Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการจัดการเรียนการสอนทางไกล

รายงานการจัดการเรียนการสอนทางไกล

Published by Pawida Butrniam, 2021-07-02 07:22:01

Description: โรงเรียน ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

Search

Read the Text Version

สปั ดาหท์ ี่ 1 วนั ที่ 17 – 21 พฤษภาคม 2564

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์ 1 รายงานการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สัปดาห์ที่ 1 วนั ที่ 17 – 21 พฤษภาคม 2564 ตามท่ีโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ประกาศลงวันท่ี 30 เดือนเมษายน พ.ศ.2564 ให้มีการดาเนินการจัดการเรียนการสอนทางไกล ต้ังแต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2564 โดยกาหนดรูปแบบการสอน ทางไกลแบบ Online ตามนโยบายและมาตรการในการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ไี ด้กาหนดไว้ เพ่ือให้การเรียนรู้ของนักเรียนเกิดขน้ึ ไดภ้ ายใต้สถานการณ์ท่ีทา้ ทาย ดงั เช่นวลี ท่ีว่า “โรงเรียนหยุดได้ แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้” ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร บดั นี้การดาเนินการจดั การเรยี นการสอนทางไกลได้ดาเนินการไปแล้ว 1 สัปดาห์ จึงขอรายงานผลจากการ จัดการเรียนการสอนทางไกล ในสัปดาหท์ ี่ 1 ระหว่างวันท่ี 17 – 21 พฤษภาคม 2564 ดงั นี้ รายงานสรุปการจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรน่า 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 2 ผลการจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ในสัปดาหท์ ี่ 1 ระหวา่ งวนั ท่ี 17 – 21 พฤษภาคม 2564 จากนโยบายการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสัปดาห์ที่ 1 ที่เน้นการเตรียมความพร้อมนักเรียนทุก ระดับชั้น ทาให้ครูผู้สอนแต่ละวิชาได้ทาการติดตามนักเรียนเข้าช้ันเรียนใน Google Classroom และดาเนินการ ช้ีแจงแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลในช่วงนี้ แต่อย่างไรก็ตามครูได้ดาเนินการวัดผลและประเมินผล นักเรียนในแตล่ ะชั่วโมงเรยี นวา่ ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ตามท่ีต้ังไว้หรอื ไม่ ครผู สู้ อนแตล่ ะชัว่ โมงจะดาเนินการวัด และประเมินผลนักเรียน โดยจากข้อมูลพบว่า โดยภาพรวมในสัปดาห์ท่ี 1 ระหว่างวันที่ 17 – 21 มกราคม 2564 นกั เรียนแต่ละช้ันเรียนร้อยละ 80 ขึ้นไป ผ่านจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ โดยเฉลย่ี รอ้ ยละ 42.1 รองลงมาคอื นักเรยี นแต่ ละชนั้ เรียนรอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไปแต่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ โดยเฉล่ียร้อยละ 24.8 และมีเฉลี่ย ร้อยละ 23.1 ของคุณครูที่ไม่ได้ประเมินจุดประสงค์เนื่องจากยังไม่ได้ทาการเรียนการสอน ซ่ึงร้อยละโดยเฉล่ีย จานวนนกั เรยี นภาพรวมทง้ั โรงเรยี นท่ีผ่านจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ แสดงไดด้ งั รปู 2 รูป 2 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรยี นภาพรวมท้ังโรงเรยี นที่ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ รายงานสรปุ การจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรน่า 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 3 โดยจาแนกแสดงเปน็ ระดบั ช้ันตา่ ง ๆ ไดด้ ังนี้ รูป 2.1 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 ทผี่ ่านจดุ ประสงค์ การเรยี นรู้ รูป 2.2 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉลี่ยจานวนนกั เรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่ผา่ นจุดประสงค์ การเรียนรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 4 รปู 2.3 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนกั เรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.4 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนกั เรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 5 รปู 2.5 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.6 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 6 รปู 2.7 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.8 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 7 ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสปั ดาหท์ ี่ 1 ระหว่างวนั ที่ 6 – 8 มกราคม 2564 ในการจัดการเรยี นการสอนทางไกลของโรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ์ พบวา่ ครผู สู้ อนมแี ละไม่มีปญั หาและอุปสรรคซง่ึ เกดิ ขึ้นระหว่างการจดั การเรียนรู้ โดยครผู ้สู อนไดส้ ะทอ้ นข้อคิดเหน็ ออกมาในหลายมิติ โดยมี 5 อันดบั แรกเรยี งตามความถ่ขี องประเดน็ ตา่ ง ๆ ท่ีสะท้อน (รปู 3) ดงั นี้ อนั ดับ 1 คือ ไม่มปี ัญหาและอุปสรรค อันดบั 2 คือ สัญญาณอินเทอร์เน็ตไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพและนักเรยี นไม่มีอปุ กรณ์การเรียน เชน่ ไม่มหี นังสอื เรยี น ไม่มีสมุดจดบนั ทึก เป็นต้น อันดบั 3 คือ นักเรียนเข้าชน้ั เรียนไม่ตรงเวลา นกั เรยี นเข้าบัญชอี เี มล์โรงเรยี นไม่ได้ เน่ืองจาก เป็นนกั เรียน ใหมแ่ ละลืมรหัสผา่ น ส่อื อปุ กรณ์ไม่เพยี งพอ และนักเรยี นขาดเรียนโดยไม่ทราบสาเหตุ รปู 3 แสดงความถ่ขี องปัญหาและอปุ สรรคในการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ไม่มปี ญั หาและอุปสรรค สัญญาณอนิ เทอร์เน็ตไม่มีประสทิ ธิภาพและ นกั เรยี นไม่มีอุปกรณ์การเรยี น นักเรยี นเข้าช้ันเรียนไมต่ รงเวลา นักเรยี นเข้าบญั ชอี เี มล์โรงเรยี นไมไ่ ด้ เน่ืองจาก เป็นนักเรียนใหม่และลืมรหัสผ่าน สอ่ื อปุ กรณ์ไม่เพียงพอ และ นกั เรียนขาดเรียนโดยไมท่ ราบสาเหตุ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 8 แนวทางการแกป้ ญั หาการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสัปดาห์ที่ 1 ระหวา่ งวนั ที่ 17 – 21 พฤษภาคม 2564 จากปัญหาและอปุ สรรคในการจัดการเรยี นการสอนทางไกลของโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรม ราชปู ถัมภ์ ครูผู้สอนได้ดาเนนิ การแกป้ ัญหาเพ่ือชว่ ยเหลือนักเรียนในการเรยี นรู้ ตลอดจนประสานงานกบั ครปู ระจา ชน้ั และผปู้ กครอง เพ่ือให้กระบวนการเรียนรเู้ กิดข้ึนอย่างต่อเนือ่ ง แม้ในสถานการณ์ทย่ี ากต่อการเรยี นจัดการเรียน การสอน โดยครผู ูส้ อนได้สะท้อนข้อคดิ เหน็ ถงึ แนวทางในการแก้ปัญหาออกมาในหลายมติ ิ โดยมี 5 อันดับแรกเรียง ตามความถข่ี องประเดน็ ต่าง ๆ ทส่ี ะท้อน (รปู 4) ดงั นี้ อนั ดบั 1 คือ ไม่มี เนอื่ งจากไมพ่ บอปุ สรรค อันดับ 2 คือ ครูประสานกับครทู ่ปี รึกษาหรือผู้ปกครองเพ่ือติดตามการเข้าเรยี นของนักเรียน อันดบั 3 คือ ครูใชว้ ิธที หี่ ลากหลายเพอ่ื กระตุ้นใหน้ ักเรียนมีส่วนรว่ มในชัน้ เรียนและครสู รา้ งส่ือ ใบงาน ใบ ความร้ใู นรปู แบบอิเล็กทรอนิกส์ อันดบั 4 คือ ครศู ึกษาเพิ่มเติมเกีย่ วกับการใช้สือ่ เทคโนโลยีและใช้วธิ ที ีห่ ลากหลาย อนั ดับ 5 คือ ครูประสานงานกับงานไอทีและผู้เกยี่ วข้องเพื่อชว่ ยแก้ปัญหานักเรียน รปู 4 แสดงความถี่ของแนวทางในการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ไม่มี เน่ืองจากไม่พบอุปสรรค ครปู ระสานกบั ครทู ปี่ รึกษาหรือผปู้ กครอง เพื่อติดตามการเขา้ เรียนของนักเรียน ครใู ช้วิธที ีห่ ลากหลายเพอื่ กระต้นุ และครูสรา้ งส่ือ ใบงาน ใบความรู้ในรูปแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ ครศู ึกษาเพ่ิมเตมิ เกยี่ วกับแกลา้วรสใง่ ชใ้สห่อื้นเกัทเครโยี นนโลยีและใช้วิธที ี่หลากหลาย ครูประสานงานกบั งานไอทีและผู้เกยี่ วข้องเพ่ือช่วยแกป้ ัญหานักเรยี น รายงานสรุปการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019

สปั ดาหท์ ี่ 2 วนั ที่ 24 – 28 พฤษภาคม 2564

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 1 รายงานการจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สปั ดาหท์ ่ี 2 วนั ท่ี 24 – 28 พฤษภาคม 2564 ตามท่ีโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ประกาศลงวันท่ี 30 เดือนเมษายน พ.ศ.2564 ให้มีการดาเนินการจัดการเรียนการสอนทางไกล ตั้งแต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2564 โดยกาหนดรูปแบบการสอน ทางไกลแบบ Online ตามนโยบายและมาตรการในการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ไี ด้กาหนดไว้ เพ่ือให้การเรียนรขู้ องนักเรียนเกิดขนึ้ ได้ภายใต้สถานการณ์ท่ีท้าทาย ดังเช่นวลี ท่ีว่า “โรงเรียนหยุดได้ แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้” ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร บดั นี้การดาเนินการจดั การเรยี นการสอนทางไกลได้ดาเนินการไปแล้ว 2 สัปดาห์ จึงขอรายงานผลจากการ จัดการเรียนการสอนทางไกล ในสัปดาห์ที่ 2 ระหว่างวันที่ 24 – 28 พฤษภาคม 2564 ดงั นี้ รายงานสรุปการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรน่า 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 2 ตารางท่ี 1 แสดงจานวนนักเรียนทีเ่ ข้าเรยี นการจดั การเรยี นการสอนทางไกล สัปดาหท์ ี่ 2 วันท่ี 24 – 28 พฤษภาคม 2564 จานวน วนั /เดือน/ปี จานวน ร้อยละของ ระดับชัน้ นักเรียน นักเรียน นกั เรียนท่ี 25/5/2564 26/5/2564 27/5/2564 เฉล่ีย เข้าเรยี น ทง้ั หมด 24/5/2564 28/5/2564 สัปดาห์ 2 ป.5 124 109 115 - 111 113 112 90.32 ป.6 137 115 107 - 118 112 113 82.48 ม.1 180 156 138 - 160 155 152 84.58 ม.2 165 146 152 - 149 146 148 89.85 ม.3 110 98 92 - 99 99 97 88.18 ม.4 110 94 94 - 96 86 93 84.09 ม.5 85 75 72 - 67 69 71 83.24 ม.6 77 60 58 - 63 54 59 76.30 รวม 988 853 828 วนั หยุด 863 834 845 85.48 จากตารางแสดงจานวนนักเรียนท่ีเข้าเรียนการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในห้วงสัปดาห์ที่ ในห้วง สัปดาห์ที่ 2 ระหว่างวนั ที่ 21 – 24 พฤษภาคม 2564 พบว่า ภาพรวมนกั เรียนของโรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ใน พระบรมราชูปถมั ภ์ รายงานตัวเข้าเรียนโดยเฉลี่ยรอ้ ยละ 85.48 โดยมีแนวโน้มของจานวนนักเรียนทเ่ี ขา้ เรยี นแต่ละ วนั แสดงไดด้ ังรปู 1 กราฟเส้นแสดงแนวโนม้ ของนักเรียนทีเ่ ขา้ เรียนทางไกลจาแนกเป็นระดับชัน้ ในสปั ดาห์ท่ี 2 รายงานสรุปการจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรน่า 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 3 รปู 1 กราฟเส้นแสดงแนวโน้มของนกั เรียนท่ีเขา้ เรยี นทางไกลจาแนกเป็นระดบั ช้นั ในสปั ดาห์ท่ี 2 ระหว่างวนั ที่ 24 – 28 พฤษภาคม 2564จำนวน ันกเ ีรยน (คน) ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0 วัน เดือน ปี รายงานสรปุ การจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 4 ผลการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ในสัปดาห์ท่ี 2 ระหว่างวนั ท่ี 24 – 28 พฤษภาคม 2564 จากการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสัปดาห์ท่ี 2 ที่ขอความร่วมมือครูแต่ละวิชาได้เร่ิมดาเนินการสอน ตามตารางสอนทางไกล ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 โดยใหค้ ุณครไู ดว้ างแผนการ ดาเนินการจดั การเรียนการสอนทางไกลตามความเหมาะสม และแบ่งสัดสว่ นการจัดการเรียนการสอนแบบ video conference และแบบสื่อการเรียนด้วยตนเองของนักเรียน และครูได้ดาเนินการวัดผลและประเมินผลนักเรียนใน แต่ละชั่วโมงเรียนว่าผ่านจุดประสงค์การเรียนรตู้ ามที่ต้ังไว้หรือไม่ โดยจากข้อมูลพบว่า โดยภาพรวมในสัปดาห์ที่ 2 ระหว่างวันท่ี 24 – 28 พฤษภาคม 2564 นกั เรียนแต่ละชั้นเรียนร้อยละ 80 ข้ึนไป ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้ โดย เฉล่ยี ร้อยละ 49.5 ซงึ่ สูงกวา่ ในสัปดาหท์ ี่ 1 รองลงมาคอื นักเรียนแตล่ ะชัน้ เรยี นร้อยละ 70 ขน้ึ ไปแตน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยเฉล่ียร้อยละ 34 และมีเฉล่ียร้อยละ 8.2 ของจานวนช่ัวโมงสอนที่ไม่ได้ประเมิน การผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู้ ซ่งึ รอ้ ยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนภาพรวมทัง้ โรงเรียนท่ีผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ แสดงได้ดังรปู 2 รปู 2 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนภาพรวมทั้งโรงเรยี นทผี่ ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ รายงานสรุปการจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรน่า 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 5 โดยจาแนกแสดงเปน็ ระดบั ช้ันตา่ ง ๆ ไดด้ ังนี้ รูป 2.1 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 ทผี่ ่านจดุ ประสงค์ การเรยี นรู้ รูป 2.2 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉลี่ยจานวนนกั เรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่ผา่ นจุดประสงค์ การเรียนรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 6 รปู 2.3 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.4 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 7 รปู 2.5 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.6 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 8 รปู 2.7 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.8 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 9 รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 การจัดการเรียนการสอนทางไกล ในพื้นที่เฝ้าระวังและมีการควบคุมสูง ถูกกาหนดไว้ 4 รูปแบบ คือ การ จัดการเรียนการสอนแบบ ON-AIR, การจัดการเรียนการสอนแบบ ONLINE, การจัดการเรียนการสอนแบบ ON- DEMAND และการจัดการเรียนการสอนแบบ ON-HAND ซึ่งโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ใช้การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นท่ีรูปแบบ ONLINE เป็นหลักและการ จดั การเรยี นการสอนรปู แบบอนื่ ๆ เสรมิ ตามความเหมาะสมกับบริบทของนกั เรียนและธรรมชาติของวชิ าทส่ี อน จากการรวบรวมข้อมูลจากการตอบรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสัปดาห์ที่ 2 จานวน 103 คาตอบ พบว่า ในจานวนเหล่านั้นครูผู้สอนใช้การจดั การเรียนการสอนในรูปแบบ ONLINE ถงึ รอ้ ยละ 98.1 และอืน่ ๆ ร้อย ละ 1.2 แสดงไดด้ งั รปู 3 รูป 3 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละการใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนร้แู บบตา่ ง ๆ รายงานสรปุ การจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรน่า 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 10 โดยในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ ONLINE น้ัน ครูผู้สอนได้เลือกใช้วิธีการ เครื่องมือและ แอปพลิเคช่ันท่หี ลากหลาย ดงั แสดงในรูป 4 โดยจากขอ้ มลู พบว่า อนั ดบั 1 ครูผสู้ อนใช้ Google Classroom รว่ มกับ Google Meet คิดเปน็ รอ้ ยละ 29.9 อนั ดับ 2 ครูผู้สอนใช้ Google Classroom, Google Meet และ LINE รว่ มกนั คดิ เปน็ ร้อยละ 21.6 อันดับ 3 ครูผู้สอนใช้ Google Classroom, Google Meet, YouTube และ LINE ร่วมกัน คิดเป็น ร้อย ละ 17.5 อันดับ 4 ครผู สู้ อนใช้ Google Classroom, Google Meet, YouTube ร่วมกนั คิดเป็น รอ้ ยละ 9.3 อันดับ 5 ครผู สู้ อนใช้ Google Meet เทา่ นนั้ คดิ เป็นร้อยละ 5.2 รูป 4 แผนภูมวิ งกลมแสดงร้อยละการใชร้ ูปแบบวธิ ีการ เคร่อื งมือและแอปพลิเคชันแบบตา่ ง ๆ ในการจัดการเรียนการสอนรปู แบบ ONLINE รายงานสรุปการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรน่า 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์ 11 ปัญหาและอปุ สรรคในการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสัปดาหท์ ี่ 2 ระหวา่ งวันที่ 24 – 28 พฤษภาคม 2564 ในการจดั การเรยี นการสอนทางไกลของโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์ พบว่า ครผู สู้ อนมีและไม่มปี ัญหาและอปุ สรรคซึง่ เกดิ ขน้ึ ระหวา่ งการจดั การเรียนรู้ โดยครูผสู้ อนได้สะทอ้ นข้อคิดเห็น ออกมาในหลายมติ ิ โดยมี 5 อันดับแรกเรียงตามความถขี่ องประเด็นต่าง ๆ ทีส่ ะท้อน (รูป 5) ดงั น้ี อันดบั 1 คือ ไม่มปี ัญหาและอุปสรรค อันดับ 2 คือ นักเรยี นเข้าช้ันเรยี นไม่ตรงเวลา อันดับ 3 คือ นักเรยี นไมต่ ง้ั ใจเรียน อนั ดบั 4 คือ นักเรียนขาดเรยี นโดยไม่ทราบสาเหตุ อนั ดับ 5 คือ นกั เรยี นขาดเรยี นโดยไมท่ ราบสาเหตแุ ละเขา้ เรียนไมต่ รงเวลา รปู 5 แสดงความถี่ของปญั หาและอปุ สรรคในการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ไม่มีปญั หาและอปุ สรรค นักเรียนเขา้ ชนั้ เรยี นไมต่ รงเวลา นกั เรียนไม่ต้ังใจเรียน นกั เรียนขาดเรียนโดยไม่ทราบสาเหตุ รายงานสรุปการจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรน่า 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 12 แนวทางการแกป้ ญั หาการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสัปดาหท์ ี่ 2 ระหวา่ งวนั ท่ี 24 – 28 พฤษภาคม 2564 จากปญั หาและอปุ สรรคในการจดั การเรยี นการสอนทางไกลของโรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรม ราชปู ถมั ภ์ ครูผสู้ อนไดด้ าเนินการแก้ปัญหาเพื่อชว่ ยเหลอื นักเรียนในการเรียนรู้ ตลอดจนประสานงานกบั ครูประจา ชน้ั และผปู้ กครอง เพื่อให้กระบวนการเรยี นรู้เกดิ ข้ึนอยา่ งต่อเนอ่ื ง แมใ้ นสถานการณ์ท่ยี ากตอ่ การเรยี นจดั การเรยี น การสอน โดยครูผูส้ อนได้สะท้อนข้อคิดเหน็ ถึงแนวทางในการแก้ปัญหาออกมาในหลายมิติ โดยมี 5 อนั ดบั แรกเรยี ง ตามความถีข่ องประเด็นต่าง ๆ ทีส่ ะท้อน (รปู 6) ดงั นี้ อันดบั 1 คือ ไม่มี เนอื่ งจากไมพ่ บอุปสรรค อนั ดบั 2 คือ ครปู ระสานกับครทู ี่ปรกึ ษาหรือผปู้ กครองเพ่ือตดิ ตามการเข้าเรยี นของนักเรียน อันดับ 3 คือ ครศู ึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกับการใชส้ ือ่ เทคโนโลยแี ละใช้วิธที ห่ี ลากหลาย อนั ดับ 4 คือ ปรึกษาผู้รเู้ พื่อช่วยแก้ปัญหา อันดับ 5 คือ ครูศึกษาเพ่มิ เติมเกย่ี วกับการใช้สอื่ เทคโนโลยแี ละปรกึ ษาผูร้ ูเ้ พ่ือช่วยแก้ปญั หา รปู 6 แสดงความถ่ขี องแนวทางในการจดั การเรียนการสอนทางไกล ไม่มี เน่ืองจากไม่พบอุปสรรค ครูประสานกับครทู ่ีปรึกษาหรือผู้ปกครองเพ่ือติดตามการเข้าเรียนของนักเรยี น ครูศึกษาเพิ่มเติมเกีย่ วกบั การใชส้ ื่อเทคโนโลยีและใช้วธิ ที ีห่ ลากหลาย ปรกึ ษาผ้รู เู้ พ่ือชว่ ยแก้ปัญหา ครศู ึกษาเพิ่มเตมิ เกยี่ วกบั การใชส้ ือ่ เทคโนโลยแี ละปรกึ ษาผูร้ ู้เพือ่ ช่วยแก้ปัญหา รายงานสรปุ การจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรน่า 2019

สปั ดาหท์ ่ี 3 วนั ท่ี 31 พฤษภาคม – 4 มถิ ุนายน 2564

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 1 รายงานการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ สัปดาห์ท่ี 3 วนั ท่ี 31 พฤษภาคม – 4 มถิ ุนายน 2564 ตามที่โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ประกาศลงวันท่ี 30 เดือนเมษายน พ.ศ.2564 ให้มีการดาเนินการจัดการเรียนการสอนทางไกล ตั้งแต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2564 โดยกาหนดรูปแบบการสอน ทางไกลแบบ Online ตามนโยบายและมาตรการในการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ีได้กาหนดไว้ เพื่อใหก้ ารเรียนรขู้ องนักเรยี นเกิดข้ึนได้ภายใต้สถานการณท์ ่ีทา้ ทาย ดังเช่นวลี ที่ว่า “โรงเรียนหยุดได้ แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้” ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ บัดนี้การดาเนนิ การจดั การเรียนการสอนทางไกลไดด้ าเนินการไปแล้ว 3 สปั ดาห์ จึงขอรายงานผลจากการ จดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสปั ดาห์ท่ี 3 วนั ท่ี 31 พฤษภาคม – 4 มิถนุ ายน 2564 ดงั นี้ รายงานสรุปการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 2 ตารางท่ี 1 แสดงจานวนนักเรียนที่เขา้ เรียนการจัดการเรยี นการสอนทางไกล สปั ดาห์ที่ 3 วันท่ี 31 พฤษภาคม – 4 มิถนุ ายน 2564 จานวน วัน/เดือน/ปี 4/6/2564 จานวน ร้อยละของ ระดับช้ัน นกั เรยี น นักเรยี น นักเรียนท่ี 1/6/2564 2/6/2564 3/6/2564 เฉลีย่ เขา้ เรียน ทง้ั หมด สปั ดาห์ 3 31/5/2564 ป.5 124 114 110 113 - 109 112 89.92 ป.6 137 124 125 121 - 120 123 89.42 ม.1 180 166 162 167 - 156 163 90.42 ม.2 165 158 147 145 - 150 150 90.91 ม.3 110 106 98 102 - 92 100 90.45 ม.4 110 100 98 99 - 89 97 87.73 ม.5 85 79 78 75 - 77 77 90.88 ม.6 77 70 70 65 - 66 68 87.99 รวม 988 917 888 887 วนั หยุด 859 888 89.85 จากตารางแสดงจานวนนักเรียนท่ีเข้าเรียนการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในห้วงสัปดาห์ท่ี ในห้วง สัปดาห์ที่ 3 ระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม – 4 มิถุนายน 2564 พบว่า ภาพรวมนักเรียนของโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ รายงานตัวเข้าเรียนโดยเฉล่ียร้อยละ 89.85 ซ่ึงสูงกว่าในสัปดาห์ที่ 2 โดยมี แนวโน้มของจานวนนักเรียนท่ีเข้าเรียนแต่ละวันแสดงได้ดังรูป 1 กราฟเส้นแสดงแนวโน้มของนักเรียนที่เข้าเรียน ทางไกลจาแนกเปน็ ระดับชน้ั ในสปั ดาหท์ ่ี 3 รายงานสรปุ การจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรน่า 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 3 รปู 1 กราฟเสน้ แสดงแนวโน้มของนกั เรียนท่ีเขา้ เรยี นทางไกลจาแนกเป็นระดับช้ัน ในสัปดาห์ท่ี 3 วันท่ี 31 พฤษภาคม – 4 มิถนุ ายน 2564 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 180 160 140 120 จำนวน ันกเ ีรยน (คน) 100 80 60 40 20 0 2 - มิ . ย . - 6 4 3 - มิ . ย . - 6 4 4 - มิ . ย . - 6 4 31-พ.ค.-64 1-มิ.ย.-64 วัน เดอื น ปี รายงานสรปุ การจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 4 ผลการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในสัปดาห์ท่ี 3 วันท่ี 31 พฤษภาคม – 4 มิถนุ ายน 2564 จากการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสัปดาห์ที่ 3 ที่ขอความร่วมมือครูแต่ละวิชาได้เร่ิมดาเนินการสอน ตามตารางสอนทางไกล ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 โดยใหค้ ณุ ครูได้วางแผนการ ดาเนินการจัดการเรียนการสอนทางไกลตามความเหมาะสม และแบ่งสัดส่วนการจัดการเรียนการสอนแบบ video conference และแบบส่ือการเรียนด้วยตนเองของนักเรียน และครูได้ดาเนินการวัดผลและประเมินผลนักเรียนใน แต่ละชั่วโมงเรียนว่าผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ตามที่ต้ังไว้หรือไม่ โดยจากข้อมูลพบว่า โดยภาพรวมในสัปดาห์ท่ี 3 ระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม – 4 มิถุนายน 2564 นักเรียนแต่ละชั้นเรียน ร้อยละ 80 ข้ึนไป ผ่านจุดประสงค์การ เรียนรู้ โดยเฉล่ียร้อยละ 59.1 ซ่ึงสูงกว่าในสัปดาหท์ ี่ 2 (เฉลี่ยร้อยละ 49.5) รองลงมาคือไม่มีการประเมินผู้เรียนใน คาบเรียน เฉล่ยี ร้อยละ 19.3 เนอื่ งจากเป็นการเร่ิมต้นบทเรยี นดงั นน้ั ครูจงึ ยงั ไมไ่ ด้วัดและประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ อง นักเรียนอย่างชัดเจน และนักเรียนแต่ละช้ันเรียนร้อยละ 70 ขึ้นไปแต่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผ่านจุดประสงค์การ เรียนรู้ โดยเฉล่ียร้อยละ 17 และมีเฉลี่ยร้อยละ 4.5 ของนักเรียนแต่ละช้ันท่ีนักเรียนร้อยละ 60 ข้ึนไปแต่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนภาพรวมทั้งโรงเรียนท่ีผ่านจุดประสงค์ การเรยี นรู้ แสดงไดด้ งั รูป 2 รปู 2 แผนภมู วิ งกลมแสดงร้อยละโดยเฉลี่ยจานวนนกั เรยี นภาพรวมท้ังโรงเรียนทผ่ี ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้ รายงานสรุปการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา่ 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 5 โดยจาแนกแสดงเปน็ ระดบั ช้ันตา่ ง ๆ ไดด้ ังนี้ รูป 2.1 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 ทผี่ ่านจดุ ประสงค์ การเรยี นรู้ รูป 2.2 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉลี่ยจานวนนกั เรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่ผา่ นจุดประสงค์ การเรียนรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 6 รปู 2.3 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.4 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 7 รปู 2.5 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.6 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 8 รปู 2.7 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.8 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์ 9 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 การจัดการเรียนการสอนทางไกล ในพ้ืนที่เฝ้าระวังและมีการควบคุมสูง ถูกกาหนดไว้ 4 รูปแบบ คือ การ จัดการเรียนการสอนแบบ ON-AIR, การจัดการเรียนการสอนแบบ ONLINE, การจัดการเรียนการสอนแบบ ON- DEMAND และการจัดการเรียนการสอนแบบ ON-HAND ซึ่งโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ใช้การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นที่รูปแบบ ONLINE เป็นหลักและการ จัดการเรียนการสอนรปู แบบอ่นื ๆ เสริม ตามความเหมาะสมกับบริบทของนักเรยี นและธรรมชาตขิ องวชิ าทีส่ อน จากการรวบรวมข้อมูลจากการตอบรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสัปดาห์ท่ี 3 จานวน 93 คาตอบ พบว่า ในจานวนเหล่านน้ั ครูผู้สอนใชก้ ารจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบ ONLINE ถงึ รอ้ ยละ 98.9 ซ่ึงเปน็ การผสม ผสมผสานการใช้แอปพลิเคช่ันหลากหลายเข้าด้วยกัน เช่น Google Meet, Google Classroom, Line และ DLTV และอ่ืน ๆ ร้อยละ 1.1 ท่ีใช้รูปแบบ On-Demand โดยใช้ DLTV ซึ่งส่วนใหญ่เพ่ือการทบทวนและเรียนรู้ ด้วยตนเอง แสดงได้ดงั รูป 3 รูป 3 แผนภูมวิ งกลมแสดงร้อยละการใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบต่าง ๆ รายงานสรุปการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 10 โดยในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ ONLINE น้ัน ครูผู้สอนได้เลือกใช้วิธีการ เคร่ืองมือและ แอปพลเิ คช่ันทหี่ ลากหลาย ดังแสดงในรปู 4 โดยจากข้อมูลพบวา่ อนั ดับ 1 ครผู ู้สอนใช้ Google Classroom รว่ มกบั Google Meet คิดเปน็ รอ้ ยละ 29.5 อันดบั 2 ครผู สู้ อนใช้ Google Classroom เทา่ น้ัน คิดเปน็ ร้อยละ 19.3 อันดับ 3 ครูผู้สอนใช้ Google Classroom, Google Meet, YouTube และ LINE ร่วมกัน คิดเป็น ร้อย ละ 18.2 อนั ดับ 4 ครผู สู้ อนใช้ Google Classroom, Google Meet, Line ร่วมกนั คิดเป็น ร้อยละ 13.6 อันดับ 5 ครผู ู้สอนใช้ Google Meet เท่าน้นั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8 รปู 4 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละการใช้รูปแบบวธิ กี าร เคร่ืองมือและแอปพลเิ คชนั แบบตา่ ง ๆ ในการจัดการเรยี นการสอนรปู แบบ ONLINE รายงานสรุปการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 11 ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสปั ดาหท์ ่ี 3 วันท่ี 31 พฤษภาคม – 4 มิถุนายน 2564 ในการจัดการเรียนการสอนทางไกลของโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ พบวา่ ครผู ้สู อนมีและไม่มีปัญหาและอปุ สรรคซง่ึ เกดิ ข้ึนระหวา่ งการจัดการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนได้สะท้อนขอ้ คดิ เหน็ ออกมาในหลายมติ ิ โดยมี 5 อันดับแรกเรียงตามความถีข่ องประเด็นต่าง ๆ ทีส่ ะท้อน (รูป 5) ดงั น้ี อนั ดบั 1 คือ ไม่มีปัญหาและอุปสรรค อนั ดบั 2 คือ สญั ญาณอนิ เทอร์เน็ตไม่มปี ระสิทธิภาพและนกั เรียนเข้า Google Classroom ไมไ่ ด้ อนั ดับ 3 คือ นกั เรยี นเข้าเรียนไมต่ รงเวลา อนั ดบั 4 คือ สัญญาณอนิ เทอรเ์ น็ตไม่มีประสิทธิภาพ อันดับ 5 คือ นกั เรียนสง่ งานไม่ครบ รปู 5 แสดงความถข่ี องปญั หาและอปุ สรรคในการจดั การเรียนการสอนทางไกล ไมม่ ีปญั หาและอปุ สรรค สัญญาณอนิ เทอรเ์ น็ตไม่มปี ระสิทธภิ าพ และนกั เรียนเขา้ Google Classroom ไม่ได้ นกั เรยี นเขา้ ชัน้ เรยี นไมต่ รงเวลา สัญญาณอินเทอรเ์ น็ตไม่มปี ระสทิ ธภิ าพ นักเรยี นสง่ งานไมค่ รบ รายงานสรุปการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรน่า 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์ 12 แนวทางการแก้ปญั หาการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสปั ดาห์ท่ี 3 วันท่ี 31 พฤษภาคม – 4 มถิ นุ ายน 2564 จากปญั หาและอุปสรรคในการจดั การเรยี นการสอนทางไกลของโรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรม ราชปู ถัมภ์ ครผู ู้สอนได้ดาเนนิ การแก้ปัญหาเพ่ือช่วยเหลอื นักเรยี นในการเรียนรู้ ตลอดจนประสานงานกบั ครูประจา ชน้ั และผ้ปู กครอง เพ่ือให้กระบวนการเรยี นรเู้ กิดข้ึนอย่างต่อเนื่อง แมใ้ นสถานการณ์ทย่ี ากตอ่ การเรียนจัดการเรียน การสอน โดยครผู ้สู อนไดส้ ะท้อนข้อคดิ เห็นถงึ แนวทางในการแกป้ ญั หาออกมาในหลายมิติ โดยมี 5 อันดบั แรกเรียง ตามความถีข่ องประเดน็ ตา่ ง ๆ ท่สี ะท้อน (รูป 6) ดงั น้ี อันดับ 1 คือ ไม่มี เน่ืองจากไม่พบอปุ สรรค อนั ดบั 2 คือ สารวจบริเวณทมี่ อี นิ เทอรเ์ นต็ ภายในโรงเรียน อันดับ 3 คือ ครูประสานกับครทู ี่ปรึกษาหรือผปู้ กครองเพื่อติดตามการเขา้ เรยี นของนักเรียน อนั ดับ 4 คือ ครศู ึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกบั การใชส้ ่ือเทคโนโลยีและใชว้ ิธที ห่ี ลากหลายและปรกึ ษาผรู้ ู้เพื่อชว่ ย แก้ปญั หา อันดับ 5 คือ ครูประสานกับครูท่ีปรกึ ษาหรือผูป้ กครองและสรา้ งส่ือในรูปแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ รปู 6 แสดงความถ่ีของแนวทางในการจดั การเรียนการสอนทางไกล ไมม่ ี เน่ืองจากไม่พบอุปสรรค สารวจบริเวณที่มอี นิ เทอร์เน็ตภายในโรงเรยี น ครูประสานกับครูทปี่ รึกษาหรือผปู้ กครอง เพอื่ ติดตามการเขา้ เรียนของนักเรียน ครศู ึกษาเพิ่มเติมเกีย่ วกบั การใช้ส่ือเทคโนโลยี และปรกึ ษาผูร้ ้เู พ่ือชว่ ยแก้ปัญหา ครปู ระสานกบั ครทู ปี่ รึกษาหรือผ้ปู กครองและสร้างสื่อในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ รายงานสรปุ การจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

สปั ดาหท์ ่ี 4 วนั ท่ี 7 มถิ ุนายน – 11 มถิ ุนายน 2564

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 1 รายงานการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ สปั ดาห์ท่ี 4 วันท่ี 7 – 11 มถิ ุนายน 2564 ตามที่โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ประกาศลงวันที่ 30 เดือนเมษายน พ.ศ.2564 ให้มีการดาเนินการจัดการเรียนการสอนทางไกล ตั้งแต่วันท่ี 17 พฤษภาคม 2564 โดยกาหนดรูปแบบการสอน ทางไกลแบบ Online ตามนโยบายและมาตรการในการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ีได้กาหนดไว้ เพื่อให้การเรียนร้ขู องนักเรยี นเกิดขึ้นไดภ้ ายใต้สถานการณ์ท่ีท้าทาย ดังเช่นวลี ที่ว่า “โรงเรียนหยุดได้ แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้” ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร บดั นี้การดาเนนิ การจดั การเรียนการสอนทางไกลได้ดาเนินการไปแล้ว 4 สัปดาห์ จึงขอรายงานผลจากการ จดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสัปดาห์ที่ 4 ช่วงวันที่ 7 – 11 มถิ ุนายน 2564 ดงั นี้ รายงานสรุปการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรน่า 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 2 ตารางท่ี 1 แสดงจานวนนักเรียนท่เี ข้าเรยี นการจัดการเรยี นการสอนทางไกล สัปดาหท์ ี่ 4 วนั ท่ี 7 – 11 มิถนุ ายน 2564 จานวน 7/6/2564 8/6/2564 วนั /เดือน/ปี 11/6/2564 จานวน ร้อยละของ ระดับช้นั นักเรยี น นักเรยี น นกั เรยี นท่ี 9/6/2564 10/6/2564 เฉลยี่ เข้าเรียน ท้ังหมด สัปดาห์ 4 ป.5 125 110 111 108 113 110 110 88.32 ป.6 136 121 114 116 117 105 115 84.26 ม.1 179 155 149 156 156 152 154 85.81 ม.2 166 145 150 145 138 138 143 86.27 ม.3 110 87 95 86 92 93 91 82.36 ม.4 110 102 98 97 90 91 96 86.91 ม.5 85 69 72 78 79 79 75 88.71 ม.6 77 48 51 53 47 43 48 62.86 รวม 988 837 840 839 832 811 832 84.19 จากตารางแสดงจานวนนักเรียนที่เข้าเรียนการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสัปดาห์ท่ี 4 ช่วงวันท่ี 7 – 11 มิถนุ ายน 2564 พบว่า ภาพรวมนกั เรยี นของโรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ รายงานตัวเข้าเรียนโดยเฉลี่ยร้อยละ 84.19 ซ่ึงน้อยกว่าในสัปดาห์ที่ 3 (เฉล่ียร้อยละ 89.85) โดยมีแนวโน้มของ จานวนนกั เรยี นท่ีเข้าเรียนแตล่ ะวันแสดงได้ดังรูป 1 กราฟเส้นแสดงแนวโน้มของนักเรียนที่เขา้ เรยี นทางไกลจาแนก เป็นระดบั ช้นั ในสัปดาห์ที่ 4 รายงานสรุปการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 3 รปู 1 กราฟเส้นแสดงแนวโนม้ ของนกั เรียนทเี่ ขา้ เรียนทางไกลจาแนกเปน็ ระดบั ช้ัน สัปดาหท์ ี่ 4 วันที่ 7 – 11 มิถุนายน 2564 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 200 180 160 140 จำนวน ันกเ ีรยน (คน) 120 100 80 60 40 20 0 เต็ม 7-มิ.ย.-64 8-มิ.ย.-64 9-มิ.ย.-64 10-มิ.ย.-64 11-มิ.ย.-64 วนั เดอื น ปี รายงานสรุปการจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 4 ผลการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สปั ดาหท์ ่ี 4 วันที่ 7 – 11 มิถนุ ายน 2564 จากการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสัปดาห์ที่ 4 ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส โคโรน่า 2019 โดยให้คุณครูได้วางแผนการดาเนินการจัดการเรียนการสอนทางไกลตามความเหมาะสม และแบ่ง สัดส่วนการจัดการเรียนการสอนแบบ video conference และแบบส่ือการเรียนด้วยตนเองของนักเรียน และครู ได้ดาเนินการวัดผลและประเมินผลนักเรียนในแต่ละช่ัวโมงเรียนว่าผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ตามท่ีตั้งไว้หรือไม่ โดยจากข้อมลู พบว่า โดยภาพรวมในสัปดาห์ท่ี 4 ช่วงวันท่ี 7 – 11 มิถุนายน 2564 นักเรยี นแต่ละช้ันเรียน ร้อยละ 80 ข้ึนไป ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยเฉล่ียร้อยละ 43.9 ซึ่งน้อยกว่าในสัปดาห์ที่ 3 (เฉลี่ยร้อยละ 59.1) เน่ืองจากครูสัดส่วนของคา่ เฉลี่ยร้อยละถูกแบง่ ไปในส่วนของการสอนโดยไม่มีการวัดและประเมินผลท้ายคาบเรียน โดยคิดเป็นค่าเฉล่ียร้อยละ 25.5 ซ่ึงสูงกว่าในสัปดาห์ท่ี 3 (เฉล่ียร้อยละ 19.3) และนักเรียนแต่ละช้ันเรียนร้อยละ 70 ขึ้นไปแต่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้คิดเป็นค่าเฉล่ียร้อยละ 17 และมีค่าเฉล่ียร้อยละ 5.1 ของจานวนนักเรียนแต่ละช้ันท่ีนักเรียนรอ้ ยละ 60 ขน้ึ ไปแตน่ ้อยกว่าร้อยละ 70 ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงร้อย ละโดยเฉลย่ี จานวนนักเรยี นภาพรวมทั้งโรงเรียนท่ีผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนรู้ แสดงได้ดังรปู 2 รปู 2 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉลยี่ จานวนนักเรยี นภาพรวมทั้งโรงเรยี นที่ผา่ นจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ รายงานสรุปการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 5 โดยจาแนกแสดงเปน็ ระดบั ช้ันตา่ ง ๆ ไดด้ ังน้ี รูป 2.1 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 ทผี่ ่านจดุ ประสงค์ การเรยี นรู้ รูป 2.2 แผนภูมิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉลี่ยจานวนนกั เรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่ผา่ นจุดประสงค์ การเรียนรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 6 รปู 2.3 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.4 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 7 รปู 2.5 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนกั เรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.6 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนกั เรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 8 รปู 2.7 แผนภมู ิวงกลมแสดงรอ้ ยละโดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ท่ผี ่านจดุ ประสงค์การ เรียนรู้ รูป 2.8 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละโดยเฉล่ียจานวนนักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ทผ่ี า่ นจุดประสงคก์ าร เรยี นรู้ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา่ 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 9 รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรน่า 2019 การจัดการเรียนการสอนทางไกล ในพ้ืนที่เฝ้าระวังและมีการควบคุมสูง ถูกกาหนดไว้ 4 รูปแบบ คือ การ จัดการเรียนการสอนแบบ ON-AIR, การจัดการเรียนการสอนแบบ ONLINE, การจัดการเรียนการสอนแบบ ON- DEMAND และการจัดการเรียนการสอนแบบ ON-HAND ซ่ึงโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ใช้การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นที่รูปแบบ ONLINE เป็นหลักและการ จัดการเรียนการสอนรูปแบบอื่น ๆ เสริม ตามความเหมาะสมกับบริบทของนกั เรยี นและธรรมชาตขิ องวิชาทีส่ อน จากการรวบรวมข้อมูลจากการตอบรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสัปดาห์ท่ี 4 จานวน 98 คาตอบ พบว่า ในจานวนเหล่านั้นครูผู้สอนใช้การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ ONLINE ถึงร้อยละ 94.9 (น้อยกว่าใน สัปดาห์ที่ 3 ร้อยละ 98.9) ซึ่งเป็นการผสมผสมผสานการใช้แอปพลิเคช่ันหลากหลายเข้าด้วยกัน เช่น Google Meet, Google Classroom, Line และ DLTV และมรี ้อยละ 4 ทคี่ รูผู้สอนใช้การสอนรูปแบบ ONLINE ร่วมกับ การสอนรูปแบบ ON-HAND เนื่องจากโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ดาเนินการ จัดส่งหนังสือทุกรายวิชาให้กับนักเรียนในทุกระดับช้ัน ทาให้ครูสามารถมอบหมายงานท่ีอยู่ในแบบฝึกหัดได้ และอนื่ ๆ ร้อยละ 1.1 ทีใ่ ชร้ ปู แบบ On-Demand โดยใช้ DLTV ซง่ึ ส่วนใหญเ่ พือ่ การทบทวนและเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง แสดงไดด้ ังรูป 3 รปู 3 แผนภมู ิวงกลมแสดงร้อยละการใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรแู้ บบตา่ ง ๆ รายงานสรปุ การจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ 2019

โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์ 10 โดยในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ ONLINE นั้น ครูผู้สอนได้เลือกใช้วิธีการ เครื่องมือและ แอปพลิเคชั่นท่หี ลากหลาย ดงั แสดงในรูป 4 โดยจากข้อมลู พบว่า อันดับ 1 ครูผ้สู อนใช้ Google Classroom เทา่ นนั้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 24.5 อันดับ 2 ครผู สู้ อนใช้ Google Classroom รว่ มกับ Google Meet คิดเป็น ร้อยละ 19.4 อนั ดบั 3 ครผู ู้สอนใช้ Google Classroom, Google Meet, Line ร่วมกัน คิดเป็น รอ้ ยละ 17.3 อันดับ 4 ครูผู้สอนใช้ Google Classroom, Google Meet, YouTube และ LINE ร่วมกัน คิดเป็นร้อย ละ 17.3 อันดบั 5 ครผู ู้สอนใช้ Google Classroom, Google Meet, YouTube เท่าน้นั คดิ เปน็ ร้อยละ 9.2 ประเด็นที่น่าสนใจ คือ ร้อยละของครูผู้สอนท่ีใช้วีดิโอการสอนเพ่ิมสูงขึ้น นั่นคือ มีร้อยละ 10.1 ของ จานวนครทู ั้งหมดทใี่ ช้วดี โิ อการสอนและการสอนโดยใช้ Edpuzzle ท่ีไดร้ ับการอบรมจากทางโรงเรยี น รปู 4 แผนภมู วิ งกลมแสดงร้อยละการใชร้ ูปแบบวิธีการ เครือ่ งมือและแอปพลเิ คชันแบบตา่ ง ๆ ในการจดั การเรยี นการสอนรปู แบบ ONLINE รายงานสรุปการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรน่า 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 11 ปัญหาและอุปสรรคในการจดั การเรยี นการสอนทางไกล สัปดาห์ท่ี 4 วนั ท่ี 7 – 11 มิถนุ ายน 2564 ในการจัดการเรียนการสอนทางไกลของโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์ พบวา่ ครผู ู้สอนมแี ละไม่มปี ัญหาและอปุ สรรคซ่ึงเกดิ ขึ้นระหว่างการจัดการเรยี นรู้ โดยครผู ู้สอนไดส้ ะท้อนขอ้ คิดเหน็ ออกมาในหลายมติ ิ โดยมี 5 อันดบั แรกเรียงตามความถี่ของประเด็นตา่ ง ๆ ท่สี ะท้อน (รูป 5) ดังนี้ อันดบั 1 คือ ไม่มีปญั หาและอุปสรรค อันดบั 2 คือ สญั ญาณอินเทอร์เนต็ ไมม่ ปี ระสิทธภิ าพและนักเรียนเข้า Google Classroom ไม่ได้ อันดับ 3 คือ นกั เรยี นเข้าเรยี นไมต่ รงเวลา อนั ดับ 4 คือ นักเรียนขาดอุปกรณ์การเรียน อันดบั 5 คอื นักเรียนขาดเรยี นโดยไม่ทราบสาเหตุ รปู 5 แสดงความถ่ขี องปญั หาและอปุ สรรคในการจดั การเรียนการสอนทางไกล ไม่มีปญั หาและอปุ สรรค สญั ญาณอินเทอรเ์ น็ตไม่มปี ระสิทธภิ าพ และนักเรยี นเข้า Google Classroom ไม่ได้ นกั เรียนเขา้ ช้นั เรียนไมต่ รงเวลา นักเรียนขาดอปุ กรณก์ ารเรยี น นักเรียนขาดเรยี นโดยไมท่ ราบสาเหตุ รายงานสรปุ การจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019

โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 12 แนวทางการแก้ปัญหาการจดั การเรยี นการสอนทางไกล สปั ดาหท์ ่ี 4 วนั ท่ี 7 – 11 มถิ ุนายน 2564 จากปัญหาและอุปสรรคในการจัดการเรยี นการสอนทางไกลของโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรม ราชูปถัมภ์ ครผู ูส้ อนได้ดาเนินการแกป้ ัญหาเพ่ือช่วยเหลอื นักเรยี นในการเรยี นรู้ ตลอดจนประสานงานกบั ครูประจา ชัน้ และผปู้ กครอง เพื่อให้กระบวนการเรยี นรเู้ กดิ ขน้ึ อยา่ งต่อเนอื่ ง แมใ้ นสถานการณ์ที่ยากต่อการเรยี นจัดการเรยี น การสอน โดยครผู ู้สอนไดส้ ะท้อนข้อคิดเหน็ ถงึ แนวทางในการแกป้ ัญหาออกมาในหลายมิติ โดยมี 5 อันดับแรกเรยี ง ตามความถีข่ องประเด็นต่าง ๆ ที่สะท้อน (รปู 6) ดังนี้ อนั ดบั 1 คือ ไม่มี เน่ืองจากไม่พบอุปสรรค อันดับ 2 คือ สารวจบรเิ วณทีม่ อี ินเทอร์เน็ตภายในโรงเรยี น อันดับ 3 คือ ครปู ระสานกบั ครูทป่ี รึกษาหรือผ้ปู กครองเพ่ือติดตามการเข้าเรียนของนักเรียน อนั ดบั 4 คือ ครูใช้วธิ ีการแกป้ ัญหาท่หี ลากหลายร่วมกนั ในแก้ปัญหา เชน่ - ใช้วิธกี ารที่หลากหลายเพื่อกระตุ้นให้นกั เรยี นมีสว่ นรว่ ม - ประสานกับครูทีป่ รกึ ษาหรอื ผู้ปกครองเพื่อตดิ ตามการเขา้ เรียนของนักเรยี น - ศกึ ษาเพิม่ เตมิ เกยี่ วกบั การใช้สือ่ เทคโนโลยแี ละใชว้ ธิ ีท่ีหลากหลายและปรึกษาผรู้ เู้ พ่ือ ชว่ ยแกป้ ัญหา รปู 6 แสดงความถีข่ องแนวทางในการจดั การเรียนการสอนทางไกล ไม่มี เน่ืองจากไม่พบอุปสรรค สารวจบริเวณทีม่ ีอนิ เทอร์เนต็ ภายในโรงเรยี น ครปู ระสานกบั ครทู ี่ปรึกษาหรือผปู้ กครอง เพ่ือติดตามการเข้าเรยี นของนักเรียน ครใู ชว้ ิธีการแก้ปัญหาทีห่ ลากหลายรว่ มกนั ในแกป้ ัญหา รายงานสรุปการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา่ 2019

สปั ดาหท์ ่ี 5 วนั ท่ี 14 มถิ ุนายน – 18 มถิ ุนายน 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook