Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน_OBECQA 2564 รร.นาบอน

รายงาน_OBECQA 2564 รร.นาบอน

Published by รร.นาบอน สพม.นศ, 2022-08-11 04:08:09

Description: เล่มรายงาน_OBECQA 2564 รร.นาบอน

Search

Read the Text Version

รายงานวธิ ีการและผลการการดำเนนิ งาน ตามเกณฑรางวลั คณุ ภาพแหงสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พื้นฐาน (OBECQA) ประจำป 2564 โรงเรียนนาบอน สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครศรธี รรมราช สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ผงั โครงสร

ก ร้างองคก์ ร

สารบญั ข ผงั โครงสรา้ งองค์กร หน้า สารบัญ ก สารบัญตาราง ข สารบญั แผนภาพ จ สารบัญแผนภมู ิ ช บทนำ : โครงร่างองค์กร (Organization Profile) ซ 1. ลกั ษณะองคก์ ร (Organization Description) 1 1 ก. สภาพแวดลอ้ มขององค์กร(Organization Environment) 1 ข. ความสมั พันธร์ ะดับองค์กร(Organization Relationships) 8 2. สภาวการณข์ ององคก์ ร (Organization Situation) 9 ก. สภาพแวดล้อมของการแข่งขนั (Competitive Environment) 9 ข. บรบิ ทเชิงกลยุทธ์ (Strategic Context) 10 ค. ระบบการปรบั ปรงุ ผลการดำเนนิ งาน (Performance Improvement System) 11 หมวด 1 การนำองคก์ ร (Leadership) 13 1.1 การนำองค์กรโดยผ้นู ำระดบั สูง (Senior Leadership) 13 ก. วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ และคา่ นยิ ม (Vision Mission and Values) 14 ข. การสอื่ สารและผลการดำเนนิ การของโรงเรยี น 15 (Communication and Organizational PERFORMANCE) 15 15 1.2 การกำกบั ดูแลองคก์ รและความรบั ผิดชอบต่อสงั คม 17 17 (Governance and Societal Responsibilities) 18 ก. การกำกบั ดแู ลโรงเรียน (Organization GOVERNANCE) 18 ข. การประพฤตปิ ฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม (Legal and ETHICAL BEHAVIOR) 18 ค. ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม (Societal Responsibilities) 20 หมวด 2 กลยทุ ธ์ (Strategy) 31 2.1 การจดั ทำกลยุทธ์ (Strategy Development) 31 ก.กระบวนกาจัดทำกลยทุ ธ์ (Strategy Development PROCESS) ข.วัตถุประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC OBJECTIVES) 2.2 การนำกลยทุ ธไ์ ปปฏบิ ตั ิ (Strategy Implementation) ก.การจัดทำแผนปฏบิ ตั กิ ารและการถา่ ยทอดสู่การปฏบิ ัติ (ACTION PLAN Development and DEPLOYMENT)

ค สารบญั (ตอ่ ) หน้า 35 ข.การปรับเปลีย่ นแผนปฏบิ ัติการ (ACTION PLAN Modification) 36 หมวด 3 นกั เรียนและผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสีย (Student and Stakeholder) 36 3.1 เสียงของนักเรยี นและผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี (VOICE OF THE STUDENT and Stakeholder) 36 37 ก.การรับฟงั นกั เรยี นและผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสีย (STUDENT and Stakeholder Listening) ข.การประเมนิ ความพงึ พอใจและความผูกพนั ของนกั เรียนและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี 38 38 (Determination of STUDENT and Stakeholder Satisfaction and ENGAGEMENT) 3.2 ความผกู พันของนักเรียนและผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสีย(Student and Stakeholder Engagement) 39 ก.หลกั สตู รและการสนับสนนุ นักเรียนและผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสีย 41 (Product Offerings STIDENT and Stakeholder Support) 41 ข.การสร้างความสนั พันธก์ ับนักเรียนและผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสยี (Building STUDENT and Stakeholder Relationships) 41 43 หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ 43 (Measurement Analysis and Knowledge Management) 44 4.1 การวัด การวเิ คราะห์ และการปรับปรงุ ผลการดำเนินการของโรงเรยี น 44 (Measurement Analysis and improvement of Organization Performance) 45 ก. การวัดผลการดำเนนิ การ (PERFORMANCE MEASUREMENT) ข. การวิเคราะหแ์ ละทบทวนผลการดำเนนิ การ (PERFORMANCE ANALYSIS and Review) 48 ค. การปรบั ปรงุ ผลการดำเนินการ (PERFORMANCE Improvement) 48 48 4.2 การจัดการความรู้สารสนเทศ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Knowledge Management, Information and Information Technology) ก. ความรูข้ ององคก์ ร (Organization Knowledge) ข. ขอ้ มูล สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Data Information and Information Technology) หมวด 5 บคุ ลากร (Workforce) 5.1 สภาพแวดล้อมของบคุ ลากร (Workforce Environment) ก. ขีดความสามารถและอตั รากำลังบคุ ลากร (WORKFORCE CAPABILITY and CAPACITY)

สารบญั (ตอ่ ) ง ข. บรรยากาศการทำงานของบคุ ลากร (Workforce Climate) หน้า 5.2 ความผูกพนั ของบคุ ลากร (Workforce Engagement) 52 54 ก.ความผกู พันและผลการปฏิบตั งิ านบคุ ลากร 54 (WORKFORCE ENGAMENT and PERFORMANCE) 56 59 ข.การพฒั นาบุคลากรและผนู้ ำ (WORKFORCE and LEADER DEVELOPMENT) 59 59 หมวด 6 การปฏบิ ตั กิ าร (Operations) 62 6.1 กระบวนการทำงาน (Workforce Process) 65 65 ก.การออกแบบหลักสูตรและกระบวนการ (Product and PROCESS Design) 65 ข.การจัดการกระบวนการ (PROCESS Management) ค.การจัดการนวัตกรรม (INOVATION Management) 66 6.2 ประสิทธผิ ลของการปฏบิ ตั ิการ (Operation Effectiveness) 67 ก.ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลของกระบวนการ (PROCESS Efficiency and EFFECTIVENESS) 69 ข.การจัดการหว่ งโซ่อปุ ทาน (Supply-Chain Management) 69 ค.การเตรยี มความพรอ้ มดา้ นความปลอดภัยและภาวะฉกุ เฉนิ 76 (Safety and Emergency Preparedness) 79 หมวด 7 ผลลพั ธ์ (RESULTS) 83 7.1 ผลลัพธ์ด้านหลักสูตรและกระบวนการ (Product and Process RESULTS) 7.2 ผลลัพธด์ ้านนกั เรยี นและผูม้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี 86 (STUDENT and Stakeholder-Focused RESULTS) 7.3 ผลลพั ธ์ด้านบุคลากร (WORKFORCE-Focused RESULT) 7.4 ผลลพั ธด์ า้ นการนำองคก์ รและการกำกับดูแลองค์กร (Leadership and Governance Results) 7.5 ผลลัพธ์ดา้ นการเงินและตลาด (Financial and Market Results)

จ สารบญั ตาราง ตารางท่ี หน้า 1.1 จำแนกขอ้ มลู จำนวนครจู ำแนกตามกลุ่มงาน/ งาน/ กลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2564 4 1.2 ขอ้ มลู อาคารสถานท่ี 6 1.3 กฎระเบียบข้อบังคับท่ีเก่ยี วข้องกบั การดำเนินงานของโรงเรียน 6 1.4 ความตอ้ งการและความคาดหวงั ของนกั เรียนและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี 8 1.5 แสดงความท้าทายและความไดเ้ ปรียบเชิงกลยทุ ธ์ 10 2.1 กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ 18 2.2 เป้าหมายและวตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ทีส่ ำคัญ 21 2.3 การนำแผนปฏบิ ัติการไปปฏิบัติ 32 6.1 กระบวนการจัดทำข้อกำหนดของหลกั สตู รและกระบวนการทำงาน 59 6.2 ขอ้ กำหนดของกระบวนการทำงานท่สี ำคัญของ 3 ระบบ หลกั 61 7.1 ผลการประเมนิ คุณภาพภายในดา้ นคุณภาพผู้เรียนและการจดั การศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2562 – 74 2564 7.2 จำนวนนกั เรยี นท่จี บหลกั สตู รมธั ยมศกึ ษาตอนตน และได้ศกึ ษาตอ่ ตามความถนดั ของนักเรยี น 76 ปีการศกึ ษา2562 -2564 7.3 จำนวนนักเรียนที่จบหลักสตู รมัธยมศึกษาตอนปลายและไดศ้ กึ ษาต่อตามความถนดั ของ 76 นักเรยี นปีการศึกษา 2562 – 2564 7.4 แสดงความพงึ พอใจของนักเรยี นและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี 76 7.5 แสดงการเปรยี บเทยี บจำนวนศิษย์เก่าในระดับชนั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ท่กี ลับเข้ามาแนะแนว 77 ให้กับรุ่นนอ้ ง 7.6 แสดงการเปรยี บเทียบการเข้ารว่ มประชุมผปู้ กครอง ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 78 7.7 แสดงจำนวนครูท่สี อนตรงตามวิชาเอก ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2564 79 7.8 ผลการประเมนิ ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลการปฏบิ ัตงิ านของข้าราชการครูและบคุ ลากร 79 ทางการศึกษา ปีการศกึ ษา 2562 – 2564 7.9 อตั ราสว่ นจำนวนครตู ่อจำนวนนกั เรียนปกี ารศกึ ษา 2562 – 2564 80 7.10 ผลการประเมนิ ความคิดเหน็ ตอ่ การสรา้ งความผกู พันของบุคลากรในโรงเรยี น 81 7.11 แสดงจำนวนบคุ ลากรท่ีเข้ารับการอบรมสมั มนา ปกี ารศกึ ษา 2562-2564 81 7.12 แสดงร้อยละของครทู ี่ผลติ สื่อและนวัตกรรมการเรยี นรู้ ประเภทต่างๆ ปีการศึกษา 2562-2564 8.2 7.13 ข้อมลู การนำองคก์ รสู่การปฏบิ ัติเพ่ือบรรลุวิสัยทัศนข์ องโรงเรียน 83 7.14 แสดงผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานรอบ 4 84 7.15 แสดงการปฏบิ ัติตามกฎหมายข้อบังคบั 85

ฉ สารบญั ตาราง (ต่อ) หน้า 85 ตารางท่ี 86 7.16 แสดงขอ้ มูลการเป็นวิทยากรภายนอกของผบู้ รหิ ารและบุคลากรโรงเรียน 87 7.17 แสดงการดำเนินงานและนำแผนกลยทุ ธ์สูแ่ ผนปฏบิ ัติการ 7.18 แสดงการใชง้ บประมาณในการดำเนนิ การและผลสำเรจ็ ในการดำเนนิ การ ปี การศึกษา 2562- 87 2564 7.19 การเปรยี บเทียบจำนวนนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 (เดมิ ) ท่ีศึกษาต่อระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษา ปีท่ี 4 ปีการศึกษา 2562-2564

สารบญั แผนภาพ ช แผนภาพที่ หน้า 1.1 กระบวนการบริหารวสิ ัยทัศน์ พันธกิจและค่านยิ ม 13 1.2 ระบบการกำกับดแู ลโรงเรียน 16 2.1 กระบวนการนำแผนปฏิบัตกิ ารไปสูก่ ารปฏิบตั ิ 32

ซ สารบญั แผนภมู ิ หน้า 13 แผนภมู ิที่ 16 1.1 กระบวนการบริหารวิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ และค่านิยม 32 1.2 ระบบการกำกับดแู ละโรงเรียน 36 2.1 กระบวนการนำแผนปฏบิ ตั ิการไปสกู่ ารปฏิบตั ิ 39 3.1 กระบวนการรบั ฟงั เสียงนกั เรียน 48 3.2 แสดงการจดั การความสัมพันธ์ 52 5.1 ขดี ความสามารถและอตั รากำลงั บุคลากร 55 5.2 รูปแบบการดำเนินการสภาพแวดล้อมของการทำงาน 62 5.3 การพฒั นาวัฒนธรรมองค์กร 69 6.1 กระบวนการเชิงระบบ 7.1 แสดงร้อยละของนกั เรียนทมี่ ีผลการเรียนระดบั 3 ขน้ึ ไปจำแนกตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 70 ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2564 70 7.2 ผลการทดสอบระดับชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O - NET) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562 – 71 2564 เปรยี บเทยี บกับโรงเรยี นค่เู ทยี บ 7.3 ผลการทดสอบระดับชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O - NET) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2562 – 72 2564 เปรยี บเทียบกบั โรงเรียนค่เู ทยี บ 77 7.4 จำนวนรายการในการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนกั เรียนระดบั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สพม. 78 12 (นครศรธี รรมราช , พัทลุง) ปีการศึกษา 2562 – 2564 7.5 จำนวนรายการในการแข่งขนั ศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนระดบั ภาค และระดับชาติ ปีการศกึ ษา 2562 – 2564 7.6 แสดงความพงึ พอใจของนักเรยี นและผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี 7.7 แสดงจำนวนศิษยเ์ ก่าท่กี ลบั มาแนะแนวการศกึ ษาให้กับรนุ่ น้อง 7.8 แสดงรอ้ ยละของผู้ปกครองเข้ารว่ มประชมุ ผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 76

1 โครงร่างองคก์ ร (Organization Profile) 1. ลักษณะองค์กร (Organizational Description) โรงเรียนนาบอนเป็นโรงเรียนมธั ยมประจำอำเภอ ตั้งอยูเ่ ลขที่ 7/1 หมู่ที่ 2 ตำบลแก้วแสน อำเภอนาบอน จังหวัด นครศรีธรรมราช รหัสไปรษณีย์ 80220 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช โทร. 075- 491475 โทรสาร 075-419122 e-mail : [email protected] website : http://www.nbs.ac.th มีเน้ือ ที่ 48 ไร่ 1 งาน 54 ตารางวา ปัจจุบันมีการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 6 บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียนมหี น่วยงานราชการต่าง ๆ ชุมชนที่อยู่อาศัยของประชาชน อาชีพ ของชมุ ชนส่วนใหญเ่ ป็นเกษตรกรรม เช่น ทำนา สวนยางพารา สวนปาล์ม และสวนผลไม้ เปน็ ตน้ ก. สภาพแวดลอ้ มขององค์กร (Organization Environment) (1) หลกั สตู ร (Product Offerings) โรงเรียนนาบอนเปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายโดยใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน นาบอน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดการศึกษาตามโครงการโรงเรียน มาตรฐานสากล และจดั การศึกษา โดยน้อมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ภูมิปัญญา ท้องถิ่น เขา้ มาบูรณาการใน การจัดการศึกษาทกุ ระดบั ชน้ั หลกั สตู รสถานศึกษาของโรงเรยี น มดี งั นี้ โรงเรียนนาบอน ได้จัดหลักสูตรและการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล โดยจัดเป็นรายวิชา เพิ่มเติม และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ดังนี้ 1. รายวิชาการศกึ ษาคน้ คว้าและสรา้ งองคค์ วามรู้ (IS1) จดั ในภาคเรียนที่ 1 ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษา ตอนตน้ จัดใน ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 และระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จดั ในชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ๒. รายวิชาการสื่อสารและการนำเสนอ (IS2) จัดในภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จัดในชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จัดในชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 ๓. รายวิชาการนำความรู้ไปบริการสังคม (IS3) จัดในภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จัดใน ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 2 และระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จดั ในชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ๔. รายวิชาภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร เปิดสอนในระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้นทกุ ช้นั ปี ๕. รายวชิ าภาษาจีน เปิดสอนทกุ ระดบั ชัน้ ความสำคัญเชิงเปรียบเทียบของแต่ละหลักสูตรที่ส่งผลต่อความสำเร็จของโรงเรียน โดยพิจารณาจาก ข้อมูล ความพึงพอใจของนกั เรียนที่มีต่อโรงเรียน การศึกษาต่อ เพื่อศึกษาความพึงพอใจและศึกษาปัญหา ข้อเสนอแนะต่างๆ ของนกั เรียน และนำข้อมูลทไ่ี ด้ไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น

2 กลไกที่โรงเรยี นใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการบรหิ ารงาน 1. โรงเรยี นเน้นการบริหารจัดการหลกั สูตร มีการปรบั ปรงุ หลกั สูตรและกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการ จัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมงุ่ พัฒนาสมรรถนะผู้เรียน การจัดการเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ิจริง (Active Learning) มีการจัดการเรยี นรู้โดยบูรณาการกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และจดั การศึกษาตามโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลและจัดการศึกษาโดยคำนึงถึง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องทุกด้าน ความต้องการและความสนใจของนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน มีความพร้อมด้านบุคลากร อาคารสถานท่ี วสั ดอุ ุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกโรงเรียนและมกี ารนิเทศ ตดิ ตามประเมินผลเพ่ือพัฒนาและ ปรับปรงุ 2. โรงเรียนพัฒนาการเรียนสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยจัดให้นักเรียนทุกคนได้เรียนภาษาอังกฤษกับ ชาวต่างชาติ เพื่อส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนใช้ภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธภิ าพ ตามโครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากล และจัด รายวิชาเพิ่มเตมิ ส่งเสริมการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศภาษาที่สอง คอื ภาษาจีน 3. จดั หอ้ งสมดุ เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ ทม่ี คี ุณคา่ และทันสมัย มที รัพยากรให้บริการหลากหลาย เช่น หนงั สือ นิตยสาร หนังสือพมิ พ์ คอมพิวเตอรเ์ พื่อใช้สืบค้นข้อมูล มีการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านเพื่อปลูกฝงั นสิ ัยรักการอ่านและการใช้ เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 4. มีหอ้ งปฏิบัติการและแหลง่ เรียนรู้ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรูโ้ รงเรยี นมีโครงการพฒั นาการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ห้องปฏิบัติการเพื่อให้ นักเรียนได้ เรียนรู้ จากการปฏิบัติจริง ประกอบด้วย ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องวิทยาศาสตร์ ห้อง ศิลปะ ห้องดนตรี และหอ้ งนาฏศิลป์ เป็นต้น 5. มีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับนักเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เช่น ค่ายวิชาการ สปั ดาหว์ ิทยาศาสตร์ วนั อาเซยี น วนั ตรษุ จนี วนั ต่อตา้ นภัยยาเสพตดิ กฬี าสี การเลอื กตัง้ กรรมการสภานักเรียน เปน็ ตน้ 6. มกี ารจัดเรียนเสรมิ O-NET เพื่อพัฒนานักเรยี น 7. การจดั ระบบบริหารและสารสนเทศ โรงเรียนกำหนดผู้รบั ผิดชอบและจดั ทำระบบสารสนเทศ ใหเ้ ป็นหมวดหมู่ ถูกต้อง ครอบคลุม ทันสมัย และสามารถเข้าถงึ และนำขอ้ มูลสารสนเทศไปใช้ในการวางแผนการจัดการศึกษาได้สะดวก รวดเร็ว ครอบคลุมภารกิจฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝ่ายบริหารงานบุคคล ฝ่ายการเงินและ งบประมาณ และฝ่ายกิจการนกั เรียน 8. การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาโดยใช้กระบวนการนิเทศ กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) โรงเรียนดำเนินการกำหนดผู้รับผิดชอบและติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษา ครอบคลมุ ทกุ ฝ่าย ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรแู้ ละครผู สู้ อนทุกคนและดำเนินการประเมินคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี นทกุ ปี 9. การนำผลการประเมนิ คุณภาพภายในและภายนอกมาใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่อง โดย โรงเรียนนำผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและผลการประเมินคุณภาพภายใน และภายนอก มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเลือกสรรข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนา ที่ครอบคลุมภาระงานของ

3 สถานศึกษาท้ัง 5 ฝ่าย โดยใช้ข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ในปถี ดั ไป บริการทางการศกึ ษาอื่น ๆ ของโรงเรียน (2) วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ และค่านิยม (VISION, MISSION, and VALUES) 2.1 วสิ ยั ทัศน์ (VISION) โรงเรียนนาบอน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดับสากล มีทักษะชีวิตและ วถิ ีชวี ติ บนพืน้ ฐานของความเปน็ ไทย 2.2 พนั ธกิจ (MISSION) 1. เร่งรัดในการสรา้ งโอกาสทางการศึกษา ให้สามารถใหบ้ รกิ ารผูเ้ รยี นทกุ กลมุ่ ทุกประเภทอย่างเสมอภาค 2. พฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ มีคณุ ภาพตามมาตรฐานระดับสากล มีวิถีชีวิตบนพื้นฐานของ ความเปน็ ไทย 3. ปลกู ฝงั ผู้เรยี นให้มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มีทักษะชีวติ เปน็ พลเมอื งและพลโลกที่ดี 4. พฒั นาบคุ ลากรให้เปน็ ผู้มคี วามรคู้ วามสามารถตามมาตรฐานวิชาชพี และมีจรรยาบรรณ 5. พฒั นาระบบการบริหารจดั การโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล 2.3 เป้าประสงค์ (OBJECTIVE) 1. ผู้เรียนไดร้ บั สร้างโอกาสทางการศึกษาอยา่ งเสมอภาค ได้รับการดแู ลชว่ ยเหลือ ใหส้ ามารถพัฒนาได้เต็ม ศักยภาพ 2. หลักสตู รและกระบวนการเรียนรู้ ได้รับการพัฒนา เอ้ือต่อการพฒั นาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้และ การดำรงชพี 3. นกั เรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม มที ักษะชวี ติ มวี ถิ ีชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงบนพื้นฐาน ของความเปน็ ไทย 4. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามคี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานวิชาชพี และมจี รรยาบรรณ 5. ระดมสรรพกำลงั ในการสนบั สนุนทรพั ยากรเพอ่ื ใชใ้ นการบริหารจัดการ 6. ใช้เทคโนโลยแี ละหลกั ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารการจัดการ 7. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลกั ษณะและทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 2.4 ค่านยิ ม (VALUES) โรงเรียนมีอดุ มการณใ์ นการจัดการศึกษาและเปา้ หมายในการพัฒนาคนตามปรชั ญา ทวี่ า่ “ CHILDREN ARE PRECIOUS THEY CAN LEARN AND DEVELOP ” “ เดก็ คอื ทรพั ยากรบคุ คลอันทรงคุณคา่ ทกุ คนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาได้ ”

4 2.5 สมรรถนะหลกั ของโรงเรียน ดา้ นวิชาการ การพัฒนาผเู้ รียนให้เกิดการพฒั นาเต็มตามศักยภาพหรอื มีความเป็นเลิศ ตามความถนัดและ ความสนใจ โดยการกำกบั ติดตามความก้าวหน้าในการเรียน การพฒั นาทกั ษะ และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านบคุ คล ครูมีการวางแผน ออกแบบการเรยี นรู้ ปฏิบัติการสอนอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพตามความแตกตา่ ง ระหว่างบคุ คล วดั ประเมนิ ผล วจิ ยั เพอื่ พฒั นาการเรียนรู้อย่างมปี ระสิทธิภาพ นำการเปลย่ี นแปลงสู่ห้องเรยี นรายวิชา ผล ปรากฏต่อผู้เรียนชดั เจน ด้านงบประมาณ การบริหารจัดการงบประมาณมุ่งเน้นการใช้งบประมาณเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษาใช้ หลกั ธรรมาภบิ าล โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ด้านบริหารทั่วไป การเตรียมความพร้อมและส่งเสริมสนับสนุนในด้านต่าง ๆ ให้การจัดการศึกษาของ โรงเรยี นมคี ณุ ภาพและปลอดภัยในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ดา้ นกิจการนักเรยี น มีการเตรียมความพรอ้ มในกจิ กรรมของนกั เรยี นและสัมพันธ์ชมุ ชนอย่างตอ่ เนอ่ื ง สมรรถนะหลักของโรงเรียนเป็นความสามารถเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญในการพัฒนาผู้เรียนเรียนรู้ตาม ความถนดั และความสามารถอย่างเตม็ ศกั ยภาพ ผู้เรียนสามารถสรา้ งองคค์ วามรู้ มีความคดิ สร้างสรรคท์ เี่ ปน็ ประโยชน์ต่อ สาธารณะ เปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ นำเทคโนโลยีไปใช้ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อตนเองและสงั คมโลก นอกจากน้ผี ู้เรียนตอ้ งมีสุขภาพสมบูรณ์ มสี ุนทรียภาพทางศิลปะ ดนตรี กฬี า และยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดำรงชีวติ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตย ตระหนักและอนรุ กั ษ์ วัฒนธรรมไทย เข้าใจวัฒนธรรม นานาชาติ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคมโลก (3) ลกั ษณะโดยรวมของบคุ ลากร (WORKFORCE Profile) 3.1 ขอ้ มูลจำนวนครูจำแนกตามกลุม่ งาน/งาน/กลุม่ สาระการเรียนรู้ ตารางท่ี 1.1 จำแนกขอ้ มูลจำนวนครจู ำแนกตามกลมุ่ งาน/ งาน/ กลุ่มสาระ ปีการศกึ ษา 2564 เพศ วุฒิทางการศึกษา อนั ดับ ประเภท/ตำแหน่ง ชาย หญงิ ป. ป. ป. ครู คศ. คศ. คศ. รวม ตรี โท เอก ผู้ชว่ ย 1 2 3 ผ้บู รหิ าร ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา 1 - -1- - - -1 1 รองผู้อำนวยการสถานศึกษา 2 - -2- - - -1 2 รวม 3 - - 3 - - - - 3 3 ขา้ ราชการครูแบ่งตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 1 4 32 - - - 41 5 คณติ ศาสตร์ 1 6 34 - - 1 15 7 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3 5 62 - - 3 23 8

5 เพศ วฒุ ิทางการศึกษา อันดับ คศ. คศ. ประเภท/ตำแหน่ง ชาย หญงิ ป. ป. ป. ครู 12 คศ. รวม 13 3 ตรี โท เอก ผชู้ ่วย 11 27 -2 -3 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1 6 5 2 - 1 12 24 -1 -3 สุขศึกษาและพลศึกษา 3 - 3- - 1 1- 35 8 16 -1 ศิลปะ 3 1 3 1 - - 16 43 -- การงานอาชพี 1 2 21 - - -- -5 -- -2 ภาษาตา่ งประเทศ - 5 23 - 1 -- -- -- -1 แนะแนว - 11- - - -- -1 8 16 -9 รวม 13 30 28 15 - 3 19 55 ครูอตั ราจ้าง และลกู จา้ งประจำ ครูผู้สอน 2 3 41 - - ครูชาวต่างชาติ 2 - 2- - - พนกั งานขบั รถ - - --- - พนักงานธรุ การ - 11- - - ลกู จา้ งประจำ 1- --- - รวม 5 4 7 1 - - รวมท้ังสิน้ 21 34 35 19 - 3 ข้อมลู ณ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2565 องค์ประกอบสำคัญที่ทำให้ครูและบุคลากรของโรงเรยี นมีความผกู พนั ปฏบิ ตั ิงานจนบรรลวุ สิ ัยทัศน์และพันธกิจ ของโรงเรียน คอื ครแู ละบคุ ลากรทกุ คนยึดหลักการทำงานระบบวงจรคุณภาพ (PDCA) และมกี ารบริหารจดั การตามหลัก ธรรมาภิบาล ทำให้ครูและบุคลากรมีความตระหนัก ความรับผิดชอบและจิตสำนึกในการปฏิบัติงานจนบรรลุวิสัยทัศน์ และพนั ธกจิ ของโรงเรียนทำให้โรงเรียนประสบความสำเรจ็ มีช่อื เสียงเปน็ ทยี่ อมรับของสังคม สวัสดิการที่สำคัญ สิทธิประโยชน์และข้อกำหนดพิเศษด้านสุขภาพและความปลอดภัยที่สำคัญของบุคลากร เนื่องจากบุคลกรส่วนใหญ่เป็นข้าราชการจงึ มีสิทธปิ ระโยชน์ตามทร่ี ัฐกำหนดเก่ียวกับการรักษาพยาบาล ค่าเล่าเรียนบุตร ส่วนบุคลากรที่ไม่ใช่ข้าราชการก็จะทำประกันสังคม นอกจากนี้ทางโรงเรียนได้จัดสวัสดิการ การประกันอุบัติเหตุ การ แสดงความยนิ ดี ยกยอ่ ง ชมเชยบคุ ลากรที่ได้รับรางวัล การเลอ่ื นวทิ ยฐานะท่ีสงู ขึน้ การเย่ียมบุคลากรและคนในครอบครัว ที่เจบ็ ปว่ ย และรว่ มแสดงความเสยี ใจกบั การสูญเสียบคุ คลในครอบครัว

6 (4) สนิ ทรัพย์ (Assets) ตารางท่ี 1.2 ข้อมูลอาคารสถานที่ ลำดบั ที่ อาคารเรยี น / อาคารประกอบ จำนวนหลงั จำนวนหนว่ ย 1. อาคารเรียนแบบ 004 1 4 หอ้ งเรยี น 2. อาคารเรยี นแบบ 216 ก 1 16 หอ้ งเรียน 3. อาคารเรียนแบบ CS213B 1 10 หอ้ งเรยี น 4. อาคารเรียนแบบ 216 ล 1 16 หอ้ งเรียน 5. อาคารเรียนแบบ GEN.I 1 1 ห้องเรียน 6. อาคารเรยี นแบบ GEN.H 1 2 ห้องเรียน 7. อาคารเอนกประสงค์ แบบ 002/24 1 8. อาคารเอนกประสงค์ แบบ 101/27 1 1 ชนั้ 1 ชนั้ เทคโนโลยี อุปกรณ์และส่งิ อำนวยความสะดวกทีส่ ำคญั เทคโนโลยีของโรงเรียนมรี ะบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในโรงเรยี นสามารถใช้ได้ท้ังระบบ สายแลนและเครือข่าย WIFI ครอบคลุมทั้งโรงเรียน นำมาใช้ด้านการบริหารจัดการ การสื่อสาร การเรียนการสอนและโปรแกรมต่าง ๆ ระบบ การเก็บข้อมูลทางด้านงานทะเบียนวัดผลและขอ้ มลู สารสนเทศ อุปกรณ์และสิง่ อำนวยความสะดวกของโรงเรียน ได้แก่ คอมพวิ เตอร์ โทรสาร โทรทัศน์ เครื่องพริ้นเตอร์ โปรเจ็คเตอร์ เคร่ืองเลน่ DVD/CD เครือ่ งถา่ ยเอกสาร ห้องปฏิบัติการ ศูนย์การเรียนรู้ นอกจากนี้ ยังบรกิ ารสง่ เสรมิ การเรียนรู้ เชน่ ห้องโสตทัศนศกึ ษา (5) กฎระเบียบขอ้ บงั คับ (Regulatory Requirements) ตารางท่ี 1.3 กฎระเบยี บขอ้ บังคับท่ีเกย่ี วข้องกับการดำเนินงานของโรงเรยี น ดา้ นการดำเนินงาน กฎระเบยี บข้อบงั คับทีเ่ กยี่ วขอ้ ง อาชวี อนามยั และความปลอดภยั - ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ ง หลกั เกณฑ์การเปิดโรงเรยี นหรอื สถาบนั การศึกษาตามขอ้ กำหนดออกตามความในมาตรา 9 แหง่ พระราช กำหนดการบรหิ ารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉนิ พ.ศ. 2548 - คำส่ังจงั หวัดนครศรีธรรมราช เรอื่ ง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกนั และควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) การรบั รองระบบงาน - ระบบควบคุมภายในโรงเรยี น / วเิ คราะห์ความเสย่ี ง

ด้านการดำเนนิ งาน 7 บุคลากร กฎระเบยี บข้อบังคับท่ีเกยี่ วขอ้ ง การเงนิ งบประมาณ - พระราชบัญญตั ิระเบยี บขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553 ผลติ ภัณฑ์ (งานบรหิ ารวิชาการ/ - พระราชบัญญัตเิ งินเดือน วทิ ยฐานะ และเงินประจำตำแหนง่ ขา้ ราชการครู หลกั สตู ร/การวดั และประเมินผล) และบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 - ระเบียบวา่ ด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 - ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดนิ พ.ศ. 2544 - ระเบยี บสำนกั งบประมาณว่าดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. 2545 ซ่ึงมี เนื้อหาเกยี่ วกับระบบควบคมุ การใช้จา่ ยงบประมาณโดยสำนักงบประมาณ - ระเบยี บกระทรวงการคลังและประกาศของโรงเรยี นทีว่ า่ ด้วยการเบกิ จ่าย ตา่ งๆ - พระราชบัญญตั ิการจดั ซอื้ จดั จ้างและการบริหารพัสดุภาครฐั พ.ศ. 2560 - ระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการจัดซ้อื จดั จ้างและการบริหารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 - พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และฉบบั แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับ ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ ฉบบั แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 3 )พ.ศ. 2553 วา่ ดว้ ยแนว การจัดการศกึ ษา - ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรื่องนโยบายและมาตรฐานการพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพอื่ การศกึ ษาเม่อื วนั ท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 - พระราชกฤษฎกี า ว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธีการบรหิ ารจดั การบ้านเมอื งที่ดี พ.ศ.2546 - พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และฉบับแกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 และ ฉบบั แก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี 3 )พ.ศ. 2553 ว่าดว้ ย มาตรฐานและการประกนั คณุ ภาพการศึกษา - กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 - ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรอ่ื ง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานและระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ พ.ศ. 2561

ด้านการดำเนนิ งาน 8 กฎระเบยี บข้อบงั คับท่ีเก่ยี วขอ้ ง - หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560) - แนวปฏิบตั กิ ารวัดและประเมินผลการเรียนร้ตู ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา ขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 - ระเบียบโรงเรียนนาบอน ว่าด้วยการวดั ผลประเมินผลการเรียนรู้ ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2564) ข. ความสมั พนั ธ์ระดบั องค์กร (Organizational Relationships) (1) โครงสรา้ งองค์กร (Organizational Structure) โครงสรา้ งและระบบการกำกับดแู ลโรงเรยี น มกี ารดำเนนิ การโดยใช้หลกั การกระจายอำนาจ มจี ัดทำโครงสร้าง องคก์ รแบง่ เปน็ 5 กลมุ่ งาน ท่ขี นึ้ ตรงกบั ผูอ้ ำนวยการ ได้แก่ กลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ กล่มุ บรหิ ารงานบุคคลและ งบประมาณ กลุ่มบริหารงานทว่ั ไป และกล่มุ บริหารงานกิจการนกั เรยี น โดยมรี องผ้อู ำนวยการเป็นผู้รบั ผิดชอบในแต่ละ กลุม่ จดั ใหม้ ีการประเมินผลมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษาประจำปีของโรงเรยี นและเผยแพรร่ ายงานผลให้ผู้ปกครอง นักเรียน ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียและองค์กรท่เี ก่ียวขอ้ งกบั โรงเรียนได้ทราบในทีป่ ระชุมท่โี รงเรียนกำหนดขึ้น ตลอดจน เผยแพร่ในวารสาร และเวบ็ ไซตข์ องโรงเรยี น (2) นักเรียนและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี (STUDENTS and STAKEHOLDERS) ตารางท่ี 1.4 ความต้องการและความคาดหวังของนกั เรียนและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย กลมุ่ นกั เรยี นและ กลุม่ บริการทส่ี ่งมอบ ความตอ้ งการและความคาดหวงั ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสีย นกั เรยี น นักเรียนจบหลักสูตรในเวลาท่ี จัดหลักสูตรที่หลากหลาย ยืดหยุ่นและ สอดคล้องกับ กำหนด นักเรียนที่จบชั้น ม.3 ความต้องการของนักเรียน จัดการเรียนการสอนให้มี และ ม.6 มีคะแนนเฉลี่ยตาม มาตรฐาน มีสอ่ื นวัตกรรมท่ีทันสมัย จดั ครูสอนให้ตรง เ ก ณ ฑ ์ ข อ ง โร ง เ ร ีย น แ ล ะ กับ วิชาเอกและความถนัด มีการวัดผล ประเมินผลท่ี สามารถศึกษาต่อ ในสถาบันท่ี หลากหลายและสอดคล้องกับสภาพจริง จัด ผู้เรียนต้องการได้มีความรู้ และ บรรยากาศและสิ่งแวดล้อม ให้เอื้อต่อการเรียนการ ทักษะที่จำเป็นต่อ การทำงาน สอน พัฒนาแหล่งเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด ห้องศูนย์ ส่ือ และศึกษาตอ่ อินเทอร์เน็ตใหเ้ พียงพอตอ่ ความต้องการของผู้เรียน

9 (3) ผู้ส่งมอบและพนั ธมิตร (Suppliers and PARTNERS) ผู้ส่งมอบ คือ ผู้ปกครองนักเรียน ผู้ให้บริการรถรับส่งนักเรียน ผู้จำหน่ายอาหาร เจ้าหน้าที่รักษา ความปลอดภัย เจา้ หนา้ ท่ีรักษาความสะอาด สถานประกอบการและหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง พันธมิตร คือ โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา สถาบันอุดมศึกษา หน่วยงานราชการ และเอกชน โดยโรงเรยี นนาบอนได้ทำ MOU ร่วมกันกับสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช และโรงเรียนในสหวิทยาเขตสตรีทุ่งสง (โรงเรียนสตรีทุ่งสง โรงเรยี นช้างกลางประชานกุ ูล โรงเรยี นนาบอน โรงเรยี นทงุ่ สงวิทยา และโรงเรียนทุง่ สงสหประชาสรรค์) กลไกทีส่ ำคญั ท่ีโรงเรียนใชก้ บั ผสู้ ง่ มอบและพันธมิตร คือ การประชมุ ชแี้ จง การส่ือสารทางโทรศัพท์ หนงั สอื ราชการ จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ เวบ็ ไซต์โรงเรียน เพ่อื ใหเ้ กิดความเข้าใจตรงกนั และขอความรว่ มมือให้เขา้ มามี สว่ นร่วมในการพฒั นาโรงเรยี น บทบาทของผู้ส่งมอบพนั ธมติ รและผูใ้ หค้ วามร่วมมือทีส่ ำคัญในการสรา้ งนวัตกรรมใหแ้ ก่โรงเรียน คอื การ เข้ามามีสว่ นร่วมในการดำเนินงานของโรงเรียน ระดมทรพั ยากร การเขา้ มาใหค้ วามรแู้ ละแลกเปลี่ยนเรียนร้จู นบคุ ลากร สามารถพัฒนางานเป็น Best Practices ขอ้ กำหนดท่สี ำคัญของหว่ งโซ่อุปทานของโรงเรียน คือ บุคลากรจะต้องให้ความใสใ่ จในการสรา้ งคณุ คา่ ใน การปฏบิ ตั งิ านโดยใชก้ ลยุทธ์การบรหิ ารระบบวงจรคณุ ภาพ (PDCA) โดยยึดผูเ้ รียนเป็นสำคญั 2. สภาวการณ์ขององค์กร (Organizational Situation) ก. สภาพแวดลอ้ มของการแข่งขนั (Competitive Environment) (1) ลำดับในการแขง่ ขัน (Competitive Position) โรงเรยี นนาบอน เป็นโรงเรยี นขนาดใหญ่และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอ การเปรยี บเทยี บและ จดั ลำดับในการ แข่งขันจึงจับคู่เทียบกับโรงเรียนทุ่งใหญ่วิทยาคม ซึ่งเป็นโรงเรยี นที่มีบริบทคล้ายกับโรงเรียนนาบอน คือเป็นโรงเรียน มธั ยมศกึ ษาขนาดใหญ่ และเป็นโรงเรยี นประจำอำเภอเช่นเดียวกัน ซึง่ ข้อมลู ทใี่ ชใ้ นการเปรียบเทียบและจัดลำดับ ได้แก่ 1. การเข้าร่วมแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ พบว่า โรงเรียนนาบอนได้เป็นตัวแทนของเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช ในการเข้าร่วมแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนกั เรียน ระดับชาติ เปรียบเทียบกับ โรงเรียนคู่เทยี บ 2. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) พบวา่ โรงเรยี นนาบอนมผี ลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 และระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 มีคะแนนรวม เฉลยี่ สูงกว่าโรงเรยี นคู่เทยี บในบางปีการศกึ ษา (2) การเปล่ยี นแปลงความสามารถในการแขง่ ขัน (Competitiveness Changes) ปัจจยั การเปลยี่ นแปลงทีส่ ำคัญที่มผี ลตอ่ ความสำเร็จของโรงเรียน คอื การพัฒนาครูบรรจใุ หม่ การย้ายของครู การปรับเปล่ยี นนโยบายหน่วยงานต้นสังกดั นโยบายเร่งด่วนตา่ งๆ ดว้ ยเหตุดงั กลา่ ว โรงเรียนจึงมกี ระบวนการสร้างความ

10 สมดุลการแขง่ ขันโดยใชก้ ระบวนการ นิเทศ สรา้ งขวัญและกำลงั ใจครูที่มี ความรัก ความสามคั คี ความศรัทธาต่อสถาบัน มีระบบพี่สอนน้องให้มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนโดยจัดการเรียน การสอนที่เน้นคุณภาพ การมีทรัพยากรที่ใช้ในการบริหาร จัดการอย่างมีคุณภาพ ความเชี่ยวชาญของบุคลากร และการสนับสนุนและช่วยเหลือจากเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน สมาคมศิษย์เก่า รวมทั้งองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้โรงเรียนสามารถดำเนินการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญอีกอย่าง คือ โรงเรียนนาบอน เข้าร่วมโครงการโรงเรยี น มาตรฐานสากล จึงเร่งพฒั นาการบรหิ ารงานโดยใชร้ ะบบคุณภาพ ปรับปรงุ หลกั สูตรสถานศกึ ษาและจัดการเรียนการสอน รวมถึงการเปิดสอนรายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (IS1 – IS3) และการที่ประเทศไทยเข้าสู่การเป็น ประชาคมอาเซียน โรงเรียนจึงพัฒนาหลักสูตรสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและพัฒนาความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศที่ 2 โดยการเตรียมความพร้อมครูให้เพียงพอ พร้อมรับในการเปล่ยี นแปลงและการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ให้ เหมาะสมกับการเปล่ียนแปลง สถานการณ์ของโลก (3) แหลง่ ข้อมูลเชิงเปรยี บเทยี บ (Comparative Data) แหลง่ ขอ้ มูลสำคัญทม่ี อี ยู่สำหรับข้อมูลเชิงเปรยี บเทยี บและเชิงแขง่ ขันในด้านการศกึ ษามีดงั นี้ 3.1 ผลการสอบที่ดำเนินการทดสอบดว้ ยหน่วยงานอ่นื ๆ เช่น ผลการสอบ O – NET 3.2 ผลการสอบเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในระดับท่สี งู ขน้ึ 3.3 ผลการสอบของสถาบนั การศกึ ษาอ่ืน ๆ ทีม่ ีโอกาสให้ผู้ที่ต้องการประเมนิ ความรคู้ วามสามารถสมัครเขา้ การทดสอบ 3.4 คณุ ภาพการจัดการศึกษาประเมินโดย สำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) 3.5 ผลการแข่งขนั ทกั ษะทางวิชาการทุกระดับ ข. บรบิ ทเชิงกลยุทธ์ (Strategic Context) ความท้าทายและความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญด้านการจัดการศึกษา ด้านการปฏิบัติการ การจัด กระบวนการเรียนรู้ ด้านความรับผิดชอบตอ่ สังคมในวงกว้าง สัมพันธ์ชุมชน ด้านทรัพยากรบุคคล และด้านความยัง่ ยืน ของโรงเรยี น มดี ังน้ี ตารางท่ี 1.5 แสดงความทา้ ทายและความได้เปรียบเชงิ กลยุทธ์ ประเดน็ ความทา้ ทาย/ความไดเ้ ปรยี บเชิงกลยุทธท์ ่สี ำคญั ด้านหลักสตู ร - โรงเรียนอยู่ในชมุ ชนนักเรียนเดนิ ทางสะดวก ประหยัดค่าใช้จา่ ย - เพม่ิ ประสิทธิผลและรกั ษามาตรฐานการจัดการศึกษา เช่น นักเรียนสามารถเขา้ ศกึ ษาตอ่ ใน ระดับมหาวทิ ยาลัยให้มากข้ึน - การสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O – net) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 และช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ให้มคี ะแนนเฉลี่ยท่ีสูงข้นึ - จัดการเรยี นการสอนทมี่ ีประสิทธภิ าพ สอดคลอ้ งกับสถานการณ์

ประเด็น 11 ดา้ นการบรหิ าร ความท้าทาย/ความไดเ้ ปรยี บเชิงกลยทุ ธท์ ่ีสำคญั จัดการ - มีกระบวนการนิเทศ และ กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional ด้านทรัพยากร Learning Community: PLC) ในการพฒั นาการจดั การเรยี นร้ใู หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ - มกี ารจดั การเรยี นการสอนทีส่ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของชมุ ชน และ สอดคล้องกับความ ด้านชุมชน ตอ้ งการของผู้เรยี น - สง่ เสริมศกั ยภาพการเรยี นรู้แก่นักเรยี นทุกกลุ่มเป้าหมาย เชน่ ดนตรี คอมพวิ เตอร์ กีฬา เปน็ ต้น - บริหารจัดการดว้ ยระบบวงจรคณุ ภาพ (PDCA) - บริหารจดั การตามโครงสร้างและสายงาน - มรี ะบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นอย่างเขม้ แข็ง สามารถดูแลนกั เรียนในกล่มุ เสี่ยง กลุม่ ปกติ ได้ ครอบคลมุ 100% - ใช้หลักธรรมาภบิ าลในการบริหารจดั การโรงเรียน ใช้ระบบการจัดการความรู้ ระบบการ ควบคมุ ภายใน และใช้สื่อเทคโนโลยีในการบริหารจัดการ - ครูมคี วามรู้ความสามารถและมคี วามชำนาญในการจัดการเรยี นการสอน - มกี ารสง่ เสริมรบั นักเรยี นที่มคี ุณภาพจากโรงเรียนต่าง ๆ - สถานท่ี อาคารเรยี น แหลง่ เรยี นรู้ และสภาพแวดลอ้ ม เอื้อตอ่ การจัดการเรยี นการสอน สร้าง โรงเรยี นเปน็ องค์กรแหง่ การเรียนรู้ - มงี บประมาณสำหรับการดำเนนิ งานของโรงเรียนอย่างเพยี งพอ - มีการบริหารจดั การอยา่ งมรี ะบบและมีความคล่องตัวสูง - คณะกรรมการสถานศึกษา เครอื ข่ายผ้ปู กครองและชุมชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ให้ ความรว่ มมอื ในการจดั การศึกษา - ประชากรในพื้นท่ีบริการมคี วามสนใจทางการศึกษาตอ้ งการใหบ้ ุตรหลานไดร้ ับการศึกษาที่ สูงขน้ึ ค. ระบบปรับปรงุ ผลการดำเนนิ งานและกระบวนการสร้างนวตั กรรมของโรงเรียน (Performance Improvement System) โรงเรียนนาบอนมีระบบปรบั ปรุงผลการดำเนนิ งานและกระบวนการสรา้ งนวตั กรรมของโรงเรยี น ดังนี้ 1. รวบรวมผลการดำเนินงานของโรงเรยี นทกุ กลมุ่ งาน วเิ คราะหแ์ ละทบทวนผลการดำเนินการ 2. แลกเปลีย่ นเรียนรเู้ พือ่ ค้นหาผลงานทมี่ ีวิธีปฏบิ ัติทีเ่ ปน็ เลิศ 3. นำผลการทบทวนและแลกเปลย่ี นเรียนร้มู าปรับปรุงการดำเนินงานโดยใชร้ ะบบวงจรคณุ ภาพ (PDCA)

12 4. ปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและสร้างนวัตกรรม โดยจัดลำดับความสำคัญของการปรับปรุงและ โอกาสสรา้ งนวตั กรรม แลว้ นำนวตั กรรมไปถา่ ยทอดทงั้ ภายในและภายนอก โรงเรียนนาบอนใช้ระบบ PDCA ในการบริหารงาน ทำให้โรงเรียนมีการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ มีผลงาน เปน็ ทปี่ ระจกั ษไ์ ดร้ ับการยอมรับจากผปู้ กครอง ชุมชน และหน่วยงานต่าง ๆ ใช้ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา และผลการประเมินภายนอกจากสำนักรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) (สมศ.) ความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารเป็นกระบวนการประเมิน และนำผลการประเมนิ มาปรับปรงุ ผลการดำเนนิ งานของ โรงเรยี นเพื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา สร้างความเชอ่ื มั่น ใหแ้ กผ่ ู้เกีย่ วขอ้ งว่านักเรียนทกุ คนจะได้รบั การศึกษาทมี่ คี ณุ ภาพ จากสถานศึกษาเพื่อพฒั นาความรู้ ความสามารถและคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนมีการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสอบและทบทวนการดำเนินงานตามโครงการหรือกิจกรรมอยู่เสมอ โครงการหรือกจิ กรรมที่ทำต้องคุ้มค่าและเกิดประโยชน์ส่งผลต่อนักเรียน มีการติดตาม ตรวจสอบและ ทบทวนคุณภาพ ภายในสถานศึกษาทุกปี โรงเรียนมีการวิเคราะห์กำหนดสิ่งที่ต้องการร่วมกันระหว่างครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียน มีการเลือกและการวางแผนสร้าง นวัตกรรม โดยการนำไปใชส้ ถานการณจ์ ริง จากน้ันประเมินนวตั กรรมวา่ สามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนาคณุ ภาพการจัดการ เรยี นรู้ได้มาก น้อยเพียงใด นำข้อมลู ทีไ่ ด้ปรบั ปรุงนวัตกรรมใหม้ คี ุณภาพมากยง่ิ ข้นึ

13 หมวด 1 การนำองคก์ ร (Leadership) 1.1 การนำองคก์ รโดยผูน้ ำระดับสงู (Senior Leadership) ประกาศ/แตง่ ต้ังคณะทำงาน ประชุม สำรวจ ระดมความคิด รบั ฟงั ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ ทบทวนวิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ ค่านยิ ม ผลการดำเนินการ ไม่เหมาะสม ปรับปรงุ / เหมาะสม แกไ้ ข คณะกรรมการสถานศึกษาใหค้ วามเห็นชอบ ประกาศใช้วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ คา่ นิยม ถา่ ยทอดการนำวิสยั ทศั น์ พันธกจิ ค่านยิ มสู่ การปฏบิ ตั ิ วิเคราะหผ์ ลการถ่ายทอดการนำวสิ ัยทัศน์ พันธกิจ คา่ นยิ มสกู่ ารปฏบิ ัติ ผลการดำเนนิ การ ไมเ่ หมาะสม ปรบั ปรงุ / เหมาะสม แก้ไข สรปุ /รายงานผลการดำเนินงาน คณะทำงาน แผนภาพท่ี 1.1 กระบวนการบรหิ ารวิสัยทัศน์ พันธกจิ และค่านยิ ม

14 ก. วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจและค่านยิ ม (Vision, Mission and Values) (1) การบริหารวิสัยทัศน์ พันธกิจและค่านิยม (Vision, Mission and Values) โรงเรียนนาบอนได้ ดำเนนิ การโดยการมีสว่ นร่วมของผู้เกีย่ วข้องทุกฝา่ ย โดยมีกระบวนการดงั แผนภาพที่ 1.1 โดยได้ประกาศและแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนนิ งานฝ่ายต่าง ๆ จัดประชุมระดมความคิด สำรวจข้อมูล รับฟัง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากครู บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ศิษย์เก่า เครือข่าย ผู้ปกครองและสภานักเรยี น โดยคำนึงถึงบริบทต่าง ๆ ของโรงเรียนและชุมชน วิเคราะห์และประเมนิ ผลการดำเนนิ การ พัฒนาการจดั การศึกษาของโรงเรียน ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความคาดหวังของคณะกรรมการสถานศึกษา ความคาดหวงั ของผ้ปู กครอง และความตอ้ งการของนักเรียน มาเป็นข้อมูลในการกำหนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ และคา่ นิยม (2) การสง่ เสรมิ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและการประพฤตปิ ฏบิ ัตอิ ยา่ งมีจรยิ ธรรม (Promoting Legal and Ethical Behavior) โรงเรียนได้ส่งเสรมิ การประพฤตปิ ฏบิ ัติตามกฎหมายและประพฤติปฏบิ ัติอย่างมีจริยธรรม ดงั นี้ 1. ฝ่ายบริหารได้ให้ความรู้ความเข้าใจแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับกฎระเบียบการ ประพฤตปิ ฏิบตั ิตามกฎหมายอย่างมีจริยธรรม อยา่ งต่อเนื่อง 2. สร้างการรบั รู้ ความเข้าใจ และการปฏิบัตริ าชการตามระเบยี บและข้อกฎหมายที่เก่ียวขอ้ ง เช่นการ ลงเวลาการปฏิบัติราชการ การแตง่ กายของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา การให้บรกิ ารแกป่ ระชาชนและผู้มา ติดต่อราชการที่โรงเรยี น 3. การออกคำส่งั การปฏิบัตงิ านในรปู แบบของคณะกรรมการ เพอื่ ใหท้ ราบบทบาทหน้าทค่ี วามรับผิดชอบ และให้เกดิ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิงานอยา่ งเป็นระบบและสร้างวฒั นธรรมการทำงานเปน็ ทีมและการทำงานแบบรว่ มมอื รวมพลัง 4. สง่ เสริมใหก้ ำลงั ใจ มอบเกียรติบัตร รางวัลต่าง ๆ แกค่ รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาท่เี ป็นแบบอย่างที่ดี ในการการประพฤตปิ ฏิบัตติ ามกฎหมายและประพฤตปิ ฏิบตั อิ ยา่ งมีจรยิ ธรรม (3) การสร้างโรงเรียนท่ีประสบความสำเรจ็ (Creating a Successful Organization) ฝ่ายบริหารโรงเรียนได้กำหนดแนวทางในการปฏิบัติเพื่อเป็นการการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืนและเป็นการ สร้างโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จโดยในการกำหนดภาพความสำเร็จขององค์กร ด้วยการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษาและถ่ายทอดให้บุคลากรทุกคนใน โรงเรียนได้รับทราบ เข้าใจ และนำไปสู่การปฏิบัติได้ถูกต้อง โดยการดำเนินงานต่าง ๆ ใช้ระบบด้วยวงจรคุณภาพ PDCA เพื่อการพัฒนาคุณภาพงาน ถอดบทเรียนการดำเนินงาน สรุปและจัดทำ Best Practice ผลการดำเนินงานเพ่ือ นำไปสู่การปรับปรงุ และพัฒนางานอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

15 ข. การส่อื สารและผลการดำเนนิ การของโรงเรียน (Communication and Organizational PERFORMANCE) (1) ดา้ นการส่อื สาร (Communication) ฝ่ายบริหารได้จัดให้มีการสื่อสารถ่ายทอดการนำวสิ ัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมสู่การปฏิบัติและผลการดำเนินการ ของโรงเรียนตามกลมุ่ เป้าหมายและรปู แบบต่าง ๆ ดงั น้ี 1. การประชุม แลกเปลยี่ นเรียนรู้ และสือ่ สารผลการดำเนินการของโรงเรียน มีการประชุมฝ่ายบริหาร ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประชุมผู้ปกครอง ประชุม คณะกรรมการดำเนนิ งานต่าง ๆ ตามโอกาสและวาระตา่ ง ๆ ทีโ่ รงเรยี นกำหนด 2. การส่ือสารทางส่ือสงั คมออนไลน์ (Social Network) โดยใชก้ ลุ่ม Line ต่าง ๆ ไลนก์ ลมุ่ ผปู้ กครอง ไลน์ กลมุ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ไลนก์ ลมุ่ ครแู ละบคุ ลากรของเรยี น เปน็ ต้น การใช้เพจ Face book ของโรงเรียน Website ของโรงเรยี น http://www.nbs.ac.th E-mail : [email protected] และชอ่ ง YouTube ของโรงเรยี น 3. การจัดทำข่าวประชาสัมพนั ธ์ของโรงเรียนในรูปแบบไฟลภ์ าพและเอกสารออนไลน์และประชาสัมพนั ธ์ ในรปู แบบต่าง ๆ ทง้ั ในการประชุมและในส่อื สังคมออนไลน์ (2) การทำให้เกิดการปฏบิ ตั อิ ย่างจริงจงั (Focus on Action) ฝ่ายบริหารประชมุ บุคลากรเพื่อแจ้งให้ทราบถึงเป้าหมายของผลสัมฤทธิ์ท่ีคาดหวัง เพื่อสร้างความตระหนักใหแ้ ก่ บุคลากรทุกคน ในการบริหารงานโดยใช้ระบบวงจรคุณภาพ (PDCA) และการบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management) ที่ต้องบรรลุผลตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และวิสัยทัศน์ของโรงเรียน ผ่าน แผนงาน โครงการของกลุ่มงานต่าง ๆ โดยใชค้ ่านยิ มเป็นหลักยึดในการปฏิบัตงิ านและคำนงึ ถึงนักเรียน ผ้ปู กครอง และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียเป็นสำคัญ กำหนดเป็นกติการ่วมกันให้ทุกหน่วยงานทั้งในฐานะผู้ส่งมอบและผู้รับมอบงาน จะต้องสร้าง คุณคา่ ของงานในสว่ นท่ตี นรับผิดชอบในทุกกระบวนการ มกี ารกำกบั ตดิ ตามและประเมินผลการดำเนนิ งาน สร้างขวัญและ กำลังใจแกผ่ ู้ปฏบิ ัตงิ านโดยจัดกิจกรรมยกย่องเชิดชูเกยี รติแกบ่ ุคลากรของโรงเรียนที่ปฏิบัตงิ านประสบความสำเร็จและเป็น แบบอย่างท่ีดใี นดา้ นตา่ ง ๆ 1.2 การกำกับดูแลองค์กรและความรบั ผิดชอบต่อสงั คม (Governance and Societal Responsibilities) ก. การกำกับดแู ลโรงเรียน(Organizational GOVERNANCE) (1) ระบบการกำกับดูแลโรงเรยี น (GOVERNANCE System) โรงเรียนนาบอนกำกับดูแลองค์กรโดยใช้การบรหิ ารงานระบบวงจรคุณภาพ (PDCA) ตามเปา้ หมายท่วี างไว้ โดยมี การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน ให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลบรรลุตามเป้าประสงค์ วิสัยทัศน์ และตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนโดยใช้กระบวนการนิเทศ ติดตาม การประเมินและรายงานผล โดยมี กระบวนการดังแผนภาพท่ี 1.2

16 แต่งตง้ั คณะกรรมการนิเทศ กำกบั ติดตาม ฯ การวางแผนการดำเนนิ งาน การนิเทศ กำกบั ตดิ ตาม ฯ การดำเนนิ การนเิ ทศ กำกบั ติดตาม ฯ การวิเคราะหผ์ ล ฯ การนเิ ทศ กำกับ ติดตาม ฯ นำผลไปใช้ในการปรับปรงุ พฒั นาหรือมอบ รางวลั สร้างขวัญกำลังใจ สรุป รายงานผล แผนภาพท่ี 1.2 ระบบการกำกับดูแลโรงเรยี น (2) การประเมินผลการดำเนนิ การ (PERFORMANCE Evaluation) โรงเรียนกำหนดแนวทางในการประเมนิ ผลการดำเนินงานตามโครงการในแผนปฏิบัตกิ ารประจำปไี ว้อยา่ งชัดเจน เพื่อนำไปสู่ในการปรับปรุงพัฒนาแผนปฏิบัติการประจำปีในปีต่อไป กำหนดให้บุคลากรจัดรายงานผลการปฏิบัติงาน รายบุคคล รายงานการปฏบิ ัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) สารสนเทศฝ่าย/กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ใช้ประกอบในการ ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน เพื่อพิจารณาในการเล่ือนเงินเดือน นำข้อมูลมาสรปุ เป็นรายงานภาพรวมของโรงเรียน จัดทำ รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) เสนอหน่วยงานต้นสังกัดและเผยแพร่แก่ผู้เกี่ยวข้องนำผลการประเมินไปใช้ใน การปรบั ปรงุ และพัฒนางานต่อไป

17 ข. การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและมีจรยิ ธรรม (Legal and ETHICAL BEHAVIOR) (1) การประพฤติปฏบิ ตั ิตามกฎหมายและระเบียบข้อบงั คบั (Legal and Regulatory Behavior) การดำเนินการในกรณที ีห่ ลักสูตรการจัดการศกึ ษาและการดำเนนิ งานของโรงเรียนมีผลกระทบเชิงลบตอ่ สงั คม โรงเรยี น โรงเรียนจะแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรและการดำเนินงานโดยการมีส่วนร่วมของผู้เก่ียวขอ้ งและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โรงเรียนมีการดำเนินการแบบสอบถามความคิดเห็นและประเมินผลการดำเนินงานของกิจกรรมและโครงการซึ่งนำผล การประเมินมาใช้ในการคาดการณ์ล่วงหน้าถึงความกังวลของสาธารณ (Public Concerns) ที่มีต่อหลักสูตรและการ ปฏิบัติการในอนาคตได้ และโรงเรียนมีการทำงานเชิงรุก โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำผลไปปรับปรุงแผนปฏิบัติ การทุกปี เพื่อนำผลการประเมินไปสูก่ ารปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสูตรใหเ้ ป็นที่พึงพอใจของนักเรียนและผู้มสี ่วนได้ส่วน เสีย อันเป็นการลดปญั หาผลกระทบเชงิ ลบของสังคม ตลอดจนลดความกังวลของผู้ปกครองท่ีมตี อ่ การจัดการศึกษาของ โรงเรยี น (2) การประพฤติปฏิบตั อิ ยา่ งมจี รยิ ธรรม (ETHICAL BEHAVIOR) ในด้านจริยธรรมที่มตี ่อการปฏิบัติงานโรงเรียนมีกระบวนการในการสง่ เสริมและสร้างความม่ันใจว่าปฏิสมั พันธ์ ทุกด้านของโรงเรียนเป็นไปอย่างมีจริยธรรม โดยผู้บริหารประพฤติปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอย่างที่ดีแกผ่ ู้ใต้บังคับบัญชา การ กำกับตดิ ตาม ตามโครงสรา้ งการบริหารงานของโรงเรียน จดั กจิ กรรมสง่ เสริมพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ี พึงประสงคข์ องสถานศึกษา และประกาศเกยี รติคุณครู บคุ ลากรและนกั เรียนที่เปน็ แบบอย่างท่ีดี ค. ความรับผิดชอบต่อสงั คม (Societal Responsibilities) โรงเรียนจัดการศึกษาโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทั้งให้บริการแก่ชุมชน อย่างต่อเนือ่ ง (1) ความผาสกุ ของสงั คม (Societal Well-Being) โรงเรียนคำนึงถึงความผาสุกของสังคมโดยกำหนดให้สังคมเป็นส่วนหนึ่งในการกำหนดการจัดทำแผน กลยุทธ์ มีตัวแทนผู้ปกครองเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีเครือข่ายผู้ปกครองทีร่ ่วมกันดูแลช่วยเหลือใน ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน เครอื ขา่ ยหัวหน้าสว่ นราชการและทอ้ งถ่นิ มีการจัดกจิ กรรมและบริการชมุ ชนผ่านกิจกรรม ตา่ ง ๆ เชน่ จดั บรกิ ารความรู้แกช่ มุ ชน กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น กิจกรรมจิตอาสาและบำเพ็ญประโยชน์ เปน็ ต้น (2) การสนับสนนุ ชมุ ชน (Community Support) โรงเรยี นนาบอนดำเนนิ การสนับสนุนและสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้แก่ชุมชนในด้านตา่ ง ๆ เชน่ ด้าน วชิ าการ โดยจัด อบรมให้ความรู้หรือบริการสนับสนุนเป็นวิทยากร ด้านอาคารสถานที่ เช่น สนามกีฬา หอประชุม และอาคารเรียน เป็นต้น ด้านกิจกรรมชุมชน เช่น งานประเพณีต่าง ๆ ด้านการให้บริการแก่ชุมชน เช่น การแสดงทางด้านดนตรี นาฏศิลป์ วงดุรยิ างค์ และโรงเรยี นปลูกฝงั ใหน้ ักเรียนมีจติ อาสาในการช่วยเหลือชมุ ชนตามโอกาสตา่ ง ๆ สง่ ผลให้ชุมชน มีความเขม้ แขง็ มสี มั พันธภาพท่ีดีและมีความเช่อื มั่นในการจัดการศึกษาของโรงเรยี น

18 หมวด 2 กลยทุ ธ์ (Strategy) 2.1 การจดั ทำกลยุทธ์ ( Strategy Development ) ก. กระบวนการจัดทำกลยุทธ์ ( Strategy Development Process) (1) กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ ( Strategy Planning Process ) หลักในการวางแผนกลยุทธ์ของ โรงเรยี น โดยมีการจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานทุก 4 ปี (ปีการศึกษา 2562 - 2565) และจัดทำแผนปฏบิ ตั ิ การประจำปี ทุกปีการศึกษา แนวทางการจดั ทำกลยทุ ธข์ องโรงเรยี น ตามตารางที่ 2.1 ตารางท่ี 2.1 กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ กระบวนการ ข้นั ตอนการดำเนนิ การ ศกึ ษาสภาพปัจจบุ ัน ปัญหาและความต้องการ 1.ศกึ ษาแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 จุดเน้น นโยบายของสำนักงาน วิเคราะหจ์ ดุ แขง็ จุดอ่อน โอกาสและอปุ สรรค คณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน สำนกั งาน เขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษานครศรธี รรมราช ทบทวนวสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงคแ์ ละคณุ ลกั ษณะอนั พงึ มาตรฐานการศกึ ษาของสำนักงานรบั รอง ประสงค์ของผเู้ รียน มาตรฐานและประเมนิ คุณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) ทำแบบสอบถาม ปรบั ปรงุ /พัฒนา 2.วิเคราะห์ส่วนไดส้ ่วนเสีย (Stakeholder ไมเ่ ห็นด้วย Analysis) และวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) วิเคราะห์แบบสอบถาม เห็นด้วย 3.นำผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม ภายใน และ ภายนอก และผลการสำรวจความพึงพอใจ จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ 4 ปี ตอ่ การ พัฒนาโรงเรยี น นำมาศกึ ษาปญั หาและ อปุ สรรคเพ่อื วเิ คราะห์และสรุปผลความเสีย่ ง จดั ทำแผนปฏบิ ัติการประจำปี 4.นำผลสรปุ การวเิ คราะห์ความเสีย่ งมาเป็น ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล ขอ้ มูลในการ กำหนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ แผนกล ยทุ ธ์ วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ ประสงค์จัดทำแผน ผลการประเมนิ ไมบ่ รรลุ ปรับปรงุ ปรบั ปรุงแนวทางการพฒั นา โรงเรยี นและขอ บรรลุ /พฒั นา ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน รายงานผลการดำเนนิ งาน

19 กระบวนการ ขัน้ ตอนการดำเนินการ 5.จัดทำแผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานระยะ 4 ปี (ปีการศึกษา 2562-2565) และแผนปฏิบัติ การ ประจำปี โครงการ/กิจกรรมนำเสนอตอ่ ผู้บริหาร โรงเรียน เพอ่ื ขอความเห็นชอบ กระบวนการแสดงระบบการวางแผนเชิงกลยุทธ์ มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวง ว่าด้วย ระบบหลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกันคุณภาพการศึกษาพุทธศักราช 2561 รวมทง้ั ใช้หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มาเปน็ หลักในการดำเนนิ การจัดทำกลยุทธ์ (แผนกลยุทธ์) โดยมกี ระบวนการวางแผนกลยุทธ์ มีการกำหนดความท้าทาย ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ และกรอบเวลา มีกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดกลยุทธ์ (โครงการ) โดยใช้ข้อมูลและ สารสนเทศท่ีสำคญั มีการศึกษาสภาพของโรงเรียนแล้วนำขอ้ มูลมาดำเนนิ การ วิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและ ภายในโรงเรียนเพื่อประเมนิ สถานภาพ โรงเรียนได้กำหนดวัตถุประสงค์ เชงิ กลยทุ ธ์และม่ันใจได้ว่าตอบสนองข้อกำหนด ต่าง ๆ เช่น ความท้าทาย การสร้างนวัตกรรมและสมรรถนะหลัก เป็นต้น โรงเรียนได้นำวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์มา กำหนดเป้าหมาย ตวั ช้ีวัดและโครงการ (กลยุทธ์) กิจกรรมต่างๆ ทเี่ หมาะสมเพ่อื นำกลยุทธเ์ หล่าน้ันไปปฏิบตั ิ กำหนด บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและบุคลากรผู้รับผิดชอบงาน จัดทำเป็นแผนปฏิบัติการประจำปี และนำไปสู่การปฏิบัติ กำหนดกระบวนการคาดการณ์ผลการดำเนินการทั้งระยะสั้นและระยะยาว โรงเรียนมีวิธีการวัด ประเมินผลการ ดำเนนิ งาน วางแผนกลยุทธ์ เพอ่ื ปรบั ปรงุ พัฒนาระบบ ให้ได้แผนเชิงกลยุทธ์ทต่ี อบสนอง ตามเป้าประสงค์และวิสัยทัศน์ ท่ตี ง้ั ไว้ (2) นวัตกรรม (Innovation) โรงเรียนมีนวัตกรรมขององค์กร คือ การบริหารจัดการโดยใชโ้ มเดลการพัฒนา คุณภาพสู่ความเป็นเลิศโดยเน้นการบริหารแบบมีส่วนร่วมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ( SBM : School Base Management ) มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (RBM : Result Base Management) และใช้หลักธรรมภิบาล จนโรงเรียนมีความ เป็นเลิศในด้านการเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการปรับปรงุ และพัฒนาการปฏิบัตงิ าน สู่ความเป็น เลศิ ครอบคลุมท้ังผูเ้ รียน ครบู ุคลากรทางการศกึ ษาและผทู้ ่เี ก่ยี วข้องได้อย่างเหมาะสม (3) การวิเคราะห์และกำหนดกลยุทธ์ (Strategy Considerations) จากการใช้หลักการวิเคราะห์ SWOT วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอกระบบรับฟังเสียงนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง ข้อมูลการรับ นักเรยี น ขอ้ มลู สรปุ และประเมินผลการดำเนนิ งานที่ผา่ นมา โรงเรียนมีกระบวนการในการจัดเกบ็ ขอ้ มูลและสารสนเทศท่ี เชอื่ ถอื ได้ คณะผูบ้ ริหารจึงไดใ้ ชข้ ้อมลู ดังกล่าวมากำหนดองค์ประกอบที่สำคัญท่ีต้องใชใ้ นการจดั ทำกลยทุ ธ์ ซงึ่ ประกอบไป ด้วย จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรคของโรงเรียน สัญญาณบ่งช้ี การเปลี่ยนแปลงท่ี สำคัญด้านเทคโนโลยี

20 บริการทางการศึกษา สถิติจำนวนนักเรียน ประชากรในชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความยั่งยืนของโรงเรียนใน ระยะยาว รวมถงึ สมรรถนะหลกั ของโรงเรยี น ความสามารถของโรงเรียนในการนำแผน กลยทุ ธ์ไปปฏิบตั มิ ีขั้นตอนในการ กำหนดกลยุทธ์ ดงั น้ี 1. ใช้วัตถุประสงค์สำคญั เป็นตวั ตั้งในการกำหนดกลยุทธ์ 2. ในแตล่ ะวตั ถปุ ระสงคจ์ ะกำหนดตวั วัด/ตัวชี้วัดสำคญั เปา้ หมายความสำเร็จในแตล่ ะตวั ชวี้ ดั ของแตล่ ะรอบระยะเวลาตามแผน 3. กำหนดกลยุทธ์เพอ่ื ความสำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ (4) ระบบงานและสมรรถนะหลักของโรงเรยี น (Work Systems and Core Competencies) ระบบงานท่ี สำคัญของโรงเรียนใช้หลักการแบ่งส่วนงาน ตามหลักการบริหารโรงเรียนแบบนิติบุคคลและมาตรฐาน การปฏิบัติงาน โรงเรียนมัธยมศึกษา โรงเรียนนาบอนแบ่งการบริหารงานเป็น 5 กลุ่มงาน ดังนี้ กลุ่มบริหารงานวิชาการ กลุ่ม บริหารงานบุคคล กลุ่มแผนงานและงบประมาณ กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน และ สมรรถนะหลักกลา่ วไวใ้ นโครงรา่ งองค์กร จากกระบวนการกำหนดระบบงาน เกิดสมรรถนะหลกั ทีส่ อดคล้องกันว่าที่ผ่าน มามขี ั้นตอนการปฏิบัติ โดยระดมความคิดเห็นและสรุปผล จะได้ระบบการจดั การมาสรปุ เปน็ ระบบหลกั ของโรงเรียนที่ครู ทุกคนต้องปฏิบัติ โดยมีข้อกำหนดและคูม่ ือบรหิ ารคุณภาพระบบการบริหารงานวิชาการ และกำหนดให้ครูท่ีปรึกษาแต่ ละระดับชั้น วิเคราะห์ภาระงานการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยช่วยกันวิเคราะห์และสรุปผลระดับชั้นแล้วนำมา สังเคราะห์สรุป เป็นระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน จัดทำข้อกำหนดและกิจกรรมพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือ นักเรียน ครูดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ร่วมกันวิเคราะห์และเขียนสรุปผลดำเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดย กำหนดใหท้ ั้งสองระบบนี้เปน็ ระบบหลักท่ีครูทุกคนต้องปฏิบัติงานตามระบบ มกี ารเชอื่ มโยงสอดคล้องกัน ท้ังด้านปัจจัย ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กระบวนการและผลลัพธ์ไปสู่มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานและตัวช้ีวัดของ หลักสตู ร การจดั ระบบงานที่มีคุณภาพของครแู ละบุคลากรจะส่งผลต่อประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลขององค์กรจะทำให้ องค์กรมีความมนั่ คงและย่ังยนื ข. วตั ถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Objectives) (1) วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ (Key Strategic Objectives) โรงเรียนกำหนดวิสัยทัศน์ว่า ““โรงเรยี นนาบอน มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาระดบั สากล มีทักษะชวี ติ และวถิ ชี ีวิต บนพื้นฐาน ของความเป็นไทย” โดยกำหนดนโยบายหลักที่ถอื เป็นพันธกิจ 5 ข้อ และเป้าประสงค์ 6 ข้อ สอดคล้องกบั แผนงานและ โครงการไว้ ดังนี้

21 ตารางที่ 2.2 เปา้ หมายและวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สำคญั เปา้ หมาย วัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ โครงการ ที่ตอบสนองเชงิ กลยุทธ์ ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2564 มี 97 โครงการ 1. ประชากรวัยเรียนในเขตบริการ 1. ร้อยละของประชากรวัยเรียน - รบั นักเรยี น ม.1 และ ม.4 ทุกคนได้รบั บริการด้านการศกึ ษา ในเขตบริการสามารถเข้าถึง ปีการศกึ ษา 2565 อยา่ งทัว่ ถึงและเท่าเทียม บริการการศึกษาอย่างทั่วถึงและ - ทุนการศึกษา เท่าเทียม - แนะแนวสัญจร 2. ร้อยละของนักเรียนสามารถ - โครงการประชาสัมพนั ธเ์ พื่อ เขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษาอย่างทวั่ ถึง สนับสนุนการประชาสมั พนั ธ์ โรงเรียน และเทา่ เทยี ม 2. ผ้เู รียนทุกคนเปน็ คนดมี ี 1. ร้อยละของผเู้ รียนท่มี ี - พฒั นาสอื่ การเรยี นรู้วรรณคดีและ คุณธรรม และมี ความรู้ตาม พฤตกิ รรมแสดงออกถึงความรัก วรรณกรรม มาตรฐานสากล ในสถาบัน หลกั ของชาติ - ส่งเสริมความเปน็ เลิศทาง ภาษาไทย 2. ร้อยละของผู้เรียนทม่ี ี - สง่ เสริมและพฒั นาการสอนเสริม พฤติกรรมยดึ มน่ั การปกครอง นกั เรยี นอ่านไมค่ ล่องเขียนไม่คลอ่ ง ระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ - สง่ เสริมและพัฒนาความสามารถ 3. ร้อยละของผู้เรียนมพี ฤติกรรม การเรียนรู้เร่อื งการอ่าน (Reading ท่ีแสดงออกถงึ การมีทัศนคติที่ดี Literacy) ตอ่ บ้านเมือง - วนั สนุ ทรภู่ - วันภาษาไทยแหง่ ชาติ 4. ร้อยละของผเู้ รียนมีพฤตกิ รรม - ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ที่แสดงออกถึงการมหี ลกั คิดที่ ของกลมุ่ สาระฯคณิตศาสตร์ ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ - วนั ครสิ ต์มาส - สง่ เสริมความสามารถในการอ่าน การเขียนและการสื่อสารกลุ่มสาระฯ ภาษาตา่ งประเทศ - ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น

22 เปา้ หมาย วตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ โครงการ ท่ตี อบสนองเชงิ กลยุทธ์ ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 มี 97 โครงการ 5. รอ้ ยละของผ้เู รยี นมีพฤติกรรม ของกลุ่มสาระฯภาษาต่างประเทศ ทีแ่ สดงออกถงึ การมีคณุ ธรรม - ภาษาต่างประเทศวนั ละคำ จรยิ ธรรม - ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ของกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ 6. รอ้ ยละของผเู้ รียนมีพฤตกิ รรม - คา่ ยวชิ าการวิทยาศาสตร์ ที่แสดงออกถึงการมีคา่ นยิ มทพ่ี งึ - อจั ฉริยภาพวทิ ยาศาสตร์ ประสงค์ - สปั ดาหว์ ทิ ยาศาสตร์แหง่ ชาติ - สง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศทางด้าน 7. ร้อยละของผเู้ รยี นมพี ฤตกิ รรม วทิ ยาศาสตรฯ์ ท่ีแสดงออกถงึ การมจี ติ สาธารณะ - ค่ายศิลปะ - นาบอนบาตกิ 8. รอ้ ยละของผเู้ รียนมีพฤติกรรม - สง่ เสรมิ ความเป็นเลิศทางด้าน ทแ่ี สดงออกถึงการมจี ิตอาสา ศิลปะ 9. ร้อยละของผ้เู รียนมคี วามรู้ - ส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศทางด้าน ความเข้าใจ และมีความพรอ้ ม ดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ สามารถ รับมอื กับภยั คุกคาม - ฝกึ ทักษะการทำงานดา้ นอาชพี รูปแบบใหม่ที่มีผลกระทบต่อ - สวดมนตห์ มู่ทำนองสรภัญญะ ความมน่ั คง ด้าน ภัยจากยาเสพ - ติว O-NET ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ตดิ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา - กจิ กรรมงามอย่างไทย 10.ร้อยละของผู้เรียนมคี วามรู้ - คา่ ยวชิ าการกลุม่ สาระ ความเขา้ ใจ และมีความพร้อม - ติว O-NET นักเรียนระดับช้นั ม.3 สามารถรบั มือกับภยั คกุ คาม และ ม.6 รูปแบบใหม่ทม่ี ีผลกระทบต่อ - เปดิ บ้านวิชาการโรงเรียนนาบอน ความม่ันคง ดา้ นการคกุ คามใน - ลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้ สู่การ ชวี ติ และทรพั ย์สิน น้อมนำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง - สง่ เสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ - ห้องเรียนปลอด 0 , ร , มส และ

23 เปา้ หมาย วัตถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ โครงการ ที่ตอบสนองเชิงกลยุทธ์ ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 มี 97 โครงการ 11. รอ้ ยละของผ้เู รยี นมคี วามรู้ มผ และนักเรยี นเรียนดี ความเขา้ ใจ และมีความพรอ้ ม - การสอนปรบั พ้ืนฐาน นักเรียนช้ัน สามารถ รบั มือกับภยั คกุ คาม ม.1 และ ม.4 รปู แบบใหม่ทีม่ ผี ลกระทบตอ่ - การยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทาง ความมัน่ คง ดา้ นการคา้ มนุษย์ วชิ าการของผู้เรยี น - แนะแนวเพือ่ การศึกษาและมี 12. ร้อยละของผู้เรยี นทมี่ ที กั ษะ งานทำ และผ่านการประเมนิ จำเป็นใน - มอบประกาศนียบัตรและปัจฉมิ ศตวรรษที่ 21 (3Rs) - การอ่าน นเิ ทศ ม.3 และ ม.6 ออก (Reading) - การเขยี นได้ - สู่อาราม (Writing) - การคดิ เลขเป็น - หอ้ งสมุดมชี ีวิต - สปั ดาห์หอ้ งสมุด (Arithmetics) - รักการอ่าน 13. ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะท่ี - ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ จำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 (8Cs) แหลง่ เรยี นร้ทู ี่เอ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ - สง่ เสริมพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม - ด้านการคิดวจิ ารณญาณใน - เข้าค่ายอบรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม การแกป้ ัญหา (Critical Thinking นกั เรยี น ม.1 และ ม.4 - สง่ เสริมพัฒนาระเบียบวินยั and Problem Solving) นกั เรยี น - ด้านการสร้างสรรค์และ - สรา้ งทกั ษะความเขม้ แข็งต้านยา นวัตกรรม (Creativity and เสพตดิ ลด ละ เลกิ อบายมขุ Innovation) - โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. - ตรวจคดั กรองสารเสพตดิ ใน - ด้านความเขา้ ใจต่าง สถานศึกษา วฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ - ลดอ้วนลดโรค (Cross – Cultural) - สำรวจและบันทกึ น้ำหนักสว่ นสูง - ส่งเสริมโภชนาการและสุขอนามัย

24 เปา้ หมาย วตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ โครงการ ท่ีตอบสนองเชิงกลยทุ ธ์ ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 มี 97 โครงการ - ด้านความร่วมมอื การ นกั เรยี น ทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ - ส่งเสริมสุขภาพและบริจาคโลหิต (Collaboration,Teamwork - คุ้มครองผบู้ รโิ ภค อย.นอ้ ย and Leadership) - พัฒนาการเรียนการสอนกล่มุ สาระ ฯ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา - ด้านการสื่อสารสารสนเทศ - กีฬาภายในและภายนอก และเทคโนโลยีสารสนเทศและ - การอยู่ค่ายพักแรมลกู เสือ-เนตร การรู้เทา่ ทันส่อื นารีสามัญรุ่นใหญ่ ม.2 และทดสอบ (Communications, วิชาพเิ ศษลูกเสอื -เนตรนารีสามญั รุ่น Information and Media ใหญ่ ม.1 และ ม.3 Literacy) - การศึกษาแหลง่ เรียนรูน้ อกสถานท่ี - การพฒั นาศักยภาพของนกั เรยี น - ด้านคอมพิวเตอร์และ โดยใชโ้ ครงงานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและ - ขับขี่ปลอดภัย สวมหมวกนิรภัย การสอ่ื สาร (Computing and 100% ICT Literacy) - การอบรมสมั มนาบทบาทหนา้ ที่ คณะกรรมการนักเรยี นโรงเรียน - ดา้ นการอาชพี และทกั ษะ นาบอน การเรยี นรู้ (Career and - วันสำคญั ของชาติ ศาสนาและ Learning Skills) พระมหากษตั รยิ ์ - ด้านความมีเมตตา กรณุ า - สง่ เสรมิ ประชาธิปไตยใน มีวนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม สถานศกึ ษาของคณะกรรมการ (Compassion) นกั เรยี น - สรปุ งานและรายงานผลโครงการ ของคณะกรรมการนกั เรียน โรงเรียน นาบอน

25 เปา้ หมาย วัตถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ โครงการ ทต่ี อบสนองเชิงกลยุทธ์ ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 มี 97 โครงการ 14. จำนวนผูเ้ รยี นท่ีมีศักยภาพ ได้รบั โอกาสเข้าสเู่ วทีการแข่งขัน ระดับชาติ 15. ร้อยละของผเู้ รียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 3 ที่มีคะแนนผล การทดสอบ ทางการศกึ ษา ระดับชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) มากกวา่ รอ้ ยละ 50 เพิ่มขนึ้ จากปี การศึกษาทผ่ี ่านมา - ภาษาไทย - คณติ ศาสตร์ - ภาษาอังกฤษ - วทิ ยาศาสตร์ 16. รอ้ ยละของผ้เู รียนช้ัน มัธยมศึกษาปี ที่ 6 ทม่ี ีคะแนนผล การทดสอบ ทางการศึกษา ระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 เพ่ิมขึ้นจากปี การศกึ ษาที่ผ่านมา - ภาษาไทย - คณิตศาสตร์ - ภาษาองั กฤษ - วทิ ยาศาสตร์ - สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 17. ร้อยละของผเู้ รยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มที ักษะการ เรยี นรู้ ที่เชอ่ื มโยงสูอ่ าชีพและการ

26 เปา้ หมาย วัตถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ โครงการ ที่ตอบสนองเชิงกลยทุ ธ์ ปีการศึกษา 2562 - 2564 มี 97 โครงการ มงี านทำตามความถนัดและความ ต้องการ 3. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 1. ร้อยละของครูและบุคลากร - พัฒนาครูและบุคลากรทางการ ทุกคนไดร้ ับ การพฒั นามี ทางการศึกษาท่ตี ระหนกั ถึง ศึกษา สมรรถนะตามมาตรฐาน วชิ าชีพ ความสำคัญ ในอาชพี และหน้าที่ - ศึกษาดงู าน และจรรยาบรรณ ของตนเอง - สร้างขวญั กำลงั ใจและยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ 2. ร้อยละของครูทมี่ จี ติ วญิ ญาณ - พัฒนางานวิจยั ในช้นั เรยี น ของความเป็นครู มีความรู้ - นเิ ทศการเรยี นรู้ และ PLC ความสามารถสอดคล้องกับ - พฒั นาและจัดทำแผนการจดั การ มาตรฐานวชิ าชพี และ เรียนรู้ จรรยาบรรณ วชิ าชีพ - พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการ บรหิ าร/จัดทำขอ้ มูลฯดว้ ยโปรแกรม 3. ร้อยละของครแู ละบุคลากร DMC/EMIS ทางการศึกษาเข้ารับการพฒั นา - ปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบ ตาม เกณฑ์ที่กำหนด สารสนเทศ - การจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4. รอ้ ยละของครแู ละบุคลากร เพือ่ สนบั สนุนการบริหารจดั การ ทางการเรยี นรู้ และพัฒนาตนเอง อยู่ ตลอดเวลา โดยใช้ แพลตฟอร์มดจิ ิทัล (Digital Platform) 5. มีระบบฐานขอ้ มลู ครแู ละ บคุ ลากรทางการศกึ ษา เพือ่ วาง

27 เปา้ หมาย วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยุทธ์ โครงการ ทตี่ อบสนองเชงิ กลยทุ ธ์ ปีการศกึ ษา 2562 - 2564 มี 97 โครงการ แผนการผลติ และพฒั นาครู ท้งั ระบบ 6. รอ้ ยละของครูผ้สู อนมคี วามคิด สร้างสรรค์ สามารถพัฒนาสอื่ นวัตกรรมและดำเนินการจัดทำ วจิ ยั 4. มรี ะบบบรหิ ารจัดการตามหลัก 1. มกี ารจดั บรรยากาศ - พฒั นาสื่อการเรียนรู้วรรณคดีและ ธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วม สง่ิ แวดล้อมแสดงออกถึงความรกั วรรณกรรม - ปรบั ปรงุ สอ่ื การเรียนการสอนวชิ า ของทุกภาคส่วน ในสถาบนั หลกั ของชาติ ยึดมน่ั ศิลปะ ดนตรนี าฏศิลป์ การปกครองระบบประชาธปิ ไตย - พฒั นาการเรียนการสอนกลุม่ สาระ การเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา อนั มี พระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ 2. จำนวนกิจกรรมการเรียนรใู้ ห้ ผ้เู รยี นแสดงออกถึงความรกั ใน - การจดั บรรยากาศชั้นเรียนกลุ่ม สถาบนั หลักของชาติ ยึดมัน่ การ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ปกครองระบบประชาธปิ ไตยอันมี - จัดซือ้ จัดหาพสั ดุเพ่ือดำเนินงาน พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติท่ดี ีต่อบ้านเมอื ง มีหลกั ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดโรคติดเช้ือ คดิ ทถี่ ูกตอ้ ง เป็นพลเมอื งดีของ Covid-19 ชาติ มีคุณธรรมจริยธรรม - พฒั นาระบบสารสนเทศเพ่ือการ 3. รอ้ ยละครไู ดร้ บั การสนับสนุน บริหาร/จัดทำขอ้ มูลฯด้วยโปรแกรม วสั ดุ อุปกรณ์ และอปุ กรณ์ดิจทิ ัล DMC/EMIS (Digital Device) เพอื่ ใช้เปน็ - พฒั นาระบบการดแู ลช่วยเหลอื เครอื่ งมือในการจดั กิจกรรมการ นกั เรยี น เรียนรู้ ใหแ้ กผ่ ้เู รียนอย่างมี - พัฒนาระบบภาคีเครือขา่ ย ประสิทธภิ าพ

28 เปา้ หมาย วัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยุทธ์ โครงการ ท่ตี อบสนองเชิงกลยุทธ์ ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 มี 97 โครงการ 4. มีระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น สถานศึกษา และค้มุ ครองนกั เรยี นและการ - จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ แนะแนวท่มี ีประสทิ ธภิ าพ และสังคมท่เี อื้อตอ่ การเรียนรู้ 5. มรี ะบบฐานขอ้ มูลประชากรวัย - พฒั นางานการเงนิ และการบัญชี เรียนและสามารถนำมาใชใ้ นการ วางแผนจัดการเรียนรใู้ หแ้ ก่ผเู้ รียน - พฒั นาการเรยี นการสอนกลุ่มสาระ ฯสุขศึกษาและพลศึกษา ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 6. มกี ารบรู ณาการเรอื่ งการ - การจัดบรรยากาศช้นั เรียนกล่มุ จัดการขยะแบบมีสว่ นร่วมและนำ สาระภาษาต่างประเทศ ขยะมา ใชป้ ระโยชน์ - การจดั บรรยากาศช้ันเรยี นกลุ่ม 7. มีความโปร่งใส ปลอดการ สาระสังคมศกึ ษา ทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ บรหิ าร จัดการ ตามหลกั ธรรมาภิบาล - การจัดบรรยากาศช้ันเรียนกล่มุ 8. มรี ะบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาการ ผู้เรียน ครู บุคลาการทาง การศึกษา 9. มแี พลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) เพ่ือสนับสนนุ ภารกิจ ด้านบริหารจดั การศกึ ษา 10. มีข้อมลู ผู้เรียนรายบคุ คลท่ี สามารถเช่อื มโยงกบั ขอ้ มูลตา่ ง ๆ นำไปสูก่ ารวเิ คราะหเ์ พือ่ วาง แผนการเรียนรู้ สู่ผ้เู รยี นไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ (Big Data Technology) 11. ระดบั คณุ ภาพของ สถานศกึ ษาในการประเมิน คุณธรรมและความ โปรง่ ใสในการ

29 เป้าหมาย วตั ถุประสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ โครงการ ท่ีตอบสนองเชิงกลยุทธ์ ปกี ารศกึ ษา 2562 - 2564 มี 97 โครงการ ดำเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA) 12. จำนวนคร้ังในการประชุม บคุ ลากรในสถานศึกษา 13. จำนวนครั้งในการประชมุ ผู้ปกครอง 14. จำนวนครง้ั ในการประชุม คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ัน พ้ืนฐาน 5. ม ี ก า ร น ำ เ ท ค โ น โล ย ีและ 1. ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ - ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และ นวัตกรรมท่ี ทันสมัยมาใช้ในการ ความเข้าใจ และมีความพร้อม แหลง่ เรยี นรูท้ ่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และบริหาร สามารถ รับมือกับภัยคุกคาม - การจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ จัดการ รูปแบบใหม่ที่มีผลกระทบต่อ เพอ่ื สนับสนุนการบริหารจัดการ ความมั่นคง ด้านอาชญากรรม - พฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา ไซเบอร์และภยั พบิ ตั ิตา่ ง ๆ - พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการ 2. ร้อยละของครูที่นำเทคโนโลยี ศกึ ษา ด ิ จ ิ ท ั ล ( Digital Technology) มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัด กิจกรรมการเรียนรูใ้ หแ้ กผ่ ู้เรียนได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3. ร้อยละของครูผู้สอนที่จัดการ เรียนรู้ ให้แก่ผู้เรียนผ่านกิจกรรม การเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย

30 เปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ โครงการ ทีต่ อบสนองเชิงกลยทุ ธ์ ปกี ารศึกษา 2562 - 2564 มี 97 โครงการ 6. บุคลากรทุกคนนำหลักปรัชญา 1. ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ - ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้ สกู่ าร ของ เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน ความเข้าใจหลักปรชั ญาของ น้อมนำปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ชีวติ เศรษฐกิจพอเพยี งในการดำรง - วิทยาศาสตร์กับเศรษฐกจิ พอเพียง ชีวติ ทเี่ ป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม - ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม และ 2.รอ้ ยละของผู้ เรยี นมี จิตสำนกึ ในความเปน็ ไทยและวถิ ี คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตาม ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พระบรม ราโชวาทดา้ นการศึกษา พอเพยี ง ของในหลวงรชั กาลท่ี 10 และ หลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจ พอเพยี งไปพฒั นาผู้ เรยี นให้ มี คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามท่ี กำหนดได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ (2) การพจิ ารณาวัตถปุ ระสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Objectives Considerations) วตั ถปุ ระสงค์เชิงกลยทุ ธ์ของโรงเรยี น ตอบสนองความท้าทายและความไดเ้ ปรียบสมรรถนะหลัก รวมทั้ง ความต้องการผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย เพราะฝ่ายบริหารและงานแผนงาน ได้นำข้อมูลเหล่านี้เป็นปัจจัยนำเข้าในการกำหนดแผนกลยุทธ์และ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ท่ตี อบสนองความไดเ้ ปรียบและการใช้สมรรถนะหลกั ของโรงเรียนอย่างเตม็ ท่เี พื่อสร้างนวัตกรรม การศึกษา เช่น การปรับปรงุ หลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียน และแนวโนม้ ของตลาด โดยการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษโดยครูต่างชาติ การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้จัดสาระเพิ่มเติมความเป็นสากลให้มีรายวิชาการ สร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเอง (IS1) การสื่อสารและการน าเสนอ (IS2) การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (IS3) ในช้ัน มัธยมศึกษาตอนต้นเปิดสอนสาระเพิ่มเติม เน้นภาษาจีน การพัฒนาหลักสูตรเทียบเท่ากับโรงเรียนคู่แข่ง มีการจัด การศึกษาอย่างหลากหลาย เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ ของผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีศักยภาพและเปิดโอกาสทางการ ศึกษา มีระบบการกำกับติดตามการวัดและประเมินผล เพื่อให้นักเรียนสำเร็จตามหลักสูตรตามเวลาที่กำหนด วางแผน แนะแนวศึกษาต่ออย่างเปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยี ที่ทันสมัยในการจดั การเรียนการสอน มีระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียนที่

31 เข้มแข็ง เครอื ข่ายผู้ปกครองใหค้ วามร่วมมือ กบั โรงเรียนเป็นอยา่ งดี โรงเรียนสามารถระดมทรพั ยากรได้เพียงพอต่อการ จัดการเรยี นการสอนมคี วามปลอดภัย และปลอดยาเสพตดิ บริหารจัดการตามมาตรฐานสากล ได้แก่ การพัฒนาองค์กรสู่ ความเป็นเลิศ Best Practice ตามแนวทาง OBECQA วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ให้ความสำคัญต่อสมรรถนะหลักของโรงเรียน ด้านระบบการบริหารจัดการ ที่เน้น การมีส่วนร่วม มีการประชุมร่วมคิดรว่ มทำ ด้านการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ด้านการพัฒนา นักเรียนและบุคลากรให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และยกระดับความสามารถของโรงเรียนในการปรับตัวต่อการ เปลยี่ นแปลงอย่างรวดเรว็ ในสังคม และทนั ต่อสถานการณ์ เชน่ การเรง่ พัฒนาดา้ นการเรียนการสอน ผา่ นเทคโนโลยีการ ส่ือสารในการส่งเสรมิ ด้านภาษาจีน เปน็ ต้น 2.2 การนำกลยทุ ธไ์ ปปฏบิ ตั ิ (Strategy Implementation) ก. การจัดทำแผนปฏิบัติการและการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ( Action Plan Development and Deployment) (1) การจัดทำแผนปฏิบตั ิการ (Action Plan Development) โรงเรยี นจดั ใหม้ ีการวางแผน โครงการ/กิจกรรม ให้สอดคลอ้ งกับวสิ ัยทัศน์ กลยุทธ์ และสมรรถนะหลักของโรงเรียน ผา่ นระบบบริหารจัดการของกลุ่ม บรหิ ารงานต่างๆ โดยมีกระบวนการจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารจากข้ันตอนท่สี ำคัญของการกำหนดวตั ถุประสงค์เชิงกลยุทธ์จาก วธิ ีการดังกลา่ ว นำมาซง่ึ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสู่มาตรฐานสากล นำแผนพฒั นา คุณภาพการศึกษาข้ัน พ้ืนฐานสู่มาตรฐานสากลมาถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ โดยจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี เป็นประจำทุกปี ผ่านการเห็นชอบ จากคณะกรรมการสถานศกึ ษา ประกาศใชแ้ ผนปฏบิ ัติการประจำปี และดำเนนิ การตามแผน (2) การนำแผนปฏิบัติการไปปฏบิ ัติ (Action Plan Implementation) โรงเรียนมีการศกึ ษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่มาตรฐานสากล โดยมีการบริหารจัดการสู่การจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปี ตามกระบวนการ PDCA และนวัตกรรม การบริหารจัดการโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Management )สู่ความเป็นเลิศตามแนวทาง OBECQA มกี ารดำเนินการ ดงั ตารางท่ี 2.3

32 ศกึ ษาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี และ แผนพฒั นาการศกึ ษา 4 ปี แตง่ ต้งั ผู้รบั ผดิ ชอบงาน/ โครงการ/กจิ กรรม เขียนโครงการ/กิจกรรมและนำเสนอโครงการ ผลการ ไมผ่ ่าน ปรับปรุง พจิ ารณา ผ่าน /พฒั นา ดำเนนิ โครงการ / กจิ กรรม กำกบั นิเทศ ติดตาม และประเมินผล สง่ เสรมิ โครงการ / กจิ กรรมสคู่ วามเปน็ เลิศ รายงานผลการดำเนนิ โครงการ / กจิ กรรม แผนภาพที่ 2.1 กระบวนการนำแผนปฏิบัติการไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ตารางที่ 2.3 การนำแผนปฏบิ ตั ิการไปปฏิบัติ วัตถปุ ระสงค์ ตวั วดั /ตวั ชี้วัด เปา้ หมาย 1.เพื่อใหค้ รแู ละบคุ ลากรมีความรู้ ความ 1.รอ้ ยละของครแู ละบคุ ลากร มีความรู้ ความเขา้ ใจ ร้อยละ 85 เขา้ ใจ ในการปฏิบตั งิ านตาม ในการ ปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏิบตั ิการประจำปแี ละ ร้อยละ 85 แผนพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา 4 ปี

33 วตั ถปุ ระสงค์ ตวั วัด/ตวั ชี้วดั เปา้ หมาย แผนปฏิบัติการประจำปี และแผนพัฒนา 2.ร้อยละของครูและบุคลากร ไดเ้ สนอ เขียน ร้อยละ 80 คณุ ภาพ การศกึ ษา 4 ปี โครงการและรับผิดชอบโครงการ/กจิ กรรมท่ตี นไดร้ ับ รอ้ ยละ 80 2.เพอื่ ให้ครแู ละบุคลากรไดเ้ สนอเขยี น มอบหมาย โครงการและรับผดิ ชอบโครงการ / 3.ร้อยละของครูและบุคลากร ไดแ้ ลกเปลยี่ น กจิ กรรมทต่ี นได้รับ มอบหมาย ประสบการณ์ 3.เพื่อให้ครแู ละบคุ ลากรไดม้ ีการ 4.ร้อยละของครูและบุคลากร รายงานผลการ แลกเปลย่ี นประสบการณ์ 4. เพ่อื ใหค้ รูและบุคลากร รายงานผล ปฏิบัติงาน โครงการ/กิจกรรมได้อย่างถูกต้อง การปฏิบัติงานโครงการ/กิจกรรมได้ อย่างถกู ตอ้ ง จากการวางแผนพัฒนาโรงเรียนระยะ 4 ปี (ปี 2562 – 2565) แผนปฏิบัติการประจำปี ซึ่งผ่านการอนุมัติจาก คณะกรรมการบริหารโรงเรียน เมื่อผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว ผู้อำนวยการ ประกาศใช้แผนปฏิบัติการ พร้อมทั้งถ่ายทอดแผนปฏิบัติการโดยการประชุมผู้ปกครองและการประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง จัดพิมพ์วารสารแจกจา่ ยแก่ผู้ปกครองและนักเรียนรวมถงึ เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของโรงเรียน งานแผนงานมีหน้าท่ีกำกับ ติดตามงานให้ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการประจำปี และรายงานผลการปฏิบัติงานภาคเรียนละหนึ่งครั้ง งานประกัน คุณภาพภายในจะประเมินผลและสรุปผลเมื่อส้ินสุดปีการศึกษา และจัดทำรายงานประจำปี เผยแพร่แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ตอ่ ไป (3) การจัดสรรทรัพยากร (Resource Allocation) โรงเรียนมีกระบวนการจัดสรรทรัพยากร อย่างเป็นระบบ ชัดเจน ทำให้มั่นใจได้ว่าการเงินและทรัพยากรอื่นจะเพียงพอที่จะสนับสนุนแผนปฏิบัติการให้ สำเร็จลงได้ โรงเรียนมี การเงนิ และทรพั ยากรอืน่ มีความเพยี งพอที่จะสนบั สนนุ การปฏิบัติงานไดส้ ำเร็จโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการจดั สรรซงึ่ โรงเรียนมีการจดั การดา้ นงบประมาณชัดเจน เนน้ ความโปรง่ ใสและให้ทกุ คนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ มีการกำกับติดตามตรวจสอบการใช้งบประมาณที่เป็นทรัพยากรและพัสดุ ครุภัณฑ์ การจัดซ้ือจัดจ้างมีการบริหารงาน ตามระเบยี บทางราชการ การจัดหาทรพั ยากรที่มีความโปรง่ ใส ให้คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันนพ้ืนฐานของโรงเรียนได้ เข้ามามีสว่ นรว่ มในการดำเนนิ งานและร่วมตรวจสอบ ตดิ ตามในรปู แบบของคณะกรรมการและมีหน่วยงานต้นสังกัดโดย กำกับติดตามและตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง ในการดำเนินงานตามบทบาท ภารกิจของโรงเรียนและท่ีสำคัญคือโรงเรียนมี การวางแผนในการกำกับตดิ ตาม ตรวจสอบโดยการควบคุมภายในและการบริหารความเสยี่ งประจำปี

34 (4) แผนด้านบุคลากร (Workforce Plans) โรงเรียนได้มีการบริหารทรัพยากรบุคคลโดยมอบหมาย กลมุ่ บรหิ ารงานบุคลากรรับผิดชอบการวางแผนอัตรากำลงั การสรรหา บรรจุ แตง่ ตั้ง ย้าย ลา ลงโทษทางวนิ ยั และออก จากราชการ ดำเนินการสำรวจอัตรากำลังของบุคลากร จัดหาครู/วิทยากร ในสาขา ที่ขาดแคลน เพื่อให้โรงเรียนมี ทรพั ยากรบุคคลเพยี งตอ่ การปฏิบตั ิการ โรงเรยี นไดจ้ ัดทำแผนพัฒนาบุคลากรให้มปี ระสิทธภิ าพท้ังระยะสั้นและระยะยาว จัดให้มีการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพในการทำงาน และมีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ปีละ 2 คร้ัง รวมทงั้ มีการสรา้ งขวญั และกำลงั ใจในการปฏบิ ตั งิ าน (5) ตวั วัดผลการดำเนินการ (Performance Measures) ระบบบรหิ ารจัดการท่ีเนน้ การมีส่วนร่วม มีจุดเน้น เพื่อสร้างความแข็งแกร่งของโรงเรียนมีการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ได้แก่ ผลการสอบวัดผล ทางการศึกษา ระดับชาติ (O-NET) ผลการติดตามนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา เป็นต้น และนำผลการ ปฏิบัติงานฝ่ายมาปรบั ปรงุ พัฒนาอย่างเปน็ ระบบ โรงเรยี นใชก้ ระบวนการวงจรคณุ ภาพ Deming Cycle (PDCA) ในการ ตดิ ตามตรวจสอบและ ประเมินผลการปฏบิ ัติงานตามแผนปฏิบัติการโดยใชเ้ ครอ่ื งมือการตรวจสอบท่ีมีความหลากหลาย และมีคุณภาพ ตามตัวช้ีวัดที่กำหนดจึงสามารถสรุปผลการดำเนินตามรายละเอียดที่ปรากฏในการรายงานผลประเมิน ตนเอง ประจำปีของโรงเรียน (SAR) และรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปี มีการนำผลการประเมนิ ของ สม ศ. ผลการนิเทศติดตาม หลกั สูตรและมาตรฐานคุณภาพ ผลการประเมนิ โครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏิบัติการ ประจำปี ของสถานศึกษาทกุ คร้ังไปใชใ้ นการปรับปรุง พฒั นางานอย่างต่อเน่อื ง จงึ มคี วามมั่นใจได้ว่า แผนปฏิบัติการและระบบการ วัดผลของการปฏิบตั กิ าร โดยรวมซ่งึ สง่ ผลต่อระบบการจดั การของโรงเรียนเพ่อื พัฒนานกั เรยี น อย่างเตม็ ศักยภาพ (6) การคาดการณ์ผลการดำเนนิ การ (Performance Projections) โรงเรยี นมกี ารวางแผนในระยะส้ันไว้ ตาม แผนปฏิบัติการประจำปี และวางแผนระยะยาวในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สมู่ าตรฐานสากล มสี มรรถนะ หลักเพื่อเปรียบเทียบเป้าหมายที่กำหนดไว้ในระยะส้ันและระยะยาวว่ามีความแตกต่างหรือไม่บรรลุเป้าหมายก็จะ ปรบั เปลี่ยนโครงการ/กิจกรรม การคาดการณ์ผลการดำเนินงานตามแผนกลยทุ ธแ์ ละแผนปฏิบตั กิ ารประจำปีของโรงเรียน มีเป้าหมายที่จะพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนอย่างเตม็ ศักยภาพซึ่งเป็นเป้าหมายของโรงเรียนมาตรฐานสากล คือ พัฒนา ผูเ้ รยี นใหเ้ ป็นพลโลก 5 ประการ ดังนี้ 1) เปน็ เลศิ ทางวชิ าการ 2) สื่อสารสองภาษา 3) ล้ำหน้าทางความคิด 4) ผลิตงาน อย่างสร้างสรรค์ 5) ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก และในทุกปีการศึกษาของโรงเรียน กำหนดเป้าหมายในการพัฒนา ผู้เรียนให้มีการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 ต่อปี โดยเปรียบเทียบจากผลการทดสอบในปี ที่ผ่านมาและทา้ ทาย ให้ยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติของโรงเรยี นให้มากขึ้นเป็นอันดับต้นๆ ของจังหวัด การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี สู่การลงมือดำเนินงาน

35 ตามกระบวนการ PDCA ภายใต้ งบประมาณท่จี ำกดั ให้มีประสิทธิภาพเกิดประสทิ ธผิ ล ยอ่ มมคี วามท้าทายในการบริหาร จัดการเปน็ อย่างยง่ิ ข. การปรบั เปลี่ยนแผนปฏิบตั ิการ (Action Plan Modification) โรงเรยี นมีการกำหนดการ ดำเนนิ การตาม แผนปฏิบตั ิการประจำปี ตามแต่ละกลมุ่ บรหิ ารงานกำหนดไว้ แต่ถ้ามเี หตุจำเป็น ฉุกเฉนิ หรอื สถานการณไ์ มเ่ อ้ืออำนวยต่อ การดำเนนิ การตามแผนปฏิบัตกิ ารท่วี างไว้ กลุ่มบริหารงานท่รี ับผดิ ชอบนั้นสามารถ ปรับเปลีย่ นได้ โดยจัดทำเป็นบันทึก ข้อความและโครงการเพ่อื ตอบสนอง ในการบริหารจัดการเพื่อดำเนินการตามแผนปฏิบัติการแล้วและหลังจากส้ินสุดโครงการหรือระหว่างการ ดำเนินการตามโครงการ จะนำผลการดำเนนิ โครงการเข้าที่ประชุมเพือ่ วิเคราะห์ระบบงานตาม แผนปฏิบัติการมี ความ ยดื หยนุ่ และสามารถปรับเปลีย่ นได้ให้สอดคล้องกบั สถานการณ์จรงิ หรือสภาวการณ์ ท่จี ำเป็นใหส้ ามารถ ดำเนินการไปสู่ เป้าหมายที่กำหนด หรือสามารถปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการภายใต้ข้อมูล ทุกด้านและการตัดสินใจของผู้บริหาร ผ่าน ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา โรงเรยี นมีความพรอ้ มในการแก้ปญั หา สามารถปรับเปลย่ี นแผนปฏิบัติการ เพ่ือให้สอดคล้องกับความ ต้องการ เรง่ ดว่ น โดยคำนงึ ถึงประโยชนแ์ ละความจำเป็นเป็นหลกั

36 หมวด 3 นักเรยี นและผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี (Student and Stakeholder) 3.1 เสียงของนักเรยี นและผูม้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสีย (VOICE OF THE STUDENT and Stakeholder) ก. การรบั ฟงั นักเรยี นและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี (STUDENT and Stakeholder Listening) โรงเรียนนาบอนมีการรับฟังเสียงของนักเรียนที่กำลังศึกษาในปัจจุบันและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ นักเรียน สภา นักเรียน ครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง เครือข่ายผู้ปกครอง และนักเรียนในอนาคต เพื่อให้เกิด ความสำเรจ็ ด้านหลกั สูตรและการจดั การศกึ ษา โดยโรงเรยี นไดใ้ ช้กระบวนการ รับฟังเสียงของนักเรียนและผู้มีส่วนได้สว่ น เสีย ดงั นี้ ผู้คณะทำงาน/ผ้รู ับผดิ ชอบ นักเรยี นปจั จบุ ัน ช่องทางการรบั ฟังเสยี ง นกั เรียนในอนาคต นกั เรยี นของโรงเรียน รวบรวมข้อมลู วเิ คราะหข์ ้อมลู สรุปผล/รายงานผล/นำขอ้ มูลไปใช้ ชอบ แผนภาพที่ 3.1 กระบวนการ การรับฟงั เสียงนกั เรยี น

37 (1) นกั เรียนปจั จุบนั และผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสีย (Current STUDENT and Stakeholders) โรงเรียนนาบอนได้ใชช้ ่องทางในการรบั ฟงั เสียงของนกั เรียนโดยวิธกี ารท่ีหลากหลาย เชน่ การสำรวจความคิดเห็น การสำรวจความพึงพอใจ การสอบถาม การสัมภาษณ์ การทำแบบประเมินต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูลสารสนเทศใน ดา้ นการสะทอ้ นความคิดของนกั เรียนปัจจุบนั และผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี 1. ประชุมวางแผนเพื่อจดั ตง้ั คณะทำงาน 2. จดั ทำชอ่ งทางท่ีหลากหลายเพือ่ รับฟังนกั เรยี นสะท้อนและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสีย 3. วิเคราะหป์ ระเด็น/ข้อมูล 4. จดั กระทำข้อมลู 5. สรปุ รายงานผล นำข้อมูลไปใช้ (2) นักเรียนในอนาคตและผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี (Potential STUDENT and Stakeholders) โรงเรียนนาบอนได้มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบโดยมีการวิเคราะห์และวางแผน คือ นักเรียนในอนาคตของ โรงเรียนนาบอน ได้แก่ นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทั้งในเขตพื้นที่บริการและนักเรียนนอกเขต พื้นที่บริการ รวมทั้งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นเดิมในโรงเรียนนาบอน โดยเสียงของนักเรียนกลุ่มเหล่านี้มี ความสำคัญอยา่ งย่ิงในการดำเนนิ การจัดการศึกษาของโรงเรียนให้สามารถตอบสนองความต้องการของนักเรียนและผู้มี สว่ นได้สว่ นเสยี เช่น ผปู้ กครอง วิธกี ารรบั ฟังเสียงของนักเรยี นในอนาคตและผู้ปกครอง มขี นั้ ตอน ดงั น้ี 1. ประชุมวางแผนโดยผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวขอ้ งเพ่ือดำเนนิ การหาผู้รับผดิ ชอบที่เหมาะสมและกำหนดช่องทาง ในการรับฟงั หรอื สะทอ้ นความคิด โดยโรงเรยี นแต่งตั้งคำส่งั ในการปฏิบัตหิ น้าท่ีในรูปแบบของคณะกรรมการประกอบ มี การประชมุ เพือ่ กำหนดแนวทางในการดำเนนิ งาน ปรกึ ษาหารอื เพือ่ กำหนดแนวทางในการดำเนินงานโดยการศึกษาข้อมูล ยอ้ นหลังของโรงเรียนที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมลู สถติ กิ ารรับนักเรียนทีผ่ า่ นมาจากฝา่ ยวิชาการ ใชข้ อ้ มูลจากฝา่ ยแนะแนว การ ประชุมเครือขา่ ยผูป้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษา เป็นต้น 2. วเิ คราะห์และจดั กระทำขอ้ มูลให้เปน็ ขอ้ มลู หรือสารสนเทศท่ีสามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการ หรอื นำไปใช้ประโยชน์ในการปรบั ปรุงพัฒนาการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนให้ตรงกับความต้องการของนกั เรียนได้ 3. สรปุ รายงานผล และสง่ ต่อข้อมูล ใหก้ ับผู้ที่มสี ่วนเก่ียวขอ้ งเพื่อนำไปใชใ้ นดา้ นตา่ ง ๆ ข. การประเมินความพงึ พอใจและความผูกพนั ของนกั เรียนและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสีย (Determination of STUDENT and Stakeholders Satisfaction and ENGAGEMENT) (1) ความพึงพอใจ ความไมพ่ งึ พอใจ และความผูกพนั (Satisfaction, Dissatisfaction and ENGAGEMENT) โรงเรียนนำผลจากการรับฟังเสียงของนักเรียนในปัจจุบันและอนาคต และนำข้อมูลที่ได้จากการจัดจำแนกจัด อันดับความสำคัญได้แก่ ข้อมูลที่มีความพึงพอใจและไม่พึงพอใจในเรื่องหลักสูตร ในเรื่องการเรียน การสอน การดูแลช่วยเหลือนนักเรียน และการบริการอื่น ๆ มาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมการเรียนรู้ การดูแลช่วยเหลือนกั เรียน สอื่ และอปุ กรณ์ เป็นต้น

38 (2) ความพึงพอใจเปรยี บเทียบกับคแู่ ขง่ (Satisfaction relative to competitions) ความพงึ พอใจของนกั เรยี นและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย โรงเรยี นนาบอนได้ดำเนนิ งานรวบรวมข้อมูลผ่านช่องทางต่าง ๆ ท่หี ลากหลาย เชน่ การประชุมผปู้ กครอง การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา การสอบถามการแสดงความคิดเห็น ซ่งึ จากข้อมูลพบว่าโรงเรยี นท่ีมีบรบิ ทคล้ายคลึงกัน นักเรยี นและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจและความเช่ือม่ันใน ศักยภาพของโรงเรียนนาบอน ทง้ั ในด้านหลักสตู ร ครแู ละบุคลากร คุณภาพในการจดั การเรียนการสอน การบริการและ การดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นในด้านตา่ ง ๆ รวมทงั้ เช่อื มน่ั ในความมุง่ มนั่ ตง้ั ใจของฝา่ ยบรหิ ารของโรงเรยี น 3.2 ความผูกพันของนักเรยี นและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสีย (Student and Stakeholder Engagement) ก. หลักสูตรและการสนับสนุนนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Product Offerings STUDENT and Stakeholder Support) (1) หลักสูตร (Product Offering) ในการจัดทำหลักสูตรหรือเปิดแผนการเรียน โรงเรียนจะสอบถามความคิดเห็นและรวบรวมความต้องการของ นักเรียน ผู้ปกครอง และสถาบันทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องมาพิจารณาเสมอ เพื่อให้การดำเนินงาน ของโรงเรียนเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล และเม่อื ดำเนินการไปได้ระยะหนง่ึ โรงเรียน จะจดั ให้ผู้มีส่วนได้ส่วน เสยี ได้ทำการวพิ ากษห์ ลกั สตู ร เพื่อนำผลการวพิ ากษไ์ ปปรบั ปรงุ และพัฒนาหลกั สูตรตอ่ ไป โรงเรยี นสนับสนุนส่งเสริมให้ครู บุคลากรในโรงเรียนได้สร้างนวัตกรรมช่วยในการแก้ไขปรบั ปรุงการเรียนรู้ของ นกั เรียน โดยมีการประกาศเกียรติคณุ หรอื มอบรางวัลเปน็ แรงจูงใจ สนับสนุนให้นักเรียนทุกระดับจัดกิจกรรมวันวิชาการ กิจกรรมสันทนาการและการแนะแนวให้กับนักเรียน กลุ่มเป้าหมายใหม่ในอนาคต เพื่อแสดงถึงศักยภาพของนักเรียนอันจะเป็นการสร้างความเชื่อมั่นและความผูกพันของ นักเรียนให้มาเรียนที่โรงเรียนนาบอน (2) การสนับสนนุ นกั เรียนและผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย (STUDENT and Stakeholder Support) โรงเรยี นสรา้ งระบบเรียนรู้เพ่ือใช้กำกบั นิเทศตดิ ตามการจัดการเรียนรูข้ องครู สร้างความม่นั ใจให้กับทกุ คนว่า ครู ทุกคนต้องปฏิบัติตามระบบและกระบวนการที่วางไว้ โดยมีมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน เป็นตัวชี้วัดคุณภาพ มีการประเมินผลการดำเนินงานที่ให้นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วมแสดง ความคิดเห็นหรือให้ข้อมูลย้อนกลับ มีการกำหนดให้มีการทบทวนระบบงานทุกปีเพื่อพัฒนาระบบเรียนรู้ให้เกิด ประสิทธิภาพมากย่งิ ข้ึน ในกระบวนการจดั การเรยี นรู้ โรงเรยี นได้จดั ให้มรี ะบบ Internet ความเรว็ สงู เพ่อื ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นไดศ้ ึกษา คน้ คว้าด้วยตนเอง กำหนดใหบ้ ุคลากรทุกคนน้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเปน็ หลกั คิด หลักปฏิบัติในการบริหารจดั การงานในภารกิจของตน และจดั การเรียนการสอนเพ่อื ให้นักเรียนมีอุปนิสัยพอเพียงโดยมีครู เปน็ แบบอยา่ ง มกี ารดำเนนิ ชวี ติ ตามหลักศาสนา มคี ณุ ธรรมจริยธรรม โดยบุคลากรทุกคนในโรงเรยี นตอ้ งเตรยี มตนเอง และนักเรียนใหพ้ รอ้ มในการพฒั นาทักษะในศตวรรษที่ 21 เพอ่ื พฒั นาผเู้ รียน ให้มคี ุณธรรมจริยธรรม ความเป็นไทยและ ศักยภาพความเปน็ พลโลก

39 (3) การจำแนกนักเรียน (STUDENT Segmentation) นกั เรยี นแต่ละคนมีความแตกต่างระหว่างบคุ คล มีพนื้ ฐานความสนใจ ความสามารถ และความพร้อมทั้งในด้าน การเรียนและเศรษฐกิจที่แตกต่างการ จึงทำให้เกิดความแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้าน ดังนั้นการรบั ทราบข้อมูลที่จำเป็น เกยี่ วกบั นกั เรียนจึงเปน็ สงิ่ สำคัญทีท่ ำให้เข้าใจนักเรียนมากยง่ิ ข้ึนสามารถนำข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อการคัดกรองนักเรียน เปน็ ประโยชน์ในการสง่ เสริม การป้องกนั และแก้ไขปญั หาของนักเรยี นได้อย่างถูกทางโรงเรยี นนาบอน ไดจ้ ำแนกนักเรียน ตามโครงสร้างของแผนการเรียน ดำเนินการจัดรายวิชาที่ตอบสนองต่อความต้องการ ความสนใจและความถนัดของ นักเรียน จัดกิจกรรมที่หลากหลายทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตร และใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในการกำกับ ติดตามและดูแลนักเรียนให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ผู้บริหารและหัวหน้างานมีการกำกับ นิเทศ ติดตาม และ ประเมินผลการดำเนนิ งานของกิจกรรมและระบบดูแลชว่ ยเหลืออย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศที่เป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนางาน หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้ดียิ่งขึ้น โดยผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พร้อมทั้งมีการ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ผลการดำเนินงานผ่านทางเวบ็ ไซตข์ องโรงเรียน และสอื่ สงั คมออนไลนต์ ่าง ๆ ข. การสรา้ งความสมั พนั ธ์ท่มี ตี อ่ นกั เรียนและผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสีย (Building STUDENT and Stakeholders Relationships) (1) การจัดการความสัมพันธ์ (Relationship Management) ในการจัดการความสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความผูกพันโรงเรียนใช้กลยุทธ์ที่หลากหลายรูปแบบภายใต้ ความร่วมมอื ร่วมแรงรว่ มใจของผู้ทีเ่ กีย่ วข้องทุกฝา่ ยดงั แผนภาพ ปฐมนเิ ทศ/ ปัจฉิมนเิ ทศ การเย่ยี มบา้ น กฬี าสี นกั เรยี น กจิ กรรมในหลักสตู ร/ กจิ กรรมสร้าง สภานกั เรียน นอกหลักสตู ร ความสมั พนั ธ์ นกั เรียน กิจกรรมจิตอาสา กจิ กรรมคา่ ย เรียน แผนภาพท่ี 3.2 แสดงการจัดการความสัมพนั ธ์

40 โรงเรยี นมวี ิธีการที่สร้างและจัดการกับความสัมพนั ธ์ที่มีต่อนกั เรยี นให้บรรลุผลสำเร็จ เช่น โรงเรียนจัดนักเรียน ปจั จบุ นั ออกไปแนะแนวนักเรยี นใหม่ ในเร่อื งหลกั สูตรและการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนนาบอน รวมท้ังตอบข้อ ซักถามที่สร้างความพึงพอใจให้กับนักเรียนในอนาคตและนักเรียนปัจจุบันมีความภาคภูมิใจที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย นักเรยี นใหม่เหน็ แบบอยา่ งที่ดีและใหค้ วามสนใจในการเข้าเรยี นต่อทโ่ี รงเรียนนาบอน โรงเรียนสนบั สนุนใหน้ กั เรยี นทำกจิ กรรมนอกห้องเรียนมากขึ้น จดั ใหม้ กี ารทัศนศึกษาแหลง่ เรียนรู้ แลกเปลี่ยน เรียนรู้เป็นการสรา้ งประสบการณ์นอกห้องเรยี น มกี จิ กรรมสรา้ งความผูกพนั ระหว่างนกั เรยี น กจิ กรรมเขา้ คา่ ยคณุ ธรรม และจริยธรรม กิจกรรมปฐมนิเทศ ปัจฉมิ นเิ ทศ ซง่ึ เปน็ แบบกัลยาณมิตร ทำให้เกิดความผูกพนั ในรนุ่ พี่ รุน่ นอ้ ง การจดั กจิ กรรมเพ่ิมความผกู พันกบั โรงเรียนโดยใหน้ กั เรยี นได้มีสว่ นร่วมคิดรว่ มบรหิ ารจัดการกจิ กรรมต่าง ๆ (2) การจัดการกบั ข้อร้องเรียน (Complaint Management) โรงเรียนมวี ธิ ีจดั การกบั ข้อรอ้ งเรยี นที่ไดร้ ับจากนกั เรยี น โรงเรยี นมีสภานกั เรียนในการรบั ฟังความคิดเห็นและข้อ ร้องเรียนของนักเรียน มคี รูประจำช้ัน ชี้แจงสรา้ งความเข้าใจกับนักเรียน เปน็ การลดขอ้ รอ้ งเรยี นต่าง ๆ แต่หากมีขอ้ เสนอ ที่นักเรียนต้องการรอ้ งเรยี นซงึ่ ตอ้ งมกี ารตัดสนิ ใจรว่ มกัน เมอื่ นักเรยี นนำเสนอเร่ืองราวรอ้ งเรยี นมายังฝา่ ยที่รับผดิ ชอบงาน ใด รองผู้อำนวยการฝ่ายนัน้ นำเสนอเรอ่ื งท่รี ้องเรยี นในที่ประชุมของคณะกรรมการบริหารฝ่ายทันทีเพื่อร่วมกันพิจารณา ผล โดยมีตัวแทนนักเรียนเข้าร่วมประชุมด้วย หากเป็นเรื่องเชิงนโยบายจะนำผลการประชุมเสนอต่อฝ่ายบริหารของ โรงเรยี น เพื่อพิจารณาตอ่ ไปโดยคำนงึ ถึงผลประโยชน์ของนักเรยี นเปน็ สำคญั ถ้าเปน็ ข้อร้องเรียนจากผู้ปกครองและส่วน อ่ืน ๆ คณะกรรมการกลุ่มบรหิ ารกิจการนกั เรียนและชุมชนสัมพนั ธ์จะรับขอ้ ร้องเรยี นมาพิจารณาความหนักเบาของข้อ ร้องเรยี นนัน้ ๆ แล้วแจง้ ขอ้ รอ้ งเรียนน้นั ๆ ใหผ้ ทู้ ่ีเก่ยี วขอ้ งทราบและหาแนวทางแก้ปญั หาขอ้ รอ้ งเรียนเหล่านนั้ หากเป็น ข้อรอ้ งเรียนท่ตี อ้ งแกไ้ ขโดยดว่ น จะเชิญคณะกรรมการกลมุ่ บรหิ ารกิจการนักเรียนและชุมชนสัมพันธ์ประชุมเพ่ือปรึกษา จดั การกับข้อรอ้ งเรียนนั้นโดยฉับพลนั และแจ้งให้ผู้ท่รี ้องเรยี นน้นั ทราบโดยทางการสอื่ สารตา่ ง ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook