Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการซ่อม ระบบปรับอากาศ รถยนต์อีซูซุดีแมคซ์ รุ่นใหม่หมด

คู่มือการซ่อม ระบบปรับอากาศ รถยนต์อีซูซุดีแมคซ์ รุ่นใหม่หมด

Published by so.chatree, 2020-06-09 06:04:57

Description: คู่มือการซ่อม ระบบปรับอากาศ รถยนต์อีซูซุดีแมคซ์ รุ่นใหม่หมด

Search

Read the Text Version

เคร่อื งระบายอากาศ, เครอ่ื งปรบั อากาศ (ทกุ ร่นุ ) 7B-199 1. ชดุ พัดลม 2. ตวั ต้านทานของพัดลม หมายเหตุ: ・ ชดุ คอมเพรสเซอร์ระบบปรบั อากาศ

7B-200 เคร่ืองระบายอากาศ, เครอื่ งปรบั อากาศ (ทกุ รุ่น) 1. คอมเพรสเซอร์ 3. โครงยดึ คอมเพรสเซอร์ 2. สายพานขับ หมายเหตุ: ・ ชุดคอนเดนเซอร์

เครอื่ งระบายอากาศ, เครือ่ งปรับอากาศ (ทกุ รุ่น) 7B-201 1. ชุดคอนเดนเซอร์ ซงึ่ รวมอยู่กบั รีซีฟเวอร์ดรายเออร์ 1. ชดุ คอนเดนเซอร์ 2. ระบบทอ่ สารทาความเย็น หมายเหตุ: 3. สวติ ชแ์ รงดัน ・ ชุดคอนเดนเซอร์ หมายเหต:ุ ・ เทอรโ์ มสตัดอเิ ลก็ ทรอนิกส์

7B-202 เคร่อื งระบายอากาศ, เครอ่ื งปรับอากาศ (ทกุ รนุ่ ) 1. แผงอวี าปอเรเตอร์ 4. ตัวเรอื นชุดตู้กระจายลมระบบปรบั อากาศ 2. เทอรโ์ มสตดั อิเล็กทรอนิกส์ 3. ชุดตู้กระจายลมระบบปรับอากาศ หมายเหต:ุ ・ เซนเซอร์ทค่ี รีบ

เครือ่ งระบายอากาศ, เคร่อื งปรบั อากาศ (ทกุ รุ่น) 7B-203 4. ตัวเรอื นชุดตู้กระจายลมระบบปรับอากาศ 1. แผงอีวาปอเรเตอร์ 2. เซนเซอร์ท่ีครีบ 3. ชดุ ตกู้ ระจายลมระบบปรับอากาศ หมายเหตุ: ・ เซนเซอร์ทค่ี รบี

7B-204 เคร่อื งระบายอากาศ, เครื่องปรับอากาศ (ทุกร่นุ ) 1. แผงอีวาปอเรเตอร์ 4. ตัวเรอื นชดุ ต้กู ระจายลมระบบปรบั อากาศ 2. เซนเซอร์ทค่ี รบี 3. ชุดตู้กระจายลมระบบปรับอากาศ หมายเหตุ: ・ ชุดคันปรับ

เคร่อื งระบายอากาศ, เครื่องปรบั อากาศ (ทุกรุ่น) 7B-205 1. หลอดไฟหน้ากาก 4. สกรู 2. ชดุ คนั ปรบั 3. หลอดไฟชดุ แผงควบคมุ หมายเหตุ: ・ ชุดคนั ปรับ 1. รเี ลยค์ อมเพรสเซอร์เครอ่ื งปรับอากาศ 3. ฟิวส์ระบบปรับอากาศ 2. รีเลย์มอเตอร์พัดลม

7B-206 เครื่องระบายอากาศ, เครอื่ งปรบั อากาศ (ทกุ รุ่น) หมายเหตุ: ・ ชุดแผงควบคุม ชดุ ควบคมุ เครอื่ งปรับอากาศ อัตโนมตั ิ 1. ชดุ แผงควบคมุ ชุดควบคุม 2. ชดุ แผงหนา้ ปัด เครอ่ื งปรับอากาศอัตโนมัติ หมายเหตุ: ・ เซนเซอรว์ ดั อณุ หภูมิอากาศภายใน

เครื่องระบายอากาศ, เครื่องปรับอากาศ (ทุกรนุ่ ) 7B-207 1. ปัม๊ สุญญากาศ 3. เซนเซอร์วดั อณุ หภมู ิอากาศภายใน 2. สายป๊ัมสญุ ญากาศ หมายเหตุ: 1. เซนเซอรว์ ดั อณุ หภมู อิ ากาศภายนอก 1. เซนเซอรว์ ดั อุณหภูมิอากาศภายนอก 2. ชดุ กนั ชนหนา้ หมายเหตุ: ・ เซนเซอร์วัดรงั สีจากแสงอาทติ ย์

7B-208 เครอื่ งระบายอากาศ, เครื่องปรบั อากาศ (ทุกรุ่น) 1. เซนเซอรว์ ดั รังสีจากแสงอาทติ ย์ RTWC7BMF001601 2. ชุดแผงหนา้ ปัด 3. ฝาครอบด้านบนของแผงหน้าปัด หมายเหตุ : ・แอกทเู อเตอรด์ ูดอากาศ

เคร่ืองระบายอากาศ, เครอื่ งปรบั อากาศ (ทกุ รุ่น) 7B-209 1. คนั รบั อากาศ 4. ชุดพดั ลม 2. คนั ปรบั โหมด 3. แอกทเู อเตอร์ดดู อากาศ 1. แอกทเู อเตอรป์ รับโหมด

7B-210 เคร่อื งระบายอากาศ, เคร่อื งปรบั อากาศ (ทุกรุ่น) 1. ฝาครอบเครื่องทาความรอ้ น 3. แอกทูเอเตอรป์ รับโหมด 2. ชดุ ตู้กระจายลมระบบปรบั อากาศ หมายเหตุ: ・ ชุดควบคมุ พดั ลม

เคร่ืองระบายอากาศ, เครอื่ งปรับอากาศ (ทุกร่นุ ) 7B-211 1. ชุดพัดลม 2. ชุดควบคุมพัดลม 2. ภาพส่วนขนั แน่น

7B-212 เครื่องระบายอากาศ, เครอ่ื งปรบั อากาศ (ทุกร่นุ ) 1:51 นวิ ตนั ・เมตร { 5.2 กิโลกรัม ・เมตร } 2:15 นิวตนั ・เมตร { 1.5 กิโลกรมั ・เมตร } 3:6.6 นิวตัน・เมตร { .7 กโิ ลกรมั ・เมตร } 4:15 นิวตัน・เมตร { 1.5 กิโลกรัม ・เมตร }

ขอ้ มูลการบารุงรักษา (ทกุ รุน่ ) 21B-1 คาอธบิ าย HVAC ข้อมลู การบารงุ รกั ษา (ทุกรุ่น) สารบัญ ข้อควรระวังในการบารุงรักษาระบบระบายอากาศ, ระบบปรับอากาศ.................................................................. 21B-2 ฟังกช์ นั , โครงสร้าง, การทางานของระบบระบายอากาศ, ระบบปรับอากาศ ........................................................ 21B-5 ขอ้ มูลจาเพาะเบือ้ งตน้ ของการบารุงรกั ษาระบบ ระบบระบายอากาศ, ระบบปรับอากาศ........................................ 21B-30 คาแนะนาในการวเิ คราะห์ปัญหาของระบบระบบระบายอากาศ, ระบบปรับอากาศ ............................................... 21B-31

21B-2 ข้อมลู การบารุงรกั ษา (ทุกรนุ่ ) ขอ้ ควรระวังในการบารุงรกั ษาระบายอากาศ , ระบบปรับอากาศ 1. ข้อควรระวงั ในการบารุงรกั ษา,ระบบระบายอากาศ, 1. ประแจช่วยยดึ ระบบปรบั อากาศ 2. ประแจทอรก์ ขอ้ ควรระวงั : เมอ่ื เชอื่ มต่อทอ่ สารทาความเยน็ ท่ีส่วนบล็อคข้อต่อ ใหส้ วมส่วนนูนของข้อต่อเข้าไปในช่องเชอื่ มต่อใหแ้ น่น ・ รักษาความสะอาดของพ้นื ท่ีทางานอยเู่ สมอ หนาแล้วยดึ ไว้ด้วยโบลต์ ・ สวมแว่นตานิรภัยทกุ ครั้งที่ทางานกับระบบ A/C ・ ระวังไอเสียที่มีคารบ์ อนมอนออกไซด์ หรอื สารทาความเยน็ ที่ปล่อยออกมา ในขณะ สตาร์ตเคร่ืองยนต์ในท่ีอับหรือในโรงซอ่ มที่มี การระบายอากาศไม่ดี ・ ก่อนเปลยี่ นหรือซอ่ มแซมระบบ A/C ต้องถอด ขว้ั ลบของแบตเตอรี่และระบายสาร ทาความเยน็ ออกก่อนทกุ คร้ัง ・ ใช้เครื่องเก็บสารทาความเยน็ ในการระบายสาร ทาความเยน็ ออก ・ ระวังเรื่องความชื้นและฝุ่นละออง ・ อุดรดู ้วยปลก๊ั หรือฝาทันทหี ลังจากถอดทอ่ สาร ทาความเยน็ หรอื ชนิ้ ส่วนและอยา่ ถอดปลกั๊ หรือฝาออกจนกว่าจะเช่อื มต่อ หรือ ติดตงั้ ทอ่ หรือช้ินส่วนอีกคร้ัง ・ เมอื่ ถอดหรอื ต่อท่อกลบั เข้าท่ีใหย้ ดึ ส่วนข้อต่อ ด้วยประแจเพอ่ื ป้องกันการบิดเบีย้ วหรอื เสียหาย ・ ทานา้ มันคอมเพรสเซอรท์ ี่โอริงก่อนต่อท่อยางหรอื ท่อ ・ เมอ่ื ถอดหรือเปลยี่ นช้นิ ส่วนซึ่งต้องนา สารทาความเยน็ ออกจากระบบ A/C ใหป้ ฏบิ ัติตามขน้ั ตอนต่อไปน:ี้ นาสารทาความเยน็ ออกจากระบบ A/C ถอดและเปลย่ี นชนิ้ ส่วนที่ชารดุ แล้วไลอ่ ากาศออก แลว้ เติมสารทาความเยน็ เข้าสรู่ ะบบ A/C ใหถ้ ึงระดับที่กาหนด การซอ่ มแซมการรั่วไหลของสารทาความเยน็ และ การเชอื่ มต่อทอ่ สารทาความเยน็ ต้องติดตง้ั โอริงใหมเ่ มอื่ ต่อท่อสารทาความเยน็ ที่ถอดออก กลับเข้าที่ เมอื่ ถอดหรอื ต่อทอ่ ใหย้ ดึ ส่วนข้อต่อด้วย ประแจ เพอ่ื ป้องกันการบิดเบย้ี วหรอื เสียหาย 1. ข้อต่อบลอ็ ค ทาน้ามันคอมเพรสเซอรท์ ่ีโอรงิ ก่อนทาการเชื่อมต่อ เนอ่ื งจากนา้ มนั คอมเพรสเซอรแ์ ตกต่างกัน ขน้ึ อยกู่ ับ ชนิดของคอมเพรสเซอร์ดังนน้ั ต้องใช้น้ามัน คอมเพรสเซอร์ที่เหมาะสมกับชนิดของคอมเพรสเซอร์

ขอ้ มูลการบารงุ รักษา (ทุกรนุ่ ) 21B-3 1. จดุ ทาน้ามันเครื่อง 1. นอต 2. โอริิง 2. หวั ต่อ สอดโอริงเข้าไปในรอ่ งของท่อสารทาความเยน็ ใหม้ นั่ คง การรั่วไหลท่ีข้อต่อท่อสารทาความเยน็ 1. โอริิง ตรวจสอบค่าแรงขันของส่วนเชอ่ื มต่อตา่ งๆ ของท่อสาร สอดท่อเข้าไปในหวั ต่อ ขน้ั แรกใหใ้ ช้มอื ขันนอต เข้าไป ทาความเยน็ หากหลวมใหข้ ันใหแ้ น่นด้วยค่าแรงขันที่ จนสุดจากนนั้ จงึ ขันนอตใหแ้ น่นด้วยค่าแรงขันท่ีกาหนด กาหนดไว้ เมอ่ื ต้องการขันใหใ้ ช้ประแจช่วยยดึ เพ่อื ป้องกัน ไว้ การบิดเบยี้ ว หรือเสียหาย อยา่ ขันใหแ้ น่นเกินไป ตรวจสอบรอยร่ัวท่ีส่วนเชอ่ื มต่อต่างๆ ของท่อสารทาความ เยน็ ถ้าพบรอยร่ัว ใหร้ ะบายสารทาความเยน็ ออกจากระบบ A/C ตรวจสอบโอริง และเปลยี่ นใหมห่ ากจาเป็น ในกรณีน้ี อยา่ นาโอรงิ ตัวเดิมกลับมาใช้ใหม่ ต้องเปลย่ี นเป็นตัวใหม่ ต้องทานา้ มนั คอมเพรสเซอร์ ท่ีโอรงิ ท่ีเปลยี่ นใหม่ ก่อน ทาการเชอื่ มต่อเสมอ ขันส่วนเชอ่ื มต่อต่าง ๆ ของทอ่ สารทาความเยน็ ตามค่าแรงขันที่กาหนดไว้ ใช้ประแจช่วย ยดึ เพอื่ ป้องกันการบิดเบ้ียว หรอื เสียหายดูดอากาศออก จากนนั้ เติมสารทาความเยน็ และตรวจสอบระบบ A/C การรั่วที่ท่อยาง เมอื่ พบสารทาความเยน็ ร่ัวออกมา จากทอ่ ยางท่ีต่อเข้า หรือต่อออกจากคอมเพรสเซอร์ ใหเ้ ปลยี่ นทอ่ ยางเส้นนน้ั ใหมท่ ั้งหมด อยา่ ใช้วธิ ี ตัดหรือต่อทอ่ ยางระบุ ตาแหน่งที่สารทาความเยน็ ร่ัว ระบายสารทาความเยน็ ออก ถอดชุดท่อยางออก หลังจากถอดท่อยางออกแลว้ ใหใ้ ช้ฝา ปิดหรือผ้าคลมุ ส่วนข้อต่อไว้ เพื่อป้องกันสง่ิ แปลกปลอม เข้าไปในวงจร A/C ติดตง้ั ชุดท่อยางใหม่เข้ากับคอมเพรสเซอรข์ ันส่วนเชื่อมต่อ ต่างๆ ของท่อยางตามค่าแรงขันที่กาหนดไว้ ดูดอากาศ ออกจากนนั้ เติมสารทาความเยน็ และตรวจสอบระบบ A/C การร่ัวท่ีคอมเพรสเซอร์

21B-4 ข้อมูลการบารงุ รกั ษา (ทกุ รุ่น) เมอื่ พบนา้ มนั คอมเพรสเซอร์รั่วออกมาจากซลี กันร่ัว เพลาหรอื เสอื้ ฯลฯ ของคอมเพรสเซอร์ ใหเ้ ปลยี่ นชุดคอมเพรสเซอร์ ใหม่ การใช้งานสารทาความเยน็ สารทาความเยน็ จะไหลเวยี นอยู่ ในระบบ A/C สารทาความเยน็ นเี้ ป็นสารเคมี ดังนนั้ จงึ จาเป็น ต้องมีขน้ั ตอนในการใช้งานพเิ ศษ เพ่อื ป้องกันอุบัติเหตุ ซึ่ง เกิดจากการใช้งานท่ีผิดพลาด เมอื่ ทาการติดตง้ั /ถอด หรือเปลย่ี นชน้ิ ส่วนต่างๆ ของวงจร A/C ต้องสวมแว่นตานิรภยั และใช้ฝาปิดหรอื ผ้าคลุมส่วนข้อต่อ ของทอ่ สารทาความเยน็ หรือตัวเครื่องไว้ ทางานในสถานท่ีท่ีมีอากาศถ่ายเทสะดวก อยา่ ทาการเช่ือม หรอื ทาความสะอาดด้วยไอนา้ ท่ีท่อ A/C หรอื ตัวเครื่องท่ีติดตงั้ อยบู่ นรถ ถ้าท่านถูกสารทาความเยน็ หกใส่ ใหล้ ้างออกด้วยน้าและไป พบแพทยท์ ันที เมอื่ มคี วามจาเป็นต้องถ่ายสารทาความเยน็ จากภาชนะใบ ใหญ่ไปไวใ้ นภาชนะใบเลก็ อยา่ เติมจนเต็ม ใหค้ านึงถึงการ ขยายติวั ของสารทาความเยน็ และเผอื่ ท่ีวา่ งในภาชนะไวด้ ้วย เก็บถังสารทาความเยน็ ไวใ้ นอุณหภูมไิ มเ่ กิน 40C {104°F} หรอื ต่ากวา่

ขอ้ มูลการบารงุ รกั ษา (ทกุ รุ่น) 21B-5 ฟงั กช์ ัน, โครงสร้าง, การทางานของระบบระบายอากาศ, ระบบปรบั อากาศ 1. ฟงั ก์ชัน, โครงสรา้ ง,การทางานของ,ระบบระบายอา- เวยี นอากาศภายในเมอ่ื ตงั้ ไวท้ ่ี \"รับอากาศภายนอก\" กาศ, ระบบปรบั อากาศ ระบบจะรบั เอาอากาศภายนอกเข้ามาตลอดเวลา คันเปลยี่ นอากาศภายใน/ภายนอกของ A/C แบบควบคุม ชุดคนั ปรับ ด้วยมือหรอื สวิตช์หมุนเวยี นอากาศภายใน หรือ ส่วนควบคุมพดั ลมจะควบคุมระดับแรงลมที่ปลอ่ ยออกมา นาอากาศภายนอกเข้าของA/Cอัตโนมัติใช้เพ่อื เลือกการ ได้ 4 ระดับจากตาแหน่ง \"LOW\" ถึงตาแหน่ง \"HIGH\" นาอากาศภายนอกเข้าหรือการหมนุ ผ่านทางสวิตช์พดั ลม 1. สวิตช์ไล่ฝ้ากระจกหลงั 4. ตัวปรบั เลือกอากาศ 2. หน้าปัดควบคมุ แรงลม 5. สวติ ช์เลอื กช่องปล่อยลมแอร์ 3. หน้าปัดควบคุมอุณหภูมิ ส่วนควบคุมพดั ลมจะควบคุมระดับแรงลมที่ ชุดแผงควบคมุ ปลอ่ ยออกมาได้ ชุดแผงควบคุมทาการเลือกช่องปล่อยลม, 4 ระดับตามชุดโมดูลพดั ลมในโหมดธรรมดา ปรบั อุณหภูมิของตัวทาความรอ้ นและการเปลย่ี น อากาศภายใน/ภายนอกชุดพดั ลมตามแอกทูเอเตอร์

21B-6 ข้อมลู การบารุงรกั ษา (ทุกรุน่ ) 1. สวติ ช์ระบบปรับอากาศ A/C 7. สวิตช์นาลมภายนอกเข้า 2. สวติ ช์ระบบปรบั อากาศ A/C 8. สวิตช์หมนุ เวียนอากาศภายใน 3. สวติ ช์อัตโนมตั ิ 9. สวิตช์ไลฝ่ ้ากระจกหลัง 4. การแสดงผลของจอแสดงผล 10. หน้าปัดควบคุมอุณหภูมิ 5. สวิตช์ควบคุมแรงลม 11. สวติ ช์เลือกช่องปล่อยลมแอร์ (สวิตช์ MODE) 6. สวิตช์ไลฝ่ ้ากระจกหน้า หน้าปัดพดั ลมควบคุมการหมุนของมอเตอรพ์ ดั ลมใน 4 สวติ ช์ควบคุมแรงลม (ตัวทาความเยน็ อัตโนมตั )ิ ระดับผ่านชุดมอเตอรพ์ ดั ลมในโหมดธรรมดา มอเตอร์พดั ลมจะถูกควบคุมด้วยสวติ ช์โดยปรับตัว ควบคุมพดั ลมซึ่งทาใหส้ ามารถปรับความแรงของลม คันเปลย่ี นอากาศภายนอก/ภายใน (แบบธรรมดา)โดย ท่ีเป่าออกมาจากช่องปลอ่ ยลมได้ เลอ่ื นก้านไปทางซา้ ยหรือขวา สามารถตงั้ สวิตช์ตามตาแหน่งทั้ง 5 ต่อไปนี้ ต่า สามารถสับเปลย่ี นได้ระหวา่ ง \"รับอากาศภายนอก\" หรือ MEDIUM LOW \"หมนุ เวียนอากาศภายใน\" MEDIUM MEDIUM HIGH สวติ ช์หมนุ เวยี นอากาศภายใน (อัตโนมตั )ิ HIGH เมอ่ื กดสวิตช์ จะเปลยี่ นเป็น \"หมนุ เวียนอากาศภายใน\" หน้าปัดพดั ลม (ตัวทาความเยน็ แบบธรรมดา) สวิตช์นาลมภายนอกเข้า (อัตโนมัต)ิ กดสวติ ช์นจ้ี ะทาใหเ้ ปลยี่ นเป็น \"รบั อากาศภายนอก\"

การถา่ ยเทอากาศ (แบบธรรมดา) ขอ้ มูลการบารงุ รักษา (ทุกรุน่ ) 21B-7 เมอ่ื คันเปลยี่ นอาการ์ภายใน / ภายนอกถูกตงั้ ไวท้ ่ี \"รบั การถา่ ยเทอากาศ (อัตโนมัต)ิ อากาศภายนอก\"ระบบจะรับเอาอากาศภายนอกเข้ามา เมอ่ื กดป่มุ รับอากาศภายนอก จะรบั อากาศภายนอกเข้ามา ตลอดเวลา พดั ลมจะมีฟงั ก์ชันสาหรับรกั ษาระดับการ ตลอดเวลา พดั ลมจะมีฟังก์ชันสาหรบั รกั ษาระดับ การ ระบายอากาศท่ีเหมาะสมโดยการรบั เอาอากาศภายนอก ระบายอากาศที่เหมาะสม โดยการรบั เอาอากาศภายนอก เข้ามาในหอ้ งโดยสาร เมอื่ คันเปลย่ี นอากาศภายใน/ เข้ามาในหอ้ งโดยสาร เมอ่ื กดปมุ่ หมุนเวียน อากาศภายใน ภายนอกถูกตง้ั ไว้ที่ \"หมุนเวยี นอากาศภายใน \"ระบบจะ จะหมนุ เวียนอากาศภายในตลอดเวลา โดยไมร่ ับอากาศ ภายนอกเข้ามา หมุนเวยี นอากาศภายในโดยไม่รับอากาศภายนอก 1. ประตูรบั อากาศ 3. มอเตอรพ์ ดั ลม 2. พดั ลมเป่า สวติ ช์เลอื กช่องปลอ่ ยลมแอร์ (สวติ ช์ MODE) หนา้ ปดั เลอื กช่องปล่อยลมแอร์ (ควบคมุ ดว้ ยมือ) (อัตโนมัต)ิ สามารถใช้หน้าปัดนเี้ ลอื กช่องปล่อยลมได้ ช่องปลอ่ ย สามารถใช้สวิตช์นเี้ ลือกช่องปลอ่ ยลมได้ ช่องปล่อยลม ลมจะได้รับการเลอื กโดยการปรบั ตาแหน่ง ของประตู จะได้รับการเลอื ก โดยการปรับตาแหน่งของประตู ปรับโหมดแบบหมนุ เวียนภายในเคร่ือง ทาความรอ้ น ปรบั โหมดแบบหมนุ เวียนภายในเคร่ืองทาความร้อน ประตู ปรบั โหมดนจี้ ะทาหน้าที่ปรบั ช่วงการ เปิดช่อง ประตูปรบั โหมดน้ี จะทาหน้าท่ีปรับช่วงการเปิดช่อง ปล่อยลมแต่ละช่องของชุดเคร่ืองทาความร้อนและกนั้ ปลอ่ ยลมแต่ละช่องของชุดเคร่ืองทาความรอ้ นและกน้ั ส่วนเปิดช่วยใหส้ ามารถเลือกรปู แบบการปลอ่ ยลม ส่วนเปิด ช่วยใหส้ ามารถเลอื กรูปแบบการปล่อยลม ได้ถึง 3 แบบ ได้ถึง 5 แบบ

21B-8 ขอ้ มลู การบารุงรักษา (ทุกรุ่น) พืน้ เมอื่ ตง้ั ไว้ท่ีตาแหน่งน้ี อากาศท้ังหมดจะจา่ ยไป ท่ีเทา้ ผ่านทางท่อลมที่เท้า 5 สามารถเลอื ก \"ไล่ฝ้า\" ได้โดยกดสวิตช์ไล่ฝ้า A/C เปลยี่ นเป็น ON โดยอัตโนมตั ิเมอื่ กดสวติ ช์ไล่ฝ้า ไลฝ่ า้ /พน้ื เมอื่ ตง้ั ไว้ท่ีตาแหน่งน้ี อากาศในชุดเคร่ืองทาความรอ้ น ดา้ นหนา้ (อัตโนมัต)ิ จะถูกแบ่งออกเป็นสองกลมุ่ และปลอ่ ยผ่านทอ่ ไล่ฝ้า 3 เมอ่ื ตงั้ ไวท้ ี่ตาแหน่งน้ี ลมจะปล่อยเข้าไปในหอ้ ง โดย และ 4 และท่อลมที่เท้า 5 สารผ่านทางทอ่ ระบายอากาศ 1 และ 2 แรงลมจะได้ รับการควบคุม โดยป่มุ สวติ ช์พดั ลม ไล่ฝา้ (อัตโนมัต)ิ เมอ่ื ตง้ั ไวท้ ่ีตาแหน่งนี้ อากาศปริมาณมากจะถูกจา่ ย ดา้ นหนา้ (แบบธรรมดา) ไปที่กระจกหน้า 4 และอากาศปริมาณน้อยจะถูกจา่ ย เมอื่ ตง้ั ไวท้ ี่ตาแหน่งนี้ ลมจะปลอ่ ยเข้าไปในหอ้ ง โดย ไปที่กระจกข้าง 3 สารผ่านทางทอ่ ระบายอากาศ 1 และ 2 แรงลมจะได้ รบั การควบคุมโดยหน้าปัดพดั ลม สองระดบั เมอ่ื ตง้ั ไวท้ ี่ตาแหน่งนี้ อากาศในชุดเครื่องทาความรอ้ น จะถูกแบ่งออกเป็นสองกลมุ่ และจา่ ยเข้าไปในหอ้ งโดย สาร ผ่านทางท่อระบายอากาศ 1 และ 2 และท่อลมที่ เท้า 5 หมายเหตุ: ・ แผนภาพการทางานของประตูปรับโหมด

ขอ้ มูลการบารงุ รกั ษา (ทกุ รุ่น) 21B-9 ใบหน้า สองระดับ พื้น ไล่ฝา้ /พนื้ ไล่ฝ้า 1. ประตูปรับโหมด สาหรบั ไล่ฝ้า 4. ประตูปรบั โหมด สาหรับด้านหน้า 2. แผงอีวาพอเรเตอร์ (แผงคอล์ยเยน็ ) 3. ประตูปรบั โหมด สาหรับพนื้ หมายเหตุ: ・ แผนภาพโครงสรา้ งประตูปรับโหมด โหมด สองระดับ

21B-10 ข้อมลู การบารงุ รกั ษา (ทกุ รนุ่ ) ไปยงั ทอ่ ระบาย ไปยังท่อไล่ฝ้า ไปยังท่อลมท่ีเทา้ 1. ประตูปรบั โหมด สาหรับไล่ฝ้า 4. ประตูปรบั โหมด สาหรับด้านหน้า 2. แผงอีวาพอเรเตอร์ (แผงคอล์ยเยน็ ) 3. ประตูปรบั โหมด สาหรับพนื้ หน้าปดั ควบคมุ อุณหภูมิ (อัตโนมัต)ิ สามารถใช้หน้าปัดนป้ี รบั ความเยน็ จาก MAX COLD ถึง ปุ่มควบคมุ อณุ หภมู ิ (ควบคมุ ดว้ ยมือ) MIN COLD ได้โดยปรับอุณหภมู ิของอากาศที่ ปลอ่ ยออก สามารถใช้ปมุ่ นป้ี รับความเยน็ จาก MAX COLD ถึง MIN จากช่องอากาศ COLD ได้โดยปรับอุณหภมู ขิ องอากาศที่ ปล่อยออก จากช่องอากาศ หมายเหตุ: ・ เมอ่ื ตงั้ ไวท้ ่ี \"MAX COLD\" (โหมด ด้านหน้า) อากาศเยน็

ขอ้ มลู การบารุงรักษา (ทุกรุ่น) 21B-11 1. ประตูปรบั โหมด สาหรับไล่ฝ้า 4. ประตูปรับโหมด สาหรบั ด้านหน้า 2. แผงอีวาพอเรเตอร์ (แผงคอลย์ เยน็ ) 3. ประตูปรับโหมด สาหรับพนื้ ฟังก์ชันดังกล่าวประกอบไปด้วยการตรวจความดันสารทา ความเยน็ ผิดปกติของสวิตช์แรงดัน, การตรวจอุณหภมู ิ ระบบปรบั อากาศ ของลมท่ีเป่าออกมาโดยใช้สวิตช์อุณหภมู เิ พือ่ ป้องกัน นา้ แข็งตัวที่แผงคอยล์เยน็ และการตรวจอุณหภูมนิ า้ ส่วนประกอบของ A/C ในรถคันนม้ี ดี ังต่อไปนี้ คอมเพรส เครื่องยนต์ด้วยสวติ ช์อุณหภมู ิ ท่ีมีในรถยนต์บางชนิด เซอร,์ อีวาพอเรเตอร,์ คอนเดนเซอร์, สวิตช์พดั ลม ฯลฯ วงจร A/C A/C จะเริ่มทางานเมอื่ สวิตช์ พดั ลมอยทู่ ่ีตาแหน่ง เปิด วงจร A/C จะมหี น้าที่ 4 ประการตามท่ีอธบิ ายไว้ด้านล่างนี้ (ON)และแมคเนติกคลตั ช์ จะเริ่มเข้าประสานเมอ่ื เคร่ือง สารทาความเยน็ จะไหลเวยี นไปพรอ้ มกับเปลย่ี นสถานะไป ยนต์กาลังเริ่มสตาร์ตนอกจากนนั้ มันจะหยดุ ทางานเมอื่ มาจากของเหลวเป็นก๊าซแลว้ จงึ เป็นของเหลว บิดสวติ ช์พดั ลมไปที่ \"OFF\"นอกจากสวติ ช์นแี้ ล้ว ยงั มี ฟังก์ชันบางตัวท่ีทาหน้าท่ีช่วั คราวในการตัดการทางาน ช่องลมดา้ นขา้ ง ของ A/C ตามระบบในวงจร A/C ละลายฝ้าดา้ นขา้ ง ละลายฝ้ากระจก ละลายฝ้าดา้ นข้าง ชอ่ งลมดา้ นข้าง ชอ่ งลมกลาง บังลมหน้า อากาศภายนอก แกส๊ ท่ีมคี วามดันสงู , อณุ หภูมิสงู ลมระบายความรอ้ น แกส๊ ผสมของเหลวทม่ี ีความดันสงู และอณุ หภูมสิ ูง ของเหลวที่มีอณุ หภูมิปานกลาง, ความดนั สูง แกส๊ ผสมของเหลวท่ีมคี วามดันต่า, อณุ หภูมสิ งู แกส๊ ความดนั ต่าอุณหภูมิต่า 1. คอมเพรสเซอร์ 7. แผงอีวาพอเรเตอร์ (แผงคอลย์ เยน็ ) 2. แมกเนติกคลัตช์ 8. มอเตอรพ์ ดั ลม 3. สวติ ช์แรงดัน 9. ตัวระบายอากาศ 4. คอนเดนเซอรซ์ ึ่งรวมอยกู่ ับรซี ฟี เวอรด์ รายเออร์ 10. ประตูควบคุมโหมด(ไลฝ่ ้า/พืน้ ) 5. ชุดอีวาพอเรเตอร์ 11. ประตูควบคุมโหมด(ระบายอากาศ) 6. เอ็กแพนช่ันวาลว์ 12. เทอร์โมสตัดอิเลก็ ทรอนิกส์

21B-12 ขอ้ มลู การบารุงรักษา (ทกุ รนุ่ ) คอมเพรสเซอร์ การระเหย คอมเพรสเซอรจ์ ะบีบอัดไอสารทาความเยน็ ที่มีความดัน สารทาความเยน็ จะเปลยี่ นสถานะจากของเหลวเป็นก๊าซ และอุณหภูมิต่าจากคอยลเ์ ยน็ ใหม้ คี วามดันและอุณหภูมิ ภายในคอยลเ์ ยน็ สารทาความเยน็ ในสถานะก๊าซจะ สูงแล้วส่งไปยงั คอนเดนเซอร์ เพ่อื ใหก้ ารกระจายความ ระเหยทันทีท่ีเข้าไปในคอยล์เยน็ เมอื่ สารทาความเยน็ ร้อนโดยอากาศภายนอกทาได้ง่ายขนึ้ คอมเพรสเซอร์ ระเหย สารทาความเยน็ จะดูดเอาความร้อนออกจาก ความจตุ ายตัวแบบใบพดั หมนุ CR12Sb ผลิตโดย Calsonic อากาศรอบๆ ครบี ระบายความรอ้ นที่แผงคอยลเ์ ยน็ Kansei มโี ครงสร้างอยา่ งง่าย, ขนาดกะทัดรดั น้าหนักเบา อากาศ ท่ีสูญเสียความรอ้ นจะเยน็ ลงและถูกส่งเข้า และสามารถแขวนได้ดีกวา่ นอกจากนน้ั ยงั ลดจานวนของ ไปในรถโดยพดั ลมเพอื่ ลด อุณหภมู ภิ ายในหอ้ งโดย องค์ประกอบ ทำใหม้ ีราคาต่อประสิทธิภาพท่ีคมุ้ ค่า สาหรับ สารของรถ สารทาความเยน็ ที่เป็นของเหลวซึ่งถูกส่ง เสียงรบกวน จะทาการปล่อย 10 ครั้งต่อการหมนุ ดังนนั้ การ จากวาลว์ ลดแรงดัน และสารทาความเยน็ ที่เป็นก๊าซ ไหลของสารทาความเยน็ จงึ ราบรื่นและเงียบเนอ่ื งจากมกี าร ระเหย จะอยรู่ ว่ มกัน ในคอยล์เยน็ และสารทาความ อุดตันน้อยในทอรก์ ปริมาณน้ามันท่ีกาหนดเทา่ กับ 150 ลูก เยน็ จะเปลยี่ นสถานะ จากของเหลวเป็นก๊าซในระหว่าง บาศก์เซนติเมตร การเปลย่ี นสถานะจากของเหลวเป็นก๊าซความดันภายใน คอยลเ์ ยน็ จะถูกควบคุมใหต้ ่าเพื่อใหส้ ารทาความเยน็ ระเหยใน อุณหภมู ทิ ่ีตา่ เพอื่ ใหส้ ามารถทาเช่นนนั้ ได้ สารทาความเยน็ ที่เป็นก๊าซจะถูกดูดเข้าไปภายใน คอมเพรสเซอร์และปล่อยออกไปภายนอกคอยลเ์ ยน็ การบบี อดั สารทาความเยน็ จะถูกบีบอัดโดยคอมเพรสเซอร์ จน กระท่ังสามารถเปลยี่ นกลับเป็นของเหลวได้ท่ีอุณหภมู ิ หอ้ งสารทาความเยน็ ท่ีระเหยภายใน คอยล์เยน็ จะถูกดูด เข้าไปในคอมเพรสเซอร์ สารทาความเยน็ ท่ีถูกดูดเข้า ไปในคอมเพรสเซอร์ จะถูกบีบอัดภายในกระบอกสูบ ความดันของ สารทาความเยน็ จะเพิ่มสูงขนึ้ เพอื่ ให้ สามารถเปลยี่ นเป็นของเหลวได้ท่ีอุณหภูมอิ ากาศภาย นอก การควบแนน่ สารทาความเยน็ ภายในคอนเดนเซอร์จะถูกทาใหเ้ ยน็ ลงโดยอากาศภายนอกและเปลยี่ นสถานะจากก๊าซเป็น ของเหลวก๊าซที่มอี ุณหภมู ิและความดันสูงจากคอมเพรส เซอรจ์ ะถูกทาใหเ้ ยน็ ลงและเปลยี่ นเป็นของเหลวโดยคอน เดนเซอร์และอากาศภายนอกและเก็บไว้ในรซี ฟี เวอร์ดราย เออร์ความรอ้ นที่กระจายออกจากคอมเพรสเซอรส์ อู่ ากาศ ภายนอกโดยสารทาความเยน็ ท่ีมอี ุณหภูมิและความดันสูง เรยี กวา่ ความรอ้ นควบแน่นปริมาณความรอ้ นนเ้ี ป็นผลรวม ของความรอ้ นท่ีสารทาความเยน็ นาออกมาจากภายในรถ ผ่านทางอีวาพอเรเตอรแ์ ละกระบวนการทางานใน ระหว่างการบีบอัด การขยายตวั วาล์วลดแรงดันจะลดความดันของสารทาความเยน็ ที่เป็น ของเหลวเพ่อื ใหส้ ามารถระเหยได้ง่ายกระบวนการลด ความดันของสารทาความเยน็ ที่เป็นของเหลวก่อนส่งไป ที่คอยลเ์ ยน็ เพ่อื ใหส้ ามารถระเหยได้ง่ายเรยี กว่าการ ขยายตัวนอกจากนวี้ าลว์ ลดแรงดันจะควบคุมปรมิ าณการ ไหลของสารทาความเยน็ ที่เป็นของเหลวในระหวา่ งการ ลดความดันหรือกลา่ วได้ว่าเนอื่ งจากปริมาณของสารทา ความเยน็ ท่ีเป็นของเหลวที่จะระเหยภายในคอยลเ์ ยน็ จะถูกกาหนดโดยปรมิ าณของความร้อนที่ได้มาที่อุณหภู มกิ ารระเหยที่กาหนดไว้ ดังนน้ั สง่ิ สาคัญคือการควบคุม ปรมิ าณของสารทาความ เยน็ ไม่ใหม้ ากหรอื น้อยเกินไป

ขอ้ มูลการบารุงรักษา (ทกุ รุ่น) 21B-13 1. คอมเพรสเซอร์ ดังนนั้ คลชั ต์คอมเพรสเซอรจ์ ะส่งกาลังจากเคร่ืองยนต์ เมอ่ื A/C อยทู่ ่ี เปิด (ON) เพอ่ื กระตนุ้ การทางาน ของ แมคเนตกิ คลตั ช์ คอมเพรสเซอรแ์ ละจะหยดุ ส่งกาลงั จาก เครื่องยนต์เมอื่ คอมเพรสเซอร์จะได้รบั การขับเคลอื่ นโดย สายพานขับ จากพลู เลยเ์ พลาข้อเหวี่ยงของเคร่ืองยนต์อยา่ งไรก็ตาม A/C อยทู่ ี่ ปิด (OFF) คอมเพรสเซอรไ์ ม่ควรถูกขับเคลอ่ื นในแต่ละคร้ังที่สตาร์ต เครื่องยนต์เพราะจะเป็นการเพ่มิ โหลดใหแ้ ก่เคร่ืองยนต์

21B-14 ขอ้ มูลการบารงุ รกั ษา (ทุกรนุ่ ) 1. แมกเนติกคลตั ช์ คอนเดนเซอร์ คอนเดนเซอรจ์ ะบังคับใหส้ ารทาความเยน็ ที่เป็นก๊าซที่มี อุณหภมู แิ ละความดันสูงซ่งึ ส่งมาจากคอมเพรสเซอรเ์ ยน็ ลง และเปลยี่ นเป็นนา้ ด้วยอากาศภายนอก ถ้าคอนเดนเซอร์ อุดตันหรือกระแสลมท่ีพดั เข้าไปใน ครบี ระบายความร้อน ของคอนเดนเซอร์ถูกขวางทางไว้ ประสิทธิภาพการทา ความเยน็ ของคอนเดนเซอรจ์ ะไมเ่ พยี งพอและการโหลด ของเคร่ืองยนต์เพิ่มขนึ้ เนอื่ งจากความดันในวงจรสารทา ความเยน็ สูงขนึ้ โดยปกติแลว้ เมอื่ คอนเดนเซอร์ทางาน เป็นปกติ ทอ่ จา่ ยสารทาความเยน็ ของคอนเดนเซอร์จะเยน็ กว่าทอ่ เข้านอกจากนย้ี งั ติดตง้ั พดั ลมไฟฟา้ เพอ่ื เพิม่ ประ- สิทธิภาพในการทาความเยน็ 1. ชุดคอนเดนเซอร์ ซึ่งรวมอยกู่ ับรซี ฟี เวอรด์ ราย เออร์ รซี ฟี เวอร์ดรายเอร์ รซี ฟี เวอรด์ รายเออรจ์ ะประกอบด้วยฟังก์ชันต่อไปน้ี ปรมิ าณของสารทาความเยน็ ที่ไหลเวยี นอยจู่ ะเปลยี่ นไป ตามสภาพของวงจร A/C ดังนน้ั รซี ฟี เวอรด์ รายเออรจ์ ะเก็บ สารทาความเยน็ ไวใ้ นปริมาณที่เพยี งพอ เพ่อื ใหว้ งจร A/C ทางานได้อยา่ งราบรื่นสอดคลอ้ ง

ขอ้ มูลการบารงุ รกั ษา (ทกุ รุน่ ) 21B-15 กับการเปลยี่ นแปลงของปรมิ าณสารท่ีหมุนเวียนอยู่ 1. ชุดคอนเดนเซอร์ ฟองของสารทาความเยน็ ที่เป็นก๊าซจะรวมอยใู่ น สารทาความเยน็ ท่ีเป็นของเหลวจาก คอนเดนเซอร์ 2. ระบบท่อสารทาความเยน็ ถ้าสารทาความเยน็ ท่ีมีฟองถูกส่งไปยงั วาล์วลดแรงดัน 3. สวิตช์แรงดัน ประสิทธภิ าพในการทาความเยน็ อาจลดลงอยา่ งมาก ดังนนั้ รีซฟี เวอร์ ดรายเออรจ์ ะแยกของเหลวออกจากฟอง และส่งเฉพาะของเหลวไปยงั วาล์วลดแรงดันฝนุ่ และน้า ท่ีอยใู่ นสารทาความเยน็ ท่ีหมุนเวียนอยจู่ ะถูกแยกออก โดยตัวกรองและดรายเออรภ์ ายใน รีซฟี เวอรด์ รายเออร์ การอุดตันภายในรซี ฟี เวอร์ดรายเออรอ์ าจเป็นสาเหตุให้ ประสิทธิภาพของ A/C ลดต่าลง เมอ่ื เกิดการอุดตันขน้ึ ที่ช่องทางเข้าของรีซฟี เวอร์ดราย เออร์ความดันของสารทาความเยน็ จะเพมิ่ สูงขนึ้ และ ความดันจะลดต่าลง เมอื่ เกิดการอุดตัน ที่ช่องทางออก ในท้ังสองกรณี การทาความเยน็ แทบจะไมเ่ กิดขนึ้ ถ้า ทอ่ ท่ีช่องทางออกของรีซฟี เวอร์ ดรายเออรเ์ ยน็ ผิดปกติ แสดงว่ามกี ารอุดตันขน้ึ สวติ ช์แรงดัน สวิตช์แรงดัน จะติดตง้ั อยทู่ ่ีท่อแรงดันสูงภายในฝาปิด ด้านหน้าสวติ ช์แรงดันสูงจะตรวจดูสารทาความเยน็ วา่ มคี วามดันสูงผิดปกติหรือไม่สวิตช์แรงดันต่าจะตรวจดู การร่ัวของสารทาความเยน็ เพือ่ ป้องกันการยดึ เกาะ คอมเพรสเซอร์โดยเปิดหรอื ปิดคลัตช์ที่วาลว์ ความดัน ล่วงหน้า รายการ สวิตช์แรงดัน แรงดันควบคุม การควบคุมความดันต่า สวิตช์แรงดันต่า การควบคุมความดันสูง สวิตช์แรงดันสูง การปฏบิ ัติการ คอมเพรสเซอร์ คอมเพรสเซอร์ :2840 ถึง 3040 กิโลปาสคาล { 29.0 ถึง 31.0 ON :176 ถึง 216 กิโลปาสคาล { 1.8 ถึง 2.2 กก./ตร.ซม. / 412 ถึง 441 ปอนด์ต่อตร.นว้ิ ิ} กก./ตร.ซม. / 26 ถึงิ31 ปอนด์/ตร.นวิ้ ิ} OFF :195 ถึง 255 กิโลปาสคาล { 2.0 ถึง 2.6 100 - 200 กิโลปาสคาล ความดันตา่ กว่าความดัน กก./ตร.ซม. / 28 ถึงิ37 ปอนด์/ตร.นวิ้ ิ} ปฏบิ ัติการ \"ON\" คอยล์เย็น ของเหลวความดันสูงซ่ึงส่งมาจากรีซฟี เวอร์ดรายเออร์จะ คอยล์เยน็ จะเปลยี่ นสารทาความเยน็ ที่เป็นของเหลวซึ่งมี ผ่านกระบวนการบีบอัดเมอ่ื ไหลผ่านวาลว์ ลดแรงดันซึ่งจะ ความดันและอุณหภมู ิต่าซง่ึ ส่งมาจากวาลว์ ลด แรงดันใน เปลย่ี นเป็นสารทาความเยน็ ท่ีเป็นของเหลวความดันต่าใน รูปของของเหลวไปเป็นก๊าซโดยผ่านการแลกเปลย่ี น รูปของของเหลวกอ่ นจะ ถูกส่งไปยงั แผงคอยล์เยน็ ความรอ้ นกับอากาศที่ส่งมาจากมอเตอร์พดั ลมความรอ้ น ในการระเหยซึ่งเกิดขน้ึ เมอื่ สารทาความเยน็ ที่เป็นของ เอ็กแพนชัน่ วาล์วจะประกอบไปด้วยเซนเซอรอ์ ุณหภูม,ิ เหลวระเหยเป็นก๊าซจะทาใหค้ อยล์เยน็ และครีบของแผง ไดอะแฟรม, บอลวาลว์ , สกรูปรับสปรงิ ฯลฯ เซนเซอร์ คอยล์เยน็ เยน็ ลงซึง่ ทาใหอ้ ากาศท่ีส่งมาจากมอเตอรพ์ ดั อุณหภมู ิจะสัมผัสกับทอ่ ทางออกของคอยลเ์ ยน็ และควบ ลมเยน็ ลงตามไปด้วยความช้นื ในอากาศจะถูกทาใหเ้ ยน็ คุมปรมิ าณการไหลของสารทาความเยน็ โดยการแปลง ลงและรวมตัวกันเป็นหยดนา้ ทาใหค้ วามชนื้ ภายในรถจะ ความแปรผันของอุณหภมู ิเป็นความดันเพือ่ ใช้งาน ถูกขจดั ออกไปพร้อมกับหยดน้าเหลา่ นี้ ไดอะแฟรม นอกจากนว้ี าล์วลดแรงดันยงั สามารถใช้เพ่อื ปรบั ปรมิ าณการไหลของสารทาความเยน็ เพอ่ื ใหม้ น่ั ใจ วาล์วลดแรงดัน ได้ว่าอุปกรณ์ทกุ ชิ้นในวงจร A/C จะทางานได้อยา่ งเต็ม วาลว์ ลดแรงดันเป็นวาล์วความดันภายนอกและถูกติดตงั้ ประสิทธภิ าพดังนนั้ ความผิดปกติของวาล์วลดแรงดัน ในด้านเข้าของแผงคอยล์เยน็ สารทาความเยน็ ทเ่ี ป็น จะเป็นสาเหตุใหค้ ่าความดันที่ช่องทางออกและช่องทาง เข้าตกลงและสง่ ผลใหป้ ระสิทธิภาพการทาความเยน็ ของ อีวาพอเรเตอร์ไมเ่ พยี งพอ

21B-16 ข้อมลู การบารงุ รกั ษา (ทุกรนุ่ ) เมอ่ื มกี ารอุดตันเกิดขน้ึ ภายในทอ่ ยางความดันต่า ความ ดันท่ีช่องทางเข้าและช่องทางออกของคอมเพรสเซอร์ 1. แผงอีวาพอเรเตอร์ (แผงคอลย์ เยน็ ) จะตกลงและสูญเสียประสิทธภิ าพการทความเยน็ ทอ่ ยาง 2. เอ็กแพนชัน่ วาลว์ ความดันสูงเมอ่ื มกี ารอุดตันเกิดขน้ึ ภายในท่อยางความ สวติ ช์อณุ หภูมิ ดันสูงจะเกิดการร่ัวที่ทอ่ จา่ ยเป็นประจาทอ่ ความดันสูง สวติ ช์อุณหภูมใิ ช้อุปกรณ์ขยายและเทอร์มสิ เตอร์ เพ่อื เมอื่ มกี ารอุดตันเกิดขนึ้ ภายในท่อความดันสูง ความดันที่ ลดระดับของเสียงการทางาน ฯลฯ เซนเซอรท์ ี่ครีบจะ ช่องทางเข้าและช่องทางออกจะตกลงส่งผลใหป้ ระสิทธิ ติดตงั้ อยทู่ ี่ช่องทางออกของแผงอีวาพอเรเตอร์และ ภาพการทาความเยน็ ไมเ่ พยี งพอท่อยางความดันตา่ และ ทาหน้าท่ีตรวจจบั อุณหภูมิของอากาศท่ีผ่านแผง ความดันสูงแบบยดื หยนุ่ เป็นท่อยางกันรั่วหมุ้ ด้วยไนลอน อีวาพอเรเตอร์ค่า OFF เทา่ กับ 2.7 °C {36.9 °F} อยทู่ ่ีช้ันในสุดของทอ่ นอกจากนยี้ งั ได้รบั การออกแบบ และค่า ON เท่ากับ 6.2 °C {43.2 °F} ใหส้ ามารถติดตง้ั กับข้อต่อหมุนรอบเพ่ือป้องกันการร่ัว ของสารทาความเยน็ ออกสอู่ ากาศ เมอ่ื เช่ือมต่อเคร่ือง- มือบริการได้ด้วย 1. แผงอีวาพอเรเตอร์ (แผงคอลย์ เยน็ ) 1. โพลีเอสเตอร์ 2. เซนเซอรท์ ี่ครีบ 2. ช้นั ยางด้านนอก 3. ชุดอีวาปอเรเตอร์ และเครื่องทาความรอ้ น 3. ชน้ั ยางด้านใน 4. ช้นั ไนลอน ทอ่ สารทาความเย็น ถ้ามีการอุดตันเกิดขน้ึ ในท่อสารทาความเยน็ A/C อัตโนมัติเต็มรปู แบบ A/C จะมีอาการต่อไปนเ้ี กิดขน้ึ ท่อยางความดันต่า ใช้เซนเซอร์หลายประเภทเพอ่ื ตรวจอุณหภมู ภิ ายนอก, ปรมิ าณรงั สีจากแสงอาทิตยท์ ี่ได้รบั , อุณหภูมิของลม ที่เป่าของคอยล์เยน็ , อุณหภูมนิ า้ ของชุดคลัชต์พดั ลม และอุณหภูมิภายในรถ ข้อมูลท่ีได้จะถูกใส่ลงในส่วน ควบคุมของ A/C อัตโนมัติเพ่ือควบคุม อุณหภูมขิ องลม ที่เป่า, ปริมาณลมท่ีเป่า สวิตช์ ON-OFF ของคอมเพรส เซอร,์ สวิตช์ทางออก และอน่ื ๆ นอกจากนน้ั ยงั สามารถควบคุมแต่ละหน่วยควบคุม อัตโนมัติได้ด้วยมือโดยการปิดฟงั ก์ชัน อัตโนมตั ิ หน่วยควบคุม A/C อัตโนมตั ิพร้อมไมโครคอมพวิ เตอร์ ในตัว มาพร้อมกับฟังก์ชันวิเคราะหต์ ัวเอง เพือ่ ใหส้ ามารถ เข้าใช้งานและวเิ คราะหจ์ ดุ ที่เป็นปัญหาได้ง่ายขน้ึ

ขอ้ มลู การบารงุ รกั ษา (ทกุ รุ่น) 21B-17 RTWC7BXF000301

21B-18 ขอ้ มลู การบารุงรกั ษา (ทุกรุ่น) หมายเหตุ: ・ แผงควบคุม 1. สวิตช์ระบบปรบั อากาศ A/C 7. สวติ ช์นาลมภายนอกเข้า 2. สวิตช์ระบบปรับอากาศ A/C 8. สวติ ช์หมุนเวียนอากาศภายใน 3. สวิตช์อัตโนมัติ 9. สวติ ช์ไล่ฝ้ากระจกหลงั 4. การแสดงผลของจอแสดงผล 10. หน้าปัดควบคุมอุณหภูมิ 5. สวติ ช์ควบคุมแรงลม 11. สวิตช์เลือกช่องปลอ่ ยลมแอร์ (สวติ ช์ MODE) 6. สวิตช์ไล่ฝ้ากระจกหน้า หมายเหตุ: ・ การทางานของสวิตช์แผงควบคุมและฟงั ก์ชันท่ัวไป

ช่ือสวติ ช์ตา่ งๆ ข้อมลู การบารงุ รักษา (ทกุ รุ่น) 21B-19 ส ิวตช์ ิปด ภาพรวมฟงั ชันกแ์ ละการทางานของสวติ ช์ กดสวติ ช์หยดุ ท้ังพดั ลมและระบบปรับอากาศ ส ิวตช์ป ัรบอากาศ กดสวติ ช์ A/C เพื่อใช้งานระบบปรับอากาศไฟแสดงภายในสวติ ช์ จะติดสวา่ งขนึ้ เพ่ือแสดงว่าระบบปรับอากาศทางานอยู่ ไฟแสดงจะดับลง ส ิวตช์อัตโนมั ิต หากเครื่องปรับอากาศไมไ่ ด้ทางาน สาหรับรุ่นท่ีมีเคร่ืองทาความรอ้ น ยสั ามารถใช้งานระบบปรับอากาศในการไล่ความชื้นในขณะท่ีเปิดใช้เคร่ือง ทาความร้อนอยไู่ ด้ กดสวิตช์ AUTO เพ่ือใช้งานระบบปรับอากาศในโหมดอัตโนมตั ิแบบ สมบูรณ์ได้เมอื่ กดสวติ ช์ \"AUTO\" จะปรากฏบนหน้าจอแสดงผล และ ระบบจะเลือกช่องปล่อยลม ความเรว็ พดั ลม และตัวแปรอนื่ ๆ ของการปรับอากาศท่ีเหมาะสมท่ีสุดใหโ้ ดยอัตโนมตั ิ ใช้สวติ ช์นห้ี ากต้องการเลือกระดับแรงลมด้วยตนเอง กด\"+\" เพื่อ เพิ่มแรงลมและกด \"-\" เพอ่ื ลดแรงลมแรงลมสามารถปรับได้ถึง 5 ระดับ ส ิวต ์ชควบคุมระดับ ส ิวตช์ไ ่ลฝ้า ใช้สวติ ช์นใ้ี นการไลฝ่ ้า หรอื ละลายน้าแข็งบนกระจกหน้าหากกด สวิตช์น้ี หน้าจะจะแสดงสัญลกั ษณ์ \"'li' ,.J\" และไฟแสดงภายในสวติ ช์จะติด ส ิวตช์ ระบายอากาศ สว่างขนึ้ ระบบปรบั อากาศจะเปิดทางานขนึ้ การกดสวติ ช์ระบายอากาศภายนอก จะทาใหไ้ ฟแสดงภายในสวิตช์ ติดสวา่ ง และจะเปลยี่ นไปสโู่ หมดระบายอากาศภายนอกใช้โหมดนใ้ี น การระบายอากาศภายในหวั เก๋ง ( ควรเลือกใช้โหมดนเี้ สมอ ) RTW C7BXF000101

21B-20 ขอ้ มูลการบารุงรกั ษา (ทกุ ร่นุ ) หมายเหตุ : ・การทางานและฟังก์ชันทั่วไปของสวิตช์แผงควบคุม

ชือ่ สวติ ช์ต่างๆ ขอ้ มูลการบารุงรักษา (ทุกร่นุ ) 21B-21 ส ิวตช์หมุนเ ีวยน ภาพรวมการทางานและฟังก์ชันของสวิตช์ต่างๆ อากาศภายใน การกดสวติ ชห์ มนุ เวยี นอากาศภายใน จะทาใหไ้ ฟแสดงภายในสวิตช์ ตดิ ส ิวต ์ชไล่ฝ้า สวา่ ง,และเปลีย่ นเขา้ ส่โู หมดหมุนเวยี นอากาศภายใน ใชโ้ หมดนี้เพ่อื ปอ้ งกนั ฝนุ่ หรือมลพิษเข้ามาภายในห้องโดยสาร (เช่นบรเิ วณลาคลอง ห ้นาปัดคว ุคม ุอณหภูมิ หรอื บรเิ วณทอ้ งถนนที่การจราจรตดิ ขดั ) สวตช์ Mode ใชส้ วติ ชน์ ้สี าหรับการไลฝ่ า้ หรอื ละลายนา้ แข็งบนกระจกหลงั เมอื่ สวิตช์ กญุ แจอยูท่ ต่ี าแหน่ง \"ON\" ให้กดสวิตชไ์ ลฝ่ า้ กระจกหลังเพือ่ เปดิ ใชง้ าน ฟงั ก์ชันไลฝ่ ้ากระจกหลงั ไฟแสดงจะติดขนึ้ กดสวิตช์อกี ครงั้ เพือ่ ปดิ การทางาน\"OFF\" ไฟแสดงจะดับลง ใชห้ น้าปัดควบคมุ อุณหภมู ิเพือ่ ตง้ั อุณหภมู ิภายในตามตอ้ งการ หน้าจอจะ แสดงอณุ หภูมทิ ่ีต้งั ข้ึน การหมุนปมุ่ ควบคมุ แต่ละระดบั จะเปน็ การเพม่ิ หรอื ลดอุณหภมู ิคร้ังละ 1oC (1.8 oF). สาหรบั รถรุ่นท่ี ไม่มเี คร่อื งทาความรอ้ น จะสามารถปรบั อุณหภมู ไิ ดร้ ะหวา่ ง 18 oC (64 oF) และ 28 oC (82 oF) หากตง้ั อณุ หภูมิไวท้ ่ี 18 oc (64 oF), ระบบจะตง้ั ระดบั ความเยน็ ไปทร่ี ะดับ สงู สุดเสมอ สาหรบั รุน่ ทม่ี เี ครอ่ื งทาความรอ้ น อุณหภูมทิ ่สี ามารถปรับต้ัง ได้ จะอยู่ที่ระหวา่ ง 18 oc (64 oF) และ 32 oc (90 oF) หากตั้งอณุ หภมู ไิ ว้ ที่ 18 oc (64 oF), ระบบจะปรับต้ังไว้ที่ระดบั ความเยน็ สงู สดุ เสมอหากตั้งไว้ ที่ 32 oc (90 oF), ระบบจะตั้งไวท้ ีร่ ะดบั ความรอ้ นสูงสุด ช่องปล่อยลมจะเปลย่ี นไปในแต่ละคร้ังที่กดสวติ ช์ MODE (\" \" หรือ\"  \")ช่องปล่อยลมที่เลอื กใช้อยใู่ นขณะนนั้ จะปรากฏบนหน้าจอแสดงผล กล่องควบคุม A/C อัตโนมตั ิแบบสมบูรณ์ หนา้ จอแสดงผล LCD ขนาดใหญ่ ถูกนามาใช้เพือ่ ใหส้ ามารถมองเหน็ สถานะการทางานของ กล่องควบคุม A/C อัตโนมตั ิแบบสมบูรณไ์ ดด้ ขี น้ึ นอกจากน้ี

21B-22 ขอ้ มูลการบารุงรกั ษา (ทุกรุ่น) สัญญาณการเปลย่ี นแปลงอุณภมู หิ อ้ ง จากการเปลยี่ น ค่าความต้านทานน้ี จะถูกส่งไปยงั กล่องควบคุม A/C ยงั แสดงอุณหมู ิที่ตงั้ ไว้ในรูปแบบดิจติ อล อัตโนมตั ิ หากอุณหภมู ขิ องเทอร์มสิ เตอร์เพม่ิ ขนึ้ และสามารถตง้ั ค่าใหเ้ พ่มิ ขนึ้ ทลี ะ 1 °C {1.8 °F} ได้ ค่าความต้านทานจะลดลง ในทางกลบั กัน หากอุณหภมู ลิ ดลง ค่าความต้านทานจะเพม่ิ ขน้ึ การควบคุมอุณหภมู หิ อ้ งอัตโนมัติ เซนเซอร์วดั อุณหภมู อิ ากาศภายใน รกั ษาอุณหภมู ิในรถที่อุณหภมู ทิ ี่ตงั้ ไว้โดยใช้สวิตช์ เซนเซอร์วดั อณุ หภูมอิ ากาศภายในคอื เซนเซอร์ท่ี ตรวจ ควบคุมอุณหภมู ไิ มว่ า่ ความเรว็ รถ, อุณหภูมภิ ายนอก, อณุ หภูมิในรถ และแปลงอุณหภมู ิภายในรถใหเ้ ป็น ค่า สภาพแสงแดด,หรอื จานวนผ้โู ดยสารจะเปลย่ี นไปอยา่ ง ความต้านทานเพ่ือส่งไปยังกลอ่ งควบคมุ A/C อัตโนมตั ิ ไรก็ตาม เซนเซอรว์ ดั อุณหภมู อิ ากาศภายในใช้ แอสไพเตเตอร์ เพอื่ นาอากาศเข้าในขณะทมี่ อเตอร์ พัดลมกาลังหมนุ และ การควบคุมปรมิ าณลมอัตโนมัติ เป่าลมเข้าสภู่ ายในรถยนตไ์ ปยัง พ้นื ท่ีรอบเซนเซอร์ ควบคุมปริมาณลมที่เป่าโดยอัตโนมตั ิอยา่ งต่อเนอื่ งและ เซนเซอรน์ ีถ้ ูกติดตัง้ ไว้ ทด่ี ้านหลังของแผงเหลก็ คานรถ ฉับไวตามความเปลยี่ นแปลงของอุณหภมู ิภายในรถ บริเวณเขา่ ดา้ นคนขับ ที่ตงั้ ไว้ 1. เซนเซอร์วดั อุณหภมู ิอากาศภายใน การควบคุมโหมด 2. ด้านหลงั ของแผงเหล็กคานรถบรเิ วณเข่า การควบคุมโหมดจะสับเปลยี่ นโหมดเป็นด้านหน้า, เซนเซอร์อุณหภมู ิอากาศภายนอก สองระดับ หรอื พนื้ ตามการเปลยี่ นแปลงของอุณหภูมิ เซนเซอรว์ ดั อุณหภูมิอากาศภายนอก คือเซนเซอรท์ ี่ ช่องลมออก เป็นต้น โดยสามารถเลอื กช่องลมออก ตรวจอุณหภมู ใิ นรถ และแปลงอุณหภูมิภายนอกรถ ให้ ได้โดยใช้งานการสับเปลยี่ นโหมด อยา่ งไรก็ดี เป็นค่าคววมต้านทานเพือ่ ส่งไปยงั กล่องควบคุม A/C ระดับไลฝ่ ่า/พนื้ สามารถเลอื กได้ด้วยมือเทา่ นนั้ อัตโนมตั ินอกจากนนั้ ออโต้แอมป์จะระบุวา่ เกิดความร้อน ใดๆจากคอนเดนเซอร์ หรอื หม้อน้าในระหวา่ งการเดิน การควบคุมการเร่ิมทาความเยน็ เครื่องท่ีรอบเดินเบาและทาการปรับใดๆตามความจาเป็น เมอ่ื สตาร์ตรถที่มีอุณหภมู หิ อ้ งสูงเช่นในช่วงฤดูร้อน อยา่ งไรก็ดี อุณหภมู ิท่ีจะแสดงจะเพิ่มขน้ึ ตามเวลา ระดับลมจะถูกลอ็ กเป็น \"OFF\" จนกว่าอีวาพอเรเตอร์ เซนเซอรน์ ถ้ี ูกติดตง้ั ไว้ตรงส่วนล่างสุด ของฝากระโปรง จะเยน็ เพ่อื ป้องกันไม่ใหม้ ีการเป่าลมรอ้ นปริมาณมาก หน้าส่วนปลายท่ีด้านหลังของกระจงั หน้า เข้าสหู่ อ้ งโดยสาร การควบคุมการเร่ิมทาความรอ้ น เมอื่ สตาร์ตรถท่ีมีอุณหภูมิหอ้ งต่าเช่นในช่วงฤดหนาว ระดับลมจะถูกปรับเป็น \"OFF\" และตงั้ โหมดเป็น \"ไล่ฝ้า\" จนกวา่ อุณหภมู ินา้ ในคลัตช์พดั ลมจะอนุ่ เพื่อป้องกัน ไมใ่ หม้ ีการเป่าลมเยน็ ปรมิ าณมากเข้าสหู่ อ้ งโดยสาร การควบคุมการปรบั สภาพแสงแดด เซนเซอรแ์ สงแดดใช้โฟโต้ไดโอดเพอ่ื ตรวจปริมาณแสง แดดอยา่ งแมน่ ยาและปรับอุณหภมู ิภายในรถ อยา่ งรวดเรว็ หน่วยความจาเมอื่ ปิดสวติ ว์กุญแจไปที่ OFF สถานะของสวติ ช์ต่างๆ ก่อนการปิดสวติ ช์กุญแจไปที่ OFF จะถูกบันทกึ ไวท้ าใหต้ ง้ั ค่าเมอื่ สตาร์ทใหม่ ได้ง่ายขนึ้ ฟงั ก์ชันวนิ ิจฉยั ตนเอง เปิดฟงั ก์ชันวิเคราะหต์ ัวเองโดยเปิดฟังก์ชันวเิ คราะห์ ตัวเองผ่านสวิตช์ที่แผงทาใหส้ ามารถวิเคราะห์ ปัญหาได้ง่ายขน้ึ การแสดงอุณหภมู ิอากาศภายนอก เซนเซอร์อุณหภมู ิอากาศภายนอก จะตรวจอุณหภูมิ อากาศภายนอก และแสดงเป็นรปู แบบดิจติ อลบน ส่วนแสดงผลของจอแสดงผลผ่านการทางานของ สวิตช์หน้าจอ เซนเซอร์อุณหภมู ิอากาศภายในและภายนอก เซนเซนร์อุณหภมู อิ ากาศภายในและภายนอกถูกติดตงั้ เ พื่อตรวจความเปลย่ี นแปลงของอุณหภมู ิภายใน และ ภายนอกรถยนต์เซนเซอรเ์ หลา่ นเี้ ป็นแบบเทอร์มสิ เตอร์ ซึง่ ค่าความต้านทานของมัน จะเปลยี่ นไปตาม การเปลยี่ นแปลงของอุณหภูมิ

ข้อมูลการบารงุ รกั ษา (ทกุ รนุ่ ) 21B-23 1. เซนเซอรแ์ สงแดด 2. ฝาครอบด้านบนของแผงหน้าปัด 3. ชุดแผงหน้าปัด ชุดควบคมุ พดั ลม ชุดควบคุมพัดลมรบั กระแสไฟฟา้ ฐานจากกล่อง ควบคมุ A/C อตั โนมตั ิเพ่อื เปล่ยี นความเรว็ ของ มอเตอรพ์ ัดลมชดุ ควบคุมพดั ลมถูกติดตงั้ ลงใน ชดุ พัดลม 1. เซนเซอร์วัดอุณหภมู ิอากาศภายนอก 1. ชุดพดั ลม 2. ชุดกันชนหน้า 2. ชุดควบคุมพดั ลม เซนเซอรแ์ สงแดด แอกทเู อเตอร์ เซนเซอรแ์ สงแดดใช้โฟโตไดโอด เพอ่ื ตรวจปรมิ าณ แอกทูเอเตอร์(มมี อเตอร์ขนาดเล็กในตัว) และขับเคล่ือน แสงแดดเซนเซอรน์ ้ี แปลงสัญญาณปรบั จากการ ประตปู รบั โหมดของเครื่องทาความรอ้ นและพดั ลมโดยใช้ เปลี่ยนแปลงของอณุ หภูมิภายในรถยนตซ์ ่งึ เกิดจาก กระแสไฟฟ้า ขาออกจากกล่องควบคมุ A/C อตั โนมัตแิ อก แสงอาทิตย์ไปเป็นโฟโตอิเล็กทรคิ เพือ่ สง่ ไปยงั กล่อง ทเู อเตอร์มแี อกทเู อเตอร์ ปรับโหมดท่ีเปลย่ี นโหมดของ ควบคมุ A/C อตั โนมตั เิ ซนเซอรน์ ถี้ ูกตดิ ตง้ั ไว้ท่ดี ้านบน เครื่องทาความร้อน และแอกทเู อเตอรด์ ูดอากาศท่เี ปลยี่ น ของแผงหน้าปัดดา้ นคนขับ การดดู อากาศของพดั ลม

21B-24 ข้อมลู การบารงุ รกั ษา (ทกุ รุน่ ) 1. โหมดแอกทเู อเตอร์ 2. แอกทูเอเตอรด์ ูดอากาศ ตารางคา่ ของระบบ A/C อตั โนมตั ิเต็มรูปแบบระบบ นสี้ ง่ สญั ญาณไปยังกลอ่ งควบคุม A/C อัตโนมัติ จากเซนเซอร์ แต่ละตัวซง่ึ ตรวจอุณหภูมภิ ายในและภายนอกรถเซน เซอรอ์ ณุ หภมู นิ ้า ซ่งึ ตรวจอุณหภูมินา้ เครอ่ื งยนตเ์ ซนเซอร์ ท่คี รบี ซึง่ ตรวจอุณหภมู ิ สารทาความเยน็ เซนเซอร์แสง แดดซงึ่ ตรวจปริมาณรงั สจี ากแสงแดดและสญั ญาณการ ทางาน ของแผงควบคมุ สัญญาณ การตรวจตาแหน่งของ โพเทนชนั่ มิเตอร์และควบคุมการเปดิ ประตูผสมอากาศ แรงลม และการเปดิ ประตปู รับโหมดโดยอัตโนมตั ิโดยการ แปลงในกล่องควบคมุ

ขอ้ มลู การบารงุ รักษา (ทกุ รุ่น) 21B-25 ภาพรวมของการควบคุม A/C จากน้นั จะแปลงศกั ยภาพพื้นฐาน ของชุดควบคุม พัดลม อัตโนมตั ิเต็มรูปแบบโดยอัตโนมัติการควบคมุ A/C ตามสญั ญาณทั้งหมด เพ่อื กาหนดแรงเคลือ่ น ไฟฟา้ ของ อัตโนมตั ิโดยอัตโนมตั ิมีดังน้ี การควบคุมอุณหภมู ิหอ้ ง พดั ลมเพื่อให้มอเตอรพ์ ัดลมมคี วามเรว็ ใน การทางานที่ การควบคุมปรมิ าณลม หลากหลายสาหรบั แบบธรรมดา สวิตชพ์ ัดลม มี 5 ระดบั การควบคุมการเร่ิมทาความร้อน จาก LO ถึง MAX HI เพอ่ื ปรับปริมาณลม การควบคุมการเริ่มทาความเยน็ การควบคุมช่องลมออก การควบคุมการเรมิ่ ทาความเย็น เมอื่ เริม่ A/C อตั โนมัติดว้ ยการต้ังโหมดเปา่ ลม เปน็ ด้าน การควบคุมอุณหภมู ิห้อง หน้าหรอื สองระดบั และสวติ ช์ A/C เปน็ ON กล่องควบคมุ กล่องควบคุม A/C อัตโนมตั ิจะคานวณโดยใช้สัญญาณ A/C อัตโนมัตจิ ะควบคุมการเรม่ิ ทาความเยน็ หากอณุ หภูมิ ปรบั อุณหภมู แิ ละสัญญาณจากเซนเซอร์แต่ละตัวเพอ่ื ให้ ของลมทเี่ ป่า ซึ่งคานวณโดย กล่องควบคมุ A/C อตั โนมัติ ได้สัญญาณท้ังหมด จากนน้ั จะทาการเปรียบเทยี บกับ นนั้ อยู่ในเงื่อนไขท่กี าหนด หลงั จากเรมิ่ ทาความเยน็ แล้ว สัญญาณจากโพเทนชนั่ มเิ ตอร์ เพอื่ ระบุทศิ ทางการหมุน 2 วินาที ส่วนนจ้ี ะถูกปรบั เป็น \"OFF\" และหลงั จากนนั้ 5 ของแอกทเู อเตอรป์ รับส่วนผสมแอกทเู อเตอร์ ปรับส่วน วนิ าที จะปรบั เป็น \"LO\" หลังจากนั้น 6 วนิ าที จะเพิ่มเป็น ผสมจะเปิดประตูผสมอากาศในมมุ ท่ีกาหนดไว้เพื่อให้ แนวตรงจาก \"LO\" เป็นปรมิ าณลมเปา้ หมาย ทาการควบ สัญญาณท้ังหมดสามารถควบคุมอุณหภมู ภิ ายในรถได้ คุมนเ้ี พยี งครัง้ เดียวเมื่อสตาร์ตมอเตอร์ พดั ลมโดยการบิด สวิตช์กญุ แจจาก \"OFF\" ไปที่ \"ON\" หรือใชส้ วติ ช์ AUTO การควบคุมปริมาณลม กล่องควบคุม A/C อัตโนมัติจะคานวณโดยใช้สัญญาณ ปรับอุณหภูมิและสัญญาณจากเซนเซอร์แต่ละตัว เพ่ือ ใหไ้ ด้สัญญาณท้ังหมด

21B-26 ขอ้ มูลการบารุงรกั ษา (ทกุ รุ่น) การควบคุมชอ่ งลมออก กล่องควบคุม A/C อตั โนมตั ิจะใชส้ ัญญาณปรบั อุณหภูมิ และสญั ญาณจากเซนเซอร์แตล่ ะตวั เพอ่ื คานวณ สัญญาณทง้ั หมด จากนัน้ จะทาการเปรยี บเทยี บกบั สัญญาณจากโพเทนช่นั มิเตอรเ์ พื่อระบุมมุ ใน การทางาน ของแอกทูเอเตอร์ ปรบั โหมดแอกทูเอเตอร์ ปรับโหมดจะ ใช้งานประตปู รับโหมดตามสญั ญาณ ท้งั หมดเพ่อื กาหนด มุมล่วงหนา้ เพื่อควบคมุ ชอ่ งลมออกเปน็ ดา้ นหนา้ , สอง ระดบั หรือพนื้ หมายเหตุ: ・ แผนภาพแสดงตาแหนง่ ของชิ้นส่วนเคร่ือง ทาควมรอ้ น, ระบบระบายอากาศ 1. ท่อไลฝ่ ้า 2. ทอ่ ไล่ฝ้าด้านข้าง ทางขวา

3. ทอ่ ระบายอากาศด้านขวา ข้อมูลการบารุงรกั ษา (ทุกร่นุ ) 21B-27 4. ท่อระบายอากาศ ตัวกลาง 5. ชุดคันปรบั 7. ชุดพดั ลม 6. ชุดอีวาปอเรเตอร์ 8. ทอ่ ระบายอากาศ ด้านซา้ ย 9. ท่อไลฝ่ ้าด้านข้าง ทางซา้ ย และเคร่ืองทาความรอ้ น หมายเหตุ: ・ แผนภาพแสดงตาแหน่งชิ้นส่วน A/C แบบธรรมดา 1. โครงยดึ คอมเพรสเซอร์ 7. ท่อความดันสูง 2. คอมเพรสเซอร์ 8. ชุดคอนเดนเซอร์ ซึง่ รวมอยกู่ ับรซี ฟี เวอรด์ ราย 3. ท่อความดันต่า 4. ชุดอีวาปอเรเตอร์และเคร่ืองทาความรอ้ น เออร์ 5. ท่อความดันสูง 9. เซนเซอร์วัดอุณหภูมอิ ากาศภายนอก 6. สวิตช์แรงดัน หมายเหตุ: ・ แผนภาพแสดงตาแหน่งช้ินส่วน A/C แบบอัตโนมตั ิ

21B-28 ขอ้ มลู การบารงุ รักษา (ทกุ ร่นุ ) 1. โครงยดึ คอมเพรสเซอร์ 7. ทอ่ ความดันสูง 2. คอมเพรสเซอร์ 8. ชุดคอนเดนเซอร์ ซึง่ รวมอยกู่ ับรซี ฟี เวอร์ 3. ท่อความดันต่า 4. ชุดอีวาปอเรเตอร์ ดรายเออร์ 9. เซนเซอร์วัดอุณหภมู อิ ากาศภายนอก และเคร่ืองทาความร้อน 5. ท่อความดันสูง 6. สวิตช์แรงดัน หมายเหตุ: ・ แผนภาพแสดงตาแหน่งชิน้ ส่วน A/C แบบอัตโนมตั ิ

ข้อมลู การบารงุ รักษา (ทุกร่นุ ) 21B-29 1. ชุดหน้าจอควบคุม, หน่วยควบคุม A/C อัตโนมัติ 6. แอกทูเอเตอรด์ ูดอากาศ 2. เซนเซอรแ์ สงแดด 7. ชุดควบคุมพดั ลม 3. เซนเซอร์วดั อุณหภูมอิ ากาศภายใน 8. ชุดพดั ลม 4. ชุดอีวาปอเรเตอร์ และเคร่ืองทาความร้อน 5. โหมดแอกทเู อเตอร์

21B-30 ข้อมลู การบารงุ รกั ษา (ทกุ รุ่น) ข้อมูลจาเพาะเบอ้ื งตน้ ของการบารงุ รักษาระบบระบายอากาศ, ระบบปรับอากาศ 1. ข้อมลู จาเพาะเบือ้ งต้นของการบารงุ รกั ษา, หมายเหตุ: ระบบระบายอากาศ, ระบบปรับอากาศ ・ คุณสมบัติจาเพาะพน้ื ฐานของเคร่ืองทาความรอ้ น, เคร่ืองระบายอากาศ และ A/C ชดุ อีวาพอเรเตอร์ รายการ ขอ้ มลู จาเพาะ แผงอีวาพอเรเตอร์ ระบบควบคุมการทาความเยน็ วิธีบบี อัดก๊าซ (แผงคอล์ยเย็น) ประสิทธิภาพการถ่ายความรอ้ น : 5.14 kW (4420 กิโลแคลลอร/่ี ชม.) การจา่ ยอากาศ รนุ่ 500 m3/h ขนาดแผง ครบี ลามเิ นตแบบเกรด็ 305 x 265 x 40 มม. (12.0 x 10.4 x 1.6 น้วิ ) วาลว์ ลดแรงดัน รนุ่ ความดันภายนอกอย่างเดียว ชนิดไฟฟา้ , เทอรโ์ มสตัดอิเลก็ ทรอนิกส์ สวิตชอ์ ุณหภมู ิใชก้ ับระบบปรบั รนุ่ OFF, 2.7℃ (36.9°F) อากาศแบบปรบั ด้วยมอื เท่านั้น อุณหภูมทิ ่ีใชท้ างาน ON, 6.2℃ (43.2°F) การควบคุมระบบปรบั อากาศอัตโน มัติจะดาเนินการผ่านชดุ ควบคุมท่ี ใชส้ ัญญาณจากเซนเซอรท์ ี่ครบี คอนเดนเซอร์ รนุ่ รนุ่ ซบั คูลลง่ิ แบบ MF รซี ีฟเวอร์ ดรายเออร์ ประสิทธิภาพการถ่ายความรอ้ น :18.4 kW (15824 กิโลแคลลอร/่ี ชม.) สารดูดซึม สวิตชแ์ รงดัน ปรมิ าณ ซีโอไลต์สังเคราะห์ 40 กรมั g(1.4 ออนซ)์ ปรมิ าณสารทาความเยน็ ท่ีใชเ้ ติม แรงดันทีใ่ ชท้ างาน 190ซม.3ิ(5.4ิlmpิflิoz) คอมเพรสเซอร์ HFC-134a ควบคุมความดันต่า แมคเนติกคลัตช์ รนุ่ ON, 176-216 kPa {1.8-2.2 kgf/cm2 / 26-31 psi} ปรมิ าณน้ามนั คอมเพรสเซอร์ ประเภท OFF, 195-255 kPa {2.0-2.6 kgf/ cm2 / 28-37 psi} ที่กาหนด ปรมิ าณปลอ่ ยออก ควบคุมแรงดันสูง ความเรว็ รอบสูงสุดต่อนาที ON, 2,840-3,040 kPa {29.0-31.0 kgf/ cm2 / 412 - การควบคุมอุณหภมู ิ น้าหนัก 441 ปอนด์ต่อตร.นิ้ว } ระบบปรบั อากาศอัตโนมัติ อัตราแรงเคลอื่ นไฟฟา้ OFF, 100 - 200 กิโลปาสคาล A/C อัตราการใชพ้ ลงั งาน ความดันต่ากว่าความดันปฏบิ ตั ิการ \"ON\" แรงบดิ ส่งผ่านสถิต 480 – 580 กรมั ิ{1.1 - 1.3 ปอนด}์ ระบบหล่อเยน็ นา้ หนัก DH-PR CR12Sb แบบหมุนใบพัด 110ิซม.3ิ(3.1ิlmpิflิoz) :7000 รอบ/นาท,ี 8,500 รอบ/นาที ในทันที 2.63 กิโลกรมั ิ{5.8 ปอนด}์ :12 โวลต์ :46 วัตต์ :34 นิวตัน・เมตร หรอื มากกว่า { 3.5 กิโลกรมั ・เมตร หรอื มากกว่า / 25 ปอนด・์ ฟตุ หรอื มากกว่า} :2.1 กิโลกรมั ิ{ 4.6 ปอนด์ิ} 150 cm3 (4.2 lmp fl oz) เซนเซอรว์ ดั อุณหภูมอิ ากาศ ความต้านทาน:2.2ิkΩิ,ิ25℃ (77°F) ภายใน เซนเซอรอ์ ุณหภูมอิ ากาศภายนอกความต้านทาน:1.7ิkΩิ,ิ25℃ (77°F) เซนเซอรแ์ สงแดด โฟโต้ไดโอด อุปกรณ์ หน่วยิA/C อัตโนมตั ิ ไมโครคอมพิวเตอรใ์ นตัว ควบคุม แอกทเู อเตอร์ แอกทเู อเตอรด์ ูดอากาศ แอกทูเอเตอรป์ รบั โหมด ชนิดบบี อัดก๊าซ

ขอ้ มลู การบารุงรักษา (ทุกรุ่น) 21B-31 คาแนะนาในการวเิ คราะหป์ ญั หาของระบบระบายอากาศ, ระบบปรับอากาศ 1. คาแนะนาในการวิเคราะหป์ ญั หาของ,ระบบระบายอา- นอกเหนอื ไปจากการวเิ คราะหต์ วั เอง ใหต้ รวจสอบ กาศ, ระบบปรับอากาศ ชิ้นส่วนท่ีเกี่ยวข้องจากการตรวจสอบชิน้ สว่ นท่ีชารดุ ภาพรวมและข้นั ตอนการวิเคราะหป์ ญั หา A/C อตั โนมัติมี โดยการระบอุ าการชารดุ ของสว่ นท่ไี มส่ ามารถระบุ ได้ ฟงั กช์ ันวเิ คราะห์ตัวเองเพื่อตรวจสอบชนิ้ ส่วนหลกั ด้วยการวเิ คราะห์ตัวเองอย่าลืมวา่ กอ่ นจะตรวจสอบ ชว่ ยใหต้ รวจสอบเซนเซอร์ และแอกทูเอเตอรไ์ ด้งา่ ยข้ึน อปุ กรณใ์ ห้ตรวจดวู า่ ไดเ้ สยี บปลั๊กอย่างแน่นสนิทแล้ว หลงั จากระบจุ ุดทช่ี ารดุ ดว้ ยฟงั ก์ชันวเิ คราะหต์ วั เองแลว้ หรอื ไม่ขัน้ ตอนพื้นฐานของการวเิ คราะหป์ ัญหามีดังนี้ : ให้ตรวจสอบ และซ่อมแซมจุดทีช่ ารุดตามลาดบั ในการวเิ คราะห์ปัญหานั้น ใหเ้ นน้ ไปท่สี ว่ นท่ชี ารุด และ ตรวจสอบชน้ิ สว่ นที่เกีย่ วข้อง เกิดปญั หาขน้ึ ตรวจสอบไฟแสดงทีช่ ดุ ควบคุม ตรวจสอบแหลง่ จา่ ยไฟและ ซ่อมแซม เคร่อื งปรับอากาศอัตโนมตั ิ วงจรกราวนดข์ องชุดควบคุม เครื่องปรบั อากาศอัตโนมตั ิ ดูที่ รายการตรวจสอบ ตรวจสอบตาแหนง่ ท่ีเกดิ ความผดิ ปกติ วเิ คราะห์ความผิดปกติ ตรวจสอบโดยใชต้ าราง ซอ่ มแซม ด้วยฟงั กช์ ั่นวินิจฉัยตนเอง การวิเคราะหค์ วามผดิ ปกติ ซ่อมแซม ซอ่ มแซม วเิ คราะห์ความผดิ ปกติดว้ ยวธิ อี ่ืน ตรวจสอบโดยใชต้ าราง นอกเหนอื จากฟังกช์ ่นั วนิ จิ ฉัยตนเอง การวเิ คราะหค์ วามผดิ ปกติ )ตามสถานการณ์( ตรวจสอบตาแหน่งที่ ผดิ ปกติ ตรวจสอบวัฏจักรการทาความ เย็นและวฏั จักรการทาความร้อน จบ ฟงั ก์ชันวินิจฉยั ตนเอง สามารถสง่ ผ่านหรอื ยกเลกิ ฟงั กช์ นั วเิ คราะหต์ วั เองได้ด้วยการปฏิบตั ดิ งั ต่อไปน้ี

21B-32 ข้อมูลการบารุงรกั ษา (ทกุ รุ่น) กดสวิตช์ DEF สาหรับ 5 วนิ าที ภายใน 10 วนิ าที หลังจากเปิดสวิตช์กญุ แจ ขั้นตอน ที่ 1 หมุนปรับ หมุนปรับ อณุ หภมู ไิ ป อุณหภมู ิไป ทางขวา ทางซ้าย ขัน้ ตอน ที่ 2 หมุนปรบั หมนุ ปรับ อุณหภูมิไป อณุ หภมู ิไป ทางขวา ทางซา้ ย ขนั้ ตอน ที่ 3 หมนุ ปรบั หมนุ ปรบั อณุ หภูมไิ ป อณุ หภมู ไิ ป ทางขวา ทางซ้าย ข้นั ตอน ที่ 4 หมุนปรับ หมุนปรับ อุณหภูมิไป อุณหภมู ิไป ทางขวา ทางซ้าย ขนั้ ตอน ท่ี 5 จบ RTWC7BXF000401 การลม้ เหลว ได้แกป่ ัญหาปัจจุบนั ท่ยี ังเกิดขนึ้ อยูใ่ นขณะท่ี วินจิ ฉัย ซึง่ เป็นปัญหาปกตทิ ่ีอาจเกดิ ขึน้ ได้เปน็ ประจา เช่น วงจรของเซนเชอร์ขาดหรือลัดวงจร และปญั หาทีเ่ คย เกดิ ข้นึ ในอดตี แล้วถกู บนั ทกึ ไวซ้ ึง่ เกดิ จากการต่อปล๊กั ไม่ แนน่ เปน็ ตน้

ปัญหา ณ ขณะนน้ั จะถกู ตรวจพบเมอื่ ค่ากระแสไฟฟา้ เข้า ข้อมูลการบารงุ รกั ษา (ทกุ รุ่น) 21B-33 ของแต่ละรหสั นั้นตรงกับระดับการวินิจฉัยที่แนน่ อน และจะ ถกู ยกเลิกเม่อื คา่ อนิ พทุ กลับสปู่ กติ การถอดขั้วลบของแบตเตอร่ีจะเปน็ การลบหน่วยความจา ของปญั หาที่เคยเกิดขึ้นดังนั้นจึงควรระวงั อย่าย้ายขวั้ ใน ปัญหาทเ่ี คยเกดิ ขน้ึ จะถกู ตรวจพบเมอื่ คา่ อนิ พุทของ ขณะเปลี่ยนเป็นการวเิ คราะห์ปญั หา แต่ละรหสั นน้ั ตรงกับเวลาและระดบั วิฉัยฉยั หมายเหตุ : ・ขน้ั ตอนการวินิจฉยั ตนเอง

21B-34 ข้อมลู การบารงุ รักษา (ทกุ รุ่น) วิธกี ารเรม่ิ ใช้งานฟังก์ชันวนิ ิจฉัยตนเอง กดสวติ ช์ Fr DEF เปน็ เวลา 5 วินาที ภายใน 10 วนิ าที หลังจาก IGN SW ON เข้าสู่โหมดการวนิ จิ ฉัยตนเอง ข้นั ตอน 1 ข้นั ตอนการวนิ จิ ฉัยตนเอง ขน้ั ตอน 1 SW IND ทุกดวง และหน้าจอสวา่ งข้ึน (FR/DEF ขึน้ กบั สถานะ) ข้ันตอน 2 การตรวจสอบเซนเซอร์เปิด/ขาด เสรจ็ สนิ้ หากไม่พบปญั หา error sensor No. จะปรากฏขนึ้ <ตัวอย่างการแสดงผล > หมายเลข ผล เปดิ คา่ การวินจิ ฉยั (อ้างองิ ) G sensor/ACTR No ทป่ี รากฏ ขาด วนิ จิ ฉัยที่ : 25 วินาที -43.8 ± 6 °C หรอื นอ้ ยกวา่ หากมเี ซนเซอร์ NG มากกว่า 2 OK เปดิ 99.8 ± 6 °C หรอื มากว่า หนึง่ และ ACTR ปรากฏ 20 ยงั ไม่ไดใ้ ช้ ขาด หนา้ จอจะเปลย่ี นไปทุกวินาที 21 เซนเซอรอ์ ณุ หภูมิ เปดิ -36.6 ± 6 °C หรอื นอ้ ยกวา่ ภายในรถ ขาด 96.6 ± 6 °C หรอื มากกวา่ หมายเลขขน้ั ตอน 22 ยงั ไม่ไดใ้ ช้ 0.027 ± 0.02 mA หรอื นอ้ ยกวา่ หมายเปเวลรลาขากขใ้นัฏนตเกปอาน็นรวOินKจิ ฉัย คอื 25 วนิ าที และ “20” เซนเซอรอ์ ีวา 1.181 ± 0.1 mA หรอื มากกวา่ เวลาใมนกีเฉารพวินาจิะฉ“ยั 2O” Kปรากฏภายใน 25 วินาทตี ่อจากน้นั 23 พอเรเตอร์ มเี ฉพขาั้นะ ต\"2อน 2 24 ลัดวงจร ขอ้ ผดิ พลาดในการปิด/ACTR : ไฟแสดงสวา่ ง วงจรขาด/ข้อผิดพลาดในการเปิด ACTR : ไฟแสดงดบั 25 เซนเซอรฉ์ นวน เมอื่ มีขอ้ ผดิ พลาดในการปิดหรอื เปดิ มากกว่าหน่งึ ใน(ACTR 26 ยงั ไม่ไดใ้ ช้ เดยี วกนั ไฟแสดง A/C จะตดิ สวา่ งและดับทุกๆ )วนิ าที 0.5 27 ยงั ไมไ่ ดใ้ ช้ 28 ยังไมไ่ ดใ้ ช้ 29 ยังไม่ไดใ้ ช้ ขัน้ ตอน 3 ตาแหนง่ ประตูรบั อากาศเขา้ /ออกถูกตรวจสอบ <ขั้นตอนการวนิ ิจฉัยตนเอง> เมื่อประตูรับอากาศเขา้ ออกไปไมถ่ งึ แตล่ ะตาแหน่งภายในเวลาทกี่ าหนด ระบบจะถอื วา่ ยอมรับไม่ได้/ ตาแหน่งประตู ตวั เลขท่ี ผล <ตวั อยา่ งการแสดงผล > โหมด, อากาศเขา้ ตดั สนิ ที่ : 50 วนิ าที 3 OK หมายเลขประตู NG โหมด 30 VENT 31 B/L หมายเลขขั้นตอ หากมีประตู NG มากกว่าหน่ึง ไมใ่ ช ้ 32 FOOT การแสดงผลจะเปลีย่ นทกุ วินาที อากาศเขา้ 33 DEF/FOOT 34 DEF เวลาทีว่ นิ จิ ฉยั ไดค้ ือ 35 36 FRE หมายเลขขั้นตอน 37 เวลาที่วนิ ิจฉัยได้คอื 50 วินาที และ “30” ที่ปรากฏขึน้ ที่ OK 38 REC มเี ฉพาะ “3” ที่ปรากฏภายใน 50 วนิ าที หลงั จากขน้ั ตอน 3 39 RTWC7BXF000501

ข้อมลู การบารงุ รักษา (ทกุ รนุ่ ) 21B-35 ขนั้ ตอน 4 ตรวจสอบการทางานของช่องทางออก ช่องทางเขา้ , ช่องทางอืน่ ๆ และ คอมเพรสเซอร์ ทุกครั้งทีก่ ด Fr/DEF ขั้นตอนจะ เปลี่ยนจาก 41 ถึง 45 L41 42 43 44 45 ประตปู รบั โหมด 41 42 43 44 45 ช่องทางเขา้ VENT B/L FOOT DEF/FOOT DEF ประตูผสมอากาศ REC REC FRESH FRESH พดั ลม F/COOL F/COOL F/HOT FRESH F/HOT คอมเพรสเซอร์ VH 8.5 โวลต์ F/HOT 8.5 โวลต์ SV ON OFF 8.5 โวลต์ ON ON ON * เมอื่ คอมเพรสเซอร์ ON ตัวต้านการแขง็ ตวั จะทางานโดยใชอ้ ุณภมู ทิ ่อไอดี ขั้นตอน 5 ในขนั้ ตอน 5 จะมขี ้อมลู ของ 51 ถงึ 52 แสดงสองชุด สวติ ช์ 51 และ 52 จะทางานร่วมกบั REC SW (แตล่ ะครัง้ ทกี่ ดสวิตช์ SW การแสดงผลของ 51 และ 52 จะเปลย่ี นไป ) (1) ขั้นตอน 51: เซนเซอร์อุณหภมู ิอากาศภายนอก ในรถยนต์ ท่อไอดี และ นา้ จะปรากฏขน้ึ 51 ค่าทีเ่ ซนเซอร์ คา่ ทเ่ี ซนเซอร์ ค่าที่เซนเซอร์ คา่ ทีเ่ ซนเซอร์ อุณหภมู ิภายนอก อณุ หภูมภิ ายในรถ อีวาปอเรเตอร์ วดั อุณหภมู นิ ้า ภายนอก ทุกครั้งทก่ี ด สวติ ช์ Fr/DEF รายการบนหน้าจอแสดงผล จะเปลี่ยนไปตามดา้ นบน เมอื่ อุณหภูมติ ดิ ลบ \"AUTO\" จะปรากฏใน LCD คา่ อณุ หภมู ิอากาศภายนอก/อณุ หภูมนิ า้ จากเซนเซอร์ สามารถหาได้จากสตู รต่อไปนโี้ ดยใชค้ ่าทไ่ี ดจ้ ากการ ป้อนข้อมูล CAN สตู รการหาคา่ อุณหภมู อิ ากาศภายนอก : ขอบเขตการแสดงผล -30°C ถึง 55°C (เศษสว่ นจะถกู ปัดใหเ้ ปน็ ข้อมูล CAN *0.5-40 จานวนเต็ม) สตู รอณุ หภูมนิ า้ ขอ้ มลู CAN *1-40 ขอบเขตการแสดงผล -40°C ถงึ 99°C

21B-36 ขอ้ มูลการบารุงรกั ษา (ทุกรุ่น) (2) ขัน้ ตอน 52 : โหมดตรวจจบั ความผดิ พลาดการสอื่ สาร CAN ระหว่าง AJC ECU และหนว่ ยอื่น ๆ การส่อื สารของ CAN ID จะถกู วินิจฉยั โดยใช้ Fr/DEF, SW, และ MODE UP SW. Fr/DEF SW Fr/DEF SW Fr/DEF SW Fr/DEF SW Fr/DEF SW 52 ระบบ CAN 0 ระบบ CAN 1 ระบบ CAN 2 ระบบ CAN 3 MODE MODE MODE MODE MODE MODE MODE MODE UP SW UP SW UP SW UP SW UP SW UP SW UP SW UP SW สถานะ สถานะ สถานะ สถานะ ระบบ CAN 0 ระบบ CAN 1 ระบบ CAN 2 ระบบ CAN 3 สถานะ : ระยะเวลาจาก 10 วนิ าที หลังจาก IGN-ON ถึง IGN OFF, สถานะของ ระบบ CAN 0 ถงึ 4 จะไดร้ บั การตรวจสอบ หากผลของสถานะการวนิ ิจฉยั คือ NG/ไมม่ ีการเช่ือมต่อ จะถอื ว่าผดิ ปกติ ข้อมลู การบันทกึ จะถกู สารองไวใ้ น BAT และถูกจัดเกบ็ จนกระทัง่ BAT ถกู ถอดออก สาหรับสถานะ การแสดงผลอณุ หภูม,ิ \"0\" ถือว่าเป็นปกติ และ \"40\" ถอื ว่าผดิ ปกติ หลงั ตรวจสอบความผิดปกต,ิ จะมกี ารลบออก ในแตล่ ะครงั้ ท่ีIGN ON เมอ่ื สภาวะปกติอยู่ท่ี IGN OFF--> ON หากไม่ปรากฏความผกิ ปกติขึน้ อีก การลบออกจะดาเนินไปเรื่อย ๆ จนกระท่งั ลดลงถงึ หนึ่ง เมื่อลบออกจนถึงหน่งึ แลว้ จะไมม่ กี ารลบออกอีก (หากยงั มีความผิกปกติอกี ตวั เลขจะกลายเปน็ 40.) กด AJC SW ในแตค่ รง้ั ทแ่ี สดงผล 0 ถึง 3 ในระบบ CAN จะเป็นการรเี ซตความผดิ ปกติเป็น 0 รายการต่อไปนีแ้ สดงผลการวินจิ ฉยั การสือ่ สารของระบบ CAN และเกณฑ์การวนิ ิจฉัย หมายเลข รายการ ผลการ เกณฑ์ CAN เวลาในการสรุปผล NG วนิ ิจฉัย วนิ ิจฉัย ID ) เวลาในการหยุดการสรุปผล( การแสดงผล สถานะ Bus OFF ตอ่ เน่อื งยาวนานกว่าเวลาในการ . ระบบ CAN 0 0: OK วนิ ิจฉยั NG - 2 sec± 5 msec 1: NG 0 2 sec± 5 msec 1 ระบบ CAN 1 0: OK การสง่ สญั ญาณจาก AJC ECU ตอ่ เนอ่ื ง นานกว่า 380 2 sec± 5 msec 1: ไม่มกี ารเช่อื มต่อ การวนิ ิจฉัย NG และ เกดิ ความผิดพลาด 2 sec ± 5 msec 2 ระบบ CAN 2 0: OK การรับสัญญาณ ID จาก ECM ต่อเนือ่ งนานกวา่ 4C1 1: ไม่มกี ารเชื่อมตอ่ การวนิ ิจฉัย NG และ เกดิ ความผิดพลาด 3 ระบบ CAN 3 0: OK การรับสัญญาณ ID จาก METER ต่อเนื่องยาวนาน 130 1: ไม่มกี ารเช่อื มต่อ กว่าการวนิ ิจฉยั NG และเกิดความผดิ พลาด การแสดงผลตอ่ ไปน้ปี รากฏในขอบเขตการแสดงผล AJC set temp. (ตัวอยา่ งดา้ นล่างนแ้ี สดงระบบ CAN 1 ท่สี ภาวะปกติ ) ระหวา่ งการวนิ ิจฉยั : หมายเลขระบบ ผลการวนิ ิจฉยั : ผลการวินิจฉัย : * สาหรับการวินจิ ฉยั ระบบ CAN 0 หมายเลขระบบ CAN จะไมป่ รากฏในระหวา่ งการวนิ จิ ฉยั และ ในขณะท่ีแสดงผลการวินจิ ฉัย RTWC7BXF000701