Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการลงพื้นที่

รายงานการลงพื้นที่

Published by seijithai, 2021-09-15 10:35:19

Description: รายงานการลงพื้นที่

Search

Read the Text Version

รายงานการลงพ้นื ท่ีพบนกั เรยี น นักศกึ ษา และเยาวชน ของคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวฒุ ิสภาพบประชาชน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ความเป็นมา สภาพการณ์ปัจจุบันเป็นยุคแห่งความขัดแย้งทางการเมืองส่งผลให้การเมืองการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยของไทยไมพ่ ฒั นาก้าวหน้าเท่าที่ควร เยาวชนเป็นกล่มุ เป้าหมายที่สาคญั เปน็ รากฐานของประเทศ ในอนาคตและเป็นเสมือนคลื่นลุกใหม่ ท่ีมีพลังขับเคล่ือนประชาธิปไตย และพัฒนาประเทศ หากเยาวชน คนหนุ่มสาวเหล่าน้ีเรียนรแู้ ละตระหนักในคุณค่าระบอบประชาธิปไตย รู้บทบาทและหน้าท่ีของตน ดาเนินชีวิต ตามหลักประชาธิปไตย โดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรมในการดาเนินชีวิตอย่างถูกต้อง และมีโอกาสเข้ามา มีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างสร้างสรรค์ จะสามารถแก้ไขปัญหาของประเทศพร้อมทั้งส่งผลให้การเมืองการ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยของไทยเกิดการพัฒนา คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน จึงได้มีแผนลงพ้ืนท่ีเพ่ือพบนักเรียน นักศึกษา ที่กาลังศึกษาในสถานศึกษาต่าง ๆ ให้ครอบคลุมท่ัวประเทศ ต้ังแต่เดือนสิงหาคม ๒๕๖๒ เป็นต้นมา เพ่ือให้ความรู้ความเข้าใจในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ และการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาประชาธิปไตยที่ถูกต้อง พร้อมทั้งเป็นเครือข่ายสาคัญในการเผยแพร่ความรูค้ วามเข้าใจ ไปสู่เยาวชนอื่น ๆ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ มีข้อจากัดในการลงพื้นท่ีเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ สามารถลงพื้นที่พบนักเรียน นักศึกษา เยาวชน และชุมชนได้จานวน ๕ คร้ังในช่วงก่อนการแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ ตามตารางตอ่ ไปนี้ วัน เดือน ปี จังหวดั สถานท่ี ๑๓ – ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ยะลา- กิจกรรมการมีส่วนรว่ มของเยาวชน ณ (๑) ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดน ปัตตานี ภาคใต้ จังหวดั ยะลา (๒) สมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้ อาเภอรามนั จงั หวัดยะลา ๑๑ – ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๔ นา่ น (๓) โรงเรียนตันหยงเปาว์ อาเภอหนองจกิ จังหวดั ปตั ตานี (๔) โรงแรมซีเอส ปตั ตานี ๑. ติดตาม เสนอแนะและเรง่ รัด งานยุทธศาสตร์ชาตแิ ละการปฏริ ปู ประเทศ และตรวจเย่ียม ๒๐ – ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๔ เชียงราย ๒ เมษายน ๒๕๖๔ เชียงราย (๑) โครงการพัฒนาพ้ืนทเี่ ฉพาะเมอื งภูเพียง ตาบลม่วงตดิด อาเภอภูเพยี ง ๓ เมษายน ๒๕๖๔ เชยี งราย (๒) งานกอ่ สร้างทานบกั้นน้า ตาบลเชยี งของ อาเภอนานอ้ ย (๓) สถานสี ูบน้าด้วยไฟฟ้า พร้อมระบบสง่ นา้ บ้านไผง่ าม ตาบลส้าน อาเภอเวยี งสา (๔) โรงเรียนคุณภาพประจา ตาบลโรงเรยี นบ้านดอน ตาบลในเวียง อาเภอเมืองน่าน ๒. ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนธรรมชาตบิ ้านหว้ ยพ่าน ตาบลเปอื อาเภอเชียงกลาง กิจกรรมการมสี ว่ นร่วมของเยาวชน เพือ่ พฒั นาบา้ นเกดิ ณ (๑) วดั ป่าดอยผาคา ตาบลหล่ายงาว อาเภอเวยี งแก่น (๒) โรงเรยี นนิคมสร้างตนเองสงเคราะห์ชาวเขา ตาบลป่าซาง อาเภอแม่จัน ๑. โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ตาบลรอบเวยี ง อาเภอเมืองเชียงราย ๒. ศกึ ษาดงู านเก่ียวกบั การดาเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ณ ศูนยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งบา้ นขนษิ ฐา ตาบลเมง็ ราย อาเภอพญาเมง็ ราย นิคมเกษตรกรรมทหารผ่านศกึ เชยี งราย ตาบลท่าข้าวเปลอื ก อาเภอแมจ่ ัน

-๒- รายงานผลการดาเนินงาน การลงพื้นท่ีพบประชาชน ณ จงั หวดั ยะลา และจังหวดั ปัตตานี ของ คณะอนกุ รรมกาการมสี ว่ นร่วมของเยาวชน ในคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชกิ วุฒิสภาพบประชาชน ระหว่างวันศุกร์ดีท่ี ๑๓ – วันอาทติ ย์ที่ ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ๑. ชือ่ โครงการ สมาชิกวุฒสิ ภาพบประชาชน ณ จงั หวดั ยะลา และจังหวดั ปตั ตานี ๒. วนั /เดือน/ปที ่ีดาเนินการ ระหวา่ งวนั ศกุ รด์ ีท่ี ๑๓ – วนั อาทติ ยท์ ่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ๓. รายชื่อคณะเดนิ ทาง ๑. นางกอบกุล อาภากร ณ อยธุ ยา ประธานคณะอนกุ รรมการ / สมาชกิ วฒุ สิ ภา ๒. นายกษิดศิ อาชวคุณ สมาชกิ วุฒสิ ภา ๓. นายอนศุ าสน์ สวุ รรณมงคล สมาชกิ วฒุ ิสภา ๔. นางสาวดาวน้อย สุทธนิ ภิ าพนั ธ์ เลขานกุ ารอนกุ รรมการ / สมาชิกวฒุ ิสภา ๕. นายอรรทติ ยฌ์ าณ คหู าเรืองรอง อนกุ รรมการ ๖. นายชนะชยั ประมวลทรพั ย์ อนกุ รรมการ ๗. นายธนพนธ์สงิ หพันธุ์ อนกุ รรมการ ๘. นายกติ ตกิ ร กอบเงนิ อนุกรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร/วิทยากรปฏิบตั ิการ ๔. สถานที่ ๑. ศนู ยอ์ านวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้จังหวดั ยะลา ๒. สมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้อาเภอรามัน จงั หวดั ยะลา ๓. โรงเรียนตนั หยงเปาว์ อาเภอหนองจกิ จังหวดั ปัตตานี ๔. โรงแรมซเี อส ปตั ตานี

-๓- ๕. กลุ่มเป้าหมาย ๑. เยาวชน ๒. หน่วยงานของรัฐ ๓. ประชาชนทวั่ ไป จานวนผู้รว่ มโครงการทัง้ หมด ๑๐๖ คน ดงั นี้ - ผมู้ าเข้ารว่ ม ณ ศนู ย์อานวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)จานวน ๒๘ คน - ผ้มู าเข้ารว่ ม ณ สมาคมพฒั นาเยาวชนชายแดนใต้ อาเภอรามนั จังหวดั ยะลาจานวน ๒๘ คน - ผมู้ าเขา้ ร่วม ณ โรงเรยี นบา้ นตันหยงเปาว์ จานวน ๔๐ คน - ผมู้ าเข้ารว่ ม ณ โรงแรมซเี อสปัตตานีจานวน ๑๐ คน ๖. งบประมาณท่กี ารดาเนนิ โครงการ งบประมาณท่ีการดาเนินโครงการ : คณะคณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน ได้รับ งบประมาณจากคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชกิ วฒุ ิสภาพบประชาชน จานวน 300,000 บาท (สามแสนบาทถว้ น) ลงพ้นื ที่ ณ จังหวดั ยะลา และจังหวัดปัตตานี ใช้งบประมาณท้งั ส้ิน 67,355.20 บาท (หกหม่นื เจ็ดพันสามร้อยหา้ สิบหา้ บาทยีส่ บิ สตางค์) คงเหลืองบประมาณ 232,644.80 บาท (สองแสน สามหม่นื สองพนั หกรอ้ ยสีส่ ิบสี่บาทแปดสบิ สตางค)์ ๗. ความสอดคล้องกบั รฐั ธรรมนญู หรอื ยทุ ธศาสตรช์ าติ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา ๗๗ วรรคสอง กาหนดให้ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับต้องมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เก่ียวข้อง วิเคราะห์ผลกระทบที่ อาจเกิดข้ึนอย่างรอบด้าน เป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผยผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ต่อประชาชน และนามาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน นอกจากน้ีเมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้แล้ว ต้องประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย โดยการรับฟังความคิดเห็นของผู้เก่ียวข้องประกอบด้วย เพ่ือพัฒนากฎหมาย ให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ท่ีเปล่ียนแปลงไป ประกอบกับ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ กาหนด ให้มีการปฏิรูปประเทศไว้ในมาตรา ๒๕๗ซึ่งสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศท่ีมีผลบังคับใช้แล้ว กาหนดให้ มีแผนการปฏิรูป๑๒ ด้าน โดยมรี ะยะเวลาดาเนนิ การ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - พ.ศ. ๒๕๖๕) โดยมเี ปา้ หมาย ดังน้ี ๑. ประเทศชาติมีความสงบเรยี บรอ้ ย มีความสามคั คีปรองดอง มีการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมคี วามสมดุลระหว่างการพฒั นาด้านวัตถกุ บั การพฒั นาด้านจติ ใจ ๒. สังคมมคี วามสงบสุข เปน็ ธรรม และมโี อกาสอนั ทัดเทียมกันเพ่ือขจดั ความเหล่อื มล้า ๓.ประชาชนมีความสุข มคี ุณภาพชวี ติ ที่ดี และมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาประเทศและการปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ทั้งน้ี มาตรา ๒๕๙ ได้กาหนดให้การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิรูปด้าน กระบวนการยุตธิ รรม และดา้ นการศกึ ษา ตอ้ งมีการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง

-๔- ๘. วธิ กี ารดาเนินการ (ลักษณะกจิ กรรม) จัดประชุมสัมมนา จัดเวทีเสวนา Focus Group ใช้เครอ่ื งมอื ส่อื สาร  จัดประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ าร  อื่น ๆ ลงพน้ื ที่จริง ๙. วิธีการประเมนิ ผล  สงั เกต  สอบถาม สัมภาษณ์ อืน่ ๆ ๑๐. ผลการดาเนนิ งาน ๙.๑ เชงิ ปรมิ าณ - จานวนเปา้ หมาย ณ ศนู ยอ์ านวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ต้ังไว้ ๓๐ คน จานวนผู้มาเข้าร่วม ๒๘ คน - แบ่งออกเปน็ (อา้ งองิ ตามกลมุ่ เป้าหมาย) ประชาชนท่ัวไป  เดก็ - เยาวชน ผู้บริหาร ร.ร./ครู  ผู้แทนหน่วยงานภาครฐั ผูแ้ ทนหน่วยงานเอกชน อ่ืน ๆ - จานวนเปา้ หมาย ณ สมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้ อาเภอรามัน จงั หวดั ยะลาตงั้ ไว้ ๓๐ คน จานวนผูม้ าเข้าร่วม ๒๘ คน - แบ่งออกเปน็ (อ้างอิงตามกลมุ่ เป้าหมาย) ประชาชนท่วั ไป  เด็ก - เยาวชน ผู้บริหาร ร.ร./ครู  ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ ผู้แทนหนว่ ยงานเอกชน อืน่ ๆ - จานวนเป้าหมาย ณ โรงแรมซเี อสปตั ตานีต้ังไว้ ๑๐ คน จานวนผมู้ าเข้าร่วม ๑๕ คน

-๕- - แบ่งออกเป็น (อา้ งองิ ตามกลุ่มเป้าหมาย) ประชาชนทวั่ ไป  เด็ก - เยาวชน ผ้บู รหิ าร ร.ร./ครู  ผูแ้ ทนหนว่ ยงานภาครัฐ ผแู้ ทนหนว่ ยงานเอกชน อ่นื ๆ ๙.๒ เชิงคณุ ภาพ - ผลลัพธ์/ความพึงพอใจ ไดแ้ ก่ เยาวชนนักศึกษาในพ้ืนท่ีได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาทหน้าท่ีและอานาจของวุฒสิ ภาตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย และเยาวชนได้แลกเปล่ียน เรียนรู้ ความคิดเห็น และไดร้ บั คาแนะนาจากสมาชิกวุฒิสภา รวมถงึ หน่วยงานในพืน้ ที่ทรี่ บั ผิดชอบ และ มีส่วนร่วมในการนาเสนอแนวคิดในการพัฒนาพื้นที่ ตามวัตถุประสงค์ของโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบ ประชาชน ๙.๓ เชิงเวลา  เหมาะสม ไม่เหมาะสม อืน่ ๆ .......................................................................... ๙.๔ งบประมาณดาเนนิ การ ไม่เพยี งพอ  เพยี งพอ/เหมาะสม ๑๑.สรปุ สาระสาคญั ของการดาเนนิ โครงการ รายละเอียดการลงพื้นที่พบประชาชนของ คณะอนุกรรมกาการมีส่วนร่วมของเยาวชนใน คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนระหว่างวันศุกร์ดีท่ี ๑๓ – วันอาทิตย์ท่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ณ จังหวดั ยะลา และจังหวดั ปตั ตานี ๑. วันศุกร์ที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ นางกอบกุล อาภากรสมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อมด้วยอนุกรรมการเข้าประชุมหารือร่วมกับนางกนกรัตน์ เกื้อกิจผู้ช่วยเลขาธิการ ศอ.บต.กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)และหน่วยงานในพื้นท่ี ณ ห้องประชุม ศูนย์อานวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)เพ่ือร่วมกันหาแนวทางในการสนับสนุนโครงการและกิจกรรมของ เยาวชนในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีเยาวชนในพ้ืนท่ีนาเสนอโครงการเยาวชนกับการพัฒนา บณั ฑติ จานวน ๕ โครงการดังน้ี

-๖- ๑.) โครงการจาลองการประชุมแบบ MUN (Model United Nationเพ่ือการพัฒนาและ เสรมิ สรา้ งสันติสขุ (MUN Meeting for Development and Peace Promotion) ๒.) โครงการตันหยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หัวข้อ ธนาคารขยะในชุมชุนโดยชมรม เยาวชนสานใจไทย สใู่ จใต้จังหวดั ปตั ตานี และเครอื ข่าย SEED PROJECT เป็นผู้รบั ผิดชอบโครงการ ๓.) โครงการสมาคมพฒั นาเยาวชนชายแดนใต้ ๔.) โครงการกระจายทุนการศกึ ษาทีไ่ มท่ ั่วถึง ๕.) โครงการปลกุ ใจ หลอมรวมพลงั สู่กระบวนการเรียนรู้ ทตู ส่ือสารชมุ ชนพึ่งตนเอง นางกนกรตั น์ เกือ้ กิจผูช้ ่วยเลขาธกิ าร ศอ.บต.ไดก้ ลา่ วชืน่ ชมโครงการทุกเครือข่ายเยาวชนนาเสนอ ต่อท่ีประชุม พร้อมกล่าวต่อว่าหน่วยงานราชการ มูลนิธิ และกองทุนต่าง ๆ ในพ้ืนท่ีพร้อมให้การ สนับสนุนกิจกรรมของเยาวชนอันจะเสริมสร้างศักยภาพของเยาวชนและสร้างประโยชน์ต่อสังคม สว่ นรวม ๒. วันเสารท์ ่ี ๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ เวลา ๑๐.๐๐ นาฬกิ า นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อม ด้วยสมาชิกวุฒิสภา และอนุกรรมการลงพ้ืนที่พบเยาวชน พร้อมหารือร่วมกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ินและเจ้าหน้าที่เกษตรตาบลเนินงาม อาเภอรามัน จังหวัดยะลา เพ่ือร่วมกันให้ข้อเสนอแนะและ ร่วมกันหาแนวทางในการสนับสนุนกับโครงการสมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้โดยมีนายอับดุลวาริส โลงซา นายกสมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้ รวมกลุ่มกับเยาวชนในพ้ืนที่ทาการเกษตรปลูกสวน มะละกอ โดยมุ่งหวังจะทาในรูปแบบ smart farmer ซ่ึงหลังจากประสานหารือแล้วเสร็จ หน่วยงาน ในพ้นื ทพ่ี รอ้ มให้การสนบั สนุนกิจกรรมดังกล่าว

-๗- เวลา ๑๓.๐๐ นาฬกิ า นางกอบกลุ อาภากร สมาชกิ วฒุ ิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนรว่ มของเยาวชน พร้อม ด้วยอนุกรรมการลงพน้ื ทพ่ี บประชาชน ณ บา้ นตนั หยงเปาว์ อาเภอหนองจกิ จงั หวดั ปตั ตานี เพ่อื รับฟงั ปญั หานา้ ทะเลกดั เซาะชายฝ่งั พรอ้ มรบั ประสานงานไปยังหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้องต่อไป เวลา ๑๔.๐๐ นาฬกิ า นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อมด้วยอนุกรรมการเข้าเยี่ยมชมโครงการตันหยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หัวข้อ ธนาคารขยะในชุมชุน ณ โรงเรียนบ้านตันหยงเปาว์ อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีโดยมีผู้รับผิดชอบโครงการคือ ชมรมเยาวชนสานใจไทย สู่ใจใต้จังหวัดปัตตานี และ เครือข่าย SEED PROJECT ดาเนินโครงการร่วมกบั ชมุ ชนุ และโรงเรียนบา้ นตันหยงเปาว์

-๘- เวลา ๑๖.๐๐ นาฬกิ า นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวฒุ ิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อม ดว้ ยอนกุ รรมการ เข้าเยีย่ มชมการแสดงศิลปะพื้นบา้ นปนั จกั สีลัตของชมรมเยาวชนจงั หวัดปตั ตานี ตาบล ปยุ ดุ อาเภอเมอื งปัตตานี จังหวัดปตั ตานี พร้อมให้กาลังใจกับชมรมเยาวชน ในการนี้นายอนุศาสน์ สุวรรณมงคล สมาชิกวุฒิสภา ในพื้นท่ีจังหวัดปัตตานี ได้กล่าวช่ืนชม ชมรมเยาวชน และประชาชนในพนื้ ที่ท่ีร่วมกันสืบสานวฒั นธรรมท้องถ่ินให้คงอยู่กับสงั คม และพรอ้ มให้ การสนับสนุนกิจกรรมท่ีดแี ละสรา้ งสรรค์ต่อสังคม ๔. วนั อาทิตย์ที่ ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ นางสาวดาวน้อย สุทธินิ ภาพันธ์ สมาชิกวุฒิ สภา อนุกรรรมการและเลขานุการ คณะอนุกรรมการมีส่วนร่วมของเยาวชน บันทึกเทปสัมภาษณ์เยาวชนในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้เพือ่ รับฟังความคิดเหน็ ของเยาวชน และนาไปเผยแพร่ในช่องทางต่าง ๆ เพอื่ สังคมได้จะรับทราบ มมุ มองความคิดของเยาวชน ในประเด็นการปฏิรูปประเทศ และภาพอนาคตของประเทศไทยท่ีเยาวชน ต้องการใหเ้ กิดขึ้น รวมถึงเรอ่ื งท่เี กย่ี วขอ้ งกบั เยาวชนและการพฒั นาท้องถิน่ การสรา้ งความรูค้ วามเข้าใจ ในการอยู่รว่ มกันในสงั คมอยา่ งสงบสุขโดยมเี ยาวชนรว่ มแสดงความคิดเห็น และสรุปสาระสาคญั ได้ดังน้ี ๑. นายประดิษฐ์หลาเล๊ะ ได้แสดงความคิดเห็นว่า ส่ิงสาคัญที่จะทาให้ประเทศขับเคล่ือนไป ข้างหน้าได้คือความรักและความสามัคคีของคนในชาติ ในสังคมอาจมีมุมมองความคิดที่แตกต่างกันได้ แต่จะตอ้ งไม่แตกแยกกัน และสถาบนั การศกึ ษาเปน็ จุดเริ่มตน้ และพื้นที่สาคญั ที่จะเปิดโอกาสใหเ้ ยาวชน ได้แสดงความคิดเห็นและลงมือทา ผ่านการเรียน โครงการ และกิจกรรม โดยมีคณาจารย์ ผู้มีความรู้ใน ทอ้ งถนิ่ ใหก้ ารสนบั สนนุ พร้อมแลกเปลี่ยนข้อมลู กนั เพื่อหาจุดร่วมในการพฒั นาประเทศ ๒. นายมูฮมั หมัดซอบรี ีน มะเซ ได้แสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับเรอื่ งระบบการศกึ ษา เนอ่ื งจากใน พ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังมีเยาวชนท่ียังไม่เข้าถึงระบบการศึกษาอยู่จานวนมาก เนื่องจาก ปญั หาความยากจนจึงตอ้ งออกจากระบบการศึกษาเพ่ือไปประกอบอาชีพเลย้ี งดตู ัวเอง และเมื่อเยาวชน ไม่ได้รับการศึกษาจะเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสังคมอื่น ๆ ตามมา จึงให้ความคิดเห็นว่าควรให้ปฏิรูป ระบบการศึกษาด้วยการกระจายทุนการศึกษาให้แต่ละพื้นที่อย่างทั่วถึง อีกท้ังได้แสดงความคิดเห็น ในเร่อื งสาธารณสุข โดยกล่าววา่ โรงพยาบาลปตั ตานมี บี คุ ลากรทางการแพทย์ไม่เพียงพอต่อจานวนผปู้ ่วย

-๙- ทาให้เกิดความล่าชา้ ในการรักษา จึงมีความต้องการให้ปฏิรูปการสาธารณสุข ด้วยการเพิ่มบคุ ลากรทาง การแพทยใ์ ห้ท่ัวถึงทุกพนื้ ที่ ๓.มูฮาหมัด อุเมะ ได้กล่าวถึงการเอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมที่มีอยู่ดั้งเดิมในพื้นท่ีสาม จงั หวัดชายแดนภาคใต้ คือการละเล่นปันจักสีลัต โดยรวมกลุ่มเยาวชนที่สนใจ ร่วมกันศึกษาข้อมูลและ รอื้ ฟนื้ การละเล่นปันจกั สีลัต และเปดิ เปน็ ศูนย์เรยี นรู้ชุมชนเพ่อื รวมกลุ่มคนทุกช่วงวัยในทอ้ งถ่นิ ใหม้ ีพ้ืนที่ ในการทากิจกรรมที่สร้างสรรค์ และได้ต่อยอดนาเอาศิลปะและวัฒนธรรมเหล่าน้ันสร้างเป็นชิ้นงานเพื่อ อกจาหน่าย กอ่ ให้เกดิ รายไดใ้ ห้กบั ชุมชนและผูค้ นในท้องถิ่น ๔. อับดุลคอเดย์ พูลาได้กล่าวถึงโครงการตันหยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หัวข้อ ธนาคารขยะในชุมชุน โดยจุดเร่ิมต้นเกิดจากชมรมเยาวชนสานใจไทย สู่ใจใต้ ได้ยึดถือคาว่าเกิดมาต้อง ตอบแทนคุณแผ่นดิน เป็นหลักปฏิบัติในการดาเนินกิจกรรมของชมรม กิจกรรมหลักของชมรมคือ กจิ กรรมจิตอาสาพหุวฒั นธรรมสรา้ งการอย่รู ว่ มกันในหลากหลายมิติ ซ่ึงจากการพจิ ารณารว่ มกันแล้ว ได้ เลือกเข้าไปแกไ้ ขปัญหาและใหค้ วามช่วยเหลือพ้นื ทบ่ี า้ นตันหยงเปาว์ อาเภอหนองจิก จงั หวัดปัตตานี เน่ืองจากในพื้นที่เป็นหมู่บ้านติดชายฝั่งทะเล เป็นทาเลท่ีตั้งทีด่ ีในการท่องเท่ียว แต่ได้รบั ผลกระทบจาก น้าทะเลกดั เซาะชายฝั่ง อีกทั้งยังมปี ัญหาเก่ียวกับขยะท่ถี ูกพัดพามากับคลืน่ ลม ทั่วพ้ืนท่ีของหมู่บา้ นเต็ม ไปดว้ ยขยะ ทางชมรมเยาวชนสานใจไทย สใู่ จใต้ไดเ้ ขา้ ร่วมหารือกับชุมชน และไดร้ ่วมกนั จดั กิจกรรมจิต อาสา โดยมีเยาวชนกว่า ๓๐๐ คน ร่วมกันเก็บขยะและพัฒนาพ้ืนที่ให้สะอาดเรียบร้อย หลังจากน้ัน โรงเรยี นบา้ นตนั หยงเปาว์ไดเ้ สนอวา่ โรงเรียนมกี ารจัดการขยะที่ดแี ลว้ หากต้องการให้เกิดเป็นระบบและ มนั่ คงมากขึ้นควรตอ้ งมีธนาคารขยะดังนั้นทางชมรม ชุมชน และโรงเรียน จึงร่วมกันจดั ทาธนาคารขยะ แล้วพัฒนาให้ประสบความสาเรจ็ เพอ่ื ใหช้ มุ ชนอน่ื ๆ ในจังหวดั ปัตตานีนาไปเปน็ แบบอย่าง ๕. อาดีลา ดอเลาะได้กล่าวถึงศักยภาพของเยาวชนในพ้ืนที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่ บริบทสังคมปัจจุบัน ส่งผลให้เยาวชนยังไม่ได้แสดงความสามารถเท่าท่ีควร และได้แสดงความคิดเห็น เก่ียวกับการไม่เข้าถึงสถาบันการศึกษาของเยาวชน เน่ืองจากปัญหาครอบครัว ปัญหาความยากจน ปัญหายาเสพติด รวมถึงปัญหาที่ตัวเยาวชนเอง โดยเสนอความคิดเห็นว่าสถาบันครอบครัวและ สถาบันการศึกษาควรทางานรว่ มกันถกถึงปัญหาท่เี กดิ ขึ้น และจะทาอย่างไรในการช่วยเหลอื เยาวชนให้ อยู่ในระบบการศึกษา การให้ทุนการศึกษา การทาให้ห้องเรียนหรือสถาบันกันศึกษามีความน่าสนใจ และการปรบั เปล่ียมมุมมองของเยาวชนให้เหน็ ถึงความสาคัญของการศึกษา ซึง่ สิ่งเหลา่ นี้จะสามารถทา ให้เยาวชนกลับเขา้ มาสรู่ ะบบการศกึ ษาเพ่ิมมากข้นึ

- ๑๐ -

- ๑๑ - สรุปรายงานผลการดาเนนิ งาน โครงการสมาชิกวฒุ ิสภาพบประชาชน ณ จงั หวัดนา่ น ระหว่างวันพฤหสั บดีท่ี ๑๑ – วันศกุ รท์ ่ี ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๔ ๑. ชือ่ โครงการ สมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ๒. วนั /เดือน/ปที ี่ดาเนินการ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ – วนั ศุกร์ท่ี ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๔ ๓. สถานที่ ณ จังหวดั นา่ น ๔. กลมุ่ เปา้ หมาย  หนว่ ยงานของรฐั  ประชาชนทว่ั ไป  เยาวชน อนื่ ๆ ๕. ความสอดคลอ้ งกับรฐั ธรรมนูญหรอื ยุทธศาสตรช์ าติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ กาหนดให้ มีการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาไว้ในมาตรา ๒๕๘ จ. ด้านการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศ ท่ีมีผลบังคับใช้แล้ว กาหนดให้มีแผนการปฏิรูป ๑๒ ด้าน โดยมีระยะเวลาดาเนินการ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - พ.ศ. ๒๕๖๕) และการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เป็นหน่ึงในจานวน ๑๒ ด้าน ที่รัฐธรรมนูญกาหนดให้ มีการปฏิรูป โดยมีเป้าหมายและผลอันพึงประสงค์ เพื่อให้มีการยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา มุ่งความเป็นเลิศและสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพิ่มความคล่องตัวในการรับรองรับ ความหลากหลายของการจัดการศกึ ษา ๖. ขอ้ มลู ทั่วไป จังหวัดน่าน ต้ังอยู่ติดกับชายแดนทางด้านทิศตะวันออกของภาคเหนือตอนบน ติดกับ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ( สปป.ลาว ) หา่ งจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต์ ประมาณ 668 กิโลเมตร บริเวณเส้นรุ้งท่ี 18 องศา 46 ลิปดา 30 ฟิลิปดาเหนือ เส้นแวงท่ี 18 องศา 46 ลิปดา 44 ฟิลิปดาตะวันออก ระดับความสูงของพ้ืนที่อยู่สูง 2 ,112 เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลาง มีพ้ืนที่ 11,472.076ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 7,170,045 ไร่

- ๑๒ - อาณาเขตโดยรอบของจงั หวัดนา่ น ทิศเหนือ ประกอบด้วย อาเภอเชียงกลาง อาเภอปัว มีอาเภอทุ่งช้าง อาเภอเฉลิมพระเกียรติ อาเภอบ่อเกลือ ที่มีพ้นื ท่ีตดิ ตอ่ กับเขตเศรษฐกจิ พิเศษ เชียงฮอ่ น - หงสา (สปป.ลาว ) ทิศตะวันออก ประกอบด้วย อาเภอภูเพียง อาเภอสันตสิ ุข โดยมีอาเภอแม่จริม อาเภอเวยี งสามี พ้ืนทตี่ ิดต่อกบั แขวงไชยบรุ ี ( สปป.ลาว ) ทิศใต้ ประกอบด้วย อาเภอนาน้อย อาเภอนาหม่ืน มีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดอุตรดิตต์ อาเภอ นาน้อย มพี ื้นท่ีตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั แพร่ อาเภอเวยี งสา มีพนื้ ทตี่ ดิ ต่อกับจงั หวัดแพร่ ทิศตะวันตก ประกับด้วย อาเภอบ้านหลวง มีพ้ืนท่ีติดต่อกับอาเภอเชียงม่วนจังหวัดพะเยา อาเภอท่าวังผา มีพื้นที่ติดกับอาเภอปง จังหวัดพะเยา อาเภอสองแคว มีพ้ืนท่ีติดต่อกับอาเภอเชียงคา จงั หวัดพะเยา สาหรับทิศเหนือและทิศตะวันออกมีอาณาเขตในส่วนท่ีติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ( สปป.ลาว) เปน็ ระยะทางยาวประมาณ 227 กโิ ลเมตร การปกครอง จังหวดั นา่ นมจี านวนประชากรทัง้ สน้ิ 478,227 คน ชาย 239,661 คน หญงิ 238,566 คน แบง่ เขตการปกครองเปน็ 15 อาเภอ ไดแ้ ก่ 1. อาเภอเมืองน่าน 9. อาเภอเชียงกลาง 2. อาเภอแมจ่ รมิ 10. อาเภอนาหมื่น 3. อาเภอบ้านหลวง 11. อาเภอสนั ติสขุ 4. อาเภอนาน้อย 12. อาเภอบ่อเกลือ 5. อาเภอปัว 13. อาเภอสองแคว 6. อาเภอทา่ วังผา 14. อาเภอภเู พยี ง 7. อาเภอเวยี งสา 15. อาเภอเฉลมิ พระเกียรติ 8. อาเภอทงุ่ ชา้ ง การปกครองทอ้ งถิ่นจาแนกได้ คอื องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด 1 แห่ง คอื องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั น่าน เทศบาลเมอื ง 1 แห่ง คอื เทศบาลเมอื งน่าน เทศบาลตาบล 18 แห่ง ประกอบดว้ ย 1. เทศบาลตาบลดใู่ ต้ 10. เทศบาลตาบลนานอ้ ย 2. เทศบาลตาบลกองควาย 11. เทศบาลตาบลศรีษะเกษ 3. เทศบาลตาบลเวยี งสา 12. เทศบาลตาบลท่งุ ช้าง 4. เทศบาลตาบลกลางเวยี ง 13. เทศบาลตาบลงอบ

- ๑๓ - 5. เทศบาลตาบลข่งึ 14. เทศบาลตาบลทา่ วังผา 6. เทศบาลตาบลปวั 15. เทศบาลตาบลหนองแดง 7. เทศบาลตาบลศิลาแลง 16. เทศบาลตาบลบ่อแก้ว 8. เทศบาลตาบลเชียงกลาง 17. เทศบาลตาบลยอด 9. เทศบาลตาบลพระพทุ ธบาทเชยี งคาน 18. เทศบาลตาบลบอ่ เกลือใต้ การประกอบอาชีพ อาชีพหลัก ได้แก่ ทาไร่ 44 % และอาชีพรอง ได้แก่ ทานา 37 % ทาสวนอื่นๆ 7 % ทาสวนยาง 6 % รับจ้าง 3 % (ร้อยละโดยประมาณ จากการสารวจความเดือดร้อนของประชาชน เดือนกันยายน 2563) ๗. วิธกี ารดาเนินการ (ลกั ษณะกจิ กรรม)  จัดประชุมสัมมนา  จดั เวทเี สวนา  Focus Group จดั ประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ าร อื่น ๆ ๘. วิธีการประเมินผล  สอบถาม ใช้เคร่ืองมอื ส่อื สาร  สงั เกต อ่ืน ๆ  สมั ภาษณ์ ๙. ผลการดาเนินงาน ๙.๑ เชงิ ปรมิ าณ - จานวนเป้าหมายทต่ี งั้ ไว้ ๑๐๐ คน - จานวนผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม ๑๔๔ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๔๔ ของ จานวนเปา้ หมาย

- ๑๔ - - แบ่งออกเปน็ (อา้ งองิ ตามกลุ่มเป้าหมาย)  ประชาชนทว่ั ไป  เดก็ - เยาวชน  ผบู้ รหิ าร ร.ร./ครู  ผู้แทนหนว่ ยงานภาครัฐ ผ้แู ทนหนว่ ยงานเอกชน อื่น ๆ ๙.๒ เชงิ คณุ ภาพ - สมาชิกวุฒิสภาได้รับทราบข้อมูลโครงการ/กิจกรรม ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ซ่ึงสอดคล้องกับแผนการปฏริ ปู ประเทศ และแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ ชาตทิ อี่ ยูใ่ นความรับผดิ ชอบของจังหวัดนา่ น - รับทราบข้อมูลการดาเนินงาน แนวทางการจัดการเรียนการสอนของศูนย์การเรียนรู้ ชมุ ชนธรรมชาตบิ ้านหว้ ยพ่าน และปญั หาอปุ สรรค สาหรบั ใช้ประกอบการพิจารณาของวฒุ ิสภา ๙.๓ เชงิ เวลา  เหมาะสม ไม่เหมาะสม อ่ืน ๆ .......................................................................... ๙.๔ งบประมาณดาเนนิ การ  เพยี งพอ/เหมาะสม ไมเ่ พียงพอ ๑๐. สรปุ สาระสาคัญของการดาเนินโครงการ รายละเอียดการลงพื้นท่ีจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดน่านระหว่าง วนั พฤหัสบดที ่ี ๑๑ – วันศุกร์ที่ ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๔ รายชอื่ คณะเดินทาง ๑) พลเอก สงิ ห์ศกึ สิงหไ์ พร รองประธานวุฒสิ ภา คนทหี่ นง่ึ (หวั หน้าคณะเดินทาง) ๒) พลเอก วรพงษ์ สงา่ เนตร สมาชกิ วฒุ ิสภา ๓) พลอากาศเอก อดิศักดิ์ กล่นั เสนาะ สมาชกิ วฒุ สิ ภา ๔) นายจเดจ็ อนิ สว่าง สมาชกิ วุฒสิ ภา ๕) พลเอก โปฎก บุนนาค สมาชกิ วุฒสิ ภา ๖) พลเอก สาเริง ศิวาดารงค์ สมาชิกวุฒสิ ภา ๗) นางกอบกลุ อาภากร ณ อยธุ ยา สมาชิกวฒุ สิ ภา

- ๑๕ - ๘) นายพลเดช ปน่ิ ประทปี สมาชิกวฒุ ิสภา ๙) ศาสตราจารยพ์ ิเศษกาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ สมาชิกวุฒสิ ภา ๑๐) นายดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม สมาชกิ วฒุ สิ ภา ๑๑) นางสาวดาวนอ้ ย สุทธนิ ภิ าพนั ธ์ สมาชกิ วุฒิสภา ๑๒) นายสมชาย ชาญณรงคก์ ุล สมาชกิ วฒุ ิสภา ๑๓) นายดุสติ เขมะศักดชิ์ ัย สมาชิกวฒุ ิสภา ๑๔) นางดวงพร รอดพยาธ์ิ สมาชกิ วุฒิสภา ๑๕) นายออน กาจกระโทก สมาชกิ วุฒสิ ภา ๑๖) นางจนิ ตนา ชยั ยวรรณาการ สมาชิกวุฒสิ ภา ๑๗) รองศาสตราจารยท์ วศี กั ดิ์ สูทกวาทิน กรรมการ ๑๘) นางเสาวคนธ์ จนั ทรผ์ อ่ งศรี กรรมการ ๑๙) นายชยั ยทุ ธ์ สนิ สูงสดุ อนกุ รรมการด้านนโยบาย แผนงาน และประสานการปฏิบัติ ๒๐) นางวาสนา ทิพย์สวุ รรณ อนกุ รรมการดา้ นนโยบาย แผนงาน และประสานการปฏิบัติ ๒๑) นายอรรทติ ยฌ์ าณ คหู าเรอื งรอง อนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน ๒๒) นายอาชวนิ ล้อมพิทักษ์ อนกุ รรมการประชาสมั พนั ธส์ ื่อดิจทิ ลั ในคณะกรรมการประชาสมั พนั ธ์ วฒุ สิ ภา ๒๓) นายสาธิต วงศอ์ นนั ต์นนท์ ผู้อานวยการสานักประชาสมั พันธ์ ๒๔) นายบรรหาร กาลา ผบู้ งั คับบัญชากลุ่มงานรองประธานวฒุ สิ ภา ๒๕) นายณฏั ฐกติ ติ์ ปัทมะ คนท่หี น่ึง วิทยากรเชี่ยวชาญ ๒๖) นายอุดร พนั ธมุ ติ ร วทิ ยากรชานาญการพเิ ศษ ๒๗) นายอมร จงึ รุง่ ฤทธิ์ วทิ ยากรชานาญการ ๒๘) นายกิตตกิ ร กอบเงนิ วิทยากรปฏิบัติการ ๒๙) นายนฐั วิช แกว้ พิกลุ นักประชาสมั พนั ธป์ ฏบิ ัตกิ าร ๓๐) นายเอกภกั ดิ์ หอมสมบตั ิ นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัตกิ าร ๓๑) นางสาวปิยวรรณ แสนเมอื ง นกั ประชาสัมพนั ธ์ปฏิบตั ิการ ๓๒) นายพลณฐั เครอื เชา้ นักประชาสัมพันธป์ ฏิบัติการ ๓๓) นางธิราพร ณ เชยี งใหม่ เจ้าพนักงานธุรการชานาญงาน ๓๔) นางสาวณฐมน โพธ์ิเกษม เจ้าพนักงานธุรการชานาญงาน

- ๑๖ - กิจกรรมรับฟงั การบรรยายการดาเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรม ทไ่ี ดร้ บั การจดั สรรงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ซึ่งสอดคล้องกบั แผนการปฏิรปู ประเทศ และแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติท่ีอยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของจังหวดั น่าน วันพฤหสั บดีที่ ๑๑ มนี าคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๓๐ นาฬกิ า พลเอก สิงห์ศึก สิงห์ไพร รองประธานวุฒิสภา คนที่ หนึ่ง ได้นาคณะสมาชิกวุฒิสภาประชุมร่วมกับ นาย นิพันธ์ บุญหลวง ผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน พร้อมด้วย หัวหน้าส่วนราชการ และข้าราชการในจังหวัดน่าน ท่ีเก่ียวข้อง เพื่อรับฟังการบรรยายการดาเนินงาน โครงการ/กิจกรรม ท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ซ่ึงสอดคล้องกับแผน การปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของจังหวัดน่าน โดยมี สาระสาคญั สรุป ดงั น้ี 1. จังหวัดน่าน ดาเนินการถ่ายทอดยทุ ธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ สู่การปฏิบัติ โดย เชื่อมโยงแผนระดับต่าง ตา่ ง ได้แก่ ยทุ ธศาสตร์ชาติ  แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12  นโยบายของรัฐบาล  แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ทิศ ทางการพฒั นาภาคเหนือ  แผนพฒั นาจงั หวัดน่าน

- ๑๗ - ๒. ผลสัมฤทธ์ิในการพัฒนาจากการขับเคลื่อนแผนการปฏิรูปประเทศในพ้ืนท่ีจังหวัดน่าน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ทัง้ 5 ดา้ น ๒.๑ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : เพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขัน (สาขาอุตสาหกรรมแปรรูป การค้า พาณิชย์ และการลงทุน) เพม่ิ โอกาสผู้ประกอบการ และเป็นศูนย์กลางดา้ นการคา้ และการลงทนุ ของ ไทยในภมู ิภาค ๒.๒ การท่องเทีย่ วยัง่ ยืน : เพ่ิมขีดความสามารถด้านการแข่งขัน (สาขาการทอ่ งเที่ยว) ท่องเทีย่ ว คุณภาพสูง และทอ่ งเที่ยวเชิงสรา้ งสรรค์และวฒั นธรรม ๒.๓ เกษตรปลอดภัยและประณีต : เพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขัน (สาขาการเกษตร) การสรา้ งเกษตรมลู ค่าสูง และGPP สาขาการเกษตรเพมิ่ สูงขึน้ ๒.๔ เมืองสุขภาวะดี ชมุ ชนเข้มแข็ง : พัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพมนุษย์ (พัฒนาศักยภาพคน ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น) พัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะเพ่ือตอบสนองการ เปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 ๒.๕ ชุมชนป่าต้นน้า : สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (รักษาและ เพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียวท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม) เพิ่มและพัฒนาพื้นท่ีป่าโดยการหยุดยั้งและป้องกันการทาลาย ป่าไม้ และมกี ารจดั ระเบยี บและแกไ้ ขปัญหาการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ปา่ ไม้

- ๑๘ - ๓. ประเดน็ ขอ้ ซกั ถาม ขอ้ เสนอแนะ ของสมาชกิ วฒุ ิสภา ๓.๑ หน่วยงานตามภารกิจ (Function) ในจังหวัดน่าน ขาดการบูรณาการข้อมูลโครงการ/ กิจกรรม ท่ีรายงานในระบบติดตามและประมวลผลแห่งชาติ (eMENSCR) แต่ละหน่วยรายงานผ่าน ระดับกระทรวง หรอื กรม ทาให้จังหวัดไมท่ ราบผลการดาเนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรมของหน่วยงานอนื่ ๓.๒ ส่วนราชการรายงานผลผลิตไม่สอดคล้องกับเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ อย่างครบถ้วน และผลสาเร็จไม่มีความชดั เจน โดยเฉพาะเก่ียวกบั มลู คา่ การทอ่ งเทีย่ วท่เี พิ่มขนึ้ ซึง่ เป็นค่า เป้าหมายท่ีถ่ายทอดจากแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การทอ่ งเทย่ี ว ๓.๓ การจัดทาโครงการ/กิจกรรมของส่วนราชการตามกลุ่มภารกิจ ได้มีการถ่ายทอด ไปสู่ภาคปฏิบัติ และการวางแผนร่วมกันอย่างบูรณาการ รวมถึงสอดคล้องกับความต้องการ และประชาชนในพื้นท่ี มีส่วนร่วมในการตัดสนิ ใจหรอื ไม่ ๓.๔ ประเด็นการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมวิถีถ่ิน ควรเน้นการพัฒนาด้านการตลาดสินค้า มุ่งเน้น การท่องเท่ียวเป็นอาชีพเสริม ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มผลิตสินค้าคุณภาพ และมีมูลค่าสงู ที่ตลาดมีความตอ้ งการ ๓.๕ การขับเคล่ือนแผนการปฏิรูปประเทศในพื้นที่จังหวัดน่านด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม : เพ่ิมและพัฒนาพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ตามเป้าหมายการจัดหาที่ดินทากินให้ชุมชนตามนโยบาย ท่ดี นิ แหง่ ชาติ (คทช.) ทีใ่ ช้แนวทางแก้ไขปญั หาโดยกลไกพเิ ศษเฉพาะพ้ืนทีก่ ารบรหิ ารพื้นทีร่ ปู แบบพิเศษ เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน : พ้ืนท่ีจังหวัดน่าน (Nan Sandbox) มีความก้าวหน้า ชุมชนมีความสุข มีอาชีพ และการบูรณาการทางานระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ใหป้ ระสบผลสาเร็จ ๓.๖ โครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับการปฏิรูปด้านการศึกษาท่ีมุ่งเน้นลดความเหล่ือมล้า การปฏิรูปการเรียนการสอนในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นเด็กก่อนวัยเรียน จนถึงระดับมหาวิทยาลัย และระดับอาชีวะศึกษาให้มีงานทา โดยดาเนนิ การให้สอดคล้องกับบริบทและสภาพแวดล้อม ขับเคล่ือน กิจกรรม Big Rock ตามแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา กิจกรรมปฏิรูปท่ี ๓ การปฏิรูปกลไก และระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน โดยเฉพาะเด็ก ชาวเขาที่อยู่บนดอยให้ได้รับโอกาสเข้าถึงระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพ และการจัดสรรงบประมาณ ท่ีเพียงพอ ๓.๗ การบูรณาการการจัดทาฐานข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันของแต่ละหน่วยงาน ในจังหวัด เช่น ตัวเลขพื้นท่ีป่าไม้ การเผาป่า ปริมาณน้าด้านการชลประทาน เป็นต้น ยังมีความ คลาดเคล่ือน ไม่ตรงกัน ทาให้การดูแลรักษา การกาหนดมาตรการแก้ไขปัญหา และการจัดทาแผนงาน เป็นไปด้วยความยากลาบาก ๓.๘ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ของจังหวัดน่าน พบว่า ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) อยู่ในระดับต่ามาก จึงต้องปรับปรุงแก้ไข อย่างจริงจัง และเรง่ ดว่ น โดยใหถ้ อื วา่ เป็นวาระสาคัญของจังหวัด

- ๑๙ - ๓.๙ งบประมาณตามภารกิจของส่วนราชการในจังหวัดน่าน มีความเป็นเร่ืองเฉพาะ ของแต่ละหน่วยงาน ขาดการบูรณาการร่วมกันทาให้ยากต่อการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการ ดาเนินการ ดังนั้น ควรใช้แนวทางการจัดทางบประมาณแบบภาพรวมให้สอดคล้องเชื่อมโยงกับแผน การปฏิรูปประเทศ และยุทธศาสตรช์ าติ ๓.๑๐ โครงการ/กิจกรรมของส่วนราชการในจังหวัดน่านยังไม่สามารถตอบโจทย์ ตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเท่าที่ควร ดังนั้น การจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี จาเป็นต้องศึกษาและทาความเข้าใจกับยุทธศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ซึง่ สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาติ (สศช.) สามารถใหค้ าแนะนาแกห่ น่วยงานราชการได้ กจิ กรรมเยีย่ มชมโครงการ/กจิ กรรมสาคญั ทปี่ ระชาชนไดร้ บั ประโยชนโ์ ดยตรง เวลา ๑๓.๐๐ นาฬกิ า คณะสมาชิกวุฒิสภาได้เย่ียมชมโครงการ/กิจกรรมสาคัญท่ีประชาชนได้รับประโยชน์โดยตรง ของจงั หวดั น่าน ซงึ่ ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยได้ แบ่งออกเป็น ๔ คณะ ดังน้ี คณะที่ ๑. เย่ียมชมการดาเนินการ : โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีเฉพาะเมืองภูเพียง บ้านม่วงต๊ึด หมู่ที่ ๔ ตาบลม่วงตึ๊ด อาเภอภูเพียง จังหวัดน่าน (งบประมาณ ๓๔,๘๘๖,๕๐๐ บาท /ผู้รับผิดชอบ กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย ภายใต้โครงการพัฒนากลุ่มท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติ กิจกรรม : พัฒนากลุ่มท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติ (ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการ แขง่ ขนั แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ พื้นท่แี ละเมืองน่าอยอู่ ัจฉรยิ ะ) คณะเดนิ ทางประกอบด้วย ๑. พลเอก สงิ ห์ศึก สิงหไ์ พร รองประธานวฒุ ิสภา คนท่ีหนึ่ง ๒. ศ.พิเศษกาญจนารัตน์ ลีวโิ รจน์ สมาชกิ วฒุ ิสภา ๓. นายดุสติ เขมะศักดช์ิ ยั สมาชกิ วุฒสิ ภา ๔. นางจนิ ตนา ชัยยวรรณาการ สมาชกิ วฒุ ิสภา ๕. นางพงษส์ วาท กายอรณุ สทุ ธ์ิ รกั ษาราชการแทนผู้อานวยการสานักงาน ป.ย.ป. ๖. นางเสาวคนธ์ จันทรผ์ อ่ งศรี กรรมการ ๗. นางวาสนา ทพิ ย์สวุ รรณ อนกุ รรมการด้านนโยบายฯ ๘. นายสาธติ วงศอ์ นนั ต์นนท์ ผอู้ านวยการสานักประชาสมั พันธ์ ๙. นายบรรหาร กาลา ผู้บงั คบั บัญชากลุม่ งานรองประธานวุฒสิ ภา คนทหี่ นง่ึ ๑๐. นายนัฐวชิ แก้วพิกุล นักประชาสัมพันธป์ ฏิบัตกิ าร

- ๒๐ - พลเอก สิงห์ศึก สิงห์ไพร รองประธานวุฒิสภา คนที่หนึ่ง นาคณะสมาชิกวุฒิสภา เดินทางไปยังบ้านม่วงต๊ึด หมู่ท่ี ๔ ตาบลมว่ งตึ๊ด อาเภอภเู พยี ง จงั หวัดนา่ น เพือ่ ติดตามรับฟงั ก าร ด าเนิ น โค ร งก าร พั ฒ น า พ้ื น ท่ี เฉ พ า ะ เมื อ งภู เพี ย ง ซ่ึ ง รั บ ผิ ด ช อ บ โ ด ย ก ร ม โ ย ธ า ธิ ก า ร แ ล ะ ก า ร ผั ง เมื อ ง กระทรวงมหาดไทย ท้ังน้ี โครงการดังกล่าวต้ังอยู่บน พื้นที่สาธารณะประโยชน์หนองน้าครก บ้านแสงดาว หมู่ท่ี ๒ ตาบลฝายแกว้ ตามหนงั สอื สาคญั สาหรับทหี่ ลวง ประมาณ ๑๒๓ ไร่ ๕๙ ตารางวา แบ่งพน้ื ทป่ี ระมาณ ๕o ไร่ เป็นท่ีต้ังของหนว่ ยงานราชการ คงเหลอื เนอ้ื ทีป่ ระมาณ ๗๓ ไร่ ๕๙ ตารางวา สงวนไว้เพื่อใช้ประโยชนร์ ่วมกันของราษฎรทั่วไป ต่อมาพื้นที่ดังกล่าว อยู่ในเขตการปกครองตาบลม่วงต๊ึด ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง การกาหนดเขตตาบล ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือปีพุทธศักราช ๒๕๔๑ ปัจจุบันพื้นที่ดังกล่าวเป็นแหล่งท่องเท่ียว ท่ีสาคัญของจังหวัดน่าน เป็นพ้ืนท่ีศึกษาดูงานทางธรรมชาติ และให้สอดคล้องนโยบายของรัฐบาล ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้มีความกินดี อยู่ดี สร้างความเข็มแข็งของชุมชน และเชื่อมโยง แหล่งท่องเท่ียวจากวัดพระธาตุแช่แห้ง เป็นจุดรองรับนักท่องเที่ยว สาหรับพักผ่อนและรับประทาน อาหาร โดยภายในโครงการฯ มีอาคารร้านค้าของชุมชนและสถานที่ออกกาลังกายเพื่อให้บริการ คนในชุมชนและพื้นท่ีข้างเคียงได้อย่างมีประสิทธิภาพ กรมโยธาธิการและผังเมือง ร่วมกับองค์การ บริหารส่วนตาบลม่วงตึ๊ดได้ทาการศึกษาความเป็นไปได้ และแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อออกแบบ และกอ่ สรา้ ง โครงการพฒั นาเฉพาะเมอื งภูเพยี ง วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ - เพอื่ ใหเ้ ป็นพ้นื ทแี่ กม้ ลงิ รองรบั น้า เพอ่ื การเกษตร เป็นแหล่งเพาะพันธส์ุ ตั วน์ า้ เพอื่ เป็นแหลง่ อาหารของชมุ ชน เป็นระบบ นิเวศเพ่อื รักษาสภาพแวดลอ้ ม - เพ่ือให้เป็นพ้ืนทีส่ วนสาธารณะ เส้นทางจกั รยาน สถานทอี่ อกกาลังกาย และกจิ กรรมสนั ทนาการตา่ ง ๆ - เพือ่ เปน็ จดุ เช่อื มโยงการทอ่ งเทีย่ วของฝง่ั อาเภอเมือง และฝั่งอาเภอภูเพียง เปน็ จดุ พักรถ ของนกั ทอ่ งเท่ยี ว และสง่ เสรมิ กิจกรรมการทอ่ งเทย่ี ว - เพือ่ สง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ วของจงั หวดั นา่ น - เพื่อสรา้ งมูลคา่ เพม่ิ ใหก้ ับพื้นท่ี สง่ เสรมิ รายได้ และเปน็ แหลง่ ประกอบอาชพี ของคนในระดับ หมบู่ ้าน ระดบั ตาบล ระดับอาเภอ และระดบั จงั หวดั นา่ น เปา้ หมายของโครงการ - เพ่ิมพ้ืนทขี่ องแกม้ ลงิ สามารถเกบ็ กกั น้าได้มากข้ึน - ราษฎรมพี ้ืนทส่ี าธารณะประโยชน์ ใช้รว่ มกนั - เป็นการบริหารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มที่มปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธผิ ล

- ๒๑ - ประเดน็ การแสดงความคิดเหน็ ของประชาชน ๑. ประชาชนในชุมชนต้องการที่จะให้สถานที่ดังกลา่ วเป็นแหล่งท่องเท่ียวท่ีมีความม่ันคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน อีกทั้งเป็นจุดพักรถของนักท่องเท่ียวและเป็นแลนด์มาร์คแห่งใหม่ของจังหวัดน่าน เช่ือมโยง เมอื งเก่าภมู ินทร์ และเมืองเก่าภูเพยี งแช่แหง้ เป็นแหล่งสรา้ งงาน สรา้ งรายไดข้ องคนในชมุ ชน โดยจะจัด รถรางเพ่ือเชื่อมโยงส่งคนไปยังเมืองเก่าท้ังสองแห่งและเช่ือมโยงไปยังหมู่บ้านทั้ง ๕ หมู่บ้านในตาบล ม่วงตึดด สร้างเร่ืองเล่าทางประวัติศาสตร์ ฝึกสอนมัคคุเทศก์ท้องถ่ิน โดยตาบลม่วงตดึดมีสินค้าที่น่าสนใจ ทั้งบ้านโคมคา ท่ีผลิตโคมแขวน นอกจากน้ียังเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุ์ปลา และเป็นแหล่งผลิตผักปลอด สารพษิ อีกด้วย ๒. โครงการดังกล่าวมีความคุ้มค่าทั้งทางด้านสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัดน่านที่มีทาเลท่ีตั้งที่ไม่กระจุกตัวอยู่เฉพาะแต่ในเมืองเท่าน้ัน อีกทั้งหนอง น้าครกยงั เป็นแหลง่ เมืองเกา่ มีเรอ่ื งราวเลา่ ขาน มีศักยภาพทีจ่ ะพฒั นาได้ ๓. ปจั จยั แหง่ ความสาเรจ็ ของโครงการดังกลา่ วเกดิ จากความร่วมมือร่วมใจของคนในชมุ ชน ๔. ในอนาคตควรพัฒนาพ้ืนท่ีให้มีความน่าสนใจและดึงดูดนักท่องเที่ยว เช่น ควรมีอุโมงค์ปลา เพือ่ แสดงพันธุส์ ตั วน์ ้าตา่ ง ๆ เป็นต้น ประเดน็ การแสดงความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะของสมาชกิ วฒุ ิสภา ๑. เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาพ้ืนท่ีและเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ การออกแบบควรคานึงถึงการ ใช้พลงั งานทดแทนหรอื พลงั งานสะอาดดว้ ย ๒. การที่จะทาให้โครงการดังกล่าวเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน น้นั ต้องเกดิ จากการมีสว่ นร่วมของประชาชนในพืน้ ท่ี ทง้ั ในขั้นตอนการวางแผน รว่ มคดิ ร่วมทา และร่วม ดาเนินการ ควรมีการให้ความรู้แก่ประชาชน และมีการเตรียมการอบรมมัคคุเทศก์หรือไกด์ท้องถ่ิน เพื่อทาหน้าทใี่ ห้ความช่วยเหลือ ให้ขอ้ มูล ความเข้าใจทางดา้ นวัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ และเหตกุ ารณ์ รว่ มสมัยตา่ ง ๆ แกน่ ักท่องเทย่ี ว ๓. โครงการดังกลา่ วพิสูจน์ให้เห็นวา่ ปัญหาทุกปัญหาสามารถแกไ้ ขได้ด้วยคนในชุมชนทม่ี องเห็น ปัญหาร่วมกัน และช่วยกันแก้ไข นอกจากน้ี ยังสะท้อนให้เห็นว่าคนในชุมชนแห่งน้ียึดถือความถูกต้อง ทีไ่ ม่ยอมให้มกี ารบกุ รกุ และถอื ครองทส่ี าธารณประโยชน์ ๔. การเกิดขึ้นของโครงการดังกล่าว เร่ิมต้นมาจากความต้องการของชุมชน และได้รับ การสนบั สนุนจากภาครัฐ นับวา่ เป็นเร่ืองท่ีดี และท่ีสาคัญคือผู้นาชุมชนสามารถที่จะสื่อสาร สร้างความ เข้าใจให้ชาวบ้านเกิดความเข้าใจหรือมองเห็นความสาคัญจนรวมใจกันสร้างแหล่งท่องเท่ียวน้ีข้ึน ทงั้ นี้ เมือ่ การก่อสร้างเสร็จแลว้ ควรมกี ารวางระบบบรหิ ารจดั การท่ีมคี วามเปน็ มืออาชีพ

- ๒๒ - คณะท่ี ๒. เย่ียมชมการดาเนินการ : งานก่อสร้างทานบก้ันน้า บ้านสัน ตาบลเชียงของ อาเภอนาน้อย จังหวัดน่าน (งบประมาณ ๑,๙๑๕,๗๐๐ บาท /ผู้รับผิดชอบ กองบัญชาการกองทัพ ไทย กระทรวงกลาโหม ภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศและความ พร้อมเผชิญภัยคุกคามทุกมิติ (ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ ความม่นั คง) คณะเดินทางประกอบดว้ ย ๑. พลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร สมาชกิ วฒุ ิสภา ๒. นายจเดจ็ อนิ สวา่ ง สมาชกิ วฒุ สิ ภา ๓. นายดิเรกฤทธ์ิ เจนครองธรรม สมาชิกวฒุ ิสภา ๔. นางดวงพร รอดพยาธ์ิ สมาชิกวฒุ สิ ภา ๕. รองศาสตราจารย์ทวีศกั ด์ิ สูทกวาทนิ กรรมการ ๖. นายชัยยทุ ธ สนิ สงู สุด อนุกรรมการด้านนโยบายฯ ๗. นายอดุ ร พนั ธุมติ ร วทิ ยากรชานาญการพิเศษ ๘. นายอมร จงึ รุ่งฤทธิ์ วทิ ยากรชานาญการ ๙. นายเอกภักดิ์ หอมสมบัติ นักประชาสมั พนั ธป์ ฏบิ ัติการ พลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร สมาชิก วุฒิสภา เป็นหัวหน้าคณะนาสมาชิกวุฒิสภาลง พ้ืนที่ทานบกั้นน้า บ้านสัน ตาบลเชียงของ อาเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เพ่ือติดตามการ ดาเนินการก่อสร้างทานบกันน้า ซ่ึงรับผิดชอบ ดาเนินการโดยหน่วยพัฒนาการเคล่ือนท่ี ๓๑ สานักงานพฒั นาภาค ๓ หน่วยบัญชาการทหาร พัฒนา ซึ่งเป็นโครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ได้ดาเนินการแล้วเสร็จ โดยเริ่ม ก่อสร้างเมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๔ ถึง วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๔ รวมใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างจน กระทัง้ เสร็จสน้ิ เปน็ ระยะ ๕๕ วัน โดยโครงการดังกล่าวข้างต้น เป็นหน่ึงในโครงการพัฒนาศักยภาพดา้ น การพัฒนาประเทศและการช่วยเหลือประชาชน กิจกรรม การจดั หาน้ากินนา้ ใช้ในพืน้ ทเ่ี ปา้ หมาย

- ๒๓ - สภาพปัญหาและเหตุผลความจาเป็นของการดาเนินการโครงการ หมู่บ้านสนั และหมู่บ้านน้าหิน ตาบลเชียงของ อาเภอนาน้อย จังหวัดน่าน มีราษฎรท่ีอาศัยอยู่ จานวนครัวเรือน ๒๑๒ ครัวเรือน จานวนประชากร ๗๒๑ คน สภาพทั่วไปของหมู่บ้านตั้งอยู่ บนพ้ืนที่ ช่องหุบเขาและตามไหล่เขา ปัญหาภายในหมู่บ้านยังขาดแคลนน้าในการทาการเกษตรที่ไม่เพียงพอ ต่อความต้องการ เนื่องจากการทาการเกษตรที่เพ่ิมมากขึ้น และลาห้วยเดิมไม่สามารถกักเก็บน้าได้ ในช่วงฤดูแล้ง อีกทั้งฤดูฝนมีน้าไหลเข้าท่วมพื้นท่ีการเกษตร ปัจจุบันปริมาณน้าไม่เพียงพอต่อความ ตอ้ งการในการทาการเกษตร และการใช้เลยี้ งสตั ว์ เนอื่ งจากลาหว้ ยไม่มแี หล่งกกั เก็บน้าฤดูแล้ง แหลง่ น้า แห้งขอดไม่เพียงพอ ดังนั้น หน่วยพัฒนาการเคล่ือนท่ี ๓๑ สานักงานพัฒนาภาค ๓ หน่วยบัญชาการ ทหารพฒั นา (นพค. ๓๑ สนภ. ๓ นทพ.) จึงเห็นความสาคัญของปญั หาและเข้าดาเนินการประชาคมกับ ราษฎร ซ่ึง องค์การบริหารส่วนตาบลเชียงของ อาเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ได้พิจารณาถึงความ เหมาะสมแล้วจึงไดด้ าเนนิ การตามโครงการก่อสร้างทานบกนั้ น้าขนาดสนั กวา้ ง ๔ เมตร ยาว ๓๕ เมตร สูง ๔ เมตร ท่บี ้านสนั ตาบลเชยี งของ อาเภอนานอ้ ย จงั หวัดนา่ น โดยทานบกัน้ นา้ แห่งนี้สามารถกักเก็บ น้าเตม็ ความจไุ ด้ถึง ๒๓,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร เพ่ือแกไ้ ขปญั หาดังกล่าวอยา่ งเรง่ ดว่ น และย่งั ยนื ต่อไป ผลลพั ธจ์ ากการดาเนินการ ๑. ราษฎรบ้านสัน และบ้านน้าหิน ตาบลเชียงของ อาเภอนาน้อย จังหวัดน่าน มีคณุ ภาพชีวิตที่ ดขี ้นึ เกิดความศรัทธา และเชอื่ มนั่ ต่อเจา้ หนา้ ที่รฐั ๒. เป็นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อดารงชีพและความเป็นอยู่โดยการพัฒนาแหล่งน้า เพอื่ การเกษตร ๓. เปน็ แหลง่ กกั เก็บนา้ ธรรมชาติ เพือ่ การเกษตรและเพม่ิ โอกาสในการเพาะปลกู ให้มากขน้ึ ๔. ลดความเสยี หายจากภยั แล้งหรือภาวะฝนทิง้ ชว่ งโดยเฉพาะในห้วงทพ่ี ชื ต้องการน้า ๕. ยกระดับคุณภาพชีวิตของราษฎรบา้ นสนั และบ้านนา้ หิน

- ๒๔ - นอกจากนี้ยังมีการแต่งต้ังตัวแทนจากหมู่บ้านสัน และหมู่บ้านน้าหิน ตาบลเชียงของ อาเภอ นาน้อย จังหวัดน่าน จานวน ๗ คน มาเป็น “คณะกรรมการบริหารจัดการน้า” เพื่อทาหน้าที่บริหาร จัดการน้าจากทานบกัน้ นา้ แห่งน้ี ใหไ้ ดป้ ระโยชน์สงู สุดตอ่ สว่ นรวมในพ้นื ท่ตี ่อไป ประเดน็ ข้อสงั เกต และข้อเสนอแนะของสมาชกิ วุฒสิ ภา สรปุ สาระสาคัญได้ ดงั น้ี ๑. การสรา้ งทานบกน้ั น้าแหง่ น้ี เมื่อแลว้ เสร็จจะมีความมัน่ คงแขง็ แรงเพยี งใด มมี าตรการใด รองรบั หรอื ป้องกันการพังทลายของของทานบกัน้ นา้ หรอื ไม่ ผู้บังคับหน่วยพัฒนาการเคลื่อนท่ี ๓๑ สานักงาน พัฒนาภาค ๓ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนาได้ช้ีแจ้งว่า การสร้างทานบกั้นน้าบ้านสันแห่งน้ี เป็นการก่อสร้างตาม ข้ันตอนโครงสร้างท่ีได้มาตรฐานของหน่วยบัญชาการทหาร พัฒนา ซึ่งทานบกั้นน้าบ้านสันแห่งน้ี เป็นหน่ึงในพ้ืนที่ เป้าหมาย โดยท่ีกอ่ นหน้าน้ีมีการสร้างทานบก้ันนา้ ตามข้ันตอน โครงสร้างดังกล่าวเสร็จสิ้นแล้ว ๔ แห่ง ต้ังแต่ปี ๒๕๖๐ จนถึง ปัจจบุ ัน ยังไม่มีทานบก้ันนา้ ใดที่เสียหาย นอกจากน้ียงั ใหช้ าวบ้านในแต่ละพ้นื ทป่ี ลูกหญ้าแฝกบริเวณสัน ทานบก้นั นา้ เพ่อื ปอ้ งกนั การพังทลายของหน้าดนิ อีกประการหนงึ่ ด้วย ๒. คณะกรรมการบรหิ ารจัดการนา้ ที่จะต้องเข้า ทาหนา้ ทบ่ี รหิ ารจดั การน้าจากทานบกนั้ น้าแห่งนี้ มีขน้ั ตอนหรือมาตรการใดบ้าง เพ่ือปอ้ งกนั หากเกดิ กรณี พิพาทของชาวบ้านในการขัดแย้งจากการใช้ประโยชน์ ของทานบกัน้ นา้ แห่งนี้ ผู้ใหญ่บ้านบ้านสัน ชี้แจงว่า เน่ืองจากการสร้าง ทานบกั้นน้าแห่งนี้ เพิ่งแล้วเสร็จยังไม่มีน้าให้กักเก็บ ประกอบกบั คณะกรรมการบรหิ ารจัดการนา้ ชุดนี้เปน็ ชดุ แรก จงึ ยงั ไม่ไดม้ ีมาตรการรองรับดงั กลา่ ว แตจ่ ะ ได้นาขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการไปดาเนินการหารอื ตอ่ ไป ๓. สมาชิกวุฒิสภาเสนอแนะให้ทางอาเภอนาน้อย พิจารณาจัดทาแผนงานเพ่ือทาคาขอ งบประมาณเพอื่ บารงุ รกั ษาทานบเสนอจงั หวดั เพื่อบรรจุในแผนพฒั นาจงั หวัด และของบประมาณต่อไป พร้อมท้ังเสนอแนะให้ประชาชนในพ้ืนที่ร่วมกันหาแนวทางหรือมาตรการท่ีจะดูแลบา รุงรักษาทานบ ก้ันน้าแห่งนี้ เพ่ือให้ได้ประโยชน์สูงสุดร่วมกันของประชาชน คุ้มค่ากับเงินงบประมาณของแผ่นดินท่ีได้ นามาพัฒนาในพ้ืนท่ี

- ๒๕ - คณะที่ ๓. เยี่ยมชมการดาเนินการ : สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้าบ้านไผ่งาม พ้ืนท่ีชลประทาน ๑,๐๐๐ ไร่ ตาบลส้าน อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน (งบประมาณ ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท /ผู้รับผิดชอบ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายใต้แผนงานบรู ณาการพัฒนา พ้ืนที่ระดับภาค (ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การบริหารจดั การน้าทง้ั ระบบ) คณะเดินทางประกอบดว้ ย ๑. พลเอก โปฎก บุนนาค สมาชกิ วุฒิสภา ๒. พลอากาศเอก อดิศักดิ์ กลั่นเสนาะ สมาชกิ วฒุ ิสภา ๓. พลเอก สาเรงิ ศวิ าดารงค์ สมาชกิ วุฒสิ ภา ๔. นายสมชาย ชาญณรงค์กลุ สมาชิกวฒุ ิสภา ๕. นายพลเดช ปน่ิ ประทปี สมาชกิ วฒุ สิ ภา ๖. นายณฏั ฐกิตต์ิ ปทั มะ วิทยากรเช่ยี วชาญ ๗. นายพลณฐั เครือเช้า นกั ประชาสัมพันธป์ ฏบิ ัติการ ๘. นางธริ าพร ณ เชยี งใหม่ เจา้ พนักงานธุรการชานาญงาน พลเอก โปฎก บุนนาค สมาชิกวุฒิสภา เป็นหัวหน้าคณะนาสมาชิกวุฒิสภาลงพื้นท่ีบ้านไผ่งาม ตาบลส้าน อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน เพ่ือติดตามการดาเนินงานโครงการสถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้า พร้อมระบบส่งน้า ซึ่งรับผิดชอบโดยกรมโยธาธิการและการผังเมือง เพื่อให้เกษตรกรใช้น้าได้อย่างทั่วถึง ในพนื้ ท่ีบา้ นไผ่งามสาหรับชว่ ยเหลือพื้นท่ีการเกษตรประมาณ ๑,๐๐๐ ไร่

- ๒๖ - วัตถุประสงคโ์ ครงการ เพ่ือสูบน้าใช้ในการเกษตรในพ้ืนท่ีบ้านไผ่งาม ตาบลส้าน อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน พื้นท่ี รบั ประโยชน์ประมาณ ๑,๐๐๐ ไร่ สถานะของโครงการ โครงการชลประทานน่าน กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ดาเนินการ ทาสัญญาจัดซ้ือจัดจ้างกับผู้รับเหมาแล้ว แต่เน่ืองจากมีผู้ร้องคัดค้านผลการประกวดราคา และมีการ ส่งเร่ืองการอุทธรณ์ เพื่อให้กรมบัญชีกลางพิจารณาวินิจฉัยตามกฎหมาย (หน่วยงานโครงการ ชลประทานนา่ นสง่ เร่อื งการอุทธรณ์ไปยังกรมบัญชกี ลาง) ประเดน็ ขอ้ คาถาม ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะของสมาชิกวฒุ สิ ภา ๑. สร้างแหลง่ กักเก็บน้าให้เพยี งพอต่อความตอ้ งการของประชาชนในพนื้ ที่ เนน้ แหล่งกกั เก็บน้า บนภูเขา (อ่างเก็บน้า) เพื่อใช้อปุ โภค บรโิ ภค การเกษตร เปน็ แหล่งท่องเทีย่ ว และที่พกั นกั ท่องเท่ียว ๒. การกระจายน้าจากสถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้า ครอบคลุมพื้นท่ีรับประโยชน์ให้ครอบคลุมและ ทว่ั ถงึ ๓. สถานีสบู น้าแจกจา่ ยใหป้ ระชาชนในพ้ืนท่เี ฉพาะในฤดูฝนหรือในฤดูแล้ง หรอื ตลอดทงั้ ปี ๔. การบริหารจัดการน้าอย่างมีประสิทธิภาพ มีการต้ังคณะกรรมการและมีการวางแผน การใชน้ ้า มีการกาหนดกฎเกณฑ์ ระเบยี บร่วมกนั เพื่อใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมและโปร่งใสอยา่ งไร ๕. ผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการค่าไฟฟ้า และค่าใช้จ่ายในการบารุงดูแลรักษาอย่างเป็น ระบบ ๖. การใช้น้าอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด การปลูกพืชท่ีมีมูลค่าสูง เช่น พริกไทย พืชใช้น้าน้อย และตลาดมคี วามตอ้ งการ ๗. การตัง้ กลุ่มผใู้ ช้นา้ เพือ่ สรา้ งการมีส่วนร่วม/ความรับผดิ ชอบรว่ มกันของประชาชนในพ้ืนที่

- ๒๗ - คณะท่ี ๔. เย่ียมชมการดาเนินการ : โรงเรียนคุณภาพประจาตาบลโรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร) ถนนข้าหลวง ตาบลในเวียง อาเภอเมืองน่าน จังหวัดนา่ น (ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การ พัฒนาการเรยี นรู้) คณะเดนิ ทางประกอบดว้ ย ๑. นายออน กาจกระโทก สมาชกิ วุฒิสภา ๒. นางกอบกลุ อาภากร ณ อยุธยา สมาชกิ วุฒิสภา ๓. นางสาวดาวนอ้ ย สทุ ธินภิ าพนั ธ์ สมาชิกวุฒิสภา ๔. นายอรรทิตย์ฌาณ คหู าเรืองรอง อนุกรรมการการมสี ่วนร่วมของเยาวชน ๕. นายอาชวนิ ลอ้ มพิทักษ์ อนุกรรมการประชาสมั พนั ธ์ฯ ๖. นายกติ ตกิ ร กอบเงิน วิทยากรปฏบิ ัติการ ๗. นางสาวปิยวรรณ แสนเมือง นักประชาสัมพนั ธป์ ฏิบตั ิการ ข้อมลู โรงเรียนบา้ นดอน (ศรเี สรมิ กสกิ ร) ต้ังอยู่ท่ี ถนนข้าหลวง ตาบลในเวียง อาเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน มีครูและบุคลากร จานวน ๑๐๖ คน นกั เรยี น จานวน ๑,๗๘๑ คน การจดั การศึกษาของโรงเรยี นตามแนวทางปฏริ ูปการจัดการศกึ ษา ๑. จัดเนื้อหาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึง ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล ๒. ฝึกทักษะกระบวนการคดิ การจดั การ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความร้เู พื่อนาไปใช้ ในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หา ๓. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียน เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้คิดเป็นทาเป็น รักการอ่าน และเกดิ การเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง ๔. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระ ความรู้ต่าง ๆ ให้ได้สัดส่วนสมดุล ปลูกฝังค่านิยมและ คุณลักษณะอนั พึง่ ประสงค์ ในทกุ สาระวิชา ๕. จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ส่ือการ เรียน และอานวยความสะดวกให้ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ สามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ เรียนรู้ ผู้สอนและผู้เรียนเรียนรู้ไปพร้อมกัน จากส่ือ การเรยี นการสอนและแหล่งวทิ ยาการประเภทต่าง ๆ

- ๒๘ - ๖. จัดการเรียนรู้ให้เกิดทุกเวลา ทุกสถานท่ี ประสานความร่วมมือจากผู้ปกครอง และชุมชน เพื่อพฒั นาผูเ้ รยี นตามศักยภาพ ผลการพฒั นาการศึกษาด้านส่งเสริมวชิ าการ ทางโรงเรียนได้กาหนดกลยุทธ์และจัดทาแผนพัฒนา คุณภาพการศกึ ษา มีการวางแผนกระบวนการคน้ หานวัตกรรม ดาเนินการค้นหานวัตกรรมท่ีเหมาะสม หลังจากนั้นได้ ตรวจสอบและเพ่มิ เตมิ ขน้ั ตอนที่เหมาะสม และประชาสัมพนั ธ์ ให้บคุ ลากรในองคก์ รได้รบั ทราบ โดยพฒั นารปู แบบดังต่อไปน้ี การดาเนินงานตามผลงานตามกิจกรรมตามวงจร ADLI ๑. การวางแนวปฏิบัติ Approach ทางโรงเรียนได้ทาการวิเคราะห์กลยุทธ์แล้วนาการกาหนด กลยุทธเ์ พือ่ ให้มีนวัตกรรมใช้ในทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๒. การดาเนินการ Deployment โรงเรียนได้ใช้กระบวนการ PDCA – S/P โรงเรียน บ้านดอน (ศรเี สริมกสิกรรม) Model ในการจัดการเรยี นรู้ P (PLAN) การวางแผน มกี ารประชมุ คณะกรรมการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิ D (DO) จดั การเรียนร้ตู ามกระบวนการเรยี นรู้ ตรากระบวนการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑ ดงั นี้ ๑. กระบวนการเรยี นรู้แบบลงมอื ปฏบิ ัติ ๒. กระบวนการเรียนร้ผู ่านการสื่อสารอยา่ งสรา้ งสรรค์ ๓. การเรยี นร้แู บบขัน้ บันได (IS) C (CHECK) การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล การนิเทศภายในอย่างต่อเน่ือง เพื่อตรวจสอบ และใหค้ าแนะนา รวมท้งั หาแนวทางแกไ้ ข A (ACTION) ประเมิน ปรับปรุงและวิเคราะห์ผล RT, NT, O – NET และข้อสอบมาตรฐาน ปลายปี S (Smart) ความเป็นเลิศทางวิชาการ การดาเนินการตามโครงการ กิจกรรมสนับสนุน และ กจิ กรรมการเรยี นการสอน P (Presentation) การประชาสัมพนั ธ์ต่อสาธารณชนอนื่ ๆ ๓. การแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Learning) โรงเรียนมีการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในการ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสปั ดาห์ละ ๒ ครง้ั โดยจัดภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันและภายใน ชัน้ เรียนแตล่ ะสายช้ัน ๔. การบูรณาการ (Integration) ทางโรงเรียนได้ใช้กระบวนการในการบริหารท้ัง ๔ งาน โดยการบูรณาการแบบองคร์ วม การพฒั นาการศกึ ษาด้านส่งเสรมิ วชิ าการ แบง่ เปน็ ๕ ประเด็น ไดแ้ ก่ ๑. การจัดการเรียนการสอนภาษาตา่ งประเทศ ๒. การพฒั นาดา้ นทกั ษะชวี ิต ๓. การพฒั นาทกั ษะอาชพี ๔. กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ ๕. กิจกรรมค่ายวิชาการ

- ๒๙ - ภาวะผู้นาและการบรหิ ารจดั การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา สร้างทกั ษะผู้นาตามคุณลกั ษณะผ้นู าการเปลี่ยนแปลง Transformational Leadership ๑. เปน็ แบบอยา่ งและตัวอยา่ งท่ีดี Idealized Influence ๒. เปน็ นกั สร้างแรงบนั ดาลใจ Inspirational Motivation ๓. กระตุน้ ให้เกิดการเรยี นร้ทู กุ สถานการณ์ Intellectual Stimulation ๔. เขา้ ใจลกั ษณะเฉพาะแตล่ ะบคุ คล Individualized consideration ๕. การสร้างทมี งาน Teams การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๑. มคี รคู รบชนั้ เรยี น ตรงสาขา มีบคุ ลากรธุรการ นกั การภารโรง และครูมีทกั ษะวิชาชพี ๒. หลักสูตรการจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้ ตามการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ประกอบด้วย ทักษะพื้นฐานในการรู้หนังสือ ทักษะการคิด ทักษะการทางาน ทักษะการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และทกั ษะการใช้ชีวิต โดยการประเมินการจัดการเรยี นรู้ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ใช้แบบทดสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับสากล ควบคู่ไปกับการวัดและประเมินผลการ เรยี นรู้ตามสภาพจริงในห้องเรยี น ๓. การจัดการชั้นเรียน การออกแบบการจัดการเรียนการสอนให้มีความหลากหลาย อาทิ การเรียนรู้แบบรายบุคคล การเรียนแบบกลุ่ม สนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านทรัพยากร และชอ่ งทางการเรียนรูท้ ีห่ ลากหลายท้ังในหอ้ งเรียนและการเรยี นรแู้ บบออนไลน์ และจัดการให้มี การเชอื่ มตอ่ การเรยี นรู้ ทง้ั ภายในและภายนอกห้องเรยี น ๔. ภาษาและการสื่อสาร (อย่างน้อย ๒ ภาษา ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) โดยมีการพัฒนา ทักษะการสื่อสารภาษาที่ ๒ และภาษาที่ ๓ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน ในระดับการพัฒนาการ สือ่ สารเบอ้ื งต้นเพอื่ การสอื่ สารในชีวิตประจาวัน ๕. การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนครูมีศักยภาพในการแยกความสามารถของนักเรียน ได้เป็นรายบุคคล มีกระบวนการดาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนชัดเจน พร้อมท้ังมีวิธีการและเครื่องมือท่ีมีมาตรฐาน คุณภาพ และมีหลักฐานในการทางานท่ีตรวจสอบได้ เพื่อม่งุ ผลสัมฤทธิใ์ นการแกป้ ัญหาผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คลและส่งเสรมิ ผเู้ รียนอย่างเต็มศักยภาพ ๖. การวิจัยและการพัฒนาเรียนการสอน ครูผู้สอนควรทาวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน อย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ เร่ือง เพ่ือเป็นการแก้ปัญหาและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ในช้ันเรียนอย่าง เปน็ ระบบ ๗. การพัฒนาตนเองแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ เป็นกระบวนการสร้างการเปล่ียนแปลง โดยเรยี นรจู้ ากการปฏิบัตงิ านของกล่มุ บคุ คลที่มารวมกนั เพ่ือทางานรว่ มกัน และสนบั สนนุ ซึง่ กนั และกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนร่วมกัน มุง่ เน้นและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้อย่าง เป็นองค์รวมมรี ปู แบบ และขั้นตอนการสรา้ งชุมชนทางวชิ าชพี ดงั น้ี

- ๓๐ - ๑. ระบคุ วามต้องการของผเู้ รยี นและความสาคญั ๒. ครูรว่ มกนั วางแผนการเรยี นรู้และทดลองใช้ ๓. ตรวจสอบแผนและกระบวนการนาไปใช้ ๔. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขบนพื้นฐานของข้อมูล ๕. ศกึ ษาแนวทางวธิ ีการสอนและทดลองใชว้ ิธีใหม่ ๖. สะทอ้ นผลการทางานและพจิ ารณาแนวทางทเ่ี หมาะสมกบั ผ้เู รยี น ๘. ครูสามารถใช้เทคโนโลยี ICT ในการจัดการเรียนการสอนและค้นคว้าหาความรเู้ พิ่มเติม การสร้างเครอื ขา่ ยและการมีสว่ นร่วม ๑. การสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์โรงเรียนและชุมชนโดยใช้หลัก 3S’s ในการสร้างความ รว่ มมอื และการสนบั สนนุ จากชุมชน ๑.๑ Shared Vision การสรา้ งชุมชุนมีวสิ ยั ทศั น์รว่ มกนั กับสถานศึกษา ๑.๒ Synergy การรวมพลังประสานความร่วมมือกับชมุ ชนใหท้ างานร่วมกับสถานศึกษา ๑.๓ School – Based Activities การสรา้ งสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นแหล่งความรู้ศนู ย์กลางพฒั นา ทรัพยากรมนษุ ยข์ องชมุ ชน ๒. การสรา้ งความสมั พันธร์ ะหวา่ งเครอื ขา่ ยการพัฒนา การมีสว่ นรว่ มของเครอื ข่ายประกอบด้วย ๒.๑. เครอื ขา่ ยศิษยเ์ ก่าสมาคมครแู ละผู้ปกครองนกั เรยี น 2.๒ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 2.๓ เครอื ข่ายกลมุ่ โรงเรียน 2.๔ เครอื ข่ายของชมุ ชนในทอ้ งถนิ่ วดั องค์กรและหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน 2.๕ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2.๖ กระทรวงมหาดไทย 2.๗ กระทรวงดิจทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม 2.๘ กระทรวงสาธารณสขุ 2.๙ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 2.๑๐ กระทรวงพลงั งาน ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานตามโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล ๑. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน จานวนโครงสรา้ งพืน้ ฐานไมส่ ามารถตอบสนองกบั จานวนนกั เรียน ท่ีเพิ่มขน้ึ ทกุ ปี ทาให้มปี ญั หาความไมเ่ พยี งพอของอาคารเรียนและอาคารประกอบตอ่ จานวนนกั เรยี น โดยเฉพาะในสว่ นของโรงอาหารทก่ี อ่ สรา้ งเม่อื พ.ศ. ๒๕๒๔ ระยะเวลาประมาณ ๔๐ ปี มคี วามชารดุ ผพุ งั ท่ีตอ้ งซ่อมแซมและการบารงุ รกั ษา แต่ยังไม่ได้รบั การจัดสรรงบประมาณ ๒. ด้านการส่งเสริมการศึกษาการพัฒนาทักษะวิชาชีพยังมีพัฒนาการที่ไม่เด่นชัด ยงั ไม่สามารถ พัฒนาทักษะวิชาชีพในลักษณะของโครงงานอาชีพให้ครบวงจร ทาได้เพียงกระบวนการผลิตช้ินงาน เท่าน้ัน ในส่วนของการบริหารจัดการด้านการซื้อขาย การหาตลาดและการกระจายสินค้า รวมถึงการ ดาเนินการในการจัดทาบญั ชีรายรับรายจา่ ยยังไมส่ ามารถดาเนินการให้เห็นชัดและครบวงจรได้

- ๓๑ - ๓. การจัดการเรียนการสอนในชว่ งของการใช้มาตรการป้องกัน covid - 19 ทาให้เกิดอุปสรรค ในการเรียนการสอนและการจัดการเรียน โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ยังมีข้อจากัด ในประเด็นของประสิทธิภาพและความพร้อมของระบบการศึกษา รวมถึงการท่ีผู้ปกครองสะท้อน ความคิดเห็นว่าเป็นการเพมิ่ ภาระให้ผู้ปกครอง และยงั สะทอ้ นถึงภาพปัญหาความเหลอื่ มล้าของนกั เรียน ทม่ี อี ยา่ งหลากหลายอีกดว้ ย ๔. การที่โรงเรียนเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีจานวนนักเรียนมาก และด้วยสภาพสังคม ท่ีเปล่ียนไปอยา่ งรวดเรว็ ทาใหจ้ านวนนกั เรยี นมคี วามบกพรอ่ งในการเรียนรเู้ พ่ิมสดั สว่ นมากขึ้น ส่งผลถึง อปุ สรรคในการบริหารจดั การชนั้ เรยี นและประสิทธภิ าพการเรยี นรูแ้ ละผลสัมฤทธิ์ในภาพรวม ๕. ด้านการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมใน เชิงวชิ าการยงั ไม่เข้มแข็งเทา่ ที่ควรอันเน่ืองมาจากความจากัดในเร่อื งของทรพั ยากรและการเขา้ ถงึ การใช้ ทรัพยากรร่วมกันของเครือข่ายท่ีเป็นหน่วยงานภายนอกอันเน่ืองมาจากนโยบายของหน่วยงาน ทไ่ี ม่ต่อเนื่อง ประเด็นขอ้ แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ๑. ประเด็นการสอนให้นักเรียนมีความรักถิ่นฐาน สอนให้เด็กมีมารยาท เคารพรักพ่อแม่ ครูอาจารย์ มีความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งต้องมีเทคนิคในการสอน มิใช่การคิดว่าเป็นไปตามยุคสมัย แต่ครตู อ้ งพยายามสอนให้ได้ ๒. ประเด็นการสอนเด็กในด้านพหุปัญญา ตามศักยภาพของนักเรียน คือด้านดนตรี กีฬา หรือสายอาชีพต่าง ๆ ซึ่งจะทาให้สามารถพัฒนาเด็กได้ ไม่ทาให้เด็กถูกท้ิงจากระบบการศึกษา ท่ีเน้นวิชาการ จนต้องออกจากระบบการศึกษา ซึ่งเด็กจะได้รับการพัฒนาจนอาจประสบความสาเร็จ ในความถนัดหรือศักยภาพของตนเองได้ ๓. ประเด็นการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศถือวา่ มคี วามจาเป็นซ่ึงต้องทาใหน้ ักเรียนมคี วาม กล้าทีจ่ ะสนทนาภาษาต่างประเทศได้ ๔. ประเดน็ ร่างพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ ซ่งึ คาดว่าจะเข้าสกู่ ารพจิ ารณาของรัฐสภา ในห้วงเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ในกรณีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ซึ่งยังมีความไม่ชัดเจน เนื่องจากความคิดเห็นยังแตกต่างนั้น จะมีความชัดเจนในการพิจารณาในช้ันกรรมาธิการ ซ่ึงจะได้ แลกเปลี่ยนความเหน็ จนไดข้ ้อยุติ 5. ท่ีมาของโรงเรียนคุณภาพประจาตาบลเกิดจากการคัดเลือกภายในเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาน่านเขต ๑ สืบเนื่องมาจากโครงการของรฐั บาลต้ังแต่ในอดีต คือ โครงการโรงเรียนในฝัน แต่ โครงการสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ต่อมาได้ร่วมโครงการของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ โรงเรียนดีใกล้ บา้ น โรงเรียนดีศรตี าบล และโรงเรยี นดปี ระจาตาบล จนมาถึงในปัจจุบนั คือ โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล โดยโรงเรียนบา้ นดอน (ศรีเสริมกสิกร) ได้รับการคัดเลือกเนื่องจากการประเมนิ จาก ๒ ปัจจยั ไดแ้ ก่

- ๓๒ - ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ โดยเฉพาะคะแนนสอบ O - NET ของนักเรียนโรงเรียน บ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร) มีคะแนนสูงกว่าค่าเฉล่ียของประเทศ โดย ค่าเฉลี่ยคะแนนสอบ O – NET ท้ังประเทศอยู่ท่ี ร้อยละ ๓๖ แต่ค่าเฉลี่ยของโรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร) อยู่ท่ีร้อยละ ๔๘ โดยสูงกว่าคา่ เฉล่ยี ทกุ วชิ า ๒. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ของนักเรยี นโรงเรยี นบ้านดอน (ศรีเสริมกสกิ ร) มงุ่ เนน้ ให้ นักเรียน เก่ง ดี และมคี ุณคา่ ท้ังนี้ ปัจจุบันโรงเรียนยังไม่ได้รับเงินสนับสนุนการเป็นโรงเรียนคุณภาพประจาตาบล จากรัฐบาล ๖. ผู้บริหารและครูผู้สอนของโรงเรียนมีคุณภาพจานวนมาก ส่งผลให้เกิดการแข่งขันในการ ทางาน ส่งผลใหน้ ักเรยี นได้รับความร้อู ย่างมีคณุ ภาพจากครูผู้สอนโดยมีวิธีการสอนท่เี หมาะสม สามารถ เปน็ แบบอย่างให้กบั โรงเรียนอนื่ ๆ ได้ ๗. โรงเรียนเห็นว่าหลักสูตรทุจริตศึกษาเป็นหลักสูตรท่ีดี มีรายละเอียดชัดเจน แต่มีความเป็น ทฤษฎีมากเกินไปทาให้เกิดปัญหาขึ้นกับทั้งครูผู้สอนและนักเรียนโรงเรียนในการจัดการเรียนการสอน จงึ มีการประยุกตห์ ลักสตู รทุจรติ ศึกษาให้สอดคล้องกบั กิจกรรมและเนื้อหาการเรียนใน แต่ละวชิ า โดยมี แนวทางดังนี้ ๑. จัดเป็นวิชาเพิ่มเติมในหลักสูตร ๒. จัดเป็นกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๓. จัดการเรียนแทรกกับหลกั สูตรปกติ ๔. จัดการเรยี นแทรกในชวี ติ ประจาวนั ในสถานศึกษา ความตอ้ งการของโรงเรียนเพือ่ แกไ้ ขปัญหา ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ โรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร) ได้รับการจัดสรรและอนุมัติงบประมาณ ในการก่อสร้างอาคารเรียนแบบพิเศษ เป็นงบผูกพันปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ และ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ซึง่ ทางโรงเรยี นมีความพร้อมในเรอ่ื งสถานที่กอ่ สรา้ งและดาเนินการตกลงเก่ียวกบั ผูร้ ับจา้ ง เรียบร้อยแล้ว แต่ยังไม่ได้รับเงินงบประมาณจากสานักงานงบประมาณเพ่ือเบิกจ่าย จึงยังไม่สามารถ ดาเนินการตามระเบียบได้ ซ่ึงทางโรงเรียนเกรงว่าหากเกิดความล่าช้าจนเกินระยะเวลา ท่ีกา หนด จะทาให้งบประมาณของโครงการดังกล่าวต้องส่งคืนกะทรวงการคลัง และไม่สามารถดำเนินการ ก่อสร้างได้ จึงประสงค์ขอให้วุฒิสภาเร่งรัดการอนุมัติเบิกจ่ายงบประมาณจาก สานักงบประมาณ ใหแ้ ก่โรงเรียนด้วย

- ๓๓ - วันศุกร์ท่ี ๑2 มีนาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๓๐ นาฬิกา กจิ กรรมสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ ศูนยก์ ารเรียนชุมชนธรรมชาติบ้านหว้ ยพ่าน ตาบลเปือ อาเภอเชียงกลาง จงั หวดั นา่ น พลเอก สิงหศ์ ึก สงิ ห์ไพร รองประธานวฒุ สิ ภา คนท่หี นึ่ง ไดน้ าคณะสมาชกิ วุฒสิ ภาเดนิ ทางไปยัง ศูนย์การเรยี นชุมชนธรรมชาตบิ ้านห้วยพ่าน ตาบลเปือ อาเภอเชยี งกลาง จังหวัดน่าน เพื่อพบปะประชาชน ชุมชนบ้านห้วยพ่าน และเย่ียมชม ศูนย์การเรียนชุมชนธรรมชาติบ้านห้วยพ่าน ท้ังนี้ นายสมบูรณ์ ใจปิง ผอู้ านวยการศูนย์การเรียนชุนชนธรรมชาตบิ ้านห้วยพ่าน และผู้ใหญ่บ้านห้วยพ่าน ไดก้ ล่าวถงึ ความเป็นมา ของศนู ย์การเรียนแห่งนว้ี ่าเพ่อื แกไ้ ขปัญหาการสง่ บุตรหลานไปเรยี นหนังสอื ในโรงเรียนหมบู่ ้านใกล้เคียง ซึ่ง ทุกโรงเรียนอยู่ไกลจากหมู่บ้านห้วยพ่าน ประมาณ ๑๐ - ๑๕ ก.ม. การเดินทางไกลไปโรงเรียนก่อให้เกิด ผลกระทบโดยเฉพาะช่วงฤดูฝน เพราะถนนทางเข้าหมู่บ้านระยะทาง ๗ ก.ม. เป็นถนนดินลูกรังลัดเลาะ ไปตามภเู ขาสูงและชาวบา้ นสว่ นใหญ่ใชร้ ถจักรยานยนต์เปน็ พาหนะในการรบั -ส่งนักเรยี น บางครั้งหากมีฝน ตกหนักก็ทาให้ไม่สามารถเข้า-ออกหมู่บ้านได้ ดังนั้นการเรียนของเด็ก ๆ จึงไม่มีความต่อเนื่องและเกิด อุบตั เิ หตบุ อ่ ยครัง้ นอกจากนั้นเด็ก ๆ บางส่วนยังเข้าเรียนหนังสือในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จ.น่าน อยู่ห่างจาก หมู่บ้านประมาณ ๑๒๐ ก.ม. ซึ่งเป็นโรงเรียนประจา เด็ก ๆ จึงต้องออกจากหมู่บ้านต้ังแต่อายุ ๗ ขวบ ซึ่งทั้งผู้ปกครองค่อนข้างเป็นห่วงกังวลเนื่องจากเด็กยังเล็กเกินไปไม่สามารถรับผิดชอบตัวเองได้ แต่ก็ต้อง ตัดใจส่งให้ลูกไปเรียนหนังสือเพ่ือการศึกษาของเด็ก ความยากลาบากด้านการศึกษาของบุตรหลาน ทั้งในอดีตและปัจจุบัน เป็นความมุ่งมั่นและแรงบันดาลใจที่ชาวห้วยพ่านพยายามศึกษาช่องทางในการ แกไ้ ขปญั หาและหาทางออกที่เหมาะสม และเม่ือ พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ เปดิ พนื้ ท่ี การจัดการศึกษาหลากหลายรปู แบบมากยิ่งขึ้น ทาใหผ้ ู้นาชมุ ชนหว้ ยพ่านเร่มิ ทาการศกึ ษารายละเอียดและ มีความหวังมากยิ่งขึ้นในการแก้ไขปัญหาด้านการศึกษาของบุตรหลาน ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม โดยเฉพาะในมาตรา ๑๒ ได้ให้การรับรองสิทธิในการจัด การศึกษาแก่ภาคสังคมและประชาชน โดยกาหนดว่า นอกเหนือจากรัฐ เอกชนและองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน มีสิทธิในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ซึ่งในขณะน้ี กระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิองค์กรชุมชนและองค์กรเอกชนในการจัดการศึกษา

- ๓๔ - ขั้นพื้นฐานในศูนย์การเรียน พ.ศ. ๒๕๕๕ กาหนดให้องค์กรชุมชน และองค์กรเอกชนมีสิทธิในการจัด การศึกษาข้ันพ้ืนฐานในศูนย์การเรียน และให้สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎกระทรวง ดังกล่าวน้ี เรียกว่า “ศนู ย์การเรียน” ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ชาวห้วยพ่านได้ร่วมกับทางมูลนิธิส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชน เรียนรู้ และศึกษากระบวนการจัดศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ รวมท้ังร่วมเรียนรู้กับเครือข่ายการศึกษาทางเลือก แห่งประเทศไทย กระท่ังเม่ือกฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิขององค์กรชุมชนและองค์กรเอกชนในการ จัดการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานในศูนย์การเรียน พ.ศ.๒๕๕๕ ซ่งึ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ชาวห้วยพ่านจึงมีความประสงค์จะดาเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานภายในศูนย์การเรียนรู้ ตามกฎกระทรวงดังกล่าว รวมทั้งได้พัฒนาหลักสูตรชุมชนข้ึนเพื่อดาเนินการจัดการเรียนการสอนให้กับ บุตรหลานต่อไป อย่างไรก็ตามด้วยประสบการณ์การดาเนินงานพัฒนาด้านต่าง ๆ ของชาวชุมชน บ้านห้วยพ่าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการอนุรักษ์ป่า จานวน ๑๐,๓๑๕ ไร่ ๘๘ ตารางวา อนุรักษ์น้าและปลา ทั้งในลาน้าน่านและลาห้วยพ่านมายาวนานกว่า ๓๐ ปี รวมถึงการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมชุมชน ประสบผลสาเร็จเป็นท่ีรับรู้และยอมรับโดยท่ัวไปทั้งจากภาครัฐและภาคประชาชน ซ่ึงความเข้มแข็ง และพลังของชุมชนเป็นความเช่ือมั่นของชาวห้วยพ่านว่า พวกเขาสามารถจัดการศึกษาให้กับบุตรหลาน ไดต้ ามหลกั การทกี่ ระทรวงศึกษาธิการกาหนดไว้ การจดั การศึกษาโดยองค์กรชมุ ชนบ้านห้วยพ่าน มีเจตจานงมงุ่ หมายจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรยี น เรียนรู้อย่างมีความสุข พัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ เป็นคนดีและคนเก่ง สอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชนและ กลมกลืนกบั วทิ ยาการสมัยใหม่ เพื่อนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ พรอ้ มด้วยคุณธรรม ภูมิปัญญา และ สานกึ ในความเป็นพลเมอื งดี

- ๓๕ - ในการลงพื้นที่บ้านห้วยพ่าน นอกเหนือจากการเย่ียมชมศูนย์การเรียนชุมชนธรรมชาติ บ้านห้วยพ่านแล้ว สมาชิกวุฒิสภาได้มอบอุปกรณ์สาหรับการจัดการเรียนการสอน ของท่ีระลึกและอ่ืน ๆ ให้แก่ศูนย์การเรยี นชมุ ชนธรรมชาติบ้านห้วยพา่ น และผู้เขา้ รว่ มโครงการ ประกอบไปด้วยคอมพวิ เตอร์และ อปุ กรณ์ต่อพ่วง จานวน ๑ ชุด โทรทศั น์สีดิจิทัล Smart TV จานวน ๑ เครื่อง ผา้ ขนหนู ผนื ใหญ่ ผ้าขนหนู ผนื เล็ก ลูกพันธไุ์ ก่ไข่ เมลด็ พนั ธผ์ุ ักสวนครัว และเจลลีโ่ ภชนา

- ๓๖ - ทง้ั นี้ สมาชิกวฒุ สิ ภาไดร้ ับฟังและแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ กบั ชาวชุมชนบา้ นหว้ ยพา่ นอยา่ งใกล้ชิด หลังจากน้ัน สมาชิกวุฒิสภาได้ร่วมรับประทานอาหารกลางวันกับชาวบ้านห้วยพ่าน ท่ามกลาง บรรยากาศเป็นกันเองฉันท์มติ ร

- ๓๗ - ปญั หาและอปุ สรรคในการดาเนนิ งานของศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชนธรรมชาติบา้ นห้วยพ่าน จากการรับฟังผลการดาเนินงานของศูนย์การเรียนชุมชนธรรมชาติบ้านห้วยพ่านของสมาชิก วุฒิสภา ได้รับทราบปัญหาสาคัญประการหนึ่ง ซ่ึงเป็นอุปสรรคในการพัฒนาศูนย์การเรียนชุมชน ธรรมชาติบ้านห้วยพ่าน คือ ชุมชน และศูนย์การเรียน ตั้งอยู่ในพื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติ ทาให้ไม่สามารถ ของบประมาณจากภาครัฐในการพัฒนาพ้ืนที่ ทั้งแหล่งน้าและสิ่งปลูกสร้าง สาหรับใช้ประโยชน์ของ ชุมชนและศูนยก์ ารเรียนฯ ได้ ท้ังน้ี คณะสมาชิกวุฒิสภาได้แสดงความคิดเห็น โดยช่ืนชมผู้นาชุมชนและชาวบ้านห้วยพ่าน ทีไ่ ดร้ ่วมมอื กนั แกไ้ ขปญั หาการศกึ ษาของชมุ ชนไดอ้ ย่างสอดคลอ้ งกบั วถิ ชี ุมชนและกลมกลื่นกับวทิ ยาการ สมัยใหม่ไดเ้ ปน็ อย่างดี นอกจากน้ี คณะสมาชิกวุฒิสภาไดเ้ สนอแนะเก่ียวกับประเด็นการใช้ประโยชน์และการอยู่อาศัย ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติว่า ปัจจุบันรัฐบาลโดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มีนโยบายการจัดการปัญหาคนอยู่กับป่า โดยได้ปฏิรูปกฎหมายป่าไม้และท่ีดิน รวม 5 ฉบับ ที่สาคัญ มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของกฎหมายไปจากเดิมอย่างมาก อันได้แก่ “เปล่ียนจากกฎหมาย ในเชิงบังคับลงโทษ ท่ีมีแต่การห้ามบุกรุกป่าอย่างเดียว มาเป็นกฎหมายในเชิงส่งเสริมสนับสนุน ซงึ่ มีทั้งการห้ามบุกรุกและการให้ใช้ประโยชน์” อันได้แก่ พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายที่ดิน แห่งชาติ พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ยังมีมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 26 พฤศจิกายน 2561 ให้แก้ไขปัญหา คนท่ีอยู่ในพื้นท่ีป่าไม้ทุกประเภท โดยมีกลไกคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ทาหน้าท่ี กากับและแก้ไขปัญหาที่ดินท้ังปวงของรัฐ จากจุดนี้ กาลังนามาสู่การออกอนุบัญญัติ หรือกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง ท่ีเกี่ยวข้องทั้งระบบ เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีสามารถปฏิบัติงานในแนวทาง ใหม่ได้ ต่อจากน้ีไป คาดว่าจะเป็นกระบวนการทางานแบบมีส่วนร่วม ค้นหาต้นเหตุและแสวงหา แนวทางแก้ไขร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ เปล่ียนแนวคิดให้ “คนอยู่ร่วมกับป่าได้” ให้คนมีความสุข “บนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร” ส่วนรัฐก็ได้ป่า ประชาชนได้ที่ทากิน “บนผืนแผ่นดินเดียวกัน” โดยมีเป้าหมายสุดท้ายท่ีจะสามารถเปล่ียนคนจาก “ผู้บุกรุก มาเป็นผู้ดูแลรักษาและใช้ประโยชน์อย่าง สมดลุ และยงั่ ยนื ”

- ๓๘ - ภาคผนวก

- ๓๙ - ภาพกิจกรรมการรบั ฟังการบรรยายการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม ที่ได้รับการจดั สรรงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ซึง่ สอดคลอ้ งกบั แผนการปฏริ ปู ประเทศ และแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาตทิ อี่ ยูใ่ นความรบั ผิดชอบของจงั หวัดน่าน

- ๔๐ -

- ๔๑ - ภาพกิจกรรมการเยีย่ มชมการดาเนนิ การ : โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีเฉพาะเมอื งภเู พยี ง บา้ นม่วงต๊ดึ หม่ทู ่ี ๔ ตาบลม่วงต๊ึด อาเภอภเู พียง จังหวดั น่าน

- ๔๒ -

- ๔๓ - ภาพกิจกรรมการเยีย่ มชมการดาเนินการ : งานกอ่ สรา้ งทานบก้นั นา้ บา้ นสนั ตาบลเชยี งของ อาเภอนานอ้ ย จงั หวดั น่าน

- ๔๔ -

- ๔๕ - ภาพกิจกรรมการเย่ียมชมการดาเนินการ : สถานีสบู นา้ ดว้ ยไฟฟ้าพร้อมระบบสง่ นา้ บ้านไผ่งาม พื้นท่ี ชลประทาน ๑,๐๐๐ ไร่ ตาบลสา้ น อาเภอเวยี งสา จงั หวัดนา่ น

- ๔๖ -

- ๔๗ -

- ๔๘ - ภาพกิจกรรมการเย่ียมชมการดาเนนิ การ : โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบลโรงเรียนบา้ นดอน (ศรเี สรมิ กสิกร) ถนนขา้ หลวง ตาบลในเวียง อาเภอเมอื งน่าน จงั หวดั น่าน

- ๔๙ -

- ๕๐ - ภาพกจิ กรรมสมาชิกวุฒสิ ภาพบประชาชน ณ ศูนย์การเรยี นชุมชนธรรมชาตบิ ้านหว้ ยพา่ น ตาบลเปอื อาเภอเชยี งกลาง จงั หวัดนา่ น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook