการพัฒนาจังหวัด ประเดน็ การพฒั นาท่ี 1 การพัฒนาการเกษตรกรรม สู่การเกษตรคุณภาพและเกษตรทนั สมัย วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื เพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลิตสนิ ค้าเกษตรและสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขนั บนพื้นฐานการผลิตเชงิ คณุ ภาพและเกษตรปลอดภยั 2. เพื่อประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีตา่ งๆ เพอื่ พฒั นาการผลติ แปรรูป และการตลาดสนิ ค้าเกษตร ตวั ชี้วดั ร้อยละทีเ่ พมิ่ ข้นึ ของมลู ค่าสินค้าเกษตรของจังหวัดเมอ่ื ดทยี บกบั คา่ เฉลี่ย 3 ปยี ้อนหลัง แนวทางการพฒั นา 1. พฒั นาประสิทธิภาพการผลติ แปรรปู และการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร 2. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี อินเตอร์เนต็ ในการผลิต แปรรปู และการตลาด ของสนิ คา้ เกษตร ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวชั้นนำและเป็นประตูสู่การ ท่องเท่ยี วฝ่ังอา่ วไทย และอันดามนั วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือพฒั นาการท่องเทีย่ วอย่างครบวงจร เพอื่ รองรับการทอ่ งเทีย่ วระดบั นานาชาติ 2. เพอ่ื ให้จงั หวัดชุมพร เป็นประตสู ู่การทอ่ งเท่ียวฝัง่ อ่าวไทยและอนั ดามนั
| หน้าที่ 34 ตวั ชวี้ ัด ร้อยละทเี่ พิม่ ขนึ้ ของรายได้จากการทอ่ งเที่ยวของจังหวดั เมอ่ื เทียบกับค่าเฉลี่ย 5 ปียอ้ นหลัง แนวทางการพฒั นา 1. การปรบั ปรงุ สถานท่ีท่องเทยี่ ว และการพฒั นากจิ กรรมการท่องเทีย่ วในพ้ืนที่ 2. การพัฒนา/ปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐาน เพอ่ื การท่องเทีย่ ว 3. พัฒนาฐานข้อมลู ท่เี ก่ยี วข้องกับการท่องเทีย่ ว 4. พฒั นาบุคลากรในอุตสาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว ประเด็นการพฒั นาที่ 3 การพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐาน คมนาคม และโลจสิ ติกส์ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม ระบบและการบริหารโลจิสติกส์เพื่อ สนบั สนุนการพฒั นาด้านตา่ ง ๆ ของจงั หวัด ตัวช้ีวัด จำนวนสายทางทไ่ี ด้รบั การปรับปรงุ แนวทางการพฒั นา 1. พัฒนา/ปรบั ปรุง โครงสร้างพน้ื ฐาน เพือ่ การคมนาคม การท่องเทีย่ วและการเกษตร 2. พฒั นาระบบสาธารณูปโภค 3. วางโครงสรา้ งพื้นฐาน และการบริหารจดั การด้านโลจสิ ตกิ ส์ 4. พฒั นาพลงั งานทดแทน ประเด็นการพัฒนาท่ี 4 การพัฒนาคน ชมุ ชน และสงั คมใหค้ วามม่ันคงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง และความม่นั คงปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ย์สิน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสรา้ งศกั ยภาพคน ครอบครวั ชุมชนและสังคมทมี่ คี ณุ ภาพ 2. พฒั นาคนใหม้ ีคุณภาพชวี ติ ท่ีดี (มีอาชพี มีการศกึ ษาดี มคี วามปลอดภยั ในชีวติ และ ทรพั ยส์ นิ มสี ุขภาพทด่ี ี และมสี ทิ ธิ สวัสดกิ ารท่ีดี) ตัวชวี้ ัด 1. จำนวนหม่บู ้านทป่ี ระชาชนดำเนินชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งอย่าง เปน็ รปู ธรรม 2. รอ้ ยละของผู้สงู อายแุ ละคนพกิ าร และประชาชนทั่วไปทไี่ ดร้ ับการพฒั นาศกั ยภาพ พัฒนาอาชีพ และทักษะการทำงานทเ่ี พิ่มขึน้ จากฐานเดิม (base line) 3. ร้อยละที่ลดลงของสถิติคดอี าญาต่อปี แนวทางการพัฒนา 1. สง่ เสริมการดำเนินชีวิตตามหลกั ศาสนาและแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. พฒั นาศักยภาพและคณุ ภาพคนสู่สงั คมแห่งการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 3. พฒั นาศักยภาพและคณุ ภาพชวี ติ ของคน ชมุ ชน และลดความเหล่อื มล้ำทางสังคม 4. สร้างความรู้ ความเข้าใจในดา้ น การดแู ลสุขภาพ
| หนา้ ท่ี 35 5. พฒั นามาตรการทางกฎหมาย การใชเ้ ทคโนโลยตี า่ งๆ เพอื่ ลดอาชญากรรมต่อชีวิต และทรัพยส์ ิน ประเดน็ การพฒั นาที่ 5 การบรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมให้มคี วามสมดลุ และยง่ั ยืน วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือสง่ เสรมิ การบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และสาธารณภัยโดย กระบวนการมสี ว่ นรว่ ม ตวั ชวี้ ัด 1. รอ้ ยละทีเ่ พิ่มขึน้ ของจำนวนพื้นที่ปา่ ในจังหวดั ต่อปี 2. ค่าใชจ้ า่ ยดา้ นพลังงานตอ่ ปเี ฉล่ียตอ่ ครัวเรือนลดลงรอ้ ยละ 5 ตอ่ ปเี มื่อเทยี บกับปีฐาน แนวทางการพฒั นา 1. พัฒนาศกั ยภาพองคก์ รชมุ ชน (ภาคประชาชน/ภาคประชาสังคม/ชุมชน) รว่ มกบั ภาครัฐในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสาธารณภัย ตลอดจนสร้างเครือข่าย อนรุ ักษ์ ฟื้นฟทู รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 2. ปอ้ งกนั สงวน อนุรักษ์ และฟืน้ ฟทู รัพยากรธรรมชาติให้มกี ารใช้ประโยชนอ์ ย่าง สมดลุ ส่งเสริมการใชพ้ ลังงานทดแทนและพลังงานทางเลอื ก 1.15 อำนาจหน้าท่ขี องสำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด เป็นหน่วยงานทางการศึกษา สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศกึ ษาธิการ เพอื่ ปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการเกยี่ วกับการบริหารและการจดั การศึกษา ตามที่กฎหมายกำหนด การปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ นโยบายและยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ต่างๆ ที่มอบหมาย และให้มอี ำนาจหนา้ ทใี่ นเขตจังหวดั ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) รับผิดชอบงานธุรการของ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) คณะอนุกรรมการ ศึกษาธกิ ารจังหวัด (อกศจ.) คณะอนกุ รรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ คณะอนกุ รรมการเก่ียวกับ การพัฒนาการศึกษา คณะอนุกรรมการและคณะทำงาน รวมทั้งปฏิบัติงานราชการที่เป็นไปตามอำนาจ และหน้าที่ของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) และตามที่ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) มอบหมาย 2) จดั ทำแผนพฒั นาการศึกษาและแผนปฏบิ ัติการ 3) สั่งการ กำกับ ดูแล เร่งรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการ หรือ หน่วยงานและสถานศกึ ษาในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการให้เปน็ ไปตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ 4) จดั ระบบ สง่ เสริม และประสานงานเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพ่อื การศึกษา 5) ส่งเสริมและสนบั สนนุ การศึกษาเพ่ือคนพกิ าร ผดู้ ้อยโอกาส และผ้มู ีความสามารถพิเศษ 6) ดำเนินงานเก่ยี วกับการบริหารงานบคุ คลของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 7) ส่งเสรมิ สนับสนุน และดำเนินการเกย่ี วกบั งานดา้ นวชิ าการ การนเิ ทศ และแนะแนวการศึกษา ทกุ ระดับและทุกประเภท รวมท้งั ตดิ ตามและประเมนิ ผลระบบบรหิ ารและการจัดการศึกษา 8) ดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบด้านการบริหารการเงิน และการบัญชีของส่วนราชการหรือ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
| หน้าท่ี 36 9) สง่ เสริมและประสานงานการศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และการกฬี าเพ่ือการศึกษา 10) ส่งเสริม สนบั สนุน และดำเนนิ การเก่ียวกับการจัดการศกึ ษาเอกชน 11) ปฏิบัติภารกจิ ตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารหรือตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย รวมทั้งปฏิบตั ิ ภารกจิ เกย่ี วกบั ราชการประจำท่วั ไปของกระทรวงศึกษาธกิ าร และประสานงานตา่ งๆ ในจงั หวัด 2. การมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาของคณะบคุ คล 2.1 การมสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา การพัฒนาประเทศเป็นหน้าทีข่ องทุกคนในประเทศที่จะต้องเข้าใจหน้าที่ และแสดงบทบาท ให้ถูกต้องเหมาะสม กลไกการพัฒนาประเทศมีหลายด้านที่คอยขับเคลื่อนอยู่ตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นด้าน การศึกษา ด้านการเมืองการปกครอง ด้านอุตสาหกรรม ด้านการค้าธุรกิจต่างๆ เป็นต้น สิ่งสำคัญที่เป็น พ้นื ฐานสำหรบั การพัฒนาประเทศคอื การพฒั นาด้านการศึกษา ซง่ึ ถือเป็นหวั ใจสำคญั ทสี่ ุดเพราะการศึกษา ของคนในชาตเิ ปรียบเสมือนเส้นเลอื ดที่คอยหลอ่ เลย้ี งในทุกๆ ด้าน การให้ความสำคัญในด้านการศึกษาถือเป็นความจำเป็นเรง่ ดว่ นสำหรับทุกประเทศ สำหรับใน ประเทศที่พัฒนาแลว้ ล้วนแต่เป็นประเทศที่มีประชาชนได้รับการพัฒนาด้านการศึกษาท่ีดีมาก่อนแล้วค่อย มุ่งพัฒนาในด้านอื่นๆ ต่อไป เหตุนี้เองทำให้ทกุ ภาคส่วนก็เริ่มมีความตระหนักใหค้ วามสำคัญมากขึ้น และ ปรากฏภาพความชัดเจนขน้ึ เม่ือพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี กไ้ ขเพิ่มเติม(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ได้บัญญัติสาระที่เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้ปกครอง องค์กรหน่วยงานต่างๆ ใน การมีส่วนร่วมจัดการศึกษา และพัฒนาด้านการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นการให้สังคมได้มีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา ให้สถานศึกษามีการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชมทุกๆ ฝ่ายเพื่อร่วมกันพัฒนา ผู้เรียนตามศักยภาพ ซึ่งสาระและหลักการดังกล่าวล้วนแล้วมีการระบุในพระราชบัญญัติการศึกษา แหง่ ชาตทิ ้ังสน้ิ ในสภาวะปัจจุบันการจะให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาคงจะทำได้ยาก และ ถึงแม้ทำไดก้ ป็ ระสบผลสำเร็จน้อย ทงั้ นี้ก็แล้วแตพ่ ้ืนที่ แล้วแตบ่ ริบทท่ีแตกตา่ ง ทั้งน้ี ก็ดว้ ยเหตุปัจจัยต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น อย่างไรก็ตามหากมีความจริงจังจริงใจในการพัฒนาการศึกษา การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ชุมชน บริบทชมุ ชน เพ่อื เปน็ ขอ้ มูลสำหรับวางแผนการเร่ิมต้นสรา้ งความสมั พันธ์ระหวา่ งโรงเรียนกับชุมชน (ทัศนา แสวงศักดิ์, 2548; ศิริกาญจน์ โกสุมภ์, 2542) ถือเป็นสิ่งสำคัญ แต่อีกวิธีการหนึ่งที่จะส่งเสริมให้ เกิดรูปแบบการมีส่วนร่วมที่ดีของชุมชนได้อีกครั้ง และน่าจะเป็นการแก้ปัญหาที่ดีอีกหนทางหนึ่งจำเป็น อย่างยิ่งที่โรงเรียนจะต้องหันหน้าเข้าหาชุมชน โดยโรงเรียนเป็น ผู้เริ่มต้นก่อน (สุรศักดิ์ หลาบมาลา, 2549) ดีกว่าจะให้ชุมชนหันมาหา ซึ่งวิธีการนี้จะสามารถทำได้ง่ายกว่า โดยปกติแล้ว ชุมชนจะมี ความคาดหวังเสมอว่าสถานศึกษาน่าจะเป็นแหล่งเรียนรู้ มีข้อมูลทางวิชาการมากมายทั้งเอกสารและ ทรัพยากรบุคคลสำหรับการเรียนรู้ หากโรงเรียนนำศาสตร์ความรู้ต่างๆ เหล่านี้เข้าหาชุมชน เป็นการ ชว่ ยเหลือชมุ ชนก่อนท่ีจะให้ชมุ ชนยื่นมือมาหาเรา นา่ จะเป็นจุดเร่ิมต้นของการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียน กบั ชุมชน ซึ่งเปน็ ยุทธศาสตร์ท่ีน่าจะทำให้การสร้างความสัมพนั ธ์ไดด้ ี บทบาทของชุมชนและสถานศึกษาทีจ่ ะผลักดันใหเ้ กดิ จุดเริ่มต้นของการพฒั นาประเทศท่ีย่ังยืน โดยส่งเสริมให้มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้ได้มาซึ่งทุนทางมนุษย์ในการพัฒนาประเทศจำเป็น อย่างยิง่ ที่จะต้องกำหนดบทบาทและแสดงบทบาทของตนใหช้ ดั เจน
| หนา้ ที่ 37 บทบาทของชุมชน ประชาชนต้องร่วมเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับบ้าน วัด โรงเรียน และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นสถาบันสังคมที่มีบทบาทหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและ เป็นสถาบันทางสังคมที่มีบทบาทหลักในการเพิ่มทุนทางสังคมในชุมชน และสนับสนุนการจัดการ องค์ความรใู้ นชมุ ชนให้เป็นระบบ เกิดการคมุ้ ครองภมู ิปัญญาท้องถ่ิน และนำไปใชป้ ระโยชนต่อส่วนร่วม บทบาทของสถานศึกษา สถานศึกษาเป็นแกนนำให้กับชุมชนในการวิจัยท้องถิ่น เพื่อนำทุน ทางสังคม ทุนทางปัญญา ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่มีในท้องถิ่นมาต่อยอดเสริมกับ การวิจัยที่มีอยู่ในท้องถิ่น การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและสร้างภูมิคุ้มกันในท้องถิ่น สถานศึกษาร่วมกับชุมชน ในการขับเคลื่อนการพัฒนา และเพิ่มทุนทางสังคมให้สอดคล้องกับโอกาส ศักยภาพและความพร้อม ของแต่ละพื้นที่ โดยการสร้างความสัมพันธ์ ส่งเสริมการรวมตัว ร่วมคิด ร่วมทำในพื้นที่โดยร่วมพัฒนาคน ในชุมชนให้มีคุณภาพ นอกจากนี้โรงเรียนควรสร้างองค์ความรู้สู่ชุมชน โดยทำการวิจัยร่วมกับชุมชน รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลของชุมชน และที่ปรึกษาทางวิชาการ ตลอดจนสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ ชุมชน และสนับสนุนให้ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตนเอง นอกจากนั้น ควรสร้างหลักสูตรการเรียนการสอนโดยนำวิถีชีวิตในแต่ละท้องถิ่นเป็นสื่อในการเรียนรู้และพัฒนา บุคลากรท่ีมีบทบาทในการพฒั นาท้องถนิ่ ตอ่ ไป กล่าวโดยสรุป กลไกการพัฒนาประเทศที่สำคัญอีกประการหนึง่ คือการที่ประชาชนมีส่วนรว่ ม ในการจัดการศึกษาของแต่ละท้องถิ่นของตนเอง ซึ่งการมีส่วนร่วมน้ันเกิดขึ้นระหว่างสองฝ่ายคือทั้งชุมชน และสถานศึกษา เป็นการเอื้อเฟื้อกันและกัน กล่าวคือชุมชนต้องร่วมสร้างความเข้มแข็งให้กับบ้าน วัด โรงเรียน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพิ่มทุนทางสังคม สนับสนุนการจัดการองค์ความรู้ การถา่ ยทอดภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน รว่ มคดิ รว่ มทำใหพ้ ืน้ ทโ่ี ดยรว่ มพัฒนาคนในชมุ ชนให้มีคุณภาพเพื่อเป็นทุน ทางมนุษย์ ส่วนบทบาทของโรงเรียนก็ต้องเป็นแหล่งความรู้ สร้างองค์ความรู้สู่ชุมชน ร่วมวิจัยกับชุมชน เป็นที่ปรึกษาหารือทางวิชาการ สร้างกระบวนการเรียนรใู้ หแ้ กช่ ุมชน สนับสนุนให้ชมุ ชนมีศักยภาพในการ จดั การความรเู้ พื่อการพฒั นาทอ้ งถ่นิ ตนเอง สรา้ งหลกั สตู รการเรยี นการสอนโดยนำวถิ ชี ีวิตในแตล่ ะท้องถิ่น มาเป็นสื่อการเรียนรู้ หากทุกส่วนให้ความสำคัญซึ่งกันและกัน รวมทั้งมีความตระหนักร่วมกันก็จะเป็น จุดเรม่ิ ตน้ ของการพฒั นาประเทศทส่ี มบรู ณ์ และย่ังยืนตลอดไป การมีส่วนร่วมเป็นการทำงานร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์โดยขึ้นอยู่กับสภาพความคิด ความเชื่อของแต่ละ บุคคล หน่วยงาน หรือองค์กร อีกทั้งยังขึ้นอยู่กับกาลเวลาแต่ละยุคสมัยอีกด้วย อาจกล่าวได้ว่าการมีส่วนร่วมเป็นหัวใจสำคัญ ในการเสริมสร้างพลังการทำงานร่วมกัน เป็นกลุ่ม ที่มีประสิทธิภาพ เพราะทำให้ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมเข้าใจสถานการณ์ และอุทิศตนมากยิ่งขึ้น เพื่อการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการศึกษา (ทำนอง ภูเกิดพิมพ์, 2551, น.3) การมีส่วนร่วม จึงเป็นการ เปิดโอกาสและส่งเสริมให้บุคคล ประชาชน ชุมชนกลุ่มบุคคล หรือองค์กรต่าง ๆ เข้าไปมีส่วนร่วมทั้ง ทางตรงหรือทางอ้อม ในลักษณะของการร่วมรบั รรู้ ว่ มคิดรว่ มทำ ร่วมกิจกรรมท่มี ผี ลกระทบต่อตนเองและ ชุมชน ตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุดกระบวนการเพื่อให้ กิจกรรมนั้น ๆ บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ (เมตต์เมตต์ การุณ์จิตต์, 2553; พชรภรณ์ สิงห์สุรี, 2558) การมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษาของไทย เริ่ม มาจากแนวคิดตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (2563) ซ่ึงมีเจตนารมณ์ท่ีจะทำให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดยปรากฏแนวคิดใน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145