Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ 5ภาค2_61

รายงานการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ 5ภาค2_61

Published by Kru.WIJITTA UMPAIJIT, 2020-04-03 10:35:02

Description: รายงานการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม

Search

Read the Text Version

รายงานการใช้ แผนการจดั การเรยี นรู้ ฟิสกิ ส์เพว๓ม่ิ เ๓ต๒มิ ๐๒๕ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ จดั ทำโดย นางสาววิจติ ตา อำไพจติ ต์ ครูชำนาญการ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต ๔

บนั ทกึ ข้อความ ส่วนราชการ กลุ่มบริหารวิชาการ โรงเรยี นธรรมศาสตรค์ ลองหลวงวิทยาคม ท่ี วนั ท่ี ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๒ เรือ่ ง รายงานผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ าฟิสิกส์เพ่ิมเติม ๕ รหสั วิชา ว๓๓๒๐๒ เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นธรรมศาสตรค์ ลองหลวงวทิ ยาคม ตามท่ีขา้ พเจา้ นางสาววจิ ิตตา อำไพจิตต์ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ไดจ้ ดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ ิกสเ์ พ่ิมเติม ๕ รหสั วชิ า ว๓๓๒๐๒ ระดบั ช้นั มัธยมศึกษา ปที ี่ ๖ ใช้จัดการเรียนการสอนในภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ บดั นี้ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ได้เสรจ็ สิน้ เรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขอรายงานการใช้แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าดงั กลา่ ว จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ลงชอื่ วิจิตตา ( นางสาววจิ ิตตา อำไพจิตต์ )

รายงานการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวทิ ยาคม 1. วตั ถุประสงคข์ องการรายงาน 1.1 เพ่ือศึกษาผลการใช้แผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชา ฟิสิกสเ์ พ่มิ เตมิ 5 รหัสวิชา ว33202 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ดงั น้ี 1.1.1 เพ่ือศกึ ษาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นโดยใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ 1.1.2 เพื่อศึกษาร้อยละของจำนวนนกั เรยี นทีไ่ ด้ระดับผลการเรยี นตา่ ง ๆ 1.1.3 เพอ่ื ศึกษาประสทิ ธภิ าพของแผนการจดั การเรียนรู้ 1.1.4 เพื่อศึกษาจำนวนนกั เรยี นที่ไดค้ ะแนน 10 อนั ดับแรกของรายวิชา 1.1.5 เพือ่ ศกึ ษาผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน 1.2 เพ่อื ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนทมี่ ตี ่อการจัดการเรียนการสอน โดยใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ วิชาฟิสกิ สเ์ พ่มิ เตมิ 5 รหัสวิชา ว33202 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 2. ขอบเขตการรายงาน 2.1 แผนการจดั การเรียนรู้วชิ าฟสิ ิกส์เพ่ิมเตมิ 5 รหสั วิชา ว33202 จำนวน 2.0 หนว่ ยกติ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2561 2.2 นกั เรียนระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2561 จำนวน 164 คน 3. เอกสารประกอบการรายงาน (ภาคผนวก) 3.1 โครงสรา้ งรายวิชา (Course Syllabus) 3.2 ตารางวิเคราะห์การออกแบบการสร้างแบบทดสอบ (Test Blueprint) 3.3 บนั ทึกผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น (ปพ.5) 3.4 แบบประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน 3.5 แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน

2 4. การวเิ คราะห์การใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ 4.1 ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสกิ ส์เพิ่มเติม 5 รหัสวิชา ว33202 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 4.1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นโดยใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ ตารางท่ี 1 คะแนนของนักเรียนแต่ละห้อง วิชา ฟสิ ิกส์เพมิ เติม 5 รหัสวชิ า ว33202 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 ชั้น จำนวนนกั เรียน คะแนนต่ำสดุ คะแนนสูงสดุ คะแนนเฉลี่ย S.D. (100) (100) (100) 92 83.25 5.94 ม.6/1 48 68 86 75.32 5.93 83 74.58 7.07 ม.6/3 47 60 87 80.52 4.36 92 78.52 6.96 ม.6/5 36 50 ม.6/13 33 70 รวม 164 50 4.1.2 รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนทไ่ี ด้ระดับผลการเรยี นตา่ ง ๆ ตารางท่ี 2 รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นที่ได้ระดับผลการเรียนวชิ า ฟสิ กิ สเ์ พิมเติม 5 รหสั วิชา ว33202 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 ชน้ั จำนวนนกั เรียน/รอ้ ยละจำนวนนักเรียน ร/ รวม รวม คา่ SD มส. ผเู้ ข้า ท้งั หมด เฉลยี่ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 สอบ 0.27 - ม.6/1 38 4 5 1 0 0 0 0 0 49 49 3.86 0.57 % 79.17 8.33 10.42 2.08 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 100 100 - - ม.6/3 11 19 11 3 3 0 0 0 0 47 47 3.06 0.66 - % 23.40 40.43 23.40 6.38 6.38 0.00 0.00 0.00 0.00 100 100 - 0.44 ม.6/5 7 17 2 8 1 0 1 0 0 36 36 2.76 - % 19.44 47.22 5.56 22.22 2.78 0.00 2.78 0.00 0.00 100 100 - 0.66 - ม.6/13 23 8 2 0 0 0 0 0 0 33 33 3.61 % 69.70 24.24 6.06 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 100 100 - รวม 79 48 20 12 4 0 1 0 0 165 165 3.34 % 48.17 29.27 12.20 7.32 2.44 0.00 0.61 0.00 0.00 100 100 - รวม 3-4 147 % 89.63

3 60.00 50.00 48.17 ร้อยละของจำนวน40.00 ันกเรียน 30.00 29.27 20.00 12.20 10.00 7.32 2.44 0.00 0.61 0.00 0.00 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ระดับผลการเรยี น แผนภูมิท่ี 1 แสดงรอ้ ยละของจำนวนนักเรียนทไี่ ดร้ ะดับผลการเรียนวิชา ฟสิ ิกส์เพิมเติม 5 รหสั วชิ า ว33202 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 4.1.3 ประสิทธภิ าพของแผนการจัดการเรียนรู้ ตารางท่ี 3 ประสิทธภิ าพของแผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ า ฟิสกิ ส์เพิมเตมิ 5 รหัสวิชา ว33202 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 คะแนน n คะแนนเตม็ X S.D. ร้อยละ E1 / E2 คะแนนระหว่างเรยี น 164 70 61.24 3.18 87.48 87.48/57.62 คะแนนการทดสอบหลังเรียน 164 30 17.29 5.58 57.62

4 4.1.4 นักเรียนท่ีได้คะแนนสูงสดุ 10 อันดับแรกของรายวิชา ตารางท่ี 4 รายช่อื นกั เรียนทไี่ ด้คะแนนสงู สดุ 10 อนั ดับแรก วิชา ฟสิ ิกส์เพิมเตมิ 5 รหัสวิชา ว33202 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ลำดับที่ เลขประจำตัว ชื่อ ชัน้ คะแนนทีไ่ ด้ 1 27336 นางสาวนริ ชา อศั วโอฬาร ม.6/1 92 2 27374 นางสาวกรี ติยา ทรัพยเ์ รอื งทอง ม.6/1 90 2 27388 นางสาวพรี ญา บุญชู ม.6/1 90 2 27673 นางสาวฉัตรกนก กลดั สมยั ม.6/1 90 2 27730 นางสาวธันยชนก รัตนะ ม.6/1 90 3 27323 นางสาวเกษราภรณ์ บญุ จันทร์ ม.6/1 89 3 27341 นางสาวพุทธชาติ แพมณี ม.6/1 89 3 27784 นางสาวบวั ชมพู สอนเสนา ม.6/1 89 4 27434 นางสาวพินมนต์ สขุ สมกรณ์ ม.6/1 88 4 27696 นางสาวจรสั ทิพย์ เอย่ี มศริ ิ ม.6/1 88 5 27353 นายณัฐพล กามล ม.6/1 87 5 27873 นายอภวิ ชิ ญ์ เสติ ม.6/1 87 5 27321 นางสาวกรรณกนก แซ่ตนั ม.6/1 87 5 27349 นางสาวสรชา ยงพะวิสยั ม.6/1 87 5 27383 นางสาวทรรศนยี ์ รามคำแหง ม.6/1 87 5 27387 นางสาวพชั ราวรรณ พุ่มทอง ม.6/1 87 5 27829 นางสาวณัฐวดี นาเจรญิ ม.6/1 87 5 27947 นายกัณตพงษ์ ทวพี งศธร ม.6/13 87 5 30710 นางสาวณฐั ภรณ์ หนุ่ ทรพั ย์ ม.6/13 87 6 27344 นางสาวรวิสรา อิ่มปรดี า ม.6/1 86 6 27396 นางสาวอรุวดี ถนอมวงศ์ ม.6/1 86 6 27925 นางสาวนภัสนญั ญา ผาแก้ว ม.6/1 86 6 27310 นายธนิน เขมาปทมุ ศักด์ิ ม.6/3 86 6 27750 นายณัฐวุฒิ พรมชาลี ม.6/13 86 7 27308 นายธนดล ประดับมขุ ม.6/1 85 7 27360 นายปกรณ์ บุญปก ม.6/1 85 7 27470 นายศุภวิชญ์ พรรณโรจน์ ม.6/1 85 7 27342 นางสาวภญิ ญดา วิจิตรสอน ม.6/1 85

ลำดับท่ี เลขประจำตวั ชอื่ 5 7 27377 นางสาวจิราพัชร สวนสิน 7 27380 นางสาวฐิตยิ า ดิษราธร ช้นั คะแนนท่ีได้ 7 27425 นางสาวนภสั รวีกานต์ ถว้ นสงู เนนิ ม.6/1 85 7 27952 นายฐติ วิ ฒั น์ ใจรังกา ม.6/1 85 7 30702 นายเกียรตศิ ักด์ิ จติ ตรง ม.6/1 85 7 30703 นายชาลทอง บุญคลอ้ ย ม.6/13 85 8 27378 นางสาวชาลินี แคดี ม.6/13 85 8 27382 นางสาวองิ คว์ รากร ภคั ธนแดงโตนันท์ ม.6/13 85 8 27389 นางสาวมณีรัตน์ เพรดิ พรง้ิ ม.6/1 84 8 27424 นางสาวธาดา สดุ สระ ม.6/1 84 8 27828 นางสาวญาณิศา จนั ทรภกั ดี ม.6/1 84 8 27652 นายจริ ะพัฒน์ เปลือ้ งทุกข์ ม.6/3 84 8 27953 นายณัฐพงษ์ คงคาหลวง ม.6/3 84 8 27384 นางสาวธวัลรตั น์ หนูสวสั ด์ิ ม.6/13 84 8 30708 นางสาวญาดา เดวเี ลาะ ม.6/13 84 8 30713 นางสาวปนดั ดา ธสิ าเวทย์ ม.6/13 84 9 27339 นางสาวปยิ วรรณ ดโี สภามาตร ม.6/13 84 9 27964 นางสาวกติ ติยา การินทรร์ ตั น์ ม.6/13 84 9 27988 นางสาวกนกกานต์ ประทีปรัตน์ ม.6/1 83 9 27466 นายวีรภัทร เสมอเชอ้ื ม.6/1 83 9 27510 นายภทั เรศ ศรีเหลอื ง ม.6/1 83 9 27700 นายจริ วัฒน์ ประสพสิน ม.6/3 83 9 27757 นายวสันต์ คันธสกุลชยั ม.6/3 83 9 27407 นายธรี ะพฒั น์ พุม่ ขู่ ม.6/3 83 9 27819 นายสัณหวัชร์ เขยี วขำ ม.6/3 83 9 27826 นางสาวชลดา พรมชัย ม.6/5 83 9 27975 นางสาววรนิษฐา นาคศิริ ม.6/5 83 10 27960 นายวีรกิตต์ิ รตั นสวุ รรณ ม.6/5 83 10 30709 นางสาวณัฐณิชา จิตต์พิทักษ์ ม.6/13 83 10 30711 นางสาวณชิ นนั ท์ ถนอมชาติ ม.6/13 82 ม.6/13 82 ม.6/13 82

6 4.1.5 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน ตารางที่ 5 ผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น วิชา ฟสิ ิกส์เพมิ เติม 5 รหัสวชิ า ว33202 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ช้นั จำนวนนักเรยี น คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ อา่ นคิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน 3210 3210 ม.6/1 48 48 - - - 48 - - - % 100 - - - 100 - - - 47 - - - 47 - - - ม.6/3 47 100 - - - 100 - - - % 36 - - - 36 - - - 100 - - - 100 - - - ม.6/5 36 33 - - - 33 - - - % 100 - - - 100 - - - 164 - - - 164 - - - ม.6/13 33 100 - - - 100 - - - % รวม 164 %

7 4.2 ความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ีตอ่ การจดั การเรียนการสอน ตารางที่ 6 ความพึงพอใจของนกั เรยี นท่ีมีตอ่ การจัดการเรียนการสอน วิชา ฟสิ กิ ส์เพมิ เตมิ 5 รหัสวิชา ว33202 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 ท่ี รายการ ระดับความพงึ พอใจ X S.D. แปลผล ดา้ นเน้อื หา 4.12 0.80 มาก 1 มีความยากง่ายพอเหมาะ 4.27 0.79 มากท่สี ุด 4.18 0.81 มาก 2 มีประโยชนน์ า่ สนใจ 4.19 0.82 มาก 3 เหมาะสมกบั เวลา 4.29 0.75 มากที่สดุ 4.34 0.73 มากที่สดุ เฉล่ีย 4.34 0.74 มากทส่ี ดุ ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.36 0.77 มากที่สดุ 4.18 0.86 มาก 4 จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนหลายรปู แบบน่าสนใจ 4.25 0.79 มากทส่ี ดุ 5 จัดกจิ กรรมสง่ เสริมกระบวนการกล่มุ และการระดมพลงั สมอง 4.25 0.77 มากที่สดุ 4.20 0.85 มาก 6 จดั กจิ กรรมใหผ้ ู้เรยี นไดฝ้ กึ ฝน ค้นควา้ สังเกต รวบรวมข้อมลู วิเคราะห์ 4.31 0.81 มากทส่ี ดุ คิดอยา่ งหลากหลาย และสรา้ งสรรค์ สามารถสร้างองคค์ วามรูด้ ว้ ยตนเอง 4.28 0.79 มากท่ีสดุ 7 ครูเป็นผู้ชี้แนวทางให้ผเู้ รยี นคน้ หาคำตอบดว้ ยตนเองโดยทำกิจกรรมกลุม่ 4.40 0.73 มากที่สดุ 4.37 0.70 มากทส่ี ดุ 8 มีการสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม และใหแ้ รงเสริมด้วยการยกย่องชมเชย 4.23 0.74 มากทส่ี ดุ 4.25 0.80 มากที่สุด 9 ฝึกให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมเปน็ ประชาธิปไตย ยอมรับความคิดเห็นของผู้อน่ื 4.33 0.77 มากทีส่ ุด รจู้ กั หน้าท่ีของตนเอง เป็นผ้นู ำและผู้ตามที่ดี 4.32 0.75 มากที่สุด 10 ลำดับข้นั ตอนในการจัดกจิ กรรมไมส่ บั สน 11 กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 12 มคี วามสขุ สนกุ สนานกบั การเรยี น เฉลี่ย ด้านสื่อการเรียนการสอน 13 สื่อสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ 14 ใช้สอ่ื ตรงเนื้อหา 15 สอื่ มีความชัดเจน นา่ สนใจ 16 สอ่ื ใช้ง่าย ไมย่ ุ่งยาก ซับซอ้ น 17 ใชส้ ือ่ เหมาะสมกับวยั ผู้เรียน เฉล่ีย

8 ท่ี รายการ ระดับความพงึ พอใจ X S.D. แปลผล ด้านการวัดผลประเมนิ ผล 4.29 0.76 มากที่สุด 18 มกี ารวัดผลการเรียนรู้หลายรปู แบบ เนน้ การวัดผลตามสภาพจรงิ และจากชน้ิ งาน ท่มี อบหมาย 4.31 0.75 มากทีส่ ุด 4.35 0.78 มากที่สุด 19 สรา้ งเกณฑก์ ารประเมินอยา่ งชัดเจน 4.32 0.76 มากทส่ี ดุ 4.28 0.78 มากท่สี ุด 20 ผู้เรยี นมสี ่วนรวมในการประเมนิ เฉลี่ย เฉลยี่ รวม 5. สรปุ ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ จากการศกึ ษาผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ วิชา ฟสิ ิกสเ์ พิมเติม 5 รหสั วชิ า ว33202 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ดังนี้ 5.1 นักเรียน จำนวน 164 คน คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เท่ากับ 78.52 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 6.96 คะแนน คะแนนต่ำสุดทีไ่ ด้ 50 คะแนน คะแนนสูงสุดที่ได้ 92 คะแนน หอ้ งท่ีไดค้ ะแนนเฉล่ยี ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสูงสุด คือ ม.6/1 และรองลงมา คอื ม.6/13 5.2 ร้อยละของจำนวนนกั เรียนท่ีได้ระดับผลการเรียน พบว่า ได้ระดับผลการเรียน 4 ร้อยละ 48.17 ได้ระดับผลการเรียน 3.5 ร้อยละ 29.27 ได้ระดับผลการเรียน 3 ร้อยละ 12.20 ได้ระดับผลการเรียน 2.5 รอ้ ยละ 7.32 ได้ระดับผลการเรียน 2 รอ้ ยละ 2.44 ได้ระดับผล การเรยี น 1.5 รอ้ ยละ 0 ได้ระดับผลการเรียน 1 ร้อยละ 0.61 ได้ระดับผลการเรียน 0 ร้อยละ 0 และได้ระดับผลการเรียน ร, มส ร้อยละ 0 และตามที่กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไดก้ ำหนดคา่ เป้าหมายของระดบั ผลการเรียนเฉลยี่ เทา่ กบั 2.5 พบว่า นักเรยี นได้ ระดับผลการเรียนเฉลี่ย เท่ากับ 3.34 ซึ่งเป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนด นักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ ดี ขนึ้ ไปจำนวน 147 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 89.63 ซ่ึงเปน็ ไปตามคา่ เป้าหมายท่กี ำหนด และนักเรยี นทม่ี ีผลการเรียน ไมผ่ ่าน จำนวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0 ซ่งึ ไมเ่ กนิ ร้อยละ 3 และเป็นไปตามค่าเปา้ หมายทกี่ ำหนด 5.3 ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ พบว่า คะแนนเฉลี่ยของคะแนนระหว่างเรียน เท่ากับ 61.24 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 87.48 คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียนเท่ากับ 17.29 คะแนน คิดเป็น รอ้ ยละ 57.62 ค่า E1 / E2 มคี า่ เท่ากับ 87.48 / 57.62 โดยตงั้ เกณฑ์ประสิทธิภาพ เท่ากับ 70/70 ซ่ึงค่า E1 สูงกว่า และค่า E2 ตำ่ กวา่ เกณฑ์ เน่อื งจากคา่ E1 เปน็ การเก็บคะแนนระหว่างภาคซึ่งมกี ารวัดผลที่หลากหลาย วิธี ทั้งการสอบย่อยหลังหน่วยการเรียนรู้ แบบฝึกหัด ใบงาน ใบกิจกรรม คะแนนการสอบกลางภาค ซึ่งเม่ือ นักเรียนมีคะแนนรายหน่วยไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ตามที่กำหนดไว้ จะมีการสอนซ่อมเสรมิ และสอบแก้ตัว

9 เพื่อพัฒนาผลคะแนนให้เป็นไปตามเกณฑ์ ร้อยละ 70 แต่คะแนน E2 เกิดจากคะแนนการวัดผลสอบปลาย ภาคเพียงอย่างเดียว ผู้เรียนไม่สามารถสอบแก้ตัวเพื่อพัฒนาคะแนนที่ไม่ผ่านได้ จึงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ประสทิ ธิภาพทีก่ ำหนดไว้ 5.4 นักเรียนที่ได้คะแนน 10 อันดับแรกของรายวิชา พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ได้ คะแนนสูงสุด คือ 92 คะแนน รองลงมาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ได้คะแนน 90คะแนน ส่วน อันดับสุดท้ายเป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6/13 ได้คะแนน 82 คะแนน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6/1 มีจำนวนนกั เรียนท่ไี ดค้ ะแนนใน 10 อนั ดบั แรกมากที่สดุ จำนวน 33 คน 5.5 จากการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พบว่า อยู่ในเกณฑ์ระดับ ดีเยี่ยม จำนวน 164คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ระดับ ดี จำนวน 0 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0 ผ่าน จำนวน 0 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0 และไม่ ผ่าน จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ซึ่งกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้กำหนดค่าเป้าหมายของการ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ ดีเยี่ยม ร้อยละ 90 พบว่า นักเรียนได้ผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ ระดบั ดีเยย่ี ม จำนวน 164 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ซงึ่ เป็นไปตามค่าเป้าหมายทก่ี ำหนด และการประเมินการ อา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น พบวา่ อย่ใู นเกณฑร์ ะดบั ดีเย่ยี ม จำนวน 164 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ระดับ ดี จำนวน 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 0 ผ่าน จำนวน 0 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0 และไม่ผ่าน จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ซึง่ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ไดก้ ำหนดคา่ เป้าหมายของการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ระดับ ดเี ยย่ี ม รอ้ ยละ 90 พบวา่ นักเรียนได้ผลการประเมนิ อยใู่ นเกณฑร์ ะดับ ดเี ยยี่ ม จำนวน 164 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ซ่ึงเป็นไปตามค่าเป้าหมายท่กี ำหนด 5.6 จากการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ่ การจัดการเรียนการสอน พบวา่ ผลการประเมินอยู่ ในระดบั พงึ พอใจมากที่สดุ มคี ่าเฉลีย่ 4.28 ( S.D. = 0.78 ) ด้านเนื้อหา ผลการประเมนิ อยใู่ นระดับพึงพอใจมาก มคี ่าเฉลย่ี 4.19 ( S.D. =0.82 ) ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั พงึ พอใจมากท่ีสุด มีค่าเฉลีย่ 4.28 ( S.D. =0.79 ) ดา้ นสอ่ื การเรียนการสอน ผลการประเมินอยใู่ นระดบั พึงพอใจมากที่สดุ มคี า่ เฉลี่ย 4.32 ( S.D. =0.75 ) ดา้ นการวัดและประเมนิ ผล ผลการประเมินอยใู่ นระดบั พึงพอใจมากทส่ี ุด มีคา่ เฉล่ีย 4.32 ( S.D. =0.76 ) 6. ปญั หา/อุปสรรค นักเรียนส่วนใหญ่ขาดความเขา้ ใจที่คงทน และขาดทักษะการเชือมโยงเนื้อหาต่อเนื้อหา ซึ่งรายวิชา ฟิสิกส์ในภาคเรียนนี้มีเนื้อหาที่ยาวและต้องเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้เดิมในภาคเรียนที่ผ่านมาแล้วเช่น เรื่อง การศึกษาแบบจำลองอะตอม ต้องใช้ความรู้เกี่ยวกบั เรื่องของแรงทางไฟฟ้า สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหลก็ จากความรู้ในภาคเรยี นที่ 1 ของ ม.6 และความรเู้ กี่ยวกับพลงั งานและสมบัติของสสาร ในระดับชน้ั ม.5 ซึ่ง ล้วนเป็นเนือ้ หาที่มีลายละเอียดซับซ้อน โดยผลของการขาดความเข้าใจทีค่ งทนในหัวขอ้ ที่ผ่านมาประกอบกับ นักเรียนขาดทักษะการเชือมโยงเนื้อหาต่อเนื้อหาทำให้เมื่อเรียนเนื้อหาใหม่ซึ่งต่อเนื่องกับเนื้อหาเก่า จึงเป็น

10 เรื่องยากสำหรับนักเรียนที่จะทำความเขา้ ใจได้ภายในระยะเวลาที่จำกัด ครูจึงต้องหาวธิ กี ารช่วยพัฒนาทกั ษะ การเช่อื มโยงเน้ือหาตอ่ เนอ้ื หา เพื่อพัฒนาความเข้าใจทค่ี งทนของนกั เรียน 7. ขอ้ เสนอแนะ 7.1 การพัฒนาความสามารถในการแก้โจทยป์ ญั หาฟสิ กิ สใ์ ห้แก่นักเรียนในแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้ ครผู ู้สอนควรคำนึงถงึ การให้นกั เรียนทำแบบฝกึ หัดในเวลาท่ีกำหนดไว้ อย่างสมำ่ เสมอและควรเลือกใชป้ ญั หาท่ี เชอื่ มโยงกบั กจิ กรรมการเรียนการสอน หรือปญั หาท่พี บไดใ้ นชวี ิตประจำวัน เพื่อให้ผ้เู รียนไดส้ รา้ งมโนทศั น์ เชอ่ื มโยงกับสถานการณ์ และสามารถวิเคราะหข์ อ้ มูลทเ่ี กีย่ วขอ้ งได้ 7.2 การพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ทีม่ ีเสถยี รภาพ เพอ่ื สนบั สนุนให้นักเรียนไดเ้ ข้าถึงแหล่งเรยี นรู้ ตอบสนอง ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ดา้ นทกั ษะการเรียนรูแ้ ละนวตั กรรม และทักษะสารสนเทศ ส่ือ เทคโนโลยี ลงชอ่ื วิจิตตา (นางสาววิจติ ตา อำไพจิตต์)

11 ภาคผนวก

12 โครงสร้างรายวชิ า (Course Syllabus) ชอื่ รายวิชา ฟสิ ิกส์เพ่ิมเตมิ 5 รหสั วิชา ว33202 เวลา 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน 2.0 หน่วยกติ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ผสู้ อน นางสาววิจิตตา อำไพจิตต์ ************************************************************************************************** 1. คำอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาหลักการของสสารและฟิสิกสแ์ ผนใหม่ในเรอื่ งความร้¬อน การเปล่ยี นสถานะของสาร ทฤษฎจี ลน์ ของแกส๊ กฎของแก๊สและพลังงานภายในระบบของแกส๊ ความดันในของไหลและ กฎพาสคลั แรงพยุงและหลกั อาร์คิมีดีส ความตึงผิว การเคลื่อนที่ในของไหลและหลักแบร์นูลลี การค้นพบอิเล็กตรอน แนวคิดเกี่ยวกับ แบบจําลองอะตอม สมมติฐานของพลังค์ปรากฏการณ์ โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี การสลายกัมมันตรังสี ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ รังสีในธรรมชาติ การป้องกัน อันตรายและการใช¬ประโยชนจ์ ากกัมมนั ตภาพรงั สีและพลงั งานนิวเคลยี ร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอภิปรายและการทดลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และ คา่ นิยมที่เหมาะสม 2. ผลการเรียนรู้ 1. อธบิ ายความดัน หลักการของเครื่องวัดความดัน 2. อธิบายหลักอาร์คมิ ดี สี และนำไปใชเ้ ก่ียวกับการลอยของวตั ถใุ นของไหล 3. อธิบายความตงึ ผวิ ของของเหลวและความหนืดในของเหลว 4. อธิบายการไหลของของไหลอดุ มคติซึง่ เปน็ การเคลื่อนทท่ี ี่เปน็ ไปตามกฎการอนุรักษ์พลงั งาน 5. อธบิ ายผลของความรอ้ นทีท่ ำใหส้ ารเปลี่ยนอุณหภมู แิ ละเปลี่ยนสถานะ 6. อธิบายแก๊สอุดมคติกฎของแก๊สและใช้กฎของแกส๊ อธบิ ายพฤติกรรมของแกส๊ 7. อธิบายทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ และใช้ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ อธบิ ายสมบัติทางกายภาพของแก๊ส 8. อธิบายพลังงานภายในระบบและความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนพลังงานภายในระบบและ งานทรี่ ะบบทำหรอื รับจากสิง่ แวดล้อม 9. อธิบายการค้นพบอิเล็กตรอนและโครงสร้างอะตอมตามแบบจำลองอะตอมของทอมสันและ รัทเทอร์ฟอรด์ 10. อธิบายสมมติฐานของพลังค์ 11. อธบิ ายทฤษฎอี ะตอมของไฮโดรเจนของโบรแ์ ละระดับพลงั งานของอะตอม

13 12. อธบิ ายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและปรากฏการณ์คอมป์ตนั ซึง่ เปน็ ปรากฏการณ์ท่สี นับสนุนว่าแสง แสดงสมบัตขิ องอนุภาค 13. อธบิ ายสมมติฐานของเดอบรอยล์และทวภิ าวะของคลื่นและอนภุ าค 14. อธบิ ายโครงสร้างอะตอมตามทฤษฎกี ลศาสตรค์ วอนตมั 15. อธบิ ายกมั มันตภาพรังสีและการเปล่ียนสภาพนวิ เคลยี สของธาตกุ มั มันตรังสี 16. อธิบายหลักการทเ่ี กย่ี วข้อง การสลายของธาตกุ มั มนั ตรงั สี 17. อธิบายไอโซโทปและการแยกไอโซโทป 18. อธิบายแรงนิวเคลียร์ พลังงานยึดเหนย่ี ว และเสถียรภาพของนวิ เคลียส 19. อธบิ ายปฏิกริ ิยานวิ เคลียร์และพลงั งานนิวเคลียรท์ ่ีเกิดขน้ึ รวมทงั้ การใชป้ ระโยชน์ 20. อธิบายประโยชน์และโทษของรงั สีและการปอ้ งกัน รวม 20 ผลการเรียนรู้

14 3. การกำหนดการจัดการเรยี นรู้ สปั ดาห์ ช่ือหน่วยการ ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ที่ เรยี นรู้ 9.อธิบายการคน้ พบ (ช่ัวโมง) คะแนน 1 อเิ ล็กตรอนและโครงสร้าง การทดลองของทอมสัน มลิ ลแิ กนและรัทเทอร์ฟอร์ดทำ ฟิสิกสอ์ ะตอม อะตอมตามแบบจำลอง ให้ทราบว่าอะตอมประกอบด้วยประจุไฟฟา้ บวกรวมกัน 4 5 2 อะตอมของทอมสันและ อยู่ทศ่ี นู ยก์ ลางเรยี กว่านิวเคลียสซงึ่ เปน็ มวลเกอื บท้ังหมด 3 ฟสิ กิ ส์อะตอม รัทเทอร์ฟอร์ด ของอะตอมโดยมอี เิ ลก็ ตรอนเคล่อื นทรี่ อบๆนวิ เคลยี ส 4 5 ฟสิ กิ สอ์ ะตอม แบบจำลองนี้ไม่สามารถอธิบายหรือวา่ เหตุใดอิเล็กตรอน 4 5 4 10.อธิบายสมมตฐิ านของ เคลอ่ื นทรี่ อบนวิ เคลยี สโดยมคี วามเรง่ สูศ่ นู ย์กลางจึงไม่ ฟิสิกสอ์ ะตอม พลงั ค์ แผค่ ลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและเหตุใดประจไุ ฟฟา้ บวกจงึ 4 5 สามารถรวมอยกู่ นั ได้ในนิวเคลียส 11.อธิบายทฤษฎีอะตอม การศึกษาการแผ่รังสขี องวัตถดุ ํา พลังคไ์ ด้ตง้ั สมมตุ ิฐาน ของไฮโดรเจนของโบร์และ ว่า วัตถุจะรบั หรอื ปลอ่ ยพลงั งานในรปู ของคลืน่ ระดบั พลังงานของอะตอม แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ไดเ้ ฉพาะบางคา่ เรียกวา่ ควอนตัมของ พลังงาน สมมตฐิ านน้ีเรียกวา่ สมมตฐิ านของพลังค์ 12.อธบิ าย โบรไ์ ด้เสนอทฤษฎีอะตอมของไฮโดรเจนว่า อเิ ล็กตรอน ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กท จะเคล่ือนทีร่ อบนิวเคลยี สในวงโคจรบางวงไดโ้ ดยไมแ่ ผ่ รกิ และปรากฏการณ์ คลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ สม์ ีการเปลย่ี นวง คอมปต์ นั ซง่ึ เป็น โคจรจะมกี ารรับหรือปล่อยพลังงานในรปู ของคล่นื ปรากฏการณ์ท่สี นับสนุน แม่เหล็กไฟฟ้าตามสมมติฐานของพลังคท์ ฤษฎอี ะตอม วา่ แสงแสดงสมบัตขิ อง ของโบรส์ ามารถคำนวณรศั มวี งโคจรของอิเล็กตรอน อนุภาคได้ อตั ราเร็วของอเิ ล็กตรอนและพลงั งานอะตอมของ ไฮโดรเจนได้และสามารถคำนวณหาความยาวคลืน่ ของ แสงในสเปกตรัมเสน้ สว่างของแกส๊ ไฮโดรเจนไดท้ ฤษฎี อะตอมของโบรไ์ ด้รับการสนบั สนนุ จากการทดลองของฟ รงั กแ์ ละเฮิรตซแ์ ละการเกิดรงั สเี อกซซ์ ่ึงสรปุ ได้วา่ อะตอม มีระดับพลังงานเฉพาะค่าไมต่ ่อเนือ่ ง ปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ ทริกเปน็ ปรากฏการณ์ อเิ ล็กตรอนทีห่ ลุดจากผิวโลหะเม่ือแสงมคี วามถ่ี เหมาะสมมาตกกระทบโดยจำนวนโฟโตอ้ เิ ลก็ ตรอนท่ี หลดุ จะเพ่ิมขน้ึ ตามความเข้มแสงและพลงั งานจลน์สูงสดุ ของโฟโตอเิ ล็กตรอนจะขึน้ อยกู่ ับความถขี่ องแสงนั้นโดย ไอสไตนอ์ ธบิ ายปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ ทรกิ โดยอาศัย หลกั สมมติฐานของพลงั ค์ว่าแสงเปน็ ควนั ตั้มของพลงั งาน ซงึ่ เรยี กวา่ โฟตอนทำใหส้ รุปไดว้ ่าแสงแสดงสมบตั ขิ อง อนภุ าคได้นอกจากนย้ี งั มปี รากฏการณค์ อมปต์ ันซึ่ง สนับสนนุ ความคดิ ของไอสไตน์ทว่ี า่ คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ แสดงสมบัตอิ นุภาค

15 ลำดับท่ี ชือ่ หน่วยการ ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั 5 เรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน 13.อธบิ ายสมมตฐิ านของ จากการค้นพบการแทรกสอดและการเลย้ี วเบนของ ฟสิ ิกสอ์ ะตอม เดอบรอยล์และทวิภาวะ อเิ ลก็ ตรอนเออบอยจงึ ตัง้ สมมตฐิ านว่าอนภุ าค 4 5 ของคล่นื และอนภุ าค สามารถแสดงสมบตั ขิ องคล่ืนไดเ้ รยี กวา่ สมมติฐาน ของเดอบอยจากความคดิ ของไอสไตน์และเดอบอย 4 5 6 ฟิสกิ สอ์ ะตอม 14.อธบิ ายโครงสร้าง ทำให้สรุปได้ว่าคลนื่ แสดงสมบัตขิ องอนุภาคได้และ อะตอมตามทฤษฎี อนภุ าคแสดงสมบตั ิของคลน่ื ได้สมบตั ิดงั กล่าว 4 5 กลศาสตรค์ วอนตัม เรยี กว่าทวิภาวะของคลน่ื และอนภุ าค 4 5 กลศาสตรค์ วอนตมั เปน็ วชิ าทศี่ ึกษาธรรมชาตใิ น 4 5 7 ฟสิ กิ ส์ 15. อธิบาย ระดบั อะตอมโดยมีพ้ืนฐานจากทวภิ าวะของคลื่น นิวเคลยี ร์ กมั มันตภาพรังสีและการ และอนุภาคหลักการพน้ื ฐานทส่ี ำคญั คือหลกั ความไม่ เปลยี่ นสภาพนิวเคลยี ส แน่นอนของไฮเซนเบิร์กกลา่ ววา่ ในการวัดตำแหนง่ 8 ของธาตุกมั มันตรงั สี และโมเมนตมั ของอนภุ าคจะไมส่ ามารถรู้ค่าแน่นอน ของปริมาณทง้ั สองในเวลาเดียวกนั ได้กลศาสตร์ 16.อธิบายหลักการท่ี ควอนตมั นำไปสกู่ ารอธิบายภาพของอิเลก็ ตรอนใน เกย่ี วข้อง การสลายของ อะตอมอยู่ในรูปกลุ่มออกซงึ่ ความหนาแน่นของกล่มุ ธาตุกมั มนั ตรงั สี หมอกบอกถงึ โอกาสทจี่ ะพบอิเลก็ ตรอน กัมมันตภาพรงั สเี ปน็ ปรากฏการณท์ ี่ธาตุกมั มนั ตรงั สี 9 17. อธบิ ายไอโซโทปและ แผร่ งั สีไดเ้ องอยา่ งต่อเน่อื งรังสีทีอ่ อกมามี 3 ชนดิ การแยกไอโซโทป คอื อลั ฟา่ เบต้าและแกมมา การแผ่รงั สีท่เี กิดจากการ เปลี่ยนสภาพนวิ เคลียสของทาสกัมมันตรังสแี ละ อธบิ ายไดโ้ ดยใช้สมมตฐิ านโปรตอน-นิวตรอน ในการสลายของธาตุกมั มันตรังสี อัตราการแผร่ งั สี ออกมาในขณะหนึง่ เรยี กว่า กมั มันตภาพ ปรมิ าณนี้ บอกถึงอัตราการลดลงของจำนวนนวิ เคลยี สของธาตุ กัมมันตรังสีในช่วงเวลาท่นี วิ เคลยี สลดลงเหลือ ครึง่ หนง่ึ ของจำนวนเรมิ่ ตน้ เรยี กวา่ ครึ่งชวี ิต นวิ เคลียสของธาตุชนิดเดยี วกันท่มี ีเลขมวลตา่ งกนั เรยี กวา่ ไอโซโทปไอโซโทปทมี่ กี ารสลายเรียกว่า ไอโซโทปกัมมันตรงั สแี ละไอโซโทปทไ่ี มม่ กี ารสลาย เรยี กว่าไอโซโทปเสถียรการแยกไอโซโทปของธาตุ ชนดิ เดียวกนั ใช้เครื่องมือท่ีเรียกว่าแมสสเปกโทร มเิ ตอร์

16 ลำดับท่ี ช่ือหนว่ ยการ ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั เรียนรู้ 18. อธิบายแรงนิวเคลยี ร์ (ชั่วโมง) คะแนน พลงั งานยดึ เหนยี่ ว และ นวิ คลอี อนรวมกนั เป็นนิวเคลียสดว้ ยแรงยดึ ที่มีคา่ 10 ฟสิ ิกส์ เสถยี รภาพของนวิ เคลียส มหาศาลมากกวา่ แรงไฟฟา้ เรยี กว่า แรงนวิ เคลยี ร์ 4 5 การทำให้นิวคลีออนในนิวเคลียสแยกออกจากกัน นวิ เคลียร์ 19.อธบิ ายปฏิกิริยา ตอ้ งใช้พลังงานยึดเหนี่ยวซ่ึงหาไดจ้ ากความสัมพนั ธ์ 4 5 นวิ เคลียรแ์ ละพลังงาน ระหวา่ งมวลและพลงั งานนิวเคลียสมพี ลังงานยดึ 11 ฟิสิกส์ นิวเคลียร์ที่เกิดข้ึนรวมทั้ง เหนย่ี วต่อนิวคลีออนสูงจะมเี สถยี รภาพดีกว่า 4 5 นิวเคลยี ร์ การใชป้ ระโยชน์ นวิ เคลียสท่มี พี ลังงานยึดเหน่ียวต่อนิวคลีออนตำ่ 4 5 กระบวนการทนี่ วิ เคลียสเกิดการเปลย่ี นแปลง 12 ฟิสิกส์ 20.อธิบายประโยชน์และ องค์ประกอบหรือระดับพลงั งาน เรยี กวา่ ปฏกิ ริ ยิ า 4 5 นวิ เคลียร์ โทษของรังสแี ละการ นวิ เคลยี ร์ ปฏิกริ ยิ านิวเคลียรม์ ี 2 ชนิด คือ ฟิชชนั ป้องกนั และฟิวชนั พลังงานทีเ่ กิดจากปฏิกริ ิยานิวเคลยี รน์ ้ี 13 ของไหล เรยี กวา่ พลังงานนวิ เคลียร์ ปัจจบุ ันพลังงาน 1.อธบิ ายความดนั นิวเคลยี รจ์ ากฟิชชันสามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ใน 14 ของไหล หลกั การของเครอ่ื งวัด การผลิตกระแสไฟฟ้า ความดนั รงั สจี ากการสลายของธาตุกัมมันตรงั สแี ละปฏิกิริยา นวิ เคลยี ร์นำไปใชป้ ระโยชน์ในด้านต่างๆ 2. อธิบายหลกั อาร์ คิมีดสี ขณะเดยี วกนั ต้องมีการป้องกนั เพ่อื ไม่ใหร้ ่างกาย และนำไปใช้เกีย่ วกับการ ไดร้ ับปรมิ าณรงั สเี กินกำหนดซ่ึงอาจกอ่ ใหเ้ กิด ลอยของวัตถใุ นของไหล อันตรายตอ่ ร่างกายได้ ภาชนะทม่ี ีของเหลวจะมคี วามดนั ความดันใน ของเหลวท่อี ยู่น่งิ เรยี กว่า ความดันเกจ ผลรวมของ ความดนั บรรยากาศและความดนั เกจ เรยี กวา่ ความ ดนั สัมบรู ณ์ ค่าของความดันบอกด้วยเครอ่ื งวดั ความดนั เช่น แมนอมิเตอรบ์ ารอมิเตอร์ เปน็ ต้น เมอื่ เพม่ิ ความดัน ณ ตำแหนง่ ใดๆในของเหลวทอี่ ยู่ นง่ิ ในภาชนะปิด ความดันทีเ่ พ่มิ ขนึ้ จะส่งผ่านไปทกุ ๆ จดุ ในของเหลวน้ัน ข้อความน้ี คือ กฎพาสคัล กฎน้ี อธบิ ายการทำงานของเครื่องอดั ไฮดรอลกิ วัตถทุ อ่ี ยู่ในของไหลท้ังกอ้ นหรืออยเู่ พียงบางสว่ น จะ ถกู แรงพยงุ กระทำ โดยขนาดแรงพยุงเทา่ กบั ขนาด น้ำหนักของของไหลท่ถี กู แทนที่ เรียกว่า หลักอาร์คมิ ี ดีส ซ่งึ ใช้อธบิ ายการลอยการจมของวัตถุต่างๆในของ ไหล

17 ลำดบั ท่ี ชื่อหน่วยการ ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั เรยี นรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน 15 ของไหล 3. อธบิ ายความตงึ ผวิ ของ ความตึงผวิ เป็นสมบัติของของเหลวท่ีพยายามยึดผิว 4 5 ของเหลวและความหนดื ของเหลวไว้ปรากฏการณท์ ี่เป็นผลจากความตงึ ผิว 4 5 ในของเหลว ได้แก่ การซมึ ตามรูเล็ก การโค้งของผิวของเหลว ใน 4 5 ของเหลวมีความหนดื ซ่ึงเป็นสมบัติของ ของเหลว 4 5 4 5 วตั ถทุ ี่เคลือ่ นทใ่ี นของเหลว ของเหลวจะมแี รงตา้ น การเคล่ือนทีซ่ ่ึงมที ิศทางตรงข้ามกับทิศทางการ เคลอื่ นท่ี ของวตั ถุ 16 ของไหล 4. อธิบายการไหลของของ ของไหลอุดมคติ เป็นของไหลท่ีมีการไหลอยา่ ง ไหลอุดมคติซึ่งเปน็ การ สมาํ่ เสมอ ไหลโดยไม่หมนุ ไมม่ แี รงหนืด และบีบอดั เคลอื่ นท่ีทเี่ ป็นไปตามกฎ ไม่ได้ ของไหลอุดมคตอิ ย่างสมำ่ เสมอจะมีอัตราการ การอนุรกั ษ์พลังงาน ไหลคงตัว การไหลท่ีเคลอ่ื นทีใ่ นแนวระดับตรง ตำแหนง่ ท่ีอตั ราเรว็ มากจะมคี วามดันตำ่ ตรง ตำแหนง่ ทม่ี อี ัตราเร็วน้อยจะมีความดันสงู เรียกว่า หลักแบรน์ ูลลี ซ่ึงหลกั การนนี้ ำไปใช้ประโยชนใ์ นงาน ต่างๆ เชน่ การทำงานของเครื่องพ่นสี การออกแบบ ปกี เคร่อื งบนิ เปน็ ตน้ 17 ความรอ้ น 5.อธิบายผลของความร้อน เมอื่ สารได้รบั หรอื คายความรอ้ น สารจะมอี ณุ หภูมิ 18 ความร้อน ทที่ ำใหส้ ารเปลี่ยน เปลย่ี นไปข้นึ อยกู่ ับความรอ้ นจำเพาะของสาร และ 19 ความร้อน อุณหภูมแิ ละเปล่ียน สารอาจเปลี่ยนสถานะโดยอณุ หภมู ิไมเ่ ปลยี่ นข้ึนอยู่ สถานะ กบั ความรอ้ นแฝงจำเพาะ และวัตถทุ ่ีมอี ุณหภูมิสูง กวา่ จะถ่ายโอนความร้อนไปสวู่ ัตถุที่มีอณุ หภมู ิต่ำกว่า เปน็ ไปตามกฎการอนรุ กั ษ์พลงั งาน โดยพลงั งาน ความร้อนที่เพิม่ ขึ้นของวัตถุหนง่ึ เท่ากบั พลงั งาน ความร้อนที่ลดลงของอีกวัตถุหนง่ึ 6.อธบิ ายแก๊สอุดมคตกิ ฎ แก๊สอุดมคติเป็นแกส๊ ทม่ี โี มเลกุลขนาดเล็กมาก ไม่มี ของแกส๊ และใชก้ ฎของ แรงยึดเหน่ียวระหว่างกนั เมอื่ ชนผนังจะเป็นการชน แกส๊ อธิบายพฤตกิ รรมของ แบบยืดหย่นุ ความดัน ปรมิ าตร และอุณหภูมิของ แก๊ส แกส๊ อดุ มคติมคี วามสมั พันธ์ตามกฎของบอยล์ กฎ ของชาร์ล และนำไปสกู่ ฎของแกส๊ 7.อธบิ ายทฤษฎจี ลน์ของ จากแบบจำลองของแก๊สอุดมคติกฎการเคล่อื นท่ขี อง แก๊สและใชท้ ฤษฎจี ลน์ของ นิวตันและกฎของแก๊สทำให้สามารถศกึ ษาสมบตั ทิ าง แกส๊ อธิบายสมบตั ทิ าง กายภาพบางประการของแก๊ส ไดแ้ ก่ ความดัน กายภาพของแกส๊ ได้ พลังงานจลนเ์ ฉลี่ยและอตั ราเรว็ โมเลกุลของแกส๊ ได้

18 ลำดับท่ี ชื่อหน่วยการ ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก เรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน 20 ความรอ้ น 8.อธบิ ายพลังงานภายใน ทุกโมเลกลุ ของแกส๊ อดุ มคตใิ นภาชนะปิด จะมี 45 ระบบและความสมั พนั ธ์ พลังงานจลนร์ วม เรียกวา่ พลังงานภายในของแกส๊ ระหว่างพลังงานความรอ้ น หรือพลงั งานภายในระบบ ซงึ่ แปรผนั ตรงกับจำนวน พลังงานภายในระบบและ โมเลกลุ และอณุ หภูมขิ องแก๊ส พลังงานภายในระบบ งานทรี่ ะบบทำหรือรบั จาก มคี วามสมั พนั ธก์ บั พลงั งานความรอ้ นและงาน เช่น สิ่งแวดล้อม เมอื่ ใหพ้ ลังงานความร้อนกบั แก๊สในระบบปดิ จะได้ วา่ พลังงานความร้อนที่ใหก้ บั ระบบเทา่ กบั ผลบวก ของพลังงานภายในทเี่ พ่ิมขึ้นกับงานทท่ี ำโดยระบบ รวม 80 100 4. การวัดผล ประเมนิ ผล การจดั การเรยี นรู้ 4.1 การประเมนิ ระหว่างภาคและปลายภาค อตั ราสว่ น 70 : 30 4.1.1 การประเมนิ ระหว่างภาค 70 คะแนน - ประเมนิ ก่อนสอบกลางภาค 20 คะแนน - ประเมนิ กลางภาค 20 คะแนน - ประเมนิ หลงั สอบกลางภาค 20 คะแนน - ประเมิน โครงงานหน่งึ ห้องเรยี นหนง่ึ นวัตกรรมของรายวิชา (ช้ินงาน) 10 คะแนน 4.1.2 การประเมนิ ปลายภาค 30 คะแนน 4.2 การประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 4.3 การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น

19 5. หนังสอื เรยี น /เอกสารประกอบการเรียนการสอน /หนังสืออา่ นประกอบ 5.1 หนังสอื เรยี นสาระการเรยี นรพู้ นื้ ฐานและเพิม่ เติม ฟสิ ิกส์ เล่ม 5 สสวท 5.2 เอกสารประกอบการสอน หน่วยการเรียนรู้ เรอ่ื ง ฟิสิกสอ์ ะตอม 5.3 เอกสารประกอบการสอน หนว่ ยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ฟสิ ิกส์นวิ เคลยี ร์ 5.4 เอกสารประกอบการสอน หนว่ ยการเรยี นรู้ เรอื่ ง ของไหล 5.5 เอกสารประกอบการสอน หนว่ ยการเรยี นรู้ เร่อื ง ความร้อน 6. แหล่งเรียนรู้ ➢ เวบ็ ไซต์ หอ้ งเรยี นฟิสิกส์ https://sites.google.com/site/scikrutoon หน่วยการเรียนรู้ เร่อื ง ฟสิ ิกสอ์ ะตอม ➢ วิชาฟสิ ิกส์ - บทเรยี น อะตอมและการค้นพบอิเลก็ ตรอน https://www.youtube.com/watch?v=_xiFCv8rfPw&index=94&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYN mL2d7v11yKWGk ➢ วิชาฟิสิกส์ - สารคดี การทดลองหยดนำ้ มันของมลิ ลแิ กน https://www.youtube.com/watch?v=bywMsQbvQsU&index=160&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKv lYNmL2d7v11yKWGk ➢ วชิ าฟสิ กิ ส์ - สารคดี การวัดอตั ราส่วน EM ของอิเลกตรอน https://www.youtube.com/watch?v=YQRn9dGwro0&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v1 1yKWGk&index=20 ➢ แบบจำลองและววิ ฒั นาการของแบบจำลองอะตอม 1 https://www.youtube.com/watch?v=nxEbph2R-yk ➢ แบบจำลองและวิวฒั นาการของแบบจำลองอะตอม 2 https://www.youtube.com/watch?v=gRe90XmOEFM ➢ วชิ าฟสิ ิกส์ - บทเรียน รัศมีของนิวเคลยี ส https://www.youtube.com/watch?v=9ketNYgxt9I&index=146&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYN mL2d7v11yKWGk ➢ วิชาฟิสกิ ส์ - กิจกรรม การหาความยาวคล่นื ของแสงโซเดยี ม https://www.youtube.com/watch?v=pWi8MZtM7YI&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v1 1yKWGk&index=144 ➢ วิชาฟสิ กิ ส์ - บทเรียน ปรากฎการณโ์ ฟโตอิเลก็ ทริก https://www.youtube.com/watch?v=WaHg7DTFO_o&index=95&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvl YNmL2d7v11yKWGk

20 ➢ วชิ าฟสิ ิกส์ - บทเรยี น ทฤษฎอี ะตอมของโบร์และความไม่สมบูรณ์ของทฤษฎีของ โบร์https://www.youtube.com/watch?v=OY4zqcFp4rs&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7 v11yKWGk&index=96 ➢ วชิ าฟิสิกส์ - บทเรยี น การแผ่คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ของวตั ถดุ ำ https://www.youtube.com/watch?v=eQooNUdUFCY&index=133&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdK vlYNmL2d7v11yKWGk ➢ วิชาฟสิ ิกส์ - บทเรียน ปรากฏการณ์คอมป์ตัน https://www.youtube.com/watch?v=iDzetcqc7_I&index=10&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYN mL2d7v11yKWGk ➢ วิชาฟิสกิ ส์ - บทเรียน สมมติฐานของเดอ บรอยล์ https://www.youtube.com/watch?v=JKPjBp89DZ4&index=132&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlY NmL2d7v11yKWGk ➢ วิชาฟิสกิ ส์ - บทเรียน ความไมแ่ น่นอน https://www.youtube.com/watch?v=9apOSW2YTfY&index=97&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlY NmL2d7v11yKWGk ➢ แบบจำลองอะตอมของโบร์ และแบบจำลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก https://www.youtube.com/watch?v=rOAB0mzR4iQ ➢ วิชาฟิสิกส์ - สารคดี กล้องนาโน https://www.youtube.com/watch?v=aCJq4GeHPb0&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v1 1yKWGk&index=21 ➢ กลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ เิ ล็กตรอน (Electron Microscope) https://www.youtube.com/watch?v=yzJkMVG-pYw ➢ วชิ าฟิสกิ ส์ - สารคดี ภาพถา่ ยจากรังสี เอกซ์https://www.youtube.com/watch?v=0cvSOP5hmmY&index=44&list=PLeJGvKa_RJ_Yrz dKvlYNmL2d7v11yKWGk ➢ วชิ าฟิสิกส์ - บทเรยี น เลเซอร์ https://www.youtube.com/watch?v=Kop_FGvLp5w&index=165&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvl YNmL2d7v11yKWGk ➢ สเปกตรมั ของแสง วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ ิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=yj0A1nuOQOQ ➢ เสน้ สเปกตรมั ของธาตุ วิทยาศาสตร์ ม.4-6 https://www.youtube.com/watch?v=q7B9GlPE8d8

21 หนว่ ยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ฟสิ กิ สน์ ิวเคลยี ร์ ➢ วิชาฟิสกิ ส์ - บทเรยี น การค้นพบกมั มันตภาพรงั สี https://www.youtube.com/watch?v=FRx_Jgjb8iQ&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11y KWGk&index=135 ➢ วชิ าฟสิ กิ ส์ - บทเรยี น การสลายตัวของนวิ เคลียสกมั มันตรงั สี https://www.youtube.com/watch?v=PfAEZu1wZyg&index=145&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvl YNmL2d7v11yKWGk ➢ วชิ าฟสิ ิกส์ - บทเรยี น ไอโซโทปของธาตุ https://www.youtube.com/watch?v=KxcTuQ4vzwY&index=136&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvl YNmL2d7v11yKWGk ➢ วิชาฟิสิกส์ - บทเรียน องค์ประกอบนิวเคลยี ส https://www.youtube.com/watch?v=dF2YgENf94g&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11 yKWGk&index=11 ➢ วชิ าฟสิ ิกส์ - บทเรียน เสถยี รภาพของนิวเคลียส https://www.youtube.com/watch?v=1nCVwLwf9_M&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v 11yKWGk&index=137 ➢ วชิ าฟสิ ิกส์ - บทเรยี น การสลายตัวของนิวเคลยี สกัมมันตรังสี https://www.youtube.com/watch?v=PfAEZu1wZyg&index=145&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvl YNmL2d7v11yKWGk ➢ วิชาฟิสกิ ส์ - กิจกรรม สถติ ิของการสลายตวั ของนวิ เคลียส กมั มนั ตรังสีhttps://www.youtube.com/watch?v=ezyKK6bXfJ8&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYN mL2d7v11yKWGk&index=141 ➢ วชิ าฟิสกิ ส์ - บทเรียน ปฏิกรยิ านิวเคลยี ร์ https://www.youtube.com/watch?v=25IUIf3R8E8&index=138&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYN mL2d7v11yKWGk ➢ วิชาฟิสิกส์ - บทเรียน นวิ เคลียรฟ์ ิชชนั https://www.youtube.com/watch?v=WFNSrS2X6JI&index=147&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlY NmL2d7v11yKWGk ➢ วชิ าฟิสิกส์ - บทเรียน ฟวิ ชัน https://www.youtube.com/watch?v=l3klWWBH4- I&index=148&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWGk

22 ➢ รังสใิ นสงิ่ แวดลอ้ ม วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=CldxvKTliMo&index=119&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1 KxkAET426QvKsZTr ➢ ภาพถา่ ยจากรงั สเี อกซ์ วทิ ยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ กิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=n7JLjSUgfrY หนว่ ยการเรียนรู้ เรอ่ื ง ของไหล ➢ เวบ็ ไซต์ ห้องเรยี นฟสิ กิ ส์ กลศาสตร์ของไหล https://indyteacher.wordpress.com/ ➢ วชิ าฟิสิกส์ - บทเรียน ความดนั ในของไหลสถิต https://www.youtube.com/watch?v=x2Ro21b_V1M&index=67&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlY NmL2d7v11yKWGk ➢ ความดนั ในของเหลวชนดิ ต่างๆ วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสกิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=BtlnyRxA56g&index=86&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1K xkAET426QvKsZTr ➢ วิชาฟสิ ิกส์ - บทเรียน เคร่ืองมือวัดความดันและกฎของปาสกาล https://www.youtube.com/watch?v=X3BzpU1As0M&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v1 1yKWGk&index=69 ➢ วิชาฟสิ ิกส์ - บทเรยี น แรงลอยตัว https://www.youtube.com/watch?v=Rl8atU1JQGs&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11 yKWGk&index=68 ➢ การทดลองแรงพยุงท่กี ระทำต่อวตั ถทุ ีม่ อี ยใู่ นของเหลว วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสกิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=UGDH4dPzkIc&index=85&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1 KxkAET426QvKsZTr ➢ วิชาฟสิ ิกส์ - บทเรียน แรงตึงผิว https://www.youtube.com/watch?v=2bSBT334_zQ&index=70&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlY NmL2d7v11yKWGk ➢ ความตึงผิวของ ของเหลว วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสิกส์) https://www.youtube.com/watch?v=aDvBIpdLlBg&list=PLgm36wXFlxy8dGUu1KxkAET426Q vKsZTr&index=84 ➢ ศิลปะจากแรงตงึ ผิว : ส่ือวิทย์สอนสนุก วิทย์ฯ ม4.-ม.6 https://www.youtube.com/watch?v=I6wxJegR6wE

23 ➢ มหศั จรรย์ฟองสบู่ : ส่ือวิทย์สอนสนกุ วทิ ยฯ์ ม4.-ม.6 https://www.youtube.com/watch?v=3nMAZ5bulFg ➢ วิชาฟสิ กิ ส์ - บทเรยี น ความหนดื ของของไหล https://www.youtube.com/watch?v=3QUsLECfg9w&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v1 1yKWGk&index=71 ➢ การปลอ่ ยลูกกลมโลหะตกลงในกลีเซอรอล วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟสิ กิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=hN5FvB2gX6M&index=83&list=PLgm36wXFlxy8dGUu 1KxkAET426QvKsZTr ➢ วชิ าฟสิ กิ ส์ - สารคดี ความหนดื ของไหลและการเคลือ่ นทขี่ องสัตว์นำ้ https://www.youtube.com/watch?v=ojseYSA- _FI&index=156&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11yKWGk ➢ วชิ าฟิสิกส์ - บทเรยี น พลศาสตรข์ องของไหล https://www.youtube.com/watch?v=iFlT6qZo8zk&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v11 yKWGk&index=72 ➢ วิชาฟสิ ิกส์ - บทเรยี น สมการแบร์นูลีย์ ลhี ttps://www.youtube.com/watch?v=5kblbYkhOjU&index=112&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvl YNmL2d7v11yKWGk หนว่ ยการเรียนรู้ เร่อื ง ความรอ้ น ➢ วิชาฟสิ ิกส์ - บทเรยี น ความร้อนกบั อณุ หภมู ิ https://www.youtube.com/watch?v=OesnfaYLobQ&index=111&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvl YNmL2d7v11yKWGk ➢ การสรา้ งและปรับเทียบเทอร์มอมเิ ตอร์ วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ฟิสกิ ส์) https://www.youtube.com/watch?v=JFMT5sWdUZc&list=PLgm36wXFlxy9BYTQkOM2PkbKI J7rZK3rE&index=176&t=0s ➢ วชิ าฟิสกิ ส์ - กจิ กรรม การวัดความรอ้ นจำเพาะของ วัสดhุ ttps://www.youtube.com/watch?v=pLXtv65AyL8&index=120&list=PLeJGvKa_RJ_Yrzd KvlYNmL2d7v11yKWGk ➢ Brownian Motion smoke in air การสาธติ เซลล์ควนั เพ่ือศึกษาการเคลือ่ นทข่ี องโมเลกุลแก๊ส https://www.youtube.com/watch?v=D2SpYlkTDsc

24 ➢ วชิ าฟสิ กิ ส์ - บทเรยี น ทฤษฎจี ลนข์ องแก๊ส https://www.youtube.com/watch?v=GNahSabqCKM&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v 11yKWGk&index=113 ➢ วชิ าฟสิ ิกส์ - บทเรียน กฎของแกส๊ อดุ มคติ https://www.youtube.com/watch?v=903kxvZCHM8&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v1 1yKWGk&index=73 ➢ วชิ าฟสิ กิ ส์ - บทเรียน พลงั งานภายในของระบบและงานท่ีทำโดยแกส๊ https://www.youtube.com/watch?v=eIQ9gxYfwFM&list=PLeJGvKa_RJ_YrzdKvlYNmL2d7v1 1yKWGk&index=114

25 ตารางวเิ คราะหก์ ารออกแบบการสรา้ งแบบทดสอบ (Test Blueprint)

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47

48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook