Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พรบ.การศึกษา หมวด4

พรบ.การศึกษา หมวด4

Published by naphadolnoptunya, 2021-07-31 05:06:50

Description: 809-file

Search

Read the Text Version

รายงานการตดิ ตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษา ในวาระครบรอบ 3 ปของการประกาศใช พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 แนวการจดั การศึกษา สํานักประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ พฤศจิกายน 2545

คาํ นาํ จุดมุงหมายของการปฏิรูปการศึกษาน้ัน เพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่ สมบรู ณ ทง้ั รา งกาย จติ ใจ สตปิ ญ ญา รวมทั้งคุณธรรมและจรยิ ธรรม แตห วั ใจหลกั ของการ ปฏริ ปู การศึกษาอยูที่การปฏิรูปการเรียนรู ซง่ึ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (พ.ต.ท. ดร. ทกั ษณิ ชนิ วตั ร) ไดอ ธบิ ายความหมายไวไ ดอ ยา งชดั เจนวา การปฏิรูปการเรียนรู คอื การปลดปลอ ย พลงั สมองของผเู รยี น นับตั้งแตวันที่ 20 สิงหาคม 2542 ที่พระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช หนว ยงานตา ง ๆ ทง้ั ภาครฐั เอกชน องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ และประชาชน ไดด าํ เนินการปฏิรูปการศึกษาและการปฏิรูปการเรียนรูในหลายเรื่อง ทง้ั การ ดาํ เนนิ การดา นกฎหมาย การจดั ทาํ นโยบาย แผน และการนําแผนสกู ารปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ใหก าร ปฏริ ปู การศกึ ษาเปน ไปตามเจตนารมณข องพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 อยางไรก็ตาม เน่ืองจากการปฏิรูปการศึกษาคร้ังน้ีเปนการปฏิรูปท้ังระบบ ครบกระบวนการ จําเปน ตอ งมกี ารตดิ ตามและประเมนิ ผลอยา งเปน ระบบ สํานกั งานคณะ กรรมการการศึกษาแหงชาติ จึงไดจัดทํารายงานการติดตามและประเมินผลการปฏิรปู การ ศกึ ษา ในวาระครบรอบ 3 ปข องการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื จะใหผ รู บั ผดิ ชอบทง้ั ในระดบั นโยบาย ระดบั ปฏบิ ตั ิ และ ประชาชนทั่วไป ไดทราบสถานภาพและปญหาอุปสรรคในการดาํ เนนิ งาน และเปน การ กระตนุ ใหท กุ ฝายเขามามีสวนรวมในการผลกั ดนั ใหก ารปฏิรปู การศึกษากาวหนาตอไป ในการนี้ ไดมีการจัดทํารายงานการติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการ ศกึ ษาในภาพรวม 1 ฉบับ และรายงานจําแนกตามรายหมวดอกี 8 ฉบับ ตง้ั แตห มวด 2 ถึง หมวด 9 ซงึ่ มีรายละเอียดเพิ่มเติมจากรายงานภาพรวม โดยรายงานฉบบั นเ้ี ปน รายงานการ ติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาตหิ วงั เปน อยา งยง่ิ วา รายงานการ ติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาฉบับน้ีจะเปนประโยชนตอผูท่ีเก่ียวของในการ ปฏริ ูปการเรียนรู อันจะนาํ ไปสกู ารพฒั นาคนไทยใหม คี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี สังคมไทยเปนสังคม แหงการเรียนรู ซึ่งจะเปนสวนสําคัญในการเพ่ิมขีดความสามารถของประเทศไทยในสังคม โลกตอ ไป สาํ นกั ประเมินผลการจดั การศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม พฤศจกิ ายน 2545

บทสรุปสาํ หรบั ผบู รหิ าร การติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา แหง ชาติ พ.ศ. 2542 มีวัตถุประสงคเพื่อติดตามและประเมินผลการดาํ เนนิ งานในการ ปฏิรูปการศึกษาโดยเฉพาะหมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา ซง่ึ เนน การปฏริ ปู การเรยี นรู ในชวง 3 ปห ลงั ประกาศใชพ ระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 วิธีดาํ เนนิ การ เก็บรวบรวมขอมูลไดจากท้ังหนวยงานที่เกี่ยวของในระดับนโยบายและขอมูลที่ไดจาก ผูปฏิบัติซ่ึงเปนกลุมบุคคลท่ีเก่ียวของกับการปฏิรูปการเรียนรูและวิเคราะหขอมูล โดย จัดระดับความกาวหนาของการดําเนินงานเปน 4 ระดับ คือ ไมมีความกาวหนา กาวหนา นอ ย กา วหนา ปานกลางและกา วหนา มาก ตามดชั นที ก่ี าํ หนดใน 2 มิติ คือ 1) การดาํ เนนิ งานทเ่ี ปน กระบวนการขน้ั ตอน (Stage of development) ของการนํา นโยบายและแผนไปสกู ารปฏบิ ตั ิ 2) ความสอดคลอง (Relevance) ผลการดาํ เนนิ งาน กับเจตนารมณท ี่กาํ หนดไวใ นพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 นอกจาก นั้นมีการตรวจสอบขอมูลโดยการประชุมคณะทํางานติดตามและประเมินผลการปฏริ ปู การศึกษาและมีการประชุมโตะกลมท่ีประกอบดวยผูเช่ียวชาญและผูมีสวนเกี่ยวของ เพ่ือพิจารณารางรายงานการติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาตามพระราช บัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา ผลสรุปไดดังนี้ 1. หลกั สตู รการศกึ ษา หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานทเ่ี ปน หลกั สตู รแกนกลาง มีความกาวหนามาก เนื่องจากมีการประกาศใชหลักสูตรแกนกลางที่เปนหลักสูตรการ ศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2544 เมอ่ื วนั ท่ี 2 พฤศจกิ ายน 2544 และมกี ารนํารอ งในสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐาน สวนหลักสูตรสถานศึกษามีการเตรียมการในการใหโรงเรียนจัดทํา หลักสูตรควบคูไปกับการเตรียมการใชหลักสูตรแกนกลาง มีการสรางองคความรู การ พัฒนาบุคลากร มีโรงเรียนตนแบบและโรงเรียนเครือขายในการจัดทําหลักสูตรสถาน ศึกษา นบั วา มคี วามกา วหนา ระดบั ปานกลาง สําหรับหลักสูตรอุดมศึกษา สถาบันอุดม ศึกษามีการปรับสาระหลักสูตรแตละสาขาวิชาใหสอดคลองกบั สภาพสงั คมและทอ งถ่ิน

ข มีโครงการนาํ รองในการปรบั ปรุงหลกั สูตรในกลมุ 6 สาขาวชิ า ผลการดาํ เนนิ งานของ หลักสูตรอุดมศึกษามีความกาวหนาระดับปานกลาง 2. การเรียนรู การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญในระดับการ ศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน มีการดาํ เนนิ งานทค่ี รอบคลมุ ทง้ั นโยบายและการนาํ ไปสูการปฏิบัติ แตยังขยายผลไมครอบคลุมทุกโรงเรียนและยังไมมีการติดตามประเมินผลอยางเปน ระบบ ผลการดําเนินงานมคี วามกา วหนา ระดบั ปานกลาง สวนระดับอุดมศึกษามีการ สรางองคความรู ทง้ั มแี ผนการดาํ เนนิ การและมโี ครงการนํารอ งอยา งตอ เนอ่ื ง แตยัง ไมมีการขยายผลที่ครอบคลุมทุกแหง ผลการดําเนินงานมีความกาวหนาระดับ ปานกลาง ในดานการวัดและประเมินผลผูเรยี นตามสภาพจรงิ ยังมคี วามกาวหนานอย ทั้งระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาเนื่องจากครู คณาจารยใชการประเมิน แบบเดิมที่เนนดานวิชาการ สวนการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานมีครูที่ทําวิจัยนอย ผลการดําเนินงานมีความกาวหนานอย ระดับอุดมศึกษา มีผลงานวจิ ยั ประมาณ 2,800 เรอ่ื ง คณาจารยม ผี ลงานวจิ ยั รอ ยละ 48 ผลการดาํ เนนิ งานมีความกาวหนาปานกลาง สําหรับการมีสวนรวมจัดการเรียนรูในชุมชน ผลการ ดําเนนิ งานมคี วามกา วหนา ปานกลาง 3. การจัดตั้งและพัฒนาแหลงเรียนรูตลอดชีวิต หนว ยงานภาครฐั และภาค เอกชน มีการดาํ เนนิ งานโดยมกี จิ กรรมทห่ี ลากหลาย ผลการดาํ เนนิ งานมคี วามกา วหนา ปานกลาง 4. การจัดสรรโอกาสในการศึกษาตอ ท้ังระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ ระดับอุดมศึกษา การจัดสรรโอกาสการเขาศึกษาตอยังใหความสาํ คญั กบั ดา นวชิ าการ เปนหลัก สว นทเ่ี ปน ผลการประเมนิ ความประพฤติ พฤตกิ รรม ยังไมไดนํามาพจิ ารณา ผลการดาํ เนนิ งานมคี วามกา วหนา นอ ย ปญหาอุปสรรคของการปฏิรูปการเรียนรูในดานหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กท่ีขาดบุคลากร อาจจะยังไมมีความพรอมในการนํา หลักสูตรไปใช สวนการเปล่ียนพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนของครูที่ใหสอน โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ตองใชเวลาในการปรับเปล่ียน เน่ืองจากจํานวนนักเรียน

ค ในแตละหองเรียนมีจํานวนมาก ครมู ภี าระงานมาก ทําใหครูไมส ามารถจัดเตรียมการ สอนท่ีมีประสิทธิภาพ สําหรับการจัดตั้งและพัฒนาแหลงเรียนรูตลอดชีวิต เปนไปใน ลักษณะตางคนตางทาํ ไมม แี ผนงาน โครงการในการพฒั นาเพอ่ื ใชป ระโยชนจ ากแหลง เรียนรรู ว มกนั นอกจากนน้ั การจัดสรรโอกาสในการศกึ ษาตอ ซง่ึ จะตอ งนําคณุ ลกั ษณะ ของผเู รยี นดา นคณุ ธรรม จริยธรรม มาพจิ ารณา จําเปน ตอ งมกี ารเกบ็ ขอ มลู เปน ระยะ ๆ และสมํ่าเสมอ จึงจะไดขอมูลท่ีเท่ียงตรง ประกอบกับครูมีภาระงานท่ีตองรับผิดชอบ นักเรียนจาํ นวนมาก ทาํ ใหไ มเ ออ้ื ตอ การประเมนิ คณุ ลกั ษณะของผเู รยี น ขอเสนอแนะ ในเรอ่ื งหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน คือ โรงเรยี นขนาดเลก็ ทม่ี ี บุคลากรไมเพียงพอ หนวยงานตนสังกัด ควรมีแผนดําเนินการสงเสริมสนับสนุนให โรงเรียนเหลาน้ีมีความพรอมในการนําหลักสูตรไปใช สวนการจัดการเรียนการสอน ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ควรมีการติดตามผลเพ่ือใหทราบผลดี และปญหาอุปสรรค นํ ามาป รับ ป รุง แก ไขใ หเหมาะสมและมีประสิทธิภาพทุกระดับและกลุมเปาหมาย สําหรับการดําเนินงานในการจัดต้ังและพัฒนาแหลงเรียนรู ควรประสานเชื่อมโยงกัน เพ่ือใหผ เู รยี นไดร บั ประโยชนส งู สดุ นอกจากนน้ั การปรับเปลยี่ นวิธกี ารจดั สรรโอกาสใน การศึกษาตอ จําเปน ตอ งใชเ วลาในการเตรยี มการและดําเนนิ การอยา งรอบคอบ เพอ่ื ให การนาํ ไปใชม คี วามเหมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพ

สารบัญ หนา บทสรุปสาํ หรบั ผบู รหิ าร........................................................................ก-ค บทท่ี 1 บทนํา บทท่ี 2 หลกั การและเหตุผล....................................................................1 บทท่ี 3 วัตถุประสงค ..............................................................................5 บทท่ี 4 ขอบเขตการศกึ ษา......................................................................5 ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดร บั ..........................................................5 วิธีดาํ เนนิ การ การจดั ทําประเดน็ การประเมนิ .....................................................7 การเกบ็ รวบรวมขอ มลู ................................................................7 การวเิ คราะหข อ มลู .....................................................................8 การตรวจสอบขอ มลู ...................................................................9 ความกาวหนาการปฏิรูปการศึกษา ประเดน็ ท่ี 1 หลักสูตรการศึกษา ................................................12 ประเดน็ ท่ี 2 การเรยี นรู..............................................................26 ประเดน็ ท่ี 3 การจดั ตง้ั และพฒั นาแหลง เรยี นรตู ลอดชวี ติ .............52 ประเดน็ ท่ี 4 การจดั สรรโอกาสในการศึกษาตอ ...........................56 ตารางวิเคราะหค วามกาวหนา การดาํ เนนิ งาน หมวด 4 ..............62 สรปุ ปญ หาอปุ สรรค และขอเสนอแนะ สรุป.........................................................................................65 ปญหาอปุ สรรค ........................................................................68 ขอ เสนอแนะ.............................................................................69 บรรณานกุ รม..........................................................................................71

บทท่ี 1 บทนํา 1. หลักการและเหตุผล การจดั การศกึ ษาตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 มี เปาหมายเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จติ ใจ สติปญญา ความรูคุณภาพและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมี ความสุข กระบวนการจดั การศกึ ษาตอ งยดึ หลกั วา ผเู รยี นทกุ คนมคี วามสามารถเรยี นรู และพัฒนาตนเองได และถอื วาผูเรียนมคี วามสาํ คัญที่สุด นอกจากนน้ั ยงั ตอ งสง เสรมิ ใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ เปาหมายของการจดั การศึกษาดังกลาวจะบรรลุวัตถุประสงคได จําเปนตองอาศัยทุกสวนของสังคมเขามา มีสวนรวมผลักดันใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติ ซง่ึ ขณะนก้ี ารดาํ เนนิ งานหลงั การประกาศ ใชพ ระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 ดาํ เนนิ มาครบรอบ 3 ป โดยเฉพาะ หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา ซึ่งครอบคลุมมาตรา 22-30 สาระในแตละมาตรา กาํ หนดไวด งั น้ี มาตรา 22 การจดั การศกึ ษาตอ งยดึ หลกั วา ผเู รยี นทกุ คนมคี วามสามารถเรยี นรู และพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษา ตองสง เสรมิ ใหผ เู รยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศกั ยภาพ มาตรา 23 การจดั การศกึ ษา ทง้ั การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตองเนนความสําคัญทง้ั ความรู คณุ ธรรม กระบวนการ เรยี นรู และบรู ณาการตามความเหมาะสมของแตละระดบั การศึกษาในเรื่องตอ ไปนี้ (1) ความรเู รอ่ื งเกย่ี วกบั ตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก ครอบครัว ชมุ ชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรความเปน มาของสังคมไทยและระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหา กษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ

2 (2) ความรแู ละทกั ษะดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รวมทง้ั ความรคู วามเขา ใจและประสบการณเรื่องการจัดการ การบํารุงรักษาและการใชประโยชนจาก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลยั่งยืน (3) ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกฬี า ภมู ปิ ญ ญาไทย และ การประยกุ ตใชภูมปิ ญญา (4) ความรู และทักษะดานคณิตศาสตร และดา นภาษา เนน การใชภ าษาไทย อยางถูกตอง (5) ความรู และทกั ษะในการประกอบอาชพี และการดาํ รงชีวิตอยางมีความสุข มาตรา 24 การจดั กระบวนการเรยี นรู ใหส ถานศกึ ษาและหนว ยงานทเ่ี กย่ี ว ขอ งดําเนนิ การดงั ตอ ไปน้ี (1) จดั เนอื้ หาสาระและกจิ กรรมใหสอดคลอ งกับความสนใจและความถนัดของ ผเู รยี น โดยคาํ นึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล (2) ฝกทกั ษะ กระบวนการคดิ การจดั การ การเผชญิ สถานการณ และการ ประยกุ ตค วามรมู าใชเ พอ่ื ปอ งกนั และแกไ ขปญ หา (3) จัดกจิ กรรมใหผ เู รยี นไดเ รยี นรจู ากประสบการณจ รงิ ฝกการปฏิบัติ ใหท ํา ได คิดเปน ทาํ เปน รกั การอา นและเกดิ การใฝร อู ยา งตอ เนอ่ื ง (4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูด า นตา งๆ อยางไดสัดสวน สมดุลกันรวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงคไวใน ทกุ วชิ า (5) สง เสริมสนบั สนุนใหผ สู อนสามารถจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ ม สื่อการ เรียนและอํานวยความสะดวกเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้ง สามารถใชก ารวจิ ยั เปน สว นหนง่ึ ของกระบวนการเรยี นรู ทง้ั น้ี ผสู อนและผเู รยี นอาจ เรียนรไู ปพรอ มกนั จากสอ่ื การเรยี นการสอนและแหลง วทิ ยาการประเภทตา งๆ (6) จัดการเรยี นรใู หเ กดิ ขน้ึ ไดท กุ เวลาทกุ สถานท่ี มกี ารประสานความรว มมอื กับบิดามารดา ผูปกครอง และบคุ คลในชุมชนทุกฝาย เพอ่ื รว มกนั พฒั นาผเู รยี นตาม ศักยภาพ

3 มาตรา 25 รัฐตองสงเสริมการดาํ เนนิ งานและการจดั ตง้ั แหลง การเรยี นรตู ลอด ชีวติ ทกุ รปู แบบ ไดแก หอ งสมดุ ประชาชน พพิ ธิ ภณั ฑ หอศิลป สวนสัตว สวน สาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อทุ ยาน วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ศนู ยก ารกฬี าและ นันทนาการ แหลง ขอ มลู และแหลง การเรยี นรอู น่ื อยา งพอเพยี งและมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรา 26 ใหสถานศกึ ษาจดั การประเมนิ ผเู รยี น โดยพจิ ารณาจากพฒั นาการ ของผูเรียน ความประพฤติ การสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น การรว มกจิ กรรมและการ ทดสอบควบคูไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแตล ะระดบั และ รปู แบบการศกึ ษา ใหสถานศึกษาใชวิธีการท่ีหลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเขาศึกษาตอ และใหน ําผลการประเมนิ ผเู รยี นตามวรรคหนง่ึ มาใชป ระกอบการพจิ ารณาดว ย มาตรา 27 ใหค ณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานกาํ หนดหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานเพอ่ื ความเปน ไทย ความเปน พลเมอื งทด่ี ขี องชาติ การดาํ รงชวี ติ และการประกอบอาชีพตลอดจนเพ่อื การศกึ ษาตอ ใหสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานมหี นา ทจ่ี ดั ทาํ สาระของหลักสูตร ตามวัตถุประสงคใน วรรคหนึ่งในสวนที่เกี่ยวกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น คุณ ลักษณะอนั พงึ ประสงคเ พอ่ื เปน สมาชกิ ทด่ี ขี องครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศ ชาติ มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาระดับตาง ๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาสาํ หรบั บุคคลตามมาตรา 10 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ ตอ งมลี กั ษณะหลากหลาย ท้ังน้ีใหจัดตามความเหมาะสมของแตละระดับโดยมุงพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของบุคคลให เหมาะสมแกว ยั และศกั ยภาพ สาระของหลักสูตร ทง้ั ทเ่ี ปน วชิ าการ และวชิ าชพี ตอ งมงุ พฒั นาคนใหม คี วาม สมดุลทั้งดานความรู ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบตอ สังคม

4 สําหรับหลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษา นอกจากคุณลกั ษณะในวรรคหนง่ึ และวรรคสองแลว ยงั มคี วามมงุ หมายเฉพาะทจ่ี ะพฒั นาวชิ าการ วชิ าชพี ชน้ั สงู และ การคนควา วจิ ยั เพอ่ื พฒั นาองคค วามรแู ละพฒั นาสงั คม มาตรา 29 ใหสถานศึกษารวมกับบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องคก รชมุ ชน องคกร ปกครองสว นทอ งถน่ิ เอกชน องคก รเอกชน องคกรวชิ าชพี สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น สง เสรมิ ความเขม แขง็ ของชมุ ชนโดย จัดกระบวนการเรยี นรภู ายในชมุ ชน เพอ่ื ใหช มุ ชนมกี ารจดั การศกึ ษาอบรม มกี าร แสวงหาความรู ขอ มลู ขา วสาร และรจู กั เลอื กสรรภมู ปิ ญ ญาและวทิ ยาการตา งๆ เพอ่ื พัฒนาชุมชนใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ รวมทั้งหาวิธีการ สนับสนนุ ใหม กี ารแลกเปลย่ี นประสบการณก ารพฒั นาระหวา งชมุ ชน มาตรา 30 ใหสถานศกึ ษาพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทั้งการสงเสริมใหผูสอนสามารถวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียนใน แตละระดับการศึกษา เพื่อใหเห็นความกาวหนาในการดาํ เนนิ งานของหนว ยงานตา งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งทง้ั หนวยงานระดบั นโยบาย หนว ยงานระดับปฏบิ ัติ รวมทง้ั องคก รชมุ ชน องคก รเอกชน องคก รวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น ๆ สํานกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาติ จงึ ไดดาํ เนนิ การศกึ ษาและเกบ็ รวบรวมขอ มลู เกย่ี ว กับการปฏริ ปู การศกึ ษาในหมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา ทง้ั นเ้ี พอ่ื ใหท กุ สว นของสงั คม ไดรับทราบผลการดาํ เนนิ งานในการจดั การศกึ ษา โดยเฉพาะการปฏริ ปู การเรยี นรู ซง่ึ เปนหัวใจสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาในครั้งน้ี นอกจากนั้นยังเปนการกระตุนให ผูเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาไดรวมผลักดันใหการดําเนนิ งานเปน ไปตามเจตนารมณ ท่ีกําหนดไวใ นพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 ทม่ี งุ ใหค นไทยมที ง้ั ความรูและคุณธรรมในการดาํ รงชวี ติ

5 2. วตั ถุประสงค เพื่อติดตามและประเมินผลการดําเนินงานในการปฏิรูปการศึกษาโดยเฉพาะ หมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา ในชว ง 3 ปห ลงั ประกาศใชพ ระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษา แหง ชาติ พ.ศ. 2542 3. ขอบเขตการศกึ ษา 3.1 การติดตามและประเมนิ ผลการดําเนนิ การในหมวด 4 แนวการจดั การ ศึกษานําสาระในพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 เปน ประเดน็ ในการ ติดตามและประเมินผล 3.2 ขอมูลที่ไดรับจากผูประสานงานและคณะทาํ งานของแตล ะหนว ยงาน เมอ่ื สิ้นสุดเดือนสิงหาคม 2545 นับเปนผลการดาํ เนนิ งานของหนว ยงานนน้ั ในชว ง 3 ป หลังการประกาศใชพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 4. ประโยชนท ี่คาดวาจะไดรบั 4.1 ทุกสว นของสงั คมและผมู สี ว นเกย่ี วขอ งไดร บั ทราบสถานภาพของการปฏริ ปู การศึกษา โดยเฉพาะการปฏิรูปการเรียนรูในชวง 3 ปหลังการประกาศใชพระราช บัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 4.2 หนวยงานและผูมีสวนเกี่ยวของใชเปนขอมูลสาํ หรบั การวางแผนดาํ เนนิ งาน การปฏริ ปู การศกึ ษาโดยเฉพาะการปฏริ ปู การเรยี นรตู อ ไปในอนาคต

บทท่ี 2 วิธีดาํ เนนิ การ วิธีดําเนินการ ในการติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาในหมวด 4 แนวการจัดการศึกษามีขั้นตอนการดาํ เนนิ การดังน้ี 1. การจดั ทําประเดน็ การประเมนิ ใชส าระทก่ี ําหนดในหมวด 4 แนวการจดั การ ศึกษา มาตรา 22-30 เปน แนวทางกาํ หนดประเดน็ ทง้ั นเ้ี พอ่ื ใหค รอบคลมุ เจตนารมณ ท่ีกําหนดไวใ นพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 2. การเกบ็ รวบรวมขอ มลู ดําเนนิ การดงั น้ี 2.1 เก็บรวบรวมขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของในระดับนโยบาย เชน กระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวทิ ยาลยั กระทรวงมหาดไทย สํานกั งานปฏริ ปู การ ศึกษา (สปศ.) สํานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพ (สมศ.) และสํานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.) โดยพิจารณาจากภารกิจของหนวยงาน แผนงาน/โครงการ ผลการดาํ เนนิ งานรวมทง้ั ปญ หา/อุปสรรคในการดําเนนิ งาน ซง่ึ การ เก็บรวบรวมขอ มลู ดําเนนิ การโดยคณะทํางานทเ่ี ปน ผแู ทนของหนว ยงานนน้ั ๆ และมี ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติทําหนาที่เปนฝายเลขานุการจัดทํา รายงานเพอ่ื เสนอใหท ป่ี ระชมุ คณะทํางานพจิ ารณาเปน ระยะๆ เกย่ี วกบั ความกา วหนา การดําเนนิ งานในการปฏริ ปู การเรยี นรทู เ่ี ปน ภาพรวมของทกุ หนว ยงาน 2.2 เก็บรวบรวมขอมูลจากผูปฏิบัติซึ่งเปนกลุมบุคคลที่เก่ียวของกับการปฏิรูป การเรยี นรู เชน ผูปกครอง ครู ผเู รยี นและผบู รหิ ารสถานศกึ ษา โดยใชแบบสอบถาม แบบเจาะลึกในรายประเด็น เชน เรื่องหลักสูตร การจดั การเรยี นการสอน การประเมนิ ผลผเู รยี นและการจดั สรรโอกาสในการศกึ ษาตอ เปน ตน ทง้ั น้ี เพอ่ื ใหผ ลการประเมนิ มี ความครอบคลุมทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ อนั จะนําไปสขู อ เสนอแนะทเ่ี ปน ประโยชนใ นการดาํ เนนิ การตอ ไป

8 3. การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหข อมูลประกอบดวยการดาํ เนนิ งานดังน้ี 3.1 กําหนดสาระในมาตรา 22-30 เปนสิ่งที่ตองดําเนนิ การตามเจตนารมณ ของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 โดยกาํ หนดเปน รายประเดน็ ทต่ี อ ง ประเมนิ 3.2 ดัชนีชี้วัดความกาวหนาในแตละประเด็น พจิ ารณาจาก 2 มิติ คือ 3.2.1 การดํ าเนินงานที่เปนกระบวนการข้ันตอน (Stage of development) ของการนํานโยบายและแผนไปสูการปฏิบัติโดยมีเกณฑการพจิ ารณา ดังนี้ (1) ไมม คี วามกา วหนา - ไมมีการดาํ เนนิ การใด ๆ (2) กาวหนา นอ ย - จดั ทํานโยบาย /แผนปฏบิ ตั ิ /แผนงาน โครงการ (3) กา วหนา ปานกลาง - สรางองคความรู ผลติ เอกสารพฒั นา บุคลากร และมีการทดลอง/นาํ รอ ง (4) กา วหนา มาก - ขยายผลไดเต็มรูปแบบ 3.2.2 ความสอดคลอง (Relevance) โดยวิเคราะหผลการดาํ เนนิ งานกบั เจตนารมณที่กาํ หนดไวใ นพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 เกณฑก าร พจิ ารณาดงั น้ี • ผลการดําเนินงานสอดคลองกับเจตนารมณที่กําหนดไวใน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เกณฑก ารพจิ ารณาความกา วหนา เปน ไปตามขอ 3.2.1 • ผลการดําเนินงานไมสอดคลองกับเจตนารมณท่ีกําหนดไวใน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ถอื วา กา วหนา นอ ย

9 4. การตรวจสอบขอ มลู การตรวจสอบขอมูลดําเนนิ การดังน้ี 4.1 การประชมุ คณะทํางานติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซง่ึ มที ง้ั หมด 29 คน การประชุมแตละ คร้ังมีการตรวจสอบขอมูลท่ีเปนผลการดําเนินงานของแตละหนวยงานการประชุมรวม ท้ังหมด 4 ครั้ง คือ คร้งั ที่ 1/2545 ในวนั ท่ี 5 มีนาคม 2545 ผเู ขา รว มประชมุ จํานวน 38 คน ครั้งท่ี 2/2545 ในวนั ท่ี 4 เมษายน 2545 ผเู ขา รว มประชมุ จาํ นวน 35 คน คร้ังที่ 3/2545 ในวนั ท่ี 8 พฤษภาคม 2545 ผเู ขา รว มประชมุ จาํ นวน 39 คน และครั้งท่ี 4/2545 ในวนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2545 ผเู ขา รว มประชมุ จาํ นวน 30 คน 4.2 ประชมุ ภายในของสาํ นกั ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ศาสนา และวฒั น ธรรม เพื่อตรวจสอบขอมูลที่ไดจากการติดตามและประเมินผลการดาํ เนนิ งานตามแนว ทางพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 4.3 การประชมุ โตะ กลมในวนั ท่ี 19 กรกฎาคม 2545 ณ สํานกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาติ ผเู ขา รว มประชมุ ประกอบดว ยผเู ชย่ี วชาญและ ผูเกย่ี วขอ งจาํ นวน 29 คน พจิ ารณารา งรายงานผลการตดิ ตามและประเมนิ ผลการ ปฏิรปู การศกึ ษา หมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา โดยนําผลทไ่ี ดม าปรบั ปรงุ ตามขอ เสนอ แนะจากการประชมุ 4.4 การสมั มนา เมอ่ื วนั ท่ี 24 กนั ยายน 2545 ณ โรงแรมปรนิ ซพ าเลซ กรุงเทพมหานคร ผเู ขา รว มประชมุ ประกอบดวย นกั วชิ าการทป่ี ฏบิ ตั งิ านดา นนโยบาย แผน มาตรฐาน ประเมนิ ผล รวมทง้ั ผปู ฏบิ ตั งิ านในหนว ยงานทางการศึกษา ทง้ั สว น กลางและในระดับจงั หวดั ประมาณ 150 คน เพื่อระดมความคิดและแลกเปลี่ยนความ คิดเหน็ เกย่ี วกบั ปญ หา/อปุ สรรค และสิ่งที่ตองเรงดําเนนิ การในการปฏริ ปู การศกึ ษา

บทท่ี 3 ความกาวหนาการปฏิรูปการศึกษา สาระบญั ญตั ใิ นพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 แนวการ จดั การศึกษา ไดบ ญั ญตั ขิ น้ึ ดว ยเจตนารมณท ต่ี อ งการใหม กี ารปรบั เปลย่ี นกระบวนการ จัดการศึกษา ใหสอดคลองกับสถานการณของประเทศและโลก โดยเตรียมเด็กไทยให เขา สสู งั คมฐานความรู (Knowledge-Based Society) จงึ ตอ งมกี ารปฏริ ปู การเรยี นรู โดยเนน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ เร่ิมจากการพัฒนาหลกั สตู รใหสอดคลองกับสภาพความ เปลี่ยนแปลง มรี ปู แบบหลกั สตู รทห่ี ลากหลายเหมาะสมกบั ผเู รยี นแตล ะวยั และระดบั การศึกษา และในกระบวนการจดั การศกึ ษาใหม ที ง้ั ความรแู ละคณุ ธรรม ใหผ เู รยี นได เรียนรจู ากประสบการณจ รงิ โดยประสานความรว มมอื จากทกุ สว นของสงั คม และใหม ี การปรับเปลย่ี นวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลทเ่ี ออ้ื ตอ การพฒั นาผเู รยี นใหเ กดิ คณุ ลกั ษณะท่ี พึงประสงค รวมทง้ั ใหผ สู อนใชก ระบวนการวจิ ยั มาเปน สว นหนง่ึ ในการพฒั นาการเรยี นรู นอกจากน้ันใหสถานศึกษารวมกับทุกสวนของสังคมจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อสงเสริม ความเขม แขง็ ของชมุ ชน และใหม กี ารจดั ตง้ั และพฒั นาแหลง เรยี นรใู หเ พยี งพอกบั การ สงเสรมิ การเรยี นรตู ลอดชวี ติ รวมทง้ั ใหป รบั เปลย่ี นวธิ กี ารจดั สรรโอกาสในการศกึ ษาตอ ระดับตางๆที่ใหความสาํ คัญกับความรูและคุณธรรม จากสาระที่กลาวมาขางตน การติดตามและประเมินผลการดาํ เนนิ งานปฏริ ปู การศกึ ษาตามหมวด 4 วา ดว ยแนวการจดั การศกึ ษา ประกอบดวยประเด็นหลัก 4 ประเด็นคือ ประเด็นท่ี 1 หลักสูตรการศึกษา ประเดน็ ท่ี 2 การเรยี นรู ประเด็นท่ี 3 การจดั ตง้ั และพฒั นาแหลง เรยี นรตู ลอดชวี ติ ประเดน็ ท่ี 4 การจัดสรรโอกาสในการศึกษาตอ รายละเอียดของแตละประเด็นจะนาํ เสนอในภาพรวมของผลการดาํ เนนิ งาน ซึ่งแสดง ใหเหน็ ความเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ ทบ่ี ง ชถ้ี งึ ความกา วหนา ของการดาํ เนนิ งาน ดังตอไปนี้

12 ประเดน็ ท่ี 1 หลกั สตู รการศกึ ษา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 กาํ หนดใหม กี ารจดั ทํา หรือปรบั หลกั สตู รการศกึ ษาทง้ั ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและอดุ มศกึ ษา ใหม ลี กั ษณะ ท่ีหลากหลายเหมาะสมกบั บคุ คลทกุ กลมุ เปา หมาย โดยในระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน รัฐตอ งจดั ใหม หี ลกั สตู รแกนกลางทม่ี ลี กั ษณะของความเปน ไทย ความเปน พลเมอื งทด่ี ี ของชาติ การดาํ รงชวี ติ และการประกอบอาชพี ตลอดจนเพอ่ื การศกึ ษาตอ และตอง สงเสริมใหสถานศึกษาข้ันพื้นฐานสามารถจัดทําสาระหลักสูตรใหสอดคลองกับสภาพ ปญหาในชมุ ชนและสงั คม ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคเ พอ่ื เปน สมาชกิ ทดี่ ขี องครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ในระดับอุดมศึกษาใหมีการพัฒนาหลักสูตรท่ีหลากหลายตามความตองการของ ผูเรียน มงุ เนน พฒั นาวชิ าการและวชิ าชพี ชน้ั สงู และการคน ควา วจิ ยั เพอ่ื พฒั นาองค ความรูและพัฒนาสังคม จากประเด็นในเรื่องหลักสูตรการศึกษา พบวา มปี ระเดน็ ทพ่ี จิ ารณา ดังตอไปนี้ 1.1 หลกั สตู รแกนกลาง 1.2 หลักสูตรสถานศึกษา 1.3 หลักสูตรอุดมศึกษา รายละเอียดแตละประเด็นมีดังนี้ 1.1 หลกั สูตรแกนกลาง 1.1.1 สงิ่ ที่ตองดําเนนิ การ คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานจดั ทําหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานเพอ่ื ความเปน ไทย ความเปน พลเมอื งทด่ี ขี องชาติ การดาํ รงชวี ติ การประกอบอาชีพตลอดจนการศึกษาตอ 1.1.2 ผลการดาํ เนนิ งาน กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ไดดาํ เนนิ การจดั ทาํ หลกั สตู รแกนกลางซง่ึ เปนหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน โดยมกี ารดําเนนิ การในการจดั ทําดังนี้

13 ! วิเคราะหหลักสูตรปจจุบัน/หลักสูตรของนานาประเทศ/พระราช บัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ! คณะกรรมการดาํ เนนิ การยกรา งหลกั สตู รระหวา ง ป 2542-2544 ! ประชมุ รบั ฟง ความคดิ เหน็ ทว่ั ประเทศ ทง้ั จากประชาชน ขา ราชการ สื่อมวลชน รวมทง้ั ทางอนิ เทอรเ นต็ และทางตู ป.ณ. 39 ! ประกาศระเบียบคณะกรรมการหลักสูตรทุกสถานศึกษา ! ปรบั ปรงุ เสนอรา งหลกั สตู รตอ กระทรวง ! ประชมุ รบั ฟง ความคดิ เหน็ ผเู กย่ี วขอ งตามนโยบายของรฐั บาล รวม 13 ครง้ั จากทกุ กรม ! คณะผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการปฏิรูปหลกั สูตรและกระบวนการ เรียนรู พจิ ารณากลน่ั กรองและใหค วามเหน็ ! เสนอรฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเพอ่ื ประกาศใช มีการประกาศใชห ลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เมอ่ื วนั ท่ี 2 พฤศจิกายน 2544 โดยมเี งอ่ื นไขและเวลาการใชห ลกั สตู ร ดังนี้ ปก ารศึกษา 2546 ใหใชสาํ หรบั ชน้ั ป.1 ป.4 ม.1 และ ม.4 ปการศกึ ษา 2547 ใหใชสาํ หรบั ชน้ั ป.1 ป.2 ป.4 ป.5 ม.1 ม.2 ม. 4 และ ม.5 ปก ารศกึ ษา 2548 ใหใ ชท กุ ชน้ั เรยี น หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 ซง่ึ เปน หลกั สตู รแกนกลางมี โครงสรางยืดหยุน กาํ หนดจดุ มงุ หมาย ซง่ึ ถอื เปน มาตรฐานการเรยี นรใู นภาพรวม 12 ป สาระการเรยี นรู มาตรฐานการเรยี นรแู ตล ะกลมุ 8 กลมุ วชิ า (กลมุ วชิ าภาษาไทย กลุมวิชาคณิตศาสตร กลุมวิชาวิทยาศาสตร กลุมวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั น ธรรม กลมุ วชิ าสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา กลุมวิชาศิลปะ กลมุ วชิ าการงานอาชพี และ เทคโนโลยี และกลมุ วชิ าภาษาตา งประเทศ) มาตรฐานการเรยี นรชู ว งชน้ั เปน ชว งชน้ั ละ

14 3 ป จดั เฉพาะสว นทจ่ี าํ เปน สําหรบั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ความเปน ไทย ความเปน พลเมืองดีของชาติ การดาํ รงชวี ติ และการประกอบอาชพี ตลอดจนเพอ่ื การศึกษาตอ กระทรวงศึกษาธิการไดดาํ เนนิ การสาํ หรบั การนําหลกั สูตรแกนกลางไปใชด ังน้ี ! จัดทําและเผยแพรเ อกสารหลกั สตู ร/สื่อตางๆ ใหก บั โรงเรยี นนํารอ ง และโรงเรยี นเครอื ขา ย และใหก บั ครทู กุ คนในสถานศกึ ษาทกุ แหง ! การนํารอ งการใชห ลกั สตู รในโรงเรยี นนํารอ ง 162 โรง โรงเรยี นเครอื ขาย 1,838 โรง และโรงเรยี นนํารอ งในเขตพน้ื ทป่ี ฏริ ปู การศกึ ษา 5 จังหวดั 175 โรง รวมประมาณ 2,175 โรง โดยใหมีการฝกปฏิบัติจัด ทําหลักสูตรสถานศึกษา การจดั การเรยี นรแู ละการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ซง่ึ เรม่ิ นํารอ งในปก ารศกึ ษา 2545 ในชน้ั ป.1 ป.4 ม.1 และ ม.4 และจะใหค รบวงจรทกุ ชน้ั ปใ นปก ารศกึ ษา 2547 เพอ่ื เตรียมการใชอยางเต็มรูปแบบ ทว่ั ประเทศ ตั้งแตปการศึกษา 2546 เปน ตน ไป ! การพฒั นาบคุ ลากรจํานวน 4,400 คน มกี ารจดั ทําชุดฝกอบรมและ ส่ือเพอ่ื พฒั นาวทิ ยากรหลกั สตู ร มกี ารอบรมวทิ ยากรในระดบั จงั หวดั และอบรมครทู ว่ั ประเทศ (ดําเนนิ การโดยกรมตน สงั กดั ) ! จัดใหม เี ครอื ขา ยพเ่ี ลย้ี งจากสถาบนั ราชภฏั ทบวงมหาวทิ ยาลยั และ องคก รเอกชน ประมาณ 825 คน ! ติดตามและประเมินผลการดาํ เนนิ งานของโรงเรยี นนํารอ ง โรงเรยี น เครือขายรวมกับตนสังกัด และเครอื ขา ยพเ่ี ลย้ี งทง้ั ในสว นกลางและ ในพน้ื ทท่ี ว่ั ประเทศ ! จัดใหมีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพวิชาการ 8 กลุมสาระและ กิจกรรมพฒั นาผเู รยี นและกจิ กรรมสรา งสรรคส งั คม

15 1.1.3 ผลการวเิ คราะห พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กาํ หนดใหก ารจดั ทําหลกั สูตรแกนกลางเปนหนา ทข่ี องคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานซง่ึ ขณะทาํ การประเมนิ ยังไมม กี ารจดั ตง้ั คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน แตก รมวชิ าการ ไดดําเนนิ การจดั ทําและไดป ระกาศใชเ มอ่ื วนั ท่ี 2 พฤศจกิ ายน 2544 โดยสาระของหลกั สตู รแกนกลาง สอดคลองกับมาตรา 27 วรรคแรก ทก่ี ําหนดไวใ นพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และมโี ครงการนํารอ งการใชห ลกั สตู รเพอ่ื เตรยี มการใชอ ยา งเตม็ รปู แบบ ท่ัวประเทศ ดังนั้น กลาวไดวา การดาํ เนนิ งานมคี วามกา วหนา มาก 1.1.4 ปญ หา อปุ สรรค หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2544 เปลย่ี นแปลงจากโครงสรา งหลกั สูตรเดิม เชน ในเรอ่ื งของสาระรายวชิ า เวลาทใ่ี ชจ ดั การเรยี นการสอน กจิ กรรมการเรยี น การสอน การวดั และประเมนิ ผล เปน ตน ซง่ึ เปน เรอ่ื งใหมส าํ หรบั ครู/สถานศึกษา จําเปน ท่ีครูผสู อนและผูบรหิ ารตองใชเวลาในการศึกษาเตรยี มการ 1.1.5 ขอเสนอแนะ (1) เรงสรางความเขาใจ และใหค รผู สู อนตระหนกั ถงึ ความจําเปน ของการ ปรับเปลี่ยนหลักสูตรที่ดาํ เนนิ การเพอ่ื ใหท นั กบั ความเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ (2) ใหจ ดั ทําเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ งกบั หลกั สตู รเปน กลมุ สาระตา ง ๆ เพอ่ื ให สถานศึกษาทกุ แหง ใชเ ปน แนวทางในการเตรยี มการกอ นมกี ารใชจ รงิ ในทกุ ชน้ั เรยี น 1.2 หลักสูตรสถานศึกษา 1.2.1 สิ่งที่ตองดาํ เนนิ การ สถานศึกษาข้ันพื้นฐานจัดทําสาระหลักสูตรที่สอดคลองกับวัตถุประสงคของ หลักสูตรแกนกลาง ในสว นทเ่ี กย่ี วกบั สภาพปญ หาในชมุ ชน สังคม ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคเ พอ่ื เปน สมาชกิ ทด่ี ขี องครอบครวั ชมุ ชน สงั คมและประเทศ ชาติ

16 1.2.2 ผลการดาํ เนนิ งาน เน่ืองจากมกี ารประกาศใชห ลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 ซ่ึงเปน หลกั สตู รแกนกลางเมอ่ื วนั ท่ี 2 พฤศจกิ ายน 2544 และขณะนอ้ี ยใู นระยะการนํา รองหลักสูตร ดังนั้น การดาํ เนนิ การใหม กี ารจดั ทาํ หลักสูตรสถานศึกษาจึงอยูใ นระยะ เตรียมการ ซึ่งการเตรียมการตองดาํ เนนิ การควบคกู บั ไป คือ ใหส ถานศกึ ษาเขา ใจ ในสาระของหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 และแนวทางการจดั ทํา หลักสูตรสถานศึกษา กจิ กรรมในการดาํ เนนิ การมดี งั น้ี (1) จัดทาํ แนวทางเกย่ี วกบั การจดั ทําหลักสูตรสถานศึกษา (2) พัฒนาบคุ ลากรของหนว ยงานตา ง ๆ ดังนี้ กรมวชิ าการ ♦ อบรมศึกษานิเทศกและบุคลากรของโรงเรียนนํารองการใช หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จํานวน 162 โรงเรยี น (ศกึ ษานเิ ทศก จํานวน 162 คน ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา จํานวน 162 คน และครูผูสอน จํานวน 1,620 คน) ♦ อบรมวิทยากรแกนนําระดับชาติของหนวยงานตนสังกัด สถานศึกษา จํานวน 1,200 คน เพอ่ื ไปทําหนา ทเ่ี ปน วทิ ยากรแกนนําอบรมปฏิบัติการ โรงเรยี นเครอื ขา ย จํานวน 1,805 โรงเรยี น กรมสามญั ศกึ ษา ♦ อบรมวทิ ยากรแกนนํารว มกบั กรมวชิ าการ จํานวน 300 คน เพ่ือไปอบรมบคุ ลากรของโรงเรยี นเครอื ขา ยในสงั กดั ของกรมสามญั ศกึ ษา ♦ อบรมบคุ ลากรของโรงเรยี นเครอื ขา ย จํานวน 474 โรงเรยี น จํานวน 8,058 คน เพอ่ื ใหส ามารถจดั ทําหลักสูตรสถานศึกษา และบรหิ ารจดั การหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน รวมทง้ั นําไปใชใ นปก ารศกึ ษา 2545 ♦ อบรมบุคลากรของโรงเรียนท่ีจะใชหลักสูตรในปการศึกษา 2546 จํานวน 2,119 โรง จํานวน 31,680 คน เพอ่ื ใหส ามารถจดั ทําหลักสูตรสถาน ศึกษาและแผนบรหิ ารจดั การหลกั สตู รการศกึ าาขน้ั พน้ื ฐาน และนําไปใชใ นปก ารศกึ ษา 2546

17 สํานกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง ชาติ ♦ อบรมวทิ ยากรแกนนําการใชห ลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน รวมกบั กรมวชิ าการ จํานวน 300 คน เพอ่ื ไปอบรมบคุ ลากรของโรงเรยี นเครอื ขา ย 1,011 โรง ♦ อบรมบคุ ลากรของโรงเรยี นเครอื ขา ย 1,011 โรง จํานวน 10,110 คน เพอ่ื ใหส ามารถจดั ทําหลักสูตรสถานศึกษา แผนบรหิ ารจดั การหลกั สตู รและ นําไปใชใ นปก ารศกึ ษา 2545 ♦ อบรมผูบริหารและครูโรงเรียนคุณภาพแกนนํากลุมโรงเรียน 4,641 โรงเรยี นทว่ั ประเทศ โดยวทิ ยากรแกนนํา และวทิ ยากรหลักสูตรระดับจงั หวดั สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน ♦ อบรมวทิ ยากรแกนนําการรว มกบั กรมวชิ าการ จํานวน 180 คน เพอ่ื ไปอบรมบคุ ลากรของโรงเรยี นเครอื ขา ยสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอก ชน 248 โรง ♦ อบรมผบู รหิ ารและครโู รงเรยี นเครอื ขา ย ประมาณ 2,480 คน เพอ่ื ใหส ามารถจดั ทําหลักสูตรสถานศึกษา แผนบรหิ ารจดั การหลกั สตู รและนําไปใชในป การศกึ ษา 2545 ♦ อบรมผบู รหิ ารและครโู รงเรยี นทว่ั ไปอกี 2,246 โรงเรยี นซง่ึ แยกเปนโรงเรยี นเอกชน ประเภทสามญั ศกึ ษา 1,946 โรง และโรงเรยี นเอกชน (โรงเรียนทส่ี อนภาษาจนี รวมกบั โรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม) จํานวน 300 โรง (3)มีการติดตามความพรอมในการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2544 โดยคณะอนกุ รรมาธกิ ารพจิ ารณาวเิ คราะหห ลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 ซึ่งติดตามผลจากโรงเรียนนาํ รองการใชหลักสูตร จาก โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง ชาติ และ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา สังกัดกรมสามัญศึกษา สังกัดละ 1 โรงเรยี น จาก 76 จงั หวดั รวมทั้งโรงเรยี นสังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน สํานกั การศกึ ษา

18 กรุงเทพมหานคร และสํานกั บรหิ ารการศกึ ษาทอ งถน่ิ รวม 162 โรง โดยสอบถาม ผูบ รหิ าร ครูผูสอน และคณะกรรมการสถานศกึ ษา ผลการวเิ คราะหข อ มลู พบวา ♦ ผูบริหารมีความเห็นวาสถานศึกษาไดเตรียมความพรอมการใช หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา รอยละ 98 สว นในดา นการจดั ทําสาระ ของหลักสูตรสถานศึกษา พบวา ดําเนนิ การแลว รอยละ 81 และมคี วามมน่ั ใจในการนํา หลักสูตรไปใชในปการศึกษา 2545 รอยละ 85 ♦ ครูผูสอน ดาํ เนนิ การจดั ทาํ สาระของหลักสูตรสถานศึกษา ดําเนนิ การไปแลว รอยละ 95 และมคี วามมน่ั ใจในการนําหลักสูตรไปใชในปการศึกษา 2545 รอยละ 50 ความคิดเหน็ ของครเู ก่ียวกบั หลักสตู รการศกึ ษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง ชาติไดดําเนนิ การสอบถามความคดิ เหน็ ของครเู ก่ยี วกบั การจดั ทําหลักสูตรสถานศึกษา เมอ่ื เดือนกรกฎาคม 2545 ซง่ึ จากการ สอบถามครจู ํานวน 1,157 คน เกย่ี วกบั การจดั ทําหลกั สตู รการศึกษาพบวา ครูที่ตอบ แบบสอบถามรอยละ 47 มอี ายรุ ะหวา ง 41-50 ป มปี ระสบการณใ นการทาํ งานมากกวา 20 ป จํานวนรอ ยละ 45 มีระดับการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรีรอยละ 82 สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ รอยละ 31 รองลงมาสังกัดกรม สามัญศึกษารอยละ 26 และสังกัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชนรอ ยละ 14 ตามลําดับ ซ่ึงครูเหลาน้ีอยูในโรงเรียนนํารอง/เครือขายการใชหลักสูตรของกระทรวง ศึกษาธิการรอยละ 68 สว นอกี รอ ยละ 30 ไมไ ดอ ยใู นโรงเรยี นนํารอ ง/เครอื ขา ย นอกจาก น้ันยงั พบวา ครูรอยละ 77 เคยไดร บั การอบรมเกย่ี วกบั การจดั ทําหลักสูตรสถานศึกษา อีกรอ ยละ 23 ไมเ คยไดร บั การอบรม เมอ่ื พจิ ารณาถงึ ความรคู วามเขา ใจของครใู นการ จดั ทําหลักสูตรสถานศึกษาพบวาครูรอยละ 61 มคี วามรคู วามเขาใจในระดบั ปานกลาง รองลงมารอยละ 22 มคี วามรคู วามเขา ใจมาก รอยละ 17 มคี วามรคู วามเขา ใจนอ ย และครูรอยละ 88 คิดวาสามารถจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาได รอยละ 82 คิดวา

19 ผูปกครอง/ชุมชนสวนใหญเห็นดวยกับการที่โรงเรียนจัดทําและนําหลักสูตรสถานศึกษา มาใชใ นการจดั การเรยี นการสอน สําหรับขอเสนอแนะที่ไดจากการตอบแบบสอบถามของครูเกี่ยวกับการใหสถาน ศกึ ษาสามารถจดั ทําหลักสูตรสถานศึกษาได ควรไดรับการสนับสนุนในดานใดบาง ซง่ึ ขอ เสนอแนะ มีดังน้ี (1) การสนบั สนนุ ดา นงบประมาณ (2) การสนบั สนนุ ดา นบคุ ลากรทม่ี คี วามชํานาญ เชย่ี วชาญในเรอ่ื งการ จดั ทําหลักสูตร และมคี วามรเู กย่ี วกบั ชมุ ชน (3) ใหเ วลาในการจดั ทําอยา งเพยี งพอ (4) มีวทิ ยากรในการแนะนาํ ใหคาํ ปรกึ ษา (5) มกี ารฝก อบรมอยา งตอ เนอ่ื ง (6) สนบั สนนุ ดา นอปุ กรณ สื่อ (7) มกี ารนเิ ทศ ติดตามอยางตอเนื่อง (8) มีเอกสารวชิ าการตา งๆ เชน สาระทง้ั 8 กลมุ วชิ า มาตรฐานแตละ ชวงชั้น รวมท้ังคูมือการดาํ เนนิ งาน 1.2.3 ผลการวเิ คราะห จากการวิเคราะหกระบวนการดําเนินงานเพื่อใหสถานศึกษาจัดทําหลักสูตร ซึ่งไดดาํ เนนิ การควบคไู ปกบั การเตรยี มการใชห ลกั สตู รแกนกลาง ซง่ึ เปน หลกั สตู รการ ศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 พบวา มีการดาํ เนนิ การเตรยี มการทง้ั การวจิ ยั องคค วามรเู กย่ี วกบั แนวทางการจดั ทําหลักสูตรสถานศึกษา การพฒั นาบคุ ลากรและ โครงการนํารอ งทค่ี รอบคลมุ โรงเรยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เพอ่ื เปน โรงเรยี น แกนนาํ ในการจดั ทาํ หลักสูตรสถานศึกษาของแตละสังกัดตอไป และเมอ่ื พจิ ารณา รวมกับผลการติดตามการนํารอ งการจดั ทําหลกั สูตรของสถานศึกษา พบวา ครูรอยละ 50 ไมม่ันใจในการนําหลักสูตรไปใช การดาํ เนนิ งานมคี วามกา วหนา ปานกลาง

20 1.2.4 ปญ หา อปุ สรรค (1) การประกาศใชห ลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ไดม กี ารวางแผนเตรยี ม การสนบั สนนุ เพอ่ื ใหบ คุ ลากรโดยเฉพาะผบู รหิ ารและครผู สู อน ไดม คี วามพรอ มในการ นําหลักสูตรไปใช โดยจดั ใหม กี ารอบรมชแ้ี จงและอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เพอ่ื ใหม คี วามรู ความเขา ใจหลกั สตู ร การบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร และสามารถจดั ทําหลักสูตรสถาน ศึกษาได นอกจากนน้ั ยงั ไดม กี ารจดั ทําเอกสารหลักสูตรตาง ๆ ไดแก คูมือกลุม สาระแนวทางการจดั ทําหลักสูตรสถานศึกษา เปน ตน เพอ่ื ใหส ถานศกึ ษาใชเ ปน แนวทางในการเตรียมการใชหลักสูตร ถงึ แมว า ระยะเวลาทใ่ี ชใ นการเตรยี มการใช หลักสูตรจะคอนขา งนอ ย แตก ารทม่ี แี ผนพฒั นาบคุ ลากรและมเี อกสารแนวทางการ ดําเนินการตาง ๆ จะชว ยใหส ถานศกึ ษาจํานวนหนง่ึ โดยเฉพาะโรงเรยี นนํารอ งและ โรงเรียนเครือขายการใชหลักสูตร มคี วามพรอ มทจ่ี ะใชห ลกั สตู รและเปน ตวั อยา ง ในการใชห ลกั สตู รใหก บั โรงเรยี นทว่ั ไปได สําหรบั โรงเรยี นขนาดเลก็ รวมทง้ั โรงเรยี น ตํารวจตระเวนชายแดน ทอ่ี าจจะยงั ไมม คี วามพรอ มในการนําหลักสูตรไปใช อนั เนอ่ื งมา จากขอจํากดั ทางดา นจาํ นวนบคุ ลากรไมเ พยี งพอ (2) การสรา งหลกั สตู รทม่ี คี วามยดื หยนุ นน้ั มที ง้ั ขอ ดแี ละขอ ทค่ี วรระวงั ใน กรณที ผ่ี นู าํ หลักสูตรไปใชขาดความเขาใจ ความยดื หยนุ ในทน่ี ไ้ี มไ ดห มายความวา ทุกเรอ่ื ง ทอ งถน่ิ หรอื สถานศกึ ษาจดั สาระการเรยี นรไู ดเ องทง้ั หมด เพราะยงั มคี วาม จําเปนทจ่ี ะตอ งมสี าระการเรยี นรพู น้ื ฐานทจ่ี าํ เปน สําหรบั เดก็ ไทยทกุ คนทว่ั ประเทศ ตอง ไดเ รยี นและมคี วามรคู วามเขา ใจเหมอื นกนั (3) หลักสตู รใหมแ ยกเปน กลมุ สาระเนน รายวชิ าตง้ั แตช น้ั ป.1 โรงเรยี นจะ รูส กึ วา ขาดครเู ฉพาะสาขาเพม่ิ ขน้ึ โดยเฉพาะวชิ าวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร ทง้ั น้ี หลักสูตรไดเสนอแนะใหสถานศึกษาจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา ในชว งชน้ั ตน ๆ (ประถมศกึ ษา) เนน กระบวนการเรยี นรแู บบบรู ณาการ ซง่ึ จะตอ งทําความเขา ใจในการ เตรียมการใชหลักสูตรตอไป (4) การนําหลักสูตรใหมไปใช ไมใ ชเ รอ่ื งของครกู บั นกั เรยี นเทา นน้ั แตเ ปน เรื่องของผูปกครอง ชมุ ชน และประชาชน ดังนั้น ทกุ ฝา ยจะตอ งรบั รบู ทบาททต่ี น

21 เกี่ยวขอ ง ทง้ั การพฒั นาหลกั สตู ร การใชหลักสูตร ซง่ึ เปน บทบาทรว มกนั ของทกุ คนใน สังคม 1.2.5 ขอ เสนอแนะ (1) สรา งความมน่ั ใจใหก บั ครใู นการทําหลักสูตร โดยการฝก อบรมครใู ห ท่ัวถงึ เพอ่ื ใหม คี วามรู ความเขา ใจกรอบการจดั ทําหลักสูตรตามมาตรฐานและสาระที่ กําหนดในหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2544 (2) โรงเรยี นขนาดเลก็ ทม่ี บี คุ ลากรไมเ พยี งพอ หนว ยงานตน สงั กดั ควรมีแผน ดําเนินการ เพอ่ื สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหโ รงเรยี นเหลา น้ี มคี วามพรอ มในการใช หลักสูตรตอไป เชน ใหก ลมุ โรงเรยี นหรอื สหวทิ ยาเขตจดั ทําหลกั สตู รและนําไปใชร ว มกนั รวมทง้ั การจดั ทําเครอื ขา ยเพอ่ื การขยายผลหลกั สตู ร (3) ควรมแี ผนการนเิ ทศ และมีระบบการติดตามและประเมินผลการดาํ เนนิ งานเพื่อชวยใหสถานศึกษาสามารถดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาสอดคลอง กับสภาพผเู รยี นและชมุ ชน รวมทั้งบรรลุวัตถุประสงคตามที่กําหนดไวใ นหลกั สูตรการ ศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 (4) เรงประชาสัมพันธใหผูปกครอง ชมุ ชน และประชาชนทว่ั ไปไดร บั ทราบ บทบาทของตนเองในการมีสวนรวมกับสถานศึกษาเพื่อพัฒนาหลักสูตรที่ใชจัดการเรียน การสอนใหเ ยาวชนมคี ณุ ลกั ษณะตามทพ่ี งึ ประสงค 1.3 หลักสูตรอุดมศึกษา 1.3.1 สิ่งที่ตองดาํ เนนิ การ จดั ทําหลักสตู รอดุ มศึกษาใหม ีลกั ษณะที่หลากหลาย เหมาะสมกบั วยั และ ศักยภาพ โดยมสี าระทเ่ี ปน วชิ าการและวชิ าชพี รวมทง้ั มกี ารพฒั นาคน ควา วจิ ยั เพอ่ื พฒั นาองคค วามรแู ละพัฒนาสังคม

22 1.3.2 ผลการดาํ เนนิ งาน หลักสูตรอุดมศึกษาในปจจุบัน สว นใหญเ ปน หลกั สตู รทเ่ี นน ดา นวชิ าชพี หรอื หลักสูตรเฉพาะทาง โดยมีทั้งหลักสูตรระดับปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก ระดับ อนปุ รญิ ญา ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรชั้นสูง รวมทัง้ หลกั สตู รฝกอบรมและ หลักสูตรตอเนื่องตาง ๆ ทง้ั นเ้ี นอ้ื หาและระยะเวลาเรยี นแตกตา งกนั ไปตามวตั ถปุ ระสงค ของหลักสูตรนั้น ดว ยมหาวทิ ยาลยั แตล ะแหง มอี สิ ระในการกาํ หนดหลกั สตู รโดยทบวง มหาวิทยาลยั ไดม อบอํานาจใหอธกิ ารบดี โดยความเหน็ ชอบของสภาสถาบนั อดุ มศกึ ษา ของรัฐในสังกัดและในกํากับทบวงมหาวิทยาลัยมีอํานาจในการใหความเห็นชอบ หลักสูตรของมหาวิทยาลัย/สถาบนั ไดเ อง ตั้งแตป พ.ศ. 2535 โดยมเี งอ่ื นไขวา จะตอ งมี โครงสรา งและมาตรฐานตามเกณฑท ท่ี บวงมหาวทิ ยาลยั กําหนด และตองไดร ับการ บรรจไุ วใ นแผนพฒั นาการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาแลว รวมทง้ั ตอ งไดรับอนมุ ตั จิ ากสภา สถาบนั กอ นการเปด สอน โดยทบวงมหาวทิ ยาลยั จะพจิ ารณาวา หลกั สตู รนน้ั เปน ไปตาม เกณฑมาตรฐานหลักสูตรที่กาํ หนดหรอื ไม หลงั จากนน้ั จะเสนอคณะกรรมการขา ราช การพลเรือน (ก.พ.) พจิ ารณารบั รองคณุ วฒุ ผิ สู าํ เรจ็ การศกึ ษาตอ ไป สําหรบั ในชว งแผน พฒั นาการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) จะใหอ ํานาจสภา สถาบนั ในการบรรจหุ ลกั สตู รและการปรบั แผนได ภายใตก รอบนโยบายและหลกั เกณฑ ท่ีทบวงมหาวทิ ยาลยั กาํ หนด แตท ง้ั นจ้ี ะตอ งแจง ใหท บวงมหาวทิ ยาลยั ทราบดว ย สําหรบั สถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชน การดาํ เนนิ การเปด สอนหลกั สตู รจะตอ ง ผานการพิจารณาของคณะกรรมการขอเปดหลักสูตรและการรับรองมาตรฐานคณะ กรรมการสถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชน คณะกรรมการทบวงมหาวทิ ยาลยั และรฐั มนตรวี า การทบวงมหาวทิ ยาลยั หลงั จากทส่ี ถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชนไดรบั อนญุ าตใหเ ปด ดําเนนิ การสอนหลักสตู รแลว ทบวงมหาวิทยาลัยจะติดตาม ตรวจสอบการเรยี นการสอน ตลอดจนวัดและประเมินผลเพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาเอกชนรักษามาตรฐานการศึกษา ตามที่ไดร บั รองไว

23 การดาํ เนนิ การในเรอ่ื งหลกั สตู รระดบั อดุ มศกึ ษา มีดังนี้ ก. การวจิ ยั และพฒั นาหลกั สตู ร (1) ทบวงมหาวิทยาลัย ทําวจิ ยั เรอ่ื ง รปู แบบและแนวทางพฒั นา หลักสูตรสาํ หรบั ผเู รยี นทม่ี คี วามตอ งการพเิ ศษ และวจิ ยั เอกสารเรอ่ื งหลกั เกณฑแ ละ รูปแบบการพฒั นาหลกั สูตรทพ่ี งึ ประสงคใ นระดบั ปริญญาตรีและสงู กวา (2) สํานกั งานสภาสถาบนั ราชภัฏ ไดดําเนนิ การวจิ ยั และปรบั ปรงุ หลกั สูตรดานสังคมศาสตรโดยจัดใหม ีการแตงตั้งคณะทํางาน ดําเนนิ การวจิ ยั และ ปรับปรุงหลักสูตร โดยดาํ เนนิ การทดลองใชใ นสถาบนั 2 แหง และมกี ารดาํ เนนิ การ พัฒนาหลักสูตรใหมโดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรดําเนินการราง หลักสตู รและเสนอผทู รงคณุ วฒุ เิ พอ่ื พจิ ารณา ข. การปรับปรุงหลักสูตร (1) ทบวงมหาวทิ ยาลยั ♦ มีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัยและสอดคลอง กบั ความตอ งการของหนว ยงานและผใู ช ♦ มโี ครงการพฒั นาสหกจิ ศกึ ษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษา โดย สหกจิ ศกึ ษา (Co-operative Education) เปน ระบบการศกึ ษาทเ่ี นน การปฏบิ ตั งิ านใน สถานประกอบการอยา งมรี ะบบ โดยจดั ใหม กี ารเรยี นในสถานศกึ ษารว มกบั การจดั ให นักศึกษาระดบั ชน้ั ปท ่ี 3 และชน้ั ปท ่ี 4 ไปปฏบิ ตั งิ านจรงิ ในสถานประกอบการทใ่ี ห ความรว มมอื ในฐานะเปน พนกั งานชว่ั คราว เปน เวลาไมน อ ยกวา 16 สัปดาห และจะได รับหนว ยกติ ไมน อ ยกวา 3 หนว ยกติ ในระบบการศกึ ษาแบบทวภิ าค มีวัตถุประสงค เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพนกั ศกึ ษาใหม ที กั ษะในการประกอบอาชพี โดยไดรบั ประสบการณจ าก สถานประกอบการในรปู แบบทม่ี คี ณุ คา เหนอื กวา การฝก งาน ชว ยลดปญ หาการวา งงาน และกอใหเกิดการพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัยตลอดเวลารวมกันระหวางสถาบันอุดม ศึกษาและสถานประกอบการ

24 ♦ มีโครงการนํารอ งในการปรบั ปรงุ หลกั สตู รในกลุม 6 สาขา วิชา คือ สาขาการทอ งเทย่ี ว สาขาวชิ าบญั ชี สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร สาขาวชิ าพยาบาล ศาสตร สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ และสาขาวชิ าอตุ สาหกรรมการเกษตร เพอ่ื ใหม คี วาม เปนสากล มคี ณุ ภาพมาตรฐานทดั เทยี มกบั มหาวทิ ยาลยั ชน้ั นําของโลก ผลการปรับปรุง หลักสูตรโครงการนาํ รอ งทง้ั 6 กลมุ สาขาวชิ า จะใชเ ปน แกนนําในการปรับปรุงหลักสูตร สาขาวชิ าอน่ื ๆ ใหม คี ณุ ภาพมาตรฐานตอ ไป ♦ สนับสนุนใหมหาวิทยาลัยท้ังของรัฐและเอกชนจัดหลักสูตร นานาชาติซึ่งใชภาษาอังกฤษเปนสื่อการสอน โดยรว มมอื กบั มหาวทิ ยาลยั ในตา ง ประเทศเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพดา นการเรยี นการสอน และบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั ใหเ ปน ทย่ี อมรบั ในระดบั สากลมากขน้ึ ในป พ.ศ. 2544 มหี ลกั สตู รทเ่ี ปน หลกั สตู รนานา ชาติ จํานวน 425 หลักสูตร เปน ผลใหน กั ศกึ ษาไทยไดม โี อกาสเรยี นหลกั สตู รนานาชาติ และเอื้อใหน ักศกึ ษาตางชาติมาเรยี นมากขึน้ รวมทง้ั ชาวตา งชาตทิ ม่ี าประกอบอาชพี หรือทาํ งานในประเทศไทยไดใ หบ ตุ รหลานศกึ ษาในประเทศไทยมากขน้ึ อกี ดว ย ซง่ึ สอด คลองกับนโยบายท่ีจะพัฒนาใหสถาบันอุดมศึกษาไทยเปนศูนยกลางการศกึ ษาของภมู ิ ภาคนี้ในระดับโลก (2) สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล ไดมีการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาใน ระบบโรงเรียนดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสังคมศาสตรทั้งระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. ) ปรญิ ญาตรี และประกาศนียบัตรบัณฑิต จํานวน 262 สาขาวชิ า โดยเนนการฝกปฏิบัติใหนักศึกษาไดฝกกระบวนการคิด ฝก ทกั ษะ เรยี นรจู ากประสบ การณจ รงิ (3) สํานกั งานสภาสถาบนั ราชภัฏ ไดจ ดั ทําโครงการพฒั นาหลกั สตู ร ตางๆ 7 โครงการ ไดแก ♦ โครงการพัฒนาหลักสูตรการผลิตครูการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับปริญญาตรี 6 ป ♦ โครงการพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการ ศึกษา

25 ♦ โครงการพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตของการ บริหารการศกึ ษา(สําหรบั ผทู ส่ี ําเรจ็ ปรญิ ญาตรเี ขา มาศกึ ษาเพอ่ื รองรบั การขอใบอนญุ าต ประกอบวชิ าชพี บรหิ ารการศกึ ษา) ♦ โครงการพฒั นาหลกั สตู รปรญิ ญาโททางการสอน ♦ โครงการพัฒนาหลักสูตรปริญญาโททางการบริหารการ ศึกษา ♦ โครงการพัฒนาหลักสูตรการผลิตบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาหลกั สตู รทง้ั ในระดบั ปรญิ ญาตรแี ละปรญิ ญาโท สาขาหลักประกอบดวยสถิติ และการวิจัย นโยบายและการแนะแนว เทคโนโลยสี ารสนเทศ บรรณารกั ษศาสตรแ ละ สารสนเทศ ♦ โครงการพัฒนาหลักสูตรพิเศษเพื่อผลิตครูและผูบริหาร ประจาํ การใหไ ดร บั วฒุ ปิ รญิ ญาตรที างการศกึ ษาและบรหิ ารการศกึ ษา ค. การเผยแพรข อ มลู หลกั สตู ร ทบวงมหาวทิ ยาลัย ไดจ ดั ใหม กี ารเผยแพรข อ มลู หลกั สตู รเปน ประจํา ทกุ ป ปละหลายครั้ง ภายใตชื่องาน ตลาดนดั หลักสูตร โดยจัดกระจายตามภูมภิ าค ตางๆ เพอ่ื เปด โอกาสใหน กั เรยี น นกั ศกึ ษา ผูปกครอง และผทู ส่ี นใจทอ่ี ยใู นภมู ภิ าคนน้ั ไดร บั ทราบขอ มลู และพฒั นาการหลกั สตู รของสถาบนั อดุ มศกึ ษาตา ง ๆ ทง้ั ของรฐั และ เอกชน รวมทง้ั เปน แนวทางประกอบการตดั สนิ ใจเขา ศกึ ษาในสาขาวชิ าทส่ี นใจ 1.3.3 ผลการวเิ คราะห ผลการดาํ เนินงานในดานหลักสูตรอุดมศึกษา พบวา ในระดับอุดมศึกษามี ความกา วหนา ในระดบั ปานกลาง เนอ่ื งจากมคี วามเคลอ่ื นไหวในการปรบั ปรงุ หลกั สตู ร ใหสอดคลองกับสภาพและบริบทของสังคม มโี ครงการสง เสรมิ บณั ฑติ ใหพ รอ มทจ่ี ะเปน ผูประกอบการของประเทศ มีแผนการดาํ เนนิ งานทม่ี ที ง้ั การศกึ ษา วจิ ยั เพอ่ื นําผลมา

26 ปรับปรุงหลักสูตร มโี ครงการนํารอ งใน 6 สาขาวชิ า มกี ารเผยแพรผ ลการวจิ ยั และ จดั งานตลาดนัดหลักสูตร กระจายไปตามภูมิภาคตาง ๆ 1.3.4 ปญ หา อุปสรรค (1) การปรับปรุงหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ทบวงมหาวทิ ยาลยั ไดม อบ อํานาจใหอธิการบดีโดยความเห็นชอบของสภาสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในสังกัดและ ในกํ ากับทบวงมหาวิทยาลัยมีอํ านาจในการใหความเห็นชอบหลักสูตรของ มหาวทิ ยาลยั /สถาบนั ไดเ อง ซง่ึ สถาบนั อดุ มศกึ ษาประเภทนม้ี จี ํานวนมาก แตละสถาบัน มีคณะจํานวนมาก การตดิ ตามผลในเรอ่ื งน้ตี องใชเวลาในการประสานงานกบั คณะ/สถาบันโดยตรง (2) หลักสูตรอุดมศึกษา ทส่ี งั กดั กระทรวงอน่ื ๆ รวมทง้ั หลกั สตู รเฉพาะทาง ท่ีเปน ความตองการของหนว ยงานการติดตามประเมนิ ผลการดําเนนิ งาน ยงั ทําได ไมครบถวน 1.3.5 ขอเสนอแนะ หลักสูตรอุดมศึกษาจําเปน ตอ งปรบั เปลย่ี นใหท นั สมยั เพอ่ื ใหก ารผลติ กําลัง คนสอดคลองกับความตองการของประเทศ ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษา ควรใหค วาม สนใจและปรับปรุงหลักสูตรใหมีคุณภาพ พรอ มรบั ความเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ ประเดน็ ท่ี 2 การเรยี นรู พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มเี จตนารมณใ หม กี าร ดําเนินการปฏริ ปู การเรยี นรใู น 4 ดาน คือ 1) การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สําคัญ 2) การวดั และประเมนิ ผลผเู รยี นตามสภาพจรงิ 3) การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรยี น การสอน และ 4) การมสี ว นรว มจดั การเรยี นรใู นชมุ ชน เจตนารมณดังกลาวจะทาํ ใหเ กดิ ประโยชนสูงสุดกบั ผเู รียน การติดตามและประเมินผล แบง เปน 4 ประเด็น คือ

27 2.1 การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ 2.2 การวดั และประเมนิ ผลผเู รยี นตามสภาพจรงิ 2.3 การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู 2.4 การมสี ว นรว มจดั การเรยี นรใู นชมุ ชน รายละเอียดการติดตามแตละประเด็น มดี ังน้ี 2.1 การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ 2.1.1 สิ่งที่ตองดาํ เนนิ การ การจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญตามเจตนารมณของ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 ทก่ี ําหนดใหม กี ารปฏริ ปู การ เรียนรทู ง้ั ในระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและอดุ มศกึ ษา โดยใหจ ดั การเรยี นการสอนแบบ บรู ณาการความรคู คู ณุ ธรรมในเรอ่ื งเกย่ี วกบั ตนเอง ครอบครัว สังคม ความรแู ละทกั ษะ ดานวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ความรแู ละการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวด ลอม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม กฬี า ภมู ปิ ญ ญาไทย ความรูทางคณิตศาสตร ภาษาไทย และการประกอบอาชีพ เนื้อหาสาระและกิจกรรมตองจัดใหสอดคลองกับความสนใจ และความถนัด ความแตกตางของผูเรียนแตละคน มกี ารฝก ทกั ษะ กระบวนการคิด การ จัดการ การเผชญิ สถานการณ การประยกุ ตค วามรใู ชป อ งกนั และแกไ ขปญ หา ไดเ รยี นรู จากประสบการณจ รงิ ไดฝกปฏิบัติใหคิดเปน ทําเปน ใหร จู กั รกั การอา น ใฝรู นอกจากน้ี สถานศึกษาตองจัดบรรยากาศการเรียนการสอนใหเอ้ือตอการเรียนรูและจัดใหเรียนได ในทกุ สถานทโ่ี ดยรว มมอื กบั ผปู กครองและชมุ ชน 2.1.2 ผลการดําเนนิ งาน ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน การกําหนดแนวทางจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 เปน แนวทางทร่ี ฐั บาลใหค วามสาํ คัญ ซง่ึ เหน็ ไดจ ากเปา หมายหนง่ึ ของ นโยบายรัฐบาลที่แถลงไว เมอ่ื วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ 2544 เกย่ี วกบั การปฏริ ปู การเรยี นรู

28 คือ ใหย ดึ หลกั ผเู รยี นเปน ศนู ยก ลาง หลกั การเรยี นรดู ว ยตนเอง และหลกั การเรยี นรู ตลอดชวี ติ โดยสรา งนสิ ยั รกั การอา น จดั ใหม หี อ งสมดุ ศนู ยก ารเรยี นร/ู ชมุ ชน และ ส่ือการเรยี นรปู ระเภทตา ง ๆ อยา งทว่ั ถงึ รวมทง้ั สง เสรมิ ใหเ กดิ บรู ณาการทางการศกึ ษา ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรมและกฬี า ในการใหก ารศกึ ษาอบรมแกเ ดก็ และเยาวชน สําหรบั หนว ยงานตา ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งกไ็ ดม กี ารกาํ หนดนโยบายหรอื แนวทางไว ดังนี้ • กรมสามญั ศกึ ษา มกี ารกาํ หนดแผนยทุ ธศาสตรใ นการพฒั นา กระบวนการจดั ประสบการณเ รยี นรทู ย่ี ดึ ผเู รยี นเปน สาํ คัญ และนําไปสูการปฏิบัติที่ครบ วงจร โดยอาศยั โรงเรยี นแกนนํา สหวทิ ยาเขต ศนู ยพ ฒั นาการเรยี นการสอนและชมรม ครู ซ่ึงมีความเขาใจและไดดาํ เนนิ การจดั กระบวนการเรยี นรทู เ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั มา แลว เปน หนว ยงานและองคกรหลกั ในการดาํ เนนิ การ • กรมอาชวี ศกึ ษา มนี โยบายปฏริ ปู กระบวนการเรยี นการสอนอาชีว ศกึ ษา โดยกาํ หนดไวว า สงั คมไทยจาํ เปน ตอ งมกี ารปฏริ ปู การเรยี นรเู พอื่ พฒั นาคณุ ภาพ ของเดก็ ไทย เพอ่ื เพมิ่ พนู ความเขม แขง็ ของสงั คมไทย ซงึ่ ตอ งปฏริ ปู ให สอดคลอ งกบั วฒั นธรรมการเรยี นรยู คุ โลกาภวิ ฒั น สอดคลอ งกบั พระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และ รา งพระราชบญั ญตั กิ ารอาชีวศกึ ษา พ.ศ. …. ทง้ั น้ี ใหส อดคลอ งกบั ความตอ งการของผเู รยี น ครู บดิ ามารดา ผปู กครอง และสงั คมไทย • กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น กาํ หนดใหจ ัดและสงเสรมิ การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อใหประชาชนเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่อง ตลอดชีวิต โดยพฒั นารปู แบบและกระบวนการเรยี นรทู เ่ี นน ทกั ษะและวธิ กี ารทางวทิ ยา ศาสตร และบรู ณาการเนอ้ื หาสาระดา นสง เสรมิ ประชาธปิ ไตย ศาสนา ศิลป วฒั นธรรม การกีฬา และภมู ปิ ญ ญาไทย เพอ่ื พฒั นาผเู รยี นทง้ั ทางดา นรา งกาย จติ ใจ อารมณ สังคม และสติปญญา • กรุงเทพมหานคร มนี โยบายใหเ รง ดาํ เนนิ การปฏริ ปู การเรยี นรทู เ่ี นน ผูเ รยี นเปน สาํ คญั ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และสง เสรมิ ใหโ รง เรียนพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหไดมาตรฐานตามระบบประกันคุณภาพ โดยพัฒนา

29 ผูเรียนใหม ีความสมดุลทั้งดานความรู ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความ รับผิดชอบตอสังคม ตลอดจนรกั ษาเอกลกั ษณค วามเปน ไทย จากนโยบายดังกลาว หนว ยงานตา งๆ ไดดําเนนิ งานเพอ่ื นํานโยบาย สูการปฏิบัติตามขั้นตอน ทส่ี ําคัญ ๆ ดังนี้ (1) การสรางองคความรู เปน ภารกจิ ทส่ี าํ คญั ของทง้ั หนว ยนโยบายและ หนวยปฏิบัติที่ตองดาํ เนนิ การ โดยมเี ปา หมายเพอ่ื ใหส ถานศกึ ษา ครู พอ แม ผูปกครอง ชมุ ชน รวมทง้ั ผเู รยี น ไดมีความรู ความเขาใจ และนําไปสูการปฏิบัติ การสรา งองคค วามรขู องหนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง ไดแก 1) การศกึ ษา คน ควา จากเอกสาร 2) การวจิ ยั และพฒั นารปู แบบการจดั การเรยี นการสอน 3) การศกึ ษา รวบรวมจาก ผูปฏิบัติที่ไดทาํ อยา งเปน รปู ธรรม และ 4) การทดลองนํารอ งในสถานศกึ ษาตา ง ๆ ผลการสรางองคความรู ทําใหม ผี ลงานวจิ ยั เกย่ี วกบั รปู แบบหรอื แนวทางจดั การศึกษาใหกับบุคคลปกติ บุคคลดอยโอกาส และผูม คี วามสามารถพเิ ศษ หนังสือเก่ียวกับเทคนิควิธีการจัดกระบวนการเรียนการสอนในสาขาวิชาคณิตศาสตร สังคมศาสตร ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และอน่ื ๆ ทั้งระดับประถมศึกษา และมัธยม ศึกษา ตวั อยา งเชน - ผลงานวิจัยรูปแบบการจัดการศึกษานอกโรงเรียนสําหรับ บุคคลออทสิ ติค และผลงานวจิ ยั รปู แบบการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี นสาํ หรบั คนพกิ าร และผมู คี วามบกพรอ งทางการเหน็ (กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น) - ผลงานวจิ ยั เรอ่ื ง การจดั กระบวนการเรยี นรเู พอ่ื สรา งสรรค ดวยปญ ญา และการปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรศ กึ ษา หนงั สอื ชดุ หลาก หลายวิธีสอนของครูตนแบบ หนงั สอื ปฏริ ปู การเรยี นรผู เู รยี นสาํ คัญที่สุด : ประสบการณ ชีวติ จรงิ (สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาต)ิ (2) การผลิตเอกสาร สื่อ และอปุ กรณ เปน ผลของการรวบรวมองคค วาม รูแลวจัดทาํ เปน หนงั สอื สื่อ และอปุ กรณ เชน หนงั สอื ตวั อยา งรปู แบบการจดั กระบวน การเรยี นการสอนในสาขาวชิ าตา ง ๆ ทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ (กรมอาชวี ศกึ ษา) หนงั สอื ปฏิรูปการเรยี นรู ผเู รียนสาํ คัญที่สุด และหนงั สอื ชดุ รว มปฏริ ปู การเรยี นรกู บั ครตู น แบบ

30 (สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาต)ิ หนงั สอื สรปุ ผลการพฒั นาโรงเรยี นโดย ปจจัยองคร วม (กรมวชิ าการ) หนงั สอื เพอ่ื สง เสรมิ การอา น ออก เขยี นไดข องผไู มร ู หนังสือ (กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น) การผลิตสื่อและอุปกรณตาง ๆ เชน วีซีดี ซดี ี วีดิทัศนเ กย่ี วกบั การปฏริ ปู การเรยี นรตู าม พระราชบญั ญตั ิ และพฒั นานวตั กรรมเพอ่ื การเรยี นรู พรอ มตวั อยา งการจดั กจิ กรรม (สํานกั การศกึ ษากรงุ เทพมหานคร สํานกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน กรมวชิ าการ และสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา แหงชาติ) เปน ตน เผยแพรใ หก บั ผทู เ่ี กย่ี วขอ ง และมกี ารประชาสัมพันธผ ลการดาํ เนนิ งานผานสื่อตาง ๆ ทง้ั ทางวทิ ยุ โทรทศั น หนงั สอื พมิ พ นอกจากน้ี กระทรวงศกึ ษาธิการใหส ถานศกึ ษาดําเนนิ การผลติ และพัฒนาสอ่ื ตน แบบเพอ่ื พฒั นากระบวนการเรยี นรทู เ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ รวมทง้ั จัดทําสื่อรูปแบบตาง ๆ ทง้ั สอ่ื เอกสาร และสอ่ื ประเภทวดี ทิ ศั น คอมพวิ เตอรช ว ยสอน ซีดีรอม และเวบ็ เพจ นาํ เสนอแนวคดิ หลกั การ รปู แบบ เทคนคิ วธิ กี ารจดั กจิ กรรมทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ (3) การพฒั นาบคุ ลากร มกี ารพฒั นาบคุ ลากรโดยการจดั ประชมุ สัมมนา ฝกอบรม ใหก บั ครแู กนนําใหไ ดร บั ความรเู กย่ี วกบั รปู แบบหรอื เทคนคิ การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ และสามารถเปน ครตู น แบบในการขยายผลยงั ครูอื่น ๆ ใหจ ดั การเรยี นการสอนตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 เชน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มคี รแู กนนํา ครูเครือขาย ครูเกียรติยศ และครดู เี ดน จํานวน มากกวา 100,000 คน และสํานกั การศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร มคี รแู กนนํา ประมาณ 800 คน ทง้ั น้ี สํานกั การศกึ ษากรงุ เทพมหานครไดจ ดั ตง้ั ชมรมครแู กนนําปฏริ ปู การเรยี น รูข้ึน ขณะนม้ี สี มาชกิ กวา 400 คน สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาติ (สกศ.) มีโครงการยกยองและใหรางวัลและมอบหมายใหเผยแพรวิธีสอนแกเครือขายตอไป โดยตั้งแตป 2539-2542 คัดเลือกครูแหงชาติแลว 22 คน ครูตนแบบ 326 คน และครภู มู ิ ปญ ญาไทย 30 คน และมโี ครงการผบู รหิ ารตน แบบ โดยคดั เลือกผบู ริหารจาก 250 โรง จํานวน 15 คน เพื่อดาํ เนนิ การวจิ ยั และพฒั นารปู แบบหรอื แนวทางการบรหิ ารสถาน

31 ศึกษาท่ีสงเสริมการปฏิรูปการเรียนรูและขยายเครือขายผูบริหารสถานศึกษาเปนเวลา 3 ป นอกจากน้ี สํานกั งานสถาบนั ราชภฏั รว มพฒั นากระบวนการจดั การศึกษาในโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนใหเทาเทียมกับเด็กท่ัวไปอยางมีประสิทธิ ภาพตามพระราชดาํ รขิ องสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า สยามบรมราชกมุ ารี โดยจัดกิจ กรรมฝก อบรมครู และสนบั สนนุ วสั ดุ อปุ กรณท ใ่ี ชใ นการผลติ สอ่ื การสอนทเ่ี ออ้ื ตอ การ จัดการเรยี นการสอนในโรงเรยี นตํารวจตระเวนชายแดน (4) โครงการนาํ รอ ง หนวยงานตาง ๆ ดําเนนิ โครงการโรงเรยี นนํารอ ง หรือโรงเรยี นตน แบบในดา นการเรยี นการสอน และการพฒั นาการเรยี นการสอนและ พัฒนาการเรยี นรขู องผเู รยี น ไดแก สํานกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง ชาติ มีโรงเรยี นแกนนําปฏริ ปู การเรยี นการสอน 1,028 โรงเรียน สํานกั งานคณะกรรมการการ ศึกษาเอกชน มโี รงเรยี นตนแบบดา นการจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร ไมระบุจาํ นวน กรมวชิ าการ มโี รงเรยี นนํารอ งดา นการเรยี นรู ไมร ะบจุ ํานวน กรมสามญั ศึกษา มโี รงเรยี นแกนนําการเรยี นรู ไมร ะบจุ ํานวน และสํานกั งานคณะกรรมการการ ศึกษาแหงชาติ มโี รงเรยี นปฏริ ปู การเรยี นรู 250 โรงเรยี น โดยเนน การพฒั นาตนเองของ ผูบริหารและครทู ง้ั โรงเรยี น ทง้ั น้ี กรมตาง ๆ มแี ผนงานใหโ รงเรยี นนํารอ งเหลา นข้ี ยายผล การดาํ เนนิ งานยงั โรงเรยี นอน่ื ๆ ตอไป นอกจากน้ี กรมวชิ าการรว มกบั สถาบนั สรา งสรรคศ กั ยภาพสมอง ครีเอตฟี เบรน และบรษิ ทั ยโู นแคลไทยแลนด จํากดั ดําเนนิ โครงการปฏริ ปู การเรยี นรเู พอ่ื พัฒนาศกั ยภาพการคดิ โดยจดั อบรมครใู นโรงเรยี นนํารอ งและโรงเรยี นเครอื ขา ยทดลอง ใชหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน มผี เู ขา อบรมประมาณ 2,100 คน แบง เปน 6 รนุ ๆ ละ 350 คน (สยามรฐั 24 พค. 45 หนา 7) และสํานกั งานสภาสถาบนั ราชภฏั ยงั มโี ครงการ โรงเรียนปฏริ ปู การเรยี นรดู ว ยกระบวนการวจิ ยั และพฒั นาแบบมสี ว นรว ม เพอ่ื พฒั นา เสริมสรางศักยภาพของผูบริหาร ครูผูสอน และนกั เรยี นทจ่ี ะนําไปสกู ารปฏริ ปู การเรยี น โดยมีแผนใหสถาบันราชภัฏแตละแหงดําเนินการนํารองกับโรงเรียนสังกัดสํานักงาน

32 คณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง ชาตหิ รอื โรงเรยี นสงั กดั กรมสามญั ศกึ ษา หรอื โรงเรยี นสาธติ ในเขตพน้ื ทส่ี ถาบนั ราชภฏั อยา งนอ ย 1 โรงเรยี น ระดับอุดมศึกษา กระบวนการดําเนินงานในการจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ หนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและทบวงมหาวิทยาลัยไดดาํ เนนิ การปฏริ ปู การ เรียนรู โดยการศกึ ษาวเิ คราะหเ อกสาร หลกั การ แนวคดิ และการคนควา วิจยั เพอ่ื ใหไ ด รูปแบบและแนวทางการสงเสริมการจัดการศึกษาและการจัดการเรียนการสอนไปสู สถาบันอุดมศึกษา ดังนี้ • ทบวงมหาวิทยาลัย ดาํ เนนิ การ 1) ศึกษา วเิ คราะหแ ละวจิ ยั เพอ่ื เปนพน้ื ฐานและพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนในระดบั ปรญิ ญาตรแี ละบณั ฑติ ศกึ ษา 2) ปฏิรปู การเรยี นรกู ารศกึ ษาวจิ ยั 3) การจดั การเรยี นการสอนระบบทางไกล 4) ปฏริ ปู การเรียนรูการพัฒนาการเรียนการสอนและการปฏิรูปการเรียนรูสาขาพยาบาลศาสตร 5) เผยแพรความรูและแนวปฏิบตั ใิ หก ับคณาจารย ผูบริหารสถาบันอุดมศึกษาดวยการ ประชมุ สมั มนา และประชาพจิ ารณ และ 6) ประสานความรว มมือระหวา งสถาบันอุดม ศึกษาในการรว มกนั จดั การเรยี นการสอน ไดแก การใหใ ชท รพั ยากร คือ คณาจารย อุปกรณเ ครอ่ื งมอื ตา งๆ หอ งสมดุ และการใชป ระโยชนข องเครอื ขา ย internet เปน ตน โดยจะพิจารณานาํ รอ งจากสถาบนั อดุ มศกึ ษาทีอ่ ยใู กลเ คียงกัน เชน รว มกนั จดั การเรยี น การสอนในหลกั สตู รระดับปรญิ ญาเอกสาขาท่ีขาดแคลน สถาบนั การศกึ ษาใดทเ่ี ขม แขง็ ในสาขาวชิ าใดกเ็ ปด สอนรายวชิ านน้ั และใหน กั ศกึ ษาในสถาบนั ทต่ี กลงรว มมอื กนั มาลงทะเบยี นเรยี นไดโ ดยสถาบนั ทไ่ี มม คี วามเชย่ี วชาญในรายวชิ านน้ั ๆ ไมตองเปด สอนอีก ซง่ึ หากดําเนนิ การไดผ ลกจ็ ะขยายไปยงั สถาบนั อดุ มศกึ ษาอน่ื ๆ ในภมู ภิ าค เดียวกัน และ 7) มโี ครงการนนั ทนาการเพอ่ื การเรยี นรู โดยจัดสาระความรทู างการ ศึกษาเขา ไปในรปู สอ่ื ความบนั เทงิ ซง่ึ จะเปน การกระตนุ ใหผ เู รยี นมคี วามกระตอื รอื รน ท่ีจะเขา ไปสมั ผสั และเกดิ การเรยี นรอู ยา งสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ โดยจะปรบั ปรงุ ใช อาคารกิตติขจร โรงเรยี นเตรยี มทหารเดมิ และเชญิ ชวนใหภ าคธรุ กจิ เอกชน เขา มารว ม

33 ดําเนนิ การตามแนวคดิ ทจ่ี ะจดั ใหม รี ปู แบบตา ง ๆ เชน การเรยี นรผู า นระบบคอมพวิ เตอร (e-learning) กับบทเรยี นทผ่ี เู รยี นสามารถเลอื กสรรไดต ามตอ งการ ไดทั้งความรูและ ความบนั เทงิ และเปน การเสรมิ บทเรยี นในสถานศึกษา • กระทรวงศกึ ษาธิการ สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏดาํ เนนิ การ วิจัยและพฒั นารปู แบบการจดั การศกึ ษาตอ เนอ่ื ง และจดั ทําแผนพฒั นาการจดั การ ศึกษาในระดับทองถิ่นใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของทองถิ่น เชน พัฒนาสถาบนั ราชภฏั นครพนม และสง เสรมิ การปฏริ ปู การเรยี นการสอน ดังนี้ (1) จัดทําโครงการพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษาสถาบันราชภัฏให นําความรจู ากการศกึ ษาโปรแกรมวชิ าจาํ นวน 1 โปรแกรมวชิ าไปขยายผลในกจิ กรรม ภาคปฏิบัติ (2) พัฒนาการเรียนการสอนหมวดวิชาการศกึ ษาของสถาบนั ราชภัฏ ทว่ั ไป • สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาติ ทาํ วจิ ยั เกย่ี วกบั การ ปฏิรปู การเรยี นรทู เ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญในระดับอุดมศึกษา : กรณศี กึ ษาการเรยี นการ สอนสาขาวิชาสังคมศาสตร ความคิดเห็นของครู นกั เรยี นและผปู กครองเกย่ี วกบั การปฏริ ปู การเรยี นรู สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง ชาติไดด ําเนนิ การสอบถามความคดิ เหน็ ของครู นกั เรยี น และผปู กครองเกย่ี วกบั การปฏริ ปู การเรยี นรู เมอ่ื เดอื นกรกฎาคม 2545 ซ่ึงจากการสอบถามครจู ํานวน 774 คน พบวา ครูที่ตอบแบบสอบถามรอยละ 37 มอี ายุ ระหวา ง 41-50 ป รองลงมารอ ยละ 29 มอี ายรุ ะหวา ง 31-40 ป ครูมีประสบการณใน การสอนมากกวา 20 ป จํานวนรอ ยละ 32 และรอ ยละ 24 มปี ระสบการณใ นการสอน 11-20 ป ท้งั นี้ครรู อยละ 49 สอนชน้ั ประถมศกึ ษา รอยละ 16 สอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอน ตน ครูมีระดับการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรีรอยละ 84 และรอยละ 7 สูงกวา ปริญญาตรี ซง่ึ ครเู หลา นอ้ี ยใู นโรงเรยี นตน แบบ/นาํ รอ ง/ทดลอง/เครอื ขา ยเกย่ี วกบั การ ปฏิรูปการศึกษารอยละ 43 นอกจากนน้ั ยงั พบวา ครูรอยละ 67 มีความรูค วามเขา ใจ

34 เก่ียวกบั การปฏริ ปู การเรยี นรู อกี รอ ยละ 23 ไมแ นใ จวา ตนเองมคี วามรคู วามเขา ใจเกย่ี ว กับการปฏิรูปการเรียนรู เมื่อพิจารณาถึงความเห็นดวยของครูเก่ียวกับการปฏิรูปการ เรียนรูพบวา ครูรอ ยละ 69 มคี วามเหน็ ดว ย รองลงมารอยละ 18 ไมแ นใ จ และรอ ยละ 10 ไมเ หน็ ดว ย สว นจากการสอบถามนกั เรยี นจาํ นวน 1,357 คน เกย่ี วกบั การปฏริ ปู การเรยี นรู พบวา นกั เรยี นทต่ี อบแบบสอบถามรอ ยละ 43 กาํ ลงั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา รองลงมารอ ยละ 29 กาํ ลงั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/เทยี บเทา และรอ ยละ 19 กาํ ลงั เรยี นชนั้ มธั ยม ศกึ ษาตอนตน โดยผตู อบแบบสอบถามเปน นกั เรยี น/นกั ศกึ ษาเพศหญงิ รอ ยละ 66 ในสว น ทเ่ี กยี่ วกบั การเรยี นการสอน นกั เรยี นรอ ยละ 78 บอกวา ในปน ค้ี รสู ว นใหญท สี่ อนใชว ธิ สี อน ดว ยการใหน กั เรยี นคน ควา ศกึ ษาหาความรดู ว ยตนเอง รองลงไป ใชว ธิ บี รรยาย รอ ยละ 53 และรอ ยละ 51 ครใู ชว ธิ กี ารอภปิ รายกลมุ ทง้ั สามวธิ คี รสู ว นใหญใ ชม ากกวา ปก อ น สว นวธิ ี การสอนทค่ี รใู ชเ ทา กบั ปก อ น ในความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นรอ ยละ 42 คอื การสอนเปน ราย บคุ คล รองลงไปใชก ารสาธติ การทดลอง รอ ยละ 41 และรอ ยละ 40 สอนโดยใชบ ทเรยี น แบบโปรแกรม นอกจากนน้ั ยงั พบวา ในปน สี้ งิ่ ทน่ี กั เรยี นประพฤตปิ ฏบิ ตั มิ ากกวา ปก อ นคอื นกั เรยี นรอ ยละ 65 ตอ งทาํ การบา น รายงาน โครงการตา งๆ รอ ยละ 61 นกั เรยี นอยากไป โรงเรยี น รอ ยละ 60 มคี วามรบั ผดิ ชอบ และมนี กั เรยี นรอ ยละ 54 นาํ ความรจู ากการเรยี น ไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ทง้ั น้ี ในการปรกึ ษาพอ แม นกั เรยี นรอ ยละ 42 ทาํ เทา เดมิ และ รอ ยละ 40 นกั เรยี นทาํ มากขนึ้ กวา ปก อ น ในสว นของการสอบถามผปู กครองจาํ นวน 410 คน เกยี่ วกบั การปฏริ ปู เรยี นรู พบวา ผปู กครองทต่ี อบแบบสอบถามรอ ยละ 43 มอี ายรุ ะหวา ง 41-50 ป รองลงมา รอ ยละ 34 มอี ายรุ ะหวา ง 31-40 ป ผปู กครองมรี ะดบั การศกึ ษาสงู สดุ ระดบั ประถมศกึ ษารอ ยละ 44 และรอ ยละ 23 มกี ารศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี โดยประกอบอาชพี รบั จา งรอ ยละ 30 อาชพี เกษตร/ประมงรอ ยละ 22 และรอ ยละ 20 ประกอบอาชพี ธรุ กจิ สว นตวั /คา ขาย ในสว น ทเี่ กยี่ วกบั การปฏริ ปู การเรยี นรู ผปู กครองมคี วามคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลง ของลกู หลานดงั น้ี ผปู กครองรอ ยละ 66 เหน็ วา ลกู หลานมกี ารบา น รายงาน โครงงานตา งๆ มากขน้ึ รองลงไปรอ ยละ 57 ลกู หลานใชจ า ยเงนิ เกยี่ วกบั การเรยี นมากขนึ้ รอ ยละ 57

35 ลกู หลานกลา ทาํ กลา แสดงออกในสงิ่ ทถ่ี กู ตอ งมากขนึ้ และรอ ยละ 56 ลกู หลานรจู กั คดิ ไตรต รองมากขน้ึ กวา ปก อ น นอกจากนก้ี จิ กรรมทผ่ี ปู กครองตอ งทาํ รว มกบั โรงเรยี นมากกวา ปก อ น คอื ใหค วามคดิ เหน็ เกยี่ วกบั การเรยี นของลกู หลาน รอ ยละ 53 และรอ ยละ 46 เสยี คา ใชจ า ยเกยี่ วกบั กจิ กรรมตา งๆใหก บั โรงเรยี น สว นทที่ าํ เทา เดมิ ผปู กครองรอ ยละ 45 รว มคดิ รว มกจิ กรรมตา งๆกบั โรงเรยี น และรอ ยละ 44 ตอ งพบปะกบั ครู ทง้ั นใ้ี นการชว ยทาํ การบา น โครงงานตา งๆ ของลกู หลาน ผปู กครองรอ ยละ 39 ทาํ เทา กบั ปก อ น รอ ยละ 25 ทาํ มากกวา ปก อ น และ รอ ยละ 20 ไมไ ดท าํ 2.1.3 ผลการวเิ คราะห ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระบวนการดําเนินงานในการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ มีการดําเนนิ งานทค่ี รอบคลมุ คือ มกี ารกาํ หนดนโยบาย/แผนการดําเนนิ งานของหนว ย งานตาง ๆ และมีการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ โดยมีการวิจัยสรางองคความรู การผลิตเอกสาร สื่อ/อุปกรณตาง ๆ มกี ารพฒั นาบคุ ลากร มโี ครงการนาํ รอ ง แตย งั ขยาย ผลไมครอบคลมุ ทกุ โรงเรยี น และยงั ไมม ีการติดตามประเมนิ ผลอยา งเปนระบบ ดังนั้น ผลการดาํ เนนิ งานมคี วามกา วหนา ในระดบั ปานกลาง ระดับอุดมศึกษา กระบวนการดาํ เนนิ งานในการจดั การเรยี นรทู เี่ นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั อยใู น ระยะของการวจิ ยั สรา งองคค วามรู มแี ผนการดาํ เนนิ งานในการนาํ รอ งโครงการตา ง ๆ อยา ง ตอ เนอ่ื ง ดงั นนั้ ผลการดาํ เนนิ งานทผี่ า นมามคี วามกา วหนา ในระดบั ปานกลาง 2.1.4 ปญ หา อปุ สรรค ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (1) องคความรูในเร่ืองการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ ท่ีแตล ะหนว ยงานศกึ ษาและทําวจิ ยั ไวม มี ากมาย หลากหลายวิธี แตไ มม รี ายงานวา ครู

36 ไดนําไปประยุกตใชไดมากนอยเพียงใด และองคความรูเหลาน้ียังเผยแพรแกครูได ไมท ว่ั ถงึ (2) ปรมิ าณครทู ง้ั หมดมจี ํานวนมาก แตครูที่ไดรับความรู ความเขาใจ จากการอบรมหรือสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญมี จาํ นวนนอ ย เนอื่ งจาก อบรมใหก บั ครแู กนนาํ เพอ่ื เปน ครูตนแบบในการขยายผล ซ่งึ ครู แกนนาํ ดงั กลา วมจี าํ นวนนอ ยเมอื่ เทยี บกบั จาํ นวนครทู ง้ั หมด และการเปลย่ี นพฤติ กรรมการสอนของครใู หส อนในแนวใหมเ ปน ไปไดย าก เนอื่ งจากครูยังยึดติดกับการสอน แบบเดมิ จงึ จาํ เปน ตอ งใชเ วลานานในการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมการสอนท่จี ะใหป ระสบ ผลไดอ ยา งชดั เจน (3) จํานวนนกั เรยี นในความดแู ลของครมู จี ํานวนมากเกนิ ไป วชิ าท่ี สอนกม็ มี าก และมภี าระงานอน่ื ๆ ทไ่ี ดร บั มอบหมายอกี ดว ย ทาํ ใหค รไู มส ามารถจดั เตรยี มการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญอยางมีประสิทธิภาพได (4) ผูปกครองท่ีตองการใหบุตรหลานเรียนตอในระดับอุดมศึกษาไม ม่ันใจการเรยี นการสอนในโรงเรยี น จงึ สง บตุ รหลานเขา เรยี นในสถานกวดวชิ าเพอ่ื การ ศึกษาตอ ระดับอุดมศึกษา จากรายงานการวิจัยกรณีศึกษาการเรียนการสอนสาขาวิชาสงั คมศาสตร (สกศ.) ทําใหท ราบปญ หาการปฏริ ปู การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญในระดับ อุดมศึกษาทั้งในดานคณาจารย นิสิตนักศึกษา และการอํานวยความสะดวกในการจัด การเรยี นการสอน ดังนี้ (1) คณาจารยสวนใหญยังยึดติดอยูกับคานิยมของความเปนเลศิ ใน เน้ือหาสาระวชิ าตามทเ่ี รยี นมา และหลายทา นเปน ผเู ชย่ี วชาญในสาขาวชิ าของตน จึงมุงเนน การถา ยทอดเนอ้ื หาสาระวชิ าทส่ี อนใหผ เู รยี นโดยตรง และยงั ถอื วา การทําวจิ ยั สาํ คัญและมีศักดิ์ศรีมากกวาการสอน (2) ผูเรียนยังไมสามารถแสดงบทบาทใหมไดตามพระราชบัญญัติ กาํ หนด

37 (3) การศึกษาในระดับปริญญาตรียังไมเอ้ือตอการจัดการศึกษาใน ลักษณะของสหสาขาวชิ า และการจดั ชน้ั เรยี นระดบั อดุ มศกึ ษาในลกั ษณะหอ งบรรยาย ขนาดใหญ มผี บู รรยายอยหู นา หอ ง ทําใหเปนอุปสรรคสาํ คญั ตอ การจดั การเรยี นการ สอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ 2.1.5 ขอเสนอแนะ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 1. ประชาสมั พนั ธใ หท กุ ฝา ย ไดร บั ทราบถงึ การจดั การเรยี นการสอนท่ี เนนผูเรียนเปนสาํ คัญ เพอ่ื กระตนุ ใหท กุ ฝา ยไดเ ขา ใจ มีความมั่นใจ และเหน็ ประโยชน ของการเรยี นการสอนแบบใหมน ้ี และเขา มามสี ว นรว มจดั การเรยี นการสอน โดยเฉพาะ ผูปกครองและผูเรียนตองเขาใจและม่ันใจวาการจัดการเรียนการสอนแนวใหมทําให ผูเ รียนสามารถเรียนรไู ดตลอดชวี ติ และยังเรียนตอ ในมหาวทิ ยาลัยได 2. สรางความรูความเขาใจใหกับผูบริหารโรงเรียนใหตระหนักและรบั รู เพ่ือจะไดส นบั สนนุ และสง เสรมิ ใหค รจู ดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ 3. สรางความเขาใจอยางถองแทเก่ียวกับวิธีการจัดการเรียนการสอน ท่ีเนน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ โดยปรบั เปลย่ี นกระบวนทศั นข องครจู ากการเปลย่ี นการจดั ให ผูเรยี นเปน ฝา ยรบั อยา งเดยี วมาเปน ใหผ เู รยี นมสี ว นรว มในทกุ ขน้ั ตอน และครตู อง พิจารณาวา ผเู รยี นแตล ะคนเรยี นรไู ดอ ยา งไร เพอ่ื จะไดจ ดั การเรยี นการสอนใหผ เู รยี น สามารถเรยี นรไู ด 4. ในปก ารศกึ ษา 2546 ควรใหส ถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอนตาม แนวปฏิรูปใหมากที่สุด เชน สอนตามรปู แบบและตวั อยา งทเ่ี ปน กรณศี กึ ษาทส่ี ามารถนาํ ไปใชแ ลวมีประสทิ ธิภาพ และควรมกี ารศกึ ษาตดิ ตามผลการจดั การเรยี นการสอนแนว ใหมข องครู ซง่ึ จะทําใหท ราบปญ หาของการจดั การเรยี นการสอนดว ยรปู แบบตา ง ๆ และควรศกึ ษาผลกระทบของการปฏริ ปู การเรยี นการสอนแนวใหมท ม่ี ตี อ ครู ผบู รหิ าร ผูเรียน ผูปกครอง และชมุ ชน จะทําใหทราบผลดี ผลเสยี ของการปฏริ ปู การเรยี นรู เพอ่ื

38 นําผลของการศกึ ษามาปรบั ปรงุ แกไ ขการจดั การเรยี นการสอนใหเ หมาะสมและมี ประสทิ ธภิ าพในทกุ ระดบั การศกึ ษาและทกุ กลมุ เปา หมาย ระดับอุดมศึกษา การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญ คณาจารยส ามารถ ทาํ ได หากไดร บั การเพ่ิมศกั ยภาพทเี่ พยี งพอ และมกี ารจดั สภาพ แวดลอ มใหเ ออ้ื ตอ การ ปฏริ ปู กระบวนการเรยี นการสอน เชน จดั หาหอ งเรยี นใหข นาดเพยี งพอกับปรมิ าณนสิ ิต นกั ศกึ ษา จดั เตรยี มเครอ่ื งมอื อปุ กรณต า ง ๆ ทมี่ งุ ใหน กั ศึกษาพฒั นาทกั ษะ ความ สามารถในการทาํ วเิ คราะห สงั เคราะห เกดิ ความคดิ สรา งสรรค และรจู กั การทาํ งาน รว มกนั เปน ทมี นอกจากนี้ การปฏริ ปู การเรยี นรทู เ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คัญในระดับ อดุ มศกึ ษา คณาจารยแ ละบคุ ลากรทเี่ กย่ี วขอ งตอ งยอมรบั รว มกันวา การสอนเปนงาน วชิ าการทมี่ คี วามสาํ คญั มศี กั ดิ์ มศี รไี มย งิ่ หยอ นไปกวา งานวจิ ยั และระบบการพจิ ารณา ความดคี วามชอบและตาํ แหนง วชิ าการในสถาบนั อดุ มศกึ ษา ควรเปน ระบบทเ่ี ออ้ื ตอ การ สงเสริมสนับสนุนการวิจัยของอาจารยทางดานกระบวนการเรียนการสอนควบคูกันไป ดว ย (ธรรมรกั ษ การพศิ ษิ ฎ. รายงานการวจิ ยั เรอ่ื ง การปฏริ ปู การเรยี นรทู เ่ี นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั ในระดบั การศกึ ษา กรณศี กึ ษาการเรยี นการสอนสาขาสังคมศาสตร) 2.2 การวัดและประเมินผลผูเรียนตามสภาพจริง เจตนารมณข องพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 26 วรรค แรก กาํ หนดใหส ถานศกึ ษาปรบั เปลย่ี นรปู แบบการวดั และประเมนิ ผลผเู รยี นโดยใชว ธิ ี การที่หลากหลาย เชน ใหพ จิ ารณาทง้ั พฒั นาการ ความประพฤติ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม การรว มกจิ กรรม ควบคูไปกับการทดสอบ ทง้ั น้ี ใหเ ปน ไปตามความเหมาะสมของแตล ะ ระดับการศึกษาและรูปแบบการศึกษา 2.2.1 สงิ่ ที่ตองดําเนนิ การ ใหผ ูสอนใชการวัดผลและประเมนิ ผูเ รียนดวยวิธี การทห่ี ลากหลาย โดยพจิ ารณาทง้ั ความรู คุณธรรม จรยิ ธรรม

39 2.2.2 ผลการดาํ เนนิ งาน ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กรมวชิ าการ ไดกาํ หนดแนวทางการวดั และประเมนิ ผลผเู รยี นแนวใหมไ ว ในหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2544 ในทกุ รายวชิ า และกาํ หนดใหส ถานศกึ ษา จัดทาํ หลักเกณฑ และแนวปฏบิ ตั ใิ นการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรขู องสถานศกึ ษา เพ่ือใหบ คุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ งทกุ ฝา ยถอื ปฏบิ ตั ริ ว มกนั และเปน มาตรฐานเดยี วกนั โดย สถานศึกษาตองมีผลการเรียนรูของผูเรียนจากการวัดและประเมินทั้งในระดับชั้นเรียน ระดบั สถานศึกษา และระดับชาติ เพอ่ื ใชเ ปน ขอ มลู สรา งความมน่ั ใจเกย่ี วกบั คณุ ภาพ ของผเู รยี นแกผ เู กย่ี วขอ งทง้ั ภายในและนอกสถานศกึ ษา การวดั และประเมนิ ผลระดบั ชน้ั เรยี น ประเมนิ เพอ่ื หาคาํ ตอบวา ผเู รยี นมี ความกา วหนา ทง้ั ดา นความรู ทกั ษะ กระบวนการ คุณธรรม และคา นิยมอนั พึงประสงค อันเน่ืองมาจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรหู รอื ไม/ เพยี งใด การวดั และประเมนิ ผล จึงตอ งใชว ธิ กี ารทห่ี ลากหลาย เนนการปฏิบัติใหสอดคลองและเหมาะสมกับสาระการ เรียนรู กระบวนการเรยี นของผเู รยี น และสามารถดาํ เนินการอยางตอเนอื่ งควบคไู ปใน กิจกรรมการเรยี นรขู องผเู รยี น โดยประเมนิ ความประพฤติ พฤตกิ รรมการเรยี น การรว ม กิจกรรม และผลงานจากโครงงานหรอื แฟม สะสมผลงาน การประเมินผลระดับสถานศึกษา เปน การประเมนิ เพอ่ื ตรวจสอบความ กาวหนา ดา นการเรยี นรเู ปน รายชน้ั ปแ ละชว งชน้ั ตามมาตรฐานการเรยี นรู หากผเู รยี นไม ผานมาตรฐานการเรยี นรขู องกลมุ สาระตา ง ๆ สถานศกึ ษาตอ งจดั ใหม กี ารเรยี นการสอน ซอ มเสรมิ และจดั ใหม กี ารประเมนิ ผลการเรยี นรดู ว ย การประเมนิ คณุ ภาพระดบั ชาติ สถานศกึ ษาตอ งจดั ใหผ เู รยี นทกุ คนท่ี เรียน ชน้ั ป.3 ป.6 ม.3 และ ม.6 เขา รบั การประเมนิ คณุ ภาพระดบั ชาติ คือ ประเมนิ ผล สัมฤทธท์ิ างการเรยี น (GAT) ของผเู รยี นชน้ั ป.3 ป.6 ม.3 และ ม.6 และประเมนิ ผล ความถนดั ทางการเรยี น (SAT) สําหรบั ชน้ั ม.6 สวนการดําเนินงานเพ่ือการสงเสริมใหเกิดองคความรูและนําไปสูการ ปฏิบัติ มีดังน้ี

40 1. การสรางองคความรูดวยการทาํ วจิ ยั และพฒั นา รวมทงั้ ระดมความ คิดเหน็ จากการประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารเกย่ี วกบั รปู แบบการวดั และประเมนิ ผลแนวใหม เชน สกศ. พฒั นาองคค วามรใู นเรอ่ื งการวดั และประเมนิ ผลผเู รยี นแนวใหม กรมศิลปากร ระดมความคิดเห็นจากการจัดประชุมปฏิบัติการเพ่ือจัดทํากรอบแนวทางการจัดทํา ระเบยี บการวดั ผลและประเมนิ ผล กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น ไดพ ฒั นาระเบยี บและ แนวทางการประเมนิ ผลการศกึ ษานอกระบบ และมกี ารทดลองนาํ รองกรอบแนวคิดของ การประเมนิ ผลการศกึ ษานอกระบบ สาํ นกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ และสาํ นกั การศกึ ษากรงุ เทพมหานคร จดั ทาํ คมู อื /แนวปฏบิ ตั ิการประเมินผลตามสภาพ จรงิ และทบวงมหาวทิ ยาลยั ศกึ ษาองคค วามรู เรอ่ื ง ระบบการวดั และการประเมนิ ผล ผเู รยี นในระดบั อดุ มศกึ ษาตามแนวพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 2. กรมวิชาการจัดทํารางเอกสารแนวทางการประเมินผลแนวใหมตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ในทกุ กลมุ สาระ รวม 8 เลม 3. กรมวชิ าการจดั อบรมครู เพอ่ื ใหค วามรเู กย่ี วกบั การประเมนิ ตาม สภาพจรงิ ไดว ทิ ยากรหลกั ระดบั จงั หวดั และสถานศกึ ษานํารองการใชหลักสูตร ประมาณ 800 คน 4. การพฒั นาเครอ่ื งมอื เพอ่ื ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา เชน กรมวชิ า การ สรา งเครอ่ื งมอื ประเมนิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (GAT) ของผูเรียนชั้น ป.3 ป.6 ม.3 และ ม.6 และเครอ่ื งมอื การประเมนิ ผลความถนดั ทางการเรยี น (SAT) ชน้ั ม.6 ซึ่งได ดําเนินการประเมินผลทั้งการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความถนัดทางการ เรียนของผูเ รียนระดบั ช้ันดงั กลาวในปก ารศกึ ษา 2544 เรยี บรอ ยแลว และ สํานกั งาน คณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง ชาติ มโี ครงการประเมนิ ผลทางการศกึ ษาทกุ ระดบั การศกึ ษา นอกจากการดาํ เนนิ การดงั กลา วขา งตน แลว กรมอาชวี ศกึ ษาจดั โครงการ เยาวชนคนดีศรีอาชีวะเพื่อเสริมสรางคุณลักษณะพึงประสงคใหกับนักศึกษาในสังกัด โดยทําในรูปสมดุ “ระเบียนความด”ี ใหน กั ศกึ ษาพกตดิ ตวั ตง้ั แตเ ขา เรยี นจนจบ โดยจะ

41 ประเมินนักศึกษาจากสมุดระเบยี นความดีปล ะ 2 ครั้ง ใชเกณฑวัดในระดับดี พอใช หรอื แกไข เพอ่ื สง เสรมิ ใหเ กดิ กระบวนการเรยี นรใู นตวั นกั ศกึ ษา ระดับอุดมศึกษา • ทบวงมหาวิทยาลัย ศึกษา วเิ คราะหแ ละวจิ ยั เกย่ี วกบั ระบบการวดั และประเมินผลผูเรียนในระดับอุดมศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และเผยแพรผ ลวจิ ยั ไปยงั สถาบนั ทเ่ี กย่ี วขอ งโดยจดั สมั มนาผบู รหิ ารสถาบนั อุดมศึกษาและคณาจารย จํานวนประมาณ 400 คน • กระทรวงศกึ ษาธิการ โดยกรมวชิ าการมสี ว นรว มจดั ทาํ แผนปฏิบัติ การสงเสริมการใชผลการเรียนเฉลี่ยเพื่อคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ประจําปก ารศกึ ษา 2545 2.2.3 ผลการวิเคราะห ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน การปรับเปลี่ยนบทบาทผูสอนใหนําการวัดและประเมินผลผูเรียนมาใช พบวา มีการดาํ เนนิ การวจิ ยั สรา งองคค วามรู อบรมบคุ ลากรในโรงเรยี นนํารอ งการใช หลักสูตร ซึ่งบุคลากรที่ไดรับความรู ยงั มจี ํานวนนอ ย ผลการดาํ เนนิ งานมคี วามกา วหนา ในระดบั นอ ย ระดับอุดมศึกษา ทบวงมหาวิทยาลัย ใหอ สิ ระคณาจารยผ สู อนในการประเมนิ ผลผเู รยี นใน แตละสาขาวิชา ซึ่งแตกตางกัน และถงึ แมท บวงฯ จะมกี ารดําเนนิ การศึกษา วเิ คราะห วิจัย เกย่ี วกบั การวดั และประเมนิ ผลผเู รยี นตามแนวทางทก่ี าํ หนดไวใ นพระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และมกี ารเผยแพรผ ลวจิ ยั ไปยงั สถาบนั ทเ่ี กย่ี วขอ ง โดย การจดั สมั มนา แตยังไมมีการติดตามผลการดาํ เนนิ งาน ดังนั้น ผลการดาํ เนนิ งานมี ความกา วหนา ในระดบั นอ ย

42 2.2.4 ปญ หา อุปสรรค (1) ครูเคยชินกับการวัดและประเมินผลผูเรียนจากการทดสอบที่เนน ดานวชิ าการเปน หลกั ดังนั้น กระบวนการปรบั เปลย่ี นจาํ เปน ตอ งใชเ วลาในการสรา ง ความตระหนกั รวมทง้ั ความรคู วามเขา ใจในการประเมนิ ผลแนวใหม (2) การวดั และประเมนิ ผลผเู รยี นในดา นคณุ ลกั ษณะ เชน คณุ ธรรม จริยธรรม ตองใชเวลาและกําหนดตวั บง ชท้ี ช่ี ดั เจน ผสู อนตอ งรจู ักผเู รยี นเปนรายบคุ คล ซ่ึงสภาพการจดั การเรยี นการสอนในปจ จบุ นั ผเู รยี นมจี ํานวนมากทผ่ี สู อนตอ งรบั ผดิ ชอบ ทําใหก ารประเมนิ แนวใหมย งั ทําไดไ มม ากนกั 2.2.5 ขอเสนอแนะ 1. ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและระดบั อดุ มศกึ ษา ควรเรงสรางความ ตระหนกั ใหค รแู ละผทู เ่ี กย่ี วขอ งไดร บั ความรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั การวดั และประเมนิ ผล ตาม พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และนําไปปฏิบัติ 2. ควรมหี นว ยงานกลาง ทําหนาที่สอบวัดความรูและคุณลักษณะตาง ๆ ของผูเรยี นใหเ ปน ไปตามมาตรฐานทก่ี าํ หนด ซง่ึ ในคราวประชมุ เรอ่ื ง การปฏริ ปู การ ศึกษา ในวนั พฤหสั บดที ่ี 1 สิงหาคม 2545 ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนยี บรฐั บาล โดยมี ฯพณฯ นายกรฐั มนตรี (พ.ต.ท. ทกั ษณิ ชนิ วตั ร) เปน ประธาน จดั ประชมุ โดยสาํ นกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาติ รว มกบั กระทรวงศกึ ษาธิการ ทบวงมหาวทิ ยาลยั สํานกั งานปฏริ ปู การศกึ ษา และสํานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการ ศึกษา มมี ตมิ อบใหก รมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ เปน ผรู บั ผดิ ชอบ ในการดําเนนิ การพัฒนาระบบการสอบวัดตามมาตรฐานการศึกษา และจากการสมั มนา เมอ่ื วนั ท่ี 24 กันยายน 2545 เสนอแนะใหห นว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งเรง ออกแบบประเมนิ ผลทง้ั ในเชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ เพอ่ื ครจู ะไดม เี วลาวางแผนดาํ เนนิ การในสว นทเ่ี กย่ี วขอ งตอ ไป

43 2.3 การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กาํ หนดใหส ถานศกึ ษาสง เสรมิ ใหผูสอนสามารถทาํ วจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรขู องผเู รยี นและใหน าํ กระบวนการวจิ ยั เปน สวนหน่ึงของกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอนใหเกิด ประโยชนสงู สดุ กับผเู รียน 2.3.1 สงิ่ ที่ตองดําเนนิ การ ใหค รผู สู อนทง้ั ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานและอดุ ม ศึกษาสามารถทําวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนได อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.3.2 ผลการดาํ เนนิ งาน ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน หนวยงานที่เกี่ยวของมีนโยบายสงเสริมการทาํ วจิ ยั ทง้ั ในหนว ยงานและ สถานศึกษาดวยจัดทํานโยบาย/แผนปฏิบัติการ/แผนงาน/โครงการสงเสริมการวิจัยเพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอน เพอ่ื สรา งความรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั สาระของการวจิ ยั ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซง่ึ จะเปน การสรา งความตระหนกั ใหค รู ไดเห็นความสําคัญของการนํากระบวนการวิจัยมาใชเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนและ พัฒนาการเรยี นรขู องผเู รยี น หนวยงานตาง ๆ ไดมีการดาํ เนนิ งานตามกระบวนการทจ่ี ะนํานโยบาย หรอื แผนไปสกู ารปฏบิ ตั ิ คือ สรางองคความรู ดวยการศึกษา คน ควา เกย่ี วกบั การวจิ ยั จากตําราภาษาองั กฤษ หรอื จากประสบการณข องผเู ชย่ี วชาญ นกั วชิ าการ แลว มาระดม ความคิดเห็นจากการประชุม สมั มนา เพอ่ื ใหไ ดค วามรเู กย่ี วกบั การทาํ วิจัยที่สอดคลอง กับพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และมคี วามถกู ตองตามหลักวิชา เชน สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาติ (สกศ.) ศึกษา คนควาและระดมความคิด เห็นเก่ียวกับคํานิยามของคําวา “วิจัย” และกระบวนการวิจัยตามสาระใน พระราช บัญญัติ ซง่ึ ปจ จบุ นั การวจิ ยั ดงั กลา ว คือ วจิ ยั ในชน้ั เรยี น

44 ผลจากการสรางองคความรู หนว ยงานตา ง ๆ ไดร วบรวมและเขยี นเปน ตําราวจิ ยั แบบงา ย ๆ ไวเ ปน คมู อื การทาํ วจิ ยั เผยแพรใ หก บั ครแู ละผสู นใจ จํานวนหลาย เรื่อง ยกตวั อยา งเชน สกศ. จดั พมิ พเ ปน หนงั สอื “การวิจัยเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรตู ามแนว พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542” และ “การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรยี นร”ู กรมวชิ าการ พมิ พห นงั สอื “การพฒั นาการเรยี นรดู ว ยการวจิ ยั ” นอกจากนี้ ยงั มหี นงั สอื อ่ืน ๆ ท่ีเขียนข้ึนโดยครู/อาจารยในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและระดับอุดมศึกษา ภายใตหัวขอตางๆ เชน “แนวคิดและหลักการของการวิจัยปฏิบัติการในช้ันเรียน” “การวิจัยเชิงปฏิบัติการ” “การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู ปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน” “วิจยั ปฏบิ ตั กิ ารในชน้ั เรยี น” เปน ตน นอกจากนี้ หนวยงานตาง ๆ ท้ัง กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง มหาดไทย (สํานักบริหารการศึกษาทองถ่ิน) กรุงเทพมหานคร (สํานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร) และสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาติ รวมทง้ั นกั วชิ าการ จากสถาบันอุดมศึกษาไดรวมกันสงเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรดานการวิจัย ดวยการจัดประชุมชี้แจงใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกับสาระการวิจัยตาม พระราช บัญญัติ และจดั ฝก อบรมการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารใหก บั ครแู ละบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ ง ทาํ ให ครูและบุคลากรทางการศึกษาแตละสังกัดสามารถทาํ วิจัยได เชน สํานกั บรหิ ารการ ศกึ ษาทอ งถน่ิ จดั อบรมใหก ับครู 1,200 คน รอยละ 5-10 มผี ลงานวจิ ยั ในชน้ั เรยี น กรมสามญั ศกึ ษา จดั อบรมใหก บั ครู 12,978 คน ใหท ําวิจัยได สํานกั การศกึ ษา กรุงเทพมหานคร อบรมใหค รแู กนนํา 431 โรงเรยี น และครแู กนนาํ ไปขยายผลเทคนคิ การทําวจิ ยั กรมวชิ าการ อบรมครโู รงเรยี นนํารอ ง 700 คน กรมการศาสนา ประสาน กับสถานศึกษาในสงั กดั ใหท ําวจิ ยั ในชน้ั เรยี น โดย รอยละ 30 ไดทาํ วจิ ยั แลว และ สกศ. จดั เวทใี หก บั ครู 8 คน ทม่ี ผี ลงานวจิ ยั ในชน้ั เรยี น และกลมุ นกั เรยี น 5 คนทใ่ี ช กระบวนการวิจัยเปนสวนหน่ึงของการเรียนรู มานําเสนอผลงานในงาน “ปฏิรูปการ ศึกษา กา วหนา สปู ท ่ี 3“ ณ ศนู ยก ารประชมุ แหง ชาตสิ ริ กิ ติ ์ิ และจดั บรรยายเกย่ี วกบั สาระการวจิ ยั ตามพระราชบญั ญตั ิ และเทคนคิ การทําวจิ ยั แบบงา ย ๆ ใหก บั ครทู ม่ี าเขา ชมงาน “รวมพลงั เพอ่ื การปฏริ ปู การศกึ ษาครง้ั ท่ี 1” ณ จังหวดั ลําปาง ประมาณ 600

45 คน ซง่ึ ครจู าํ นวน 226 คน ไดร บั การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบเจาะลกึ นอกจากน้ี สกศ. ใหการสนับสนุนเอกสารเกี่ยวกับการวิจัยและเปนวิทยากรใหกับโรงเรียนและชมรมหรอื สมาคมอน่ื ๆ ทต่ี ง้ั ขน้ึ เพอ่ื การสง เสรมิ ดา นการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น ระดับอุดมศึกษา กระบวนการดาํ เนนิ งานทส่ี ง เสรมิ ใหม กี ารวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอนและพฒั นาการเรยี นรู ดังนี้ • ทบวงมหาวิทยาลัย ถอื วา งานวจิ ยั ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาเปน งาน สําคญั ในการสรา งความเปน มหาวทิ ยาลยั เนอ่ื งจากการศกึ ษาวชิ าชพี ชน้ั สงู จาํ เปน ตอ ง อาศัยความรจู ากแขนงวชิ าตา ง ๆ เขา มาเปน ฐานในการเรยี นการสอน การสรางองค ความรู และการพฒั นา โดยมแี นวทางในการสนบั สนนุ การวจิ ยั และพฒั นาในสว นทม่ี ี เปาหมายชดั เจนในการนาํ ผลงานวจิ ยั ไปใชป ระโยชนไ ดจ รงิ เพอ่ื เพม่ิ ขดี ความสามารถ ในการแขง ขนั ของประเทศ รวมทง้ั การวจิ ยั และพฒั นา และการถา ยทอดเทคโนโลยที ่ี เหมาะสมในการสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและสังคมชนบทใหมีขีดความสามารถใน การผลิต และพัฒนาผลิตภัณฑและการตลาด ใหเ กดิ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื รวมทง้ั การวจิ ยั และพัฒนาที่เปนการรวมมือและเรียนรูรวมกันระหวางสถาบันอุดมศึกษากับทองถิ่น ชุมชน และการวจิ ยั และพฒั นาทเ่ี ปน การปอ งกนั ฟน ฟู อนรุ กั ษ และแกไ ขปญ หาสง่ิ แวด ลอม แหลง มรดกทางวฒั นธรรม และการพฒั นาตอ ยอดภมู ปิ ญ ญาไทย นอกจากน้ี ทบวงมหาวทิ ยาลยั ยงั มที นุ วจิ ยั หลงั ปรญิ ญาเอกสนบั สนนุ ให อาจารยทําวิจัยเพื่อนําความรูใหมมาปรับใชในการเรียนการสอนและนํามาเขียนเปน ตํารา ซง่ึ ทผ่ี า นมาอาจารยส ว นใหญม กั ไมม งี านวจิ ยั แตใ ชว ธิ กี ารเรยี บเรยี งงานของคน อื่นมาเปนตาํ ราสอน และมโี ครงการสนบั สนนุ ทนุ อดุ หนนุ การวจิ ยั ในการทําวทิ ยานพิ นธ ใหกับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ รวมทง้ั มโี ครงการวจิ ยั และถา ยทอดเทคโนโลยสี ชู มุ ชน ซง่ึ มงุ นําเอาองคค วามรแู ละเทคโนโลยตี า ง ๆ ทม่ี อี ยใู น สถาบันอุดมศึกษา ถา ยทอดไปสปู ระชาชน ทอ งถน่ิ เพอ่ื ชว ยแกไ ขปญ หาเศรษฐกจิ ของ ประชาชนใหม คี วามเปน อยทู ด่ี ขี น้ึ

46 ในรอบปท ผ่ี า นมา ทบวงมหาวทิ ยาลยั จดั ทาํ ฐานขอ มลู ผลงานวจิ ยั ของ บคุ ลากรในสถาบนั อดุ มศกึ ษาของรฐั และเอกชน ระหวา งป 2538-2543 จํานวน 2,800 เรื่อง จดั เปน 7 กลมุ สาขาวชิ า คือ กลมุ สาขาวชิ าแพทยศาสตรแ ละวทิ ยาศาสตรสุขภาพ กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกตและ เทคโนโลยี กลุมสาขาวิชาเกษตรศาสตร วนศาสตร และการประมง กลมุ สาขาวชิ า มนษุ ยศาสตร สังคมศาสตร และศิลปะ กลุมสาขาวิชาศึกษาศาสตรและการฝกหัดครู และกลุมสหสาขาวิชา พรอมไดจัดทาํ เอกสารเผยแพรไ ปยงั สถาบนั การศกึ ษาและหนว ย งานทเ่ี กย่ี วขอ งดา นการวจิ ยั เพอ่ื นําผลวจิ ยั ไปพฒั นาตอ ไป (รายงานประจาํ ป 2544 ทบวงมหาวทิ ยาลยั ) • กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยสํานกั งานสภาสถาบนั ราชภฏั ประสานกับ สถาบนั ราชภฏั ในสงั กดั ใหท ําวจิ ยั ทุกระดบั การศึกษา สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล กม็ ี ทุนวิจัยจํานวนมากสนับสนุนครูและบุคลากรทั้งในหนวยงานและแตละสถาบัน/วิทยา เขตเพื่อการทาํ วจิ ยั พฒั นาการเรยี นการสอนและอน่ื ๆ และกรมพลศกึ ษา มีครูรอยละ 10 ท่ีทําวจิ ยั ในชน้ั เรยี น สวนสถาบันอุดมศึกษารายสถาบันในสวนของภาครัฐทั้งสังกัด กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและทบวงมหาวทิ ยาลยั ไดดาํ เนนิ การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรยี นการ สอนเปนปกติอยูแลว โดยมที นุ ของสถาบนั สนบั สนนุ การวจิ ยั รวมทง้ั เปน ทป่ี รกึ ษา/ วิทยากรเกี่ยวกับการทาํ วจิ ยั ใหก บั ครใู นระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานอกี ดว ย เชน สถาบัน ราชภัฏมีโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมของราชภัฏภาคอีสาน ตอนเหนอื 1 แหง เพอ่ื รองรบั SME ของทองถิ่น เปน ตน 2.3.3 ผลการวิเคราะห ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จากการดําเนินงานในดานการสงเสริมใหม กี ารนาํ การวจิ ยั มาพฒั นาการ จัดการเรยี นรู พบวา มีการดาํ เนนิ งานเกย่ี วกบั การสรา งองคค วามรู การพฒั นาบคุ ลากร และโครงการนาํ รอ ง แตขยายผลการอบรมใหกับครไู ดไ มท ่วั ถึง และครทู ส่ี ามารถทาํ วจิ ยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook