Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ม.1 (หน่วยที่ 3 เทอม 2 )

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ม.1 (หน่วยที่ 3 เทอม 2 )

Published by KAGIROON, 2020-03-10 04:09:24

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ท 21102) ภาคเรียนที่ 2 หน่วยที่ 3 เรื่อง นิทานพื้บ้าน

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง หน่วยท่ี ๓ นิทานพื้นบา้ น เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรียนท่ี ๒ แผนการเรยี นร้ทู ่ี ๔๑ ความหมายขยายคาศพั ท์ ครผู ้สู อน นางสาวจริ าพร กุลให้ วันทีส่ อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั นิทานพ้ืนบ้านเป็นเรื่องเล่าท่ีเล่าสืบต่อกันมาในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งและแพร่หลายไปยังท้องถิ่นอ่ืน จึงมักมีการใช้คาภาษาถิ่นหรือคาท่ีเก่ียวข้องกับวัฒนธรรมของท้องถิ่นนั้นการเรียนรู้คาศัพท์เหล่าน้ีจะทาให้ ศึกษานิทานพนื้ บา้ นได้เข้าใจมากย่งิ ขนึ้ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคดิ เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชวี ิต และมีนิสยั รกั การอ่าน 3. ตวั ชวี้ ดั ท ๑.๑ ม. ๑/๔ ระบแุ ละอธบิ ายคาเปรยี บเทียบและคาท่ีมหี ลายความหมายในบริบทตา่ ง ๆ จากการอ่าน 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายความหมายของคาศัพทท์ ่เี กย่ี วกบั นิทานพน้ื บา้ น 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) เขียนและอ่านคาศัพท์ทเี่ กี่ยวกบั นิทานพื้นบา้ น 3. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เหน็ ความสาคญั ของการเรียนรู้คาศัพทเ์ พ่ือใชศ้ ึกษานิทานพื้นบา้ น 5. สาระการเรียนรู้ คาศัพทท์ เี่ กี่ยวกับนทิ านพน้ื บ้าน 6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้นั นาเข้าส่บู ทเรียน นักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็นว่า นกั เรยี นรจู้ ักนิทานพ้ืนบา้ นเรือ่ งใดบ้าง ข้ันพฒั นาผเู้ รยี น ๑. นกั เรียนศึกษาความรูเ้ รื่อง นทิ านพื้นบา้ น และร่วมกันสนทนาในประเดน็ ต่อไปน้ี - นทิ านพื้นบา้ นมีลกั ษณะสาคัญอย่างไร - นิทานพน้ื บา้ นมคี วามสาคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมไทยอยา่ งไร ๒. ครูอธิบายสรุปเพ่มิ เตมิ และให้นกั เรียนบันทึกสาระสาคัญ

๓. ครเู ขียนตารางปรศิ นาอักษรไขว้บนกระดาน เพื่อให้นักเรียนเลน่ เกมปริศนาอักษรไขว้ โดยให้ นกั เรยี นออกมาจับฉลากหมายเลข ค้นหาคาศพั ท์จากนิทานพ้ืนบ้านในบทเรียนทม่ี ีความหมาย ตรงกบั ความหมายท่ีให้ไว้ในแนวตัง้ และแนวนอน ๔. นักเรยี นนาคาศัพท์ที่ไดเ้ ติมลงในตารางปริศนาอักษรไขว้ เรียงตามลาดบั โดยออกมาเขียนเปน็ คู่ ใครได้หมายเลขตรงกนั ท่ีเป็นแนวต้ังและแนวนอน ใหอ้ อกมาเขยี นคาศัพท์พร้อมกัน เริม่ จากฉลากหมายเลข ๑ ตามลาดบั จนครบตามจานวน ๕. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง แลว้ อ่านพรอ้ มท้ังอธิบายความหมายคาศพั ท์ ร่วมกนั ขนั้ สรุป นกั เรียนและครูรว่ มกันสรุปความรู้ ดงั น้ี นิทานพ้นื บา้ นเป็นเรือ่ งเล่าที่เล่าสบื ต่อกนั มาในท้องถนิ่ ใด ท้องถ่นิ หนง่ึ และแพร่หลาย ไปยังท้องถิ่นอน่ื จึงมกั มีการใช้คาภาษาถ่นิ หรือคาทเี่ กีย่ วข้องกับวฒั นธรรมของ ท้องถนิ่ นน้ั การเรียนรู้คาศพั ท์เหล่านจ้ี ะทาให้ศึกษานิทานพ้ืนบ้านได้เขา้ ใจมากย่งิ ขน้ึ 7. สือ่ การเรียนรู้ ๑. ตารางปริศนาอักษรไขว้ ๒. ฉลาก 8. การวดั ผลประเมินผล หลกั ฐาน เคร่อื งมอื วดั เกณฑก์ าร ประเมิน เปา้ หมาย แบบฝึกหัด “อักษรไขว้นิทาน แบบประเมนิ แบบฝึกหัด ร้อยละ ๖๐ สาระสาคญั “อักษรไขวน้ ทิ านพ้นื บ้าน” ผ่านเกณฑ์ นทิ านพื้นบ้านเป็นเร่อื งเลา่ ท่เี ลา่ พืน้ บา้ น” แบบประเมนิ แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ สืบตอ่ กนั มาในท้องถิน่ ใดท้องถ่นิ หน่งึ แบบฝกึ หัด “อกั ษรไขว้นิทานพน้ื บา้ น” ผ่านเกณฑ์ และแพรห่ ลายไปยังทอ้ งถน่ิ อื่น จงึ มักมี “อักษรไขวน้ ทิ าน การใชค้ าภาษาถน่ิ หรอื คาท่เี ก่ียวขอ้ ง แบบประเมินแบบฝกึ หัด รอ้ ยละ ๖๐ กบั วฒั นธรรมของท้องถิ่นนน้ั การ พ้ืนบ้าน” “อกั ษรไขว้นิทานพ้นื บ้าน” ผา่ นเกณฑ์ เรยี นรู้คาศพั ทเ์ หล่านจ้ี ะทาให้ศกึ ษา นิทานพ้นื บา้ นไดเ้ ข้าใจมากยงิ่ ข้ึน แบบฝกึ หัด ตวั ช้วี ัด “อักษรไขว้นทิ าน - ท ๑.๑ ม. ๑/๔ ระบแุ ละอธบิ ายคา เปรียบเทยี บและคาท่ีมหี ลาย พ้ืนบ้าน” ความหมายในบริบทต่าง ๆ จากการ อ่าน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เห็นความสาคัญของการเรียนรู้ คาศัพทเ์ พ่อื ใช้ศึกษานทิ านพื้นบา้ น

เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู รกิ ส)์ ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรยี นอธบิ าย อธิบายความหมาย อธิบายความหมาย อธิบายความหมาย อธิบายความหมายของ ความหมายของ ของคาศัพท์ไดถ้ ูกตอ้ ง ของคาศัพทส์ ว่ นใหญ่ ของคาศัพท์ไดถ้ ูกต้อง คาศัพทไ์ ม่ถูกต้อง ตอ้ ง คาศัพท์ทเ่ี ก่ยี วกับ ท้งั หมด ได้ถูกตอ้ ง บางส่วน มผี ู้ช้แี นะ นิทานพื้นบา้ น (K) 2. นักเรียนเขียนและ เขยี นและอา่ น เขียนและอ่านคาศพั ท์ เขียนและอ่านคาศพั ท์ เขียนและอา่ นคาศพั ทท์ ี่ อ่านคาศัพท์ที่ คาศัพทท์ เ่ี กี่ยวกบั ทเี่ กยี่ วกบั นทิ าน ทเี่ กี่ยวกบั นทิ าน เกย่ี วกับนทิ านพนื้ บา้ น เกย่ี วกบั นิทาน นทิ านพน้ื บา้ น พืน้ บ้าน พ้นื บ้าน พืน้ บ้าน (P) ได้คะแนน 10-9 ได้คะแนน 8-7 ได้คะแนน 6-5 ไดค้ ะแนน 4-0 ๓. นกั เรียนเหน็ นกั เรยี นใชค้ าใน นักเรยี นใชค้ าใน นกั เรยี นใชค้ าใน นักเรียนใชค้ าใน ความสาคญั ของการ ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไม่ถูกต้อง เรียนรู้คาศพั ทเ์ พ่ือใช้ ตามอักขรวธิ ี ใช้คาได้ ตามอักขรวธิ ี ใชค้ าได้ เขยี นยงั ไมถ่ ูกตอ้ ง เขียนคาพ้ืนฐาน ศึกษานิทานพื้นบา้ น ถูกบริบทและ ถกู บริบทและ ตาม อักขรวิธี เขียน ภาษาไทยไม่ถูกต้อง (A) เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขียนคา คาพื้นฐานได้ถูกตอ้ ง พืน้ ฐานได้ถูกต้อง พนื้ ฐานมขี ้อผิดพลาด บา้ ง ท้ังหมด เล็กน้อย เกณฑก์ ารประเมนิ การผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง หน่วยท่ี ๓ นิทานพนื้ บา้ น เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ แผนการเรียนรูท้ ่ี ๔๒ คาไวพจน์ ครูผสู้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ วนั ทสี่ อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั คาพ้องความหมายหรอื คาไวพจน์เป็นคาท่ีมีความหมายเหมอื นกัน หรอื ใกล้เคียงกนั แต่ใช้รูปเขียนตา่ ง ๆ กนั การเรยี นรู้คาไวพจน์ทาให้สามารถเลอื กคามาใชใ้ นบริบทตา่ ง ๆ ไดเ้ หมาะสมและหลากหลาย 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา และพลัง ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ 3. ตัวช้วี ัด ท ๔.๑ ม. ๑/๒ สรา้ งคาในภาษาไทย 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ความรู้ อธิบายลักษณะของคาไวพจน์ ทักษะกระบวนการ คน้ หาและรวบรวมคาไวพจน์จากวรรณคดเี ป็นหมวดหมู่ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เหน็ ความสาคัญของการรวบรวมคาไวพจนเ์ พ่ือสามารถเลือกสรรคามาใชใ้ หเ้ หมาะสม ในบรบิ ทต่าง ๆ 5. สาระการเรียนรู้ คาไวพจน์ 6. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขัน้ นาเข้าสูบ่ ทเรียน นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ ว่า เศรษฐที างภาษาหมายความว่าอย่างไร ข้ันพฒั นาผ้เู รียน ๑. นักเรยี นศึกษาความรู้เรือ่ ง คาพ้องความหมายหรอื คาไวพจน์ ร่วมกนั สรปุ ความเขา้ ใจและ ยกตัวอย่างคาเพ่ิมเตมิ ๒. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ ๕-๖ กลุ่ม แขง่ ขันตอบคาไวพจนจ์ ากคาที่ครกู าหนด กลมุ่ ใดตอบถกู ต้องจะ ได้คาละ ๑ คะแนน แตล่ ะกลุ่มจะตอบกี่คาก็ได้ ครูบนั ทึกคาทีน่ ักเรยี นตอบเปน็ แผนภาพความคิดบนกระดาน เช่น

ทิพากร สรุ ยิ า ตะวนั ภาณมุ าศ รวี พระอาทิตย์ ไถง องั ศุมาลี ราไพ ครอู าจให้นักเรียนแข่งขนั ๒-๓ รอบ ตามเวลาทีเ่ หมาะสม โดยแต่ละรอบกาหนดคาแตกตา่ งกนั ๓. ครกู ระตุ้นใหน้ กั เรียนเห็นความสาคัญของการเรียนรู้คาไวพจน์ โดยอธิบายว่า “หากนักเรยี นมี คลงั ไวพจน์ นกั เรียนจะเปน็ เศรษฐที างภาษา สามารถเลอื กสรรคามาใช้ให้เหมาะสมแกบ่ ริบทต่าง ๆ ได้ ไมต่ ้อง ใชค้ าซา้ ๆ เพราะจนต่อถ้อยคา” ๔. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ ค้นหาคาไวพจนจ์ ากวรรณคดีที่ได้เรียนมาและหาเพิม่ เติมจากวรรณคดเี รอ่ื ง อ่นื โดยค้นหาเป็นหมวดหมู่ - คาท่ีหมายถงึ พระมหากษัตริย์ - คาที่หมายถงึ ท้องฟ้า - คาทหี่ มายถึงพระอาทิตย์ - คาทห่ี มายถงึ พระจนั ทร์ - คาที่หมายถงึ ปา่ - คาที่หมายถึงดอกไม้ - คาทีห่ มายถงึ ภูเขา - คาทห่ี มายถึงน้าหรือแหลง่ น้า - คาที่หมายถงึ ไฟ - คาทีห่ มายถงึ ผู้หญงิ ๕. นักเรยี นแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานาเสนอคาไวพจน์ทร่ี วบรวมได้ นักเรยี นและครูร่วมกัน ตรวจสอบความถูกต้อง และช่วยกนั เพม่ิ เติม ๖. นกั เรยี นช่วยกันรวบรวมคาไวพจนห์ มวดหมตู่ ่าง ๆ นามาจัดทาเปน็ หนังสือเล่มเล็กเพื่อใช้ สาหรับศกึ ษาคน้ ควา้ ร่วมกัน ขนั้ สรุป นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดงั น้ี คาพ้องความหมายหรอื คาไวพจนเ์ ปน็ คาทม่ี ีความหมาย เหมือนกนั หรือใกล้เคียงกันแต่ใช้รปู เขยี นตา่ ง ๆ กนั การเรียนรู้คาไวพจน์ทาให้สามารถเลือกคามาใช้ในบริบท ตา่ ง ๆ ไดเ้ หมาะสมและหลากหลาย

7. สื่อการเรยี นรู้ บัตรคา 8. การวัดผลประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐาน เครือ่ งมอื วัด เกณฑก์ าร ประเมิน สาระสาคญั แบบฝึกหัด แบบประเมนิ แบบฝกึ หดั คาพ้องความหมายหรือคา “ใครอยากเป็นเศรษฐี” “ใครอยากเปน็ เศรษฐี” ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ ไวพจนเ์ ป็นคาที่มีความหมาย แบบฝึกหัด แบบประเมนิ แบบฝกึ หดั เหมือนกัน หรือใกลเ้ คียงกนั แตใ่ ช้รูป “ใครอยากเป็นเศรษฐี” “ใครอยากเปน็ เศรษฐี” รอ้ ยละ ๖๐ เขยี นต่าง ๆ กัน การเรยี นรคู้ าไวพจน์ ผา่ นเกณฑ์ ทาใหส้ ามารถเลือกคามาใชใ้ นบริบท แบบฝึกหัด แบบประเมนิ แบบฝกึ หดั ต่าง ๆ ไดเ้ หมาะสมและหลากหลาย “ใครอยากเป็นเศรษฐี” “ใครอยากเปน็ เศรษฐี” ร้อยละ ๖๐ ตัวชว้ี ดั ผา่ นเกณฑ์ - ท ๔.๑ ม. ๑/2 สร้างคาใน ภาษาไทย คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เหน็ ความสาคญั ของการรวบรวม คาไวพจนเ์ พื่อสามารถเลือกสรรคามา ใช้ให้เหมาะสมในบริบทต่าง ๆ

เกณฑก์ ารประเมินผล (รบู ริกส)์ ประเด็นการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๑. นกั เรยี นอธิบาย (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง ลกั ษณะของคาไวพจน์ (K) อธบิ ายลักษณะของ อธิบายลักษณะของ อธิบายลกั ษณะของคา อธบิ ายลกั ษณะของ คาไวพจน์ได้ถูกต้อง 2. นักเรยี นค้นหาและ ชดั เจน หลายแง่มมุ คาไวพจน์ไดถ้ ูกต้อง ไวพจน์ได้ถูกต้อง แต่ คาไวพจน์ได้ถูกต้อง รวบรวมคาไวพจน์จาก และสามารถเสนอ วรรณคดเี ปน็ หมวดหมู่ แนวทางการ ชดั เจน หลายแงม่ มุ สรปุ เพียง ๑ ประเดน็ แต่สรปุ เพยี ง ๑ (P) นาไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ ไดด้ ีและสร้างสรรค์ และสามารถเสนอ และเสนอแนวทางการ ประเดน็ ไมส่ ามารถ ๓. นักเรียนเห็น ความสาคัญของการ คน้ หาและรวบรวม แนวทางการนาไปใช้ นาไปใช้ในชวี ิตจริงได้ เช่ือมโยงกับชีวิตจริง รวบรวมคาไวพจน์เพ่ือ คาไวพจน์จาก สามารถลือกสรรคามา วรรณคดีเปน็ ในชวี ติ จริงได้ สัมพนั ธก์ นั ได้ ตอ้ งมีผูแ้ นะนาจงึ ใช้ใหเ้ หมาะสมใน หมวดหมไู่ ดค้ ะแนน บริบทต่าง ๆ (A) 10-9 จะเขา้ ใจ นักเรียนใชค้ าใน ค้นหาและรวบรวมคา ค้นหาและรวบรวมคา คน้ หาและรวบรวมคา ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ตามอักขรวธิ ี ใชค้ า ไวพจนจ์ ากวรรณคดี ไวพจนจ์ ากวรรณคดเี ป็น ไวพจน์จากวรรณคดี ได้ถูกบริบทและ เหมาะสม เขยี นคา เป็นหมวดหมู่ได้ หมวดหมู่ ได้ คะแนน เปน็ หมวดหมู่ พน้ื ฐานได้ถกู ต้อง ทัง้ หมด คะแนน 8-7 6-5 คะแนน 4-0 นกั เรียนใช้คาใน นกั เรียนใช้คาใน นักเรยี นใชค้ าใน ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ตามอักขรวธิ ี ใชค้ าได้ เขยี นยงั ไมถ่ กู ตอ้ งตาม เขียนคาพ้ืนฐาน ถูกบรบิ ทและ อักขรวิธี เขียนคา ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง เหมาะสม เขียนคา พนื้ ฐานได้ถูกต้องบา้ ง พน้ื ฐานมีข้อผดิ พลาด เลก็ นอ้ ย เกณฑ์การประเมนิ การผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง หน่วยท่ี ๓ นิทานพ้ืนบ้าน เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ แผนการเรยี นรู้ท่ี ๔๓ นทิ านพ้นื บ้าน : สงั ขท์ อง ครผู ู้สอน นางสาวจริ าพร กุลให้ วนั ที่สอน.................................................................................. 1. สาระสาคญั สังข์ทองเป็นนิทานพื้นบ้านท่ีได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เพราะเนื้อเร่ืองสนุกสนาน น่าติดตาม และใหข้ อ้ คดิ ที่สะท้อนค่านิยมของคนไทยเรอ่ื ง ความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณและแสดงให้เหน็ วา่ คณุ คา่ ความ ดีของคนอยูท่ ่จี ติ ใจไม่ใช่รปู กายภายนอก 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความร้แู ละความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปญั หาในการ ดาเนินชีวติ และมนี ิสัยรักการอ่าน 3. ตัวช้วี ดั ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จับใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่าน ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทในการอ่าน 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) สรปุ เนือ้ เรอ่ื งสงั ขท์ อง 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) - อา่ นนิทานพนื้ บ้านเร่อื งสงั ข์ทอง - แสดงละครเร่อื งสังข์ทอง 3. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) เหน็ คณุ คา่ ของนิทานพืน้ บา้ นของไทยทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรมไทย 5. สาระการเรยี นรู้ นทิ านพ้ืนบา้ นเร่ือง สงั ข์ทอง 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรียน ครูถามตอบนกั เรยี น แลว้ รว่ มกันสนทนาดังนี้ - นิทาน หมายถึงอะไร - นักเรียนเคยฟังนิทานเร่อื งอะไรบ้าน

ขัน้ พฒั นาผู้เรยี น ๑. ครูเขียนหรือตดิ บทกลอนบนกระดานใหน้ ักเรยี นอา่ นพร้อมกนั แล้วถามนกั เรยี นว่าเก่ยี วกบั นิทานพ้ืนบ้านเร่ืองใดของคนไทย ดังนี้ นางเห็นรูปสุวรรณอยชู่ ัน้ ใน รปู เงาะสวมไว้ให้คนหลง ใครใครไมเ่ หน็ รปู ทรง พระเปน็ ทองทงั้ องค์อร่ามตา ๒. นกั เรียนศึกษานิทานพน้ื บ้านเรื่อง สังขท์ อง แลว้ ใหน้ ักเรียนร่วมกันสนทนาในประเดน็ ต่อไปน้ี - นักเรียนเคยทราบเรื่องราวนิทานพน้ื บ้านเร่ือง สงั ข์ทอง จากแหลง่ ใดบา้ ง - ในแตล่ ะภาคของไทยมีการนานทิ านพนื้ บา้ นเรอื่ ง สังข์ทอง มาแตง่ เป็นลายลักษณ์อักษรไว้ อย่างไร ๓. ครูอธบิ ายสรปุ เพิม่ เตมิ และใหน้ กั เรียนบันทึกสาระสาคัญ ๔. ครูแบ่งนกั เรยี นออกเป็น ๙ กลุ่ม อ่านเร่ืองย่อของนิทานพ้นื บ้านเรอ่ื ง สังข์ทอง ท่ีครแู จกให้ กลมุ่ ละ ๑ ตอน (เนื้อเร่ืองย่อแต่ละตอนอยู่ในความรเู้ พิ่มเติมสาหรบั คร)ู ให้นกั เรียนช่วยกนั ดัดแปลงเป็นบท ละครงา่ ย ๆ แลว้ ฝกึ ซ้อมเพื่อออกมาแสดงละครใหเ้ พื่อนดูหน้าช้นั เรยี น ดังนี้ กลมุ่ ท่ี ๑ ตอนกาเนิดพระสงั ข์ กลุ่มท่ี ๒ ตอนถว่ งพระสังข์ กลมุ่ ที่ ๓ ตอนนางพันธุรัตเลี้ยงพระสงั ข์ กลุ่มท่ี ๔ ตอนพระสังข์หนีนางพนั ธุรัต กลุม่ ที่ ๕ ตอนทา้ วสามนต์ให้นางทั้งเจ็ดเลอื กคู่ กล่มุ ที่ ๖ ตอนพระสงั ข์ไดน้ างรจนา กลมุ่ ที่ ๗ ตอนทา้ วสามนต์ให้ลกู เขยหาปลาหาเนอื้ กลมุ่ ที่ ๘ ตอนพระสังข์ตีคลี กลุ่มที่ ๙ ตอนท้าวยศวิมลตามพระสังข์ การแสดงละครของนักเรียนมีจุดประสงคเ์ พื่อความสนุกสนานเพลิดเพลนิ และการทาความเข้าใจ เนอ้ื เรื่อง ๕. นกั เรยี นออกมาแสดงละครหน้าช้นั เรยี นทีละกลุ่ม เพอ่ื น ๆ ชว่ ยกันพจิ ารณาการถ่ายทอดเน้ือ เรอื่ งว่าถูกตอ้ งตามเร่ืองเดิมหรอื ไม่ เม่อื ชมการแสดงของทุกกล่มุ จบแล้วร่วมกันสรปุ เน้ือเร่ืองทง้ั หมดและขอ้ คดิ ทีไ่ ดร้ ับ ข้ันสรปุ นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้ สังข์ทองเปน็ นิทานพน้ื บ้านที่ได้รบั ความนิยมอย่าง แพรห่ ลาย เพราะเน้ือเรอื่ งสนุกสนานนา่ ติดตาม และให้ขอ้ คดิ ท่ีสะท้อนคา่ นิยมของคนไทยเรอ่ื ง ความกตัญญู กตเวทตี ่อผู้มพี ระคุณ และแสดงให้เหน็ ว่าคุณค่าความดีของคนอยู่ที่จติ ใจไม่ใชร่ ูปกายภายนอก 7. สือ่ การเรียนรู้ ๑. บทกลอน ๒. เนอื้ เรื่องย่อสงั ข์ทอง

สังข์ทอง ตอนท่ี ๑ กาเนดิ พระสังข์ ท้าวยศวิมลเป็นกษัตริย์ไม่มีโอรสสืบราชสมบัติ พระองค์ร้อนพระทัย จึงให้พระมเหสีและพระสนม บวงสรวงเทวดาเพื่อขอโอรส แล้วให้สวดมนต์รักษาศีล หากผู้ใดมีโอรสจะให้สืบราชสมบัติ พระองค์ทาพิธี บวงสรวง ทรงกล่าวว่า พระองค์ปกครองบ้านเมืองด้วยความเป็นธรรมตลอดมา แต่ไม่มีโอรสไว้สืบราชสมบัติ ขอทา่ นเทวาผู้รกั ษาเมืองไดโ้ ปรดเมตตาให้ข้าพระองค์มโี อรสสมใจหมายดว้ ยเทอญ เทพบุตรองค์หนึ่งในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์จึงลงไปจุติในครรภ์ของพระมเหสี ในวันที่พระมเหสีจะทรงพระ ครรภ์นั้น พระองค์ฝันเห็นดวงอาทิตย์และดาวตก มือขวาจับดวงอาทิตย์มือซ้ายจับดาวตก แต่ดวงอาทิตย์ หายไปและจบั ได้อกี คร้ัง จงึ ใหโ้ หรทานายฝนั โหรทานายว่า พระมเหสีทรงพระครรภ์จะได้พระโอรสมีบุญญาธิการมาก แตจ่ ะพลัดพรากจากวงั ไปแล้ว กลับมาในภายหลงั สว่ นพระสนมจะตงั้ ครรภไ์ ด้พระธดิ า นางจันทาพระสนมกลัวว่าลูกของพระมเหสีจะได้ครองบ้านเมือง จึงติดสินบนโหรให้โหรทานายใหม่ ต่อมานางจันท์เทวีพระมเหสีคลอดลูกออกมาเป็นหอยสังข์ สร้างความอับอายให้ท้าวยศวิมลมาก โหรเห็นเป็น โอกาสเหมาะจึงไดก้ ราบทูลว่า หอยสงั ขจ์ ะนาความเดือดรอ้ นมาใหบ้ า้ นเมือง ใหข้ ับไล่ออกจากเมอื งไป พระองค์ให้นางจนั ทาช่วยจัดเตรียมข้าวของเคร่ืองใช้ให้นางจันท์เทวีอย่าให้ขาดตกบกพร่อง แล้วส่งนาง ออกนอกเมือง นางจันทาตดิ สินบนแกเ่ สนาทหารท่เี ดินทางไปส่งนางออกนอกเมืองใหฆ้ ่านางจนั ท์เทวี นางจันท์เทวีอุ้มลูกน้อยหอยสังข์ออกจากเมืองไปกับเสนา โดยทางเรือเป็นเวลา ๑๕ วันก็ถึงป่าใหญ่ เสนาทหารท้ิงนางไว้ที่ป่าใหญ่ ส่วนเสนาที่รับสินบนให้ฆ่านางจันท์เทวีก็ทาไม่ได้ เพราะมีคนอยู่มาก นางจันท์ เทวีจึงรอดชีวติ พระนางเดินอยใู่ นป่าจนกระทั่งพบกระท่อมของตายาย จึงเล่าเร่ืองใหฟ้ ัง ตายายได้ฟังกส็ งสาร และชวน ให้มาอย่ดู ้วยกัน นางอยู่กับตายายมาได้ ๕ ปี ด้วยความยากลาบาก ต้องหาผักหาปลา เข้าป่าเกบ็ ทุกส่งิ ท่ีขายได้ ไปขาย เป็นกิจวตั รทกุ วนั เทพารกั ษส์ งสารนางจันท์เทวีจึงแปลงกายเปน็ ไก่ปา่ มาคุ้ยเข่ยี ข้าวที่นางตากไว้ พร้อมกบั ตีปีกส่งเสียงขัน พระสังข์ทีซ่ อ่ นตัวอยู่ในหอยสังข์เหน็ เขา้ ก็นึกสงสารแม่ จึงออกมาจากหอยสงั ข์ไล่ตีไก่ แลว้ เกบ็ ขา้ วที่หกให้เข้าท่ี เขา้ ทาง และหุงขา้ วทากับขา้ วไวใ้ หแ้ ม่ วันหนงึ่ นางจันท์เทวีแอบเห็นลูกน้อยหอยสงั ข์ออกมาจากหอยสังข์ก็ดีใจ ค่อย ๆ แอบเข้าไปในกระท่อม คว้าไม้ทบุ หอยสงั ข์แตกละเอยี ด พระสงั ขไ์ ด้ยนิ กต็ กใจ เข้ากอดเทา้ แมเ่ สียดายหอยสังข์ นางจันท์เทวปี ลอบลูกไม่ให้เสยี ดายหอยสงั ข์ เพราะหอยสังข์ทาให้แมก่ ับลกู ต้องลาบาก นางเลา่ เรอ่ื งที่ เกดิ ขึน้ ใหต้ ากบั ยายฟงั ตากับยายเห็นหลานชายหน้าตาน่ารักน่าเอ็นดจู ึงพากนั กอดจบู หลานดว้ ยความดีใจ

ตอนที่ ๒ ถ่วงพระสงั ข์ ทา้ วยศวิมลเศร้าโศกเสียพระทัย ครา่ ครวญถึงแต่พระมเหสี ด้านนางจันทาต้องการเป็นมเหสี ก็ยังไม่สม ปรารถนา จงึ สงั่ สอนลูกสาวให้ไปพดู กบั ท้าวยศวิมลว่าใหย้ กตาแหน่งมเหสีให้แม่ท้าวยศวิมลโกรธนางจันทามาก จงึ ควา้ ดาบไลฟ่ ันนางจันทา วง่ิ หนีท้งั แมล่ กู และสาวใช้ นางจนั ทาอบั อายจงึ ให้สาวใช้ไปหาหมอเสน่ห์ คอื ยายเฒา่ สเุ มธา ยายเฒา่ มาหานางจันทา แล้วทาพิธี ไสยศาสตร์ให้นางจันทาใช้นา้ มันพรายและมนต์เสนห่ ์กับทา้ วยศวมิ ล เมือ่ ทา้ วยศวิมลโดนมนตรเ์ สน่หก์ ห็ ลงนางจนั ทาและลืมนางจนั ท์เทวีจนหมดสิ้น ยกตาแหนง่ มเหสเี อกให้ นางจันทาและใหอ้ านาจทุกอย่างตามท่นี างตอ้ งการ นางจันทาใช้มนตร์เป่าให้ท้าวยศวิมลหลงเช่ือว่า ลูกชายของนางจันท์เทวีจะกลายเป็นเส้ียนหนาม แผ่นดินในอนาคต พระองค์จึงส่ังให้เสนาไปฆ่าลูกของนางจันท์เทวี พวกเสนาต่างพากันตกใจ แต่ก็ต้องกระทา ตามคารบั ส่งั จึงพากันมาทบี่ ้านของตายาย เหน็ นางจนั ท์เทวจี ึงรอให้นางเข้าปา่ ไปก่อน ฝ่ายนางจันท์เทวีเกิดสังหรณ์ใจก่อนเข้าป่าจึงส่ังเสียลูกอยู่นานว่า ไม่ให้ออกไปร้ัวนอกบ้าน เดี๋ยวสัตว์ ร้ายจะทาร้าย หากออกไปถกู แดดถูกลมเด๋ียวจะไม่สบาย เม่ือนางออกไปแล้ว ฝ่ายเสนาก็เรียกพระสงั ข์โดยเอา ของเล่นมาล่อให้พระสังข์ออกไป เมื่อพระสังข์หลงกล จึงจับตัวพระสังข์ไปวัดท้ายเมือง ตากับยายช่วยเหลือ ไมไ่ ด้ จึงรอ้ งไหด้ ว้ ยความสงสาร พระสังข์รอ้ งไห้เรียกหาแม่ ถึงแมเ้ สนาจะสงสารแต่ก็ต้องทาตามคาสง่ั ของท้าวยศวิมลเสนาหลอกให้พระ สังข์นอนจึงจะพาไปหาแม่ พอพระสังข์หลับก็ทุบตีด้วยท่อนจันทน์ แต่ไม่สาเร็จ เพราะเทวดาท่ีรักษาป่าช่วย ปอ้ งกันไว้ เสนาจึงใช้หอกใช้ดาบ แต่ท้ังหอกและดาบก็บิ่นจากน้ันไสช้างตกมันให้ทารา้ ยพระสังข์ แต่ช้างตัวน้ัน กลบั เอางาปักดนิ ไมย่ อมแทงพระสังขเ์ สนาเห็นบุญญาธกิ ารเชน่ นนั้ จึงพาพระสงั ข์เขา้ เฝ้าท้าวยศวมิ ล ฝา่ ยนางจนั ทเ์ ทวีเมื่อกบั มาถงึ บา้ นไม่พบลูก พอทราบเรื่องจากตายายกร็ ้องไห้จนสลบไป ท้าวยศวิมลเม่ือพบพระสังข์ก็พินิจดูลักษณะท่าทาง หน้าตา และเม่ือได้ทรงไต่ถามถึงแม่ พระองค์ก็ แน่ใจว่าพระสังข์น้ันเป็นพระโอรสของพระองค์ พระนางจันทาเห็นไม่ได้การจึงเป่ามนตร์ทูลให้เอาพระสังข์ไป ถว่ งนา้ ทา้ วยศวิมลตอ้ งมนตรก์ ็หลงเชอ่ื ส่ังใหเ้ สนาเอาพระสงั ข์ไปถ่วงนา้ ทนั ที นางจันท์เทวีทราบข่าวก็มาท่ีท่าน้า พอพระสังข์เห็นแม่กด็ ีใจร้องให้แม่ช่วย นางขอประทานชีวิตลกู ชาย ท้าวยศวิมลเห็นแล้วก็สงสารจึงสั่งให้พาตัวพระสังข์ข้ึนมา แต่นางจันทารีบขัด บอกให้เสนารีบจัดการโยนพระ สังข์ลงน้า เหล่าเสนาจึงรบี จับพระสังข์โยนลงนา้ ทันที ท้าวยศวิมลกับนางจันท์เทวีตกใจเป็นลมท้ังคู่ ประชาชน ที่มาดูเหตุการณ์สงสารนางจันท์เทวีท่ีสลบ จึงตักน้ามาประพรมให้ฟื้น พอฟื้นข้ึนมาก็ร้องไห้ร่าหาลูกน้อย แล้ว นางกเ็ ดนิ ซมซานกลบั บา้ นตายาย ขณะน้ันพระสังขจ์ มลงสู่แม่น้าตรงปล่องท่ีอยู่ของพระยานาค แต่ไม่เป็นอันตรายได้แต่ร้องไห้คร่าครวญ คิดถึงพระมารดาจนสลบไป

ตอนท่ี ๓ นางพันธุรัตเลย้ี งพระสงั ข์ ท้าวภุชงค์พระยานาคผู้ทรงศีล ช่วยเหลือพระสังข์ไว้ เพราะสงสารและรู้ว่าเป็นผู้มีบุญญาธิการ จึงอุ้ม พระสงั ข์ไปเมืองบาดาล นางนาคผู้เป็นภรรยาทาให้พระสังขฟ์ ื้น เมื่อพระสงั ข์ฟื้นกเ็ ล่าเร่ืองทงั้ หมดให้ฟัง พระยา นาคและนางนาคเอน็ ดแู ละสงสาร จึงเลีย้ งไวเ้ หมือนบุตร ต่อมาพระยานาคคิดถึงนางยักษ์พันธุรัต มเหสีของพระยายักษ์สหายของพระองค์ซึ่งเป็นม่าย จึงคิดจะ ส่งพระสังข์ไปให้เลี้ยงเป็นลูก โดยบอกกับพระสังข์ว่า นาคกับมนุษย์อยู่ด้วยกันนานไปไม่ได้ จึงจาเป็นต้องให้ พระสงั ข์ไปอยู่บนพ้นื ดนิ พระองค์เนรมติ เรือสาเภาทองที่พรั่งพร้อมด้วยอาหารและเครื่องใช้ทุกอย่างเพ่ือส่งพระสังข์ไปเมืองยักษ์ แลว้ เขียนจดหมายลงบนแผ่นทองถึงนางพันธุรัตให้พระสังขถ์ ือไป จากนน้ั ตั้งจิตอธษิ ฐานไม่ให้ยักษ์ตัวใดเขา้ ใกล้ สาเภาทองได้ พระสังข์เคว้งคว้างอยู่กลางทะเล ตรงไปยังเมืองยักษ์ พวกยักษ์เห็นเข้าก็จะจับพระสังข์กิน แต่จับไม่ได้ พระสังข์เห็นยักษ์ก็ตกใจกลัว จึงโยนแผ่นทองท่เี ป็นหนังสือส่งถึงนางพันธุรัตให้พวกยักษ์เอาสาส์นน้ันไปให้นาง พนั ธุรตั นางพันธุรตั รบั สาส์นมาอ่านกด็ ีใจ สง่ั ให้ยักษ์ทุกตนแปลงร่างเป็นคนแล้วพระนางก็ไปรับพระสังข์บนเรือ สาเภาทอง จากนั้นส่ังให้เสนาอามาตย์จัดงานเลี้ยงต้อนรับพระสังข์ มีการแสดงหุ่น ละคร โขน หนัง ดนตรี ระบา มวยปลา้ งว้ิ เสภา ชาตรี มอญรา บา้ นเมืองกต็ กแตง่ อยา่ งสวยงาม พอได้ฤกษ์นางพันธุรัตก็ทาพิธีบายศรีสู่ขวัญให้พระสังข์ แล้วบอกว่าจะยกเมืองให้นางเล้ียงดูพระสังข์ อย่างดีจนพระสังข์มีอายุ ๑๕ ปี วันหน่ึงนางพันธุรัตต้องการเข้าป่าจับสัตว์กินเป็นอาหาร ๗ วัน จึงส่ังพระสังข์ ไมใ่ ห้ไปเลน่ แถวบ่อนา้ ท้งั ทางซ้ายและขวา และหอทางด้านหัวนอน พระสังข์เกิดความอยากรู้อยากเห็นจึงแอบสาวใช้ไปที่บ่อน้า พอไปที่ห้องครัวก็เห็นโครงกระดูกมนุษย์ และสตั ว์มากมายกต็ กใจ จงึ รู้ว่าพระมารดาเปน็ ยกั ษ์ พอไปท่ีบ่อน้าด้านซ้ายเอานว้ิ จมุ่ ลงนิ้วก็กลายเปน็ เงิน พอไป ท่ีบ่อน้าด้านขวาเอาน้ิวจุ่มลงก็กลายเป็นทอง พระสังข์พยายามเช็ดแต่ก็ไม่ออกจึงเอาผ้าพันไว้ เพราะเกรงว่า นางพันธุรัตจะดุ จากน้นั ไปที่หอใหญ่เห็นรูปเงาะวางอยู่ก็ลองสวมดู ใส่เกือกแก้วประดับเพชร คว้าไมเ้ ท้าทองมา ถือ ปรากฏว่าเหาะได้ พระสังข์รีบถอดไว้ท่ีเก่า พลางคิดว่าวิธีน้ีเป็นวิธีท่ีจะทาให้หนีนางพันธุรัตได้ เพราะแม่ ยกั ษ์อาจจะจับกนิ พอครบ ๗ วัน นางพนั ธุรัตกลบั เข้าเมืองเหน็ พระสงั ข์พนั ผา้ ทีน่ ้วิ จึงไตถ่ าม พระสังข์ไม่กล้าบอกความจริง จงึ บอกไปวา่ ถูกมีดบาดเพราะผ่าไม้ นางพันธุรัตโกรธจะทาโทษพเ่ี ลีย้ งแตพ่ ระสงั ข์ขอร้องไมใ่ ห้ลงโทษ

ตอนท่ี ๔ พระสงั ข์หนีนางพันธรุ ตั นางพนั ธุรตั เล้ียงดูพระสังข์ด้วยความรักจนเตบิ ใหญ่ วนั หนง่ึ นางรูส้ กึ ไม่สบายใจอยากเขา้ ป่า จึงบอก พระสังขว์ า่ จะไปป่าตอนเยน็ จึงกลบั พระสังข์คิดถึงแม่ผู้ให้กาเนิดจึงไปที่บ่อทองชุบองค์ในบ่อทองจึงเป็นทองทั้งองค์ แล้วลักรูปเงาะ ไม้เท้า และ เกือกแก้ว เหาะหนีจากเมืองยักษ์ โดยคิดว่าจะมาตอบแทนพระคุณของนางพันธรุ ัตในภายหลัง พระสังข์เหาะมาถึงเขา หลวงซึง่ เป็นภเู ขาท่สี งู กว่าเขาอ่ืน ๆ ในป่า กน็ ่งั พกั ด้วยความเหนื่อยอ่อน เม่อื นางพันธุรตั กลับมาถึงไม่พบพระสงั ข์กเ็ สยี ใจ จึงส่งั ใหพ้ วกยักษ์ออกตามตวั พระสังขใ์ หไ้ ด้ พระสงั ข์ได้ ยินเสียงดังสน่ันและแสงอาทิตย์มืดไปหมด ก็แน่ใจว่าพวกยักษ์กาลังตามหาตน จึงถอดรูปเงาะออกแล้วขึ้นนั่ง บนต้นไทรทาเปน็ เทวดาหลอกพวกยกั ษใ์ ห้หลงกล พระสังข์รู้ว่าถึงหนีก็หนีไม่รอด จึงอธิษฐานขอให้คุณพระมารดาช่วยปกป้องให้ปลอดภัย ถ้านางพันธุ รัตมาก็อย่าให้ขึ้นมาบนเขาได้ เม่ือนางพันธุรัตมาถึงเชิงเขาลูกนั้นก็ร้องเรียกพระสังข์ให้ลงมา แต่พระสังข์ไม่ ยอมลง ทาให้นางพนั ธรุ ัตเสยี ใจมาก นางจงึ ไต่เขาจะข้ึนไปหาแต่ดว้ ย คาอธษิ ฐานของพระสังข์ทาให้นางตกลงมา นางพันธุรัตคร่าครวญร้องไห้ฟูมฟายบอกว่าจะสอนมนตร์เรียกสัตว์ ต่าง ๆ ในปา่ ให้เรียกวา่ มหาจินดามนตร์ พระสังข์เกรงว่าจะเป็นอุบาย จึงให้นางเขียนมนตร์ไว้บนพื้นดิน นางเขียนไปร้องเรียกพระสังข์ไป แต่ อ้อนวอนเท่าใดพระสังขก์ ็ไม่ลงมา ขณะท่ีเขยี นมนตรน์ างก็รอ้ งไห้จนอกแตกตาย พระสังขต์ กใจรบี ลงมาจากเขา กราบเทา้ นางยักษ์ ร้องไหด้ ว้ ยความอาลยั พระสังข์ส่ังให้พลยักษ์นาศพกลับเมือง แล้วเตรียมการไว้ให้พร้อม โดยรอพระสังข์กลับมา จึงค่อยเผา พอพวกยักษ์นาศพนางพันธุรัตกลบั เมืองแล้วพระสังข์ก็เรยี นคาถาที่นางพันธุรัตเขียนไว้จนจาได้ แล้วข้ึนไปสวม รปู เงาะ เกือกแกว้ ถอื ไมเ้ ท้าเหาะไป พระสังข์เหาะมาถึงเมืองสามลไม่แน่ใจว่าเป็นเมืองของพระบิดาหรือไม่ จึงลงท่ีปลายทุ่งนา พวกเด็ก เลี้ยงวัวเลี้ยงควายพบเข้าก็หยอกล้อเล่นกันอย่างสนุกสนาน พอถึงเวลากินก็แบ่งข้าวกันกินพอตกเย็นเด็กต้อน ววั ควายกลับ ชวนเจ้าเงาะกลับบ้านดว้ ยแต่เจ้าเงาะไมย่ อมไป เดก็ ๆ จึงใหเ้ จ้าเงาะนอนเฝ้านา

ตอนที่ ๕ ท้าวสามลให้นางท้งั เจด็ เลือกคู่ ท้าวสามลเป็นผู้ปกครองเมืองสามล มีพระมเหสีช่ือนางมณฑา มีพระธิดา ๗ องค์องค์สุดท้ายชื่อนาง รจนา งามกว่าทุกพระองค์ ท้าวสามลกลัวเมืองจะตกเป็นของคนอ่ืนเพราะมีแต่พระธิดา จึงคิดจะหาคู่ครองให้ พระธดิ าทั้ง ๗ องค์ ถา้ ลูกเขยคนใดมีสติปัญญา เก่งกลา้ สามารถกจ็ ะให้ครองเมอื งสามลต่อไป ท้าวสามลจึงสั่งเสนาบดีผู้ใหญ่ให้ประกาศไปยังเมืองขึ้นทั้ง ๑๐๑ เมือง ว่าผู้ใดมีพระโอรส รูปงาม อายุ ไม่เกิน ๓๐ ปี และยังไม่แต่งงาน ให้ส่งมาจะให้พระธิดาท้ัง ๗ เลือกคู่ ถ้าพระธิดาพอใจจะจัดการอภิเษกสมรส ใหท้ นั ที โดยให้มาพร้อมกนั ทีเ่ มืองสามลภายใน ๑๕ วนั พวกเมอื งขน้ึ ทั้งหลายต่างดีใจรีบแจง้ พระโอรสให้เร่งไปเมืองสามล ทุกเมืองต่างเตรียมเครื่องบรรณาการ ไปประทานมากมาย บรรดากษัตรยิ ร์ ีบเดินทางมาเมอื งสามล รุ่งเช้าท้าวสามลให้กษัตริย์ทุกองค์ไปอยู่ท่ีท้องพระโรงใหญ่ เพื่อให้ธิดาท้ัง ๗ องค์ ทรงเลือกคู่ เหล่า กษัตรยิ ต์ า่ งแต่งองค์ทรงเครื่องอวดกัน แยง่ กันขนึ้ หน้าไม่มีใครฟงั ใคร พระธิดาทั้ง ๗ องค์ แต่งตัวเสร็จ ก็ออกไปเฝ้าท้าวสามล ท้าวสามลตรัสให้ออกไปเสี่ยงมาลัยเลือกคู่ พระธิดาทั้งเจด็ เขินอายไม่กล้าเดินออกไป แตใ่ นท่ีสดุ พระธิดาทงั้ ๖ องค์ ก็เลือกคู่ครองไดเ้ หมาะสม ยกเว้นนาง รจนาท่ีไมถ่ กู ใจชายคนใดเลย จึงกราบทูลพระบิดาว่าขออยู่รับใชพ้ ระบิดาพระมารดาตลอดชีวิต ท้าวสามลกลุ้มใจจึงปรึกษาพระมเหสี นางจึงแนะนาว่าให้นางรจนาเลือกคู่อีกคร้ังโดยป่าวร้องให้ ชาวเมืองสามลมาให้นางเลือก ชาวบ้านต่างพากันมาให้นางรจนาเลือก แต่นางรจนา ก็ยังไม่พบผู้ที่ถูกใจ จึง กราบทูลท้าวสามลขออยูร่ บั ใช้ต่อไป และถ้าภายหน้าเกดิ ทาชวั่ กข็ อให้ฆ่าเสยี อย่าไว้ชวี ิต

ตอนที่ ๖ พระสังขไ์ ด้นางรจนา ทา้ วสามลกลมุ้ พระทัยที่นางรจนายงั เลือกคู่ไม่ได้ จงึ ประชดโดยให้เสนาพาเจ้าเงาะมาให้นางเลอื กคู่ เสนาออกไปจบั เจ้าเงาะแตก่ ็จับไมไ่ ด้ พวกเดก็ เล้ียงววั ควายแนะให้เอาดอกไม้แดงมาล่อ เสนาทาตามจึง ล่อเจ้าเงาะเขา้ ไปในวงั ได้ เมอ่ื ท้าวสามลเหน็ เจา้ เงาะก็รังเกยี จ จึงตรสั ประชดนางรจนาให้ออกมาดูเจ้าเงาะ เจ้าเงาะพอเห็นพระธิดาก็ตกหลุมรัก จึงต้ังจิตอธิษฐานว่าถ้าเป็นเน้ือคู่กันขอให้นางเห็นรูปทองข้างใน นางรจนาท้ิงพวงมาลยั ใหเ้ จ้าเงาะ บรรดาพีเ่ ลี้ยงต่างพากนั ตกใจ ท้าวสามลน้ันถงึ กับเปน็ ลม พอฟนื้ ขึ้นมาก็โกรธ ดา่ วา่ และจะตีนางรจนา แต่นางมณฑาหา้ มไว้ นางรจนาจะทูลความจรงิ ก็เกรงจะไม่มีใครเชอื่ จงึ กราบขอโทษและจะขอชดใช้กรรมใหห้ มด ท้าวสามลจึง รับสั่งให้เจ้าเงาะและนางรจนาไปอยู่กระท่อมปลายนา พวกพ่ีท้ังหกต่างโกรธแค้นท่ีทาให้อับอายจึงด่าว่านาง รจนา จนตัดพตี่ ดั นอ้ งกัน เจ้าเงาะกับนางรจนาช่วยกันทามาหากินอยู่ที่กระท่อมปลายนา เวลากลางคืนเจ้าเงาะถอดรูปเงาะออก เวลากลางวันก็สวมรูปเงาะไว้เพ่ือไม่ให้ใครเห็น นางรจนาเห็นว่ารูปเงาะน้ันทาให้คนอ่ืนดูถูก จึงคิดทาลายโดย หลอกให้พระสังข์หลับ แล้วเอาหัวเงาะมาฟันด้วยมีด เผาไฟแต่ไม่ประสบความสาเร็จ พระสังข์ต่ืนข้ึนมาเห็น นางรจนาเผาหัวเงาะก็โกรธ เข้ายื้อยุดฉุดกระชาก จนพระสังข์แย่งหัวเงาะไปใส่สาเร็จ นางรจนาขอโทษพระ สงั ข์ ตงั้ แต่วนั นนั้ พระสงั ขไ์ มไ่ ว้ใจนางรจนาจึงสวมหัวเงาะตลอดเวลา ตอนท่ี ๗ ท้าวสามลให้ลกู เขยหาปลาหาเนือ้ ท้าวสามลโกรธเจ้าเงาะจึงคิดอุบายจะฆ่าเจ้าเงาะ โดยสั่งเสนาไปบอกบรรดาลูกเขยว่าพรุ่งนี้ให้หาปลา มาคนละร้อยตัว ใครหาได้น้อยจะถูกประหารชีวติ นางรจนาร้องไหค้ รา่ ครวญเกรงวา่ เจ้าเงาะจะหาไมไ่ ด้ แต่ เจ้าเงาะไมไ่ ดว้ ิตกกังวล เพราะตนมมี นตรเ์ รียกเนื้อเรยี กปลา พอรงุ่ เช้าเจ้าเงาะเหาะไปที่แมน่ า้ ถอดรูปเงาะออก แลว้ นัง่ ทีใ่ ตต้ ้นไทรท่องมนตร์มหาจินดาจนฝูงปลามา รวมกันมากมาย ฝ่ายหกเขยหาปลาไม่ได้สักตัว พบพระสังข์ทองนั่งอยู่ก็นึกว่ารุกขเทวดาจึงเข้าไปกราบไหว้ และเล่าเรอื่ งทา้ วสามลให้หาปลา ขอให้เทวดาเห็นใจ พระสังข์ได้ทีจึงขอแลกปลากับปลายจมูกหกเขย หกเขย จาต้องยอม พระสังข์ตัดปลายจมูกทุกคน และแบ่งปลาให้คนละ ๒ ตัว เมื่อทุกคนกลับ พระสังข์ก็สวมรูปเงาะ ตัดหวายมารอ้ ยปลา ห้ิวปลาเหาะกลับบา้ น ท้าสามลโกรธมากท่ีหกเขยได้ปลามาคนละ ๒ ตัวเท่านั้น และจมูกยังแหว่งด้วย ส่วนเจ้าเงาะได้ปลามา มากมาย หกเขยท้ังอายท้ังแค้นเจ้าเงาะ ส่วนนางรจนากับพ่ีสาวก็ทะเลาะกัน จนนางมณฑาต้องบอกให้นาง รจนาพาเจ้าเงาะกลบั ไป ท้าวสามลแค้นใจท่เี จา้ เงาะหาปลามาได้จึงออกอบุ ายใหห้ าเน้ือทรายสาหรับงานเล้ียงวันพร่งุ นี้ ถา้ ใครหา ไมไ่ ด้จะฆา่ เสยี วันรุ่งข้ึนเจ้าเงาะเหาะเข้าไปในป่า ถอดรูปเงาะซ่อนไว้ แล้วร่ายมนตร์มหาจินดา ฝูงสัตว์ต่าง ๆ มาอยู่ ตรงหน้ามากมาย ทางด้านหกเขยเตรียมอุปกรณ์มาจับสัตว์มากมาย แต่ก็จับไม่ได้เลย พอเห็นพระสังข์ก็นึกว่า เป็นเทวดา จึงขอความช่วยเหลือให้แบ่งเน้ือให้บ้าง พระสังข์จึงขอแลกใบหูกับเน้ือทราย หกเขยยอมให้ตัดใบหู พระสังขจ์ งึ แบง่ เนื้อให้คนละตวั พระสังขส์ วมรูปเงาะแลว้ มดั เน้อื ๒๐ ตวั เหาะกลบั ไป ทา้ วสามลเห็นเจา้ เงาะหาบเนอื้ มา ๒๐ ตัว ก็ประหลาดใจและหมั่นไส้ ยิ่งเห็นหกเขยไดเ้ นอื้ มาคนละตัว และยังหูแหว่งกลับมาก็ยิ่งแค้น เจ้าเงาะเห็นท้าวสามลไม่ลงโทษหกเขยตามท่ีพูดก็แกล้งบอกใบ้ให้ฆ่าเสีย โดย ทาท่ากลอกตา เง้ือง่าเหมือนฟาดฟนั แลว้ ชีไ้ ปทเ่ี ขยใหญ่

เจ้าเงาะทะเลาะกับหกเขย และแกล้งท้าวสามล จนท้าวสามลทั้งโกรธและกลัว จากนั้นเจ้าเงาะก็เข้าไป ลานางมณฑา กลบั ไปกระทอ่ มเลา่ เร่ืองตา่ ง ๆ ให้นางรจนาฟังอย่างสนกุ สนาน ตอนท่ี ๘ พระสงั ข์ตีคลี พระอินทร์ร้อนใจที่พระสังข์ไม่ยอมถอดรูปเงาะ จึงคิดอุบายโดยยกพลไปท้าท้าวสามลตีคลี พระอินทร์ สง่ั ให้มาตลุ ีเตรยี มไพร่พล แปลงตนเป็นมนษุ ยไ์ ปล้อมเมืองท้าวสามล ชาวเมืองสามลเห็นกองทัพมาล้อมเมือง ต่างพากันตื่นตระหนกตกใจ ฝ่ายท้าวสามลก็ตกพระทัยนึกว่า เจ้าเงาะบุกวัง แต่ฝ่ายเสนาบอกว่ามีกองทัพมาล้อมเมืองก็ยิ่งตกพระทัยมากข้ึน ถึงแม้ จะกลัวแต่ก็ส่ังให้เสนา ทหารตระเตรียมอาวธุ รกั ษาประตเู มืองไว้ ฝ่ายพระอินทร์เมื่อล้อมเมืองได้ ก็ส่ังให้พระวิษณุนาสาส์นไปบอกท้าวสามลให้มาแข่งตีคลี ถ้าแพ้จะยึด เมอื งทนั ที ทา้ วสามลท้ังกลัวทัง้ ตกพระทัย แตพ่ อนึกถึงหกเขยก็คิดว่าเขยทงั้ หกน่าจะสไู้ ด้ จึงรบั คาท้า ท้าวสามลบอกให้หกเขยเตรียมตัวออกตีคลี หกเขยกลวั แต่ก็ต้องรับคาสั่งเตรียมแตง่ องค์ทรงเคร่อื ง แล้ว เสด็จขน้ึ ข่ีมา้ หกเขยไม่เคยตีคลีมาก่อน จึงตีผิดตีถูก ข่ีม้ากันชลุ มุน สุดท้ายก็ต้อง ยอมแพ้ ท้าวสามลอับอาย จึง ด่าว่าลูกเขยและลูกสาวของตน พระอินทร์ข่ีม้ามาหาท้าวสามลบอกว่าให้ลูกเขยคนเล็กออกมาตีคลีดูบ้าง ท้าว สามลไม่ไว้ใจเจ้าเงาะ แต่นางมณฑาเห็นว่าเจ้าเงาะมีความสามารถในการหาเนอื้ หาปลาได้มาก น่าจะมีฝีมืออยู่ บา้ ง ท้าวสามลจึงตกลงกับพระอินทร์ให้มาสู้กันใหม่ในวันรงุ่ ขึน้ นางมณฑาไปตามเงาะป่าที่กระท่อมปลายนา เล่าเรื่องทุกข์ร้อนให้นางรจนาฟัง และขอให้นางช่วย ขอร้องเจ้าเงาะให้ออกไปตีคลี นางรจนาแกล้งบ่ายเบ่ียงแต่ก็ช่วยขอร้อง เจ้าเงาะจึงตกลงแต่ขอเคร่ืองทรง กษัตริย์จากนางมณฑา ท้าวสามลเลือกเครื่องทรงที่ไม่ดีมากมาให้ แต่เจ้าเงาะไม่รับ ท้าวสามลจึงจัดเครื่องทรง ช้ันดีไปให้ แต่เจ้าเงาะก็ไม่รับอีก เพราะเห็นว่าเก่าเกินไป ถ้าแต่งไปจะ เป็นที่อับอายแก่ข้าศึก พระอินทร์เห็น เหตุการณ์ด้วยญาณทิพย์จึงส่ังให้พระวิษณุจัดเครื่องทรงมาให้เจ้าเงาะ เจ้าเงาะจึงยอมถอดรูป และแต่งองค์ ทรงเคร่ืองนน้ั เมอื่ นางมณฑาเห็นพระสังข์มรี ูปรา่ งสง่างาม ก็รู้ความจริงจึงไปบอกท้าวสามล ท้าวสามล ไม่เชอ่ื จนได้ เห็นกับตา แล้วก็บอกว่าพระสังข์นั้นรูปงามยิ่งนัก และเมื่อรู้ความจริงว่าพระสังข์เป็นโอรสกษัตริย์ก็อดชื่นชม ไมไ่ ด้ พระสังข์ทูลขอม้าดี ๆ สาหรับการตีคลี ท้าวสามลก็ให้เสนาไปจับมาให้ เม่ือพระสังข์ขี่ม้าเข้ามาในเมือง ชาวเมอื งเห็นรูปทองของพระสังข์ต่างก็ช่นื ชม แซ่ซ้องกันเป็นอันมาก พี่ ๆ ของนางรจนาเห็นพระสังข์ก็ตะลึงใน ความสง่างาม จึงทะเลาะกับนางรจนาด้วยความอิจฉา จนนางรจนากับพระสังข์เล่าความจริงเร่ืองตัดจมูกกับหู ลูกเขยท้ังหกเพราะขอแลกเนื้อและปลากับพระสังข์ท้าวสามลกับพระธิดาทั้งหกจึงรู้ความจริง โมโหเขยท้ังหก มาก เมื่อถึงเวลาตีคลีพระสังข์กับพระอินทร์ขี่ม้าออกไปตีคลี ทั้งสองสู้กันสุดความสามารถจนเหาะขึ้นไป กลางอากาศ พระอนิ ทร์แกลง้ ทาเป็นออ่ นให้ แลว้ เอ่ยดัง ๆ วา่ ลูกเขยท้าวสามลคนนมี้ ีฝีมือตีคลีมาก สมควรจะ ใหค้ รองเมืองสบื ไป แล้วกเ็ หาะกลับไปสวรรค์ ท้าวสามลรีบลงไปรบั พระสังข์ จัดข้าวปลาอาหารมาเลี้ยงดูอย่างดี จากน้ันในวันรุ่งขึ้นจึงจัดการอภิเษก ใหป้ กครองบา้ นเมืองและจัดให้มีมหรสพฉลองอย่างใหญโ่ ต

ตอนท่ี ๙ ท้าวยศวิมลตามพระสงั ข์ พระอนิ ทรส์ งสารนางจันท์เทวพี ระมารดาของพระสงั ขท์ ่ีถกู ขับไลอ่ อกจากเมืองไปอยู่กับตายายในป่า จึง คิดชว่ ยเหลอื โดยใหท้ ้าวยศวิมลไปรับนางกลับ พระอนิ ทรม์ าที่วังของทา้ วยศวมิ ล แลว้ ขูท่ า้ วยศวิมลว่าถ้าไม่อยากตายใหไ้ ปรับนางจนั ท์เทวแี ละพระสงั ข์ กลบั วงั ภายในเจ็ดวัน แล้วพระอินทรก์ ็บอกทีอ่ ยขู่ องพระสงั ข์และนางจนั ท์เทวี เช้าวันรุ่งข้ึนท้าวยศวิมลส่ังให้เสนาจัดพลตามหานางจันท์เทวี นางจันทารู้ข่าวก็พูดจาเยาะเย้ยประชด ประชัน จนท้าวยศวมิ ลเหลอื อดควา้ ไมไ้ ลต่ นี างจันทา ทา้ วยศวิมลและเสนาออกไปป่าตามหานางจนั ท์เทวีจนพบ ท้าวยศวิมลเล่าเรื่องพระอินทร์มาบอกให้ฟัง ว่าพระสังข์น้ันยังไม่ตาย ตอนน้ีเป็นลูกเขยท้าวสามลอยู่ นางจันทเ์ ทวีดใี จจึงลาสองตายายไปตามหาลูก ท้าวยศ วิมลให้รางวัลตากับยายมากมาย เพือ่ ตอบแทนทด่ี แู ลนางจันท์เทวี ท้าวยศวิมลและนางจันท์เทวีมาถึงเมืองสามล ก็ปลอมตัวเป็นคนธรรมดา ฝ่ายพระสังข์รู้สึ ก กระสับกระส่ายนอนไม่หลับ ในคืนท่ีนางจันท์เทวีมาถึงเมือง พอรุ่งเช้าจึงจัดพลเสด็จเลียบเมืองทันที ท้าวยศ วมิ ลและนางจันทเ์ ทวีรู้ว่าเจา้ เมืองเสด็จก็ออกมาดู พอเห็นพระสังขก์ ็ไม่แน่ใจว่าเป็นลูก เพราะผิวพระสังข์ที่นาง เห็นนัน้ เปน็ สีทอง นางจันท์เทวีคิดอุบายสมัครเป็นคนรับใช้พวกวิเสทท่ีมีหน้าท่ีทาของเสวยในวัง วันหนึ่งนางทาแกงฟัก แล้วแกะสลักฟักเป็นเร่ืองราวของนางกับลูก ชิ้นที่ ๑ แกะสลักนางคลอดลูกเป็นหอยสังข์ ชิ้นท่ี ๒ อุ้มลูกไปใน ป่าด้วยความยากลาบาก ชิ้นท่ี ๓ อยู่กับตายาย ลูกออกมาช่วยไล่ไก่ ชิ้นที่ ๔ นางทุบหอยสังข์ ช้ินที่ ๕ เสนา จับตัวลูก ชิ้นท่ี ๖ ลูกถูกฆ่าอย่างไรก็ไม่ตาย ช้ินท่ี ๗ ลูกถูกถ่วงน้า เมื่อพระสังข์ตักแกงฟักขึ้นมาก็สงสัยจึง จัดเรียงฟัก เห็นเป็นเร่ืองราวของพระองค์ ก็สั่งให้ไปตามผู้ทาแกงฟัก นางจันท์เทวีรีบข้ึนมาเฝ้าพระสังข์ พระ สังข์จาได้ว่าเป็นพระมารดาจึงวิ่งเข้าไปกอด พระบาทกันแสงจนสลบไปทั้งคู่ ฝ่ายนางรจนาตกใจที่เห็นพระสังข์ สลบไป ก็รอ้ งไห้สลบตามไปอกี คน ท้าวสามลและนางมณฑาหาหมอมาแก้ไขจนฟ้ืน นางจันท์เทวีก็เล่าเรื่องราวแก่ทุกคน จากน้ันจึงพากัน ไปเฝ้าท้าวยศวิมล ท้าวยศวิมลนึกถึงคาพูดของพระอินทร์ จึงให้พระสังข์กลับเมือง โดยมีนางรจนาติดตามไป ดว้ ย ท้าวสามลและนางมณฑาฝากพระธดิ า และให้กลับมาเมอื งสามลบ้าง กษัตริย์ทั้งสี่ออกเดินทางกลับเมือง ท้าวยศวิมลกับพระสังข์ทรงช้าง ส่วนนางจันท์เทวีกับ นางรจนาขึ้น รถทอง มนี างกานัลห้อมล้อมทั้งซา้ ยขวา แซซ่ ้องดว้ ยเสยี งดนตรอี ยา่ งยิง่ ใหญ่

8. การวัดผลประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลักฐาน เครือ่ งมือวดั เกณฑก์ าร ประเมิน สาระสาคัญ แบบประเมนิ กิจกรรม “ฉันอยากเป็นพระสังข์ ร้อยละ ๖๐ สงั ขท์ องเปน็ นทิ านพน้ื บ้านที่ ผา่ นเกณฑ์ แบบประเมินกิจกรรม ไดร้ บั ความนิยมอย่างแพรห่ ลาย เพราะ “ฉันอยากเปน็ พระสังข์ รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ เน้อื เร่ืองสนุกสนาน นา่ ตดิ ตาม และ กจิ กรรม แบบประเมนิ กิจกรรม ใหข้ อ้ คดิ ท่ีสะท้อนค่านิยมของคนไทย “ฉนั อยากเป็นพระสงั ข์” “ฉันอยากเปน็ พระสังข์ รอ้ ยละ ๖๐ เรอ่ื ง ความกตัญญูกตเวทตี ่อผู้มี ผา่ นเกณฑ์ พระคณุ และแสดงใหเ้ ห็นว่าคุณค่า ความดขี องคนอยู่ท่จี ติ ใจไม่ใช่รปู กาย ภายนอก ตวั ชว้ี ดั - ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จบั ใจความสาคญั กจิ กรรม จากเรอ่ื งที่อา่ น “ฉนั อยากเปน็ พระสงั ข์” - ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทในการ อา่ น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของนิทานพ้ืนบา้ นของ กจิ กรรม ไทยท่ีเปน็ มรดกทางวฒั นธรรมไทย “ฉนั อยากเป็นพระสังข์

เกณฑก์ ารประเมินผล (รบู ริกส์) ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรงุ (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรียนสรปุ เนื้อ สรปุ ความร้แู ละ สรุปความรแู้ ละข้อคิด สรุปความรแู้ ละ สรปุ ความร้แู ละข้อคิด เรื่องสังข์ทอง (K) ข้อคิดจากเร่ืองได้ จากเรอ่ื งไดถ้ ูกต้อง ข้อคิดจากเรื่องได้ จากเรอื่ งไดถ้ ูกต้อง แต่ ถกู ต้อง ชดั เจน หลาย ชดั เจน หลายแง่มมุ ถูกต้อง แต่สรุปเพยี ง สรุปเพียง ๑ ประเด็น ไม่ แง่มุม และสามารถ และสามารถเสนอ ๑ ประเด็น และเสนอ สามารถเช่อื มโยงกบั เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใชใ้ น ชวี ติ จริงได้ ตอ้ งมีผู้ นาไปใชใ้ นชีวิตจริงได้ ในชวี ิตจริงได้ ชีวติ จริงไดส้ มั พนั ธ์กัน แนะนาจงึ จะเขา้ ใจ ดีและสรา้ งสรรค์ 2. นกั เรียนอ่าน แสดงบทบาท แสดงบทบาท แสดงบทบาท แสดงบทบาทได้ไม่ นทิ านพ้ืนบา้ นเรื่อง เหมาะสม เสยี งดังฟงั เหมาะสม เสยี งดงั ฟงั เหมาะสม เสียงเบา เหมาะสม เสียงเบา สงั ข์ทองและแสดง ชดั มลี ลี าประกอบดี ชัด ลลี าประกอบดี ลลี าประกอบ ไมม่ ลี ีลาประกอบ ละครเร่อื งสังข์ทอง มาก เน้ือหาสาระ มเี นือ้ หาสาระถูกต้อง คอ่ นข้างนอ้ ย เนื้อหา เนอ้ื หาสาระถกู ต้อง (P) ถูกต้องครบถว้ น มี เปน็ สว่ นมาก มกี ารนา สาระถกู ต้องเป็นส่วน เปน็ สว่ นนอ้ ย การนาอุปกรณ์มา อุปกรณ์มาประกอบ นอ้ ย มีการนา ประกอบการนาเสนอ การนาเสนอดี อปุ กรณ์มา ดมี าก ประกอบการนาเสนอ คอ่ นข้างดี ๓. นักเรยี นเห็น นกั เรียนใช้คาใน นักเรียนใช้คาใน นกั เรียนใชค้ าใน นกั เรียนใชค้ าใน คุณค่าของนทิ าน ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง พืน้ บา้ นของไทยที่ ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ เขียนยงั ไม่ถูกตอ้ ง เขยี นคาพนื้ ฐาน เปน็ มรดกทาง ถกู บรบิ ทและ ถูกบรบิ ทและ ตาม อักขรวธิ ี เขยี น ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง วัฒนธรรมไทย (A) เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขียนคา คาพ้นื ฐานได้ถูกตอ้ ง พนื้ ฐานได้ถูกต้อง พืน้ ฐานมขี ้อผิดพลาด บ้าง ทงั้ หมด เลก็ น้อย เกณฑ์การประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรุง คะแนนร้อยละ ๖๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นันท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง หน่วยที่ ๓ นทิ านพน้ื บา้ น เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนท่ี ๒ แผนการเรยี นรทู้ ่ี ๔๔ สงั ข์ทองกับวถิ ีชวี ิตคนไทย ครผู ้สู อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วันทีส่ อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั นิทานพื้นบา้ นเรื่องสงั ข์ทองมีความสมั พันธ์กับวิถชี วี ติ ของคนไทยในท้องถนิ่ ตา่ ง ๆ ท้ังด้านจติ รกรรม เพลงกล่อมเด็ก การละเลน่ พ้ืนบ้าน ปรศิ นาคาทาย และสานวนโวหาร 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพ่ือนาไปใชต้ ัดสินใจแกป้ ญั หาในการ ดาเนินชีวิต และมีนิสยั รกั การอา่ น มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเหน็ คุณค่า และนามาประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ 3. ตัวชว้ี ดั ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จบั ใจความสาคญั จากเรือ่ งท่ีอ่าน ท ๑.๑ ม. ๑/๘ วิเคราะห์คุณคา่ ที่ไดร้ บั จากการอา่ นงานเขียนอยา่ งหลากหลาย เพ่ือนาไปใช้ แกป้ ัญหาในชวี ิต ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการอา่ น ท ๕.๑ ม. ๑/๒ วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ นพร้อมยกเหตุผลประกอบ ท ๕.๑ ม. ๑/๓ อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี า่ น ท ๕.๑ ม. ๑/๔ สรุปความรแู้ ละข้อคิดจากการอ่านเพื่อประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายอิทธิพลจากเร่ืองสงั ข์ทองทมี่ ีต่อวถิ ชี วี ิตของคนไทย 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) - วเิ คราะห์ความสมั พันธ์ของเร่อื งสงั ข์ทองกบั วถิ ีชวี ติ ของคนไทย - วิเคราะห์คุณค่าของเรื่องสงั ข์ทอง 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) เหน็ ความสาคัญของนิทานพ้นื บ้านทมี่ อี ิทธิพลต่อวถิ ีชีวติ ของคนไทย 5. สาระการเรยี นรู้ อิทธพิ ลจากเรอื่ งสังขท์ องท่ีมีต่อวิถีชีวิตของคนไทย

6. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น นกั เรยี นร่วมกนั สนทนาและแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับความน่าสนใจของเรอื่ ง สังขท์ องท่ที า ให้คนไทยช่ืนชอบจนได้รับความนยิ มมาทกุ ยุคทกุ สมยั ขัน้ พัฒนาผูเ้ รยี น ๑. นักเรยี นศกึ ษาความรู้เรือ่ ง นิทานพ้นื บา้ นสงั ขท์ องกับวิถีชีวิตคนไทย ๒. นกั เรยี นแบ่งกล่มุ ๗ กลมุ่ จับฉลากหัวข้อเพื่อสรุปสาระสาคัญของอิทธิพลจากเรื่องสงั ข์ทองที่มี ตอ่ วถิ ีชวี ิตของคนไทย แล้วส่งตวั แทนออกมาพูดให้ความรูก้ ับเพอ่ื น ๆ ตามหัวข้อที่ได้รับ ดังนี้ - ความเช่อื เร่อื งสถานท่ี - นิทานทมี่ เี นื้อเรื่องคล้ายกับเร่ืองสงั ข์ทอง - ภาพจติ รกรรม - เพลงกล่อมเด็ก - การละเล่นพ้นื บ้าน - ปรศิ นาคาทาย - สานวนโวหาร ๓. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ต้ังคาถามเกยี่ วกบั อิทธิพลของนิทานพ้นื บ้านสังข์ทองทม่ี ตี ่อวิถชี ีวติ คนไทย กลมุ่ ละ ๑ คาถาม ครตู รวจสอบคาถามของทุกกลมุ่ ไม่ใหซ้ ้ากนั จากนน้ั ส่งตวั แทนกลมุ่ ออกมาถามคาถามหน้า ชั้นเรียน ให้เพื่อนกลุ่มอน่ื ชว่ ยกันตอบ กลุ่มท่ีเปน็ เจา้ ของคาถามตรวจสอบความถูกต้อง ๔. นักเรียนเขยี นแสดงความรู้ ความคดิ ท่ีได้จากการศึกษาความสาคญั และคุณค่าของเร่ือง สงั ข์ ทอง เพือ่ แสดงวา่ นักเรียนตระหนักในคณุ คา่ ของเรื่องน้ี ครตู รวจสอบผลงานของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล ขน้ั สรุป นักเรียนและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้ ดังนี้ นิทานพื้นบา้ นเรื่องสงั ข์ทองมคี วามสมั พันธ์กบั วถิ ีชวี ติ ของ ไทยในท้องถิน่ ต่าง ๆ ทั้งด้านจิตรกรรม เพลงกล่อมเด็ก การละเลน่ พื้นบ้าน ปริศนาคาทาย และสานวนโวหาร 7. สื่อการเรียนรู้ ฉลาก

8. การวัดผลประเมินผล หลักฐาน เครื่องมอื วดั เกณฑ์การ ประเมิน เป้าหมาย แบบฝึกหดั “สังข์ทองกบั วถิ ชี วี ติ แบบประเมินแบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ สาระสาคญั “สงั ข์ทองกบั วถิ ชี วี ติ ความ ผ่านเกณฑ์ นทิ านพ้นื บ้านเรอื่ งสังขท์ องมี ความเปน็ ไทย” เป็นไทย” ความสัมพันธ์กับวถิ ีชวี ติ ของคนไทยใน แบบฝกึ หัด ท้องถนิ่ ตา่ ง ๆ ทัง้ ด้านจติ รกรรม เพลง “สังขท์ องกบั วิถีชวี ติ แบบประเมนิ แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ กล่อมเด็ก การละเลน่ พนื้ บ้าน ปริศนา “สงั ข์ทองกบั วถิ ชี ีวติ ความ ผ่านเกณฑ์ คาทาย และสานวนโวหาร ความเปน็ ไทย” ตัวชวี้ ดั เป็นไทย” - ท ๕.๑ ม. ๑/๓ อธบิ ายคุณคา่ แบบฝึกหัด ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน “สงั ขท์ องกับวถิ ีชวี ิต แบบประเมินแบบฝกึ หดั รอ้ ยละ ๖๐ “สังข์ทองกับวิถีชีวิตความ ผ่านเกณฑ์ - ท ๕.๑ ม. ๑/๔ สรุปความรู้และ ความเป็นไทย” ข้อคิดจากการอ่านเพื่อประยุกตใ์ ช้ใน เปน็ ไทย” ชวี ติ จริง คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เห็นความสาคัญของนทิ าน พนื้ บา้ นทม่ี ีอทิ ธิพลต่อวิถชี วี ติ ของคน ไทย

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รูบริกส)์ ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ (๑) ปรับปรงุ (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรียนอธิบาย สรุปความรู้และ สรุปความรู้และข้อคิด สรปุ ความรแู้ ละ สรุปความร้แู ละข้อคิด อทิ ธพิ ลจากเร่อื งสงั ข์ ขอ้ คิดจากเร่ืองได้ จากเร่ืองไดถ้ ูกต้อง ขอ้ คิดจากเรื่องได้ จากเร่อื งไดถ้ ูกต้อง แต่ ทองท่ีมตี ่อวถิ ีชีวิต ถูกต้อง ชัดเจน หลาย ชดั เจน หลายแงม่ ุม ถูกต้อง แตส่ รปุ เพยี ง สรุปเพียง ๑ ประเดน็ ไม่ ของคนไทย (K) แงม่ ุม และสามารถ และสามารถเสนอ ๑ ประเดน็ และเสนอ สามารถเช่ือมโยงกับ เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใช้ใน ชวี ติ จรงิ ได้ ต้องมผี ู้ นาไปใช้ในชวี ติ จรงิ ได้ ในชวี ติ จรงิ ได้ ชีวิตจริงได้สัมพนั ธ์กัน แนะนาจึงจะเข้าใจ ดีและสรา้ งสรรค์ 2. นกั เรียนวิเคราะห์ นกั เรียนวิเคราะห์ นกั เรยี นวิเคราะห์ นกั เรียนวเิ คราะห์ นักเรียนวเิ คราะห์และ ความสมั พนั ธข์ อง และวจิ ารณ์ได้ และวิจารณไ์ ด้หลาย และวจิ ารณไ์ ด้หลาย วจิ ารณอ์ ยา่ งกว้าง ๆ ไม่ เรื่องสงั ข์ทองกบั วถิ ี หลายประเดน็ ทุก ประเดน็ ทุกประเดน็ ประเด็น ซง่ึ บาง ระบุประเด็นชัดเจน แต่ ชีวิตของคนไทย (P) ประเด็นลว้ นนา่ สนใจ ลว้ นนา่ สนใจ มเี หตผุ ล ประเดน็ นา่ สนใจและ ก็มเี หตผุ ลประกอบท่ี มีเหตุผลประกอบ ประกอบทด่ี ี สรปุ แสดงเหตุผลท่ีดี สัมพันธก์ ัน สรปุ ข้อคดิ น่าเชือ่ ถือ สรปุ ข้อคดิ ข้อคิดและเสนอ สรุปข้อคิดและเสนอ เพียงสน้ั ๆ แต่ก็เป็น และเสนอแนวทางที่ แนวทางที่นาไปใช้ แนวทางทเี่ ปน็ ประโยชน์ที่ดี นาไปใชใ้ นชวี ติ ได้จรงิ ในชีวิตไดจ้ ริง ใช้ภาษา ประโยชน์ ใช้ภาษาเข้าใจงา่ ย เข้าใจงา่ ย ๓. นักเรยี นเหน็ นกั เรียนใช้คาใน นกั เรยี นใชค้ าใน นักเรยี นใชค้ าใน นกั เรยี นใชค้ าใน ความสาคัญของ ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง นทิ านพนื้ บ้านทีม่ ี ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง เขียนยงั ไม่ถกู ตอ้ ง เขียนคาพนื้ ฐาน อทิ ธิพลต่อวถิ ชี วี ติ ตาม อักขรวธิ ี เขยี น ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ของคนไทย (A) ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ ตามอักขรวธิ ี ใชค้ าได้ คาพื้นฐานไดถ้ ูกตอ้ ง บา้ ง ถกู บรบิ ทและ ถกู บรบิ ทและ เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขยี นคา พ้นื ฐานได้ถกู ต้อง พืน้ ฐานมขี ้อผดิ พลาด ท้ังหมด เล็กน้อย เกณฑ์การประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรุง คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง หน่วยที่ ๓ นทิ านพืน้ บ้าน เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรียนรทู้ ี่ ๔๕ นิทานพ้ืนบา้ นสะทอ้ นชีวติ ครผู สู้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ วันท่ีสอน.................................................................................. 1. สาระสาคญั นิทานพน้ื บา้ นในภาคต่าง ๆ จะมเี ร่ืองราวแตกต่างกนั ตามสภาพแวดลอ้ มและลักษณะทางวัฒนธรรม ของแตล่ ะท้องถิน่ 2.มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นาไปใชต้ ัดสินใจแกป้ ญั หาในการ ดาเนนิ ชวี ิต และมนี สิ ยั รกั การอา่ น 3.ตัวชว้ี ดั ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จบั ใจความสาคัญจากเร่ืองทีอ่ ่าน ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทในการอ่าน 4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายเรือ่ งราวของนิทานพ้นื บา้ นในภาคตา่ ง ๆ 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) วิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มและวัฒนธรรมทอ้ งถ่ินจากนิทานพื้นบ้านของแตล่ ะภาค 3. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) เห็นความสาคัญของการศึกษานทิ านพน้ื บ้านในแตล่ ะภาคเพือ่ ใหเ้ ข้าใจสภาพแวดลอ้ มและ วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ของภาคนัน้ ๆ 5. สาระการเรยี นรู้ นิทานพนื้ บา้ นภาคต่างๆ 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรียน นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครใู ชค้ าถามวา่ นิทานพน้ื บ้านสะทอ้ นภาพอะไรในท้องถน่ิ ขัน้ พฒั นาผ้เู รียน ๑. นกั เรียนแบ่งเปน็ ๕ กลุ่ม ศกึ ษาลักษณะของนิทานพื้นบ้านในภาคต่าง ๆ ดังน้ี กล่มุ ที่ ๑ นทิ านพื้นบา้ นภาคเหนือ กลมุ่ ที่ ๒ นทิ านพืน้ บา้ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื กลมุ่ ที่ ๓ นทิ านพนื้ บ้านภาคกลาง กลุ่มที่ ๔ นิทานพ้นื บา้ นภาคตะวนั ออก

กลุ่มท่ี ๕ นิทานพ้นื บ้านภาคใต้ ๒. เมือ่ นักเรยี นแต่ละกลุ่มศกึ ษาเขา้ ใจแลว้ ใหส้ ่งตวั แทนออกมาอธบิ ายความรใู้ ห้เพือ่ นฟังหนา้ ชัน้ เรียน ๓. ครูช่วยอธิบายเพม่ิ เติมและสรุปให้นกั เรียนเข้าใจว่า การศึกษานิทานพืน้ บ้านจะชว่ ยให้เขา้ ใจวถิ ี ชวี ิต ค่านิยม และความเช่ือของบรรพบรุ ุษ ซ่ึงเป็นรากฐานพฤติกรรมและวิถีชวี ติ ของคนในปจั จุบนั ข้นั สรุป นักเรยี นและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้ ดงั นี้ นิทานพ้ืนบ้านในภาคตา่ ง ๆ จะมีเร่อื งราวแตกต่างกนั ตาม สภาพแวดลอ้ มและลกั ษณะทางวฒั นธรรมของแตล่ ะท้องถ่ิน 7. สอ่ื การเรยี นรู้ ตัวอย่างนิทานพืน้ บ้าน 8. การวดั ผลประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลักฐาน เคร่ืองมือวัด เกณฑก์ าร ประเมิน สาระสาคญั แบบฝกึ หดั แบบประเมนิ แบบฝกึ หดั นิทานพ้นื บ้านในภาคตา่ ง ๆ จะ “นทิ านพน้ื บ้านสะท้อน “นทิ านพืน้ บ้านสะท้อน ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ มเี ร่ืองราวแตกตา่ งกันตาม ชวี ิต” ชีวติ ” สภาพแวดล้อมและลกั ษณะทาง ร้อยละ ๖๐ วัฒนธรรมของแตล่ ะท้องถิน่ แบบฝกึ หัด แบบประเมินแบบฝกึ หดั ผา่ นเกณฑ์ “นิทานพน้ื บ้านสะท้อน “นิทานพื้นบ้านสะท้อน ตัวช้ีวัด ร้อยละ ๖๐ - ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จบั ใจความสาคัญ ชวี ติ ” ชวี ติ ” ผ่านเกณฑ์ จากเรอื่ งที่อา่ น - ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการ แบบฝกึ หัด แบบประเมินแบบฝึกหัด อา่ น “นทิ านพ้ืนบ้านสะท้อน “นทิ านพนื้ บ้านสะท้อน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ชีวิต” ชีวิต” เห็นความสาคัญของการศึกษา นิทานพ้นื บา้ นในแต่ละภาคเพื่อให้ เข้าใจสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรม ทอ้ งถ่ินของภาคนน้ั ๆ

เกณฑ์การประเมนิ ผล (รูบรกิ ส)์ ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรงุ (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรียนอธิบาย อธบิ ายเร่ืองราวของ อธบิ ายเรื่องราวของ อธิบายเร่ืองราวของ อธิบายเร่ืองราวของ เรื่องราวของนิทาน นิทานพื้นบ้านในภาค นทิ านพื้นบ้านในภาค นทิ านพืน้ บ้านในภาค นิทานพน้ื บา้ นในภาค พน้ื บา้ นในภาคต่าง ๆ ตา่ ง ๆ ได้ถูกต้อง ตา่ ง ๆ ได้ถูกต้อง ต่าง ๆ ได้ถูกต้อง แต่ ต่าง ๆ ได้ถูกต้อง แต่ (K) ชัดเจน หลายแงม่ มุ ชัดเจน หลายแง่มุม สรุปเพยี ง ๑ ประเด็น สรปุ เพียง ๑ ประเด็น ไม่ และสามารถเสนอ และสามารถเสนอ และเสนอแนว สามารถเชือ่ มโยงกับ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใช้ ทางการนาไปใช้ในชีวิต ชีวติ จรงิ ได้ ตอ้ งมีผู้ ในชวี ติ จรงิ ไดด้ ีและ ในชวี ิตจรงิ ได้ จริงไดส้ มั พันธ์กนั แนะนาจงึ จะเขา้ ใจ สร้างสรรค์ 2. นกั เรยี นวเิ คราะห์ นกั เรยี นวิเคราะห์ นกั เรยี นวเิ คราะห์ นักเรยี นวเิ คราะห์ นักเรยี นวเิ คราะห์และ สภาพแวดล้อมและ และวิจารณ์ได้ และวจิ ารณ์ไดห้ ลาย และวิจารณ์ได้หลาย วจิ ารณอ์ ยา่ งกวา้ ง ๆ ไม่ วัฒนธรรมท้องถน่ิ หลายประเด็น ทุก ประเด็น ทกุ ประเดน็ ประเด็น ซ่งึ บาง ระบปุ ระเด็นชดั เจน แต่ จากนิทานพ้ืนบา้ น ประเดน็ ลว้ นน่าสนใจ ลว้ นนา่ สนใจ มีเหตผุ ล ประเดน็ นา่ สนใจและ ก็มเี หตผุ ลประกอบที่ ของแต่ละภาค (P) มีเหตผุ ลประกอบ ประกอบทีด่ ี สรปุ แสดงเหตผุ ลทีด่ ี สมั พันธก์ นั สรปุ ข้อคดิ น่าเชอื่ ถอื สรุปข้อคิด ข้อคิดและเสนอ สรปุ ข้อคิดและเสนอ เพียงส้นั ๆ แต่กเ็ ป็น และเสนอแนวทางที่ แนวทางที่นาไปใช้ แนวทางที่เปน็ ประโยชน์ท่ดี ี นาไปใชใ้ นชีวิตได้จรงิ ในชีวิตได้จริง ประโยชน์ ๓. นักเรยี นเห็น นกั เรียนใช้คาใน นักเรียนใชค้ าใน นักเรยี นใช้คาใน นกั เรยี นใช้คาใน ความสาคัญของ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไม่ถูกต้อง การศึกษานทิ าน ตามอักขรวธิ ี ใช้คาได้ ตามอักขรวธิ ี ใชค้ าได้ เขยี นยังไมถ่ ูกต้อง เขยี นคาพืน้ ฐาน พนื้ บ้านในแตล่ ะภาค ถูกบริบทและ ถูกบริบทและ ตาม อกั ขรวิธี เขยี น ภาษาไทยไม่ถูกต้อง เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจภาพ เหมาะสม เขยี นคา เหมาะสม เขียนคา คาพื้นฐานไดถ้ ูกตอ้ ง แวดลอ้ มและ พ้นื ฐานได้ถูกต้อง พื้นฐานมขี ้อผดิ พลาด บา้ ง วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน ทง้ั หมด เลก็ นอ้ ย ของภาคน้ัน ๆ (A) เกณฑ์การประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถือว่าผ่านเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง หน่วยท่ี ๓ นิทานพืน้ บา้ น เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรียนรู้ที่ ๔๖ นทิ านพน้ื บ้านภาคเหนอื ครผู ูส้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ วนั ทีส่ อน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ พระลอเปน็ นทิ านพนื้ บ้านของภาคเหนอื ท่เี ล่าสบื ต่อกันมา ซ่ึงสะท้อนใหเ้ หน็ สภาพสังคมและวฒั นธรรม ของทอ้ งถ่ิน และความเป็นมาของพระธาตุพระลอในจังหวัดแพร่ ท่เี ช่ือว่าเปน็ สถานท่ีบรรจอุ ฐั ิของพระลอและ พระเพอื่ น พระแพง 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อยา่ งเหน็ คุณคา่ และนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริง 3. ตัวชวี้ ดั ท ๕.๑ ม. ๑/๑ สรปุ เน้ือหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ น 4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) สรุปเน้ือเร่ืองนิทานพนื้ บ้านท่ีอา่ น 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) วิเคราะหส์ ภาพสังคม วฒั นธรรม และข้อคิดที่ไดจ้ ากนทิ านพนื้ บ้านภาคเหนือ 3. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) เห็นความสาคญั ของการศึกษานิทานพ้นื บ้านภาคเหนือ เพื่อเรยี นรู้วัฒนธรรมของทอ้ งถ่ิน 5. สาระการเรียนรู้ นิทานพนื้ บา้ นภาคเหนอื เร่ือง พระลอ 6. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขัน้ นาเขา้ ส่บู ทเรยี น นักเรียนดภู าพพระธาตุพระลอในจงั หวัดแพร่ แลว้ ร่วมสนทนากบั ครูถึงความเปน็ มาของสถานที่ตาม ความเชอื่ ทเี่ ล่าต่อ ๆ กันมา ข้ันพัฒนาผเู้ รียน ๑. นกั เรยี นแบง่ กลุม่ ๓ กลุม่ ครแู จกนทิ านพนื้ บา้ นภาคเหนือเร่อื ง พระลอ ให้นักเรียนอ่านแลว้ ชว่ ยกนั จบั ใจความเพื่อสรปุ เนื้อเรื่องภายในกลุม่ ดงั นี้

พระลอ ในคร้ังที่พระญาแมนสรวงซ่ึงเป็นพระบิดาของพระลอยกทัพไปตีเมืองสรองนั้น พระญาพิมพิสาคร เจ้าเมืองสรองส้ินพระชนม์บนคอช้างพระที่นั่ง เมื่อกองทัพกันพระศพคืนเมือง แล้วก็แต่งกาลังป้องกันเมือง อย่างดี จนพระญาแมนสรวงไม่อาจตีเอาเมืองได้ จึงยกทัพกลับท้าวพิชัยพิษณุกรซ่ึงเป็นพระบิดาของพระเพ่ือน พระแพงก็ได้ครองเมืองสรองสืบแทนพระบิดา ตอ่ มาท้าวแมนสรวงได้อภิเษกพระลอกับนางลักษณวดี และเม่ือพระองคส์ ิ้นพระชนม์แลว้ พระลอ ก็ได้ครองเมืองแมนสรวงแทนพระบิดา โดยที่พระลอเป็นหนุ่มรูปงาม จึงมีผู้คนพ่อค้านาเร่ืองความงามของ พระลอไปขับเล่ากัน จนความทราบไปถึงพระธิดาฝาแฝดแห่งเมืองสรองคือ พระเพื่อนพระแพงสองสาวพ่ีน้อง ไดข้ ่าวถึงสิรโิ ฉมของพระลอกห็ ลงรัก จงึ ได้ปรับทุกข์กับนางร่ืนนางโรยซึ่งเป็นพ่ีเลี้ยง ซึ่งนางพ่เี ล้ียงก็จดั ให้คนไป คา้ ขายและขับซอยอโฉมพระเพอื่ นพระแพงไปถงึ เมืองของพระลอ ซึ่งพระลอเมือ่ ทรงทราบแล้วก็แสดงความสน พระทยั และใหร้ างวลั แก่ผู้นาความขน้ึ กราบทูลเรอ่ื งสาวสองศรีพีน่ ้องดงั กลา่ ว จากน้ันนางร่ืนนางโรยก็ไปให้หมอทาเสน่ห์ชักพระลอไปหาพระธิดา ซึง่ นางแม่มดก็ชักให้ไปติดต่อ หมอผสี ามคนซ่งึ มีความสามารถสูง แต่ทั้งสามก็บอกว่าไมอ่ าจกระทาคุณไสยต่อกษัตริย์ได้ และนานางพี่เล้ียงไป หาปู่เจ้าสมิงพรายเพ่ือขอให้ช่วย เมื่อปู่เจ้าสมิงพรายสอบด้วยฌาน ก็ทราบว่าท้ังสองฝ่ายเคยเป็นคู่กันมาก่อน และจะต้องเสยี ชีวิตขณะอายุยังน้อย จงึ รบั จะช่วยเหลือ และได้ไปหาพระเพอ่ื นพระแพงถงึ ในวัง เพ่ือสร้างความ อนุ่ ใจแก่นางดว้ ย คร้ังแรกนั้นปเู่ จ้าสมิงพรายนาเอาตอกไม้ไผม่ าสานลูกลมเขยี นรูปพระลออยู่กลางและรูปสองสาวพี่ น้องกอดพระลออยู่ทั้งสองข้าง ลงยันต์โดยรอบแล้วปักลูกลมไว้ท่ีปลายไม้ยางใหญ่ ขนาดเจ็ดคนโอบ เมื่อลมพัด ปั่นลูกลมน้ัน ใจของพระลอก็ป่ันป่วนคิดถึงนางจนลืมตัวเม่ือนางบุญเหลือพระมารดาทราบข่าวก็ไปดูอาการ ของพระลอและให้จดั หาหมอ ทง้ั หมอยา หมอผี ไปรักษาไม่นานนกั พระลอก็คนื สู่พระสตดิ ังเดิม ขณะท่ีพระลอมีอาการดีขึ้น สองสาวพี่น้องก็กลับทรุดลงด้วยความรัญจวนใจคิดถึงพระลอ เม่ือพี่ เลย้ี งทั้งสองไปบอกอาการของพระธิดาแกป่ ่เู จา้ สมงิ พรายแลว้ ปู่เจ้าสมิงพรายจึงใช้ ธงสามชายลงอาคมที่มาก กว่าเดิม เขียนรูปของพระลอไว้กลางและรูปสองนางแนบอยู่ทั้งสองข้าง ปักธงนั้นบนยอดตะเคียนใหญ่ขนาด เก้าคนโอบ เมื่อลมพัดเอากฤตยาคมจากผืนธงไปถึงพระลอแล้ว พระลอก็ทรงรู้สึกว่าสองสาวพี่น้องมากอด พระองคอ์ ยู่ และก็มีอาการฟั่นเฟอื นหนกั กวา่ คร้งั ก่อน ครนั้ นางบุญเหลอื ทรงทราบก็เรียกประชุมเสนาบดีให้ไป

หาหมอที่เก่งมาช่วยรักษา ซึ่งก็ได้หมอ สิทธชิ ัยมาจัดพิธพี ลีกรรมทาน้ามนต์ให้ทรงอาบและพระลอก็คืนสติมา เหมือนเดมิ ครั้นพระเพ่ือนพระแพงเห็นว่าเวลาผ่านไปนานผิดสังเกตโดยท่ีไม่ได้พบพระลอ จึงให้นางรื่นนาง โรยไปหาปู่เจ้าสมิงพรายอีก ปู่เจ้าสมิงพรายก็ว่าหมอฝ่ายพระลอน้ันมีความสามารถสูงและแก้ไขมนต์เสน่ห์ได้ จากนั้นปู่เจ้าก็ชุมนุมทัพผีป่าให้ไปปราบผีเมืองแล้วปู่เจ้าจึงใช้ “สลาเหิน” คือหมากลงอาคมให้บินไประคนอยู่ กับหมากเสวยของพระลอ ครั้นพระลอเสวยหมากลงอาคมแล้วกค็ ิดถงึ พระเพอ่ื นพระแพงปานใจจะขาด และได้ ทูลลานางบุญเหลือและลาพระชายานางลักษณวดีเพ่ือจะเสด็จไปหาพระเพื่อนพระแพง แม้นางบุญเหลือจะ บอกพระลอว่าจะไปขอนางทั้งสองให้ พระลอกไ็ ม่ตกลง โดยตรัสว่ากว่าจะร้เู รื่องก็ชา้ นัก ขบวนของพระลอเดินทางจากเมืองแมนสรวงไปถึงเขตแดนเมืองแล้ว พระลอก็โปรดให้แบ่งกาลัง ร้อยหนึ่งไว้คอยสนับสนุน และให้ไพร่พลท้ังหลายกลับคืนเมือง จากน้ันพระองค์และ พี่เลี้ยงคือนายแก้วนาย ขวญั ปลอมตวั เปน็ ขุนจากเมอื งพาบริวารไปตรวจดา่ นและเดินทางตอ่ ไป ครั้นถงึ ฝ่ังแม่น้ากาหลง ก็ได้ตัดไม้ทาเป็นแพข้ามน้าไปพักอยู่ฝั่งตรงข้าม และเมื่อพระลอลงสรงน้า แล้วก็ลองเส่ียงว่า หากพระองค์จะไม่ได้กลับคืนเมืองอีกก็ขอให้น้าเวียนวนอยู่แต่หากพระองค์จะได้กลับคืน เมืองแมนสรวงอีกก็ขอให้น้าไหลต่อไปตามปกติ คร้ังนั้นแม่น้ากาหลงกลับแสดงเหตุเป็นสีแดงดุจสีเลือดและ ไหลวนควั่งคว้างอยู่เฉพาะพระพักตร์ พระลอทรงทราบ ลางร้ายเช่นน้ันแล้วก็ได้แต่เก็บความทุกข์ไว้มิให้พี่ เลี้ยงทราบ จากน้ันก็ให้พี่เล้ียงไปสารวจลู่ทาง ในเมืองของพระเพ่ือนพระแพงจนได้ความชัดเจนก็กลับทูล ความโดยละเอยี ด ในขณะเดียวกันพระธดิ าซึ่งตง้ั ตาตง้ั ใจคอยพระลออยู่เม่ือเห็นว่าเวลาผา่ นไปนานแลว้ แต่พระลอยัง ไม่ไปถึงก็ให้พี่เล้ียงทั้งสองคืนนางร่ืนนางโรยไปเตือนปู่เจ้าสมิงพราย จากนั้นปู่เจ้าสมิงพรายก็ให้ผีเข้าสิงไก่งาม ตัวหนึ่งและไปล่อให้พระลอติดตามไป เม่ือพระลอทอดพระเนตรเห็นไก่แก้วหรือไก่ผีสิงน้ัน ก็พอพระทัย อยากจะได้ จึงรีบไล่ติดตามไป ไก่ก็หลอกล่อพาพระลอและบริวารผ่านป่าไปจนถึงเขตท่ีคนอาศัย จากนั้น พระลอก็แบ่งกาลังไว้ตามรายทางเป็นกลุ่ม ๆและพระลอกับสองพ่ีเล้ียงก็ได้ไปพักอยู่ท่ีเรือนร้างซ่ึงไม่ห่างจาก อุทยานของพระเพ่ือนพระแพงคืนนั้นพระลอและพ่ีเลี้ยงท้ังสองก็ฝันไปต่าง ๆ ซ่ึงเป็นลางว่าจะได้พบกับหญิงท่ี ตนเดินทางมาหา ฝา่ ยพระเพ่ือนพระแพงเมือ่ ปรารภว่าพระลอยังไม่เสด็จมานนั้ พเี่ ลี้ยงกท็ ูลว่าโดยนมิ ติ ทีน่ กได้แสดง ให้เห็นนั้น เชื่อว่าวันรุ่งขึ้นจะได้พบพระลอแล้ว และคืนน้ันนางทั้งส่ีก็ฝันไปเป็นนิมิตว่าจะได้พบกับพระลอโดย เรว็ พอเช้าตรู่วันรุ่งข้ึน นางรื่นนางโรยก็รีบขึ้นช้างไปสืบข่าวท่ีอุทยาน เมื่อคนเฝ้าอุทยานบอกว่ามี พราหมณ์คนหนงึ่ และฆราวาสอีกสองคนซงึ่ เป็นคนต่างเมืองมาพักอยู่และออกเดนิ ทางไปแตเ่ ช้าแล้ว สองนางจึง รบี ตามไปและได้พบนายแก้วนายขวัญท่ีย้อนกลบั มา ท้ังสองฝ่ายสนทนาถูกใจกันจนถึงกับได้รว่ มภิรมย์กันด้วย เมื่อทราบว่าทั้งสองนายมากบั พระลอแล้ว สองนางก็ให้ไปเชิญเสด็จพระลอไปพักอยทู่ ่ีตาหนัก แล้วก็รีบกลับไป เชิญพระเพื่อนพระแพงไปเฝ้า พระลอและ พระเพื่อนพระแพงเมื่อพบกันแล้วก็พอใจมากและได้อยู่ร่วมกันจน เวลาเย็นแล้ว หนุ่มท้ังสามก็ปลอมไปกับขบวนของพระธิดาและไปซ่อนอยู่ในเรือนประทับของพระเพ่ือน พระแพง ส่วนนางร่ืนนางโรยกับนายแกว้ นายขวัญก็ได้อยู่ร่วมกันอีกสองคู่ พระลอและสองนายซ่อนอยู่ในเรือนของพระธิดานานได้ครึ่งเดือนก็ไม่สามารถปิดบังไว้ได้อีก เมื่อ มีคนนาความไปทูลท้าวพิชัยพิษณุกร คร้ันทรงเห็นว่าพระลอเสด็จมาอยู่กับพระเพ่ือนพระแพงก็เตรียมจะ ต้อนรับเป็นเขยขวญั แตเ่ ม่ือพระเจ้ายา่ ทรงทราบข่าวนัน้ กไ็ ปทลู ท้าวพิชยั พษิ ณุกร ว่า ให้จับพระลอซง่ึ เปน็ โอรส

ของศัตรูมาฆ่าเพ่ือแก้แค้น คร้ันท้าวพิชัยพิษณุกรไม่ทรงเห็นด้วยพระเจ้าย่าก็แอบอ้างรับสั่งให้ทหารบุกเข้าไป จับพระลอและพ่ีเลี้ยงท่เี รอื นของพระเพอ่ื นพระแพง ในเวลากลางคนื เมื่อนายแก้วนายขวัญและนางร่ืนนางโรยทราบเหตุร้ายแล้ว กเ็ ข้าไปทูลความให้พระลอทรงทราบ จากน้นั บคุ คลทงั้ เจ็ดก็เตรยี มตัวรบ โดยหญงิ ท้ังสปี่ ลอมตัวเป็นชาย นายแก้วอยกู่ ับนางรืน่ ระวังดา้ นขวา นางโรย กับนายขวญั เข้าป้องกนั ดา้ นซ้าย เม่ือกองกาลังของพระเจ้าย่ารกุ เข้าหนักจนคนทั้งส่ีตา้ นไม่อยู่ก็เสียชวี ิตด้วยกัน ทงั้ สองคู่ จากนัน้ กองกาลังฝ่ายพระเจ้ายา่ รุกเข้าไปอกี แตพ่ ระลอกับพระเพ่ือนพระแพงทปี่ ลอมเป็นชายต่อสู้จน คนเหล่าน้ันไม่อาจเข้าใกล้ จึงใช้ธนูรุมยิงและถูกพระลอกับพระเพ่ือนพระแพงที่ยืนพิงกันสิ้นพระชนม์อยู่ ดว้ ยกนั เมื่อท้าวพิชัยพิษณุกรและนางดาราวดีพระมารดาของพระเพ่ือนพระแพงเสด็จไปถึงที่เกิดเหตุน้ัน การต่อสู้ก็ส้ินสุดลงแล้ว ท้าวพิชัยพิษณุกรจึงแสร้งว่าพอพระทัยท่ีนักโทษทั้งเจ็ดตายไปและตรัสสั่งให้ผู้ที่ไปฆ่า นักโทษไปรับรางวัลและรับการเล่ือนยศเลื่อนตาแหน่ง เมื่อคนที่เกี่ยวข้องเหล่านั้นไปพร้อมกันแล้ว ท้าวพิชัย พษิ ณุกรก็ตรสั ส่ังให้ทหารของพระองค์จับมัดและจดชื่อไว้แล้วจึงให้ฟันท้ิงไปท้ังหมด ส่วนตัวนายนนั้ ใหล้ วกดว้ ย น้าร้อนหรือคลอกด้วยไฟ โดยเฉพาะพระเจ้าย่าซ่ึงมิใช่พระมารดาของพระองค์น้ันก็โปรดให้แล่เน้ือทีละชิ้นจน สน้ิ พระชนม์ แลว้ ให้ลากศพไปทิง้ เสยี ท้ังหมด หลังจากท่ีระงับความโศกเศร้าในมรณกรรมของหนุ่มสาวได้แล้ว ท้าวพิชัยพิษณุกรก็โปรดให้ จดั การศพของพระลอกับพระเพ่ือนพระแพงและพ่ีเล้ียงท้ังส่ี โดยให้บรรจุพระศพของพระลอกับพระเพื่อนพระ แพงไว้ในโลงทองเดียวกัน ศพของนายแก้วก็อยู่กับศพนางรื่นในโลงเดียวกัน และศพของนายขวัญกับนางโรยก็ อยู่ด้วยกันอกี โลงหนึ่ง พร้อมทัง้ จัดทาเมรุสาหรับเผาศพและประดับประดาอย่างย่ิงใหญ่ ครงั้ น้ันท้าวพิชัยพิษณุ กรก็โปรดใหร้ าชทูตไปทลู เชญิ นางบญุ เหลือไปร่วมพิธเี ผาวรศพด้วย ซงึ่ นางบุญเหลือก็แตง่ ตงั้ เสนาผู้ใหญ่สบิ นาย นาของมีคา่ ไปร่วมงานแทน เมื่อการเผาพระศพของพระลอกับพระเพื่อนพระแพงและพ่ีเลี้ยงทั้งส่ีเสร็จสิ้นลงแล้ว ท้าวพิชัย พษิ ณุกรก็โปรดให้แบ่งอัฐขิ องบุคคลทัง้ เจ็ดออกเปน็ สองสว่ น ครึ่งหน่ึงไปบรรจุไวท้ ่ีหอพระญาติในเมอื งสรอง อีก ครึง่ มอบให้แก่ทูตนาไปยังเมืองแมนสรวง ซ่ึงนางบุญเหลือก็ให้นาอฐั ิของพระลอและพระเพื่อนพระแพงบรรจุไว้ ในสถูปองค์กลาง สว่ นอัฐิของนายแก้วกับนายรื่นให้บรรจุในสถูปด้านขวา และอิฐิของนายขวัญกับนางโรยบรรจุ อยู่ในสถปู ดา้ นซา้ ย ซ่งึ ทา้ วพชิ ยั พษิ ณกุ ร กโ็ ปรดให้กระทาอยา่ งเดยี วกันดว้ ย (เรยี บเรียงและเพม่ิ เตมิ จาก หนังสอื อา่ นกวีนิพนธเ์ รอ่ื งลลิ ติ พระลอ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๒๗ และเมืองสอง ท่ีระลึกในโอกาสเปิดอาคารท่ีว่าการอาเภอสองหลังใหม่ โดยยอดขวัญ บุญซ้อน ๒๗ มีนาคม ๒๕๔๑) ๒. นกั เรียนประชมุ กลมุ่ เพ่ือเขียนบทละครส้นั ๆ จากนิทาน กาหนดตัวละครและฝึกซ้อมการ แสดง บางช่วงของเน้ือเร่ืองอาจใชผ้ บู้ รรยายเพือ่ ให้การแสดงกระชบั ขึ้น ๓. นกั เรียนแต่ละกลุ่มออกมาแสดงละครหนา้ ช้ันเรยี น กล่มุ ทเ่ี ป็นผู้ชมชว่ ยกนั สงั เกตการถ่ายทอด เนอื้ เรอื่ งและประเมินการแสดง ๔. นักเรยี นร่วมกันวเิ คราะหส์ ภาพสังคมและวฒั นธรรมที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง เชน่ การเดินทางไป ค้าขายในต่างเมือง การสูร้ บเพื่อขยายอาณาเขต การขับซอชมความงามความเช่ือเรื่องผี การเส่ียงทาย และการ ทาเสนห่ ์ ๕. นกั เรยี นร่วมกนั วเิ คราะห์ข้อคิดท่ีไดจ้ ากนทิ าน และอภิปรายถึงพฤติกรรมของพระลอกับ พระเพ่ือนพระแพงว่าเหมาะสมหรือไม่ และนักเรยี นควรปฏิบัติอย่างไรในชีวิตจริง

ขน้ั สรุป นักเรียนและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ ดงั น้ี พระลอเป็นนทิ านพื้นบา้ นของภาคเหนือทีเ่ ลา่ สืบต่อกนั มา ซง่ึ สะท้อนให้เห็นสภาพสงั คมและวัฒนธรรมของท้องถิน่ และความเปน็ มาของพระธาตพุ ระลอในจังหวัดแพร่ ที่ เช่อื วา่ เป็นสถานทบี่ รรจอุ ัฐิของพระลอและพระเพื่อนพระแพง 7. สื่อการเรยี นรู้ ๑. ภาพ ๒. นิทานพืน้ บา้ น 8. การวดั ผลประเมนิ ผล หลักฐาน เครือ่ งมอื วดั เกณฑ์การ ประเมิน เป้าหมาย แบบฝึกหดั “นิทานพ้ืนบ้าน แบบประเมินแบบฝกึ หัด รอ้ ยละ ๖๐ สาระสาคัญ “นิทานพืน้ บ้าน ผ่านเกณฑ์ พระลอเปน็ นทิ านพ้นื บ้านของ ภาคเหนือ” ภาคเหนอื ” ภาคเหนอื ทเ่ี ล่าสืบต่อกนั มา ซ่ึงสะท้อน แบบฝกึ หัด แบบประเมินแบบฝกึ หัด รอ้ ยละ ๖๐ ใหเ้ หน็ สภาพสงั คมและวัฒนธรรมของ “นทิ านพน้ื บ้าน “นทิ านพื้นบ้าน ผา่ นเกณฑ์ ทอ้ งถิน่ และความเป็นมาของพระธาตุ ภาคเหนือ” พระลอในจงั หวดั แพร่ ทีเ่ ช่อื ว่าเปน็ ภาคเหนือ” สถานทีบ่ รรจอุ ัฐิของพระลอและพระ แบบประเมนิ แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ เพ่อื น พระแพง แบบฝกึ หัด “นิทานพื้นบ้าน ผา่ นเกณฑ์ ตวั ชวี้ ดั “นิทานพน้ื บ้าน ภาคเหนือ” - ท ๕.๑ ม. ๑/๑ สรปุ เนื้อหา วรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่าน ภาคเหนือ” คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เห็นความสาคัญของการศึกษา นทิ านพนื้ บา้ นภาคเหนอื เพื่อเรยี นรู้ วฒั นธรรมของท้องถ่นิ

เกณฑก์ ารประเมินผล (รบู รกิ ส์) ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรียนสรุปเน้ือ สรุปความรแู้ ละ สรุปความรแู้ ละข้อคิด สรปุ ความรู้และ สรปุ ความรูแ้ ละข้อคิด เรื่องนทิ านพื้นบา้ นที่ ขอ้ คิดจากเรื่องได้ จากเรอื่ งไดถ้ ูกต้อง ขอ้ คิดจากเร่ืองได้ จากเรื่องได้ถูกต้อง แต่ อา่ น (K) ถูกต้อง ชดั เจน หลาย ชดั เจน หลายแงม่ มุ ถกู ต้อง แตส่ รุปเพียง สรุปเพียง ๑ ประเด็น ไม่ แงม่ มุ และสามารถ และสามารถเสนอ ๑ ประเด็น และเสนอ สามารถเช่อื มโยงกบั เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใช้ใน ชวี ิตจรงิ ได้ ตอ้ งมผี ู้ นาไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ ได้ ในชวี ติ จรงิ ได้ ชีวิตจริงไดส้ มั พันธ์กนั แนะนาจึงจะเขา้ ใจ ดีและสร้างสรรค์ 2. นักเรียนวเิ คราะห์ นกั เรยี นวิเคราะห์ นกั เรยี นวเิ คราะห์ นักเรียนวิเคราะห์ นกั เรียนวิเคราะห์ สภาพสังคม สภาพสงั คม สภาพสังคม สภาพสังคม วฒั นธรรม สภาพสังคม วฒั นธรรม วัฒนธรรม และ วฒั นธรรม และ วัฒนธรรม และขอ้ คิด และข้อคิดทไ่ี ดจ้ าก และข้อคิดทไี่ ดจ้ าก ขอ้ คิดท่ีได้จากนทิ าน ขอ้ คิดท่ีได้จากนทิ าน ทไ่ี ด้จากนทิ านได้ นิทานได้หลายประเดน็ นทิ านอย่างกวา้ ง ๆ ไม่ พน้ื บา้ นภาคเหนือ ไดห้ ลายประเด็น ทกุ หลายประเดน็ ทุก ซ่งึ บางประเด็น ระบุประเด็นชดั เจน แต่ (P) ประเดน็ ล้วนน่าสนใจ ประเด็น นา่ สนใจและ ก็มเี หตผุ ลประกอบท่ี มีเหตผุ ลประกอบ ลว้ นน่าสนใจ มเี หตุผล แสดงเหตุผลท่ีดี สัมพนั ธก์ นั สรุปข้อคดิ นา่ เช่ือถอื สรปุ ข้อคดิ ประกอบท่ีดี สรปุ สรุปขอ้ คิดและเสนอ เพียงส้นั ๆ แต่กเ็ ป็น และเสนอแนวทางที่ ข้อคิดและเสนอ แนวทางท่ีเป็น ประโยชนท์ ่ดี ี นาไปใช้ในชวี ติ ได้จรงิ แนวทางทน่ี าไปใช้ ประโยชน์ ในชวี ิตได้จรงิ ๓. นกั เรียนเหน็ นักเรียนใชค้ าใน นกั เรียนใชค้ าใน นักเรยี นใชค้ าใน นักเรียนใชค้ าใน ความสาคญั ของ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไม่ถูกต้อง การศึกษานทิ าน ตามอักขรวธิ ี ใชค้ าได้ ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ เขยี นยังไมถ่ กู ต้อง เขยี นคาพื้นฐาน พืน้ บา้ นภาคเหนือ ถูกบริบทและ ถกู บรบิ ทและ ตาม อกั ขรวิธี เขียน ภาษาไทยไม่ถูกต้อง เพือ่ เรยี นร้วู ฒั นธรรม เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขยี นคา คาพื้นฐานไดถ้ ูกต้อง ของทอ้ งถ่ิน (A) พ้นื ฐานได้ถูกต้อง พ้ืนฐานมีข้อผดิ พลาด บา้ ง ท้งั หมด เลก็ นอ้ ย เกณฑก์ ารประเมนิ การผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง หน่วยท่ี ๓ นิทานพน้ื บ้าน เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ แผนการเรียนรูท้ ่ี ๔๗ นทิ านพน้ื บา้ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครูผ้สู อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วันท่ีสอน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ พญาคนั คากเป็นนทิ านพื้นบา้ นของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือทสี่ ะท้อนภาพความแห้งแลง้ และการขอ ฝนอนั เปน็ ตน้ กาเนิดของประเพณีบุญบ้ังไฟ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อย่างเหน็ คุณค่า และนามาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริง 3. ตวั ชว้ี ดั ท ๕.๑ ม. ๑/๑ สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น 4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) สรุปเนอื้ เรอื่ งนิทานพน้ื บ้านที่อ่าน 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) วเิ คราะห์สภาพสงั คม วฒั นธรรม และข้อคิดทไ่ี ดจ้ ากนทิ านพืน้ บา้ นภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 3. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เห็นความสาคญั ของการศึกษานทิ านพนื้ บา้ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือเพื่อเรยี นรู้ วัฒนธรรมของท้องถิ่น 5. สาระการเรยี นรู้ นทิ านพนื้ บ้านภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เรื่อง พญาคนั คาก 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขัน้ นาเขา้ สูบ่ ทเรยี น นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ วา่ นทิ านมีลักษณะเดน่ อย่างไร ขั้นพัฒนาผู้เรยี น ๑. นักเรียนรว่ มกันสนทนาเก่ียวกับลกั ษณะภมู ิประเทศและภูมอิ ากาศของภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ๒. นักเรยี นอ่านนทิ านพ้ืนบา้ นของภาคตะวันออกเฉยี งเหนือเรอ่ื ง พญาคนั คากท่ีครแู จกใหเ้ พ่อื จับ ใจความและสรปุ เนื้อเรื่อง ดังนี้

พญาคันคาก พระยาหลวงเอกราช และนางสีดา ปกครองเมืองอินทปัตถ์มานาน ประชาชนมีความสุขสมบูรณ์ กันถ้วนหน้า พระโพธิสัตว์ได้ถือกาเนิดในครรภ์นางสีดาในร่างของคันคาก (คางคก) ในคืนหน่ึง นางสีดาฝันว่า พระอาทิตย์ได้ตกลงมาจากฟากฟ้าแล้วลอยเข้ามาในปากของนาง เมื่อนางกลืนลงท้องเน้ือตัวของนางได้ กลายเป็นสีเหลืองสดใสประดุจดังทองคา ในความฝันยังแสดงให้เห็นว่า นางมีอิทธิฤทธิ์สามารถเหาะเหิน เดินอากาศได้ นางได้เหาะไปยงั เขาพระสุเมรุแลว้ จงึ กลบั มายังปราสาทราชวังในเมืองอนิ ทปัตถ์ดงั เดิม ครั้งสะดุ้ง ตื่นนางได้เล่าความฝันถวายแก่พระยาหลวงเอกราชพระสวามี พระยาหลวงล่วงรู้ในนิมิตความฝันว่า พระองค์ จะมีโอรสท่ีจะสืบราชสมบตั ติ อ่ ไป เมื่อครบสิบสองเดือนนางสีดาได้ให้กาเนิดกุมารเป็นตัวคันคาก (คางคก) มีรูปร่างเหลืองอร่ามดั่ง ทองคา พระยาหลวงเอกราชดีใจมากได้ส่ังให้จัดหาอู่ทองคามาให้นอน และจัดหา แม่นมมาดูแลอย่างใกล้ชิด ต่อมาท้าวคันคากเจริญวัยเป็นหน่มุ อายุได้ ๒๐ ปี คิดอยากจะมีคู่ครอง พระบิดาได้พยายามหาผู้ท่ีเหมาะสมมา ให้แต่ก็หาไม่ได้ ด้วยมีเหตุขัดข้องที่ท้าวคันคากมีรปู กายท่ีอปั ลักษณ์ผิดแผกไปจากมนุษย์คนอ่นื ๆ พระยาหลวง เอกราชรู้สึกสงสารโอรสเป็นอันมากจึงปลอบใจว่า ขอให้สร้างสมบุญบารมีต่อไปอีก จนกว่าจะกลายร่างเป็น มนุษย์เมื่อใด จะยกทรัพย์สมบัติให้ปกครองบ้านเมืองสืบต่อไป ท้าวคันคากจึงตั้งจิตอธิษฐานว่า หากตนมี บุญญาบารมีขอให้ได้หญิงงามมาเป็นคู่ครอง ดังน้ัน พระอินทร์จึงลงมาเนรมิตปราสาทแก้วไว้กลางเมือง ปราสาทนี้มีขนาดใหญ่โตมาก มีเสาเป็นหม่ืน ๆ ต้น มีห้องใหญ่น้อยจานวนหนึ่งพันห้อง พร้อมท้ังเคร่ืองประดับ ตกแต่ง ปราสาทหลังนี้เต็มไปด้วยอัญมณีท่ีมคี ่ายง่ิ นอกจากนี้ พระอินทร์ได้ให้นางแก้วมาเปน็ ชายาท้าวคันคาก และได้เนรมิตกายท้าวคันคากให้มีรูปกายงดงามอีกด้วย เสร็จแล้วพระอินทร์จึงเสด็จกลับสู่สวรรค์อันเป็นท่ี ประทับของพระองค์ ท้าวคันคากและนางแก้วอาศัยอยู่ในปราสาทท่ีพระอินทร์เนรมิตงามดังไพชยนต์ปราสาท แห่งน้ี ต่อมาเมื่อพระยาหลวงเอกราชและนางสีดาทราบข่าวได้เสด็จมาเยี่ยมยังปราสาท พร้อมทั้งได้จัดทาพิธี อภิเษกให้ท้าวคันคากเป็นเจ้าเมืองปกครองไพร่ฟ้าประชาราษฎร์สืบไป นับตั้งแต่พญาคันคากข้ึนครองเมือง บรรดาพญาทั้งหลายตลอดจนสัตวเ์ ดรัจฉานได้เข้ามาขอเป็นบริวารอีกมากมาย พระยาแถนทราบว่าพญาคันคากได้ข้ึนครองเมือง จงึ คดิ อจิ ฉาและไม่พอใจ จึงคดิ หาทางกลัน่ แกล้งแต่ก็ รู้ดีว่าพญาคันคากมีบุญญาธิการและมีอิทธิฤทธ์ิมากเกรงจะเป็นภัยแก่ตนได้วางแผนการโดยที่ไม่ให้ฝนตกลง มายังมนุษย์โลก ทาให้ส่ิงท่ีมีชีวิตเดือดร้อนกันไปท่ัวพิภพนานถึงเจ็ดปี พญาคันคากไม่ทราบว่าจะหาทาง แก้ปัญหานนั้ ได้อยา่ งไรจึงลงไปยงั ใต้พิภพเพ่ือปรึกษากบั พญานาค พญาหลวงนาโคบอกกับพญาคนั คากว่า พระ ยาแถนประทับอยู่ยังปราสาทเมืองยุคันธร ที่เมืองนี้มีแม่น้าคงคาอันกว้างใหญ่ไพศาล พระยาแถนมีหน้าที่ดูแล รักษาแม่น้ายุคันธรแห่งนี้ นอกจากน้ี ยังมีเขาสัตบริภัณฑ์ต้ังอยู่รายล้อมเขาพระสุเมรุถึง ๗ ลูก เมื่อครบ กาหนดเวลา บรรดานาคจะลงมาเล่นน้ากันอย่างสนุกสนาน ฝนฟ้าก็จะตกต้องตามฤดูกาล แต่บัดนี้พระยาแถน ไม่ยอมให้นาคลงไปเล่นน้าดังแต่ก่อน จึงทาให้เมืองมนุษย์แห้งแล้ง ผู้คน สัตว์ และพืชล้มตายเป็นอันมาก พญา คันคากได้ฟังดังน้ัน จึงคิดหาทางไปเมืองแถน ได้ไปตามพวก ครุฑ นาค ปลวก มาก่อภูเขา เพื่อทาทางข้ึนไปรบกับ พระยาแถน เม่ือทุกอย่างเตรียมพร้อมสรรพแล้ว จึงยกพลไปรบกับพระยาแถนโดยต่างฝ่ายต่างก็มีคาถาอาคม พญาคันคากได้ร่ายเวทมนตร์ให้บงั เกิดมกี บเขียดอย่างมากมาย ทาให้ชาวเมอื งแถนตกใจกลัวเป็นอย่างย่ิง พระยา แถนเองก็ใช้คาถาอาคมเป่าให้เกิดมีงูร้ายมากมายหลายชนิด เพื่อมาจับกบและเขียดกิน พญาคันคากได้ให้ครุฑ และกามาจิกกินงทู เ่ี กดิ จากอาคมพระยาแถน จนกระทง่ั งูเหลา่ น้ันต้องลม้ ตาย

พระยาแถนจึงให้สุนัขวิ่งไล่จับครุฑและกากินเป็นอาหาร พญาคันคากได้ให้เสือโคร่งออกมาจับสุนัขกิน พระยาแถนได้ยิงธนูให้กลายเป็นห่าฝนหอกดาบตกลงมาเสียบคนล้มตายเป็นจานวนมาก พญาครุฑได้เนรมิต ปีกให้แผ่กว้างเพื่อกาบังห่าฝนหอกดาบ และมีการร่ายเวทมนตร์คาถาอาคมให้ผู้คนท่ีล้มตายกลับฟ้ืนคืนชีพข้ึนมา อีกครั้งหน่ึง การสู้รบกันระหว่างพญาคันคากกับพระยาแถนเป็นไปอย่างดุเดือด ต่างคนต่างก็มีคาถาอาคมเพื่อ ตอ่ สกู้ ับศัตรูอย่างฉกาจฉกรรจ์ ปรากฏว่าไม่มใี ครแพ้ใครชนะ จึงได้มาชนช้างกนั ในทีส่ ุดพระยาแถนแพพ้ ญาคัน คาก พญาคนั คากจึงมีบัญชาให้พระยาแถนยอมใหน้ าคมาเลน่ นา้ ฝนจะไดต้ กบนพน้ื พภิ พดังเดมิ ครง้ั นน้ี ับเปน็ การ สรู้ บ ท่เี รียกวา่ มหายุทธ เลยทีเดียว ตอ่ มาสตั วต์ า่ ง ๆ เหลา่ น้จี ึงเปน็ ศตั รกู ันตั้งแตน่ ้นั มา ทมี่ า : สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอสี าน ๓. นักเรียนฝกึ ซอ้ มการเล่านทิ าน จากน้นั จับฉลากหมายเลขประจาตวั นกั เรยี น หากไดห้ มายเลขใด ใหน้ กั เรียนออกมาเลา่ นทิ านหนา้ ช้นั เรยี นให้เพือ่ นฟงั ผูฟ้ ังชว่ ยกันจับใจความว่าถูกตอ้ งตามเนอื้ เรื่องที่อ่าน หรอื ไม่ และประเมนิ ลีลาการเล่านทิ านและการใชเ้ สยี งของผเู้ ล่าครูพจิ ารณาจานวนผู้ออกมาเลา่ นิทานตามเวลา ทีเ่ หมาะสม ๔. นกั เรยี นร่วมกนั วิเคราะหค์ วามเชอ่ื มโยงของเนื้อเรื่องกับสภาพทีเ่ ป็นจริงของภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ครูอธิบายความร้เู กี่ยวกับประเพณบี ุญบั้งไฟให้นกั เรยี นฟงั เพม่ิ เติม นกั เรยี นรว่ มกัน วิเคราะห์ข้อคิดที่ได้จากนิทานพื้นบา้ นเรอ่ื งนี้ ขัน้ สรปุ นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้ พญาคันคากเป็นนิทานพน้ื บ้านของภาค ตะวันออกเฉยี งเหนือทส่ี ะท้อนภาพความแห้งแลง้ และการขอฝนอนั เปน็ ตน้ กาเนิดของประเพณีบุญบง้ั ไฟ 7. ส่ือการเรยี นรู้ ๑. นทิ านพืน้ บ้าน ๒. ฉลาก

ใบความรู้ (เพ่ิมเตมิ ) บุญบง้ั ไฟ บุญบั้งไฟ หรือ บุญเดือนหก เป็นงานบุญประเพณีท่ีสาคัญของชาวอีสาน จึงปฏิบัติสืบต่อกันมาต้ังแต่ สมัยโบราณจนกระท่ังได้ตราไว้ในบทบัญญัติแห่งสังคมของอีสาน ท่ีเรียกว่า “ฮีตสิบสองคองสิบสี่” น้ันคือ พิธีกรรมในรอบปี ๑๒ ประการ และคองธรรม ๑๔ ประการ ในฮีตสิบสองคอง- สบิ สีน่ นั้ ได้กาหนดงานบุญบงั้ ไฟ ไว้เป็นพิธีกรรมสาคญั พิธหี นึง่ ในสบิ สองพิธี ในการจัดพิธีกรรมเนื่องในบุญบั้งไฟนั้น ชาวอสี านจะดาเนินการดว้ ย ความศรัทธา ร่วมมือร่วมแรงกันอย่างพร้อมเพรียง เป็นกระบวนการที่ยาวนานกว่าเดือนหน่ึงก่อนท่ีจะได้เฉลิม ฉลองแห่แหนร่ืนเริงดังท่ีเราได้ทราบกันน้ัน ชาวอีสานมีความผูกพันกับพิธีกรรมสาคัญนี้อย่างแนบแน่น ดังจะ พบว่าชาวอีสานท่ีจากหมู่บ้านไปประกอบอาชีพต่างจังหวัด หรือในกรุงเทพฯ เม่ือทราบว่าในหมู่บ้านตนจะมี งานบุญบัง้ ไฟกจ็ ะกลบั ไปร่วมพิธีกรรมโดยสม่าเสมอ การจัดงานบุญบั้งไฟน้ัน เช่ือว่าเปน็ การส่งขา่ วหรือบอกข่าวแก่พระยาแถน (พระยาแถนหรอื ผีฟ้าผีแถน คือเทพผู้ให้เกิดเป็นดิน เป็นฟ้า เป็นฝน ในความเช่ือของชาวอีสาน) ซ่ึงมีหน้าท่ีให้น้าฝนแก่มนุษยโลกทราบว่า ขณะน้เี กดิ ความแหง้ แล้งแล้ว และมวลมนุษย์ท้ังหลายกาลังเดือดร้อนเร่ืองการขาดแคลนน้า การสง่ บัง้ ไฟขน้ึ ไป นนั้ เป็นการส่ือสารระหว่างมนุษยก์ ับวิญญาณ คือพระยาแถน หรือผีฟ้าผีแถน จากความเช่ือดังกล่าวชาวอีสาน ยงั มตี านานท่ีเกย่ี วเน่อื งดว้ ยการแหบ่ ั้งไฟอนื่ ๆ อีก เช่น ตานานเรอ่ื งพระยาคันคาก ตานานเรื่องท้าวผาแดงนาง ไอ่ เป็นต้น จากตานานดังกล่าวเป็นดัชนีช้ีให้เห็นว่า ความเชื่อเร่ืองบุญบ้ังไฟนั้น ได้พัฒนาเป็นพิธีกรรมอย่าง เนิน่ นาน จากยคุ หน่ึงผา่ นสู่อกี ยคุ หนง่ึ สืบทอดกันโดยมิได้ขาดสาย แม้วา่ ในปจั จุบันน้ีความเชอื่ ดังกล่าวจะเลือน รางลงไปมากสาหรบั คนรุ่นใหม่ ท่มี า : สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอสี าน

8. การวดั ผลประเมนิ ผล หลกั ฐาน เครือ่ งมอื วัด เกณฑก์ าร ประเมิน เปา้ หมาย แบบฝกึ หดั แบบประเมินแบบฝึกหัด “นิทานพนื้ บ้านภาค “นิทานพน้ื บ้านภาค รอ้ ยละ ๖๐ สาระสาคัญ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ” ตะวันออกเฉียงเหนือ” ผ่านเกณฑ์ พญาคนั คากเปน็ นิทานพ้ืนบ้าน แบบฝึกหัด แบบประเมนิ แบบฝกึ หัด รอ้ ยละ ๖๐ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ี “นิทานพน้ื บ้านภาค “นทิ านพืน้ บ้านภาค ผ่านเกณฑ์ สะทอ้ นภาพความแห้งแลง้ และการขอ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ” ตะวันออกเฉยี งเหนอื ” ฝนอันเปน็ ตน้ กาเนิดของประเพณีบุญ รอ้ ยละ ๖๐ บง้ั ไฟ แบบฝกึ หดั แบบประเมินแบบฝึกหดั ผา่ นเกณฑ์ ตัวชี้วัด “นทิ านพืน้ บ้านภาค “นทิ านพน้ื บ้านภาค - ท ๕.๑ ม. ๑/๑ สรุปเนอ้ื หา ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ” ตะวันออกเฉยี งเหนือ” วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เหน็ ความสาคญั ของการศกึ ษา นทิ านพ้ืนบ้านภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ เพือ่ เรียนรู้ วัฒนธรรมของท้องถ่ิน

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รบู ริกส)์ ประเดน็ การประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรงุ (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรยี นสรปุ เนอ้ื สรปุ ความรู้และ สรปุ ความรแู้ ละข้อคิด สรปุ ความรูแ้ ละ สรปุ ความรู้และข้อคิด เรื่องนทิ านพนื้ บา้ นที่ ข้อคิดจากเรื่องได้ จากเรือ่ งได้ถูกต้อง ขอ้ คิดจากเรื่องได้ จากเรอื่ งไดถ้ ูกต้อง แต่ อา่ น (K) ถกู ต้อง ชัดเจน หลาย ชดั เจน หลายแงม่ มุ ถกู ต้อง แต่สรุปเพยี ง สรุปเพยี ง ๑ ประเดน็ ไม่ แงม่ มุ และสามารถ และสามารถเสนอ ๑ ประเดน็ และเสนอ สามารถเชื่อมโยงกบั เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใช้ใน ชีวิตจรงิ ได้ ต้องมีผู้ นาไปใชใ้ นชีวติ จริงได้ ในชวี ิตจรงิ ได้ ชวี ติ จรงิ ได้สมั พนั ธ์กนั แนะนาจึงจะเขา้ ใจ ดีและสร้างสรรค์ 2. นกั เรยี นวิเคราะห์ นักเรียนวิเคราะห์ นกั เรียนวิเคราะห์ นกั เรียนวเิ คราะห์ นกั เรยี นวิเคราะห์ สภาพสังคม สภาพสงั คม สภาพสงั คม สภาพสังคม วัฒนธรรม สภาพสงั คม วัฒนธรรม วัฒนธรรม และ วฒั นธรรม และ วฒั นธรรม และข้อคิด และข้อคิดทไ่ี ด้จาก และข้อคดิ ทีไ่ ดจ้ าก ขอ้ คิดที่ได้จากนิทาน ข้อคิดท่ไี ด้จากนิทาน ที่ได้จากนิทานได้ นทิ านได้หลายประเดน็ นิทานอยา่ งกวา้ ง ๆ ไม่ พนื้ บ้านภาค ได้หลายประเด็น ทกุ หลายประเดน็ ทกุ ซึง่ บางประเดน็ ระบปุ ระเด็นชัดเจน แต่ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ประเด็นล้วนนา่ สนใจ ประเด็น น่าสนใจและ กม็ เี หตุผลประกอบท่ี (P) มีเหตุผลประกอบ ล้วนน่าสนใจ มเี หตผุ ล แสดงเหตผุ ลทีด่ ี สัมพนั ธ์กนั สรปุ ข้อคดิ น่าเช่อื ถอื สรุปข้อคิด ประกอบทด่ี ี สรุป สรุปขอ้ คดิ และเสนอ เพยี งสัน้ ๆ แต่ก็เป็น และเสนอแนวทางที่ ข้อคิดและเสนอ แนวทางทีเ่ ป็น ประโยชน์ทด่ี ี นาไปใช้ในชีวติ ได้จรงิ แนวทางที่นาไปใช้ ประโยชน์ ในชวี ติ ไดจ้ ริง ๓. นักเรยี นเหน็ นักเรียนใช้คาใน นกั เรยี นใชค้ าใน นักเรยี นใช้คาใน นักเรยี นใชค้ าใน ความสาคัญของ ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง การศกึ ษานทิ าน ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ เขยี นยังไมถ่ ูกต้อง เขยี นคาพน้ื ฐาน พืน้ บา้ นภาค ถูกบริบทและ ถกู บริบทและ ตาม อกั ขรวิธี เขียน ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ตะวันออกเฉียงเหนอื เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขียนคา คาพ้ืนฐานได้ถูกต้อง เพ่อื เรยี นรู้ พื้นฐานได้ถูกต้อง พน้ื ฐานมขี ้อผิดพลาด บ้าง วฒั นธรรมของ ท้ังหมด เล็กนอ้ ย ท้องถิน่ (A) เกณฑก์ ารประเมินการผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรงุ คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถือว่าผ่านเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง หน่วยท่ี ๓ นิทานพืน้ บ้าน เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๒ แผนการเรยี นรู้ที่ ๔๘ นิทานพ้นื บ้านภาคกลาง ครูผู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ วันทสี่ อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั นิทานพื้นบ้านภาคกลางหลายเร่ืองเป็นท่ีรู้จักกันดี เน่ืองจากได้รับการนามาสร้างเป็นการ์ตูนหรือละคร โทรทศั น์ และบางเรอื่ งกม็ ีการนามาแตง่ เป็นวรรณคดีดว้ ย 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อย่างเห็นคุณคา่ และนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง 3. ตัวช้ีวดั ท ๕.๑ ม. ๑/๑ สรุปเน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ความรู้ สรุปเน้อื เรือ่ งนิทานพ้นื บ้านท่ีอา่ น 2. ทกั ษะกระบวนการ วเิ คราะหส์ ภาพสังคม วัฒนธรรม และข้อคิดทีไ่ ด้จากนิทานพื้นบา้ นภาคกลาง 3. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เหน็ ความสาคัญของการศกึ ษานทิ านพื้นบ้านภาคกลางเพ่ือเรียนรวู้ ัฒนธรรมของท้องถนิ่ 5. สาระการเรยี นรู้ นทิ านพ้ืนบ้านภาคกลาง 6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ วา่ ละครทม่ี าจากนิทานพื้นบา้ นหรือละครจักร ๆ วงศ์ ๆ ต่างจาก ละครทว่ั ไปอยา่ งไร

ข้นั พัฒนาผู้เรียน ๑. นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม ๘ กลุ่ม จับฉลากชอ่ื นิทานพน้ื บ้านของภาคกลาง ดังนี้ กลุ่มท่ี ๑ เรอ่ื ง ปลาบ่ทู อง กลุ่มท่ี ๒ เรื่อง พระร่วง กลมุ่ ที่ ๓ เรอ่ื ง พระรถ-เมรี (นางสบิ สอง) กลมุ่ ท่ี ๔ เรอ่ื ง กบลิ พรหม (ท้าวมหาสงกรานต)์ กลมุ่ ที่ ๕ เรื่อง เมขลา-รามสูร กลุ่มที่ ๖ เรอ่ื ง ไกรทอง กลุม่ ท่ี ๗ เรอ่ื ง พระยากง-พระยาพาน กลุม่ ที่ ๘ เรื่อง โสนนอ้ ยเรอื นงาม ๒. นักเรยี นแต่ละกลุม่ อา่ นนิทานท่คี รูแจกใหเ้ พ่ือจบั ใจความและช่วยกนั สรปุ เน้อื เรื่อง จากน้นั ประชุมกลมุ่ เพื่อวางแผนการแสดงบทบาทสมมุตปิ ระกอบการเลา่ นิทาน โดยคัดเลือกผูเ้ ล่านิทาน ๑-๒ คน และ ผแู้ สดงบทบาทสมมุติตามตวั ละครในเร่ือง ผูแ้ สดงสามารถแสดงสหี นา้ ท่าทางได้แตห่ ้ามพูด ส่วนผูเ้ ล่าจะตอ้ ง เลา่ ใหส้ ัมพันธ์กับการแสดง (ครอู าจมอบหมายใหน้ ักเรยี นฝึกซ้อมการแสดงนอกเวลาเรยี น) ๓. เมอื่ ฝึกซ้อมแลว้ ให้นกั เรยี นออกมาแสดงหน้าชน้ั เรยี นทลี ะกลมุ่ กลุ่มท่ีเป็นผู้ชมจับใจความเนื้อ เรอ่ื งและร่วมกนั ประเมินการแสดง ครชู ว่ ยแนะนาเพิ่มเตมิ ๔. นกั เรยี นรว่ มกนั วิเคราะหส์ ภาพสงั คมและวฒั นธรรมทป่ี รากฏในเนื้อเร่ืองแล้วแสดงความ คิดเหน็ ๕. นกั เรียนรว่ มกันวเิ คราะห์ข้อคิดที่ไดจ้ ากนทิ านพ้นื บา้ นเรื่องตา่ ง ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ในการ ดาเนินชวี ติ ๖. นักเรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกับการชมการต์ ูนหรือละครโทรทัศนท์ ม่ี าจากนทิ านพ้นื บ้านเรือ่ ง ต่าง ๆ ขน้ั สรปุ นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดังน้ี นิทานพน้ื บา้ นภาคกลางหลายเร่ืองเปน็ ทีร่ ู้จักกันดี เนอื่ งจาก ได้รบั การนามาสร้างเป็นการ์ตูนหรือละครโทรทัศน์ และบางเรื่องก็มกี ารนามาแต่งเปน็ วรรณคดีด้วย 7. ส่อื การเรยี นรู้ ๑. ฉลาก ๒. นิทานพ้นื บา้ น

8. การวัดผลประเมนิ ผล หลักฐาน เครื่องมอื วดั เกณฑ์การ ประเมิน เป้าหมาย แบบฝึกหัด “นทิ านพน้ื บ้าน แบบประเมินแบบฝกึ หัด ร้อยละ ๖๐ สาระสาคญั “นทิ านพน้ื บ้าน ผา่ นเกณฑ์ นทิ านพน้ื บา้ นภาคกลางหลาย ภาคกลาง” ภาคกลาง” เรอ่ื งเปน็ ท่รี ูจ้ ักกันดี เน่ืองจากไดร้ บั แบบฝกึ หัด แบบประเมินแบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ การนามาสร้างเปน็ การ์ตูนหรือละคร “นิทานพนื้ บ้าน “นทิ านพ้ืนบ้าน ผ่านเกณฑ์ โทรทศั น์ และบางเร่ืองกม็ ีการนามา ภาคกลาง” แตง่ เปน็ วรรณคดดี ว้ ย ภาคกลาง” ตัวชีว้ ัด แบบประเมนิ แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ - ท ๕.๑ ม. ๑/๑ สรปุ เน้อื หา แบบฝกึ หัด “นิทานพน้ื บ้าน ผา่ นเกณฑ์ วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ น “นิทานพืน้ บ้าน ภาคกลาง” คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ภาคกลาง” เหน็ ความสาคญั ของการศึกษา นทิ านพน้ื บ้านภาคเหนือ เพอ่ื เรยี นรู้ วัฒนธรรมของท้องถิ่น

เกณฑก์ ารประเมินผล (รบู รกิ ส์) ประเดน็ การประเมิน (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรยี นสรุปเนอ้ื สรปุ ความรู้และ สรุปความรูแ้ ละข้อคิด สรปุ ความร้แู ละ สรุปความรู้และข้อคิด เรื่องนิทานพ้ืนบ้านที่ ขอ้ คิดจากเร่ืองได้ จากเรอ่ื งได้ถูกต้อง ขอ้ คิดจากเรื่องได้ จากเรือ่ งได้ถูกต้อง แต่ อา่ น (K) ถูกต้อง ชดั เจน หลาย ชัดเจน หลายแงม่ ุม ถูกต้อง แต่สรุปเพียง สรุปเพียง ๑ ประเดน็ ไม่ แง่มมุ และสามารถ และสามารถเสนอ ๑ ประเดน็ และเสนอ สามารถเช่อื มโยงกบั เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใช้ใน ชีวติ จรงิ ได้ ต้องมผี ู้ นาไปใช้ในชีวิตจริงได้ ในชวี ิตจรงิ ได้ ชวี ิตจรงิ ไดส้ มั พันธ์กัน แนะนาจงึ จะเข้าใจ ดีและสรา้ งสรรค์ 2. นักเรียนวิเคราะห์ นักเรียนวเิ คราะห์ นักเรียนวิเคราะห์ นักเรียนวเิ คราะห์ นักเรียนวิเคราะห์ สภาพสังคม สภาพสงั คม สภาพสังคม สภาพสังคม วัฒนธรรม สภาพสงั คม วัฒนธรรม วัฒนธรรม และ วฒั นธรรม และ วฒั นธรรม และข้อคิด และข้อคิดท่ีไดจ้ าก และข้อคิดทไี่ ด้จาก ขอ้ คิดท่ไี ด้จากนิทาน ข้อคิดทไ่ี ด้จากนทิ าน ทีไ่ ด้จากนทิ านได้ นิทานได้หลายประเดน็ นิทานอย่างกวา้ ง ๆ ไม่ พนื้ บ้านภาคกลาง ได้หลายประเด็น ทุก หลายประเดน็ ทกุ ซงึ่ บางประเดน็ ระบปุ ระเด็นชัดเจน แต่ (P) ประเดน็ ลว้ นน่าสนใจ ประเดน็ น่าสนใจและ ก็มเี หตุผลประกอบที่ มเี หตผุ ลประกอบ ล้วนนา่ สนใจ มีเหตผุ ล แสดงเหตผุ ลท่ดี ี สมั พันธก์ นั สรุปข้อคิด นา่ เชอ่ื ถอื สรปุ ข้อคดิ ประกอบทดี่ ี สรุป สรปุ ข้อคดิ และเสนอ เพียงสน้ั ๆ แต่กเ็ ป็น และเสนอแนวทางที่ ข้อคิดและเสนอ แนวทางท่เี ป็น ประโยชน์ที่ดี นาไปใช้ในชวี ิตได้จรงิ แนวทางท่ีนาไปใช้ ประโยชน์ ในชีวิตได้จริง ๓. นกั เรียนเหน็ นักเรียนใช้คาใน นกั เรียนใช้คาใน นกั เรยี นใช้คาใน นกั เรียนใช้คาใน ความสาคญั ของ ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไม่ถูกต้อง การศึกษานิทาน ตามอักขรวธิ ี ใชค้ าได้ ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ เขยี นยงั ไมถ่ ูกต้อง เขยี นคาพ้ืนฐาน พนื้ บา้ นภาคกลาง ถูกบรบิ ทและ ถกู บริบทและ ตาม อักขรวิธี เขียน ภาษาไทยไม่ถูกต้อง เพ่ือเรยี นรู้ เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขยี นคา คาพืน้ ฐานไดถ้ ูกตอ้ ง วฒั นธรรมของ พน้ื ฐานได้ถกู ต้อง พื้นฐานมีข้อผดิ พลาด บา้ ง ทอ้ งถ่ิน (A) ท้ังหมด เลก็ น้อย เกณฑ์การประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรุง คะแนนร้อยละ ๖๐ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook