จริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์ ( Ethics and Computer Laws ) รหัสวิชา 20204-2009 (2-0-2) หลักสูตรประกาศนยบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ี 2562 ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชวศึกษา ี จุดประสงค์รายวิชา เพือให้ ่ 1. เข้าใจเกยวกับจริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ ี ่ 2. เข้าใจในหลักกฎหมายทีเกยวข้องคอมพิวเตอร์และพระราชบัญญัติ ่ ี ่ คอมพิวเตอร์ 3. เข้าใจในหลักกฎหมายลิขสิทธ์ สิทธบัตร ิ ิ 4. มีเจตคติและกจนสัยทีดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ด้วยความ ิ ิ ่ ละเอียดรอบคอบ และถูกต้อง สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความร้เกยวกับจริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ ู ี ่ 2. แสดงความร้กฎหมายทีเกยวข้องคอมพิวเตอร์และพระราชบัญญัติ ู ่ ี ่ คอมพิวเตอร์ 3. แสดงความร้เกยวกับหลักกฎหมายลิขสิทธ์และกฎหมายสิทธบัตร ู ี ่ ิ ิ คําอธบายรายวิชา ิ ศึกษาเกยวกับจริยธรรมในอาชพคอมพิวเตอร์ หลักกฎหมาย ว่าด้วยการ ี ่ ี กระทําความผิดเกยวกับคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติ คอมพิวเตอร์ ี ่ กฎหมายลิขสิทธ์ และกฎหมายสิทธบัตร ิ ิ
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ตามจุดประสงค์รายวิชาและสมรรถนะรายวิชา วิชา จริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 20204-2009 (2-0-2) (Ethics and Computer Laws) จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจเกี่ยวกับจริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ 2. เข้าใจในหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องคอมพิวเตอร์ และ พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ 3. เข้าใจในหลักกฎหมายลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร 4. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ดวยความ ้ ละเอียดรอบคอบ และถูกต้อง สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับจริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ 2. แสดงความรู้กฎหมายที่เกี่ยวข้องคอมพิวเตอร์และพระราชบัญญัต ิ คอมพิวเตอร์ 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักกฎหมายลิขสิทธิ์และกฎหมายสิทธิบัตร
ชื่อหนวย ่ จดประสงค์รายวิชา ุ สมรรถนะ รายวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1. จริยธรรมในอาชพคอมพิวเตอร์ ี ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 2. พระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระทําความผิดเกยวกับ ี ่ คอมพิวเตอร์ ฉบับท พ ศ ( ี ่ 2 ) . . 2560 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 3. พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูล บุคคล พ ศ . . 2562 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 4. พระราชบัญญัติว่าด้วยธูรก รรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ ศ . . 2562 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 5. สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 6. พระราชบัญญัติการรักษา ความมันคงปลอดภัยไซเบอร์ พ ศ ่ . . 2562 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 7. กฎหมายลิขสิทธ์ ิ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 8. กฎหมายสิทธบัตร ิ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
ค าน า บริษัท ส านักพิมพ์เอมพันธ์ จ ากัด ได้จัดท าหนังสือเรียนวิชา จริยธรรมและ กฎหมายคอมพิวเตอร์ ( Ethics and Computer Laws) รหัสวิชา 20204-2009 ขึ้น ตรงตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และ ค าอธิบายรายวิชา หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ของส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้มี หน่วย ประกอบด้วย 8 1. จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ 2. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ ( 2) . . 2560 พ ศ 3. พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ ศ . . 2562 4. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ ศ . . 2562 5. สัญญาอิเล็กทรอนิกส์ 6. พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ ศ . . 2562 7. กฎหมายลิขสิทธิ์ 8. กฎหมายสิทธิบัตร แต่ละหน่วยมีใบงาน และแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่วิเคราะห์ให้สอดคล้อง กับแนวทางการวัดผลและประเมินผล ตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และ ค าอธิบายรายวิชาที่สอดคล้องกับหลักการของหลักสูตร เพื่อให้ผู้สอนได้ใช เป็นแนวทาง ้ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์การท างานให้ผู้เรียนได้มี ประสบการณ์ น าไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริง หวังว่า หนังสือเรียนวิชา จริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์ ( Ethics and Computer Laws) รหัสวิชา 20204-2009 เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน และ อาจารย์ผู้สอน ได้ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ตามอุดมการณ์และ หลักการในการจัดการอาชีวศึกษา ใช้เป็นเกณฑ์การรับรองวิทยฐานะและมาตรฐาน การศึกษา ตามแนวทางประกันคุณภาพการอาชีวศึกษาเน้นกระบวนการคิดอย่างมี คุณธรรมและจริยธรรม หากมีข้อเสนอแนะประการใด บริษัท ส านักพิมพ์เอมพันธ์ จ ากัด ยินดีน้อมรับไว้ด้วยความขอบคุณยิ่ง
สารบัญ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ ........................................ ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ งานอาชีพคอมพิวเตอร์ จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 1 หน่วยการเรียนที่ 2 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ ( 2) . . 2560 ... พ ศ .................. ที่มาของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ พ ศ ( 2) . . 2560 ความหมายค าศัพท์ที่ควรทราบ การกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ใบงานที่ 2 1 . ใบงานที่ 2 2 . แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พศ . . 2562... .............................. ที่มาของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ ศ . . 2562 ความหมายค าศัพท์ที่ควรทราบ การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล การใช้หรือการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล การลงโทษ ใบงานที่ 3.1 ใบงานที่ 3.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พศ . . 2562... ......................... ความส าคัญของพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ ศ . . 2562 ความหมายค าศัพท์ที่ควรทราบ การท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ บทก าหนดโทษ ใบงานที่ 4.1 ใบงานที่ 4.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สัญญาอิเล็กทรอนิกส์ ....... ...................... การเกิดสัญญาตามกฎหมายไทย ความรู้เกี่ยวกับสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ ข้อสังเกตเกี่ยวกับการแสดงเจตนาทางออนไลน์ การระงับข้อพิพาทกรณีสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ ใบงานที่ 5.1 ใบงานที่ 5.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยไซเบอร์ พ ศ . . 2562……………………………… ความหมายค าศัพท์ที่ควรทราบ คณะกรรมการด าเนินการ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ การก าหนดโทษ ใบงานที่ 6.1 ใบงานที่ 6.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 กฎหมายลิขสิทธิ์ …………………………… . ความส าคัญของกฎหมายลิขสิทธิ์ ความหมายค าศัพท์ที่ควรทราบ งานลิขสิทธิ์ งานที่ไม่มีลิขสิทธิ์ การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ อายุของการคุ้มครองลิขสิทธิ์ ใบงานที่ 7.1 ใบงานที่ 7.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 7 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 กฎหมายสิทธิบัตร …………………………… .. ความรู้เกี่ยวกับสิทธิบัตร สิทธิบัตรการประดิษฐ์ สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ อ นุสิทธิบัตร ผู้ทรงสิทธิบัตร บทก าหนดโทษ ใบงานที่ 8.1 ใบงานที่ 8.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ สาระส าคัญ คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ าวันของมนุษย์ ส่งผลให้ มนุษย์ท างานได้สะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ มากขึ้น โดยสามารถ เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมกับลักษณะของงาน การท างานหรือการ สื่อสารโดยใช้คอมพิวเตอร์ท าให้ ส่งข้อมูลได้รวดเร็วและเป็นวงกว้าง ผู้ใช้ จะต้องมีความระมัดระวังเพื่อไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อบุคคลอื่น สิ่งที่ ควรยึด เป็นหลักปฏิบัติคือการท างานอย่างมีจริยธรรม สาระการเรียนรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2. งานอาชีพคอมพิวเตอร์ 3. จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ สมรรถนะประจ าหน่วย แสดงความรู้เกี่ยวกับจริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ได้ 2. อธิบายความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพคอมพิวเตอร์ได้ 3. อธิบายความรู้เกี่ยวกับจริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ได้
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ มาจากภาษาลาตินวา Computer หมายถึง การนับ หรือการค านวณ เครื่องคอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ ที่ท างานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถค านวณ เปรียบเทียบค่า ท างานตาม ชุดค าสั่ง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ อย่างอัตโนมัติและต่อเนื่องด้วยอัตราความเร็ว สูง ( ) มาก พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ ศ . . 2525 ให้ค าจ ากัดความของ คอมพิวเตอร์ไว้ว่า หมายถึง เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ท าหน้าที่เสมือน | “ สมองกล ใช้ส าหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ ” คอมพิวเตอร์สามารถใช้ท างานแทนมนุษย์ใน เรื่องการคิด การค านวณ และยังสามารถ จ าข้อมูลทั้งตัวเลขและตัวอักษรส าหรับการเรียกใช้งานครั้งต่อไปได้ นอกจากนี้ คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถอีกหลายประการซึ่งช่วยมนุษย์ท างานได้ สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากขึ้น คอมพิวเตอร์เครื่องแรกเกิดขึ้นในปี ค ศ . . 1940 เป็นเครื่องขนาดใหญ่ ใช้คน ด าเนินการเป็นทีม ซึ่งแตกต่างจากในสมัยปัจจุบันที่มีการพัฒนาและออกแบบ คอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กกว่าเดิม น้ าหนักเบา เพื่อความสะดวกในการพกพา แต่ยัง สามารถใช้งานได้เหมือนเดิมหรืออาจสูงกว่าเดิม ประเภทของคอมพิวเตอร์ การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ โดยใช้การ ออกแบบ การใช้งาน เป็นเกณฑ์ในการแบ่ง มีดังนี้ 1. คอมพิวเตอร์เดสก์ท็อป ( Desktop Computer) ได้รับ การออกแบบส าหรับการ ท างานที่โต๊ะ สร้างจากชิ้นส่วนที่แยกต่างหาก หน่วยระบบหรือส่วนประกอบหลักเป็น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ตั้งอยู่บนโต๊ะได้ นอกจากนี้ยังมีส่วนประกอบอื่น เช่น จอภาพ เมาส์ และแป้นพิมพ์ เชื่อมต่อกับหน่วยระบบ คอมพิวเตอร์เดสก์ท็อปจะมีขนาดใหญ่ และมี ประสิทธิภาพมากกว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
2) คอมพิวเตอร์แล็ปท็อป ( Laptop Computer) มักเรียกว่า คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก มี ขนาดเล็ก สามารถท างานโดยใช้แบตเตอรี่เพื่อ ให้สะดวกในการพกพาไปทุกที่ คอมพิวเตอร์แล็ปท็ อป รวม CPU หน้าจอ และแป้นพิมพ์เข้าไว้ด้วยกัน เมื่อเลิกใช้งานสามารถพับหน้าจอลงบน แป้นพิมพ์ได้ 3) คอมพิวเตอร์มือถือ ( Handle Computer) หรือที่เรียกว่า ผู้ช่วยดิจิทัลส่วนตัว ( Personal Digital Assists: PDA) สามารถน าติดตัวไปได้สะดวก ท างานโดยใช้แบตเตอรี่ มี ประสิทธิภาพน้อยกว่า เดสก์ท็อปและแล็ปท็อป คอมพิวเตอร์มือถือมีประโยชน์ส าหรับการจัด ตารางนัดหมาย การเก็บที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์ในเรื่องของมัลติมีเดียและเอนเตอร์เทน การ ใช้งานไม่ต้องมีแป้นพิมพ์สามารถใช้การสัมผัสหรือใช้ปากกาสไตลัสได้คอมพิวเตอร์ มือถือแยกออก ได้อีกหลายประเภทตามลักษณะการใช้งานและระบบปฏิบัติการ ที่ติดตั้งอยู่ภายในเครื่อง เช่น PDA ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Palm OS ที่เรียกว่า Palm และ PDA ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Microsoft Window Mobile ที่เรียกว่า Pocket PC 4.) แท็บเล็ตพีซี ( Tablet PC) พีซีมือถือที่รวมคุณลักษณะ ของแล็ปท็อป คอมพิวเตอร์ มือถือไว้ด้วยกัน สามารถเขียนบันทึก หรือ วาดภาพบนหน้าจอโดยใช้นิ้วหรือปากกาสไตลัส ซึ่งจะ แปลงลายมือ ให้เป็นข้อความแบบพิมพ์ เปลี่ยนหน้าจอที่หมุนได้ และคลี่ออกให้เห็น การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ นอกจากใช้การออกแบบ การใช้งานเป็นเกณฑ์แบ่ง แล้ว ยังสามารถ ใช้เกณฑ์อื่น ๆ ในการแบ่งได้อีก เช่น จ าแนกตามขนาดและประสิทธิภาพ จ าแนก ตามลักษณะของข้อมูล ที่ใช้ในการประมวลผล ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันมนุษย์ใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์ในการท างาน ด้านต่าง ๆ ได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนี้ 1.) งานธุรกิจ บริษัท ห้างร้าน ห้างสรรพสินค้า น าคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการท าบัญชี ระบบ ค่าจ้าง การบันทึกเวลาเข้า ออกของพนักงาน การติดต่องานทั้งภายในและภายนอกองค์กร ส่วน - งานด้านอุตสาหกรรม น าคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานควบคุมการผลิต งานประกอบชิ้นส่วน ท าให ้ งานออกมามีคุณภาพ และรวดเร็ว ได้อย่า มากขึ้น งานธนาคาร ใช้คอมพิวเตอร์ในการให้บริการ ฝาก ถอน ค านวณดอกเบี้ยเงินกู้ เงินฝากให้กับลูกค้า - ( Store ที่มาใช้บริการ และนอกจากนี้ยังใช ้ กับระบบการโอนเงินระหว่างธนาคารที่เชื่อมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย ( ACCL ส าหรับในปัจจุบันมีระบบธุรกิจออนไลน์เกิดขึ้น ท าให้เกิดการขายแบบไม่ต้องมีหน้าร้าน ได้รับ ความสะดวกทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย ส่งผลให้คอมพิวเตอร์ยิ่งมีบทบาทส าคัญกับงานธุรกิจมากขึ้น ไปอีก 2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และสาธารณสุข น าคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานค านวณ งานศึกษาสารเคมี งานด้านห้องทดลอง งานด้านการวินิจฉัยโรค นอกจากนี้ยัง สามารถ น าไปใช้กับงานทะเบียน การเงิน สถิติ และใช้เป็นอุปกรณ์ส าหรับการตรวจโรคซึ่งมีผลที่ แม่นย า และรวดเร็วกว่าการตรวจแบบเดิม
3 . งานด้านการศึกษา น าคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน ซึ่งการใช ้ คอมพิวเตอร์ ผลิตและจัดท าสื่อ ท าให้นักเรียนมีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น การเรียนการสอนมี ประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ ยังน ามาใช้ในงานทะเบียน งานกิจการนักเรียน งานห้องสมุด และอื่น ๆ 4.) งานราชการ น าคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานได้หลากหลายขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของ หน่วยงาน นั้น ๆ เช่น กรมสรรพากรใช้ในการบันทึกและการจัดเก็บภาษี กระทรวงศึกษาธิการ ใช้ในการประชุม และการเรียนทางไกล กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี่ใช้ในการจัดระบบ เครือข่าย 5.) งานคมนาคมและการสื่อสาร นักท่องเที่ยวสามารถจองที่พัก จองที่นั่งสายการบิน โดยระบบ คอมพิวเตอร์ ท าให้ได้รับความสะดวกมากขึ้น นอกจากนี้ยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจร เช่น สัญญาณ ไฟจราจร การเดินทางทางอากาศ การควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยู่ใน วงโคจร และการส่งสัญญาณ ให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น 6. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ การ จ าลอง สภาวการณ์ต่าง ๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อแผ่นดินไหว ซึ่ง คอมพิวเตอร์สามารถค านวณ แสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความเป็นจริง รวมถึงการควบคุม และติดตามความก้าวหน้าของโครงการ การท างานของคนงาน การประเมินการท างาน คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ มนุษย์น าเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้เพราะคอมพิวเตอร์ สามารถท างาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังมีคุณสมบัติบางประการที่เหนือกว่า ความสามารถของมนุษย์ ได้แก่ ความจ า ( Storage) ความเร็ว ( Speed) การปฏิบัติงานอัตโนมัติ ( Self-Acting) และความถูกต้องแม่นย าและเชื่อถือได้ ( Accuracy and Reliability) โดยมี รายละเอียดดังนี้ (1.) ความจ า ( Storage) คอมพิวเตอร์มีสื่อบันทึกข้อมูล ( Storage Media) ทั้งหน่วยความจ า ภายในและหน่วยความจ า ภายนอก ท าให้เก็บข้อมูลได้จ านวนมากกว่าความสามารถในการจ า ของมนุษย์ (2.) ความเร็ว ( Speed) คือ ความสามารถในการประมวลผล ข้อมูลที่ใช้เวลาน้อยกว่า ความสามารถของมนุษย์ จึงเป็นตัวบ่งชี้ว่า คอมพิวเตอร์มีความสามารถในการประมวลผลข้อมูล ที่มีประสิทธิภาพ สูงกว่า (3.) การปฏิบัติงานอัตโนมัติ ( Self-Acting) คอมพิวเตอร์ สามารถประมวลผลข้อมูลตามค าสั่งได้ อย่างอัตโนมัติ ต่อเนื่อง และถูกต้อง ตามค าสั่งและขั้นตอนที่โปรแกรมเมอร์ได้กาหนดไว้ (4.) ความถูกต้องแม่นย าและเชื่อถือได้ ( Accuracy and Reliability) ซึ่งเป็นสิ่งส าคัญในการ ท างานของคอมพิวเตอร์ โดยจะ ท างานตามโปรแกรมค าสั่งและข้อมูล ที่โปรแกรมเมอร์ก าหนด ไว้ โดยสามารถประมวลผลลัพธ์ได้อย่างถูกต้อง
จากคุณสมบัติเด่นของคอมพิวเตอร์ทั้ง ประการ ท าให้คอมพิวเตอร์ถูก 4 น ามาใช้ในชีวิตประจ าวัน เป็นอย่างมาก ตั้งแต่งานง่าย อย่างงานพิมพ์เอกสาร ไปจนถึง งานยากที่ช่วยให้มนุษย์สามารถท างานได้ สะดวกขึ้น คอมพิวเตอร์ถูกน ามาใช้งานตาม ความสามารถดังนี้ 1. บันทึกข้อมูลได้รวดเร็ว เช่น การอ่านรหัสแท่ง ( Barcode) ใน ห้างสรรพสินค้า ท าให้สามารถ คิดราคาสินค้าได้รวดเร็ว อ่านรหัสในบัตรพนักงาน บันทึกเวลาเข้า ออก ท าให้ง่ายต่องานด้านบุคคล - 2. เก็บข้อมูลได้จ านวนมากไว้ในฐานข้อมูล ( Database) สะดวกต่องาน ทะเบียน สถิติ และอื่น ๆ 3. ท าการค านวณ แยกประเภท จัดกลุ่ม รายงานลักษณะต่าง ๆ ได้โดยใช้ ระบบประมวลผลข้อมูล ( Data Processing) 4. ส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างรวดเร็ว จัดท าเอกสารได้ 5. อย่างรวดเร็ว 6. ใช้ในด้านการศึกษาและวิจัย งานด้านธุรกิจ การเงิน การธนาคาร งาน บัญชี งานส านักงาน การจองที่พัก ตั๋วเครื่องบิน 7. ควบคุมระบบอัตโนมัติ เช่น ระบบจราจร 8. ใช้ในงานวิเคราะห์ต่าง ๆ เช่น วิเคราะห์สภาพน้ า สภาพดินฟ้าอากาศ 9. งานจ าลองรูปแบบ เช่น การจัดวางสินค้า ออกแบบบรรจุภัณฑ์ โมเดล 10. ใช้ร่วมกับเทคโนโลยีอื่น ๆ
งานอาชีพคอมพิวเตอร์ งานอาชีพคอมพิวเตอร์ เป็นงานบริการ ด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ ระบบ คอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ งานอาชีพ คอมพิวเตอร์ มีดังนี้ 1.) งานบริการสารสนเทศ เป็นงานบริการ ด้านข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใด เรื่องหนึ่ง โดยข้อมูลนั้น ได้ผ่านกระบวนการในการรวบรวม ประมวลผลเพื่อ น าไปใช้ประโยชน์ส าหรับการตัดสินใจ การวางแผน ด าเนินการ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับ ความต้องการของ ผู้บริโภคน ามาใช้ส าหรับการวางแผนกลยุทธ์ ทางการตลาด 2. ) งานด้านฮาร์ดแวร์เป็นงานที่เกี่ยวข้อง กับฮาร์ดแวร์ เช่น ชางซ่อม ่ คอมพิวเตอร์ ผู้ประกอบ ธุรกิจค้าขายคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ผู้ติดตั้งระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3.) งานบริการด้านซอฟต์แวร์ เป็นงานที่ เกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ต่าง ๆ เช่น โปรแกรมเมอร์ งานติดตั้งโปรแกรม งานสร้างและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้บ ารุงรักษา และแก้ไขปัญหาซอฟต์แวร์ รวมถึง ผู้ที่น าซอฟต์แวร์ไปใช้ในการประกอบอาชีพต่าง ๆ เช่น ออกแบบผลิตภัณฑ์ ตัดต่อวิดีโอและภาพยนตร์ การโฆษณา 4) งานบริการเกี่ยวกับการพัฒนา บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ เป็นงาน พัฒนาบุคลากร ตั้งแต่ระดับผู้บริหาร ไปจนถึงผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ใหมีความรู้และ ้ สามารถน าคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน ในหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม
จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ จริยธรรม ( Ethics) หมายถึง ความประพฤติหรือพฤติกรรมที่ควรปฏิบัติ ปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ได้น า มาใช้อย่างแพร่หลาย ทั้งด้านการท างานและด้านความบันเทิงมีหลายคนใช ้ คอมพิวเตอร์ในทางเสื่อมเสีย เพราะ ขาดคุณธรรม จริยธรรม ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อผู้ที่ เกี่ยวข้องและยังเสียหายต่อตนเองที่ต้องรับโทษ อย่างไรก็ตาม การควบคุมให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์มี จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเรื่องที่ยาก เนื่องจากการน าคอมพิวเตอร์มาใช้ในการสื่อสาร มีความรวดเร็ว มนุษย์จึงหันมาใช้มากขึ้น ส่งผล ให้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลลดลง จริยธรรม ลดลงตามไปด้วย และนอกจากนี้การเรียกข้อมูล ข่าวสารมาใช้กระท าได้ง่าย จึงสามารถคัดลอก และ น ามาใช้งานได้ง่าย จึงเกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ขึ้น จากเหตุผลข้างต้น สมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์ ได้ก าหนดจรรยาบรรณ “ ” วิชาชีพด้าน คอมพิวเตอร์ไว้ เรื่อง ได้แก่ กฏข้อบังคับทางศีลธรรมทั่วไป ความรับผิดชอบใน 3 วิชาชีพ และจริยธรรม ในการใช้ E-mail และ Webboard กฏข้อบังคับทางศีลธรรมทั่วไป มีดังนี้ 1. ท าประโยชน์ให้สังคมและความผาสุกของมนุษย์ กล่าวคือควรใช้คอมพิวเตอร์โดย ค านึงถึง ประโยชน์แก่สังคมและความผาสุกของมนุษย์ เคารพความหลากหลายของวัฒนธรรม คุ้มครองหลักสิทธิ มนุษยชนขั้นพื้นฐาน ไม่น าคอมพิวเตอร์มาก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพความ ปลอดภัยต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 2. ไม่ท าอันตรายแก่ผู้อื่น ไม่กระท าการอันก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้อื่นท าให้ผู้อื่นได้รับ ความเสียหาย เช่น การท าลายหรือแก้ไขข้อมูลท าให้ไม่สามารถน าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้ 3 . ซื่อสัตย์และไว้วางใจได้ไม่จงใจแอบอ้างระบบ หรือออกแบบหลอกลวงอันเป็นเท็จ และจะต้อง เปิดเผยข้อเท็จจริงหรือข้อมูล ข้อจ ากัด ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ อย่างเต็มที่ 4) ยุติธรรมและเป็นการกระท าที่ไม่แบ่งแยกกีดกัน มีความเสมอภาค ยุติธรรม เคารพ และให้อภัย ผู้อื่น โดยไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ สัญชาติ เพศ ศาสนา อายุ ความพิการ เป็นต้น
5.) ให้เกียรติสิทธิ์ในทรัพย์สิน ไม่ละเมิดต่อลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร การ ละเมิดต่อลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ที่ได้รับความคุ้มครองทางกฎหมาย รวมถึง ซอฟต์แวร์ที่ได้รับความคุ้มครอง ถือเป็นการขัดต่อการประพฤติทาง วิชาชีพ การลอกหรือการท าส าเนาซอฟต์แวร์จะต้องท าโดยอ านาจหน้าที่เท่านั้น 6. ให้เกียรติแก่ทรัพย์สินทางปัญญา นักวิชาชีพคอมพิวเตอร์จะต้อง ป้องกันหลักคุณธรรมของ ทรัพย์สินทางปัญญา ถึงแม้ว่างานเหล่านั้นจะไม่ได้รับ การป้องกันอย่างเปิดเผยแบบลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร ก็ตาม 7 เคารพความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น การเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่น ไว้ในระบบเท่าที่จ าเป็น ตามระยะเวลาที่ก าหนด เมื่อรวบรวมเพื่อจุดประสงค์ หนึ่งแล้ว ห้ามน าไปใช้อีกจุดประสงค์หนึ่งโดยไม่ได้รับ ความยินยอมจากเจ้าของ ข้อมูล 8. ให้เกียรติในการรักษาความลับ ไม่น าข้อมูลส่วนตัวของผู้อื่น เช่น นายจ้าง ลูกจ้าง ลูกค้า ฯลฯ ไปเปิดเผย ยกเว้นกรณีที่กฎหมายบังคับ ความรับผิดชอบในวิชาชีพ มีดังนี้ 1. มุ่งมั่นเพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพ 2 ได้มาและรักษาไว้ซึ่งความเชี่ยวชาญแห่งวิชาชีพ 3 เคารพกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทั้งกฎหมายท้องถิ่น กฎหมายแห่งรัฐ และ กฎหมายระหว่างประเทศ 4 ยอมรับและให้มีการสอบทานทางวิชาชีพ ( Professional Review) 5 ให้ความเห็นประเมินระบบคอมพิวเตอร์ ผลกระทบที่เกิดขึ้นอย่างครบถ้วน รวมถึงการวิเคราะห์ความเสี่ยงที่เป็นไปได้ด้วย 6 รักษาสัญญา ข้อตกลง และรับผิดชอบสิ่งที่ได้รับมอบหมาย 7 ปรับปรุงความเข้าใจของสาธารณชนต่อคอมพิวเตอร์และผลสืบเนื่อง 8 เข้าถึงทรัพยากรคอมพิวเตอร์และสื่อสารเฉพาะตามอ านาจที่ได้รับมอบหมาย เท่านั้น และจะต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ หรือแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น โดย ไม่ได้รับอนุญาต
จริยธรรมในการใช้ E-mail และ Webboard มีดังนี้ 1. ไม่ใช้ในการเสนอขายสินค้า หรือการโฆษณา 2. มีสติในการกล่าวถึงเรื่องราวและทราบอยู่เสมอว่าเมลก าลังกล่าวถึงเรื่องใด 3. หลีกเลี่ยงการโต้แย้ง คิดก่อนเขียน และไม่ใช้อารมณ์ในการสื่อสาร 4. ไม่ส่งข่าวสารที่เป็นการกล่าวร้าย หลอกลวง หยาบคาย 5. ไม่ส่งต่อจดหมายลูกโซ่ หรือเมลขยะ ก . 6. ระมัดระวังในการใช้ค า เช่น ค าเสียดสี ค าหยาบคาย เป็นต้น 7. ก่อนส่งเมลควรตรวจทานรายละเอียด ตัวสะกด ตัวการันต์เสียก่อน 8. ตรวจรายชื่อผู้รับก่อนส่ง บัญญัติ ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 10 ลินดา เฮิร์นดอน ( Linda Herndon) กล่าวถึงบัญญัติ ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ดังน 10 ี้ 1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ท าร้ายผู้อื่น 2. ไม่รบกวนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น 3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น 4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการลักขโมย 5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ 6. ไม่ใช้หรือท าส าเนาซอฟต์แวร์ที่ไม่ได้ซื้อ 7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต หรือไม่ใช่อ านาจหน้าที่ของตน 8. ไม่ละเมิดสิทธิทางปัญญา 9. ค านึงถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน 10. ใช้คอมพิวเตอร์อย่างผู้มีจรรยาบรรณวิชาชีพของสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1.1 ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม ในชีวิตประจ าวันผู้เรียนได้ใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์อย่างไรบ้าง บันทึกลงในที่ว่าง ด้านล่าง …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………… .. …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… สิ่งที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………… .. …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………
ใบงานที่ 1.2 ขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม ผู้เรียนบอกประสบการณ์ที่ได้พบเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมการขาดจริยธรรมของผ็ใช ้ คอมพิวเตอร์บันทึกลงในที่ว่างด้านล่าง ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………… .. ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… สิ่งที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………… .. ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………
แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยที่ 1 ตอนที่ จงเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1 1. ข้อใดหมายถึงชุดค าสั่ง ก ข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูล . ข โปรแกรมคอมพิวเตอร์ . ค หน่วยความจ า . ง ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ . 2. คอมพิวเตอร์ท างานแทนมนุษย์ในเรื่องใดได้ดีที่สุด ก การค านวณ . ข การแต่งร้อยกรอง . ค การประพันธ์เพลง . ง การวางภาพเหมือนจริง . 3. ข้อใดหมายถึงคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ก คอมพิวเตอร์เดสก์ท็อป . ข คอมพิวเตอร์แล็ปท็อป . ค คอมพิวเตอร์มือถือ . ง แท็บเล็ตพีซี . 4. พนักงานบริการในร้านอาหารควรใช้คอมพิวเตอร์ประเภทใดในการ รับรายการอาหาร ก คอมพิวเตอร์เดสก์ท็อป . ข คอมพิวเตอร์แล็ปท็อป . ค คอมพิวเตอร์มือถือ . ง แท็บเล็ตพีซี . 5. งานด้านการศึกษาน าคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ ตามข้อใด ก ออกแบบชุดนักเรียน . ข ผลิตสื่อการสอนให้มีประสิทธิภาพ . ค บันทึกประวัตินักเรียน . ง ค านวณคะแนนเฉลี่ย .
6. นักท่องเที่ยวได้รับประโยชน์จากการใช้คอมพิวเตอร์ตามข้อใด ก จองที่พัก . ข ดูหนัง . ค ฟังเพลง . ง เก็บภาพถ่าย . 7. ธุรกิจข้อใดใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์น้อยที่สุด ก โรงแรม . ข บริษัททัวร์ . ค โรงเรียนเอกชน . ง ร้านไอศกรีม . 8. คอมพิวเตอร์สามารถเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลได้จ านวนมาก จึงมีประโยชน์กับ งานใดมากที่สุด ก งานผลิตสื่อการสอน . ข งานออกแบบอาคาร . ค งานทะเบียนประวัติ . ง งานขายเสื้อผ้า . 9. ช่างซ่อมคอมพิวเตอร์ สัมพันธ์กับข้อใด ก งานบริการสารสนเทศ ข งานด้านฮาร์ดแวร์ . . ค งานด้านซอฟต์แวร์ . ง งานพัฒนาบุคลากร . 10 ผู้ที่ขาดคุณธรรม จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดโทษต่อตนเองตาม ข้อใด ก ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลของตนเองได้ . ข ระบบคอมพิวเตอร์เสียหาย . ค ต้องได้รับโทษตามกฎหมาย . ง ข้อมูลของตนเองเสียหาย . 11 ข้อใดคือผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่ขาดศีลธรรม ก ฉันทนาน าข้อมูลขององค์กรมาเปิดเผย . ข ศรีจันทร์โพสต์ข้อความโดยไม่แบ่งแยกศาสนา . ค ศรีตลาเก็บข้อมูลของบุคคลอื่นไว้โดยไม่เปิดเผย . ง นงลักษณ์คิดจะละเมิดลิขสิทธิ์งานของผู้อื่นแต่ไม่กล้าลงมือท า .
12 การท างานขององค์กรข้อใดจัดว่าไม่ปฏิบัติตามกฎข้อบังคับทางศีลธรรมทั่วไป ก บริษัท น าข้อมูลความต้องการของผู้บริโภคมาใช้ในการออกแบบสินค้า . A ข บริษัท พาลูกค้าไปเที่ยวตามที่ลูกค้าต้องการ . B ค บริษัท น าข้อมูลของลูกค้าไปเปิดเผยต่อกิจการอื่น . C ง บริษัท ไม่เก็บข้อมูลของลูกค้า . D 13 ข้อใดเป็นความรับผิดชอบในวิชาชีพ ก เข้าถึงคอมพิวเตอร์ของเพื่อนที่สนิทกัน ข ไม่ยอมรับการสอบทานทางวิชาชีพ . . ค รักษาสัญญา ข้อตกลง ตามที่ได้รับมอบหมาย . ง มุ่งมันท างานที่ได้รับ . มอบหมาย 14 การกระท าข้อใดขาดจริยธรรมในการใช้ E-mail ก การส่งต่อจดหมายลูกโซ่ ข การส่งจดหมายเพื่อสื่อสารภายในองค์กร . . ค การส่งจดหมายเพื่อสื่อสารภายนอกองค์กรง การส่งจดหมายโดยระบุผู้รับ . . 1 5 ข้อใดสามารถกระท าได้โดยไม่ขัดต่อบัญญัติ ประการของลินดา เอิร์นดอน 10 ก รบกวนการท างานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ข แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น . . ค เขียนโปรแกรมโดยค านึงถึงผลต่อเนื่องทางสังคม ง ใช้คอมพิวเตอร์ท าร้าย . . ผู้อื่น ตอนที่ จงตอบค าถามต่อไปนี้ 2 1. จงบอกความหมายของคอมพิวเตอร์ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ ศ . 2525 . ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… .. ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………
2. จงอธิบายลักษณะของคอมพิวเตอร์เดสก์ท็อป …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………… .. …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… 3. คอมพิวเตอร์แล็ปท็อป มักเรียกกันว่าอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………… .. …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… 4. งานด้านการศึกษาน าคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………… .. …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… 5. จงอธิบายคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… …………………………………… .. …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………
6. จงอธิบายความหมายของจริยธรรม …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………… .. …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… 7. กฎข้อบังคับทางศีลธรรมเกี่ยวกับ เคารพความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น “ ” หมายความว่าอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………… .. …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… 8. กฎข้อบังคับทางศีลธรรมเกี่ยวกับ ให้เกียรติในการรักษาความลับ หมายความ “ ” ว่าอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………… .. …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… 9. จงบอกจริยธรรมในการใช้ E-mail และ Webboard …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………… .. …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
10 จงบอกบัญญัติ ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ของลินดา เฮิร์นดอน 10 …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………… .. …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
เฉลยหนวยการเรยนรู้ที่ ่ ี 1 ตอนที่ จงเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1 1. ข้อใดหมายถึงชุดค าสั่ง ข โปรแกรมคอมพิวเตอร์ . 2. คอมพิวเตอร์ท างานแทนมนุษย์ในเรื่องใดได้ดีที่สุด 1. การค านวณ 3. ข้อใดหมายถึงคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ก คอมพิวเตอเดสทอป . 4. พนักงานบริการในร้านอาหารควรใช้คอมพิวเตอร์ประเภทใดในการรับ Order ค คอมพิวเตอร์มือถือ . 5. งานด้านการศึกษานคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ตามข้อใด ข ผลิตสื่อการสอนให้มีประสิทธิภาพ . 6. นักท่องเที่ยวได้รับประโยชน์จากการใช้คอมพิวเตอร์ตามข้อใด ก จองที่พัก .
7. ธุรกิจข้อใดใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์น้อยที่สุด ง ร้านไอศกรีม . 8. คอมพิวเตอร์สามารถเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลได้จ านวนมาก จึงมี ประโยชน์กับงานใดมากที่สุด ค งานทะเบียนประวัติ . 9. ช่างซ่อมคอมพิวเตอร์ สัมพันธ์กับข้อใด ข งานด้านฮาร์ดแวร์ . 10. ผู้ที่ขาดคุณธรรม จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดโทษต่อตนเอง ตามข้อใด ค ต้องได้รับโทษตามกฎหมาย . 11. ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ข้อโดขาดศีลธรรม ก ฉันทนาน าข้อมูลขององค์กรมาเปิดเผย . 12. การท างานขององค์กรข้อใดจัดว่าไม่ปฏิบัติตามกฎข้อบังคับทางศีลธรรม ทั่วไป ค บริษัท น าข้อมูลของลูกค้าไปเปิดเผยต่อกิจการอื่น . C 13. ข้อใดเป็นความรับผิดชอบในวิชาชีพ ค รักษาสัญญา ข้อตกลง ตามที่ได้รับมอบหมาย . 14. การกระท าข้อใดเป็นขาดจริยธรรมในการใช้ E-mail ก การส่งต่อจดหมายลูกโซ่ . 15. ข้อใดสามารถการะท าได้โดยไม่ขัดต่อบัญญัติ ประการของลินดา 10 เฮอร์นตอน ค เขียนโปรแกรมโดยค านึงถึงผลต่อเนื่องทางสังคม .
ตอนที่ จงตอบค าถามต่อไปนี้ 2 1. จงบอกความหมายของคอมพิวเตอร์ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ ศ . . 2525 เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัติโนมัติ ท าหน้าที่แสมือนสมองกล ใช ้ ส าหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดย วิธีทางคณิตศาสตร์ 2. จงอธิบายลักษณะของคอมพิวเตอร์เดสทอป คอมพิวเตอร์เดสทอปได้รับการออกแบบส าหรับการท างานที่โต๊ะ สร้าง ขึ้นจากชิ้นส่วนที่แยกต่างหาก หน่วยระบบ หรือส่วนประกอบหลักเป็นรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ตั้งอยู่บนโต๊ะได้ นอกจากนี้ยังมีส่วนประกอบอื่น เช่น จอภาพ เมาส์ และ แป้นพิมพ์ เชื่อมต่อกับหน่วยระบบ คอมพิวเตอร์เดสทอปมีขนาดใหญ่ และมีประสิทธิภาพมากกว่าคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคล 3. คอมพิวเตอร์แล็ปทอป มักเรียกกันว่าอย่างไร คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค 4. งานด้านการศึกษาน าคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างไร น ามาใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน ซึ่งการใช้คอมพิวเตอร์ผลิตสื่อ และจัดท า ท าให้นักเรียนมีความเข้าใจมาก ยิ่งขึ้น การเรียนการสอนมี ประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ยังน ามาใช้ในงานทะเบียนงานกิจการนักเรียน งานห้องสมุด และอื่นๆ 5. จงอธิบายคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ . ความจ า ( Storage) คอมพิวเตอร์มีสื่อบันทึกข้อมูล ( Storage Media) ทั้งหน่วยความจ าภายใน และหน่วย ความจ าภายนอก จึงท าให้เก็บข้อมูลได้ จ านวนมากกว่าความสามารถในการจ าของมนุษย์ 2. ความเร็ว ( Speed) คือความสามารถในการประมวลผลข้อมูลที่ใช ้ เวลาน้อยกว่าความสามารถของมนุษย์ จึง เป็นตัวบ่งชี้ว่าคอมพิวเตอร์มี ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า 3. การปฏิบัติงานอัตโนมัติ ( Self-Acting) คอมพิวเตอร์สามารรถ ประมวลผลข้อมูลตามค าสั่งได้อย่างอัติโนมัติ ต่อเนื่อง และถูกต้อง ตามค าสั่งและ ขั้นตอนที่โปรแกรมเมอร์ ได้ก าหนดไว้ 4. ความน่าเชื่อถือ ( Sure) ซึ่งเป็นสิ่งส าคัญในการท างานของ คอมพิวเตอร์ โดยจะท างานตามโปรแกรมค าสั่ง และข้อมูล ที่โปรแกรมเมอร์ ก าหนดไว้ โดยสามารถประมวลผลที่เกิดผลลัพธ์ได้อย่างถูกต้อง
6. จึงอธิบายความหมายของจริยธรรม ความประพฤติหรือพฤติกรรมที่ควรปฏิบัติ 7. กฎข้อบังคับทางศีลธรรมเกี่ยวกับ เคารพความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น หมายความ “ ” ว่าอย่างไร การเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่นไว้ในระบบเท่าที่จ าเป็น ตามระยะเวลาที่ ก าหนด เมื่อรวบรวมเพื่อจุดประสงค์ หนึ่งแล้ว ห้ามน าไปใช้อีกจุดประสงค์หนึ่งโดย ไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล 8. กฎข้อบังคับทางศีลธรรมเกี่ยวกับ ให้เกียรติในการรักษาความลับ หมายความ “ ” ว่าอย่างไร ไม่น าข้อมูลส่วนตัวของผู้อื่น เช่น นายจ้าง ลูกจ้าง ลูกค้า เป็นต้น ไป เปิดเผย ยกเว้นกรณีที่กฎหมายบังคับ 9. จงบอกจริยธรรมในการใช้ Email และ VWebbord 1. ไม่ใช้ในการเสนอขายสินค้า หรือการโฆษณา มีสติในการกล่าวถึง 2. เรื่องราวและทราบอยู่เสมอว่าก าลังกล่าวถึงเรื่องใด หลีกเลี่ยงการโต้แย้ง คิดก่อน 3. เขียน และไม่ใช้อารมณ์ในการสื่อสาร ไม่ส่งข่าวสารที่เป็นการกล่าวร้าย หลอกลวง 4. หยาบคาย ไม่ส่งต่อจดหมายลูกโซ่ หรือเมล์ขยะ ระมัดระวังในการใช้ค า เช่น 5. 6. ค าเสียดสี อารมณ์ขัน เป็นต้น ก่อนส่งเมลควรตรวจทานรายละเอียด ตัวสะกด ตัว 7. การันต์เสียก่อน ตรวจรายชื่อผู้รับก่อนส่ง 8. 10. จงบอกบัญญัติ ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ของ ลินดา เฮอร์นดอน 10 ( Linda Herndon) 1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ท าร้ายผู้อื่น ไม่รบกวนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น 2. 3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการลักขโมย ไม่ใช้ 4. 5. คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ ไม่ใช้ หรือท าส าเนาซอฟแวร์ที่ไม่ได้ซื้อ ไม่ใช 6. 7. ้ คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่รับอนุญาต หรือไม่ใช่อ านาจหน้าที่ของตน ไม่ละเมิด 8. สิทธิทางปัญญา ค านึงถึงผลต่อเนื่องทางสังคม ของโปนแกรมที่เขียน 9. 10. ใช้ คอมพิวเตอร์อย่างผู้มีจรรยาบรรณวิชาชีพของสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ พ ศ ( 2) . . 2560 สาระสําคัญ การนําคอมพิวเตอร์มาใช้ในชีวิตประจําวัน ทั้งด้านการทํางาน การประกอบอาชีพ และเพื่อความบันเทิง จะต้อง อยู่ภายใต้กฎหมายเพื่อเป็นการรักษาสิทธิของตนและเพื่อ เป็นการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ผู้ใช้คอมพิวเตอร จําเป็นต้องศึกษา รายละเอียดของ กฎหมายที่ใช้บังคับ สําหรับเป็นแนวทางและปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง สาระการเรียนรู้ 1. ที่มาของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับ ( ที่ พ ศ 2) . . 2560 2. ความหมายคําศัพท์ที่ควรทราบ 3. การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 4. การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ สมรรถนะประจําหน่วย แสดงความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จุดดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับที่มาของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ พ ศ ( 2) . . 2560 ได้ 2. อธิบายความรู้เกี่ยวกับคําศัพท์ตามพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ได้ 3. อธิบายความรู้เกี่ยวกับการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ได้ 4. อธิบายความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ได้
ที่มาของพระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ ฉบับที่ พ ศ ( 2) . . 2560 ตั้งแต พ ศ ่ . . 2550 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิ พลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ เป็นต้นมา ( 9) ได้มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทํา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ ศ . .2550 และประชาชน ก็ได้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติดังกล่าวเรื่อยมา จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ( 10) โดยมี พระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมจากพระราชบัญญัติ ว่า ด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ ศ . . 2550 เพื่อให้สามารถบังคับใช้ได้ตรง และครอบคลุมถึง การใช้คอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้ประกาศ เป็นพระราชบัญญัติ ว่าด้วย การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ ( 2) . . พ ศ 2560 โดยให้ประกาศ ณ วันที่ 23 มกราคม พ ศ . . 2560 มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่ง ร้อยยี่สิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป และ ใช้มาจนถึงปัจจุบัน ความหมายคําศัพท์ที่ควรทราบ ตามพระราชบัญญัติอธิบายรายละเอียดของคําที่ควรทราบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ ถูกต้องตรงกัน ดังน ี้ 1. ระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อม การทํางานเข้า ด้วยกัน มีการกําหนดคําสั่ง ชุดคําสั่ง และอื่น ๆ รวมถึงแนวทางการ ปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ ทําหน้าที่ประมวลผลโดยอัตโนมัติ 2. ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หมายถึง ข้อมูล ข้อความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่อยู่ ในระบบ คอมพิวเตอร์ ที่ระบบคอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้ และมีความหมายรวมถึง ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย
3. ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารของ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่แสดงถึงแหล่งกําเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น 4. ผู้ให้บริการ มีดังนี้ (1) ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ตหรือทางอื่น เพื่อให้ผู้เข้ามา ใช้บริการสามารถ ติดต่อถึงกันโดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจให้บริการในนามของตนเองหรือในนามเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น (2) ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น 5. พนักงานเจ้าหน้าที่ หมายถึง ผู้ที่รัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตาม พระราชบัญญัติ 6. รัฐมนตรี หมายถึง รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม การกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ผู้กระทําผิดตามพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ จะต้องได้รับโทษ ดังน ี้ การเข้าถึงข้อมูลและระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น หากมีการเข้าถึงข้อมูลหรือระบบ คอมพิวเตอร์ ของบุคคลอื่น เป็นการละเมิดความเป็นส่วนตัว เช่น การปล่อยไวรัส เข้าคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นเพื่อขโมย ข้อมูลของบุคคลอื่น ต้องได้รับ โทษตามกฎหมาย ดังน ี้ 1. การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการ ป้องกัน นั้นไม่ได้มีไว้สําหรับตน มาตรา ( 5) บทลงโทษ จําคุกไม่เกิน เดือน หรือปรับไม่เกิน : 6 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 2. การล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทําขึ้นเป็นการเฉพาะ และน้ํา มาตรการดังกล่าวไปเผยแพร่ และก่อให้เกิดความเสียหาย มาตรา ( 6) บทลงโทษ จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน : 1 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
3. การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการ นั้นไม่ได้ มีไว้สําหรับตน มาตรา ( 7) บทลงโทษ จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน : 2 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 4. การใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อดักรับข้อมูลของผู้อื่น และข้อมูลนั้นมิได้มีไว้เพื่อ การ ประโยชน์ต่อสาธารณะ หรือเพื่อประโยชน์ต่อบุคคลทั่วไป มาตรา ( 8) บทลงโทษ จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน : 3 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ การแก้ไข ดัดแปลง หรือทําให้ข้อมูลผู้อื่นเสียหาย เป็นการทําลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม ข้อมูลของผู้อื่นโดยมิชอบ หรืออาจเป็นการทําลายระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นจนไม่สามารถทํางานได้ ตามปกติ เช่น การทําลายระบบเว็บไซต์ของคู่แข่งเพื่อ ไม่ให้สามารถดําเนินการได้ตามปกติ 1. การทําความเสียหาย ทําลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมบางส่วนหรือทั้งหมดของข้อมูล ของ ผู้อื่นโดยมิชอบ มาตรา ( 9) บทลงโทษ ต้องได้รับโทษจําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน : 5 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 2 . การระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น จนไม่สามารถทํางานได้ ตาม ปกติ มาตรา ( 10) บทลงโทษ ต้องได้รับโทษจําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน : 5 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
หากการกระทําความเสียหาย ทําลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมข้อมูล และการระงับ ชม ขัดขวาง หรือรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นนั้น เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยของประเทศและความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชา ต่อสาธารณะต้องได้รับโทษจําคุกตั้งแต ่ 3-15 ปี และ ปรับตั้งแต ่ 60,000-300,000 บาท หากการกระทําดังกล่าวเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่บุคคล หรือทรัพย์สินของผู้อื่น ต้อง ได้รับโทษจําคุก ไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท หากการกระทําดังกล่าว เป็นเหตุให้บุคคลอื่นถึงแก่ความตาย โดยมิได้มีเจตนาฆ่า ต้อง ( ) ได้รับโทษ จําคุกตั้งแต่ 5-20 ปี และปรับตั้งแต ่ 100,000-400,000 บาท การส่งข้อมูลหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ก่อกวนผู้อื่น หรือ Spam Mail ผู้ที่ทําการค้า ออนไลน์ ที่มีการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ขายสินค้าโดยลูกค้าไม่ยินดีที่จะรับ หรือเป็นการส่ง Spam Mail รวมถึง การฝากร้านตามเฟซบุ๊ก อินสตาแกรมจะต้องได้รับโทษตามมาตรา 11 ความว่า การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือ “ ปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว ซึ่งรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยปกต ิ สุข ต้องได้รับโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท ” และหากเป็นการส่งโดยไม่เปิดโอกาสให้ปฏิเสธการตอบรับ จะต้องได้รับโทษจําคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ การเข้าถึงระบบหรือข้อมูลทางด้านความมั่นคงโดยมิชอบ การโพสต์เรื่อง หรือข้อมูลเกี่ยวกับ การเมืองที่ส่งผลถึงความเสียหายต่อประเทศชาติ รวมถึงการก่อกวน การก่อการร้าย ถือเป็น ความผิดตาม มาตรา 12 ความว่า การเข้าถึงระบบข้อมูล หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวกับ “ การรักษาความมั่นคงปลอดภัย ของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทาง เศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพื้นฐาน อันเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ต้องได้รับโทษ จําคุกตั้งแต่ 1-7 ปี และปรับตั้งแต ่ 20,000-140,000 บาท และจะต้องได้รับโทษหนักขึ้น ดังน ี้ หากส่งผลให้ข้อมูลหรือระบบคอมพิวเตอร์เกิดความเสียหายต้องได้รับโทษจําคุก ไม่เกิน 1-10 ปี และปรับตั้งแต ่ 20,000-200,000 บาท หากเป็นเหตุให้บุคคลอื่นถึงแก่ความตาย โดยมิได้มีเจตนาฆ่า ต้องได้รับโทษจําคุกตั้งแต่ ( ) 5-20 ปี และปรับตั้งแต ่ 100,000-400,000 บาท การจําหน่าย เผยแพร่ชุดคําสั่งเพื่อนําไปใช้กระทําความผิด การกระทําความผิดนี้ เป็นไปตาม มาตรา 13 ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจําหน่าย หรือเผยแพร่ชุดคําสั่งที่จัดทําขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อนําไปใช้เป็นเครื่องมือ ในการกระทําความผิด แบ่งบทลงโทษได้ ดังนี้
1. กรณีการกระทําเพื่อเป็นเครื่องมือในการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์ มาตรา 12 จะต้องได้รับโทษจําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน 2 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ หากมี ผู้นําไปใช้กระทําความผิด ผู้จําหน่ายหรือผู้เผยแพร่จะต้องรับผิดชอบร่วมด้วย 2. กรณีจําหน่าย หรือเผยแพร่ชุดคําสั่งที่จัดทําขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อนําไปใช้เปนเครื่องมือ ใน ็ การกระทําความผิด ตามมาตรา มาตรา มาตรา มาตรา มาตรา มาตรา หรือ 5 6 7 8 9 10 มาตรา ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน 11 1 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้ง ปรับ หากมีผู้นําไปใช้ในการกระทําความผิด ผู้จําหน่ายหรือผู้เผยแพร่ต้อง รับผิดชอบร่วม ด้วย การนําข้อมูลที่ผิดพระราชบัญญัติเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ การกระทําความผิดนี้เป็นไป ตามมาตรา สรุปได้ว่า ผู้ที่กระทําความผิดดังต่อไปนี้ 14 1. โพสต์ข้อมูลปลอม ทุจริต หลอกลวง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน เช่น การโพสต์ข่าวปลอม การโพสต์หลอกลวงเพื่อเอาเงินลูกค้าโดยไม่มีการส่งมอบสินค้า 2. การโพสต์ข้อมูลเป็นเท็จ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ หรือ ก่อให้เกิด ความตื่นตระหนกแก่ประชาชน 3. การโพสต์ข้อมูลที่เกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร และการก่อการร้าย . 4. การโพสต์ข้อมูลลามกที่ประชาชนเข้าถึงได้ 5. การเผยแพร่ ส่งต่อข้อมูลที่ทราบอยู่แล้วว่าเป็นข้อมูล ที่ห้ามโพสต์ ได้แก่ การกด แชร์ ( Share) ข้อมูลที่มีเนื้อหาเข้าข่าย ความผิดตามพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ การกระทําความผิดตามที่กล่าวมา จะต้องได้รับโทษจําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน 5 ! | 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับและหากเป็นกรณีที่เป็นการกระทําที่ส่งผลต่อบุคคลใด บุคคลหนึ่ง 1 ต้องได้รับโทษจําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน 3 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ กรณีนี้สามารถ ( ยอมความกันได้ )
การให้ความร่วมมือ ยินยอม รู้เห็นเป็นใจกับผู้ร่วมกระทําความผิด การกระทําความผิดนี้เป็นไปตาม มาตรา ความว่า ผู้ให้บริการผู้ใด จงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทําความผิดตามมาตร เนระบบ 15 “ คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทําความผิดตามมาตรา ค 2 อย่างเช่น เจ้าของเพจ ที่เปิดโอกาสให้มีการแสดงความคิดเห็นที่มีเนื้อหาที่ผิดกฎหมาย ถือว่ามีความ ยกเว้น แอดมินของเพจตรวจพบ และมีการลบออก จะถือว่าพ้นผิด ในกรณีตรงกันข้ามเมื่อพบแล้วยังไม่มี การลบ ออก จะต้องได้รับโทษตามมาตรา เช่นเดียวกับผู้โพสต์ หากพิสูจน์ได้ว่าแอดมินได้ปฏิบัติตาม ขั้นตอนการ 14 แจ้งเตือนแล้ว ไม่ต้องรับโทษ การตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงสภาพ การกระทําความผิดนี้เป็นไปตามมาตรา 16 ความว่า ผู้ใด “ นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของ ผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ วิธีการอื่นใด โดยประการที่น่าจะทําให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง หรือได้รับ ความอับ อาย ต้องได้รับโทษจําคุกไม่เกิน ปี และปรับไม่เกิน 3 200,000 บาท หมายความว่า หากผู้ใดโพสต์ ภาพ ” ของผู้อื่นที่เกิดจากการสร้าง การตัดต่อ การดัดแปลง ที่ทําให้ผู้อื่นเสียหาย หรือได้รับการดูถูกเกลียดชัง ตัวอย่างเช่น การนําภาพดาราไปตัดต่อ ตกแต่ง จนดาราผู้นั้นได้รับความเสียหาย ผู้นั้นต้องได้รับโทษ การโพสต์ภาพของผู้ตาย โดยมีการสร้าง การตัดต่อ ดัดแปลง ทําให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตร ของผู้ตายเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ผู้กระทําก็ต้องได้รับโทษเช่นเดียวกัน หากเป็นการกระทําโดยสุจริต ซึ่งเป็นวิสัยของประชาชนพึงกระทําไม่ถือเป็นความผิด ท้งนี้ความผิด ที่ ั เกิดขึ้นตามที่กล่าวมาแล้ว เป็นความผิดที่ยอมความกันได้ และกรณีที่ผู้เสียหายเสียชีวิตก่อนการร้องทุกข์ ให้ บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตร ร้องทุกข์แทนได้ ผู้ที่กระทําผิดตามมาตรา และมาตรา ซึ่งมีคําพิพากษาว่ามีความผิดจริง ศาลอาจสั่ง ดังนี้ 14 16 1. ให้ทําลายข้อมูลที่โพสต์นั้น 2. ให้เผยแพร่คําพิพากษานั้นโดยผู้กระทําผิดเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการโฆษณาเผยแพร่ 3. ให้ดําเนินการอื่น ๆ ตามที่ศาลเห็นสมควรเพื่อบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการกระทํา ความผิดนั้น กรณีที่ผู้ใดครอบครองข้อมูลที่ศาลสั่งให้ทําลาย ผู้นั้นต้องได้รับโทษกึ่งหนึ่งของบทบัญญัตินี้ ทั้งนี้ การ ลงโทษตามความผิดนี้ ให้ผู้กระทําความผิดรับโทษภายในราชอาณาจักรที่ได้กระทําความผิด
รูปที่ 2.2 ผู้เสียหายร้องเรียนเนื่องจากถูกนําภาพไปตัดต่อ ถือเป็นการ ละเมิด แก้ไขข้อมูล ( ภาพจาก https://news.mthai.com/general-news/733896.html) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ การสอบสวนผู้กระทําความผิดมื่อมีผู้กระทําความผิด พนักงานเจ้าหน้าที่จะต้อง ดําเนินการสอบสวน หากมีการกระทําความผิดจริง ผู้กระทําความผิดจะต้องได้รับโทษ กระบวนการทํางานของเจ้าหน้าที่ มีดังน ี้ 1. มีหนังสือแจ้งผู้กระทําความผิดมาชี้แจง พร้อมกับข้อมูล หรือหลักฐานที่สามารถเข้าใจ ได้ 2. เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารผ่านระบบ คอมพิวเตอร์ หรือจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง 3. สั่งให้ผู้ให้บริการข้อมูล ส่งมอบข้อมูลของผู้กระทําความผิด ที่ผู้ใหบริการเก็บไว้ให้แก่ ( ้ เจ้าหน้าที่ 4. กรณีที่ระบบข้อมูลยังไม่ได้อยู่ในความ ครอบครองของเจ้าหน้าที่ให้ทําสําเนาข้อมูลไว้ 5. สั่งให้ผู้ที่ครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่งมอบข้อมูล หรืออุปกรณ์นั้นแก่เจ้าหน้าที่ 6. ตรวจสอบระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูล ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ใช้ เก็บข้อมูล เพื่อหาหลักฐานเกี่ยวกับการกระทําความผิด
7 . ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือสั่งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องถอดรหัสลับให ้ ความร่วมมือ เจ้าหน้าที่ ถอดรหัสลับเพื่อให้เจ้าหน้าที่เข้าถึงข้อมูลได ้ 8. ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าที่จําเป็น เพื่อประโยชน์ในการทราบ รายละเอียดของ กระทําความผิด ทั้งนี้เจ้าหน้าที่มีอํานาจในการกระทําการรวบรวมข้อเท็จจริง และหลักฐาน หากพบว่า กระทําผิดจริง สามารถดําเนินการใน ขั้นตอนต่อไปได้ทันที มาตรา ( 18-19) การดําเนินการลบข้อมูล เมื่อได้มีการแพร่หลายข้อมูลที่ผิดต่อพระราชบัญญัตินี้แล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นคําร้อง พร้อมแสดง พยานหลักฐานต่อศาล ขอให้มีคําสั่งระงับการแพร่หลาย หรือลบข้อมูลนั้นเสีย มาตรา ( 20) การเผยแพร่ข้อมูลของเจ้าหน้าที่ ห้ามพนักงานเจ้าหน้าที่ และพนักงานสอบสวน เผยแพร่ หรือ ส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของ ผู้ใช้บริการ ซึ่งเป็นข้อมูลที่มีความผิด ตามพระราชบัญญัตินี้แก่ผู้อื่น หากฝ่าฝืนจะต้องมีโทษ จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน 3 60,000 บาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ( 22) กรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่กระทําการโดยประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นล่วงรู้ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูล จราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการซึ่งเป็นข้อมูลที่ มีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องมีโทษจําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน 1 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ( 23) ผู้ที่ได้รับรู้ข้อมูลที่มีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องได้รับโทษจําคุกไม่เกิน ปี 2 หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ( 24)
ใบงานที่ 2.1 ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลที่เป็นข่าวเกี่ยวกับการนําภาพดารา หรือผู้มีชื่อเสียงมาตัดต่อ เพื่อนํามาใช้ ประโยชน์ทางการค้าของผู้กระทํา หรือประโยชน์ด้านอื่น จนสร้าง ความเสียหาย ความอับอายแก่บุคคลนั้น บันทึกรายละเอียดลงในที่ว่างด้านล่าง พร้อมอธิบายดังนี้ 1. การกระทําดังกล่าวก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้กระทําอย่างไรบ้าง 2. จากเหตุการณ์ดังกล่าว ได้มีการลงโทษผู้กระทําความผิดอย่างไรบ้าง 3. ความคิดเห็นของผู้เรียน ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….. สิ่งที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… . ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………
ใบงาน 2.2 ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นถึงความสําคัญ ของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทํา ความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ ว่าหากไม่มีการบังคับใช้ จะก่อให้เกิดผลเสียหาย ต่อใครบ้าง และเสียหายอย่างไร บันทึก ลงในที่ว่างด้านล่าง ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… สิ่งที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม …………………………………… ………………………………………………………………………… .. ………………………………………………………… …………………………………… … ………… . .. ... ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………....…………………………………… …………… .. ………………………………………………………………………………………………………………… …… …………………………………… … ……………………………………………………………… . .. ... …………………………………………………………………………………………………………………
แบบประเมินผล การเรียนรู้หน่วยที่ 2 ตอนที่ จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุด 1 เพียงข้อเดียว 1. ข้อมูล ข้อความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่ง อื่นใดที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ ที่ระบบ คอมพิวเตอร์สามารถ ประมวลผลได้ มี ความหมายตรงกับข้อใด ก ระบบคอมพิวเตอร์ . ข ข้อมูลคอมพิวเตอร์ . ค ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ . ง ผู้ให้บริการ . 2. จากความหมายของศัพท์ตาม พระราชบัญญัติข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับ ผู้ “ ให้บริการ ” ก ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต . ข บริษัทที่ให้บริการแก่บคคลอื่นในการ เข้าสู่อินเทอร์เน็ต ค ผู้ที่บริการเก็บรักษาข้อมูลเพื่อ . ประโยชน์แก่บุคคลอื่น ง ผู้ที่เข้ามาเล่นเกมในร้านบริการ . อินเทอร์เน็ต 3. ข้อใดคือรัฐมนตรีผู้รักษาการตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทํา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ ( 2) พ ศ . . 2560 ปี ก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ . ข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย . ค รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อ . เศรษฐกิจและสังคม ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ . สหกรณ์ 4. การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ซึ่งมีมาตรการป้องกันอยู่แล้ว ต้องได้รับ โทษตามข้อใด ก ว่ากล่าวตักเตือน . ข จําคุก เดือน . 6 ค ปรับไม่เกิน . 10,000 บาท ง จําคุกไม่เกิน เดือน ปรับไม่เกิน . 6 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 5. การดักรับข้อมูลของบุคคลอื่น ต้อง ได้รับโทษตามข้อใด ก จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 1 40,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 2 50,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 3 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง จาคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 4 70,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 6. การแก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลของผู้อื่น โดยมิชอบ ต้องได้ จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน 5 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 4 90,000 บาท หรือทั้งจําท ค จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 3 80,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 2 70,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 7. การแก้ไข ดัดแปลงข้อมูล จนส่งผลถึง ความมั่นคงปลอดภัยของชาติ ต้องได้รับ โทษตามข้อใด ก จําคุกตั้งแต่ . 3-5 ปี ในการเสนอ ข ปรับตั้งแต่ . 60,000-300,000 บาท ค ข้อ ก และ ข รวมกัน ในแต่ไรมา เจล . . . ปากกา มา ง ประหารชีวิต .
8 . การส่งข้อมูลรบกวนผู้อื่น ต้องได้รับโทษ ตามข้อใด ก ปรับไม่เกิน . 10,000 บาท ข ปรับไม่เกิน . 50,000 บาท ค ปรับไม่เกิน . 100,000 บาท ง ปรับไม่เกิน . 200,000 บาท 9. การโพสต์เรื่อง หรือข้อมูลที่ส่งผลต่อความ เสียหายของประเทศชาติ ต้องได้รับโทษตาม ข้อใด ก จําคุก . 1-7 ปี ปรับตั้งแต่ 20,000- 140,000 บาท ข จําคุก . 1-10 ปี ปรับตั้งแต่ 20,000- 200,000 บาท ค จําคุกตลอดชีวิต . ง ประหารชีวิต . 10. แม่ค้าออนไลน์ที่โพสต์หลอกลวงเพื่อเอาประชาชน เงินลูกค้าโดยไม่มีการส่งมอบสินค้า ต้อง ได้รับโทษตามข้อ ก จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน . 3 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน . 4 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน . 5 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน . 6 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 11. โพสต์คลิปโป๊ คลิปลามก ต้องได้รับโทษ ตามข้อใด ก ว่ากล่าวตักเตือนโดยพนักงานเจ้าหนาที่ ข ปรับ ้ ข จําคุก ปี . 5 ค ปรับ . 100,000 บาท ง จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน . 5 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 12. ข้อใดเป็นการกระทําที่ผิดกฎหมาย ก โพสต์เรื่องราวชีวิตประจําวัน . ข เจ้าของเพจสนับสนุนให้มีการแสดงความ . คิดเห็นที่เป็นข้อมูลลามก ค เจ้าของเพจลบข้อมูลการแสดงความ . คิดเห็นที่เป็นข้อมูลก่อการร้าย ง โพสต์เรียนเชิญประชาชนมาร่วมทําบุญ . 13. การนําภาพของดารามาตัดต่อ จนสร้าง ความเสียหาย อับอาย แต่ทําจะต้องได้รับโทษ ตามข้อใด ก จําคุกไม่เกิน ปี . 3 ข ปรับไม่เกิน . 200,000 บาท ค จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 3 200,000 บาท ง ไม่ต้องได้รับโทษเพราะดาราเป็นคนของ . 14. เมื่อพบผู้กระทําผิดตามพระราชบัญญัติ เจ้าหน้าที่ต้องดําเนินการข้อใดเป็นขั้นตอน แรก ก แจ้งผู้กระทําผิดมาชี้แจง . ข สอบสวนหาหลักฐาน . ค ตรวจสอบระบบคอมพิวเตอร์ . ง ยึดคอมพิวเตอร์ . 15) 15. พนักงานเจ้าหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลที่เป็น ความผิดตามพระราชบัญญัติ ต้องได้รับโทษ ตามข้อใด ก จําคุก ปี . 3 . 60,000 บาท ค จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 3 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง พนักงานเจ้าหน้าที่สามารถกระทําได้โดย . ไม่มีความผิด
ตอนที่ จงตอบคําถามต่อไปนี้ 2 1. จงอธิบายความหมายของระบบคอมพิวเตอร์ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ............ .. ................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. 2. จงอธิบายความหมายของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………........... ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................. ... 3. จงบอกความหมายของผู้ให้บริการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอม ฉบับที่ พ ศ ( 2) . . 2560 ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ............................................... .............. ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................... 4. การปล่อยไวรัสเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ทําให้ข้อมูลเสียหาย ผู้กระทําผิดจะต้อง ได้รับ อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………........ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................... 5 . ผู้กระทําความผิดจะได้รับโทษอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………........................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ....
6. แม่ค้าออนไลน์ที่ชอบส่งข้อมูลขายสินค้าโดยที่ลูกค้าไม่ยินดีที่จะรับ ต้องได้รับโทษ อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………........................................................................................................... 7. จงสรุปความผิดตามมาตรา พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด 14 เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ พ ศ ( 2) . . 256 0 …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………… ........................................................................................................... 8. เจ้าของเพจที่ตรวจพบว่ามีผู้นําข้อมูลที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ พ ศ ( 2) . . 2560 เข้ามาในเพจ จะต้องดําเนินการอย่างไรจึงจะไม่ต้อง รับโทษ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………… ........................................................................................................... 9. เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่กระทําการโดยประมาท ทําให้ผู้อื่นล่วงรู้ข้อมูล ต้องได้รับ โทษอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………… .......................................................................................................... .
10.. บุคคลผู้ได้รับข้อมูลที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับที่ พ ศ ( 2) . . 2560 ต้องได้รับโทษอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ……..................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................
เฉลยหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 1. มีความหมายตรงกับข้อใด ข ข้อมูลคอมพิวเตอร์ . 2. จากความหมายของศัพท์ตามพระราชบัญญัติข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับ ผู้ให้บริการ \" \" ง ผู้ที่เข้ามาเล่นเกมส์ในร้านบริการอินเทอร์เน็ต . 3. รัฐมนตรีผู้รักษาการตาพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ ฉบับที่ พ ศ ( 2) . . 2560 ค รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม . 4. การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นซึ่งมีมาตรการป้องกันอยู่แล้ว ต้องได้รับโทษ ตามข้อใด ง จําคุกไม่เกิน เดือน ปรับไม่เกิน . 6 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 5. การดักรับข้อมูลของบุคคลอื่น ต้องได้รับโทษตามข้อใด ค จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 3 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 6. การแก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องได้รับโทษตามข้อใด ก จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 5 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 7. การแก้ไข ดัดแปลงข้อมูล จนส่งผลถึงความมั่นคงปลอดภัยของขาตี ต้องได้รับโทษ ตามข้อใด ค ข้อ ก และ ข รวมกัน . . . 8. การส่งข้อมูลรบกวนผู้อื่น ต้องได้รับโทษตามข้อใด ค ปรับไม่เกิน . 100,000 บาท
9. การโพสต์เรื่อง หรือข้อมูลที่ส่งผลต่อความเสียหายของประเทศชาติ ต้อง ได้รับโทษตามข้อใด ก จําคุก . 1-7 ปี ปรับตั้งแต่ 20,000 - 140,000 บาท 10. แม่ค้าออนไลน์ที่โพสต์หลอกลวงเพื่อเอาเงินลูกค้าโดยไม่มีการส่งมอบ สินค้า ต้องได้รับโทษตามข้อใด ค จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน . 5 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 11. ผู้ที่โพสต์คลิปโป๊ คลิปลามก ต้องได้รับโทษตามข้อใด ง จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน . 5 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 12. ข้อใดเป็นการกระทําที่ผิดกฎหมาย ข เจ้าของเพจสนับสนุนให้มีการแสดงความคิดเห็นที่เป็นข้อมูลลามก . 13. การนําภาพของตารามาตัดต่อ จนสร้างความเสียหาย อับอาย แก่ดาราผู้ นั้น ผู้กระทําจะต้องได้รับโทษตามข้อใด ศ จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 3 200,000 บาท 14. เมื่อพบผู้กระทําผิดตามพระราชบัญญัติ เจ้าหน้าที่ต้องดําเนินการข้อใด เป็นขั้นตอนแรก ก แจ้งผู้กระทําผิดมาชี้แจง . 15. พนักงานเจ้าหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัติ ต้อง ได้รับโทษตามข้อ ค จําคุกไม่เกิน ปี ปรับไม่เกิน . 3 60,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ตอนที่ จงตอบคําถามต่อไปนี้ 2 1. จงอธิบายความหมายของระบบคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการทํางานเข้าด้วยกัน มีการกําหนดคําสั่ง ชุดคําสั่ง และอื่น ๆ รวมถึงแนวทางการปฏิบัติงานให้อุปกรณ์ หรือชุดอุปกรณ์ทําหน้าที่ประมวลผลโดยอัติโนมัติ 2. จงอธิบายความหมายของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูล ข้อความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่อยู่ในระบบ คอมพิวเตอร์ ที่ระบบคอมพิวเตอร์สามารถประมวลผล ได้ และมีความหมาย รวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย 3. จงบอกความหมายของผู้ให้บริการ ตามพระราชบัญญัตินี้ 1. ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเตอร์เนต หรือทางอื่น เพื่อให้ผู้เข้ามาใช้บริการสามารถติดต่อถึงกัน โดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจ ให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น 2. ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น 4. การปล่อยไวรัวเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ทําให้ข้อมูลเสียหาย ผู้กระทํา ผิดจะต้องได้รับโทษอย่างไร จําคุกไม่เกิน เดือน หรือปรับไม่เกิน 6 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 5. การทําลายเว็บไซต์ของคู่แข่งขัน ผู้กระทําผิดจะต้องได้รับโทษอย่างไร จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน 5 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
6. แม่ค้าออนไลน์ที่ชอบส่งข้อมูลขายสินค้าโดยที่ลูกค้าไม่ยินดีที่จะรับ ต้องได้รับโทษ อย่างไร ปรับไม่เกิน 10,000 บาท 7. จงสรุปความผิดตามมาตรา พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ 14 คอมพิวเตอร์ ฉบับที่ พ ศ ( 2) . . 2560 1. โพสต์ข้อมูลปลอม ทุจริต หลอกลวง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือ ประชาชน เช่น การโพสต์ข่าวปลอม การโพสต์หลอกลวงเพื่อเอาเงินลูกค้าโดยไม่มีการส่ง มอบสินค้า เป็นต้น 2. การโพสต์ข้อมูลเป็นเป็นเท็จ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของ ประเทศ หรือก่อให้เกิดความตื่น ตระหนกแก่ประชาชน 3. การโพสต์ข้อมูลที่เกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร และการก่อการร้าย 4. การโพสต์ข้อมูลลามก ที่ประชาชนเข้าถึงได้ 5. การเผยแพร่ ส่งต่อข้อมูลที่ทราบอยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลที่หามโพสต์ ได้แก่ การ ้ กดแชร์ ( Share) ข้อมูลที่มีเนื้อหา เข้าข่ายความผิดตามพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ 8. เจ้าของเพจที่ตรวจพบว่ามีผู้นําข้อมูลที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เข้ามาในเพจ จะต้องดําเนินการอย่างไรจึงจะไม่ต้องรับโทษ ลบข้อมูลเหล่านั้นออก 9. เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่กระทําการโดยประมาท ทําให้ผู้อื่นล่วงรู้ข้อมูล ต้องได้รับโทษ อย่างไร จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน 1 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 10. บุคคลผู้ได้รับข้อมูลที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องได้รับโทษอย่างไร จําคุกไม่เกิน ปี หรือปรับไม่เกิน 2 40,000 บาท
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176