ธ สถิตในดวงใจตราบนิจนริ ันดร์ นอ้ มศริ ะกราน กราบแทบพระยุคลบาท ดว้ ยสำานกึ ในพระมหากรุณาธคิ ณุ เปน็ ล้นพ้นอันหาทีส่ ดุ มิได้
ค�ำ น�ำ หนังสือ “ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร” ฉบับนี้เป็นการจัดพิมพ์โดยกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพ่ือเป็นอนุสรณ์แห่งการทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ด้านการจัดการทรัพยากรดิน ของประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่งิ การจดั การดนิ ที่มปี ญั หา ที่พระราชทานพระราชดำารใิ ห้ จัดทำาขนึ้ เปน็ จาำ นวนมากมายหลายโครงการ อาทิ โครงการ “แกลง้ ดนิ ” ท่ดี ำาเนนิ งานใน พนื้ ทพ่ี รขุ องศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาพกิ ลุ ทองอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาำ ริ จงั หวดั นราธวิ าส เพ่ือเป็นต้นแบบในการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว โครงการ “หญ้าแฝก” ที่นำามาใช้ปลูก เพอ่ื ปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ในรปู แบบตา่ ง ๆ โครงการปลกู ปา่ โดยไมต่ อ้ งปลกู ในพ้ืนที่ดินลูกรังหรือดินปนหินของโครงการศึกษาวิธีการฟื้นฟูท่ีดินเส่ือมโทรมเขาชะงุ้ม อันเนื่องมาจากพระราชดำาริ ตลอดจนการจัดการดินทรายท่ีเส่ือมโทรมเพ่ือให้สามารถ กลับมาใชท้ าำ การเกษตรได้ หรอื ใชป้ ลกู สรา้ งสวนปา่ เพอ่ื ให้เปน็ พ้ืนที่สเี ขยี วของโครงการ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาเขาหนิ ซอ้ นอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาำ ริ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา เปน็ ตน้ ซึ่งทุก ๆ โครงการท่ียกตัวอย่างมากล่าวในที่นี้ มิเพียงแต่จะทำาให้ทรัพยากรดินได้รับ การฟ้ืนฟูกลับฟื้นคืนความอุดมสมบูรณ์ และทำาให้การปลูกพืชได้ผลอย่างยั่งยืนแล้ว ทรัพยากรท่ีดินของประเทศยังได้รับการอนุรักษ์และสร้างความสมดุลให้แก่ระบบนิเวศ เป็นอเนกประการ จึงนับได้ว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น ที่พระราชทานพระราชดำาริ นานปั การใหด้ ำาเนินงานด้านการจัดการทรพั ยากรทดี่ นิ ของประเทศ ซ่ึงกรมพฒั นาทด่ี นิ มีความภาคภูมิใจเปน็ อย่างยิ่งทไี่ ด้สนองพระราชดำาริ และพรอ้ มทจ่ี ะเจริญตามรอยเบื้อง พระยุคลบาท เพื่อตอบแทนบญุ คณุ ของแผน่ ดนิ จนกวา่ ชวี ติ จะหาไม่ ปวงขา้ พระพทุ ธเจา้ “ชาวพฒั นาทด่ี นิ ” ทกุ คนขอนอ้ มราำ ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ อย่างหาที่สุดมไิ ด้ (นายสุรเดช เตียวตระกลู ) อธบิ ดกี รมพัฒนาทีด่ ิน
สารบญั เร่ือง หน้า บทท่ี ๑ บทนาำ ๑ บทท่ี ๒ แม่อยากใหเ้ ธออยกู่ บั ดิน ๗ บทท่ี ๓ ประกายเรมิ่ ตน้ แหง่ ความสนพระราชหฤทยั ในเรื่องทรัพยากรดนิ และสงิ่ แวดลอ้ ม ๑๓ บทที่ ๔ ประมวลเวลาแห่งพระราชดำาริในเรือ่ งทเ่ี กยี่ วข้อง ๑๙ กับการพฒั นาท่ดี นิ บทที่ ๕ โทรสารพระราชทานเร่อื งดิน ๔๓ บทที่ ๖ แนวทางการจดั การดนิ ทีม่ ีปญั หาตามพระราชดาำ ริ ๕๙ ๖.๑ การแกไ้ ขปัญหาดนิ เปร้ียว ๖๐ ๖.๒ การแก้ไขปญั หาดินทถี่ ูกชะล้างพังทลาย หรือถูกกดั กร่อน ๗๓ ๖.๓ การแก้ไขปัญหาดินทราย ๑๐๑ ๖.๔ การแกไ้ ขปญั หาดนิ ต้ืน ๑๐๖ บทที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ๑๑๗ บรมนาถบพิตร ทรงสอนเรือ่ งดินแก่นกั เรียน บทท่ี ๘ การพฒั นาพน้ื ท่ีสูงตามพระราชดำาริ : โครงการหลวง ๑๒๕ บทท่ี ๙ พระอจั ฉริยภาพเกรกิ ไกรไปทวั่ หลา้ ๑๓๗
บทที่ ๑ บทนาำ
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ ห่งดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร F
บทที่ ๑ บทนาำ พระราชปณิธานในการบำาบัดทุกข์บำารุงสุขและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน ชาวไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกษตรกร ซึ่งส่วนใหญ่มีฐานะยากจนและมีหนี้สิน ของพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปี แหง่ การครองราชย์ ทำาให้ ราษฎรทกุ หมเู่ หลา่ ผาสกุ ดว้ ยโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาำ ริ ทม่ี จี าำ นวนมากถงึ ๔,๖๘๕ โครงการ ในขณะเดียวกันสิ่งแวดล้อมทั้งมวลได้รับการอนุรักษ์ ทำาให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน นับว่าเป็น พระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นแก่ปวงประชาและเป็นแรงบันดาลใจที่สำาคัญ ซ่ึงจะส่งพลังให้ คนไทยทงั้ หลายดำาเนินตามรอยเบือ้ งพระยุคลบาท ปจั จยั สาำ คญั ประการหนงึ่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาทางกายภาพทท่ี รงใหค้ วามสนพระราชหฤทยั เสมอมา คอื ทรพั ยากรดนิ หรอื ทรพั ยากรทด่ี นิ ซง่ึ เปน็ รากฐานสาำ คญั ในการนาำ มาใชผ้ ลติ ทางการเกษตร และเป็นส่วนหน่ึงของการอนุรักษ์เพื่อให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ และลดผลกระทบที่มักจะ เกดิ ข้ึนและทำาใหส้ ภาพแวดล้อมเสือ่ มโทรม หากมีการใชป้ ระโยชน์หรือมีการจดั การท่ไี ม่เหมาะสม 1
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ ห่งดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร จากการสำารวจทรัพยากรดินของประเทศไทย โดยกรมพัฒนาท่ีดินพบว่า ทรัพยากร ท่ีดินของประเทศจำานวนไม่น้อยกว่า ๑๕๐ ล้านไร่ ถูกนำามาใช้ในการผลิตทางการเกษตร ในช่วง ๒ ทศวรรษที่ผ่านมา ผลผลิตของพืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าว ข้าวโพด อ้อย และมันสำาปะหลัง ถึงแม้ว่าจะมีมากพอท่ีจะเล้ียงประชากรไทย และสามารถส่งออกนำารายได้เข้าประเทศ แต่ผลผลิตเฉล่ียต่อไร่ท้ังประเทศของพืชเศรษฐกิจดังกล่าวยังคงตำ่าอยู่ และค่อนข้างน้อยเมื่อ เปรียบเทียบกับประเทศผู้ผลิตประเทศอื่น ๆ เช่น จีน ออสเตรเลีย มาเลเซีย เกาหลี และญ่ีปุ่น ในขณะเดียวกันทรพั ยากรทด่ี นิ ในปัจจุบนั กำาลงั ประสบปญั หาการเส่อื มโทรมมากขึน้ ปัญหาดังกล่าว 2
ได้แก่ ดินแปรสภาพเป็นดินเปร้ียวจัด ดินเสื่อมความอุดมสมบูรณ์ มีอินทรียวัตถุน้อย ดินแน่นทึบ ไม่โปรง่ หรือไม่รว่ นซุย ดนิ เป็นชั้นดาน และหนา้ ดนิ ถกู ชะล้างพังทลายเปน็ พ้ืนที่กว้างขวาง เปน็ ตน้ ปัญหาเก่ียวกับทรัพยากรดินเหล่าน้ี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงทราบเป็นอย่างดีระหว่างท่ีเสด็จพระราชดำาเนินไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ท่ัวประเทศ เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๕๐ ปี ซ่ึงทรัพยากรที่ดินเสื่อมโทรมเป็นสาเหตุสำาคัญ ประการหนึ่งที่ทำาให้ผลผลิตทางการเกษตรลดลง จึงเป็นเหตุให้พระองค์สนพระราชหฤทัย และพระราชทานพระราชดำาริมากมายหลายประการ ซ่ึงพระราชดำาริในการจัดการทรัพยากรดิน เปน็ เรอ่ื งทมี่ คี ณุ คา่ ตอ่ การเรยี นรู้ การบนั ทกึ ไวเ้ ปน็ ประวตั ศิ าสตร์ และสมควรอยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะนาำ ไปปฏบิ ตั ิ เพื่อให้ทรัพยากรดินมีความอุดมสมบูรณ์ และเป็นแหล่งผลิตทางการเกษตรที่ยั่งยืนของประเทศ ตราบนานเท่านาน 3
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ ห่งดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร 4
บทที่ ๒ แม่อยากให้ เธออยกู่ บั ดนิ 5
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร 6
บทท่ี ๒ แม่อยากให้เธออยูก่ ับดินñ/ เวลา ๐๘.๔๕ น. เช้าของวันจันทร์ท่ี ๕ ธันวาคม ๒๔๗๐ ณ โรงพยาบาลเคมบริดจ์ (ต่อมาได้เปล่ียนช่ือเป็น โรงพยาบาลเมานต์ ออเบิร์น) เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา คือ ห้วงเวลาเดียวกับท่บี รรยากาศแหง่ มงคลนิมติ ไดป้ กคลมุ ไปทั่วสยามประเทศ แม้ว่า สถานการณข์ องบ้านเมืองในยามน้ันจะเตม็ ไปดว้ ยความยากลำาบากทางเศรษฐกจิ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๗ ทรงตอ้ งดาำ เนนิ นโยบายดลุ ยภาพเพอื่ รกั ษา เสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่เกิดข้ึนภายหลังสงครามโลกคร้ังท่ีหน่ึง พสกนิกรทุกหมู่เหล่าล้วนได้รับผล กระทบจากภาวะฝดื เคือง การรักษาความมัธยสั ถ์ย่ิงทาำ ใหท้ กุ คนโหยหานาำ้ ทพิ ยแ์ หง่ ความหวังอนั เปน็ อนาคตของบ้านเมอื งมากขึ้น ๑/คัดลอกมาจากหนังสือ แม่อยากใหเ้ ธออยู่กบั ดนิ 7
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ย่ิงกว่าน้ัน ความขัดเคืองในหมู่นักคิดและชนช้ันนำาของประเทศที่เช่ือมต่อกับกระแสธารของ ความคดิ ทางการเมอื งจากยโุ รป ยง่ิ ทาำ ใหพ้ ระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงอยใู่ นสถานการณ์ ทยี่ ากลาำ บากทรงกระทาำ ทกุ วถิ ที างเพอื่ ประคบั ประคองเศรษฐกจิ และการเมอื งใหก้ า้ วพน้ ไปสทู่ างออก ทท่ี รงตง้ั พระราชปณธิ านไว้ แมว้ า่ จะไมท่ นั กบั ความตอ้ งการของกลมุ่ ปญั ญาชนสยามบางกลมุ่ อนั นาำ ไป สู่เหตกุ ารณก์ ารเปล่ยี นแปลงการปกครอง ปี ๒๔๗๕ กต็ าม ท่ามกลางบรรยากาศท่ีน่าวิตกกังวลต่ออนาคตของประเทศเช่นนี้ โทรเลขท่ีสมเด็จ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนที รงมไี ปถงึ สมเดจ็ พระศรสี วรนิ ทริ าบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา้ เพื่อทรงแจ้งพระประสูติการของพระโอรสองค์ท่ีสองที่เกิดแต่สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครนิ ทร์ (สมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก) ใหท้ รงทราบ นั้นเป็นประหนึ่งจุดเริ่มต้นของแสงทิพย์ท่ีทอแสงจากแดนไกล สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าทรงนำาความขึ้นกราบบังคมทูลต่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทันทแี ละทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ พระราชทานพระนามแก่เจ้าชายนอ้ ยผปู้ ระสูติ ณ แดนไกลว่า “ภมู พิ ลอดุลเดช” ในบนั ทกึ ของสมเดจ็ พระเจา้ พนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กลั ยาณวิ ฒั นา ฯ ไดท้ รงเลา่ ถงึ การตง้ั พระนามของ พระอนุชาองค์เล็กไวใ้ นหนงั สอื “เจา้ นายเล็ก ๆ ยวุ กษตั ริย์” ว่า สมเดจ็ พระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระราชทานลายพระหัตถ์ลงวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๔๗๐ ตอบกลับไปว่า “Your son’s name is Bhumibala Aduladeja” พรอ้ มกบั ทรงแนบลายพระราชหัตถข์ องพระบาท สมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยู่หัวไปในครานัน้ ด้วย 8
“ภมู พิ ลอดลุ ยเดช” เปน็ คาำ ทส่ี มาสกนั เปน็ พระนามของเจา้ ชายนอ้ ยทปี่ ระสตู แิ ตแ่ ดนไกลใน วนั น้นั ซึ่งหมายถงึ “พระองค์ทรงเปน็ พลังแหง่ แผ่นดินผทู้ รงอ�ำ น�จท่มี อิ �จเทียบได้” บันทึกของสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในหนังสือ “เจา้ นายเลก็ ๆ ยุวกษัตริย์” ไดท้ รงกลา่ วไว้ว่า สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เคยมีรับส่ังกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ถงึ ความหมายของพระนาม “ภมู พิ ล” ไวว้ า่ “...อนั ทจ่ี รงิ เธอกช็ อ่ื ภูมพิ ล ท่ีแปลว�่ กำ�ลังของแผ่นดนิ แมอ่ ย�กให้เธออยูก่ ับดิน...” ต่อมาพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร มีพระราชปรารภ ถงึ ส่ิงที่สมเดจ็ พระบรมราชชนนเี คยรับสัง่ ในครง้ั นั้นวา่ “...แม่ก็คงจะสอนเร� และมีจุดมุ่งหม�ยว่� อย�กให้เร�ติดดินและอย�กให้ทำ�ง�นแก่ ประช�ชน...” ความหมายแหง่ พระนามนผี้ กู พนั อนาคตของเจา้ ชายองคน์ อ้ ยกบั แผน่ ดนิ สยามนบั ตง้ั แตว่ นั นนั้ 9
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ ห่งดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เทอื กเขาอาโรซา่ (Arosa) รฐั กรซี องส์ (Grisons) สมาพนั ธรฐั สวสิ 10
บทท่ี ๓ ประกายเริ่มตน้ แห่งความสนพระราชหฤทยั ในเรอ่ื งทรพั ยากรดิน และส่งิ แวดล้อม 11
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร 12
บทที่ ๓ ประกายเริ่มต้นแห่งความสนพระราชหฤทัย ในเรื่องทรัพยากรดินและส่ิงแวดล้อม พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร สนพระราชหฤทยั ปรากฏการณข์ องธรรมชาติ ตงั้ แตเ่ มอ่ื ยังทรงพระเยาว์ ทรงมองและเขา้ ใจ ถงึ ความจรงิ ในทฤษฎคี วามสมดลุ ในธรรมชาติ ท่ีเก่ียวข้องกับป่าไม้ น้ำา ดิน และส่ิงมีชีวิต มีการพ่ึงพิงและเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ดัง พระบรมราโชวาท เม่ือวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๑๒ ซ่ึงพระราชทานแก่คณะกรรมการ สโมสรไลออนส์สากล ภาค ๓๑๐ ณ พระตาำ หนกั จติ รลดารโหฐาน ความตอนหนงึ่ วา่ 13
ดพวรงะใบจาขทอสงรมาเดษจ็ฎพรร์ ะปปรรามชินญทแ์ รหมง่ หดาินภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร “...อ�จมบี �งคนเข�้ ใจว�่ ท�ำ ไมจงึ สนใจเรอื่ งชลประท�น หรอื เรอ่ื งป�่ ไม้ จ�ำ ได้ ว่�เม่ืออ�ยุ ๑๐ ขวบ ท่ีโรงเรียนมีครูคนหน่ึงซ่ึงเด๋ียวนี้ต�ยไปแล้ว สอนเร่ือง วิทย�ศ�สตร์ เรอ่ื งก�รอนุรักษ์ดิน แล้วให้เขียนว�่ ภูเข�ต้องมปี �่ ไม้ อย่�งน้ันเม็ดฝน ตกลงม�แลว้ จะชะดินลงม�เร็วท�ำ ให้ไหลต�มน้�ำ ไป ไปท�ำ ให้เสียห�ย ดนิ หมดจ�ก ภูเข� เพร�ะไหลต�มส�ยน้ำ�ไป ก็เป็นหลักของป่�ไม้เร่ืองก�รอนุรักษ์ดิน และเป็น หลกั ของชลประท�นทวี่ �่ ถ�้ เร�ไมร่ กั ษ�ป�่ ไมข้ �้ งบน จะท�ำ ใหเ้ ดอื ดรอ้ นตลอดตง้ั แต่ ภูเข�จะหมดไปกระท่ังก�รมีตะกอนลงม�ในเข่ือน มีตะกอนลงม�ในแม่นำ้�ทำ�ให้ น้�ำ ทว่ ม นนี่ ะ เรียนม�ตง้ั แตอ่ �ยุ ๑๐ ขวบ...” ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.สันทัด โรจนสุนทร (ราชบัณฑิต) กล่าวว่า ประกายแห่งความ สนพระราชหฤทัยเร่ืองดิน ได้เริ่มต้ังแต่พระองค์เสด็จพระราชดำาเนินไปทอดพระเนตรพ้ืนท่ีเขาเต่า อาำ เภอหัวหิน จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ เม่อื ปี ๒๕๐๖ ณ ทีน่ ้ัน ดร. เอฟ อาร์ มอรแ์ มน (F.R. Moorman) ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นดนิ จากองคก์ ารอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ (FAO) ได้เจาะดินถวายให้ ทอดพระเนตรและถวายรายงานว่า ดินบริเวณนี้ ไมด่ ี ถงึ ขนาดทรงมพี ระราชปรารภวา่ “ดนิ ทเี่ ข�เต�่ เลวที่สุดในโลก”คือ เป็นดินที่มีทั้งความเปรี้ยว และความเค็ม จึงพระราชทานพระราชดำาริให้ใช้ พื้นที่บริเวณน้ีเป็นท่ีสร้างอ่างเก็บน้ำา แทนท่ีจะนำา พื้นที่มาใช้ทำาเกษตรตามพระราชดำาริแต่แรก เนือ่ งจากเป็นดนิ ปัญหา อา่ งเก็บนำา้ เขาเต่านี้ถอื ว่า เปน็ อา่ งเกบ็ นา้ำ ชลประทานแหง่ แรกทพี่ ระราชทาน พระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองคจ์ าำ นวน ๖๐,๐๐๐ บาท เพอ่ื สรา้ ง เหตุการณ์ในคร้ังนั้นนำามาซึ่งความสน พ ร ะ ร า ช ห ฤ ทั ย ใ น เ ร่ื อ ง ท รั พ ย า ก ร ดิ น ข อ ง พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ในทุกมิติของการแก้ปัญหาที่ เก่ียวกับดินต่าง ๆ ในประเทศไทย ซ่ึงทรงเร่ิมต้น 14
พระราชทานพระราชดาำ รเิ กย่ี วกบั ง า น ด ้ า น ก า ร พั ฒ น า ท่ี ดิ น ใ น โครงการตามพระราชประสงค์ หุบกะพง อำาเภอชะอำา จังหวัด เพชรบุรี เม่ือ ปี ๒๕๑๑ ซึ่งเป็น โครงการแรกท่ีมีพระราชดำาริให้ ดำาเนินการเพื่อช่วยให้เกษตรกรมี ที่ทำากิน และทรงห่วงเร่ืองการ อนุรักษ์ดินท่ีเหมาะสม จึงมี พระราชดำารสั ว่า ดร.เอฟ อาร์ มอร์แมน ถวายคำาอธบิ ายเรื่องการแพรก่ ระจาย ของรากหญ้าแฝกในกอ้ นดิน “... ก�รปรับปรุงทดี่ นิ นั้นต้องอนุรกั ษ์ผิวดนิ ซ่ึงมีคว�มสมบูรณ์ไว้ ไมไ่ ถ หรือ ลอกเอ�หน้�ดินทิ้งไป สงวนไม้ยืนต้นที่ยังเหลืออยู่ เพื่อที่จะรักษ�คว�มชุ่มช้ืนของ ผืนดนิ ...” ความสนพระราชหฤทยั ในเรอื่ งการจดั การทรพั ยากรดนิ ยงั คงมอี ยา่ งตอ่ เนอื่ ง แมก้ ระทง่ั โครงการ พัฒนาพ้ืนท่ีสูงซึ่งทรงริเร่ิมให้ดำาเนินการเม่ือปี ๒๕๑๒ เพ่ือยุติการปลูกฝิ่นของชาวเขา ท่ีเป็นปัญหา อย่างรุนแรงทางสังคมและเป็นการทำาลายสภาพแวดล้อมในที่สูงชัน ดังพระราชดำารัสความตอนหนึ่ง วา่ อา่ งเก็บนำา้ เขาเต่า สร้างในปี ๒๕๐๖ เปน็ โครงการชลประทานอันเน่ืองมาจากพระราชดาำ รแิ ห่งแรก 15
ดพวรงะใบจาขทอสงรมาเดษจ็ฎพรร์ ะปปรรามชินญทแ์ รหมง่ หดาินภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร “...ส่ิงแรกที่เร�ต้องกระทำ�คือ สำ�รวจดินและนำ้� สำ�หรับเรื่องของดิน เร�ต้องทร�บ อย�่ งแนน่ อนว�่ สว่ นไหนเป็นบริเวณทีช่ นั ดินไมด่ ี หรือไม่ก็หน้�ดินตนื้ ที่เหล่�นี้เร�กำ�หนดให้เป็นป่� โดยขีดเส้นก้ันอย่�งชัดแจ้ง กันไม่ให้ไหลม� กินที่ป่� กับทั้งไม่ให้มีก�รปลูกป่� ในท่ีซ่ึงเหม�ะแก่ก�รทำ�ไร่น�สวนอีกด้วย วงต่อไปก็คือปลูกป่�ในท่ีซึ่งควรเป็นป่� แต่โล้นเตียนไปแล้ว ส่วนท่ีที่เหม�ะสม สำ�หรับก�รเกษตรน้ัน เร�จะปล่อยให้เพ�ะปลูกกันก็ไม่ดี เพร�ะบนดอยน้ันส่วน ม�กไม่เปน็ ทีร่ �บ ถ้�มีก�รไถพรวนกัน ดินกจ็ ะไหลลงเนนิ ไป เร�ต้องรักษ�มนั ไว้ โดยท�ำ ขั้นบันได ทำ�ท�งระบ�ยนำ�้ ต�มเสน้ ระดบั หรอื ปลูกหญ้�แฝก…” จากตวั อยา่ งพระราชดาำ รสั ทไี่ ดอ้ ญั เชญิ มาดงั กลา่ วขา้ งตน้ เปน็ ตวั อยา่ งทเ่ี หน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน ว่าทรงให้ความสนพระราชหฤทัยเป็นอย่างมากในเรื่องทรัพยากรดิน ซึ่งแนวทางในการจัดการดิน ในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการจัดการดินปัญหา เป็นเรื่องท่ีได้พระราชทานพระราชดำาริ ใหด้ ำาเนนิ การมาโดยตลอด 16
บทที่ ๔ ประมวลเวลาแห่งพระราชดำาริ ในเรื่องทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กับการพฒั นาท่ีดิน 17
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร 18
บทท่ี ๔ ประมวลเวลาแห่งพระราชดาำ ริ ในเรื่องทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การพัฒนาทีด่ ิน ช่วงเวลาแห่งการครองสิริราชสมบัติเป็นระยะเวลานานถึงเจ็ดทศวรรษ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎร ทุกภูมิภาคของประเทศ แม้จะเปน็ ถน่ิ ทุรกนั ดารปานใด ทำาใหท้ รงทราบถึงปญั หาต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กับความเป็นอยู่ของราษฎร ซึ่งจำาเป็นต้องได้รับการแก้ไข และได้พระราชทานพระราชดำาริให้จัดทำา โครงการตา่ ง ๆ ท่วั ประเทศเป็นจำานวนมากถงึ ๔,๖๘๕ โครงการ เพือ่ ใหร้ าษฎรมคี วามเป็นอยทู่ ดี่ ีข้นึ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงควบคู่ไปกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้มีความ ยั่งยืน และรักษาไว้ซึ่งสมดุลของธรรมชาติท่ีเหมาะสม โครงการต่าง ๆ ท่ีได้พระราชทาน พระราชดำาริครอบคลุมศาสตร์ต่าง ๆ มากมายหลายสาขา อาทิ ทางด้านการเกษตร การสหกรณ์ การพฒั นาทดี่ นิ การพฒั นาแหลง่ นา้ำ การชลประทาน การพฒั นาและอนรุ กั ษป์ า่ ไม้ การบรหิ ารจดั การ สง่ิ แวดลอ้ ม การวทิ ยสุ อ่ื สาร การทาำ ฝนเทยี ม การคมนาคม ตลอดจนดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ เปน็ ตน้ นบั วา่ เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ เปน็ ลน้ พน้ ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานพระราชดำารใิ หจ้ ัดทาำ โครงการตา่ ง ๆ ดังกลา่ วข้นึ มา ซ่งึ สว่ นหนง่ึ ของ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ เป็นโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่ดินหรือการจัดการ ทรพั ยากรดนิ เพอื่ ใหเ้ กษตรกรมที ดี่ นิ ทาำ กนิ เลยี้ งตวั เอง และครอบครวั อยา่ งยงั่ ยนื พน้ื ทดี่ นิ ทใี่ ชป้ ระกอบ การเกษตรได้รับการแก้ไขปัญหาและสามารถให้ผลผลิตต่าง ๆ คุ้มค่ากับการลงทุน ในขณะเดียวกัน ทรัพยากรที่ดินได้รับการทำานุบำารุงจนสามารถใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและส่งผลกระทบต่อ สภาพแวดลอ้ มนอ้ ยทส่ี ดุ การจดั ตง้ั โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาำ รทิ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นาทด่ี นิ หรอื การจดั การทรพั ยากรดนิ ดงั กลา่ ว จากการประมวลมาจากเอกสารอา้ งองิ ซง่ึ จดั พมิ พโ์ ดยสาำ นกั งาน คณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาำ ริ (สาำ นกั งาน กปร.) สามารถ นำามารวบรวมตามลาำ ดับเวลาทพี่ ระราชทานพระราชดาำ รเิ ป็นครั้งแรก จนกระทั่งโครงการดงั กล่าวได้ ประสบผลสำาเร็จตามวัตถุประสงค์ และโครงการส่วนใหญ่ได้มีการดำาเนินการอย่างต่อเน่ืองมาจนถึง ปัจจบุ ัน 19
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ดร.บรรเจิด พลางกูร อธบิ ดกี รมพัฒนาทีด่ นิ ถวายรายงาน โครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงคห์ ุบกะพง อำาเภอชะอำา จังหวัดเพชรบรุ ี เมื่อวันท่ี ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๐๙ ๑. ทศวรรษท่ี ๑ (ปี ๒๕๐๐-๒๕๑๐) ๑.๑ ปี ๒๕๐๖ โครงการอา่ งเกบ็ น้าำ เขาเต่า อาำ เภอหวั หิน จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ จดุ ทเี่ ปน็ ทตี่ งั้ ของอา่ งเกบ็ นา้ำ เขาเตา่ เปน็ พนื้ ทขี่ องทงุ่ ตะกาด ซง่ึ เปน็ จดุ แรกทท่ี อดพระเนตรดนิ ที่ ดร. เอฟ อาร์ มอร์แมน ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นดินขององคก์ ารอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาตเิ จาะ ถวายพร้อมกบั อธิบายวา่ เปน็ ดนิ ทงั้ เปรีย้ วและเคม็ ซ่งึ ทรงมพี ระราชปรารภว่า “ดนิ เข�เต�่ เป็นดนิ ท่เี ลวทส่ี ดุ ในโลก” ๑.๒ ปี ๒๕๐๙ โครงการจัดพัฒนาทด่ี ินตามพระราชประสงค์หุบกะพง อำาเภอชะอาำ จังหวดั เพชรบรุ ี เป็นโครงการจัดที่ดินเพื่อให้ราษฎรมีท่ีทำากินในลักษณะหมู่บ้านเกษตรกรโดยจัดให้ ครอบครัวท่ีขาดแคลนท่ีทำากิน ครอบครัวละ ๒๕ ไร่ เข้ามาอยู่อาศัยและทำาประโยชน์ เป็นโครงการ สนองพระราชดาำ รใิ นดา้ นการอนรุ กั ษด์ นิ การปรบั ปรงุ ดนิ และการแกไ้ ขปญั หาดา้ นการชะลา้ งพงั ทลาย ของดนิ เพือ่ ใหด้ นิ ไดร้ บั การพัฒนาทเี่ หมาะสม 20
เสดจ็ ฯ ไปทอดพระเนตรการทดลองปลกู ผกั โครงการหลวงห้วยลกึ อาำ เภอเชียงดาว จงั หวัดเชยี งใหม่ เมอื่ วันที่ ๑๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๒๗ ๒. ทศวรรษท่ี ๒ (ปี ๒๕๑๑-๒๕๒๐) ๒.๑ ปี ๒๕๑๒ โครงการพฒั นาเกษตรที่สงู (โครงการหลวง) เปน็ โครงการพระราชดาำ รใิ นการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ เพอื่ ทาำ การเกษตรบนพน้ื ทสี่ งู ของภาคเหนอื เพ่อื ทดแทนการปลกู ฝ่ินและการทาำ ไร่เล่อื นลอยของชาวไทยภเู ขา ๒.๒ ปี ๒๕๑๔ โครงการตามพระราชประสงค์ดอนขุนห้วย อำาเภอชะอาำ จงั หวดั เพชรบรุ ี เปน็ โครงการเพอ่ื จดั สรรทดี่ นิ ใหแ้ กร่ าษฎรและมกี ารพฒั นาพนื้ ทใี่ หส้ ามารถทาำ การเกษตรได้ ๒.๓ ปี ๒๕๑๕ โครงการจดั พฒั นาทดี่ นิ ตามพระราชประสงคห์ นองพลบั -กลดั หลวง จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ และจงั หวัดเพชรบุรี เป็นโครงการจัดสรรทดี่ นิ ทำากนิ ใหแ้ กเ่ กษตรกรทไ่ี รท้ ด่ี นิ ทำากิน และมกี ารพฒั นาท่ีดินเพ่อื ให้ เกิดการใช้ประโยชน์ทางการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ มีอาชีพหลักท่ีม่ันคงและมีรายได้พอเล้ียง ครอบครัวอยา่ งยัง่ ยืน 21
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ ห่งดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จ ฯ ไปดอนขนุ ห้วย อาำ เภอชะอำา จังหวัดเพชรบุรี เม่ือวนั ที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๑๖ ๓. ทศวรรษท่ี ๓ (ปี ๒๕๒๑-๒๕๓๐) : ทศวรรษแหง่ การจัดตั้งศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาอนั เนื่องมาจากพระราชดำาริ จำานวน ๖ แห่ง พระราชดาำ รัสในการจดั ตัง้ ศนู ยศ์ ึกษาการพัฒนาฯ มีดงั น้ี “…วัตถุประสงค์ของก�รต้ังศูนย์ศึกษ�ก�รพัฒน� ก็คือก�รพัฒน�ที่ทำ�กิน ของร�ษฎรใหม้ คี ว�มอดุ มสมบรู ณข์ นึ้ โดยก�รพฒั น�ทด่ี นิ พฒั น�แหลง่ น�ำ้ ตลอด จนฟื้นฟูป่�และใช้หลักวิช�ก�รเกษตรในก�รว�งแผนก�รเพ�ะปลูกพืชและ เล้ียงสัตว์ โดยใช้เงินจ�กก�รบริจ�คจ�กผู้มีจิตศรัทธ�เป็นทุนในก�รพัฒน� ซ่ึง ศูนย์ศึกษ�ก�รพัฒน�จะเป็นฟ�ร์มตัวอย่�งที่เกษตรกรทั่วไปและเจ้�หน้�ท่ี ฝ�่ ยพฒั น�ส�ม�รถม�เยยี่ มชมก�รส�ธติ เกยี่ วกบั เกษตรกรรรม เพอ่ื เปน็ ก�รศกึ ษ� ห�คว�มรู้ นอกจ�กนนั้ ยงั ท�ำ หน�้ ทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ล�งก�รพฒั น�พน้ื ทรี่ อบ ๆ บรเิ วณ โครงก�รให้มีคว�มเจริญขึ้น เม่ือร�ษฎรเริ่มมีสภ�พคว�มเป็นอยู่ดีขึ้น ก็อ�จ พิจ�รณ�จัดต้ังโรงสีข้�วสำ�หรับหมู่บ้�นแต่ละกลุ่ม ตลอดจนตั้งธน�ค�รข้�ว ของแต่ละหมูบ่ ้�น เพอ่ื ฝึกให้ร้จู ักพ่ึงตัวเองได้ในทส่ี ุด…” ๓.๑ ปี ๒๕๒๒ จัดต้ังโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ ณ ตาำ บลเขาหินซอ้ น อาำ เภอพนมสารคาม จงั หวัดฉะเชิงเทรา โดยมีวัตถปุ ระสงคห์ ลกั เพ่อื ปรบั ปรงุ และฟื้นฟูดินเส่ือมโทรมให้กลับมามีสภาพเป็นพื้นที่สีเขียว มีการพัฒนาแหล่งน้ำาและมีการใช้ ประโยชนใ์ นรูปแบบต่าง ๆ อย่างเหมาะสม 22
เสด็จ ฯ ไปศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกลุ ทองฯ อำาเภอเมือง จังหวดั นราธวิ าส พื้นทศ่ี ูนย์ศกึ ษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ อำาเภอทา่ ใหม่ จงั หวดั จันทบรุ ี 23 ๓.๒ ปี ๒๕๒๔ จั ด ต้ั ง โ ค ร ง ก า ร ศู น ย ์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า พิ กุ ล ท อ ง อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดำ า ริ ณ ตำาบลกะลุวอเหนือ อำาเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพ่ือพัฒนา พ้ืนท่ีดินเปรี้ยวให้สามารถนำามาใช้ประโยชน์ให้ได้และสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม ในขณะเดยี วกนั พน้ื ทปี่ า่ พรไุ ดร้ บั การอนรุ กั ษแ์ ละไดร้ บั การฟน้ื ฟใู นสว่ นทเ่ี สอื่ มโทรม เพอ่ื รกั ษาสมดลุ ของสิ่งแวดลอ้ มในพน้ื ทพี่ รุ ๓.๓ ปี ๒๕๒๔ จัดตั้งโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ ณ อำาเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพ่ือศึกษาวิจัยการทำาประมงชายฝั่ง ในรูปแบบทเ่ี ปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม ในขณะเดียวกนั ป่าชายเลนบรเิ วณขอบชายฝงั่ ไดร้ บั การอนุรักษ์ ควบคู่กันไปด้วย ซ่ึงผลของการศึกษาสามารถนำามาใช้เป็นรูปแบบในการพัฒนาประมงชายฝั่ง ในพ้ืนทอี่ นื่ ๆ ของประเทศ
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร เสด็จ ฯ ไปพน้ื ทศี่ นู ย์ศึกษาการพฒั นาภพู านฯ อาำ เภอเมอื ง จังหวัดสกลนคร เม่อื วนั ท่ี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๒๖ ๓.๔ ปี ๒๕๒๕ จดั ตั้งโครงการศนู ย์ศึกษาการพฒั นาภพู านอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาำ ริ ณ ตำาบลนานกเคา้ อำาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โดยมีวัตถุประสงค์หลกั เพอ่ื พัฒนาแหลง่ น้ำา สภาพป่าและสภาพดินซง่ึ เส่ือมโทรม เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม และทรัพยากรธรรมชาติได้รับการอนุรักษ์ ซึ่ง เป็นต้นแบบในการนำาไปใช้ในพื้นที่อ่ืน ๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีมีลักษณะทางภูมิสังคม คลา้ ยคลึงกนั ๓.๕ ปี ๒๕๒๕ จัดต้ังโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำาริ ณ อาำ เภอดอยสะเกด็ จงั หวัดเชยี งใหม่ โดยมีวตั ถุประสงคห์ ลกั เพอ่ื จดั ทาำ เปน็ ตน้ แบบในการพฒั นาป่า ตน้ น้าำ ลำาธารในพน้ื ทีภ่ เู ขา ซ่ึงเส่อื มโทรม รูปแบบของการพัฒนาพ้นื ที่ดงั กลา่ ว คอื การพัฒนาแหลง่ น้ำา อาทิ การสร้างอ่างเก็บน้ำาและฝายต้นน้ำาลำาธาร การฟื้นฟูสภาพป่าในรูปแบบต่าง ๆ ตลอดจน มกี ารศกึ ษาเพื่อหาวธิ ีใชป้ ระโยชน์ทด่ี ินอย่างเหมาะสมโดยสภาพแวดล้อมไม่ถูกทาำ ลาย 24
เสด็จ ฯ ไปทอดพระเนตรพืน้ ท่ีป่าเตง็ รงั ในเขตพื้นทศี่ ูนย์ศึกษาการพฒั นาห้วยฮอ่ งไคร้ฯ อำาเภอดอยสะเกด็ จงั หวัดเชยี งใหม่ พนื้ ท่ศี ูนยศ์ ึกษาการพัฒนาหว้ ยฮ่องไครฯ้ อาำ เภอดอยสะเก็ด จังหวดั เชียงใหม่ 25
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จ ฯ ไปศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาหว้ ยทรายฯ อำาเภอชะอำา จังหวัดเพชรบุรี เม่อื วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๒๘ ๓.๖ ปี ๒๕๒๖ จั ด ต้ั ง โ ค ร ง ก า ร ศู น ย ์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ห ้ ว ย ท ร า ย อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดำ า ริ ณ ตำาบลสามพระยา อำาเภอชะอำา จังหวัดเพชรบุรี โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพ่ือฟื้นฟูสภาพดิน ทีเ่ สื่อมโทรมอันเกดิ มาจากการทำาการเกษตรมาช้านาน โดยการพัฒนาแหลง่ น้าำ การปลูกป่าเพอื่ ฟ้นื ฟู สภาพแวดล้อม และมีการใช้ประโยชน์ท่ีดินอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพดิน สภาพพื้นท่ี และความเป็นอยขู่ องราษฎร เพ่ือให้ราษฎรมคี วามสุขในชีวติ ตามอตั ภาพของตนเอง พน้ื ที่ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยทรายฯ กอ่ นพฒั นา การวางระบบอนุรักษ์ดนิ และน้ำา พ้ืนท่ีศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาหว้ ยทรายฯ 26
เสดจ็ ฯ ไปโครงการหมบู่ ้านปศสุ ตั ว์-เกษตรมโู นะตามพระราชดาำ ริ อำาเภอตากใบ จงั หวัดนราธวิ าส เมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๒๕ ๓.๗ ปี ๒๕๒๖ โครงการหมู่บ้านปศุสัตว์-เกษตรมูโนะตามพระราชดำาริ ตำาบลโฆษิต อำาเภอตากใบ จังหวัด นราธิวาส เป็นโครงการนำาน้ำาชลประทานที่ส่งมาจากโครงการชลประทานมูโนะ เพ่ือไปชะล้าง ความเปรยี้ วใหอ้ อกไปจากดนิ และปรบั ปรงุ ดนิ เปรยี้ วใหม้ คี ณุ ภาพดขี นึ้ เพอื่ ใชป้ ลกู ขา้ วและทาำ การเกษตร อื่น ๆ ท่ีเหมาะสม 27
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เสดจ็ ฯ ไปโครงการแกลง้ ดินในพน้ื ท่พี รขุ องศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาพกิ ุลทองฯ อำาเภอเมอื ง จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันท่ี ๗ ตลุ าคม ๒๕๓๓ ๓.๘ ปี ๒๕๒๗ โครงการ “แกล้งดิน” เป็นโครงการศึกษาทดลองเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาดินเปร้ียว ในพื้นท่ีลุ่มต่ำาหรือพื้นท่ีพรุ ของศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาพกิ ลุ ทองฯ จงั หวดั นราธวิ าส โดยการนาำ ดนิ ในทลี่ มุ่ ซง่ึ ดนิ ชนั้ ลา่ งมสี ารประกอบ กำามะถันมาระบายนำ้าออกใหแ้ ห้ง เพ่ือเร่งการเกดิ กรดกำามะถนั จนทำาใหด้ ินเป็นกรดจัดมากจนไม่อาจ ปลูกพืชเศรษฐกิจได้ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวทรงเรียกว่าเป็นการ “แกล้งดิน” จากนั้นให้หาวิธีการ ปรับปรุงดินด้วยวิธีต่าง ๆ จนทำาให้ ดนิ ดงั กลา่ วสามารถปลกู พชื เศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ขา้ วจนไดผ้ ล เปน็ ทนี่ า่ พอใจ โครงการน้ีถอื ว่าเปน็ โครงการศึกษาทดสอบวิจัยเพื่อ ให้ได้มาซึ่งแนวทางการพัฒนาที่ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ์ ของการจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนา พิกลุ ทองฯ ซ่ึงโครงการ “แกล้งดิน” ในปจั จบุ นั ยงั คงดาำ เนนิ การอยแู่ ละได้ บนั ทกึ ขอ้ มลู การดาำ เนนิ งานโครงการ ไวอ้ ย่างต่อเน่ือง แปลงทดลอง โครงการ “แกลง้ ดนิ ” 28
พนื้ ทีโ่ ครงการศนู ยศ์ ึกษาการพัฒนาพกิ ลุ ทองฯ อำาเภอเมอื ง จงั หวัดนราธวิ าส 29
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสดจ็ ฯ ไปโครงการศนู ยศ์ กึ ษาวิธกี ารฟ้ืนฟทู ่ีดินเสื่อมโทรมเขาชะงมุ้ ฯ อำาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เมื่อวันท่ี ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ๓.๙ ปี ๒๕๒๘ จัดตั้งโครงการศูนย์ศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้มอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ ณ ตาำ บลเขาชะงมุ้ อาำ เภอโพธาราม จงั หวดั ราชบรุ ี โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั เพอื่ ปรบั ปรงุ และฟน้ื ฟพู น้ื ท่ี ดินลูกรัง และดินปนหิน ท่ีเส่ือมโทรม โดยการพัฒนาแหล่งน้ำา การฟื้นฟูสภาพป่าให้คงความ อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ และมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพดินและ สภาพภมู ปิ ระเทศ ๓.๑๐ ปี ๒๕๒๙ โครงการพฒั นาพน้ื ท่บี ้านโคกยาง ตำาบลพรอ่ น อาำ เภอตากใบ จงั หวดั นราธวิ าส โครงการนี้เป็นโครงการย่อยของโครงการชลประทานมูโนะอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ จัดทาำ ขน้ึ เพ่ือนาำ น้าำ จากโครงการชลประทานมโู นะไปใชใ้ นการพัฒนาพ้ืนทด่ี ินเปรีย้ วเพ่ือปลูกขา้ ว 30 อ่างเกบ็ น้ำาในพ้นื ทโี่ ครงการศนู ย์ศึกษาวิธกี ารฟื้นฟูทดี่ นิ เส่อื มโทรมเขาชะงุ้มฯ
๔. ทศวรรษที่ ๔ (ปี ๒๕๓๑-๒๕๔๐) ๔.๑ ปี ๒๕๓๑ โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีลุ่มนำ้าปากพนังอันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ อำาเภอปากพนัง จังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นโครงการเพื่อสร้างประตูระบายน้ำาปากพนัง บริเวณปากแม่น้ำาปากพนัง เพ่ือเก็บกักนำ้า ป้องกันนำ้าเค็มเข้าไปในแม่นำ้า และระบายนำ้าออกสู่ทะเลเพื่อแก้ไขปัญหานำ้าท่วม น้ำาท่ีเก็บกักไว้มี ประโยชน์ในการนำาไปใช้พัฒนาพ้ืนท่ีเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวในพ้ืนที่ โครงการซ่งึ มนี บั แสนไร่ ๔.๒ ปี ๒๕๓๓ โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีดินเปร้ียวจัด บ้านโคกอิฐ-โคกใน ตำาบลพร่อน อำาเภอตากใบ จังหวัด นราธวิ าส เปน็ โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยจี ากโครงการแกลง้ ดนิ เพอื่ นาำ เอาวธิ กี ารปรบั ปรงุ ดนิ เปรย้ี วจดั ไปใช้สำาหรับปลูกข้าวให้แก่ราษฎรท่ีเคยปลูกข้าวไม่ได้ผลจนได้ผลผลิตเป็นที่น่าพึงพอใจ และราษฎร มขี ้าวเพียงพอสำาหรบั การบริโภค 31
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แหง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร เสดจ็ ฯ ไปทรงปลกู หญ้าแฝกในศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาห้วยฮ่องไครฯ้ อำาเภอดอยสะเกด็ จังหวดั เชยี งใหม่ เม่ือวันที่ ๒๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๕ ๔.๓ ปี ๒๕๓๓ โครงการโคกกแู วอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาำ ริ ตำาบลพรอ่ น ตาำ บลบางขุนทอง อาำ เภอตากใบ จงั หวัดนราธิวาส เป็นโครงการนำานำ้าจืดจากคลองชลประทานมูโนะไปชะล้างดินเปรี้ยว เพื่อใช้สำาหรับ การเพาะปลกู ๔.๔ ปี ๒๕๓๔ โครงการพฒั นาและรณรงค์การใช้หญา้ แฝกอันเนอื่ งมาจากพระราชดำาริ เป็นโครงการท่ีได้พระราชทานพระราชดำาริให้นำาหญ้าแฝกมาใช้ปลูกเพ่ือแก้ไขปัญหาเร่ือง การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ในพื้นทม่ี คี วามลาดเอียง โดยใชศ้ นู ย์ศกึ ษาการพฒั นาฯ เปน็ สถานที่สำาคัญ ในการศกึ ษาวจิ ยั เพอื่ สนองพระราชดาำ รเิ กยี่ วกบั เรอ่ื งหญา้ แฝกในทกุ มติ ิ อาทิ การเพาะและขยายพนั ธ์ุ การหาวิธกี ารปลกู ท่เี หมาะสม การนาำ หญ้าแฝกมาใชป้ ระโยชน์ในรปู แบบต่าง ๆ ตลอดจนการส่งเสริม เพอ่ื ขยายผลไปสเู่ กษตรกรใหน้ าำ หญา้ แฝกไปปลกู เพอื่ ปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของหนา้ ดนิ ในไรน่ า ของตนเอง 32
เสด็จ ฯ ไปพืน้ ที่ทีจ่ ะสรา้ งอ่างเกบ็ น้ำาแม่อาวนอ้ ย โครงการพฒั นาพ้นื ท่ีล่มุ นา้ำ แม่อาวฯ อาำ เภอป่าซาง จังหวดั ลาำ พนู เมื่อวันท่ี ๑๑ มนี าคม ๒๕๓๕ ๔.๕ ปี ๒๕๓๕ โครงการพฒั นาดอยตงุ (พนื้ ทท่ี รงงาน) อนั เนอื่ งมาจากพระราชดาำ ริ อาำ เภอแมฟ่ า้ หลวง จงั หวดั เชยี งราย เป็นโครงการที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้เจ้าหน้าที่โครงการพัฒนาดอยตุง เร่งขยายพันธุ์หญ้าแฝกเพื่อนำาไปปลูกในพื้นท่ี ดอยตุงซงึ่ เป็นพนื้ ทส่ี ูงชัน เพ่ือป้องกนั การชะลา้ งพังทลายของดิน และเพื่ออนรุ ักษด์ ินและนา้ำ ๔.๖ ปี ๒๕๓๕ โครงการพฒั นาพ้ืนทลี่ ่มุ นำา้ แมอ่ าวอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาำ ริ อาำ เภอปา่ ซาง จังหวัดลำาพูน เป็นโครงการท่ีมีการดำาเนินงานด้านการพัฒนาท่ีดินในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการจำาแนกดิน การวางแผนการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ การปรบั ปรงุ ฟน้ื ฟสู ภาพดนิ และการแกไ้ ขปญั หาการชะลา้ งพงั ทลาย ของหน้าดนิ 33
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ ห่งดิน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ภ�พก�รปลกู หญ้�แฝกในพื้นท่สี งู 34
ทรงปลกู หญ้าแฝกพน้ื ทโ่ี ครงการหลวงแมล่ าน้อย อาำ เภอแม่ลาน้อย จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน เมอ่ื วันท่ี ๑๔ มีนาคม ๒๕๓๕ ๔.๗ ปี ๒๕๓๕ โครงการหลวงแม่ลาน้อย บ้านดง ตำาบลห้วยห้อม อำาเภอ แมล่ าน้อย จงั หวัดแม่ฮ่องสอน พระราชทานพระราชดาำ ริ ใหเ้ รง่ ปลกู หญา้ แฝก บรเิ วณพนื้ ที่ที่ เป็นภูเขา เพราะมีการชะล้าง พงั ทลายเกดิ ขนึ้ ในอตั ราคอ่ นขา้ งสงู โดยใหร้ าษฎรรว่ มปลูกด้วย และให้ ปลูกก่อนฤดูฝนโดยมีการใช้นำ้าช่วย เปน็ กรณีพิเศษ 35
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ ห่งดนิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสดจ็ ฯ ไปพน้ื ทีโ่ ครงการพัฒนาพ้ืนท่สี งู ปางตองฯ อาำ เภอเมือง จังหวัดแมฮ่ ่องสอน เม่ือวันที่ ๑๙ มนี าคม ๒๕๓๕ ๔.๘ ปี ๒๕๓๕ โครงการศูนย์บริการและพัฒนาที่สูงปางตองตามพระราชดำาริ ตำาบลหมอกจำาแป่ อำาเภอ เมอื ง จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน ไดพ้ ระราชทานพระราชดาำ รใิ หท้ ดลองปลกู หญา้ แฝกบรเิ วณพนื้ ทดี่ นิ ทถี่ กู กดั เซาะ และบรเิ วณ แหลง่ น้ำา โดยปลกู ก่อนฤดูฝน ๑ เดือน หญ้าแฝกทปี่ ลูกเม่อื ไดร้ ับนาำ้ ฝนเจริญงอกงามดี และช่วยเกบ็ กกั อนิ ทรยี วตั ถแุ ละซากพชื บรเิ วณหนา้ แนวหญา้ แฝกทป่ี ลกู โดยการปลกู ปา่ และจดั ทาำ สวนพฤกษศาสตร์ ควบคู่กบั การอนรุ กั ษด์ ินและนาำ้ ๔.๙ ปี ๒๕๓๕ โครงการปลูกป่าชัยพัฒนา-แม่ฟ้าหลวง ตำาบลหนองพลับ อำาเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบครี ขี ันธ์ และตาำ บลไรใ่ หมพ่ ฒั นา อาำ เภอชะอาำ จังหวดั เพชรบรุ ี เป็นโครงการเพ่ืออนุรักษ์และฟื้นฟูป่าและสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ แห่งแผน่ ดนิ รวมทง้ั การพัฒนาแหล่งน้ำา และฟ้ืนฟูสภาพดนิ และป้องกนั การชะล้างทลายหน้าดนิ โดย การปลูกหญ้าแฝก สภาพความเสื่อมโทรมของดินท่เี กิดจากการปลกู สับปะรด โครงการปลูกป่าชยั พฒั นา-แมฟ่ า้ หลวง ตดิ ตอ่ กันเปน็ เวลายาวนาน ๒๐ ปี กอ่ นการดาำ เนินงาน จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ และจงั หวดั เพชรบรุ ี เมือ่ ปี ๒๕๔๗ โครงการปลูกปา่ ชัยพฒั นา-แม่ฟา้ หลวง 36
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงปลกู หญ้าแฝก บริเวณศูนย์บรกิ ารและพฒั นาที่สงู ปางตองฯ อาำ เภอเมือง จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน เมื่อวนั ท่ี ๑๙ มีนาคม ๒๕๓๕ 37
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญ์แห่งดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เสดจ็ ฯ ไปพน้ื ทโ่ี ครงการพฒั นาพน้ื ทพ่ี รแุ ฆแฆฯ อาำ เภอสายบุรี จงั หวัดปัตตานี เมื่อวันที่ ๗ ตลุ าคม ๒๕๓๖ ๔.๑๐ ปี ๒๕๓๕ โครงการพัฒนาพื้นที่พรุแฆแฆอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ ตำาบลบางเก่า และตำาบล ปะเสยะวอ อำาเภอสายบรุ ี จงั หวดั ปตั ตานี เป็นการพัฒนาพื้นที่พรุ ซึ่งเป็นพรุเสื่อมโทรม ดินเป็นดินเปรี้ยว และมีนำ้าท่วมขังมาก ในฤดูฝน หลังการพัฒนา พ้ืนท่ีนี้สามารถนำามาใช้ทำาการเกษตรได้เป็นอย่างดี สามารถช่วยเหลือให้ เกษตรกรมีที่ทำากนิ เพมิ่ ขนึ้ และเล้ยี งตัวเองไดต้ ามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการพฒั นาพื้นทพ่ี รแุ ฆแฆฯ พรุแฆแฆ หลงั การพฒั นา อำาเภอสายบรุ ี จังหวดั ปัตตานี กอ่ นการพฒั นา 38
๔.๑๑ ปี ๒๕๓๙ โครงการพัฒนาดินเปรี้ยว บา้ นโคกกระท่อม อำาเภอตากใบ จังหวดั นราธิวาส เปน็ โครงการปรบั ปรงุ พน้ื ทด่ี นิ เปรี้ยวเพื่อใช้ปลูกข้าว ทำาให้ราษฎร สามารถใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ ของตนเองได้ และมขี า้ วเพยี งพอสำาหรับการบรโิ ภค ๔.๑๒ ปี ๒๕๓๙ โครงการพฒั นาพน้ื ทบ่ี า้ นยโู ย เสด็จ ฯ ไปโครงการพฒั นาพ้ืนทบ่ี ้านยูโย อำาเภอตากใบ อันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ ตำาบล จังหวัดนราธิวาส เมือ่ วันท่ี ๔ ตลุ าคม ๒๕๓๙ บางขนุ ทอง อาำ เภอตากใบ จงั หวดั นราธวิ าส เป็นโครงการที่นำาน้ำาจากคลองสุไหงปาดี ผ่านสะพานน้ำาเพื่อนำามาใช้พัฒนาดินเปรี้ยว บริเวณบ้านยูโย สำาหรับทำาการเกษตรโดยเฉพาะการปลูกข้าว ทำาให้ราษฎรในบริเวณโครงการมี ความเปน็ อยแู่ ละฐานะดีขน้ึ ๔.๑๓ ปี ๒๕๔๐ โครงการศกึ ษาทดลองการแกไ้ ขปญั หาดนิ เปรยี้ วอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาำ ริ ในทด่ี นิ มลู นธิ ิ ชยั พัฒนา ตาำ บลบ้านพรกิ อาำ เภอบา้ นนา จังหวัดนครนายก เป็นโครงการศึกษาทดลองเพื่อแก้ไขปัญหาเร่ืองดินเปรี้ยวและน้ำาเปร้ียวในพ้ืนที่จังหวัด นครนายก โดยมีวธิ ีการต่าง ๆ เพ่ือเปน็ ต้นแบบในการพฒั นาพืน้ ทด่ี ินเปรยี้ วของภาคกลาง อาทิ การใช้ นำ้าชะล้างความเป็นกรดของดินโดยวิธีธรรมชาติ ซ่ึงทรง เรยี กวา่ เปน็ “ทฤษฎใี หมเ่ บอ้ื งตน้ ” การยกรอ่ งปลกู พชื โดย ไม่เอาดินล่างมาทับหน้าดินบน การใช้วัสดุปูน และสาธิต การทำาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ หลงั จากดินและน้ำาได้รบั การปรับปรงุ แล้ว 39
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสด็จ ฯ ไปโครงการศึกษาทดลองการแกไ้ ขปัญหาดนิ เปร้ยี ว อันเนือ่ งมาจากพระราชดาำ ริ อำาเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก เม่อื วันท่ี ๒๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๐ แปลงทฤษฎีใหมใ่ นพน้ื ท่ีโครงการศกึ ษาทดลองการแก้ไขปัญหาดนิ เปรย้ี วฯ อำาเภอบา้ นนา จงั หวดั นครนายก 40
บทท่ี ๕ โทรสาร พระราชทานเรอ่ื งดนิ 41
ดวงใจของราษฎร์ ปราชญแ์ หง่ ดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร 42
บทท่ี ๕ โทรสารพระราชทานเรอ่ื งดิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงให้ความสำาคัญกับ ทรัพยากรดิน ด้วยทรงเห็นว่าดินเป็นปัจจัยสำาคัญในการผลิตทางการเกษตร ซึ่งจำาเป็นต้องมีการ ทาำ นบุ าำ รุงหากมีการใช้ประโยชน์ หรือจำาเป็นต้องมีการปรบั ปรงุ แก้ไขหากเปน็ ดนิ ทีเ่ ป็นปัญหาทใ่ี ช้ปลกู พืชไม่ค่อยขึน้ หรอื ใหผ้ ลผลิตน้อยไมค่ มุ้ กบั การลงทุน และทาำ ใหส้ มดุลทางธรรมชาตเิ สยี ไป แนวทางพระราชดาำ รใิ หด้ าำ เนนิ การเกย่ี วกบั การจดั การทรพั ยากรดนิ เปน็ แนวทางทต่ี ง้ั อยบู่ นหลกั วิชาการทางปฐพีศาสตร์โดยแท้ ถึงแม้จะมิได้ทรงเป็นนักปฐพีวิทยา ดังตัวอย่างบทความเกี่ยวกับเร่ือง การพฒั นาดนิ (Soil Development) ทที่ รงพมิ พแ์ ละพระราชทานใหแ้ กส่ าำ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาำ ริ ดังไดถ้ ่ายสาำ เนามาไวท้ ั้งหมด ได้ดังน้ี 43
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162