Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น

เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น

Published by นายเอกชัย แก้วขวัญ, 2020-06-24 09:03:45

Description: เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ รหัส ๒0๑๐๐-๑๐๐๑ วชิ า เขียนแบบเทคนคิ เบอื้ งตน้ หน่วยกติ ๑ – ๓ – ๒ หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม จดั ทำโดย นายอกชัย แก้วขวญั ครูประจำแผนกวิชาเทคนคิ พ้ืนฐาน วทิ ยาลยั การอาชีพนาแก อาชีวศึกษาจงั หวัดนครพนม ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖3

หลักสตู รรายวิชา ช่ือวชิ า เขยี นแบบเทคนิคเบอื้ งต้น รหัสวิชา 20100-1001 ท.ป.น. 1-3-2 จำนวนคาบการสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช. จุดประสงคร์ ายวิชา 1. ร้แู ละเขา้ ใจเกี่ยวกับหลักการเขียนแบบเทคนคิ การใช้เครอื่ งมือ อปุ กรณเ์ ขยี นแบบ 2. มที ักษะเก่ยี วกับการอา่ นแบบและเขียนแบบเทคนิคเบือ้ งต้นเกี่ยวกบั ภาพฉาย ภาพตัด และภาพ สามมิติ ตามมาตรฐานเขยี นแบบเทคนิค 3. มเี จตคติและกิจนสิ ัยทีด่ ใี นการทำงานด้วยความละเอยี ดรอบคอบ เป็นระเบยี บ สะอาด ตรงตอ่ เวลา มีความซือ่ สัตย์ รบั ผดิ ชอบ และรักษาสภาพแวดลอ้ ม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงวิธีการเขยี นแบบเทคนิค การใชเ้ คร่อื งมอื อปุ กรณ์เขียนแบบ 2. อา่ นและเขยี นแบบภาพช้ินส่วนสองมติ ิ 3. อ่านและเขยี นแบบภาพสามมิติ 4. เขียนภาพฉาย ภาพชว่ ยและภาพตดั คำอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ัติเกีย่ วกับหลักการอ่านแบบ เขยี นแบบเทคนิคเบอื้ งต้น การใช้และการบำรงุ รักษา เครือ่ งมือเขยี นแบบ มาตรฐานงานเขียนแบบเทคนิค เสน้ ตวั เลข ตวั อกั ษร การสรา้ งรปู เรขาคณติ การกำหนด ขนาดของมติ ิ มาตราส่วน ภาพสามมิติ หลกั การฉายภาพมมุ ที่ 1 และมมุ ที่ 3 ภาพสเกตซ์ ภาพตดั และสัญลกั ษณ์เบื้องต้นในงานช่างอุตสาหกรรม

2 หน่วยการเรยี นรู้ ชือ่ วิชา เขยี นแบบเทคนิคเบอื้ งต้น รหสั วชิ า 20100 - 1001 ท.ป.น. 1-3-2 จำนวนคาบการสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดบั ชนั้ ปวช. หน่วย ช่อื หน่วย จำนวน ทมี่ า ท่ี คาบ A B C 2 /// 1 การใชแ้ ละการบำรงุ รกั ษาเครอื่ งมอื เขยี นแบบเบอื้ งตน้ 2 /// 4 /// 2 มาตรฐานเส้นและมาตรฐานตัวอักษรในงานเขียนแบบ 4 /// 4 /// 3 การสร้างรูปเรขาคณิต 4 /// 4 /// 4 การเขียนภาพสามมิตแิ บบออบลิค 8 /// 16 / / / 5 การเขยี นภาพสามมิติไอโซเมตริก 4 /// 4 /// 6 การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกชน้ิ งานผิวเอยี ง 4 /// 2 /// 7 การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตรกิ และภาพออบลิก 2 /// 4 /// 8 วิธีฉายภาพในงานเขยี นแบบ 4 /// 72 9 การกำหนดขนาดของมติ แิ ละมาตราส่วนในงานเขยี นแบบ 10 ภาพตัดเตม็ 11 ภาพตัดคร่งึ 12 ภาพตัดยน่ ระยะและภาพตดั เฉพาะสว่ น 13 ภาพตดั เยื้องแนว 14 ภาพตดั เคล่ือนและภาพตัดหมุน 15 การเขยี นแบบด้วยการสเกตซ์ 16 สญั ลกั ษณเ์ บอ้ื งตน้ ในงานชา่ งอตุ สาหกรรม รวม หมายเหตุ A = หลกั สตู รรายวิชา B = ขอ้ ตกลงตามมาตรฐานสากล C = ความตอ้ งการด้านอาชีพ

3 แผนการจัดการเรียนรู้ ชือ่ วชิ า เขียนแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น รหัสวิชา 20100 - 1001 ท.ป.น. 1-3-2 จำนวนคาบการสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชน้ั ปวช. หนว่ ยที่ ชื่อหนว่ ย จำนวน ช่ัวโมง 1 การใชแ้ ละการบำรงุ รักษาเครื่องมือเขยี นแบบเบ้ืองต้น 2 2 มาตรฐานเส้นและมาตรฐานตวั อักษรในงานเขยี นแบบ 2 4 3 การสรา้ งรูปเรขาคณติ 4 4 4 การเขยี นภาพสามมิติแบบออบลคิ 4 4 5 การเขยี นภาพสามมิติไอโซเมตริก 8 16 6 การเขยี นแบบภาพไอโซเมตริกช้นิ งานผวิ เอยี ง 4 4 7 การเขยี นวงรใี นภาพไอโซเมตรกิ และภาพออบลิก 4 2 8 วธิ ฉี ายภาพในงานเขียนแบบ 2 4 9 การกำหนดขนาดของมติ แิ ละมาตราส่วนในงานเขียนแบบ 4 72 10 ภาพตดั เต็ม 11 ภาพตดั ครึ่ง 12 ภาพตดั ย่นระยะและภาพตดั เฉพาะส่วน 13 ภาพตดั เยอื้ งแนว 14 ภาพตัดเคลือ่ นและภาพตดั หมุน 15 การเขยี นแบบดว้ ยการสเกตซ์ 16 สัญลักษณเ์ บ้อื งตน้ ในงานชา่ งอตุ สาหกรรม รวม

4 สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ ชอ่ื วิชา เขยี นแบบเทคนคิ เบอ้ื งต้น รหสั วิชา 20100 - 1001 ท.ป.น. 1-3-2 จำนวนคาบการสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช. ชอ่ื เร่อื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ หนว่ ยท่ี1 การใชแ้ ละการบำรุงรกั ษา สมรรถนะย่อย (Element of Competence) เครอ่ื งมอื เขียนแบบเบอ้ื งตน้ 1. แสดงความรกู้ ารใช้และการบำรุงรกั ษา 1.1 กระดานเขียนแบบ เครอ่ื งมือเขยี นแบบเบื้องตน้ 1.2 ไม้ที 2. แสดงการใชเ้ ครือ่ งมอื เขียนแบบเบ้อื งต้น 1.3 บรรทดั เลอื่ นหรอื ทีสไลด์ ตามวิธีการท่กี ำหนด 1.4 บรรทัดฉากสามเหลย่ี ม จุดประสงค์การปฏบิ ตั (ิ Performance 1.5 บรรทัดเขยี นส่วนโค้ง Objective) 1.6 วงเวียนดินสอ 1. ใชแ้ ละบำรุงรกั ษากระดานเขียนแบบ 1.7 ดินสอเขยี นแบบ 2. ใช้และบำรุงรกั ษาไม้ทีหรอื ทสี ไลด์ 1.8 ยางลบดินสอ 3. ใชแ้ ละบำรุงรักษาบรรทดั ฉากสามเหลี่ยม 4. ใช้และบำรงุ รักษาบรรทัดเขยี นสว่ นโค้ง 5. ใชแ้ ละบำรุงรกั ษาวงเวยี นดนิ สอ 6. ใช้และบำรงุ รักษาดินสอเขียนแบบ 7. ใชแ้ ละบำรงุ รกั ษายางลบดนิ สอ หน่วยท่ี 2 มาตรฐานเส้น และมาตรฐาน สมรรถนะย่อย (Element of Competence) ตัวอักษรในงานเขยี นแบบเทคนิค 1. แสดงความรู้ เก่ยี วกับมาตรฐานเสน้ และ 1. ชนิดของเสน้ ในงานเขียนแบบ ตัวอกั ษรในงานเขียนแบบ 2. มาตรฐานตวั อกั ษร 2.เขียนเสน้ และตวั อกั ษรตามมาตรฐานงานเขียนแบบ จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ(Performance Objective) 1. เขยี นเส้นเตม็ หนา เส้นเต็มบางและเสน้ ประ ตามมาตรฐาน ดว้ ยดินสอกดชนิดเปล่ียนไส้มาตรฐาน 2 . เขยี นตัวอกั ษรมาตรฐานแบบ B ด้วยดนิ สอ กดชนิดเปล่ยี นไสม้ าตรฐาน 3. เขยี นตวั เลขความสงู มาตรฐาน 3.5 มม.ตามที่ กำหนด

5 ชือ่ เร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ หนว่ ยท่ี 3 การสรา้ งรูปเรขาคณิต สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) 1. การแบง่ คร่ึงเสน้ ตรงด้วยวงเวยี น 1. แสดงความรู้ เกย่ี วกับการสรา้ งรปู เรขาคณติ 2. การครงึ่ แบ่งมุมดว้ ยวงเวียน 2. สร้างรปู เรขาคณติ ตามแบบท่กี ำหนด 3. การสรา้ งเสน้ ขนานดว้ ยวงเวียน จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ(Performance 4. วิธีแบ่งเส้นตรงออกเปน็ หลายส่วน Objective) เทา่ ๆ กนั ด้วยวงเวียน 1. แบ่งครึ่งเสน้ ตรงด้วยวงเวยี น 5. การเขียนสว่ นโคง้ สมั ผัสเส้นตรง 2. แบง่ ครึ่งมุมดว้ ยวงเวยี น ท่ตี ้ังฉากกนั 3. สรา้ งเส้นขนานดว้ ยวงเวียน 6. การเขยี นสว่ นโคง้ สมั ผสั มมุ (ท่ี 4. แบง่ เสน้ ตรงออกเป็นหลายสว่ นเทา่ ๆกันดว้ ย ไมใ่ ช่มุมฉาก) วงเวยี น 7. การสรา้ งรปู ห้าเหล่ยี มดา้ นเทา่ 5. เขยี นส่วนโค้งสัมผสั เส้นตรงท่ีตั้งฉากกัน 8. การสรา้ งรปู หกเหลย่ี มดา้ นเทา่ 6. เขยี นส่วนโค้งสมั ผสั มมุ 9. การสร้างรปู แปดเหลี่ยมด้านเท่า 7. สร้างรปู ห้าเหลยี่ มดา้ นเท่า 10. การสรา้ งรปู วงรีในรปู สี่เหล่ยี ม 8. สรา้ งรปู หกเหลีย่ มดา้ นเท่า ดา้ นขนาน 9. สรา้ งรปู แปดเหลี่ยมดา้ นเทา่ 10. เขยี นรูปวงรใี นรูปสเ่ี หล่ยี มดา้ นขนาน หน่วยท่ี 4 การเขยี นภาพสามมิตแิ บบ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) ออบลคิ 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการเขียนภาพสามมติ ิ 1. ความหมายของภาพสามมิติ ออบลกิ 2. ชนิดของภาพสามมติ ิ 2. อา่ นและเขยี นแบบภาพสามมิตติ ามแบบที่ 3. การเขยี นภาพสามมิติแบบออบลิก กำหนด จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ(Performance Objective) 1. เขียนเสน้ แกนหลัก แกนความกว้าง แกน ความยาว และแกนความสูง ของภาพออบลิก 2. เขียนภาพสามมิตอิ อบลิกแบบแคฟวะเลีย รูป สี่เหลย่ี มลูกบาศก์ 3. เขียนภาพสามมติ ิแบบแคฟวะเลียตามภาพ ตวั อยา่ ง 4. เขยี นภาพสามมติ ิแบบแคบิเนตตามภาพ ตัวอย่าง

6 ชื่อเรือ่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ หน่วยที่ 5 การเขียนภาพสามมติ ไิ อโซ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) เมตรกิ 1. แสดงความรู้ เกย่ี วกบั การเขียนภาพสามมติ ิ 1. ภาพสามมติ ไิ อโซเมตรกิ ไอโซเมตรกิ 2. การเขยี นภาพไอโซเมตริก รปู ส่เี หล่ียม 2. อา่ นและเขียนแบบภาพสามมติ ิตามแบบท่ี ลูกบาศก์ กำหนด 3. การเขียนภาพไอโซเมตริก ตามภาพ จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ(Performance ตวั อย่าง Objective) 1. เขยี นเสน้ แกนหลัก แกนความกวา้ ง แกน ความยาว และแกนความสงู ของภาพไอโซเมตริก 2. เขยี นภาพไอโซเมตรกิ รูปสเี่ หลี่ยมลูกบาศก์ 3. เขียนภาพไอโซเมตรกิ ตามภาพตวั อย่าง หนว่ ยท่ี 6 การเขียนแบบภาพไอโซเมตรกิ สมรรถนะย่อย (Element of Competence) ช้ินงานผิวเอียง 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการเขยี นภาพสามมติ ิ 1.การเขยี นแบบภาพไอโซเมตรกิ ช้ินงาน ไอโซเมตรกิ ช้ินงานผวิ เอยี ง ผิวเอียงแบบพื้นฐาน 2. อา่ นและเขียนแบบภาพไอโซเมตรกิ ตามแบบ 2.การเขยี นแบบภาพไอโซเมตริกช้ินงาน ที่กำหนด ผิวเอยี งแบบเส้นขนาน จุดประสงค์การปฏิบตั ิ(Performance Objective) 1. เขยี นแบบภาพไอโซเมตริกชนิ้ งานผวิ เอียง แบบพ้นื ฐานตามภาพตวั อย่าง 2. เขยี นแบบภาพไอโซเมตริกชน้ิ งานผวิ เอียง แบบเส้นขนานตามภาพตวั อย่าง หน่วยที่ 7 การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตรกิ สมรรถนะย่อย (Element of Competence) 1. การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตรกิ 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการเขยี นวงรีในภาพไอ 2. การเขียนวงรใี นภาพออบลกิ โซเมตรกิ และภาพออบลิก 2. อ่านและเขยี นแบบภาพสามมิตติ ามแบบที่ กำหนด จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ(Performance Objective) 1. เขยี นวงรใี นภาพไอโซเมตริกตามภาพ ตัวอยา่ ง 2. เขียนวงรใี นภาพออบลกิ ตามภาพตัวอยา่ ง

7 ชอื่ เรื่อง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคก์ ารปฏิบัติ หนว่ ยท่ี 8 วธิ ีการฉายภาพในงานเขียน สมรรถนะย่อย (Element of Competence) แบบ 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกบั วธิ ฉี ายภาพในงานเขียน 1. วธิ ีฉายภาพ ตามมาตรฐาน DIN ISO แบบ 5456-2 (1998-04) 2. เขียนภาพฉายตามแบบท่กี ำหนด 2. การเขยี นภาพฉายวธิ มี มุ มองที่ 1 จุดประสงค์การปฏิบตั ิ(Performance ชนดิ แสดงภาพฉายเพยี ง 3 ดา้ น Objective) 3. วธิ กี ารเขยี นภาพฉายวิธมี ุมมองที่ 1 1. เขยี นแบบภาพฉายระบบมมุ มองที่ 1 จาก จากภาพสามมิตทิ ่ีกำหนดให้ ภาพสามมิตทิ กี่ ำหนดให้ 4. การฉายภาพวิธีมุมมองที่ 3 2. เขียนแบบภาพฉายวิธมี ุมมองท่ี 3 จากภาพ 5. ตัวอย่างการแสดงภาพฉายวิธมี มุ มอง สามมิตทิ ก่ี ำหนดให้ ท่ี 3 3. บอกความหมายสัญลกั ษณข์ องวิธฉี ายภาพ 6. ตัวอย่างการแสดงภาพฉายวิธมี มุ มอง ที่ 1 หนว่ ยที่ 9 การกำหนดขนาดของมติ แิ ละ สมรรถนะย่อย (Element of Competence) มาตราสว่ นในงานเขียนแบบ 1. แสดงความรู้ เกีย่ วกบั การกำหนดขนาดของ 1. มาตราสว่ น ตามมาตรฐาน ISO มิตแิ ละมาตราส่วนในงานเขียนแบบ 5455:1979 2. เขยี นบอกขนาดในภาพฉายตามคำสงั่ ท่ี 2. การกำหนดขนาดของมติ ิ ตาม กำหนด มาตรฐาน DIN 406-11 (1992-12) และ จุดประสงค์การปฏบิ ัติ(Performance DIN ISO 128-22 (1999-11) Objective) 1. บอกกฎการบอกขนาดเบ้ืองต้น 2. เขียนบอกขนาดลงในแบบตามกฏการบอกขนาด 3. เขยี นตัวเลขบอกขนาดลงในแบบ ตามกฎการ บอกขนาด 4. คำนวณหาคา่ ขนาดเขยี นจากมาตราส่วนที่ กำหนดให้ 5. เขยี นแบบตามมาตราสว่ นทก่ี ำหนด หนว่ ยที่ 10 ภาพตดั เตม็ สมรรถนะย่อย (Element of Competence) 1. ความหมายของภาพตดั เตม็ 1. แสดงความรู้ เก่ียวกับภาพตดั เต็ม 2. กฎการเขยี นภาพตดั ทัว่ ไปตาม 2. อา่ นและเขยี นภาพตัดเตม็ ตามคำสง่ั ท่กี ำหนด มาตรฐาน DIN 6-2 (1986-12) 3. การเขยี นภาพตดั เตม็

8 ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ หนว่ ยท่ี 11 ภาพตดั ครึ่ง จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ(Performance Objective) 1. ความหมายของภาพตัดคร่งึ 1. เขียนภาพฉายเป็นภาพตดั เตม็ 2. การเขยี นภาพตดั คร่ึง 2. เขียนบอกขนาดในภาพตัดเตม็ 3. กฎการเขียนภาพตดั ครงึ่ สมรรถนะย่อย (Element of Competence) หนว่ ยที่ 12 ภาพตัดยน่ ระยะและภาพตดั 1. แสดงความรู้ เก่ียวกบั ภาพตัดคร่ึง เฉพาะสว่ น 2. อ่านและเขยี นภาพตดั คร่งึ ตามแบบทีก่ ำหนด 1. ภาพตัดย่นระยะ จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ(Performance Objective) 2. ภาพตัดเฉพาะสว่ น 1. เขยี นแบบภาพตดั ครงึ่ 2. เขียนบอกขนาดในภาพตดั ครึง่ หนว่ ยท่ี 13 ภาพตดั เย้อื งแนว 1. ลักษณะภาพตดั เยื้องแนว สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) 2. การเขยี นภาพตัดเย้อื งแนว 1. แสดงความรู้ เกย่ี วกับภาพตดั ย่นระยะและภาพ หนว่ ยท่ี 14 ภาพตดั เคล่ือนและภาพตดั ตดั เฉพาะสว่ น หมุน 2. อ่านและเขยี นภาพตัดยน่ ระยะและภาพตัด 1. ภาพตัดเคลอ่ื น เฉพาะส่วนตามคำสั่งท่ีกำหนด 2. ภาพตดั หมุน จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ(Performance Objective) 1. เขียนภาพตดั ย่นระยะ 2. เขยี นแบบภาพตดั เฉพาะสว่ น สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกีย่ วกบั ภาพตัดเยอื้ งแนว 2. อา่ นและเขยี นภาพตัดเย้อื งแนวตามแบบที่ กำหนด จดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ(Performance Objective) 1. อธิบายความรเู้ ก่ียวกบั ภาพตดั เยอ้ื งแนว 2. เขียนแบบภาพตัดเยอื้ งแนว สมรรถนะย่อย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับภาพตัดเคลือ่ นและภาพ ตดั หมนุ 2. อา่ นและเขยี นภาพตัดเคลื่อนและภาพตัดหมุน ตามคำสงั่ ทก่ี ำหนด

9 ชื่อเรื่อง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ หน่วยท่ี 15 การเขียนแบบดว้ ยการสเกตซ์ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ(Performance 1. ความหมายของการสเกตซ์ Objective) 2. การสเกตซ์เสน้ ตรง 3. การสเกตซว์ งกลม 1. เขยี นภาพตดั เคล่ือน 2. เขยี นภาพตัดหมุน หน่วยที่ 16 สญั ลกั ษณเ์ บ้ืองตน้ ในงานช่าง อุตสาหกรรม สมรรถนะย่อย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกยี่ วกบั การเขยี นแบบด้วยการ 1. สญั ลักษณเ์ กลียว 2. สัญลกั ษณค์ วามละเอยี ดผิวงาน สเกตซ์ 3. สัญลักษณง์ านเช่ือม 2. อ่านภาพและสเกตซภ์ าพตามแบบท่กี ำหนด จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ(Performance Objective) 1. แสดงการสเกตซ์เสน้ ตรง 2. แสดงการสเกตซ์วงกลม 3. แสดงการสเกตซภ์ าพสามมิติ 4. แสดงการสเกตซภ์ าพฉาย สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกย่ี วกบั การเขยี นสัญลกั ษณ์ เบอื้ งต้นในงานชา่ งอุตสาหกรรม 2. เขยี นสญั ลกั ษณใ์ นงานชา่ งอตุ สาหกรรมตาม แบบที่กำหนด จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ(Performance Objective) 1. เขียนสญั ลกั ษณเ์ กลยี วในงานเขียนแบบ 2. เขียนสญั ลักษณ์ความละเอยี ดผิวงานในงาน เขียนแบบ 3. เขียนสญั ลกั ษณ์งานเช่อื มในงานเขียนแบบ

10 ตารางวิเคราะหห์ ลักสตู รรายวชิ า ชอื่ วิชา เขียนแบบเทคนคิ เบอ้ื งตน้ รหัสวชิ า 20100 - 1001 ท.ป.น. 1-3-2 จำนวนคาบการสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้นั ปวช. พทุ ธิพิสัย ความ ู้รความจำ พฤตกิ รรม ความเ ้ขาใจ ประยุก ์ต- ชื่อหน่วย นำไปใช้ ิวเคราะ ์ห สูงก ่วา ทักษะ ิพสัย ิจต ิพสัย รวม ลำดับความสำ ัคญ การใช้และการบำรงุ รักษา 2 2 6 2 12 6 เครื่องมอื เขียนแบบเบ้ืองตน้ 6 2 12 6 มาตรฐานเสน้ และมาตรฐาน 2 2 7 2 13 5 8 2 15 4 ตวั อกั ษรในงานเขยี นแบบ 8 2 15 4 การสรา้ งรูปเรขาคณติ 22 6 2 13 5 การเขยี นภาพสามมิติ 23 8 2 15 4 ออบลคิ 10 2 22 2 การเขียนภาพสามมติ ไิ อโซ 2 3 10 2 25 1 เมตรกิ 8 2 16 3 8 2 16 3 การเขียนแบบภาพไอโซ 23 7 2 15 4 เมตรกิ ชิ้นงานผิวเอียง การเขยี นวงรใี นภาพไอโซ 2 3 เมตริกและภาพออบลกิ วิธีฉายภาพในงานเขียนแบบ 2 5 3 การกำหนดขนาดของมิติและ 5 5 3 มาตราส่วนในงานเขียนแบบ ภาพตัดเต็ม 222 ภาพตัดครง่ึ 222 ภาพตัดย่นระยะและภาพตัด 2 2 2 เฉพาะสว่ น

11 พทุ ธพิ สิ ัย ความ ู้รความจำ พฤติกรรม ความเ ้ขาใจ ประยุก ์ต- ชอ่ื หน่วย นำไปใช้ ิวเคราะห์ สูงก ่วา ทักษะ ิพสัย ิจต ิพสัย รวม ลำดับความสำ ัคญ ภาพตดั เยื้องแนว 222 7 2 15 5 7 2 15 5 ภาพตัดเคลื่อนและภาพตัด 2 2 2 5 2 12 6 หมุน 5 2 13 5 การเขียนแบบด้วยการสเกตซ์ 1 2 2 116 32 244 14 สญั ลักษณ์เบอื้ งตน้ ในงานชา่ ง 4 2 อตุ สาหกรรม รวม 36 42 18 ลำดบั ความสำคัญ 325

12 การประเมินผลการเรยี นรู้ ชื่อวชิ า เขียนแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น รหสั วิชา 20100 - 1001 ท.ป.น. 1-3-2 จำนวนคาบการสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชน้ั ปวช. หลกั เกณฑ์การแบ่งคะแนนประเมนิ ผลท้งั ภาคเรยี น คะแนนเจตคติ 20 คะแนน คะแนนงาน 80 คะแนน รวม 100 คะแนน คะแนนงาน 80 คะแนน ไดแ้ บง่ เกณฑใ์ หค้ ะแนนตามความสำคัญของหวั ขอ้ เรอ่ื งดังนี้ หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วย เกณฑ์ คะแนน ท่ใี ห้ 1 การใช้และการบำรุงรกั ษาเครือ่ งมือเขยี นแบบเบ้อื งต้น 10 2 มาตรฐานเสน้ และมาตรฐานตัวอักษรในงานเขียนแบบ 3 การสร้างรูปเรขาคณิต 4 การเขยี นภาพสามมิติออบลิค 15 5 การเขียนภาพสามมิติไอโซเมตรกิ 6 การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกชน้ิ งานผวิ เอียง 7 การเขียนวงรใี นภาพไอโซเมตรกิ และภาพออบลกิ 8 วธิ ฉี ายภาพในงานเขยี นแบบ 25 9 การกำหนดขนาดของมติ แิ ละมาตราสว่ นในงานเขยี นแบบ 10 ภาพตัดเต็ม 20 11 ภาพตดั ครึ่ง 12 ภาพตดั ยน่ ระยะและภาพตัดเฉพาะสว่ น 13 ภาพตดั เย้อื งแนว 14 ภาพตดั เคล่ือนและภาพตัดหมนุ 15 การเขียนแบบดว้ ยการสเกตซ์ 5 16 สญั ลกั ษณเ์ บ้อื งตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม 5 รวม 80

13 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 หน่วยที่ 1 เวลาเรยี นรวม 2 คาบ วิชา เขียนแบบเทคนิคเบ้อื งตน้ สอนครัง้ ท่ี 1/18 ชือ่ หน่วย การใชแ้ ละการบำรุงรักษาเครอื่ งมือ จำนวน 2 คาบ เขยี นแบบเบอื้ งตน้ เร่อื ง การใชแ้ ละการบำรงุ รักษาเครื่องมอื เขยี นแบบเบอ้ื งตน้ หวั ข้อเรอื่ ง 1. กระดานเขยี นแบบ 2. บรรทดั ตวั ทีหรอื ไมท้ ี 3. บรรทัดเล่อื นหรือทสี ไลด์ 4. บรรทัดฉากสามเหลยี่ ม 5. บรรทดั เขยี นสว่ นโค้ง 6. วงเวียนดินสอ 7. ดินสอเขยี นแบบ 8. ยางลบดนิ สอ สาระสำคญั การใชแ้ ละการบำรุงรักษาเครอ่ื งมือเขียนแบบ เป็นสิ่งจำเป็นมากทชี่ า่ งเขยี นแบบทกุ คนจะตอ้ งเรยี นรู้ การใชแ้ ละการบำรุงรักษาเคร่ืองมือเขยี นแบบทถ่ี กู ตอ้ ง เพื่อใหไ้ ด้คณุ ภาพงานเขยี นแบบออกมาดี เครอ่ื งมอื เขียนแบบเบือ้ งต้นที่จำเป็นจะต้องเรียนรกู้ อ่ นอันดับตน้ มีดังน้ี กระดานเขยี นแบบ บรรทัดตัวทีหรือไมท้ ี บรรทัดฉากสามเหลย่ี ม บรรทดั เขยี นสว่ นโค้ง วงเวยี นดินสอ ดินสอเขียนแบบ ยางลบดินสอ สมรรถนะย่อย (Element of Competence) 1. แสดงความรกู้ ารใช้และการบำรงุ รกั ษาเครื่องมอื เขียนแบบเบือ้ งต้น 2. แสดงการใชเ้ คร่ืองมือเขยี นแบบเบ้ืองตน้ ตามวิธกี ารทก่ี ำหนด โดยใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 3. แสดงเจตคตแิ ละกจิ นสิ ัยท่ดี ีในการทำงานด้วยความละเอยี ดรอบคอบ เปน็ ระเบยี บ สะอาด ตรงตอ่ เวลา มคี วามซอ่ื สตั ย์ รับผิดชอบ และรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม จุดประสงค์การปฏิบัติ(Performance Objective) 1. ใชแ้ ละบำรุงรกั ษากระดานเขียนแบบ 2. ใชแ้ ละบำรงุ รักษาไมท้ หี รอื ทีสไลด์ 3. ใชแ้ ละบำรงุ รกั ษาบรรทดั ฉากสามเหล่ยี ม 4. ใช้และบำรงุ รกั ษาบรรทดั เขยี นสว่ นโคง้ 5. ใชแ้ ละบำรุงรักษาวงเวียนดินสอ 6. ใช้และบำรุงรกั ษาดนิ สอเขียนแบบ

14 7. ใช้และบำรงุ รกั ษายางลบดนิ สอ 8. ปฏิบัตงิ านตามคำส่ัง ละเอียดรอบคอบ รักษาความสะอาด และตรงต่อเวลา เนื้อหาสาระ การใชแ้ ละการบำรุงรกั ษาเครือ่ งมอื เขยี นแบบเบื้องต้น รายละเอียดของเนอ้ื หาเปน็ ไปตามหนังสอื ประกอบการเรียนวชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น โดย ณรงค์ ดีวนั สำนกั พมิ พศ์ ูนยห์ นงั สอื เมอื งไทย พมิ พค์ รั้ง ที่ 1 ปี พ.ศ. 2556 ส่ือการเรยี นรู้ 1. กระดานเขยี นแบบ 2. บรรทัดตัวทีหรอื ไม้ที 3. บรรทดั เลือ่ นหรอื ทีสไลด์ 4. บรรทัดฉากสามเหล่ยี ม 5. บรรทัดเขียนส่วนโคง้ 6. วงเวยี นดินสอ 7. ดินสอเขียนแบบ 8. ยางลบดนิ สอ 9. หนงั สือประกอบการเรียนวชิ าเขยี นแบบเทคนคิ เบ้อื งต้น โดย ณรงค์ ดีวนั สำนักพมิ พ์ศูนย์หนังสือ เมืองไทย พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1 ปี พ.ศ. 2556 กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ครูปฐมนิเทศโดยแนะนำหลักสูตร การเตรียมอปุ กรณ์เขยี นแบบประจำตวั การประเมนิ ผลการ เรียน การเขา้ เรยี น และการแตง่ กาย ใชเ้ วลา 30 นาที 2. ครนู ำเขา้ สบู่ ทเรียนโดยการยกตวั อย่างถามนกั เรียนดงั น้ี “ถา้ เราต้องการจา้ งช่างทำเกา้ อีน้ ั่งตัวนี้ จะตอ้ งทำอยา่ งไร ถา้ ไม่สามารถยกเก้าอ้ไี ปได้” “ถา้ วาดรปู ใสก่ ระดาษจะตอ้ งวาดอย่างไร” (ขัน้ สอน 30 นาที) 3. ครใู ช้วธิ แี สดงอุปกรณเ์ ขียนแบบทีละช้นิ และถามนักเรยี นให้ตอบเพอ่ื ทดสอบพืน้ ฐานความรูเ้ ดมิ 4. ครแู สดงประกอบการบรรยายการใช้และการบำรุงรักษาอุปกรณ์เขยี นแบบทีละชนิ้ (ข้ันทำแบบฝกึ หัด 40 นาที) 5. ใหน้ ักเรียนฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารใชอ้ ุปกรณเ์ ขียนแบบ ให้ทำแบบฝกึ หดั ท่ี 1 โดยใหน้ กั เรียนทำตามขัน้ ตอน ดงั นี้ 5.1 ดงึ ใบแบบฝึกหดั ออกจากเลม่ หนังสอื 5.2 นำใบแบบฝึกหดั วางติดบนโตะ๊ เขยี นแบบหรอื กระดานเขยี นแบบโดยใชแ้ ผน่ กาวใสหรอื กระดาษกาวสำหรบั งานเขียนแบบ แปะยดึ ตดิ ทม่ี ุมทง้ั 4 ของกระดาษ 5.3 ขณะยึดติดแผ่นกาวจะตอ้ งนำไม้ทีมาวางทบั กระดาษแบบฝึกหัดใหข้ อบกระดาษวางขนานกับ ขอบไม้ที 6. ก่อนทจ่ี ะใหน้ ักเรยี นลงมือทำแบบฝึกหดั ครูได้บอกจดุ ประสงค์การทำแบบฝกึ หัดและอธิบายหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ที่นำมาใชใ้ นเรอ่ื งน้ี โดยอธิบายตามรปู แบบดงั นี้

15 มีเหตุมีผล พอประมาณ มีภมู ิคุม้ กนั -ใชเ้ คร่ืองเขียนแบบใหต้ รง -ปฏิบตั ิงานตามคาสง่ั -ใชเ้ ครื่องมือดว้ ยความรอบคอบ ตามหนา้ ที่ -นาความรู้ไปใชด้ ูแลรักษา -ใชเ้ ครื่องมือโดยคานึงถึงความ -ดูแลบารุงรักษาเคร่ืองมือ อุปกรณ์ ปลอดภยั ความรู้-ทกั ษะ ปฏิบตั ิการใช้ คุณธรรม เครื่องมือ เขียนแบบ -หนา้ ที่ของเครื่องมือเขียนแบบ -ละเอียดรอบคอบ ใฝ่รู้ -การดูแลร7ักษ. ใาหเคน้ รัก่ือเงรมยี ือนทำแบบฝึกหดั ทีละขอ้ และครคู วบคุมการใช้ดินสอเ-ขซยี ื่อนสแตั บยบ์ ใ-นรักบาผรดิ เขชียอนบเสตน้รงใตห่อต้ เวั้งฉลาาก -วิธกีกบั าผริวเคกรรื่อะงดมาือษเเขสียมนอแกบดบดทนิ ี่ถสูกอตดอ้้วงยแรงกดทห่ี นักและคงท่ี -รักษาความสะอาด 8. ครเู ดินดูนักเรยี นสงั เกตการใช้อปุ กรณ์วา่ ถกู ต้องหรือไม่ 9. ครเู ก็บใบแบบฝึกหัดทน่ี ักเรยี นสง่ ไว้ รอการตรวจประเมินเมื่อสอนหนว่ ยท่ี 2 จบแล้ว 10. เมื่อหมดเวลาการทำแบบฝึกหัด ครสู งั่ ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 1 กำหนดส่ง ภายใน 5 นาที 11. ครูเตรยี มการสอนหนว่ ยที่ 2 ตอ่ ไปทันที การวัดและการประเมินผล 1. ประเมินผลความรูแ้ ละความเขา้ ใจเรอื่ งการใช้เครอื่ งมอื เขียนแบบได้ถกู ต้อง โดยการประเมนิ จากการ สังเกต การทำแบบทดสอบหลังเรยี น และการตรวจประเมินการทำใบงานตามแบบประเมนิ ใบงาน 2. ประเมินผลความเขา้ ใจเรอื่ งการบำรงุ รกั ษาเคร่ืองมือเขียนแบบ โดยการสงั เกตการใช้ และการถาม-ตอบ 3. การประเมินดา้ นคุณธรรมและจริยธรรมในการเขา้ เรยี นแต่ละคร้งั ตามแบบบันทกึ การประเมินดา้ น คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

16 เกณฑ์การประเมนิ ผลแบบฝกึ หัด 1. เร่ือง การเขียนเส้นตามแบบทกี่ ำหนด มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแต่ละขอ้ มดี ังนี้ รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง 2 1.5 1 0.5 1. ความดำสมำ่ เสมอของเส้น 2. ความคงทขี่ องระยะห่างระหว่างเส้น 3. ความตรงของเส้น 2. เรื่อง การเขยี นวงกลมดว้ ยวงเวยี น มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนดงั นี้ รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง 2 1.5 1 0.5 1. ความดำสมำ่ เสมอของเส้น 2. ความคงท่ขี องเส้นโคง้ 3. การตอ่ ชนของปลายเสน้ โคง้ 3. เรอ่ื ง การใชเ้ ครอ่ื งมือเขยี นแบบ ใช้ได้ถูกต้องใน มีข้อบกพรอ่ ง ระดบั ดี บางจดุ 21 1 กระดานเขยี นแบบ 2 ไมท้ หี รือทสี ไลด์ 3 ดินสอ 4 วงเวยี น 5 ยางลบ 6 บรรทัดฉากสามเหล่ยี ม 7 บรรทัดส่วนโคง้ งานทีม่ อบหมาย กอ่ นเรยี น ให้นกั เรยี นจัดเตรยี มอปุ กรณ์เขียนแบบประจำตวั และหนงั สือเรียนวิชาเขยี นแบบเทคนิค เบอ้ื งต้นใหพ้ รอ้ ม ขณะเรียน ใหน้ กั เรยี นทำแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 1 และแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 1 ให้ส่งภายใน 45 นาที ผลงาน / ชิน้ งาน / ความสำเรจ็ ของผเู้ รยี น 1. ใบงานของแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 1 2. แบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยที่ 1 เอกสารอ้างอิง ประเวช มณกี ลุ . เขียนแบบเทคนคิ เบื้องตน้ . กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พมิ พ์จิตรวฒั น์, 2545 อำนวย อดุ มศร.ี เขียนแบบทัว่ ไป. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัทสกายบกุ๊ จำกดั , พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2, 2538 อำพล ซื่อตรง. เขยี นแบบเทคนคิ 1. กรุงเทพมหานคร: สำนกั พิมพ์ศูนยส์ ง่ เสริมวชิ าการ, มปพ

17 บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนกั เรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาทพ่ี บ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชือ่ ............................................... ลงชอ่ื ............................................. (...............................................) (นายเอกชยั แก้วขวญั ) ตัวแทนนกั เรยี น ครผู ู้สอน

18 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 หน่วยท่ี 2 เวลาเรยี นรวม 2 คาบ วชิ า เขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น สอนครงั้ ที่ 1/18 ชอ่ื หน่วย มาตรฐานเสน้ และมาตรฐานตวั อักษร จำนวน 2 คาบ ในงานเขยี นแบบ เรือ่ ง มาตรฐานเส้น และมาตรฐานตวั อักษรในงานเขยี นแบบ หวั ขอ้ เรอ่ื ง 1. มาตรฐานเส้น ตามมาตรฐาน DIN ISO 128-24 (1999-12) 2. มาตรฐานตัวอักษร ตามมาตรฐาน DIN EN ISO 3098-2 (2000-11) สาระสำคญั มาตรฐานขนาดเสน้ ในงานเขยี นแบบเทคนคิ จะแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ ใหญ่ๆ คือ เส้นเต็มหนา (เส้นหนา 0.5 ม.ม.) และเส้นเต็มบาง ( เส้นหนา 0.25 ม.ม.) มาตรฐานตัวอักษร ตามมาตรฐาน DIN EN ISO 3098-2 (2000-11) แบง่ ออกเป็น 2 แบบคือ แบบ A กบั แบบ B มาตรฐานความสงู ของตัวอักษร คือ 2.5 , 3.5 , 5 , 7 , 10 ,14 ,20 ม.ม. สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกบั มาตรฐานเสน้ และตัวอักษรในงานเขยี นแบบ 2.เขียนเสน้ และตวั อกั ษรตามมาตรฐานงานเขียนแบบ จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objective) 1. เขียนเสน้ เต็มหนา เส้นเต็มบางและเส้นประตามมาตรฐาน ด้วยดนิ สอกดชนิดเปลี่ยนไส้มาตรฐาน 2 . เขียนตัวอักษรมาตรฐานแบบ B ด้วยดินสอกดชนิดเปลย่ี นไสม้ าตรฐาน 3. เขยี นตวั เลขความสูงมาตรฐาน 3.5 ม.ม.ตามท่ีกำหนด เน้ือหาสาระ มาตรฐานเส้น และมาตรฐานตวั อกั ษรในงานเขียนแบบ รายละเอยี ดของเน้ือหาเป็นไปตามหนงั สอื ประกอบการเรยี นวชิ าเขียนแบบเทคนคิ เบอ้ื งต้น โดย ณรงค์ ดีวัน สำนกั พมิ พ์ศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย พมิ พ์ครง้ั ที่ 1 ปี พ.ศ. 2556 ส่ือการเรียนรู้ หนงั สือประกอบการเรยี นวิชาเขียนแบบเทคนคิ เบ้ืองตน้ โดย ณรงค์ ดีวัน สำนักพมิ พศ์ นู ยห์ นงั สอื เมอื งไทย พมิ พค์ ร้ังที่ 1 ปี พ.ศ. 2556 กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 1) 1. ครูนำเข้าสบู่ ทเรียน ดว้ ยการนำเสนอข้ึนจอเร่ืองมาตรฐานของเสน้ (5 นาที) (ข้นั สอน 30 นาที) 2. ครบู รรยายเรือ่ งมาตรฐานของเส้น พร้อมแสดงการเขยี นเส้นชนดิ ต่างๆทีถ่ ูกวธิ ี 3. ครูบรรยายเรื่องมาตรฐานของอกั ษร ตามมาตรฐาน ISO พร้อมแสดงวิธกี ารเขียนตัวเลข 1-10 ที่ ถกู ต้อง และไมถ่ กู ตอ้ ง

19 (ขนั้ ทำแบบฝกึ หัด 60 นาท)ี 4.มอบหมายงานใหน้ ักเรยี นฝกึ ปฏิบัติ ใหท้ ำแบบฝึกหดั ท่ี 2 โดยใหน้ กั เรยี นทำตามขนั้ ตอนดังนี้ 4.1 ดึงใบแบบฝกึ หดั ออกจากเล่มหนงั สือ 4.2 นำใบแบบฝึกหัดวางตดิ บนโตะ๊ เขียนแบบหรอื กระดานเขียนแบบโดยใชแ้ ผน่ กาวแปะยึดติดท่ี มมุ ท้ัง 4 ของกระดาษ 4.3 ขณะยดึ ติดแผ่นกาวจะตอ้ งนำไม้ทมี าวางทับกระดาษแบบฝกึ หดั ใหข้ อบกระดาษวางขนานกบั ขอบไม้ที 4.4 ใหท้ ำแบบฝกึ หดั ทีละขอ้ และควบคุมการใชด้ ินสอเขียนแบบในการเขียนเสน้ ใหต้ ง้ั ฉากกบั ผวิ กระดาษเสมอ กดดนิ สอดว้ ยแรงกดที่หนักและคงท่ี 5. ครูเดินดนู กั เรียนสังเกตการใชด้ ินสอเขยี นแบบวา่ ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ 6. ขณะทีน่ ักเรียนกำลงั ทำแบบฝึกหดั อยู่นัน้ ครนู ำแบบฝกึ หัดที่ 1 ของนกั เรียน ข้นึ มาตรวจประเมิน (ขัน้ ตรวจประเมนิ 45 นาท)ี 6. เมอ่ื ถงึ เวลาสง่ ใบงานแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 2 ครูเรยี กเก็บและรวบรวมใบงาน 7. ครสู ง่ั ใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยท่ี 2 กำหนดสง่ ภายใน 5 นาที 8. ครตู รวจใบงาน และบนั ทกึ คะแนน หลงั จากนกั เรยี นออกจากห้องเรียนแล้ว เพอ่ื เตรียมไว้สรปุ ผล ภายในช่วั โมงเรียนต่อไป การวัดผลและประเมินผล การประเมินผลจากแบบฝึกหัดมีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังนี้ 1. เร่ือง มาตรฐานเสน้ มีเกณฑก์ ารให้คะแนนแต่ละขอ้ มีดังนี้ รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ 2 1.5 1 0.5 1. ความดำสมำ่ เสมอของเสน้ พอใช้ ปรับปรงุ 1 0.5 2. ความคงท่ขี องระยะห่างระหว่างเส้น 3. ความตรงและถกู ต้องของเส้น 2. เรอ่ื ง การเขียนตวั อกั ษร มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนแตล่ ะบรรทัดดังนี้ รายการประเมิน ดมี าก ดี 2 1.5 1. ความดำสมำ่ เสมอของเส้น 2. ความคงท่ีของเส้น 3. รปู แบบถูกต้องตามมาตรฐาน

20 งานทมี่ อบหมาย ก่อนเรยี น ใหน้ กั เรยี นจัดเตรียมอปุ กรณ์เขียนแบบประจำตวั และหนงั สือเรียนวชิ าเขียนแบบเทคนคิ เบ้ืองตน้ ให้พร้อม ขณะเรียน ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 2 และแบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยท่ี 2 ใหส้ ่งในชัว่ โมงเรียน ผลงาน / ชน้ิ งาน / ความสำเร็จของผ้เู รียน 1. ใบงานของแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 2 2. แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 2 เอกสารอ้างอิง ธีระยทุ ธ สวุ รรณประทปี และสนั ติ ลักษติ านนท์. เขียนแบบวศิ วกรรมเบื้องตน้ . กรุงเทพมหานคร: นำอกั ษรการพมิ พ์, พมิ พค์ ร้ังที่ 3, 2540 บรรเลง ศรนลิ และสมนึก วัฒนศรยี กลุ . ตารางคมู่ อื งานโลหะ. พิมพค์ รั้งที่ 4. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , 2552 อำนวย อุดมศรี. เขยี นแบบทว่ั ไป. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั สกายบกุ๊ จำกดั , พิมพ์ครง้ั ที่ 2, 2538

21 บนั ทึกหลังการสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพ่ี บ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชือ่ ............................................... ลงช่อื ............................................. (...............................................) (นายเอกชยั แกว้ ขวญั ) ตวั แทนนกั เรียน ครผู ู้สอน

22 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 หนว่ ยท่ี 3 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบือ้ งต้น เวลาเรียนรวม 4 คาบ ช่ือหน่วย การสรา้ งรูปเรขาคณติ สอนคร้งั ท่ี 2/18 เรือ่ ง การสร้างรปู เรขาคณติ จำนวน 4 คาบ หวั ข้อเร่อื ง 1. การแบง่ คร่งึ เสน้ ตรงด้วยวงเวียน 2. การครึ่งแบ่งมมุ ด้วยวงเวียน 3. การสร้างเส้นขนานดว้ ยวงเวยี น 4. วธิ แี บง่ เสน้ ตรงออกเปน็ หลายสว่ นเทา่ ๆ กันด้วยวงเวยี น 5. การเขียนสว่ นโค้งสัมผสั เส้นตรงทีต่ ้งั ฉากกนั 6. การเขียนสว่ นโคง้ สัมผสั มุม (ท่ีไม่ใชม่ มุ ฉาก) 7. การสร้างรปู ห้าเหลี่ยมดา้ นเท่า 8. การสรา้ งรปู หกเหลีย่ มด้านเทา่ 9. การสรา้ งรปู แปดเหล่ียมด้านเท่า 10. การสร้างรปู วงรใี นรูปสเี่ หล่ยี มดา้ นขนาน สาระสำคญั การสรา้ งรูปเรขาคณติ เป็นการประยกุ ต์การฝกึ การใช้เครอื่ งมอื เขยี นแบบให้มคี วามชำนาญ และช่วย เพม่ิ ทกั ษะประสบการณด์ า้ นการเขียนรปู ทรงเชิงเสน้ ต่างๆ เชน่ การสรา้ งรูปหา้ เหลย่ี มด้านเทา่ , การสรา้ งรปู หก เหลี่ยมดา้ นเท่า ,การสรา้ งรูปแปดเหลยี่ มดา้ นเทา่ เป็นต้น โดยใชด้ นิ สอและ วงเวียนเป็นอุปกรณ์หลัก สมรรถนะย่อย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกีย่ วกบั การสรา้ งรูปเรขาคณติ 2. สรา้ งรูปเรขาคณติ ตามแบบท่ีกำหนด จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ(Performance Objective) 1. แบง่ ครึง่ เสน้ ตรงดว้ ยวงเวยี น 2. แบง่ คร่งึ มุมดว้ ยวงเวียน 3. สรา้ งเสน้ ขนานด้วยวงเวียน 4. แบง่ เส้นตรงออกเป็นหลายสว่ นเทา่ ๆกนั ด้วยวงเวียน 5. เขียนส่วนโคง้ สมั ผัสเส้นตรงท่ีตัง้ ฉากกนั 6. เขยี นส่วนโคง้ สมั ผสั มมุ 7. สร้างรปู ห้าเหล่ยี มด้านเท่า 8. สรา้ งรปู หกเหล่ียมด้านเทา่ 9. สร้างรปู แปดเหลีย่ มดา้ นเทา่ 10. เขยี นรูปวงรใี นรูปส่ีเหล่ียมด้านขนาน

23 เนื้อหาสาระ การสร้างรปู เรขาคณติ รายละเอียดของเนอ้ื หาเป็นไปตามหนงั สอื ประกอบการเรียนวิชาเขียนแบบ เทคนคิ เบอ้ื งตน้ โดย ณรงค์ ดีวนั สำนกั พมิ พ์ศูนย์หนงั สือเมืองไทย พมิ พค์ รั้งที่ 1 ปี พ.ศ. 2556 สื่อการเรยี นรู้ หนงั สอื ประกอบการเรยี นวชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบอื้ งต้น โดย ณรงค์ ดีวนั สำนกั พิมพศ์ นู ยห์ นงั สอื เมืองไทย พิมพค์ ร้ังที่ 1 ปี พ.ศ. 2556 กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 2) 1. ครสู ่งคนื ใบแบบฝึกหดั ที่ 1 และ 2 แก่นกั เรียน และซักถามขอ้ สงสยั (15 นาที) 2. ครนู ำเขา้ ส่บู ทเรยี นหน่วยที่ 3 ด้วยการเขยี นเสน้ ตรงเส้นหนงึ่ และถามนักเรียนว่า ” แบง่ เส้นตรง ออกเปน็ สองสว่ นเท่ากันได้อยา่ งไร” แล้วครูบอกหวั ขอ้ เรือ่ งท่จี ะสอนในวนั น้ี (ข้ันสอน+ ขน้ั ทำแบบฝกึ หดั รวม 165 นาท)ี 3. ครูสงั่ ให้นกั เรยี นเตรียมใบงานแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 3 ตดิ บนโตะ๊ เขยี นแบบและเตรียมดินสอ วง เวียนใหพ้ ร้อม แลว้ รอฟงั ครูอธิบาย 4. ครูสาธิตประกอบการบรรยาย การเขยี นเส้นรูปเรขาคณติ ทีละข้อ เมื่ออธิบายจบในแตล่ ะหวั ข้อ สั่งให้นกั เรียนฝกึ ปฏบิ ัตติ าม ทำแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 3 ทลี ะข้อ 5. การมอบหมายงานให้นกั เรยี นทำแบบฝกึ หดั ที่ 3 ทำตามคำส่ังทีละขอ้ นน้ั โดยก่อนลงมอื ปฏบิ ตั ิ ให้นักเรยี นตดิ ใบแบบฝกึ หดั บนโตะ๊ เขยี นแบบตามวธิ ีทถี่ ูกต้องเช่นเดยี วกบั คร้ังก่อน 6. ครเู ดนิ ดูนกั เรยี นและสงั เกตการณ์ใช้วงเวียนดนิ สอและเขียนรปู เรขาคณิตวา่ ถูกต้องหรอื ไม่ 7. เม่ือนักเรยี นทำเสรจ็ ในขอ้ สดุ ทา้ ยแล้ว ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หดั ที่ 3 และใหน้ กั เรยี นทำ แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 3 สง่ ภายใน 5 นาที (ขัน้ ตรวจประเมิน 60 นาที) 8. หลังจากนัน้ มีเวลาเหลอื ช่วงท้าย (ประมาณ 60 นาที ) ครูทำการตรวจประเมนิ และบนั ทกึ คะแนน เพอ่ื เตรยี มไวส้ รปุ ผลภายในชว่ั โมงเรียนต่อไป การวัดผลและประเมนิ ผล การประเมินผลจากแบบฝึกหัดมีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังนี้ เรอื่ ง การสร้างรูปเรขาคณิต มีเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อมีดังน้ี รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 2 1.5 1 0.5 1. ความชัดเจนของเส้นเตม็ หนา 2. มรี ่องรอยแสดงวิธีการท่ีถกู ต้อง

24 งานท่มี อบหมาย กอ่ นเรยี น ให้นักเรียนจัดเตรยี มอปุ กรณ์เขียนแบบประจำตัว และหนังสอื เรยี นวิชาเขยี นแบบเทคนิค เบือ้ งต้นให้พร้อม ขณะเรยี น ใหน้ กั เรยี นทำแบบฝึกหดั หน่วยที่ 3 และแบบทดสอบหลังเรยี นใหส้ ง่ ในชวั่ โมงเรยี น ผลงาน / ชนิ้ งาน / ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน 1. ใบงานของแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 3 2. แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 3 เอกสารอา้ งองิ ดอกธูป พทุ ธมงคล และคณะ. เขยี นแบบเทคนคิ 1. กรงุ เทพมหานคร: ม.ป.ป บรรเลง ศรนลิ และสมนึก วัฒนศรียกลุ . ตารางคมู่ ืองานโลหะ. พิมพค์ รง้ั ที่ 4. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ, 2552 ประเวช มณีกุล. เขียนแบบเทคนิคเบ้อื งตน้ . กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จิตรวฒั น,์ 2545 อำพล ซอ่ื ตรง. เขียนแบบเทคนิค 1. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พมิ พศ์ นู ย์ส่งเสริมวชิ าการ, มปพ

25 บันทกึ หลังการสอน 1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนกั เรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่ีพบ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงช่อื ............................................... ลงช่อื ............................................. (...............................................) (นายเอกชยั แกว้ ขวญั ) ตัวแทนนกั เรียน ครผู สู้ อน

26 แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 4 หน่วยท่ี 4 วิชา เขียนแบบเทคนคิ เบ้ืองต้น เวลาเรยี นรวม 4 คาบ ชอื่ หน่วย การเขยี นภาพสามมิติแบบออบลิก สอนครง้ั ที่ 3/18 เรื่อง การเขยี นภาพสามมติ แิ บบออบลกิ จำนวน 4 คาบ หัวขอ้ เร่ือง 1. ความหมายของภาพสามมิติ 2. ชนดิ ของภาพสามมิตแิ บบออบลกิ (Oblique Projection) 3. การเขียนภาพสามมติ อิ อบลกิ แบบแคฟวะเรีย (Cavalier Projection) 4. การเขียนภาพสามมติ ิออบลิกแบบแคบิเนต (Cabinet Projection) สาระสำคัญ ภาพสามมิติ หมายถงึ ภาพที่แสดงใหเ้ หน็ ไดส้ ามมติ ใิ นภาพเดยี ว ได้แก่ มติ ิความกวา้ ง มติ คิ วามยาว และมติ คิ วามสูง ซง่ึ ลกั ษณะของภาพมรี ูปร่างใกล้เคยี งกบั ชน้ิ งานท่ีเหน็ จริงมาก การแสดงภาพสามมติ ิแบบอบลกิ แบง่ ออกเปน็ 2 แบบ ไดแ้ ก่ ภาพสามมิตอิ อบลิกแบบแคฟวะเรีย (Cavalier Projection) และภาพสามมติ ิออบลิกแบบแคบเิ นต (Cabinet Projection) การเขยี นภาพสามมติ ิออบลกิ เสน้ แกนท้งั สามแกนคอื แกนความกวา้ ง จะตง้ั ฉากกับแกนความสูง และ แกนความยาว จะทำมมุ 45 0 กับแกนความสงู โดยแกนความสงู เป็นเส้นลากแนวดงิ่ ต้ังฉากกับไมท้ ี เสมอ สมรรถนะย่อย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกยี่ วกบั การเขยี นภาพสามมติ ิออบลิก 2. อา่ นและเขยี นแบบภาพสามมิติตามแบบที่กำหนด จดุ ประสงค์การปฏบิ ัต(ิ Performance Objective) 1. เขียนเสน้ แกนหลัก แกนความกว้าง แกนความยาว และแกนความสงู ของภาพออบลกิ 2. เขียนภาพสามมติ ิออบลกิ แบบแคฟวะเลยี รูปสเ่ี หลยี่ มลกู บาศก์ 3. เขยี นภาพสามมิตแิ บบแคฟวะเลียตามภาพตัวอย่าง 4. เขียนภาพสามมติ แิ บบแคบิเนตตามภาพตวั อยา่ ง เนือ้ หาสาระ การเขยี นภาพสามมิตแิ บบออบลิก รายละเอยี ดของเนือ้ หาเปน็ ไปตามหนังสือประกอบการเรียนวชิ า เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น โดย ณรงค์ ดวี นั สำนักพมิ พศ์ นู ย์หนงั สอื เมอื งไทย พิมพค์ รงั้ ท่ี 1 ปี พ.ศ. 2556 ส่ือการเรียนรู้ 1. หนังสือประกอบการเรียนวชิ าเขยี นแบบเทคนคิ เบ้อื งตน้ โดย ณรงค์ ดีวนั สำนกั พมิ พศ์ นู ยห์ นงั สอื เมอื งไทย พิมพค์ รัง้ ท่ี 1 ปี พ.ศ. 2556 2. แบบจำลองกล่องสเี่ หลีย่ มลกู บาศก์

27 กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 3) 1. ครสู ่งคืนใบแบบฝึกหดั ท่ี 3 แกน่ ักเรียน และบรรยายสรุป ซกั ถามขอ้ สงสยั (10 นาท)ี 2. ครนู ำเขา้ สบู่ ทเรียนหนว่ ยที่ 3 ดว้ ย แบบจำลองกลอ่ งสเ่ี หลย่ี มลูกบาศก์ ให้นักเรยี นมองในแต่ละ ด้าน และถามเก่ียวกับด้านกว้าง ดา้ นยาว และดา้ นสูง คือด้านใด แลว้ สรุปเขา้ สู่ภาพสามมิติ (10 นาที) (ข้ันสอน 40 นาท)ี 3. ครบู รรยายความหมายของภาพสามมติ ิ ชนดิ ของภาพสามมติ ิ และบอกให้เหน็ ความแตกตา่ งในแต่ละชนิด 4. ครแู สดงการเขียนภาพออบลิกแบบแคฟวะเรียดว้ ยวธิ ีแกนหลัก3แกนคือแกนกว้าง แกนยาวและแกนสงู 5. ครูแสดงวิธีการเขียนภาพออบลกิ แบบแคฟวะเรยี ของรูปสี่เหล่ียมลกู บาศก์ ประกอบกับส่ือ แบบจำลองกลอ่ งลกู บาศก์ 6. ส่มุ เรียกชอื่ นักเรียนทลี ะคนออกมาเขยี นภาพสามมติ ิออบลกิ ของแบบจำลองกล่อง ส่เี หลยี่ ม ลกู บาศก์ บนกระดานดำ 7. ครแู สดงวธิ ีการเขียนภาพแบบแคฟวะเรียตามภาพตวั อยา่ ง 8. สมุ่ เรยี กนักเรียนทีละคนตอบคำถาม โดยชไี้ ปท่รี ปู ภาพออบลกิ บนกระดานดำว่า เส้นใดคอื เส้น ความกว้าง , เสน้ ใดคือเสน้ ความยาว , เส้นใดคือเส้นความสงู 9. ครูแสดงวธิ ีการเขยี นภาพออบลิกแบบแคบเิ นตของรปู สเ่ี หลีย่ มลกู บาศก์ ประกอบกับ (ขน้ั ทำแบบฝกึ หัด 120 นาท)ี 10. มอบหมายงานใหน้ กั เรียนทำแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 4 ให้เวลาทำ 120 นาที 11. ครูตรวจสอบการเตรียมอุปกรณเ์ ขยี นแบบของนักเรยี นทุกคน 11. ครเู ดนิ ดูนกั เรยี นสังเกตการใชอ้ ปุ กรณ์เขยี นแบบและเขยี นภาพสามมติ ิแบบออบลกิ ว่าถกู ตอ้ งหรอื ไม่ 12. เมื่อถึงเวลาส่งแบบฝึกหดั ครูเกบ็ รวบรวมใบงานแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 4 13. ครูสงั่ ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 4 กำหนดส่งภายใน 5 นาที (ขัน้ ตรวจประเมิน 60 นาท)ี 14. ครูตรวจใบงาน และบนั ทึกคะแนน หลงั จากนักเรยี นออกจากหอ้ งเรยี นแลว้ เพือ่ เตรียมไว้ สรุปผลในชวั่ โมงเรียนตอ่ ไป การวัดผลและประเมนิ ผล การประเมนิ ผลจากแบบฝึกหัดมเี กณฑ์การให้คะแนนดงั นี้ เรอื่ ง การเขยี นภาพสามมติ ิออบลิค มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนแตล่ ะขอ้ มดี งั นี้ รายการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ 2 1.5 1 0.5 1. ความชัดเจนของเสน้ เตม็ หนา 2. มรี ่องรอยเส้นร่างแสดงวธิ กี ารที่ถกู ต้อง หมายเหตุ ถา้ เขียนภาพสามมติ อิ อบลิกไมถ่ กู ตอ้ ง เชน่ การวางมุมของเสน้ แกนหลกั ทงั้ 3 ผิดไป จะไม่มกี ารตรวจประเมินในข้อนั้น

28 งานท่มี อบหมาย กอ่ นเรยี น ใหน้ กั เรียนจัดเตรยี มอปุ กรณ์เขียนแบบประจำตัว และหนงั สือเขยี นแบบเทคนคิ ให้พรอ้ ม ขณะเรยี น ใหน้ กั เรยี นทำแบบฝึกหดั ท่ี 4 และแบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยท่ี 4 ให้สง่ ในช่วั โมงเรยี น ผลงาน / ชิ้นงาน / ความสำเรจ็ ของผู้เรยี น 1. ใบงานของแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 4 2. แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 4 เอกสารอา้ งอิง ดอกธปู พุทธมงคล และคณะ. เขยี นแบบเทคนคิ 1. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ป ธรี ะยุทธ สุวรรณประทีป และสันติ ลักษติ านนท.์ เขียนแบบวศิ วกรรมเบื้องต้น. กรงุ เทพมหานคร: นำอกั ษรการพิมพ์, พิมพค์ รัง้ ที่ 3, 2540 บรรเลง ศรนลิ และสมนกึ วฒั นศรียกุล. ตารางคมู่ ืองานโลหะ. พิมพค์ ร้ังที่ 4. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 2552 ประเวช มณกี ลุ . เขยี นแบบเทคนคิ เบ้อื งตน้ . กรงุ เทพมหานคร: สำนักพิมพ์จิตรวัฒน,์ 2545 อำพล ซื่อตรง. เขียนแบบเทคนิค 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพศ์ นู ย์ส่งเสริมวิชาการ, มปพ

29 บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. ผลการเรยี นของนกั เรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่พี บ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ............................................... ลงชอื่ ............................................. (...............................................) (นายเอกชัย แก้วขวญั ) ตัวแทนนกั เรยี น ครผู ้สู อน

30 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5 หน่วยท่ี 5 วชิ า เขยี นแบบเทคนิคเบ้อื งตน้ เวลาเรียนรวม 4 คาบ ช่อื หนว่ ย การเขียนภาพสามมติ ิไอโซเมตรกิ สอนครั้งท่ี 4/18 เรอื่ ง การเขยี นภาพสามมิติไอโซเมตรกิ จำนวน 4 คาบ หัวขอ้ เรื่อง 1. ภาพสามมติ ิไอโซเมตริก 2. การเขียนภาพไอโซเมตริก รปู สี่เหล่ยี มลกู บาศก์ 3. การเขียนภาพไอโซเมตริก ตามภาพตวั อยา่ ง สาระสำคัญ ภาพสามมติ ไิ อโซเมตรกิ (Isometric Projection) นจ้ี ะมคี วามแตกตา่ งกับภาพออบลิก โดย เส้นแกน ทง้ั 3 แกน ไมม่ ีแกนคใู่ ดท่ตี ้ังฉากซ่งึ กันและกนั ภาพสามมิตไิ อโซเมตริก เปน็ ภาพสามมิตทิ ม่ี ีแกน x และแกน y ทำมมุ กบั แนวระนาบการมองเป็นมุม 30o สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกบั การเขียนภาพสามมติ ไิ อโซเมตริก 2. อา่ นและเขยี นแบบภาพสามมิติตามแบบทีก่ ำหนด จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objective) 1. เขยี นเส้นแกนหลัก แกนความกวา้ ง แกนความยาว และแกนความสงู ของภาพไอโซเมตรกิ 2. เขยี นภาพไอโซเมตริก รูปส่ีเหลย่ี มลกู บาศก์ 3. เขียนภาพไอโซเมตรกิ ตามภาพตวั อย่าง เนือ้ หาสาระ การเขยี นภาพสามมติ ิแบบไอโซเมตรกิ รายละเอียดของเนือ้ หาเปน็ ไปตามหนังสอื ประกอบการเรียน วชิ าเขียนแบบเทคนคิ เบื้องต้น โดย ณรงค์ ดีวนั สำนกั พมิ พศ์ นู ย์หนังสือเมืองไทย พมิ พค์ ร้งั ที่ 1 ปี พ.ศ. 2556 สื่อการเรยี นรู้ 1. หนงั สือประกอบการเรยี นวิชาเขียนแบบเทคนิคเบือ้ งตน้ โดย ณรงค์ ดีวัน สำนักพมิ พศ์ นู ยห์ นงั สอื เมืองไทย พิมพ์ครงั้ ที่ 1 ปี พ.ศ. 2556 2. แบบจำลองกลอ่ งส่ีเหลี่ยมลูกบาศก์ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 4) 1. ครสู ง่ คืนใบแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 4 แกน่ ักเรียน ครูบรรยายสรุปและซกั ถามข้อสงสยั (20 นาที)

31 (ข้นั สอน 45 นาที) 2. ครแู สดงตวั อยา่ งภาพสามมิติไอโซเมตริก และสาธิตการเขียนภาพไอโซเมตรกิ ดว้ ยวิธแี กนหลกั 3 แกน คอื แกนกว้าง แกนยาว และแกนสูง 3. ครสู าธิตวธิ กี ารเขียนภาพไอโซเมตริกรปู สเี่ หลีย่ มลูกบาศก์ 4. สุ่มเรียกช่อื นกั เรยี นทลี ะคนออกมาเขยี นภาพสามมติ ไิ อโซเมตริกของแบบจำลองกล่องส่เี หล่ียม ลูกบาศก์ บนกระดานดำ 5. ครแู สดงวธิ ีการเขยี นภาพไอโซเมตรกิ ตามภาพตัวอยา่ ง 6. เรียกนักเรยี นทีละคนตอบคำถาม โดยช้ไี ปที่รูปภาพไอโซเมตรกิ บนกระดานดำว่า เสน้ ใดคอื เส้น ความกว้าง , เสน้ ใดคอื เสน้ ความยาว , เส้นใดคือเสน้ ความสูง (ขั้นทำแบบฝกึ หัด 120 นาที) 7. มอบหมายงานใหน้ กั เรยี นทำแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 5 ใหเ้ วลาทำ 120 นาที 8. ครตู รวจสอบการเตรยี มอปุ กรณ์เขยี นแบบของนักเรยี นทกุ คน 9. ครูเดนิ ดูนกั เรียนสังเกตการใชอ้ ปุ กรณ์เขียนแบบและเขยี นภาพสามมติ ิไอโซเมตริก วา่ ถกู ตอ้ งหรือไม่ 10. เม่อื ถงึ เวลาสง่ แบบฝกึ หดั ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 5 11. ครูสั่งใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 5 กำหนดส่งภายใน 5 นาที (ขน้ั ตรวจประเมิน 55 นาท)ี 12. ครตู รวจใบงาน และบนั ทกึ คะแนน หลังจากนักเรียนออกจากห้องเรยี นแล้ว เพือ่ เตรยี มไว้ สรุปผลในชว่ั โมงเรียนตอ่ ไป การวดั ผลและประเมินผล การประเมินผลจากแบบฝึกหัดมีเกณฑ์การให้คะแนนดังน้ี เรื่อง การเขียนภาพสามมิตไิ อโซเมตรกิ มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนแต่ละขอ้ มีดังน้ี รายการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง 2 1.5 1 0.5 1. ความชดั เจนของเสน้ เตม็ หนา 2. มรี ่องรอยเส้นรา่ งแสดงวธิ กี ารที่ถูกต้อง หมายเหตุ ถ้าเขยี นภาพสามมติ ิไอโซเมตรกิ ไมถ่ กู ต้อง เช่นการวางมมุ ของเสน้ แกนหลกั ทั้ง 3 ผิดไป จะไมม่ กี ารตรวจประเมินในข้อนนั้ งานท่มี อบหมาย ก่อนเรียน ใหน้ ักเรยี นจดั เตรียมอุปกรณเ์ ขยี นแบบประจำตวั และหนังสอื เรยี นวิชาเขียนแบบเทคนิค เบอื้ งตน้ ใหพ้ ร้อม ขณะเรียน ให้นักเรียนทำแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 5 และแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 5 ใหส้ ง่ ในช่วั โมงเรยี น ผลงาน / ช้นิ งาน / ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน 1. ใบงานของแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 5 2. แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 5

32 เอกสารอ้างองิ ดอกธูป พทุ ธมงคล และคณะ. เขียนแบบเทคนคิ 1. กรงุ เทพมหานคร: ม.ป.ป ธรี ะยุทธ สุวรรณประทีป และสนั ติ ลักษิตานนท.์ เขยี นแบบวศิ วกรรมเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: นำอักษรการพิมพ,์ พิมพค์ รัง้ ท่ี 3, 2540 บรรเลง ศรนลิ และสมนึก วัฒนศรยี กลุ . ตารางคู่มอื งานโลหะ. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 4. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า พระนครเหนอื , 2552 ประเวช มณกี ลุ . เขียนแบบเทคนคิ เบ้ืองตน้ . กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พมิ พ์จติ รวัฒน,์ 2545 อำพล ซอ่ื ตรง. เขยี นแบบเทคนคิ 1. กรงุ เทพมหานคร: สำนักพมิ พศ์ ูนยส์ ง่ เสรมิ วิชาการ, มปพ

33 บนั ทึกหลังการสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. ผลการเรยี นของนกั เรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงช่อื ............................................... ลงชื่อ............................................. (...............................................) (นายเอกชยั แก้วขวญั ) ตวั แทนนกั เรยี น ครผู ู้สอน

34 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 หน่วยท่ี 6 เวลาเรียนรวม 4 คาบ วิชา เขียนแบบเทคนิคเบ้อื งตน้ สอนครงั้ ที่ 5/18 ชอ่ื หน่วย การเขยี นแบบภาพไอโซเมตรกิ ชน้ิ งาน จำนวน 4 คาบ ผวิ เอียง เรือ่ ง การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกช้นิ งานผิวเอยี ง หวั ขอ้ เร่อื ง การเขยี นแบบภาพไอโซเมตริกชนิ้ งานผิวเอียงแบบพ้ืนฐาน การเขียนแบบภาพไอโซเมตริกช้นิ งานผิวเอียงแบบเส้นขนาน สาระสำคญั ชน้ิ งานผิวเอียง เปน็ ชิน้ งานรูปสีเ่ หลย่ี มลกู บาศก์ท่ถี ูกตัดผิวเฉยี งออกไปหนึง่ ด้าน ดังน้นั การเขียนภาพ ไอโซเมตรกิ จะเขยี นเหมอื นกบั การเขียนภาพไอโซเมตริกรปู สเี่ หลย่ี มลกู บาศก์ สมรรถนะย่อย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เก่ยี วกบั การเขียนภาพสามมติ ิไอโซเมตริกช้นิ งานผวิ เอยี ง 2. อ่านและเขยี นแบบภาพไอโซเมตรกิ ตามแบบทกี่ ำหนด จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ(Performance Objective) 1. เขียนแบบภาพไอโซเมตริกชนิ้ งานผวิ เอียงแบบพนื้ ฐานตามภาพตัวอย่าง 2. เขยี นแบบภาพไอโซเมตริกช้นิ งานผิวเอียงแบบเส้นขนานตามภาพตวั อย่าง เนอ้ื หาสาระ การเขียนภาพสามมิติแบบไอโซเมตริกช้นิ งานผิวเอยี ง รายละเอยี ดของเนอ้ื หาเป็นไปตามหนงั สือ ประกอบการเรียนวิชาเขยี นแบบเทคนคิ เบอ้ื งต้น โดย ณรงค์ ดีวนั สำนกั พิมพ์ศูนยห์ นงั สอื เมืองไทย พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1 ปี พ.ศ. 2556 สอื่ การเรียนรู้ 1. หนังสอื ประกอบการเรียนวชิ าเขยี นแบบเทคนคิ เบ้อื งต้น โดย ณรงค์ ดวี นั สำนกั พมิ พศ์ นู ยห์ นงั สือ เมืองไทย พิมพ์คร้งั ท่ี 1 ปี พ.ศ. 2556 2. แบบจำลองกล่องสี่เหล่ยี มลูกบาศก์ผวิ เอยี ง กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 5) 1. ครูส่งคนื ใบแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 5 แกน่ ักเรียน อธิบายสรุปและซักถามข้อสงสัย (10 นาท)ี (ขน้ั สอน 40 นาท)ี 2.ครใู หน้ กั เรียนเปดิ หนังสือเรยี นหนว่ ยท่ี 6 และ ครูแสดงการเขยี นภาพไอโซเมตริกชนิ้ งานผวิ เอยี ง ตามภาพตัวอย่าง (ขน้ั ทำแบบฝกึ หดั 140 นาท)ี 3. มอบหมายงานใหน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 6

35 4. ครตู รวจสอบการเตรยี มอปุ กรณเ์ ขยี นแบบของนกั เรยี นทุกคน 5. ครูเดินดนู กั เรียนสงั เกตการใช้อปุ กรณเ์ ขียนแบบและเขยี นภาพสามมติ ไิ อโซเมตริก วา่ ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ 6. เม่อื ถงึ เวลาสง่ แบบฝึกหดั ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 6 7. ครสู ่ังใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยที่ 6 กำหนดส่งภายใน 5 นาที (ขน้ั ตรวจประเมนิ 50 นาท)ี 8. ครตู รวจใบงาน และบันทกึ คะแนน หลงั จากนักเรียนออกจากหอ้ งเรยี นแลว้ เพอื่ เตรยี มไวส้ รปุ ผลใน ชัว่ โมงเรยี นตอ่ ไป การวดั ผลและประเมนิ ผล การประเมนิ ผลจากแบบฝึกหัดมเี กณฑก์ ารให้คะแนนดงั นี้ เร่อื ง การเขยี นภาพสามมติ ิไอโซเมตริกชนิ้ งานผวิ เอียง มีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแตล่ ะขอ้ มีดังนี้ รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง 543 2 1. ความชัดเจนของเส้นเตม็ หนา 2. มีรอ่ งรอยเสน้ ร่างแสดงวิธกี ารท่ถี กู ต้อง หมายเหตุ ถา้ เขียนภาพสามมิตไิ อโซเมตริกไมถ่ กู ตอ้ ง เชน่ การวางมมุ ของเสน้ แกนหลักท้ัง 3 ผดิ ไป จะไม่มกี ารตรวจประเมินในข้อนั้น งานทม่ี อบหมาย กอ่ นเรยี น ให้นกั เรียนจดั เตรยี มอุปกรณ์เขียนแบบประจำตัว และหนังสอื เรยี นวชิ าเขียนแบบเทคนิค เบ้ืองตน้ ใหพ้ ร้อม ขณะเรียน ใหน้ กั เรียนทำแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 6 และแบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยท่ี 6 ส่งในชว่ั โมงเรียน ผลงาน / ช้ินงาน / ความสำเรจ็ ของผูเ้ รียน 1. ใบงานของแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 6 2. แบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยท่ี 6 เอกสารอ้างอิง ดอกธปู พุทธมงคล และคณะ. เขียนแบบเทคนคิ 1. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ป ธรี ะยุทธ สุวรรณประทปี และสนั ติ ลกั ษิตานนท.์ เขียนแบบวศิ วกรรมเบอ้ื งตน้ . กรงุ เทพมหานคร: นำอักษรการพิมพ์, พมิ พค์ ร้งั ที่ 3, 2540 บรรเลง ศรนลิ และสมนกึ วฒั นศรยี กลุ . ตารางค่มู อื งานโลหะ. พิมพค์ รั้งที่ 4. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 2552 ประเวช มณกี ุล. เขียนแบบเทคนิคเบื้องตน้ . กรงุ เทพมหานคร: สำนักพมิ พจ์ ิตรวัฒน์, 2545 อำพล ซ่ือตรง. เขียนแบบเทคนิค 1. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พมิ พศ์ นู ยส์ ่งเสริมวิชาการ, มปพ

36 บันทึกหลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. ผลการเรยี นของนกั เรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่พี บ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป้ ญั หา ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงช่อื ............................................... ลงช่อื ............................................. (...............................................) (นายเอกชัย แก้วขวญั ) ตัวแทนนกั เรยี น ครผู สู้ อน

37 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 7 หน่วยที่ 7 วิชา เขียนแบบเทคนคิ เบื้องตน้ เวลาเรียนรวม 4 คาบ ชอ่ื หนว่ ย การเขยี นวงรใี นภาพไอโซเมตรกิ และภาพ สอนครงั้ ท่ี 6/18 ออบลกิ เร่อื ง การเขยี นวงรใี นภาพไอโซเมตริกและภาพออบลิก จำนวน 4 คาบ หัวขอ้ เร่ือง การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตรกิ และภาพออบลิก สาระสำคญั รูปวงกลมเมื่อปรากฏบนผวิ หนา้ ในแตล่ ะดา้ นของภาพสามมิติ รูปวงกลมนนั้ จะถกู เหน็ เป็นวงรี การ เขยี นวงรีในภาพสามมิติ จะใช้หลักการเขียนด้วยวธิ ที างเรขาคณิต ซ่งึ ชว่ ยให้การเขยี นวงรีไดง้ ่ายข้ึน สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกี่ยวกับการเขยี นวงรีในภาพไอโซเมตรกิ และภาพออบลิก 2. อ่านและเขยี นแบบภาพสามมติ ติ ามแบบท่ีกำหนด จุดประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objective) 1. เขียนวงรีในภาพไอโซเมตริกตามภาพตวั อยา่ ง 2. เขยี นวงรีในภาพออบลิกตามภาพตัวอยา่ ง เน้ือหาสาระ การเขยี นวงรีในภาพไอโซเมตรกิ และภาพออบลิก รายละเอยี ดของเนื้อหาเป็นไปตามหนงั สอื ประกอบการเรยี นวชิ าเขียนแบบเทคนคิ เบอื้ งตน้ โดย ณรงค์ ดีวัน สำนกั พมิ พศ์ นู ย์หนงั สือเมอื งไทย พิมพ์ครงั้ ท่ี 1 ปี พ.ศ. 2556 สือ่ การเรียนรู้ 1. หนังสือประกอบการเรยี นวิชาเขยี นแบบเทคนคิ เบอื้ งต้น โดย ณรงค์ ดวี ัน สำนักพมิ พ์ศูนยห์ นงั สือ เมอื งไทย พิมพค์ ร้ังท่ี 1 ปี พ.ศ. 2556 กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 6) 1. ครูสง่ คืนใบแบบฝกึ หัดที่ 6 แก่นักเรยี น ครอู ธบิ ายสรปุ และซกั ถามข้อสงสยั (10 นาท)ี 2. ครใู หน้ กั เรยี นเปิดหนังสือเรียนหน่วยที่ 7 และครแู สดงภาพ การเขียนวงรีในภาพไอโซเมตริก แลว้ บอกหัวข้อทจ่ี ะเรียนในวันน้ี (ข้ันสอน 45 นาที) 3. ครแู สดงวธิ ีการเขยี นวงรใี นภาพไอโซเมตริก ในระนาบเดียว 4. ครูแสดงวิธีการเขียนวงรีในภาพไอโซเมตรกิ ของชิน้ งานทรงกระบอก 5. ครูอธิบายวิธีการเขยี นวงรีในภาพออบลกิ แบบสี่เหล่ยี มดา้ นขนาน (ข้นั ทำแบบฝกึ หัด 140 นาท)ี

38 5. มอบหมายงานใหน้ ักเรียนทำแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 7 6. ครูตรวจสอบการเตรยี มอปุ กรณ์เขียนแบบของนักเรียนทุกคน 7. ครูเดนิ ดูนักเรียนสงั เกตการใชอ้ ุปกรณ์เขียนแบบและเขยี นวงรีในภาพสามมติ ไิ อโซเมตริกว่าถกู ตอ้ งหรือไม่ 8. เมอื่ ถึงเวลาส่งแบบฝกึ หัด ครูเกบ็ รวบรวมใบงานแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 7 9. ครสู ่ังให้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 7 กำหนดสง่ ภายใน 5 นาที (ขัน้ ตรวจประเมิน 45 นาท)ี 10. ครูตรวจใบงาน และบนั ทึกคะแนน หลังจากนักเรียนออกจากหอ้ งเรยี นแลว้ เพอ่ื เตรยี มไว้สรปุ ผล ในชวั่ โมงเรยี นตอ่ ไป การวัดผลและประเมินผล การประเมินผลจากแบบฝึกหัดมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ เร่ือง การเขยี นวงรใี นภาพไอโซเมตรกิ มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแตล่ ะขอ้ มีดงั น้ี รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง 432 1 1. ความชัดเจนของเสน้ เต็มหนา 2. เสน้ โคง้ วงรีตอ่ ชนเรยี บรอ้ ย 3. มีรอ่ งรอยเสน้ รา่ งแสดงวธิ ีการทถ่ี ูกตอ้ ง หมายเหตุ ถา้ เขยี นภาพสามมติ ิไอโซเมตรกิ ไม่ถกู ต้อง เช่นการวางมมุ ของเสน้ แกนหลกั ทัง้ 3 ผิดไป หรอื ไมไ่ ด้เขียนภาพวงรีจะไมม่ กี ารตรวจประเมินในข้อน้นั งานทมี่ อบหมาย กอ่ นเรียน ใหน้ ักเรยี นจัดเตรยี มอปุ กรณเ์ ขยี นแบบประจำตวั และหนงั สือเรยี นวชิ าเขียนแบบเทคนคิ เบือ้ งตน้ ให้พร้อม ขณะเรียน ใหน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 7 และแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 7 สง่ ในช่วั โมงเรียน ผลงาน / ช้นิ งาน / ความสำเร็จของผเู้ รียน 1. ใบงานของแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 7 2. แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยท่ี 7 เอกสารอา้ งอิง ดอกธูป พุทธมงคล และคณะ. เขียนแบบเทคนคิ 1. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ป ธรี ะยุทธ สุวรรณประทีป และสนั ติ ลักษิตานนท.์ เขียนแบบวศิ วกรรมเบอื้ งตน้ . กรงุ เทพมหานคร: นำอกั ษรการพมิ พ,์ พมิ พค์ รงั้ ที่ 3, 2540 บรรเลง ศรนลิ และสมนกึ วฒั นศรียกลุ . ตารางค่มู อื งานโลหะ. พมิ พค์ รงั้ ที่ 4. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนอื , 2552 ประเวช มณีกุล. เขยี นแบบเทคนิคเบอ้ื งตน้ . กรุงเทพมหานคร: สำนกั พิมพจ์ ติ รวฒั น์, 2545 อำพล ซ่ือตรง. เขียนแบบเทคนิค 1. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พมิ พ์ศนู ยส์ ่งเสรมิ วิชาการ, มปพ

39 บันทกึ หลังการสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของคร/ู ปญั หาทพ่ี บ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงช่อื ............................................... ลงชือ่ ............................................. (...............................................) (นายเอกชยั แกว้ ขวญั ) ตัวแทนนกั เรียน ครผู สู้ อน

40 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8 หน่วยที่ 8 วิชา เขียนแบบเทคนิคเบือ้ งตน้ เวลาเรยี นรวม 8 คาบ ชื่อหนว่ ย วิธีฉายภาพในงานเขียนแบบ สอนคร้งั ที่ 7/18 เรอื่ ง วิธีฉายภาพในงานเขียนแบบ จำนวน 4 คาบ หัวข้อเร่ือง 1. วธิ ีฉายภาพ ตามมาตรฐาน DIN ISO 5456-2 (1998-04) 2. การเขียนภาพฉายวธิ มี มุ มองท่ี 1 ชนดิ แสดงภาพฉายเพยี ง 3 ดา้ น 3. วธิ กี ารเขยี นภาพฉายระบบมุมมองที่ 1 จากภาพสามมิติท่กี ำหนดให้ 4. การฉายภาพวิธมี มุ มองท่ี 3 5. ตวั อยา่ งการแสดงภาพฉายวิธีมุมมองที่ 3 6. ตวั อย่างการแสดงภาพฉายวธิ มี มุ มองท่ี 1 สาระสำคญั วิธกี ารฉายภาพตามมาตรฐานสากล แบง่ ออกเปน็ 2 วธิ ี คือ การฉายภาพตามวธิ ีมมุ มองที่ 1 และ การฉายภาพตามวธิ มี มุ มองท่ี 3 ในปจั จุบนั การฉายภาพตามวธิ มี ุมมองท่ี 1 เปน็ ที่นยิ มมาก ซ่งึ เป็นระบบที่ การมองภาพฉายจะสอดคลอ้ งตามหลกั ธรรมชาตมิ ากที่สดุ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกย่ี วกับวธิ ฉี ายภาพในงานเขียนแบบ 2. เขียนภาพฉายตามแบบท่กี ำหนด จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ(Performance Objective) 1. เขียนแบบภาพฉายระบบมุมมองที่ 1 จากภาพสามมติ ทิ กี่ ำหนดให้ 2. เขยี นแบบภาพฉายวิธีมมุ มองที่ 3 จากภาพสามมิติทีก่ ำหนดให้ 3. บอกความหมายสัญลักษณข์ องวิธฉี ายภาพ เนอ้ื หาสาระ วิธีฉายภาพในงานเขียนแบบ รายละเอียดของเนือ้ หาเปน็ ไปตามหนงั สอื ประกอบการเรยี นวิชาเขยี น แบบเทคนิคเบอ้ื งตน้ โดย ณรงค์ ดวี นั สำนกั พมิ พศ์ ูนย์หนังสือเมืองไทย พิมพค์ ร้งั ท่ี 1 ปี พ.ศ. 2556 สอ่ื การเรยี นรู้ 1. หนงั สอื ประกอบการเรียนวิชาเขียนแบบเทคนิคเบอื้ งต้น โดย ณรงค์ ดีวัน สำนกั พมิ พศ์ ูนยห์ นงั สือ เมืองไทย พิมพค์ รั้งที่ 1 ปี พ.ศ. 2556 2. กล่องสเ่ี หลยี่ มลูกบาศกแ์ บบมบี ่าฉาก (เชน่ เดยี วกบั ในเนือ้ หาของหนว่ ยเรยี น) กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 7) 1. ครสู ่งคืนใบแบบฝึกหดั ที่ 7 แกน่ ักเรียน ครอู ธบิ ายสรปุ และซักถามข้อสงสยั (15 นาท)ี 2. ครูใหน้ ักเรยี นเปิดหนงั สอื เรียนหน่วยท่ี 8 และบอกหวั ข้อทจี่ ะเรียน แล้วอธบิ ายวธิ ีฉายภาพตาม มาตรฐานสากล

41 (ข้นั สอน 60 นาที) 3. ครูอธบิ ายประกอบแบบจำลองกล่องสีเ่ หล่ยี มลกู บาศก์แบบมีบ่าฉาก โดยหมนุ แบบจำลอง ตามวิธี มุมมองท่ี 1 และตามวธิ มี ุมมองที่ 3 4. ครสู าธิตการเขียนภาพฉายระบบมุมมองที่ 1 แสดงเพียง 3 ด้าน บนกระดานดำ จากตวั อย่างแบบจำลองนน้ั (ข้ันทำแบบฝกึ หัด 120 นาท)ี 5. มอบหมายงานใหน้ ักเรียนทำแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 8 ตอนท่ี 1 ทุกขอ้ และตอนท่ี2 ทำเพยี ง ข้อ 1 ถึง 3 6. ครตู รวจสอบการเตรยี มอุปกรณเ์ ขยี นแบบของนักเรียนทุกคน 7. ครูเดนิ ดนู กั เรยี นสังเกตการเขยี นภาพฉาย ว่าถูกต้องหรือไม่ 8. ใหน้ ักเรียนส่งแบบฝกึ หดั ตามเวลาท่กี ำหนด (ขัน้ ตรวจประเมนิ 45 นาที) 9. ครูเกบ็ รวบรวมใบแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 8 ตอนท่ี 1 และ 2 และทำการตรวจประเมนิ หลงั จาก นกั เรยี นออกจากหอ้ งเรยี นแลว้ 10. ครบู นั ทกึ คะแนน เพอื่ เตรยี มไว้สรุปผลภายในชัว่ โมงเรยี นตอ่ ไป การวัดผลและประเมินผล การประเมนิ ผลจากแบบฝึกหัดมีเกณฑก์ ารให้คะแนนดังน้ี เรื่อง การเขียนภาพฉาย มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนแต่ละข้อมดี ังน้ี รายการประเมิน ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 210 1. ความถกู ตอ้ งของภาพฉาย ดา้ นหนา้ ……………………………….. ………. ………. ………. ด้านขา้ ง………………………………... ………. ………. ………. ดา้ นบน……………………………….. ………. ………. ………. 2. ความชัดเจนของเสน้ เต็มหนา 3. เส้นเต็มหนาและเสน้ ร่างหรอื เส้นฉาย มี ความแตกตา่ งกนั อยา่ งชัดเจน หมายเหตุ ถ้าไมไ่ ดเ้ ขียนเส้นรา่ งและเส้นฉายจะไมม่ กี ารตรวจประเมินในขอ้ นัน้ งานทม่ี อบหมาย ก่อนเรียน ใหน้ กั เรยี นจดั เตรยี มอุปกรณเ์ ขยี นแบบประจำตัว และหนงั สือเรยี นวิชาเขยี นแบบเทคนคิ เบือ้ งตน้ ใหพ้ ร้อม ขณะเรียน ใหน้ กั เรียนทำแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 8 สง่ ในชั่วโมงเรยี น ผลงาน / ชน้ิ งาน / ความสำเรจ็ ของผเู้ รยี น 1. ใบงานของแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 8 เอกสารอ้างอิง ดอกธูป พทุ ธมงคล และคณะ. เขยี นแบบเทคนคิ 1. กรงุ เทพมหานคร: ม.ป.ป ธีระยทุ ธ สุวรรณประทีป และสนั ติ ลกั ษติ านนท.์ เขียนแบบวิศวกรรมเบือ้ งตน้ . กรงุ เทพมหานคร: นำอกั ษรการพิมพ,์ พิมพ์ครั้งที่ 3, 2540

42 บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. ผลการเรยี นของนกั เรยี น/ผลการสอนของคร/ู ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงช่อื ............................................... ลงช่ือ............................................. (...............................................) (นายเอกชัย แก้วขวญั ) ตัวแทนนกั เรยี น ครผู สู้ อน

43 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9 หน่วยท่ี 9 วิชา เขยี นแบบเทคนิคเบื้องตน้ เวลาเรียนรวม 16 คาบ สอนคร้งั ที่ 9-12/18 ช่อื หนว่ ย การกำหนดขนาดของมิตแิ ละมาตราส่วน จำนวน 4 คาบ ในงานเขียนแบบ เรอ่ื ง การกำหนดขนาดของมิติและมาตราส่วนในงานเขยี นแบบ หัวขอ้ เรอ่ื ง 1. มาตราสว่ น (Scale) ตามมาตรฐาน ISO 5455 (1979-12) 2. การกำหนดขนาดของมิติ ตามมาตรฐาน DIN 406-11 (1992-12) และ DIN ISO 128-22 (1999-11) สาระสำคัญ การกำหนดขนาดมิติลงในแบบงาน มคี วามสำคญั คือ ทำให้ผอู้ ่านแบบมคี วามเขา้ ใจในแบบมากข้ึน สามารถทราบขนาดของชนิ้ งานจรงิ ซึง่ มีผลตอ่ การผลติ ในการจดั เตรียมขนาดและจำนวนของวัสดุท่นี ำมาใช้ การผลติ ชน้ิ งานน้นั การกำหนดขนาดลงในแบบจงึ จำเป็นต้องเขยี นใหช้ ดั เจนและไดม้ าตรฐานสากล การเขียนแบบชน้ิ งานต่าง ๆ ควรเขยี นใหเ้ ทา่ ขนาดจริง แตข่ นาดชนิ้ งานบางชิน้ อาจจะมีขนาดเลก็ มาก ไมส่ ามารถเขยี นใหเ้ ห็นชดั เจนได้ หรอื ใหญม่ ากไมส่ ามารถเขยี นลงในกระดาษได้ ดงั นนั้ มาตราสว่ นในงานเขียน แบบ แบง่ ออกเปน็ 3 ชนิด คอื มาตราสว่ นเท่าของจรงิ มาตรส่วนยอ่ และมาตราสว่ นขยาย สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกีย่ วกับการกำหนดขนาดของมิตแิ ละมาตราสว่ นในงานเขียนแบบ 2. เขียนบอกขนาดในภาพฉายตามคำส่งั ที่กำหนด จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objective) 1. บอกกฎการบอกขนาดเบอ้ื งตน้ 2. เขียนบอกขนาดลงในแบบตามกฏการบอกขนาด 3. เขียนตัวเลขบอกขนาดลงในแบบ ตามกฎการบอกขนาด 4. คำนวณหาค่าขนาดเขยี นจากมาตราสว่ นทกี่ ำหนดให้ 5. เขยี นแบบตามมาตราส่วนที่กำหนด เน้อื หาสาระ การกำหนดขนาดของมติ แิ ละมาตราสว่ นในงานเขยี นแบบ รายละเอยี ดของเนอ้ื หาเปน็ ไปตามหนังสือ ประกอบการเรยี นวชิ าเขียนแบบเทคนคิ เบอื้ งต้น โดย ณรงค์ ดีวัน สำนกั พิมพศ์ ูนย์หนังสือเมอื งไทย พมิ พค์ รั้ง ที่ 1 ปี พ.ศ. 2556 ส่อื การเรยี นรู้ 1. หนังสือประกอบการเรียนวิชาเขียนแบบเทคนคิ เบือ้ งตน้ โดย ณรงค์ ดวี ัน สำนักพิมพศ์ ูนย์หนงั สือ เมอื งไทย พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1 ปี พ.ศ. 2556 กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ่ี 9) (สรปุ 20 นาที) 1. ครสู ่งคนื ใบงานแบบฝกึ หัดท่ี 8 ตอนท่ี 3 แกน่ ักเรียน เฉลย สรปุ และซกั ถามข้อสงสยั

44 (สอนเรือ่ งมาตราสว่ น 15 นาที) 2. ครูนำเข้าสู่บทเรียนเร่ืองมาตราสว่ น โดยนำเอาชนิ้ งานจรงิ แสดง เชน่ โต๊ะเรียน หรอื ไสป้ ากกา ขนาดเลก็ เพอื่ ชกั นำความคิดนักเรียน ว่าสามารถเขยี นแบบชิน้ งานเหลา่ น้ี ลงในกระดาษเขยี นแบบ A4 นี้ได้ อยา่ งไร 3. ครูอธบิ ายประกอบการสาธิตบนกระดานดำเรือ่ งมาตราส่วนตามมาตรฐานISO และใหน้ ักเรยี น ท่องจำความหมายของตวั เลขมาตราสว่ น (ทำแบบฝึกหัด 20 นาที) 4. ให้นกั เรยี นทำแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 9 ตอนที่ 1 เรอื่ ง มาตราสว่ นในงานเขยี นแบบ 5. ครเู ดนิ ดูนักเรยี นสงั เกตการทำแบบฝกึ หดั ห้ามไมใ่ หล้ อกซ่งึ กันและกัน 6. เม่อื ครบเวลาตามทกี่ ำหนด ให้นกั เรยี นสง่ แบบฝึกหดั ทเ่ี พือ่ นดา้ นข้างเพือ่ ให้เพ่อื นช่วยตรวจตามที่ ครเู ฉลย และครเู ฉลยดว้ ยวธิ ซี ักถามนกั เรียนใหช้ ่วยตอบ ทีละขอ้ (สอนเรอ่ื งการกำหนดขนาดของมติ ิ 60 นาที) 7. ครูนำเข้าสู่บทเรยี นเรื่องการกำหนดขนาดของมติ ิ ตามมาตรฐานISO และ อธิบาย นยิ ามของคำท่ี ใช้เรียกในการกำหนดขนาดของมติ ิ 8. ครูอธบิ าย เรอื่ ง กฎการบอกขนาดชิ้นงานทีม่ ีขอบเหล่ยี มตรง และการบอกขนาดมมุ พรอ้ มสาธติ การเขยี นบนกระดานดำ (ทำแบบฝกึ หัด 90 นาท)ี 9. ให้นักเรยี นทำแบบฝึกหัดท่ี 9 ตอนท่ี 2 ข้อ 1-3 และตอนท่ี 3 ขอ้ 1 10. ครูตรวจสอบการเตรยี มอุปกรณเ์ ขยี นแบบของนกั เรยี นทุกคน 11. ครูเดนิ ดนู กั เรียนสงั เกตการทำแบบฝึกหดั ห้ามไม่ใหล้ อกซึง่ กันและกัน 12. ใหน้ กั เรียนส่งใบงาน ตามเวลาท่ีกำหนด (ข้นั ตรวจประเมินผล 35 นาท)ี 13. ครูเก็บรวบรวมใบงาน และทำการตรวจประเมนิ หลงั จากนกั เรียนออกจากห้องเรียน 14. ครูบันทึกคะแนน เพื่อเตรียมไวส้ รุปผลภายในชว่ั โมงเรียนต่อไป การวดั ผลและประเมินผล การประเมินผลจากแบบฝกึ หดั มีเกณฑก์ ารให้คะแนนดังนี้ 1. เรือ่ ง มาตราส่วน มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนแต่ละข้อมดี ังน้ี ข้อที่ 1 ตอบถกู ทั้งหมดให้เต็ม 4 คะแนน ตอบผิด 1 ที่ ตดั 1 คะแนน ขอ้ ท่ี 2 มขี ้อยอ่ ยทง้ั หมด 4 ข้อ ตอบถูกข้อละ 2 คะแนน ตอบผิดได้ 0 2. เร่ือง การกำหนดขนาดของมิติ มีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแต่ละขอ้ มีดงั น้ี รายการประเมนิ ดี พอใช้ ปรับปรุง ไม่ผา่ น 53 1 0 1. ความถูกต้องของเสน้ บอกขนาด 0.25 (ห่างขอบรูป 10 หา่ งซงึ่ กนั และกนั 7 ) 2. ความถกู ตอ้ งของเส้นชว่ ยบอกขนาด 0.25

45 (ปลายเส้นชว่ ยฯ เขยี นเลยปลายลูกศรไมเ่ กิน 2 ม.ม. ) 3. ความถกู ต้องของตวั เลขบอกขนาด (ดำชัดเจน สูง 3.5 ) 4. ความถูกต้องของลกู ศรบอกขนาด (ระบายทบึ มมุ 15o ยาว 2.5 …..3 ) การประเมนิ เรือ่ งภาพฉาย มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั นี้ รายการประเมิน ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ไม่ผ่าน 5310 1. ความถูกต้องของภาพฉาย ดา้ นหน้า……………………………….. ………. ………. ………. ………. ด้านข้าง………………………………... ………. ………. ………. ………. ดา้ นบน……………………………….. ………. ………. ………. ………. 2. ความชัดเจนของเสน้ เตม็ หนา 3. เสน้ รา่ งหรอื เสน้ ฉาย มีความแตกต่างกัน อยา่ งชัดเจนกบั เสน้ เต็มหนา หมายเหตุ ถ้าไมไ่ ด้เขียนเสน้ ร่างและเสน้ ฉายจะไมม่ ีการตรวจประเมนิ ในขอ้ นน้ั งานทม่ี อบหมาย ก่อนเรยี น ใหน้ ักเรียนจดั เตรียมอปุ กรณเ์ ขยี นแบบประจำตวั และหนงั สอื เรียนวิชาเขียนแบบเทคนคิ เบื้องต้นใหพ้ ร้อม ขณะเรยี น ใหน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 9 สง่ ในช่ัวโมงเรยี น ผลงาน / ช้นิ งาน / ความสำเร็จของผเู้ รียน 1. ใบงานของแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 9 เอกสารอ้างองิ ดอกธปู พทุ ธมงคล และคณะ. เขียนแบบเทคนคิ 1. กรงุ เทพมหานคร: ม.ป.ป ธีระยุทธ สวุ รรณประทปี และสนั ติ ลกั ษติ านนท.์ เขยี นแบบวิศวกรรมเบอื้ งตน้ . กรุงเทพมหานคร: นำอกั ษรการพมิ พ,์ พิมพค์ รั้งท่ี 3, 2540 บรรเลง ศรนลิ และสมนกึ วัฒนศรียกลุ . ตารางคู่มืองานโลหะ. พมิ พค์ ร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนอื , 2552 ประเวช มณีกลุ . เขียนแบบเทคนิคเบื้องตน้ . กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พมิ พจ์ ติ รวฒั น์, 2545 อำนวย อุดมศรี. เขียนแบบทว่ั ไป. กรุงเทพมหานคร: บริษทั สกายบกุ๊ จำกัด, พมิ พค์ รั้งที่ 2, 2538 อำนวย อุดมศรี. เขยี นแบบเทคนิค 2. กรุงเทพมหานคร: บริษทั สกายบกุ๊ จำกดั , 2539 อำพล ซื่อตรง. เขยี นแบบเทคนิค 1. กรงุ เทพมหานคร: สำนักพมิ พศ์ นู ย์สง่ เสรมิ วชิ าการ, มปพ

46 บันทึกหลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรยี น/ผลการสอนของครู/ปัญหาทีพ่ บ ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ลงชือ่ ............................................... ลงชื่อ............................................. (...............................................) (นายเอกชยั แก้วขวญั ) ตัวแทนนกั เรียน ครผู สู้ อน

47 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 10 หน่วยที่ 10 วิชา เขียนแบบเทคนคิ เบ้อื งตน้ เวลาเรียนรวม 4 คาบ ชอ่ื หนว่ ย ภาพตดั เตม็ สอนครั้งท่ี 13/18 เรื่อง ภาพตัดเตม็ จำนวน 4 คาบ หวั ข้อเรื่อง 1. ความหมายของภาพตัดเต็ม (Full Section) 2. กฎการเขยี นภาพตดั ทวั่ ไปตามมาตรฐาน DIN 6-2(1986-12) 3. การเขียนภาพตดั เตม็ สาระสำคัญ การเขียนภาพฉายทั่วไป รายละเอียดหรอื ขอบรูปของสว่ นทถ่ี กู บังจะถกู แสดงด้วยเสน้ ประ ทำใหก้ ารมองภาพฉายมีความลำบากในการตีความสว่ นทถ่ี กู บัง และมีปญั หาอกี ลักษณะหน่งึ คอื ไม่สามารถเขียนบอกขนาดในรายละเอียดสว่ นท่ีถูกบงั ได้ การเขียนภาพตัดเตม็ จะแสดงเป็นภาพฉายท่ไี ม่มี เส้นประ รายละเอยี ดหรือขอบรปู ของส่วนทีถ่ ูกบังจะถูกแสดงดว้ ยเส้นขอบรูป (เสน้ เต็มหนา) เปน็ การเขยี น ภาพฉายในลกั ษณะเหมอื นกับว่า ภาพนั้นหรอื ชนิ้ งานนน้ั ถูกตดั ออกเปน็ สองส่วนตรงกึ่งกลางนนั้ จริงๆ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) 1. แสดงความรู้ เกยี่ วกบั ภาพตัดเตม็ 2. อ่านและเขยี นภาพตดั เต็มตามคำสั่งทีก่ ำหนด จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ(Performance Objective) 1. เขียนภาพฉายเปน็ ภาพตดั เตม็ 2. เขยี นบอกขนาดในภาพตดั เตม็ เนือ้ หาสาระ ภาพตัดเต็ม รายละเอียดของเนือ้ หาเป็นไปตามหนงั สือประกอบการเรียนวชิ าเขียนแบบเทคนคิ เบ้ืองตน้ โดย ณรงค์ ดวี ัน สำนกั พมิ พศ์ นู ยห์ นังสอื เมืองไทย พิมพค์ ร้งั ท่ี 1 ปี พ.ศ. 2556 ส่ือการเรียนรู้ 1. หนังสือประกอบการเรยี นวิชาเขยี นแบบเทคนิคเบ้ืองต้น โดย ณรงค์ ดีวัน สำนักพิมพศ์ นู ย์หนงั สอื เมอื งไทย พมิ พ์ครั้งที่ 1 ปี พ.ศ. 2556 กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 13) (ขน้ั สรุป 20 นาท)ี 1. ครสู ง่ คืน ใบงานแบบฝึกหัดหน่วยที่ 9 ตอนท่ี 3 ข้อ 5 และ6 แกน่ กั เรยี น เฉลย สรปุ และ ซักถามข้อสงสยั

48 (ขัน้ สอน 30 นาที) 2. ครนู ำเขา้ สู่บทเรยี นด้วยการยกตวั อยา่ ง ลูกมะละกอ โดยตั้งคำถามวา่ “การจะมองเห็นภายในของลูกมะละกอได้จะต้องทำอย่างไร” แลว้ แสดง ภาพตดั เตม็ พรอ้ มอธิบายประกอบ 3. ครอู ธิบายกฎการเขยี นภาพตดั ท่ัวไป 4. ครอู ธิบายกฎการเขยี นภาพตัดเต็ม (ขนั้ ประเมนิ ผล 140 นาที) 5. ให้นกั เรยี นทำแบบฝึกหดั ท่ี 10 เรือ่ ง การเขียนภาพตัดเต็ม 5.1 ให้ทำขอ้ 1-5 ก่อน และสง่ ภายใน 30 นาที 5.2 ใหท้ ำขอ้ 6 ตอ่ และส่งภายใน 45 นาที 5.3 ใหท้ ำขอ้ 7 และขอ้ 8 ต่อ และส่งภายใน 60 นาที 6. ครตู รวจสอบการเตรียมอุปกรณเ์ ขยี นแบบของนักเรียนทกุ คน 7. ครเู ดนิ ดูนักเรยี นสงั เกตการทำแบบฝกึ หดั ห้ามไมใ่ หล้ อกซึ่งกันและกนั 8. ให้นกั เรยี นสง่ แบบฝกึ หัด ตามเวลาทกี่ ำหนด 9. เมื่อครบเวลาตามทีก่ ำหนด ครูเก็บรวบรวมใบงาน 10. ครสู ง่ั ใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 10 กำหนดส่งภายใน 5 นาที (ข้นั ตรวจประเมิน 50 นาท)ี 11. ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หดั และทำการตรวจประเมนิ หลังจากนักเรียนออกจากห้องเรยี นแล้ว 12. ครบู นั ทึกคะแนน เพ่อื เตรียมไวส้ รุปผลภายในช่ัวโมงเรยี นต่อไป การวัดผลและประเมนิ ผล การประเมินผลจากแบบฝึกหัดมีเกณฑ์การให้คะแนนดงั น้ี เร่อื ง การเขยี นภาพตัดเต็ม ข้อที่ 1 ถงึ ข้อท่ี 5 มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนดังนี้ รายการประเมิน ดี พอใช้ ปรบั ปรุง 321 1. ความถูกต้องของเสน้ ขอบรูป 2. ความถูกตอ้ งของเสน้ ลายตัด หมายเหตุ ถ้าเขียนภาพฉายเป็นภาพตัดเตม็ ไมถ่ กู ต้อง จะไม่ตรวจประเมนิ ขอ้ นั้น ข้อท่ี 6 ถงึ ขอ้ ท่ี 7 มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดังนี้ การประเมนิ เร่ือง กฎการบอกขนาด รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง 4321 1. ความถูกตอ้ งของเสน้ บอกขนาด 0.25 (หา่ งขอบรูป 10 หา่ งซึง่ กันและกัน 7 ) 2. ความถูกต้องของเส้นชว่ ยบอกขนาด 0.25 (ปลายเสน้ ชว่ ยฯ เขียนเลยปลายลกู ศร1…2)

49 3. ความถกู ตอ้ งของตวั เลขบอกขนาด (ดำชดั เจน สูง 3.5 ) 4. ความถูกตอ้ งของลกู ศรบอกขนาด (ระบายทบึ มุม 15o ยาว 2.5 …..3 ) การประเมินเร่ืองภาพตัด มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั น้ี รายการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง 432 1 1. เขียนภาพฉายถกู ตอ้ ง 2. ความถูกต้องของเส้นขอบรูป 3. ความถูกตอ้ งของเสน้ ลายตัด หมายเหตุ ถ้าเขยี นภาพฉายเป็นภาพตัดเต็มไมถ่ กู ตอ้ ง จะไมต่ รวจประเมนิ ขอ้ นั้น งานที่มอบหมาย กอ่ นเรยี น ใหน้ ักเรยี นจัดเตรยี มอุปกรณเ์ ขียนแบบประจำตัว และหนงั สือเรยี นวิชาเขียนแบบเทคนคิ เบ้อื งต้นใหพ้ ร้อม ขณะเรียน ใหน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 10 และ แบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยที่ 10 ส่งในช่วั โมงเรียน ผลงาน / ช้ินงาน / ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน 1. ใบงานของแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 10 2. แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยที่ 10 เอกสารอา้ งองิ ดอกธูป พทุ ธมงคล และคณะ. เขยี นแบบเทคนคิ 1. กรงุ เทพมหานคร: ม.ป.ป ธีระยุทธ สวุ รรณประทีป และสนั ติ ลกั ษติ านนท์. เขียนแบบวิศวกรรมเบ้ืองต้น. กรุงเทพมหานคร: นำอักษรการพิมพ,์ พมิ พ์ครงั้ ท่ี 3, 2540 บรรเลง ศรนลิ และสมนึก วัฒนศรยี กุล. ตารางคูม่ ืองานโลหะ. พมิ พค์ รั้งท่ี 4. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 2552 ประเวช มณีกลุ . เขยี นแบบเทคนิคเบื้องตน้ . กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จติ รวฒั น์, 2545 อำนวย อุดมศรี. เขยี นแบบทว่ั ไป. กรงุ เทพมหานคร: บริษัทสกายบุก๊ จำกัด, พิมพค์ รั้งท่ี 2, 2538 อำนวย อุดมศรี. เขียนแบบเทคนคิ 2. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัทสกายบกุ๊ จำกัด, 2539 อำพล ซือ่ ตรง. เขียนแบบเทคนิค 1. กรุงเทพมหานคร: สำนกั พิมพ์ศนู ย์ส่งเสริมวชิ าการ, มปพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook