Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตากฟ้า

ตากฟ้า

Published by visakha.ntech, 2021-02-13 07:58:06

Description: ตากฟ้า

Search

Read the Text Version

วิถีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ วิถีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค

๓๔ วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค

วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๓๕ คาํ ปรารภ อธิบดีกรมสงเสริมวฒั นธรรม วัฒนธรรมเปนส่ิงที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปน ระเบียบ เรียบรอย เปน มรดกทางสังคมไทย ที่บรรพบุรุษไดสรางสรรค และส่ังสมมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ถายทอดจากรุนสูรุน มีขนบธรรมเนียมประเพณีอันเปนท่ียอมรับรวมกันในสังคมน้ันๆ ศิลปวัฒนธรรมของไทย มีความแตกตางกันในแตละทองถ่ิน ท้ัง ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาพูด ภาษาเขียน การแตงกาย อาหาร วิถีชีวิต และความเชื่อ ซึ่งมีเอกลักษณเฉพาะที่บงบอกถึงคานิยม ความเช่ือ ศาสนา วิถีชีวิตความเปนอยู ตลอดจนสภาพแวดลอมของ ผูคนในทองถน่ิ แสดงใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรมทแ่ี ฝง ไปดวยภูมิปญญา และความเปนชาติที่มีอารยธรรมเกาแกมาชานาน จนกลายเปน รากฐานขององคค วามรทู างศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ปิ ญ ญา ในดานตางๆ ท่มี ีคณุ คาของไทย ในการนี้ เพื่อประโยชนในการอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของทองถ่ินและของชาติ และประสานการดาํ เนนิ งานวฒั ธรรมซง่ึ ภาคประชาสงั คม และประชาชน มสี ว นรว ม กรมสง เสรมิ วฒั นธรรม จงึ ไดใ หก ารสนบั สนนุ สภาวฒั นธรรม จังหวัดนครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอ

๓๔ วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ตางๆ ในจังหวัดนครสวรรค เพือ่ รวบรวมและเผยแพรขอมลู ซ่งึ เปนทุน ทางวฒั นธรรมของจงั หวดั นครสวรรค เพื่อใหเกิดประโยชนสําหรบั เด็ก เยาวชน และบุคคลท่ัวไป ไดศึกษาและรวมภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ทองถน่ิ จนกอใหเกิดความรัก ความภาคภมู ิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ของตน ตระหนักและเห็นคุณคาของวัฒนธรรมทองถิ่น ปลูกจิตสํานึก ความรักชาติ รักถ่ิน รักแผนดินนครสวรรค และรวมอนุรักษสืบสาน วฒั นธรรมเหลานี้ใหอนชุ นคนรุนหลังสืบตอไป (นายชาย นครชัย) อธิบดีกรมสงเสริมวัฒนธรรม

วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ คํานิยม ผวู าราชการจงั หวัดนครสวรรค การจดั ทาํ หนังสือ วิถีชีวิต วัฒนธรรมอําเภอตางๆ ของจังหวัด นครสวรรค เปนการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม เพ่ือใหเกิด การสบื สาน และการสรา งองคค วามรทู างดา นวฒั นธรรมนบั เปน พนั ธกจิ ที่สําคัญของงานวัฒนธรรม การที่กรมสงเสริมวัฒนธรรม สนับสนุน ใหส ภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรคร ว มกบั สาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมอําเภอ ๑๕ อาํ เภอ ในจงั หวดั นครสวรรค เพอ่ื ดแู ลรกั ษา สบื สานมรดกทางวฒั นธรรม และเผยแพรขอมูล ซ่ึงเปนทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดนครสวรรค ขอมูลดังกลาวไดมาจากการสังเคราะหและเรียบเรียงเนื้อหาจาก คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค นกั วชิ าการสาํ นกั งาน วฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และผมู คี วามรทู หี่ ลากหลาย โดยรวบรวม ประวัติ ตํานาน ชุมชนด้ังเดิมโบราณสถาน-โบราณวัตถุ ศาสนา และความเช่ือ บุคคลสําคัญทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมทองถ่ิน รุกขมรดก แหลงทองเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม บคุ คลผูทาํ คณุ ประโยชนดาน วฒั นธรรมทค่ี วรยกยอ งอนั สะทอ นถงึ วฒั นธรรมของจงั หวดั นครสวรรค ซึ่งจะเปนประโยชนตอการสืบคน การเก็บรวบรวมเรื่องราวตางๆ ใน รปู แบบหนงั สือ บนั ทึกลงแผนซีดี และจัดทํา QR Code

๓๔ วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ในนามของจังหวัดนครสวรรค ขอแสดงความชื่นชมและขอ ขอบคุณคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค นักวิชาการ วัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค และผูเก่ียวของ ทไี่ ดทุมเทแรงกาย แรงใจในการจดั ทาํ หนงั สือวิถีชีวิต วฒั นธรรมอาํ เภอ ๑๕ อาํ เภอ จงั หวดั นครสวรรค เพอื่ อนรุ ักษและเผยแพรขอมูล อนั จะ เปนประโยชนตอคนรุนหลังตอไป (นายอรรถพร สิงหวิชัย) ผูวาราชการจังหวดั นครสวรรค

วิถชี ีวติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ คํานิยม วฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค หนงั สือวิถีชีวิต วฒั นธรรมของแตละอาํ เภอนี้ เปนการรวบรวม ขอมลู ความรตู างๆ ทเ่ี ปน เรอ่ื งราวของทองถนิ่ ทมี่ ีมาอยางยาวนาน ดาน ศิลปะและวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณี ชุมชนดั้งเดิม โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ความเปน อยทู ส่ี อ่ื การรกั ษาอารยธรรมของบรรพบรุ ษุ ทเ่ี ปน เอกลักษณของแตละอําเภอไว เพื่อใหคนรุนหลังไดเรียนรู ไดสืบทอด และตอยอดทางวัฒนธรรม กระผมตองขอขอบคุณและช่ืนชมนักวิชาการวัฒนธรรม ผูประสานงานประจําอําเภอทุกทาน ผูเกี่ยวของทุกฝายทุกทานท่ีไดให ขอมูล คําแนะนํา ขอเสนอแนะ ท่ีเปนประโยชนในการจัดทําหนังสือ ในครง้ั นี้ เพอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ มลู จนสาํ เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ ทายนี้หวังเปนอยางย่ิงวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนในการ ศึกษาคนควา สําหรบั นักเรียน นกั ศึกษา ประชาชน และผูสนใจท่ัวไป และขอใหทุกทานรวมอนุรักษสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีของทองถิ่น นั้นไวใหคงอยูกบั ลกู หลานสืบไป (นายประสิทธ์ิ พุมไมชัยพฤกษ) วัฒนธรรมจังหวดั นครสวรรค

๓๔ วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค

วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๓๕ คาํ นํา ประธานสภาวฒั นธรรมจังหวดั นครสวรรค วัฒนธรรม หมายถึงวิถีการดําเนินชีวิต ความคิด ความเชื่อ คานิยม จารีตประเพณี พิธีกรรม และมรดกภูมิปญ ญา ซึ่งกลุมคนและ สังคมไดรวมกันสรางสรรค ส่ังสม ปลูกฝง เรียนรู สืบทอด ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพ่ือใหเกิดความเจริญงอกงาม ทั้งดานจิตใจและวัตถุ ใหเกิดสันติสุขและความยัง่ ยืนสืบไป หนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมเลมน้ี มาจากการสังเคราะหและ เรยี บเรยี งเนอ้ื หาจากนกั วชิ าการสาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค ซ่ึงแบงออก เปน เลม เลมละ ๑ อาํ เภอ รวม ๑๕ เลม ๑๕ อาํ เภอ เนื้อหาไดแก ประวตั ิ ตํานาน สภาพปจจบุ ัน ชมุ ชนด้ังเดิม ศิลปะทองถิน่ วัฒนธรรมทองถน่ิ แหลงทองเทย่ี วเชิงวัฒนธรรม บคุ คลผูทําคุณประโยชนดานวฒั นธรรม ที่ควรยกยองในอําเภอตางๆ ของจังหวัดนครสวรรค จัดทําในรูปแบบ หนงั สอื แผน ซดี ี และจดั ทาํ QR Code ทงั้ นไี้ ดร บั การสนบั สนนุ งบประมาณ จากกรมสงเสริมวัฒนธรรม โดยความรวมมือของจังหวัดนครสวรรค เปนอยางดียง่ิ หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอเลมน้ี จะเปนประโยชนแกนักเรียน นักศึกษา ประชาชนท่ัวไป และขอใหเรา

๓๔ วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ชวยกันสงเสริม อนรุ ักษ วัฒนธรรมใหเจริญงอกงามยง่ิ ขึ้น ขอขอบคณุ ผูเกี่ยวของ ที่ใหขอมูลทุกทาน ลวนเปนผูกอใหเกิดความสําเร็จใน การจัดทําหนังสือในครั้งนี้ หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรม เลมนี้จึงถือไดวา มีคุณคาอยางย่งิ เปน สมบัติของเราชาวจงั หวัดนครสวรรคตอไป (นายนทั ธี พคุ ยาภรณ) ประธานสภาวฒั นธรรมจังหวัดนครสวรรค

วิถชี ีวติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ๓๕ สารบญั หนา เร่ือง ๑ ๓ บทที่ ๑ ประวัติ ตาํ นาน คําขวัญและสภาพปจ จบุ ัน ๔ ประวัติ ๙ ตํานาน คาํ ขวัญ ๑๑ สภาพปจ จุบนั ๑๓ บทท่ี ๒ ชมุ ชนดั้งเดิม ๒๒ ชุมชนด้ังเดิม ๓๓ บทที่ ๓ ศาสนาและความเชอ่ื ๓๖ ศาสนสถาน บุคคลสาํ คญั ทางศาสนา บทที่ ๔ ศิลปะทอ งถิ่น ประติมากรรม การละเลนพื้นบาน

๓๔ วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ๓๙ ๔๑ บทท่ี ๕ วฒั นธรรมทองถ่นิ ๔๒ วิถีชีวิต ๔๓ การแตงกาย ๔๕ อาชีพ มรดกภูมิปญญาทองถิ่น รุกขมรดก บรรณานุกรม ภาคผนวก

วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๓๑๕ ๑บทท่ี ประวัติ ตํานาน คาํ ขวัญ และสภาพปจ จบุ ัน ประวตั ิอาํ เภอตากฟา ความเปนมาของอําเภอตากฟา เริ่มเกิดขึ้นอีกครั้งเม่อื ผูคนเริม่ เขา มาจบั จองทที่ าํ กนิ เมอ่ื หลายสบิ ปท ผี่ า นมา พนื้ ทอ่ี าํ เภอตากฟา ในชว ง น้ันเปน ปาดงดิบ มีสตั วปาชกุ ชมุ มาก เปน แหลงลาสตั วของพรานปา มี โจรคอยดักปลนฆาผูสัญจรไปมา โรคภัยไขเจ็บมากมาย ตอมาอําเภอ ตากฟา กลายเปน ตาํ บลหนงึ่ ซงึ่ อยใู นเขตปกครองของอาํ เภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค ประมาณป พ.ศ. ๒๔๙๖ ทางราชการไดตดั ถนนผาน คือ

๓๔๒ วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ถนนประชาธิปตย (ตอมาเรียกวาถนนพหลโยธิน) มีประชาชนเขามา จับจองทด่ี ินทาํ กินกันมากขึ้น ในป พ.ศ. ๒๔๙๘ กรมประชาสงเคราะห ไดจัดตั้งนิคมสรางตนเองตาคลีขึ้น และมีประชาชนอพยพเขามาทํากิน เพิม่ ขึ้นทกุ ๆ ป พ.ศ. ๒๕๐๔ อาํ เภอตาคลีไดแยกนิคมสรางตนเองตาคลี เปน นิคมสรางตนเองตากฟา ตําบลตากฟา ไดแยกการปกครองออกจาก อาํ เภอตาคลี โดย ยกฐานะเปน อําเภอตากฟาตามพระราชกฤษฎีกา ลงวันที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๑๓ อยูในเขตปกครองของจังหวัดนครสวรรค โดยมิไดต้ังเปนก่ิง อําเภอมากอน มีนายชัยศรี นุตาลยั มาดํารงตําแหนงนายอําเภอคน แรก โดยใชอาคารเงินปยะชนของโรงเรียนบานตากฟา เปนท่ีทําการ อําเภอช่ัวคราว ตอมาทางราชการไดจดั สรางที่วาการอําเภอแลวเสรจ็ ในป พ.ศ. ๒๕๑๕ ใชเปน ท่ที ําการอําเภอตากฟามาจนถึงปจ จบุ ัน พื้นท่ี เปน ทรี่ าบลมุ สลบั เนนิ เขาเตย้ี ๆ ไมม แี มน าํ้ มแี ตล าํ หว ยไหลผา น ลกั ษณะ ดินเปนดินเหนียว เนื้อท่ี 26,564 ไร เขตพืน้ ท่ี • ทิศเหนือ ติดตอกับอาํ เภอพยหุ ะคีรีและอาํ เภอทาตะโก • ทิศตะวนั ออก ติดตอกับอําเภอทาตะโกและอําเภอไพศาลี • ทศิ ใต ตดิ ตอ กบั อาํ เภอหนองมว ง (จงั หวดั ลพบรุ )ี และอาํ เภอ ตาคลี • ทิศตะวันตก ติดตอกบั อาํ เภอตาคลี

วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๓๕ อาชีพ อาชีพหลกั ทาํ ไร ทําสวน เลี้ยงสัตว อาชีพเสริม ทําหตั ถกรรม ตํานานอาํ เภอตากฟา เดิมอําเภอตากฟาเปนปาดงดิบ มีตนไมปกคลุมโดยทั่วไป มีลานวางซงึ่ มีแสงแดดสองถึง ไกฟาชอบมาเลนแสงแดด พวกพรานปา เห็นจึงเรียกบริเวณลานวางนี้วา “ลานไกฟา” และเม่ือชาวบานเขามา อาศัยอยูบริเวณนี้ ไดนําผาไปตากท่ีลานเพราะมีแสงแดดสองถึง เลย เรียกติดปากวา “ลานตากผา” และเมื่อเวลาผานไปช่ือเรียกดังกลาว กก็ ลายเปน ลานตากฟา จนในทส่ี ดุ จงึ ไดช อ่ื วา “ตากฟา ” มาจนถงึ ปจ จบุ นั ตําบลตากฟาเปนตําบลหน่ึงในอําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค มีท้ังหมด 8 หมูบาน คือ บานตากฟา บานชุมพลสามคั คี บานถนนโคง บา นพนุ มิ ติ บา นไผน าเรงิ บา นธารเกษตร บา นหนองบวั งาม บา นมะขามงาม ความเปนมาของอาํ เภอตากฟา เริ่มเกิดขึ้นอีกคร้ังเม่อื ผูคนเริ่ม เขามาจับจองท่ีทํากินเมื่อหลายสิบปที่ผานมา พื้นที่ของอําเภอตากฟา ในชวงน้ันเปนปาดงดิบ มีสัตวปาชุกชุมมาก เปนแหลงลาสัตวของ พรานปา มีโจรคอยดักปลนฆาผูสัญจรไปมา โรคภัยไขเจ็บมากมาย ตอ มาอาํ เภอตากฟา กลายเปน ตาํ บลหนง่ึ ซง่ึ อยใู นเขตปกครองของอาํ เภอ

๓๔ วถิ ีชีวติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ตาคลี จังหวัดนครสวรรค ประมาณป พ.ศ. ๒๔๙๖ ทางราชการได ตัดถนนผาน คือถนนประชาธิปตย (ตอมาเรียกวาถนนพหลโยธิน) มีประชาชนเขามาจับจองที่ดินทํากินกันมากขึ้น ในป พ.ศ. ๒๔๙๘ กรมประชาสงเคราะหไ ดจ ดั ตง้ั นคิ มสรา งตนเองตาคลขี นึ้ และมปี ระชาชน อพยพเขามาทํากินเพ่ิมขึ้นทุกๆ ป พ.ศ. ๒๕๐๔ อําเภอตาคลีไดแยก นิคมสรางตนเองตาคลีเปนนิคมสรางตนเองตากฟา คาํ ขวัญอําเภอตากฟา หัตถกรรมผา ทอ หลวงพอ ตากฟา ถนิ่ ลือชาพืชไร งานใหญสลากภตั เที่ยววัดถํ้าพรสวรรค หตั ถกรรมผาทอ

วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ๕๓๕ อําเภอตากฟามีกลุมทอผาฝายดวยมืออยูมากมาย และเปน ของฝากทขี่ นึ้ ชอ่ื ของอาํ เภอตากฟา โดยเฉพาะผา ฝา ยทอบรสิ ทุ ธทิ์ บ่ี รษิ ทั ยงสุวัฒนเมลด็ พนั ธ จํากดั เปน ผูคิดสายพันธฝาย “ ตากฟา ๒ ” เปน ผูทอ และผูจําหนาย ประการสําคญั อาํ เภอ ตากฟาเปน แหลงปลกู ฝายแหลงใหญ จึงทําใหตนทุนการผลิตตา่ํ ชาวตากฟาหลายๆหมูบาน จึงต้ังกลุมทอผาขึ้น โดยใชวสั ดุท่มี ีในทองถน่ิ หลวงพอ ตากฟา หลวงพอหิน เปนพระพุทธรูป เปนที่ยึดเหน่ียวจิตใจของชาว ตากฟา คาํ วาหลวงพอตากฟามีความหมาย ๒ ประการ ประการแรก

๓๖๔ วถิ ีชวี ติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค หมายถึง หลวงพอหินพระพุทธรศู กั ด์ิคูบานคูเมืองตากฟา ชาวตากฟา เรียกติดปากวา “ หลวงพอตากฟา ” ประการที่ สองหมายถึง หลวงพอ สุรินทร เจาอาวาสวัดตากฟา เปนพระเถระที่ชาวตากฟาเคารพนับถือ ทานเปยมดวยเมตตา ชาวตากฟาตางเรียกทานวา “ หลวงพอตากฟา ” ดวยเชนกัน ถิน่ ลือชาพืชไร อําเภอตากฟาเปนเมืองเกษตรกรรม ชาวตากฟาสวนใหญ มอี าชพี เกษตรกรรม โดยเฉพาะการปลกู พชื ไร ไมว า จะเปน ขา วโพด ออ ย มนั สาํ ปะหลงั ฝาย ฯลฯ

วถิ ีชวี ติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๗๓๕ งานใหญสลากภตั อํ า เ ภ อ ต า ก ฟ  า มี ง า น ใ ห ญ  ท่ี สํ า คั ญ คื อ งานประเพณบี ญุ สลากภตั ซง่ึ เปน งานใหญข องอาํ เภอ ตากฟา เปนประเพณีท่จี ดั ขึ้นเปนประจําทุกป และ มีกิจกรรมในงานที่แปลกไมเหมือนทใ่ี ด และมีการจัดงานท่หี ลากหลาย ในแตละป เชน การประกวดสํารบั สลากภัต มีขบวนแหสลากภัต และ การประกวดเทพีสลากภัต เท่ยี ววดั ถา้ํ พรสวรรค ต้ั ง อ ยู  ที่ ตํ า บ ล ลําพยนต อําเภอตากฟา บริเวณมีพระพุทธปางตางๆ ประดิษฐานไวตามเชิงเขา มี ศาลาสมภพปลกู สรา ง ๓ ชน้ั อยางทันสมัย ขางหลังวัดมี ถ้ําพรสวรรค เปนที่บรรจสุ งั ขารพระครนู ิมิตสิทธิการ หรือหลวงพอเปา เขมกาโม ทน่ี กั ทอ งเทย่ี วนยิ มไปกราบไหว ภายในถาํ้ แบง ออกเปน ๒ ตอน

๓๘๔ วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ตอนแรกเปนหองเล็ก ตอนท่ีสองเปนหองใหญ มีพระพุทธรูปและ สงิ่ กอสรางทนั สมยั อยูมาก มีนํ้าตกจาํ ลอง มีสระนํ้าตรงกลางถาํ้ พื้นถา้ํ เทคอนกรีตหมด บรรยากาศเยน็ สบาย ไมมีคางคาวอาศยั อยู ภายในถา้ํ ตดิ ตงั้ ระบบไฟฟา และประปาอยา งพรอ มมลู มคี วามเงยี บสงบ เหมาะกบั นกั ทองเทย่ี วทช่ี อบความสงบ และตองการคนหาปริศนาธรรม ดานขาง ปากทางเขาถ้ํามีพระพทุ ธบาทเกือกแกวประดิษฐานอยู ความเปนมาของวัดถํ้าพรสวรรค เดิมเปนถํ้าที่มีสภาพรกราง เต็มไปดวยปาไมและสัตวปา ในป พ.ศ.๒๕๐๗ พระครูนิมิตสิทธิการ หรือ หลวงพอเปา เขมกาโม มาจําพรรษาที่บริเวณถํ้าเขาตะบองนาค มีพุทธศาสนิกชนเล่ือมใสศรัทธาชวยกันปรับปรุงภายในถ้ําและนอกถ้ํา และบริจาคจตุปจจัย หลวงพอไดนํามาใชในการพัฒนาถ้ําและสราง ถาวรวตั ถุ เริม่ ตนดวยการสรางบอนา้ํ สรางบนั ไดทางเขาถํ้า สรางกุฏิ โบสถ ศาลา พ.ศ.๒๕๓๗ พระสมพงษ ทองแฉลม (พระครูใบฎีกา สมพงษ กิตติสจโจ) ไดปรบั ปรงุ สภาพวดั โดยเทพื้นปหู ินออนเพอ่ื พฒั นา ใหเ ปน แหลง ทอ งเทยี่ วเชงิ อนรุ กั ษ จดั สรา งพพิ ธิ ภณั ฑส ตั วน า้ํ จดื นา้ํ ทะเล และจัดประเพณีลอยกระทงในถ้ําโดยใชวัสดุธรรมชาติ ใชดอกไมสด ในวันเขาพรรษา จัดกิจกรรมปลูกปาอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เปน ประจาํ ทุกป การเดนิ ทาง วดั ถาํ้ พรสวรรคต งั้ อยทู ตี่ าํ บลลาํ พยนต ถนนลาดยาง หางจากตัวจังหวัด ๑๐๕ กิโลเมตร หางจากที่วาการอําเภอประมาณ ๑๐ กโิ ลเมตร ตามทางหลวง หมายเลข 1 สายตากฟา -โคกสาํ โรง กโิ ลเมตร ที่ ๒๒๔ วดั อยทู างซา ยมอื

วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๙๓๕ สภาพปจ จบุ นั ภาพแผนท่แี สดงทต่ี งั้ อาํ เภอตากฟา ทว่ี า การอาํ เภอตากฟา

๓๑๐๔ วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค อําเภอตากฟาตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของจังหวัด มีอาณาเขตติดตอกับเขตการปกครองขางเคียงดงั ตอไปนี้ • ทิศเหนือ ติดตอกบั อาํ เภอพยุหะคีรีและอาํ เภอทาตะโก • ทิศตะวนั ออก ติดตอกบั อําเภอทาตะโกและอาํ เภอไพศาลี • ทศิ ใต ตดิ ตอ กบั อาํ เภอหนองมว ง (จงั หวดั ลพบรุ )ี และอาํ เภอ ตาคลี • ทิศตะวันตก ติดตอกบั อําเภอตาคลี การปกครองสวนภูมิภาค อําเภอตากฟาแบงพื้นที่การปกครองออกเปน ๗ ตําบล ๗๖ หมูบาน

วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๑๓๕๑ ๒บทท่ี ชมุ ชนดง้ั เดิม ๑.ชุมชนกอนประวตั ิศาสตร (ยุคหินเกา ) ชุมชนท่ีอยูอาศัยในเขตอําเภอตากฟาในระยะแรกเปนชุมชน กอนประวัติศาสตร(ยุคหินเกา) คือยุค ๔,๕๕๐ ปท่ผี านมาทั้งนี้ ปรากฏ หลักฐานโบราณวัตถุประเภท เคร่ืองมือ เครื่องใชและเคร่ือง ประดับที่ฝงไวรวมกับศพคนตาย ความเชื่อในเรื่องชีวิตหลังความ ตายตามความเชื่อในเรื่องชีวิต หลังความตายของชุมชนยุคหินเกา จะพบไดจากแหลงโบราณคดีบาน พขุ าม (บา นคลองใหมใ นปจ จบุ นั ) ตาํ บลพนุ กยงู อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๒. ชมุ ชนกอนประวัติศาสตร ตอนปลาย(ยุคโลหะ) ชมุ ชนอาํ เภอตากฟา ไดอ าศยั อยอู ยา งตอ เนอ่ื งมาเขา สชู มุ ชนกอ น ประวัติศาสตร ตอนปลาย หรือยคุ คือยุค ๓,๕๐๐ป ทผ่ี านมาเปน ชมุ ชน

๑๓๒๔ วถิ ีชีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ที่รูจักการถลุงเหล็ก ซึ่งจะเห็นไดจากกอนแรเหล็กและตะกรันท่ีขุดคน พบท่ีแหลงโบราณคดีบานหนองใหญ และวัดคีรีวงค ตําบลเขาชายธง อาํ เภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ชมุ ชนกอ นประวตั ศิ าสตร ตอนปลายเชนน้ี มักพบท่ัวไปใน จังหวัดนครสวรรค จังหวัด เพชรบรู ณ และจงั หวดั ลพบรุ ี โดย ลักษณะการต้ังถ่ินฐานมักอยูใน พนื้ ทท่ี เี่ รยี กวา ทร่ี าบลอนลกู คลน่ื โดยอาศยั แหลง นาํ้ ขนาดเลก็ ในการดาํ รงชวี ติ ซงึ่ ชมุ ชนกอ นประวตั ศิ าสตร ตอนปลายรวมสมัยเดียวกันท่ีอยูใกลเคียงกันไดแก แหลงโบราณคดี บานหวยถั่วใต อําเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค แหลงโบราณคดี บา นบอ ดนิ ขาว อาํ เภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค แหลง โบราณคดบี า นโปง บญุ เจริญ อาํ เภอบึงสามพัน จงั หวัดเพชรบรู ณ เปน ตน ชุมชนอําเภอตากฟากอนประวัติศาสตร ตอนปลายนั้นไดมี การตดิ ตอ สมั พนั ธก บั ชมุ ชนภายนอกดว ย จากหลกั ฐานทคี่ น พบในแหลง โบราณคดีบานพเุ มน ตําบลพุนกยงู อําเภอตากฟา ไดพบลูกปด อาเกต และ ลูกปดท่ีใชเทคนิคการฝงเสนสีซึ่งเปนของที่ไมมีในทองถิ่น เช่ือวา นาจะเปน ผูคนทอ่ี ยูแถบตะวนั ออกกลาง อินเดีย และเมดิเตอรเรเนียน โดยมาทางเรือมาขึ้นฝงทีจ่ ังหวัดทางภาคใตของประเทศ

วิถีชีวติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๓๑๓๕ ๓บทท่ี ศาสนาและความเชอ่ื ศาสนสถาน วัดตากฟาพระอารามหลวง ประวัติวัดตากฟา แตเดิมที ไดต้ังเปนเพียงท่ีพักสงฆ เม่ือ ป พ.ศ. ๒๔๙๘ โดยสมยั นนั้ ยงั สงั กดั อยกู บั คณะสงฆอ าํ เภอตาคลี ตอ มา ไดอาศัยศรัทธาจากชาวบานซ่ึงสวนใหญมีอาชีพกสิกรรมเพาะปลูก

๑๓๔ วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค พืชไรไดรวมใจกันสรางเสนาสนะและศาลาเพ่ือเอาไวบําเพ็ญกุศลใน พระพทุ ธศาสนาและอกี ประการหนง่ึ บรเิ วณตลาดตากฟา ทา นแรก คอื นายบนั ลอื รตั นมงคล ไดเ ปน ผดู าํ เนนิ การเรอ่ื งสถานทก่ี อ สรา งวดั เพราะ ที่ดินบริเวณวัดนั้นเปนที่ของนิคมสรางตนเอง พรอมกันนั้นก็ไดอาศัย ผูใหญสมจิตร พิมพาภรณ นายสิงห สมศรี พรอมดวยชาวบานตากฟา เปนผูดาํ เนินการสรางวัด ทางดานฝายคณะสงฆนั้นก็ไดรับความสนับสนุนจาก พระครู นิพัทธศีลคุณ (ทอง) อดีตเจาคณะอําเภอตาคลี และพระครูนิยม ธรรมภาณ (บก) เจา คณะตาํ บลในขณะนน้ั ไดช ว ยสง พระมาเปน ผปู กครอง สํานักสงฆ โดยลําดบั และเพอ่ื เปนเกียรติท่พี ระครนู ิยมธรรมภาณไดให ความอุปถัมภแกสานักสงฆ ชาวบานท่ัวไปจึงเรียกกันวา “วัดตากฟา นิยมธรรม” โดยเอาชือ่ ทายของราชทินนามของหลวงปูบก มาตอสรอย ขางทาย และในป พ.ศ. ๒๕๐๔ คณะกรรมการก็ดําเนินการจึงทําเรือ่ ง ขอตั้งเปนวัด หลงั จากนนั้ ในป พ.ศ. ๒๕๐๗ พระอาจารยบ ญุ สง ซง่ึ เปน ผดู แู ล สํานักสงฆวัดตากฟานิยมธรรมเปนรูปสุดทายก็ไดลากลับไปจําพรรษา อยู ณ วัดสวางวงษ อําเภอตาคลี ตามเดิม ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๐๘ คณะกรรมการวัดจึงไดไปขอพระภิกษุที่จะมาเปนผูนําจากหลวงพอ พระครวู สิ ยั จรยิ คณุ (โอด) ทวี่ ดั จนั เสน อาํ เภอตาคลี เพอื่ มาดแู ลสาํ นกั สงฆ ตอไป ขณะนนั้ พระสุรินทร จนทฺ โชโต (ตอมาไดรับพระมหากรณุ าธิคณุ

วถิ ชี ีวิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๑๕ โปรดเกลา ฯ พระราชทานสมณศกั ดใิ์ หเ ปน พระครนู ภเขตคณารกั ษ) ทา น กาํ ลงั มาลาหลวงพอ พระครวู สิ ยั จรยิ คณุ เพอ่ื จะไปจาํ พรรษา ณ วดั ปากนา้ํ จงั หวดั ระนอง หลวงพอ พระครวู สิ ยั จรยิ คณุ จงึ ไดข อใหท า นมาจาํ พรรษา อยูท่ีสํานักสงฆวัดตากฟานิยมธรรม เพ่ือมาเปนผูนําในการดูแลรักษา และบํารงุ รกั ษาวดั ในป พ.ศ. ๒๕๑๐ กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ดวย ความเหน็ ชอบของมหาเถรสมาคม จึงประกาศต้ังเปน วดั ขึ้นในพระพทุ ธ ศาสนา มีนามวา “วดั ตากฟา” เมอื่ วนั ท่ี ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ และ ตอมาไดรบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๐ ในป พ.ศ.๒๕๔๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ฯ มีพระบรม ราชานญุ าต สถาปนาวดั ตากฟา เปน พระอารามหลวง ชน้ั ตรี ชนดิ สามญั เนอื่ งในมหามงคลวโรกาสทรงครองสิริราชสมบตั ิครบ ๖๐ ป

๓๑๖๔ วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค วัดถํา้ พรสวรรค ตั้งอยูท่ีตําบลลําพยนต อําเภอตากฟา บริเวณมีพระพุทธปาง ตางๆ ประดิษฐานไวตามเชิงเขา มีศาลาสมภพปลูกสราง ๓ ชั้นอยาง ทนั สมยั ขา งหลงั วดั มถี าํ้ พรสวรรค เปน ทบี่ รรจสุ งั ขารพระครนู มิ ติ สทิ ธกิ าร หรือหลวงพอเปา เขมกาโม ที่นกั ทองเท่ยี วนิยมไปกราบไหว ภายในถาํ้ แบงออกเปน ๒ ตอน ตอนแรกเปนหองเล็ก ตอนที่สองเปนหองใหญ มีพระพุทธรูปและสง่ิ กอสรางทันสมยั อยูมาก มีนํ้าตกจําลอง มีสระนาํ้ ตรงกลางถาํ้ พื้นถํ้าเทคอนกรีตหมด บรรยากาศเยน็ สบาย ไมมีคางคาว อาศยั อยู ภายในถา้ํ ตดิ ตง้ั ระบบไฟฟา และประปาอยา งพรอ มมลู มคี วาม เงียบสงบ เหมาะกับนักทองเท่ียวที่ชอบความสงบ และตองการคนหา

วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๑๗๕ ปรศิ นาธรรมดา นขา งปากทางเขา ถาํ้ มพี ระพทุ ธบาทเกอื กแกว ประดษิ ฐานอยู ความเปนมาของวัดถํ้าพรสวรรค เดิมเปนถํ้าที่มีสภาพรกราง เต็มไปดวยปาไมและสัตวปา ในป พ.ศ.๒๕๐๗ พระครูนิมิตสิทธิการ หรือหลวงพอเปา เขมกาโม มาจําพรรษาที่บริเวณถํ้าเขาตะบองนาค มีพุทธศาสนิกชนเลื่อมใสศรัทธาชวยกันปรับปรุงภายในถ้ําและนอกถํ้า และบริจาคจตุปจจัย หลวงพอไดนํามาใชในการพัฒนาถํ้าและสราง ถาวรวัตถุ เริม่ ตนดวยการสรางบอนา้ํ สรางบนั ไดทางเขาถ้ํา สรางกฏุ ิ โบสถ ศาลา พ.ศ.๒๕๓๗ พระสมพงษ ทองแฉลม (พระครูใบฎีกา สมพงษกิตติสจโจ) ไดปรับปรุงสภาพวดั โดยเทพื้นปหู ินออนเพอ่ื พฒั นา ใหเ ปน แหลง ทอ งเทยี่ วเชงิ อนรุ กั ษ จดั สรา งพพิ ธิ ภณั ฑส ตั วน า้ํ จดื นาํ้ ทะเล และจัดประเพณีลอยกระทงในถ้ําโดยใชวัสดุธรรมชาติ ใชดอกไมสด ในวันเขาพรรษา จัดกิจกรรมปลูกปาอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เปน ประจําทกุ ป ความโดดเดนของวัดแหงนี้อยูท่ีถ้ําพรสวรรค ซึ่งเปนที่บรรจุ สงั ขารพระครนู มิ ติ สทิ ธกิ าร หรอื หลวงพอ เปา เขมกาโม บคุ คลทน่ี กั ทอ ง เทย่ี วนิยมเดินทางเขามากราบสกั การะ โดยภายในถํ้าแบงเปน ๒ สวน ดว ยกนั กลา วคอื สว นแรกเปน หอ งเลก็ ๆ และสว นทสี่ องเปน หอ งใหญข น้ึ ท่มี ีพระพทุ ธรปู วางอยูมากมาย ภายในถํ้ามีนํ้าตกจาํ ลอง วางสระนํ้าไว ตรงกลาง และติดตั้งระบบไฟฟาประปาอยางพรอมูล บรรยากาศเงียบ สงบเหมาะสาํ หรบั การปฏิบัติธรรมเปน อยางย่งิ

๑๓๔๘ วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค วดั ถาํ้ ผาสวรรค วดั ถาํ้ ผาสวรรค (ถาํ้ คหู าโสภณ) อยใู นเขตตาํ บลขาชายธง หมบู า น หนองสะแก หมทู ี่ ๔ ตาํ บลเขาชายธง อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ภายในถาํ้ จะมพี ระพทุ ธรปู ใหญช าวบา นเคารพนบั ถอื ซง่ึ สรา งมานานแลว และมรี ปู หลอ รปู เหมอื นหลวงปมู น่ั ภรู ทิ ตั โตและไดอ ญั เชญิ พระธาตขุ อง หลวงปมู น่ั จากวดั ปา สธุ าวาส จงั หวดั สกลนครมาบรรจทุ อี่ งคร ปู เหมอื นดว ย จะมีชองทางเดินภายในถํ้าติดตอกบั ถํ้าอ่นื ๆอีกหลายถํ้า และมีคางคาว อาศยั อยมู ากมาย ชาวบา นนยิ มมาเกบ็ ขค้ี า งคาวไปขาย และบางฤดกู าล ก็จะมีพระธุดงคนั่งวิปสสนาในถ้ํา มีนักทองเท่ียวท่ีชอบธรรมชาติ การเดินเขา และความสงบรมเย็นนิยมมาทองเที่ยวกันเปนระยะๆ

วิถีชวี ิต วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๓๑๕๙ วัดเขาชายธง วัดเขาชายธง สถานท่ีตั้ง หมูท่ี ๒ บานหนองเสลา ตําบล เขาชายธง อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค การคมนาคม สะดวก มถี นนลาดยางจากจงั หวดั ถงึ วดั ระยะทางประมาณ ๘๓ กม. เปน วดั ใหญ อยตู ดิ ถนนสายพหลโยธนิ อ.ตาคล-ี ตากฟา บรเิ วณวดั มีเนื้อทป่ี ระมาณ ๓๐๙ ไร มีภเู ขา ๒ ลกู คือภูเขาชายธงและภูเขาขาด มีถ้าํ ๓ ถาํ้ คือ ถ้ําสองพน่ี อง ถ้ําทิพยวิมาน อยูในบริเวณเขาชายธง และถํ้าวิมตุ ิสุขอยู บริเวณเขาขาด สาํ หรบั สงิ่ ทเ่ี ปน ทยี่ ดึ เหนยี่ วจติ ใจของชาวอาํ เภอตากฟา นอกจาก หลวงพอตากฟาแลวยังมี เจาพอ-เจาแมที่ประดิษฐานไวในศาลเจามี ๓ แหง ซ่งึ เปนที่เคารพบชู าของชาวตากฟามาตั้งแตในอดีต มีดังนี้

๓๒๔๐ วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ศาลเจาพอดาบทอง ศาลเจา พอ ดาบทองเปน ศาลเจา ทช่ี าวตลาดตากฟา เคารพนบั ถอื และศรทั ธาเปน อนั มากเนอื่ งจากความเชอื่ ในการขอสงิ่ ใดกบั เจา พอ แลว ไดสมหวงั เกือบทกุ ราย จึงมีชาวบานท้ังชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน นําพวงมาลัย ดอกไมมาถวายเจาพอเปน จํานวนมาก บางรายถึงกับเอา ภาพยนตรมาฉายถวายเจาพอกม็ ี เมือ่ สิง่ ทีข่ อนั้นสมหวงั ศาลเจา พอ ดาบทอง ตง้ั อยบู รเิ วณหนา โรงพยาบาลตากฟา ทดี่ นิ บริเวณท่ีตั้งศาลเปนท่ีดินของนิคมสรางตนเองตากฟา โดยจะมีผูดูแล ทําความสะอาดบริเวณศาลเจาเปนอยางดี และทุกๆวันก็จะมีชาวบาน นาํ พวงมาลยั มาถวายมไิ ดข าด และจะมงี านฉลองเจา พอ ทกุ ป มมี หรสพ คืองิ้ว ภาพยนตร ลิเก เปน ตน

วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๒๓๑๕ ศาลเจาพอเจาแมเ กษตรชัย ในป พ.ศ.๒๕๐๐ ชาวตลาดเกษตรชัยท่ีสวนใหญเปนชาวจีน ไดอ พยพมาจากตาํ บลทาํ นบ ตาํ บลสาํ โรงชยั (แตก อ นเปน ตาํ บลทขี่ น้ึ อยู กับอําเภอทาตะโก แตตอมาไดมาขึ้นอยูกับอําเภอไพศาลี) ไดรวมกัน วางแผนท่ีจะจัดสรางศาลเจาขึ้นในหมูบาน โดยการนําของกิมหยูกับ เจกแดไดไปใหเจาพอปากคลอง ตําบลบางประมุง อําเภอโกรกพระ ซึ่งผูทเ่ี ปน รางทรงคือคุณเตียเชียงชือ เปนผูทรงเจา ก็บอกวา ควรสราง ศาลเจา ไวท บี่ รเิ วณเชงิ เขาเกษตรชยั ( เขาทางแยก ) จงึ ดาํ เนนิ การกอ สรา ง โดยในระยะแรกสรา งดว ยไมเ ปน ศาลเจา เลก็ ๆ แตต อ มาบา นเมืองเจรญิ ขึ้น จึงไดกอสรางศาลเจาดวยปูนซีเมนต เจาพอ-เจาแมเกษตรชัยเปนท่ีเคารพนับถือของชาวตลาด เกษตรชัยเปนอยางมาก ของที่เปยจากงานฉลองเจาพอ-เจาแม ชาวตลาดเกษตรชัยเชอ่ื วาเปน ของมงคล ผูใดไปกราบไหวบูชา จะเปน ศิริมงคลแกตนเองและครอบครวั ศาลเจา พอ โชคสิงหชยั - เจา พอ โกมินทร ศาลเจาพอโชคสิงหชัย- เจาพอโกมินทร ต้ังอยูบริเวณริมถนน สายตากฟา-ทาตะโกใกลศูนยเกษตร-วิศวะ ตาํ บลอดุ มธัญญา อําเภอ ตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ชาวบานอดุ มธญั ญาใหความเคารพนบั ถือ เปนอันมาก ผูท่ีมีความเดือดรอนทุกขใจในเร่ืองใดๆ ก็มาบอกกลาว ท่ีศาลเจาพอโชคสิงหชัย-เจาพอโกมินทร ก็จะสมหวังเกือบทุกราย สวนใหญจะบอกกลาวดวยพวงมาลยั ดอกไมสด

๓๒๒๔ วิถชี วี ิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค บุคคลสาํ คญั ทางศาสนา พระครูนภเขตคณารกั ษ (สุรินทร จนทโชโต เฉลิมพันธ) พระครูนภเขตคณารักษ (สรุ ินทร จนทโชโต เฉลิมพันธ อดีต เจาอาวาสวดั ตากฟา หลวงพอตากฟา เจาคณะอําเภอตากฟา จังหวัด นครสวรรค ทช่ี าวตากฟาเคารพนับถือ

วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๒๓๕ ชาติภูมิ พระครนู ภเขตคณารกั ษ นามเดมิ สรุ นิ ทร นามสกลุ เฉลมิ พนั ธ เกิดเมอ่ื วันที่ ๑๖ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ๒๔๘๐ ตรงกบั วนั องั คาร ขึ้น ๑๐ คํา่ เดือน ๑๒ ปฉลู ณ บานหมูท่ี ๙ ตาํ บลทบั กฤช อําเภอ ชุมแสง จังหวัดนครสวรรค บิดาช่อื นายออด เฉลิมพนั ธ มารดาช่ือ นางชั้น เฉลิมพนั ธ การศึกษา พระครูนภเขตคณารักษ เรียนจบช้ันประถมศึกษาปท่ี ๔ ท่ี โรงเรียน บานพานทอง ตําบลสายทอง อําเภอปาโมก จังหวัดอางทอง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๔ บรรพชาอปุ สมบท อปุ สมบท ณ พทั ธสมี า วดั พนั ลาน ตาํ บลโคกหมอ อาํ เภอชมุ แสง จังหวัดนครสวรรค โดยมี พระครูนิพัทธศีลคุณ วัดหัวเขาตาคลี อาํ เภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค เปน พระอปุ ช ฌาย พระอธกิ ารพวง เปน พระกรรมวาจาจารย พระอาจารยเปนพระอนสุ าวนาจารย สมณศักด์ิ พ.ศ. ๒๕๐๙ เปนฐานานุกรมของเจาคณะอําเภอตาคลีที่ พระใบฎีกา พ.ศ. ๒๕๑๗ เปนพระครูสัญญาบัตรเจาคณะตําบลชั้นตรีท่ี พระครนู ภเขตคณารกั ษ

๓๒๔ วถิ ชี ีวิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค พ.ศ. ๒๕๑๘ เปนพระครูสัญญาบัตรเจาคณะตําบลช้ันโทท่ี พระครูนภเขตคณารักษ พ.ศ. ๒๕๒๓ เปนพระครูสัญญาบัตรเจาคณะตําบลช้ันเอกท่ี พระครนู ภเขตคณารักษ ผลงานดา นสาธารณปู การ พระครูนภเขตคณารักษ ไดดําเนินการกอสรางกุฏิทรงไทย ประยกุ ต ๒ ชนั้ สรางอโุ บสถวัดตากฟาลกั ษณะเปน ทรงไทยหลังคาลด ๒ ชั้น สรางศาลาการเปรียญวัดตากฟา สรางกุฏิทรงไทยประยุกตลกั ษณะสงู ๓ ช้ัน สรางหอระฆงั สรางกําแพงบริเวณหนาวดั ตากฟา สรางท่เี กบ็ น้ําประปา สรางเมรุ ลกั ษณะทรงไทยประยกุ ตยอดเปนมณฑป ฯลฯ

วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๒๓๕ มรณภาพ พระครูนภเขตคณารักษ เปนพระเถระผูมีความเครงครัดใน พระธรรมวนิ ยั ความเปน อยเู รยี บงา ย ยดึ พรหมวหิ ารธรรมและสงั คหวตั ถุ ธรรม เปนหลักปฏิบัติบําเพ็ญศาสนกิจอันเปนหิตานุหิตประโยชน เพ่ือ ความเจรญิ รงุ เรอื งของพระพทุ ธศาสนาและชาตบิ า นเมอื ง โดยปกตเิ ปน ผมู สี ขุ ภาพแขง็ แรง จะมอี าการปว ยไขบ า งกเ็ ปน ธรรมดา ทา นเรมิ่ อาพาธ เม่ือตนป พ.ศ. ๒๕๓๓ จึงเขารักษาท่ีโรงพยาบาลพรอมมิตร แพทย วินิจฉยั วาเปนโรคไต และไดทําการผาตดั เปล่ยี นไตเมอ่ื ป พ.ศ.๒๕๓๔ อยูไดประมาณปเศษ อาการอาพาธก็ทรุดลงอีกรางกายออนเพลีย ไมมีกําลังเดินไมได ฉันอาหารนอยลง จึงไดนําสงโรงพยาบาล อานันทมหิดลจงั หวดั ลพบรุ ี เมือ่ วันท่ี ๒๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๓๕ แตยัง ไมถึงโรงพยาบาลทานไดมรณภาพ เม่ือเวลา ๐๗.๕๐ น. แพทยวินิจฉัย วามรณภาพดวยอาการไตวายเรื้อรงั สิริรวมอายุ ๕๔ ป ๒ เดือน ๘ วนั อปุ สมบทได ๓๕ พรรษา

๒๓๖๔ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค หลวงพอเปา เขมกาโม (พระครูนิมิตสิทธิการ อดีตเจาอาวาส วัดถา้ํ พรสวรรค) หลวงพอเปา เขมกาโม (พระครูนิมิตสิทธิการ) เกิดเม่อื ๑๐ มิถุนายน ๒๔๕๙ ตรงกบั แรม ๔ คํา่ วันจันทรเดือน ๗ ปมะโรง เวลา ประมาณ เวลาประมาณ ๖.๐๐ น. ณ หมทู ี่ ๑ ตาํ บลตะเคยี นเลอ่ื น อาํ เภอ เมือง จังหวัดนครสวรรค บิดา ชอ่ื นม่ิ มารดา ชอ่ื ยิ้ม ทองแฉลม

วถิ ีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๒๓๕๗ การศกึ ษาเบอ้ื งตน สาํ เรจ็ ชนั้ ประถมปท ี่ ๔ เมอื่ พ.ศ.๒๔๗๐ จาก โรงเรียนทาทรุด ตาํ บลบางละมงุ อาํ เภอโกรกพระ จังหวดั นครสวรรค อปุ สมบทเมอื่ วนั พฤหสั บดที ี่ ๑๘ พฤษภาคมพ.ศ. ๒๕๐๔ ตรงกบั ขน้ึ ๔ คา่ํ ปฉลู ( เม่อื บวช หลวงพออายุได ๔๖ ป ) ณ วดั ลาดยาว อําเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค สรา งปา ใหเ ปน วดั บรเิ วณชงิ เขาและถาํ้ เขาตะบองนาคนอ้ี ยหู า ง จากถนนพหลโยธนิ ประมาณหนงึ่ กโิ ลเมตรเศษ สมยั กอ นหา งจากชมุ ชน ตาํ บลลาํ พยนต อาํ เภอตากฟามาก นอกจากคนมาทําไรแถบนั้นเชามา เยน็ กลบั ถงึ แมน จะทาํ ไร แถบนนั้ กท็ าํ คนละฟากถนนกบั เขาตะบองนาค ซึ่งเปนที่ตั้งวัดแหงนี้ ฉะนั้น กอนหนาที่หลวงพอจะเขาไปอยูไมปรากฎ วา มใี ครเคยเขา ไปอยมู ากอ น เพราะเปน ปา รกทบึ ไมม คี วามสวยงามหรอื นาทองเท่ียวแตอยางใด ในทางตรงกันขามกลับจะดูนากลัวมากกวา ประกอบกับสถานท่นี ี้หางไกลผูคน หากหลวงพอไมมาพบเขาก็นากลัว วาจะเปนถํ้ารกรางวางเปลาเปนท่ีอยูของคางคาวแดละงูตอไปอีกนาน แตห ลงั จากหลวงพอ เขา อยบู าํ เพญ็ สมณกจิ ณ ทแี่ หง นแ้ี ลว ไดม ผี ศู รทั ธา มาชว ยกนั ปรบั ปรงุ ทงั้ ภายในและภายนอกถา้ํ เรม่ิ ตน ดว ยการสรา งบอ นาํ้ สรางบันไดทางเขาถ้ําหลวงพอและลูกศิษยไดรวมกันสรางกุฎิ โบสถ ศาลา การกอสราง ศาสนสถานเหลานี้หลวงพอไมเคยออกปากรบกวน ใหลูกศิษยลําบากใจเลย สวนใหญมีศรัทธาเองท้ังสิ้น เม่ือผูคนศรัทธา ตอหลวงพอเพ่มิ มากขึ้น จึงไดรวมกนั บริจาคจตปุ จจยั เพอื่ ใหทานสราง

๒๓๘๔ วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ถาวรวตั ถขุ ึ้นอีกหลายอยาง เชน สรางบนั ไดขึ้นถ้าํ สรางกุฏิวิปสสนากรรมฐาน สรางกุฏิทรงไทยประยกุ ต สรางศาลาการเปรียญ สามช้นั สรางโบสถ สรางเมรุ ฯลฯ หลวงพอไดรับสมณศักด์ิเปนพระครูสัญญาบัตรที่ “ พระครู นิมิตรสิทธิการ ” เม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๓ เปนเจาอาวาสวัดถํ้าพรสวรรค ตลอดมา เปนเจาคณะตําบลลําพยนตดวย วัดนี้ไดพัฒนาไปมาก ปจจุบันนี้ทางจังหวัดไดประกาศใหเปนสถานที่ทองเที่ยวของจังหวัด นครสวรรค จงึ เปน ทพ่ี กั ผอ นของชาวบา น อกี ทงั้ ยงั เปน สถานทปี่ ระกอบ ศาสนกจิ ของสงฆแ ละชาวบา น ทง้ั ใชเ ปน ทลี่ อยกระทง ( ในถา้ํ ) ในวนั เพญ็ เดือนสิบสอง และท่ีสําคญั เปน สถานท่ฝี กอบรม “ วิปส สนากรรมฐาน ” แกประชาชนทัว่ ไป อีกไมนานจะเปนท่ีประกอบฌาปนกิจของคนทุกชนั้ หลวงพอมีเจตนาไววาใครก็ไดจะมาใชเมรุแหงนี้ คนจนก็จะทําพิธีทาง ศาสนาใหเ หมอื นๆกนั ไมเ ลอื กมี เลอื ดจน คา ใชจ า ยในการนจ้ี ะถวายกไ็ ด ไมถ วายกไ็ ด ทา นสรา งเพอ่ื ประโยชนข องคนทง้ั หลาย เพอ่ื ไมใ หเ กดิ ความ เดอื ดรอ นตอ งหา ฌาปนสถานไกลๆ อนั เปน การสน้ิ เปลอื งคา ใชจ า ยและ

วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๓๒๕๙ ใหเกิดความสะดวกโดยถวนหนากัน เชน บางแหงไมมีเมรุก็กองฟนสูง ทวมหัวแลวเอาศพตั้งเผาบนกองฟนนั้นถาพอจะมีฐานะบางก็มีโลงไม ถา ยากจนกเ็ อาเสอ่ื สาดหอ ศพ ดเู ปน ทอี่ จุ าดตานา สงั เวชยง่ิ นกั การสรา ง เมรุคร้ังนี้มีเจตนาจะชวยคนตายไดรับการฌาปนกิจอยางดี ไมวาคนๆ น้ันจะม่ังมีหรือยากจน โดยไมตองกังวลตอรายจายท่ีจะตองใหกับวัด ทง้ั นแ้ี ลว แตจ ะศรทั ธา จะเหน็ ไดว า จากถา้ํ ทไี่ มม ใี ครเคยยา งกรายเขา ไป หลวงพอ ไดน าํ ชาวบา นและลกู ศษิ ยช ว ยกนั พฒั นาจนเปน ทท่ี ท่ี กุ คนเขา ไป แลว สบายทั้งใจและสบายท้ังกายหลวงพอปรารภวาไมประสงคสิง่ ใด อีกแลวในชีวิตนี้ นอกจากไดมีโอกาสเห็นลูกศิษยและชาวบานอยูเย็น เปน สขุ มคี วามสามคั คกี นั รจู กั อภยั อโหสซิ งึ่ กนั และกนั และมคี วามเมตตา ตอกัน ภายใตรมธงธรรมจักรของวัด ถํ้าพรสวรรคน้ีเทานั้นพอแลว สาํ หรบั หลวงพอ ทา นมรณภาพเมอื่ วนั ที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๓๖ รวมอายุ ๗๖ ป

๓๐๔ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค หลวงพอหิน หลวงพอ หนิ (หลวงพอ ตากฟา ) พระพทุ ธรปู ศกั ดส์ิ ทิ ธท์ิ ช่ี าวบา น นับถือเปนพระพุทะรูปโบราณแกะสลักจากหินทรายทั้งกอน ฝมือชาง สกุลทวาราวดีอายุประมาณ ๑,๒๐๐ ปโดยประมาณลักษณะเปน พระพทุ ธรูปปางมารวิชัยเดิมอยูเมืองเกาไพศาลี อาํ เภอไพศาลี จงั หวัด นครสวรรค สาเหตทุ ม่ี าประดษิ ฐานอยูณวดั ตากฟา นนั้ คอื เมอ่ื พ.ศ.๒๕๐๕ ไดป ระดษิ ฐานอยู ณ วดั หนิ ปก ทงุ อาํ เภอบา นหม่ี จงั หวดั ลพบรุ ี หมบู า น เกดิ นา้ํ ทว มตดิ กนั ๔ ป หลวงพอ พระครจู ร เจา อาวาสหนิ ปก ทงุ ในขณะนนั้ สงสารชาวบานทท่ี าํ นาไมไดขาว จึงถวายใหมาอยูที่สํานักสงฆตากฟา

วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๓๕๑ เพราะวา หลวงพอ นนั้ ไดช อ่ื วา ศกั ดสิ์ ทิ ธใ์ิ นการทาํ ใหฝ นฟา ตกอดุ มสมบรู ณ โดยการนาํ ของอาจารย ขนุ ทอง อรญิ ชโย พรอ มดว ย ทายกสงิ ห สมศรี ทายกจดั กลนิ่ บญุ ทายกเชญิ ประทมุ วนั และคณะไดร ว มเดนิ ทางไปรบั โดยรถ ๑๐ ลอ ตงั้ แตน นั้ มาหลวงพอ กไ็ ดม าประดษิ ฐานอยู ณ วดั ตากฟา ตง้ั แต พ.ศ. ๒๕๐๕ เปน พระศกั ดส์ิ ทิ ธปิ์ ระจาํ อาํ เภอตากฟา เมอ่ื ใดกต็ าม ท่ีฝนฟาไมตกตองตามฤดกู าล ชาวไรก็พากนั มาบูชาหลวงพอขอฝนให ฝนฟาตกก็สมปรารถนาทุกคร้ังไป และเปนเร่ืองซ่ึงนาอัศจรรย เม่ือใด ก็ตามที่นําหลวงพอออกมาพนชายคาแดดก็จะรมจะคร้ึมถานํามาไว นานๆ ฝนจะตก เรอื่ งตา งๆนเี้ ปน เรอ่ื งทท่ี ราบโดยทวั่ กนั ของชาววดั ตากฟา และชาวบา นตากฟา สาํ หรบั การบชู าหลวงพอ นน้ั ชาวบา นจะนาํ พวงมาลยั มาถวายอยูโดยไมขาด ปจจุบันนี้หลวงพอตากฟาประดิษฐานที่มณฑป เฉลิมพระเกียรติ ๕๐ ป ครองราชย

๓๒๔ วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค

วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๓๕๓ ๔บทท่ี ศิลปะทอ งถิน่ ประติมากรรม พระพทุ ธรปู ปางหามญาติ ประตมิ ากรรมอาํ เภอตากฟา มที น่ี ยิ มจดั สรา งแลว นาํ มาประดบั ไวตามวัดตางๆ คือ พระพุทธรูปปางตางๆ เชน พระพุทธรูปปนู ปน ทว่ี ัด ถํ้าพรสวรรค ตําบลลาํ พยนต อําเภอตากฟา

๓๔ วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค นอกจากนั้น ก็ยังมีศิลปะปูนปนเปนรูปปริศนาธรรม เพื่อส่ัง สอนประชาชนใหประพฤติธรรมอีกทางหน่ึงไดแก รูปปนปริศนาธรรม วันถํ้าพรสวรรค นอกจากประติมากรรมที่เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ท่ีจัดทําข้ึนเม่ือไมก่ีป กย็ งั มปี ระตมิ ากรรมพระพทุ ธรปู ทมี่ คี วามเกา แกแ ละเปน ทเี่ คารพสกั กา ระของชาวตากฟาทกุ คน น่ันคือ หลวงพอหิน ( หลวงพอตากฟา ) สถาปต ยกรรมทม่ี คี วามสวยงามของอาํ เภอตากฟา แหง หนง่ึ กค็ อื มณฑป เฉลิมพระเกียรติ ๕๐ป ครองราชย ซึ่งกอสรางในวัดตากฟา อําเภอ ตากฟา จังหวัดนครสวรรค โดยทานพระศรีสุทธิเวที เจาคณะอําเภอ ตากฟาเปนผูควบคุมการกอสรางดวยตนเองจนแลวเสร็จเม่ือ ป พ.ศ. ๒๕๔๔

วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ ภาษาและวรรณกรรม การละเลนพ้ืนบาน ประชาชนท่ีอพยพเขามาอาศัยอยูในเขต อาํ เภอตากฟา สว นใหญเ ปน ประชาชนทมี่ าจากจงั หวดั และอาํ เภอใกลเ คยี ง ภาษาที่ใชก็จะใชภาษาไทยภาคกลางเปนสวนใหญ แตจะมีบางกลุม ที่เปนคนไทยภาคอีสานท่ีอพยพเขามาอาศัยอยูในเขตอําเภอตากฟา ในชว งทมี่ กี ารตดั ออ ย กจ็ ะนาํ ภาษาอสี านเขา มาใชด ว ย แตเ ปน สว นนอ ย สําหรับคําพูดที่ถือวาเปนเอกลักษณของอําเภอตากฟาท่ีมักใชพูดกัน บอยๆ จนคนตางถ่นิ ไดยินแลวสามารถบอกไดวาเปนคนอําเภอตากฟา และมีบางคาํ กม็ ีใชในอาํ เภออน่ื ๆในจังหวดั นครสวรรคดวย เชน ๑. คําวา “ แงะ” มีความหมายวา “ เหรอ” เชน เมือ่ มีคนบอก วา “ ฉันไปเทย่ี วกรงุ เทพ ฯมา สนกุ มากเลย ” ชาวตากฟาจะตอบกลบั ไปวา “ แงะ” ๒. คําวา “ แหงะ ” มีความหมายวา “ หันมามอง” เชน “ เธอ ไมแ หงะมามองกนั บา งเลย ” ซง่ึ คาํ วา “แหงะ” จเปน กริ ยิ าทา ทางในการ เคลื่อนไหวรางกายในการหนั มามอง ๓. คําวา “ ปลาเห็ด ” หมายถึง อาหารชนิดหน่ึงท่ีนําปลา มาบดผสมกบั เครอ่ื งแกง ทาํ เปน แผนกลมเลก็ พอคาํ ทอดในนํ้ามนั หรือ ภาษาไทยกลางทวั่ ไปเรียกวา “ ปลาทอดมนั ”

๓๖๔ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๔. คําวา“ ทุม ” มีความหมายเดียวกับคาํ วา “ ทุม ” หมายถึง คาํ ท่ีใชเรียกเวลา เชน ๑ ทุม ๒ ทุม ซึง่ หมายถึง ๑ ทุม ๒ ทุม เปนตน ๕. คาํ วา “ แจม ” มีความหมายเดียวกบั คําวา “ สวาง ” เชน ไฟ ไมคอยแจมเลย ซ่งึ หมายถึง ไฟไมคอยสวางเลย น่นั เอง การละเลนพ้นื บาน การละเลนพื้นบานของเด็ก อําเภอตากฟามีอยูมากมายหลาย ชนิด และก็เปนการละเลนที่คลายๆกันทุกอําเภอในจังหวัดนครสวรรค เชน กระโดดเชือก

วิถีชวี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๓๗๕ กาฟกไข ก๊งิ กอง แกว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook