Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยุทธศาสตร์ คณะแพทย์ มข

ยุทธศาสตร์ คณะแพทย์ มข

Published by wiangnon.pongsai519, 2020-03-14 00:38:40

Description: ยุทธศาสตร์ คณะแพทย์ มข

Search

Read the Text Version

คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน แผนยทุ ธศาสตรก ารบรหิ าร คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน พ.ศ. 2561-2564 Faculty of Medicine, Khon Kaen University

แผนยุทธศาสตรการบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ าร คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ พ.ศ. 2561-2564

แผนยทุ ธศาสตร์การบรหิ าร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ พ.ศ.2561-2564 พิมพ์ครัง้ ท่ี 1 จ�ำนวน 250 เลม่ จดั พิมพ์โดย งานนโยบายและแผน ฝา่ ยวางแผนและพฒั นาคณุ ภาพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พมิ พ์ท่ ี 123 ถนนมติ รภาพ ต�ำบลในเมอื ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน่ 40002 โทรศัพท์ 043-363391 หจก. โรงพิมพค์ ลังนานาวิทยา 232/199 ถ.ศรจี ันทร์ ต.ในเมือง อ.เมอื ง จ.ขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ 043-466444, 043-466860 www.klungnana.com E-mail : [email protected]

คำ� นำ� แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ พ.ศ.2561 - 2564 ฉบบั นี้ จดั ท�ำข้ึนเพื่อเป็นแนวทางในการบรหิ ารคณะฯ ใหเ้ ป็นไปตามยทุ ธศาสตร์ กลยทุ ธ์ แผนปฏิบตั ิการและมาตรการ ตา่ งๆ เพอื่ การบรรลุเปา้ หมายในการพฒั นาคณะฯ ในอีก 4 ปขี ้างหน้า โดยแผนการด�ำเนินงานนีส้ อดคล้องกับ แผนยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ พ.ศ.2559 - 2562 โดยคณะฯไดจ้ ัดทำ� วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ แผนกลยทุ ธแ์ ละแผนการดำ� เนินงานรวมถงึ ตวั ชวี้ ดั ความสำ� เรจ็ ของแผน จากการประชมุ ระดมความคดิ เหน็ ของ ผู้บริหารและบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ในการก�ำหนดเป้าหมายและแผนการด�ำเนนิ งาน โดยการสัมมนาดัง กลา่ วได้นำ� ผลการการวเิ คราะหอ์ งค์กร จุดแข็ง จุดออ่ น โอกาส และภาวะคุกคาม (SWOT analysis) ผลการ วเิ คราะหก์ ารรบั ฟังเสียงของลูกคา้ และการวิเคราะห์สถานการณข์ องคณะฯ เปน็ ข้อมลู สนับสนุนการตดั สนิ ใจ ของผ้บู รหิ าร คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น หวงั เป็นอย่างย่งิ วา่ แผนยุทธศาสตร์การบรหิ ารฉบบั นี้ จะ เป็นแนวทางให้ผู้บริหารและบุคลากรทุกระดับได้รับทราบและยึดถือเป็นแนวทางการบริหาร และจัดท�ำแผน ปฏบิ ตั กิ ารของหนว่ ยงาน เพ่อื การบรรลวุ สิ ยั ทศั น์และเป้าหมาย ท่ไี ด้กำ� หนดไว้ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

สารบัญ หนา้ บทนำ� 1 โครงร่างองค์กร 5 กระบวนการจัดทำ� แผนเชิงกลยทุ ธ ์ 16 แผงผังยุทธศาสตรก์ ารบริหาร 26 สว่ นที่ 1 แผนยุทธศาสตร์เพอ่ื การบรรลวุ ิสัยทัศน์ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ความเป็นโรงเรยี นแพทยร์ ะดบั นานาชาติ (Go International) 29 ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ความเปน็ องคก์ ารแห่งนวตั กรรม (Go Innovation) 29 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 คณุ ภาพการให้บรกิ ารระดบั เปน็ เลศิ (Go Premium) 29 ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 4 คณุ ภาพการบรหิ ารองคก์ ารระดบั เปน็ เลิศ (Go Professional) 29 ตารางเช่อื มโยงวสิ ยั ทศั น์ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ เป้าประสงค์ 29 และโครงการสำ� คัญ สว่ นที่ 2 แผนยทุ ธศาสตร์เพอ่ื รองรับงานประจ�ำตามพนั ธกจิ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การบริหารจัดการทดี่ ี 33 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การผลติ บณั ฑติ ทีด่ ี 38 ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ความเป็นเลิศด้านการวิจัย 42 ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การบริการรกั ษาพยาบาลท่ีด ี 45 ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การสร้างรายได้เพื่อให้เป็นสนิ ทรัพยเ์ พอื่ การพฒั นาและพึง่ พาตนเอง 48 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 6 การอนรุ กั ษ์และการทำ� นุบำ� รุงศิลปวฒั นธรรมทีด่ ี 50 ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 7 ระบบการพฒั นาคณุ ภาพทดี่ ี 51 ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 8 ด้านชุมชนสมั พนั ธท์ ่ีดี 52 ภาคผนวก รายละเอยี ดกิจกรรมการจดั ทำ� แผนยุทธศาสตร ์ 54 พจนานกุ รมตวั ช้ีวดั ส�ำคญั 57 คำ� ส่งั ทีเ่ กยี่ วข้อง 70 นโยบายท่สี ำ� คัญของคณะแพทยศาสตร ์ 73 QS World University Rankings by Subject : Medicine 86 Key factor คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ 88 ภาพกจิ กรรมการจัดท�ำแผนยทุ ธศาสตร์การบริหาร คณะแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2561-2564 91

บทน�ำ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ต้ังขึ้นเม่ือวันท่ี 9 กันยายน 2515 นับเป็นแห่งที่ 5 ของประเทศไทย และเป็นแห่งแรกในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ไขปัญหาการ ขาดแคลนแพทย์ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ซงึ่ มปี ระชากรมากทสี่ ดุ ของประเทศ ปจั จบุ นั คณะฯ จดั การศกึ ษา รวมท้ังส้นิ 106 หลักสูตร ประกอบด้วยหลักสูตรระดับปริญญาตรี 2 หลักสูตร ปริญญาโทและปริญญาเอก 25 หลกั สตู ร ประกาศนียบตั รบณั ฑติ ชนั้ สงู (ป.บณั ฑติ ฯ) วฒุ บิ ตั รผเู้ ชยี่ วชาญเฉพาะทางและวฒุ บิ ตั รผเู้ ชยี่ วชาญ เฉพาะทางต่อยอด 79 หลักสูตร ในด้านการบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วย คณะฯ มีโรงพยาบาลท่ีให้บริการ ประชาชน 2 แหง่ คอื โรงพยาบาลศรีนครินทร์ท่ีมจี �ำนวนเตียงใหบ้ รกิ ารท้งั หมด 1,200 เตยี ง และศูนย์หัวใจ สริ ิกิต์ฯิ ท่มี เี ตยี งใหบ้ รกิ ารอีก 200 เตยี ง ใหบ้ ริการผู้ป่วยนอกปีละประมาณ 1,000,000 คร้ัง และผู้ปว่ ยใน ปีละประมาณ 60,000 ครง้ั โครงสรา้ งการแบง่ ส่วนราชการคณะแพทยศาสตร์ คณะฯ แบ่งสว่ นราชการเป็น ดงั น้ี 1. ส�ำนักงานคณบดี ประกอบด้วย 12 งาน และ 4 สำ� นกั งาน 2. ภาควิชา ประกอบดว้ ย จ�ำนวน 20 ภาควิชา 1 โครงการจดั ตง้ั ภาควิชา 3. โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ ประกอบดว้ ย 12 งาน 4. ศูนย์หัวใจสิรกิ ติ ฯ์ิ ประกอบด้วย 4 ฝ่าย และ 1 สำ� นักงาน 5. คลังเลือดกลาง 6. สถานบริหารจัดการงานวิจยั คลินิก (ACRO; Academic Clinical Research Office) คณะฯ มจี ำ� นวนบคุ ลากรรวมทงั้ สิ้น 5,960 คน ประกอบดว้ ย อาจารย์ จำ� นวน 423 คน และบคุ ลากร สายสนบั สนนุ ประเภทวชิ าชพี เฉพาะ 2,864 คน บคุ ลากรสายสนบั สนนุ ทว่ั ไปจำ� นวน 2,637 คน ในกลมุ่ อาจารย์ สายผสู้ อน มีผู้ดำ� รงตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ 38 คน รองศาสตราจารย์ 120 คน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 127 คน และอาจารย์ 138 คน ส�ำหรบั บคุ ลากรทางวชิ าชพี ทใี่ หบ้ ริการรกั ษาพยาบาลผ้ปู ่วย แยกเปน็ แพทยผ์ เู้ ช่ยี วชาญ 372 คน แพทย์ฝึกอบรมฯ 389 คน ทันตแพทย์ 7 คน เภสชั กร 65 คน พยาบาล 1,765 คน นักรงั สีการแพทย์ 57 คน นกั เทคนิคการแพทย์ 60 คน และนกั กายภาพบ�ำบัด 24 คน นับถึงปปี ัจจบุ ันคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ จะมีอายุครบ 46 ปี จงึ เปน็ การกา้ วเขา้ สู่ ทศวรรษที่ 5 ของคณะฯ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา คณะฯ ได้มีการพัฒนาและเจริญเติบโตมาอย่างต่อเนอ่ื ง ทางดา้ นการจดั การศกึ ษาในปจั จบุ นั มกี ารจดั การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรแี ละการศกึ ษาหลงั ปรญิ ญารวมกนั ถงึ 106 หลกั สตู ร เฉพาะหลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ ไดม้ กี ารเพิม่ จำ� นวนรบั จาก 16 คน ในรนุ่ แรกเปน็ 288 คน ในปัจจุบัน โดยมีผลสัมฤทธ์ิของการสอบครั้งแรกเพ่ือรับใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภามากกว่า ร้อยละ 95 ซ่ึงอยู่ในอันดับต้นๆ ของประเทศ นอกจากนีบ้ ัณฑิตแพทย์ท่ีจบจากคณะฯ มากกว่าร้อยละ 70

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ยังคงปฏิบัติงานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งคณะฯ อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากยงั คงมีปญั หาการกระจายแพทยข์ องประเทศ ทำ� ให้อตั ราส่วนแพทย์ตอ่ ประชากรของภาคตะวนั ออก เฉียงเหนือยงั คงตำ่� ทสี่ ดุ ในประเทศ (1:3,338 เทยี บกบั 1:710 ในกรงุ เทพฯ และ 1:2,417 ในภาคเหนือ) ดงั นนั้ แม้จะมกี ารเปิดคณะแพทยศาสตรเ์ พ่มิ ข้ึนอกี 3 สถาบนั ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื กย็ งั ไม่เพยี งพอ คณะฯ จงึ ยังคงตอ้ งผลิตบัณฑติ แพทยเ์ พือ่ แก้ไขปญั หาการขาดแคลนแพทย์ในภูมภิ าคตอ่ ไป ในดา้ นการจดั การศกึ ษา คณะฯไดจ้ ดั ใหม้ กี ารเรยี นการสอนในระดบั แพทยศาสตรบณั ฑติ และบณั ฑติ ศกึ ษา และคณะฯไดป้ รบั ปรงุ หลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ จนไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานในระดบั สากล (WFME) และมีแผนพัฒนามาตรฐานดังกล่าวไปยังหลักสูตรแพทย์ระดับหลังปริญญา นอกจากน้ยี ังมีแผนการพัฒนา หลักสูตรนานาชาติ และหลักสูตร Dual Degree Program ในระดับบัณฑิตศึกษาปรีคลินิก เพื่อยกระดับ มาตรฐานใหเ้ ข้าส่สู ากล และเพิม่ คู่ความรว่ มมือกับสถาบนั ในระดบั นานาชาติ ปญั หาและอปุ สรรคทส่ี ำ� คญั ของการจดั การเรยี นการสอนหลกั สตู รแพทยศาสตรบณั ฑติ ในปจั จบุ นั คอื การจัดการเรียนการสอนในชั้นคลินิก เนื่องจากผลกระทบจากระบบบริการสุขภาพของประเทศท่ีเปลี่ยนไป ท�ำให้โรงพยาบาลศรีนครินทร์กลายเป็นโรงพยาบาลรับส่งต่อผู้ป่วยที่เกินขีดความสามารถในการรักษาของ โรงพยาบาลต่างๆ ทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ผู้ป่วยที่มารักษาจึงเป็นผู้ป่วยที่รักษายาก อาการหนักและมี ความซบั ซอ้ นมากขนึ้ เรอ่ื ยๆ ผปู้ ว่ ยเหลา่ น้จี งึ เหมาะสำ� หรบั การฝกึ อบรมแพทยป์ ระจำ� บา้ นและแพทยป์ ระจำ� บา้ น ตอ่ ยอด (Fellowship) แตอ่ าจจะไมเ่ หมาะสำ� หรบั การฝกึ ปฏบิ ตั ขิ องนกั ศกึ ษาแพทยท์ ว่ั ไป ซงึ่ คณะฯ ไดแ้ ก้ไขปญั หา โดยการสง่ นกั ศกึ ษาไปฝกึ ปฏบิ ตั งิ านในโรงพยาบาลของกระทรวงสาธารณสขุ ซงึ่ กส็ ามารถแก้ไขปญั หาไดร้ ะดบั หนงึ่ แตเ่ น่อื งจากในปจั จบุ นั โรงพยาบาลเหลา่ นี้ไดร้ บั นกั ศกึ ษาตามโครงการผลติ แพทยเ์ พม่ิ เพอื่ ชาวชนบทเปน็ ของตนเองจงึ ทำ� ให้ไมส่ ามารถรบั นกั ศกึ ษาเพมิ่ ขน้ึ ไดม้ ากนกั ดงั นนั้ คณะฯ จงึ ตอ้ งพจิ ารณาถงึ ความจำ� เปน็ ของ การมีโรงพยาบาลเพ่อื การเรียนการสอน (Teaching hospital) แห่งใหม่ เพือ่ รองรับนักศกึ ษาแพทยท์ ข่ี ้ึนเรยี น ช้ันคลินกิ ท่ีโรงพยาบาลศรีนครินทร์ โดยเป็นโรงพยาบาลที่มีเครือข่ายดูแลผู้ป่วยท้ังในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์และนักศึกษาคณะต่างๆ ในศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ ดังน้ันในอนาคตโรงพยาบาลฯ ใหม่นี้จะเป็นโรงพยาบาลหลักส�ำหรับการจัดการศึกษาระดับปริญญาแพทย ศาสตรบณั ฑติ (Undergraduate school) และโรงพยาบาลศรนี ครนิ ทรจ์ ะเปน็ โรงพยาบาลสำ� หรบั การฝกึ อบรม แพทยห์ ลังปริญญา (Postgraduate school) ในดา้ นการวจิ ยั คณะฯ ไดผ้ ลติ ผลงานวจิ ยั เพ่ิมมากขนึ้ ตามลำ� ดบั จาก 230 เรอื่ งในปี 2553 เปน็ 397 เรอื่ ง ในปี 2560 โดยคณะฯมกี ารสนบั สนนุ ทงั้ ในดา้ นแหลง่ ทนุ วจิ ยั เครอ่ื งมอื วจิ ยั รวมถงึ สงิ่ อำ� นวยความสะดวก อ่ืนๆ เพื่อผลักดันให้เกิดนักวิจัยหน้าใหม่ ตามทิศทางการพัฒนาการวิจัย ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการ มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัย อีกทั้งคณะฯ มีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยกับ มหาวิทยาลัยชน้ั นำ� และนักวจิ ยั ช้ันนำ� ของโลก โดยเฉพาะกับมหาวิทยาลยั ทไี่ ด้รบั การจัดอนั ดับ 1 - 500 ของ QS World University ranking รวมถงึ การพฒั นางานวจิ ยั จากโจทยป์ ญั หาสขุ ภาพในพนื้ ที่ ทสี่ อดรบั กบั ความ สนใจระดบั โลก ซง่ึ จะทำ� ใหส้ ามารถเลอ่ื นอนั ดบั ของ QS World University Rankings by subject : Medicine ใหส้ งู ขนึ้ ได้ แตค่ ณะฯ ยงั ตอ้ งพฒั นางานวจิ ยั ทงั้ ในดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ เพอื่ ให้ไดง้ านวจิ ยั ทม่ี ี Impact factor 2

แผนยุทธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ทส่ี งู ขึน้ และสามารถนำ� ไปใช้ประโยชน์ไดม้ ากข้นึ เพ่ือยกระดบั คณะฯ ให้เป็นสถาบันวิจัยระดบั โลก นอกจากนี้ คณะฯ ยังได้มุ่งม่ันในการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมและการน�ำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และ ส่งเสริมการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา (ปรีคลินิก) เพ่ือเป็นการเพิ่มความเข้มแข็งของพันธกิจวิจัย ในภาพรวม ส�ำหรับด้านการรักษาพยาบาล คณะฯ มีโรงพยาบาลท่ีมีศักยภาพในการรักษาพยาบาลเทียบเท่า โรงพยาบาลช้ันน�ำในระดับประเทศ มีการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาฯ และอนุสาขาฯ ให้กับประเทศ จ�ำนวนมาก และไดจ้ ดั ตงั้ ศูนยก์ ลางบรกิ ารทางการแพทย์ (Medical hub) ซงึ่ เมือ่ ส้นิ สดุ โครงการจะสามารถ รับผู้ป่วยได้ เพิม่ ขึ้นเป็น 3,500 เตียง และมีการจัดตั้งศูนย์การบริการทางการแพทย์ชั้นเลิศ (Centers of Excellence) ในสาขาต่างๆ เช่น ศูนย์ความเป็นเลิศด้านมะเร็ง ศูนย์การปลูกถ่ายอวัยวะ ศูนย์หัวใจและ หลอดเลือดเป็นต้น เพื่อให้ผู้ป่วยในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ สามารถได้รับการบริการทางการแพทย์ ที่มี มาตรฐานเทยี บเทา่ กบั โรงพยาบาลชนั้ นำ� ของประเทศ นอกจากน้ี คณะฯ ยงั คำ� นึงถงึ การขยายการบรกิ ารไปยงั ผู้ป่วยกลุ่มอื่น และประเทศใกล้เคียง ตลอดจนสามารถรองรับการฝึกอบรมแพทย์ผู้เช่ียวชาญและบุคลากร ทางการแพทย์สาขาอืน่ ๆ จากภายในประเทศและตา่ งประเทศไดเ้ ป็นอยา่ งดี การที่ผู้ป่วยของโรงพยาบาลศรีนครินทร์เป็นผู้ป่วยท่ีมีอาการหนัก และมีความซับซ้อน ท�ำให้มีค่า ใชจ้ า่ ยในการรกั ษาพยาบาลสงู ขน้ึ คณะฯจงึ มนี โยบายในการใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยแบบบรู ณาการและจดั ตงั้ หอผปู้ ว่ ย พเิ ศษเพิม่ เติมส�ำหรับผปู้ ่วยทมี่ ีประกันชีวติ เพอื่ เปน็ การเพิม่ รายได้ เพื่อมาสนบั สนุนการรักษาพยาบาลผปู้ ่วย ตามปกติ ตลอดจนนำ� มาสนบั สนุนการพัฒนาจดั การศกึ ษา การพฒั นาบคุ ลากรและการวิจยั การพัฒนาระบบบริหารจัดการ และโครงสร้างการด�ำเนนิ งาน คณะฯได้มีการทบทวนระบบงาน สนบั สนนุ (Back office) โดยการพฒั นาระบบสารสนเทศในการบรหิ าร เพอ่ื มงุ่ สกู่ ารเปน็ Digital Organization ซ่ึงก�ำลังด�ำเนินการร่วมกับการวิเคราะห์และสร้างระบบงานท่ีดีข้ึนใหม่ (Business process re-design) เพอื่ ให้ไดก้ ระบวนงาน (Work process) ทถี่ กู ตอ้ ง รวดเรว็ ไมซ่ ำ้� ซอ้ น เมอื่ รว่ มกบั การสรา้ งระบบบรหิ ารจดั การ ทที่ นั สมยั ทง้ั ในเรอื่ งของหว่ งโซอ่ ปุ ทาน (Supply chain) ระบบการจดั การสง่ สนิ คา้ (Logistics) และการเปลย่ี น ระบบบัญชีใหม่ของคณะฯ จากบัญชีเกณฑ์เงินสดไปเป็นบัญชีเกณฑ์พึงรับพึงจ่ายหรือรายงานทางการเงิน ที่ประกอบด้วยรายงานทางการเงิน บัญชีส�ำหรับผู้บริหาร และบัญชีต้นทุน ซ่ึงจะท�ำให้ระบบงานสนับสนุนมี ประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ สามารถประหยดั เวลาในการทำ� งานประจำ� สามารถนำ� เวลาและความสามารถทมี่ อี ยมู่ า พัฒนางาน รวมทั้งสร้างสรรค์งานใหม่ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น ท�ำให้สามารถสนับสนุนภารกิจ หลักของคณะฯ คอื การเรยี นการสอน งานวิจยั การบริการรกั ษาพยาบาล และการบรกิ ารวชิ าการให้มีความ เจริญกา้ วหน้ายง่ิ ขึ้น คณะฯ ยงั ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ สงั คม ชมุ ชนและส่งิ แวดลอ้ ม โดยมโี ครงการทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ โครงการพฒั นา ระบบสาธารณสขุ เพอื่ การตรวจคดั กรอง ตรวจวนิ จิ ฉยั และบรหิ ารจดั การผปู้ ว่ ยมะเรง็ ทอ่ นำ้� ดี ในภาคตะวนั ออก เฉยี งเหนือ (Cholangiocarcinoma Screening and Care Program: CASCAP) โครงการละวา้ (การควบคมุ และป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับแบบบูรณาการวิถีนเิ วศสุขภาพ;LAWA Project) โครงการป้องกันและชะลอ 3

แผนยุทธศาสตรก์ ารบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ โรคไตเร้ือรังในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (CKDNET) เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันการเกิดโรค ต้งั แต่ในระยะแรก เพือ่ ใหป้ ระชาชนและชุมชนมสี ขุ ภาพดี แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารคณะแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2561 – 2564 ฉบบั นี้ จดั ทำ� ขน้ึ เพอื่ เปน็ แนวทาง ในการบริหารคณะแพทยศาสตร์ ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการและมาตรการต่างๆ เพอื่ การบรรลเุ ปา้ หมายในการพฒั นาคณะแพทยศาสตรใ์ นอกี 4 ปขี า้ งหนา้ โดยแผนการดำ� เนนิ งานนส้ี อดคลอ้ ง กับแผนยุทธศาสตรก์ ารบรหิ ารมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2559 - 2562 และ ปณธิ าน วสิ ยั ทัศน์ และพันธ กิจของคณะแพทยศาสตร์ โดยมีการสมั มนา(คร้งั ที่1) เพ่ือรับทราบการสรุปผลงานและทศิ ทางการบรหิ ารคณะ แพทยศาสตร์ วาระการบรหิ าร 2561-2564 เมอ่ื วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2560 ณ วชิ ชง่ิ ทรี รสี อรท์ จ.ขอนแกน่ (ครง้ั ท2ี่ ) สัมมนาการจัดทำ� แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบตั ิราชการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ประจำ� ปี 2561-2564 ณ ศูนย์ประชุม KICE จังหวัดขอนแก่น และ(คร้ังที่ 3) การสัมมนาเพื่อจัดท�ำแผนกลยุทธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ประจ�ำปี 2561-2564 ณ ห้องประชุมมิตรภาพ คณะแพทยศาสตร์ โดยการสัมมนาดังกล่าวได้น�ำผลการวิเคราะห์องค์กร จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคาม (SWOT analysis) ซึ่งไดส้ มั มนาระดมสมองจากผู้บรหิ ารและบุคลากร เมอื่ วันที่ 22 เมษายน 2560 ณ ราชาวดี รีสอรท์ ผลการวิเคราะห์การรับฟังเสียงของลูกค้า และการวิเคราะห์สถานการณ์ของคณะฯ เป็นข้อมูลสนับสนุนการ ตดั สนิ ใจของผบู้ รหิ าร รว่ มกบั ผลการประชมุ ระดมความคดิ เหน็ ของผบู้ รหิ ารและบคุ ลากรคณะแพทยศาสตร์ใน การกำ� หนดเปา้ หมายและแผนการดำ� เนินงาน และหลงั จากนน้ั (ครง้ั ที่ 4) ไดถ้ า่ ยทอดแผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ าร แผนกลยทุ ธ์ ตวั ชว้ี ดั และโครงการสำ� คญั ใหแ้ กผ่ บู้ รหิ ารและบคุ ลากรทกุ ระดบั ไดร้ บั ทราบและยดึ ถอื เปน็ แนวทาง การบริหาร และจัดท�ำแผนปฏิบตั กิ ารของหน่วยงาน เม่อื วนั ที่ 27 เมษายน 2561 ณ หอ้ งบรรยาย 3 อาคาร เตรยี มวทิ ยาศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ 4

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ โครงรา่ งองค์กร 1. ลักษณะองค์กร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ต้ังขึ้นเมื่อวันท่ี 9 กันยายน 2515 นับเป็นแห่งท่ี 5 ของประเทศไทย และเปน็ แห่งแรกในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ปณธิ าน : เพอื่ ผลติ บณั ฑติ สาขาแพทยศาสตร์ โดยเนน้ ดา้ นเวชปฏบิ ตั ทิ ว่ั ไปและสขุ ภาพชมุ ชน ทงั้ น้ี เพอ่ื แก้ปญั หาการขาดแคลนแพทย์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และเป็นศูนย์กลางความ ร่วมมือในการคน้ คว้าวิจยั ปญั หาดา้ นสุขภาพ วสิ ัยทศั น์ : โรงเรยี นแพทย์ระดบั โลกท่มี ีคณุ คา่ ต่อสงั คมไทย และมวลมนุษยชาติ พันธกิจ : การจัดการศึกษาและผลิตบัณฑิตทางการแพทย์ (Education) การวิจัยและสร้างองค์ ความรู้ นวตั กรรม เพอ่ื การพฒั นาทส่ี มดลุ และยงั่ ยนื เปน็ ทยี่ อมรบั ในระดบั สากล (Research and Innovation) การรักษาพยาบาล (Health care) นอกจากน้ี คณะฯยังมุ่งส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนสังคม (Social value) โดยเฉพาะประชาชนในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และมีส่วนร่วมสนับสนุน ท�ำนุบ�ำรุง ศลิ ปวัฒนธรรม เพือ่ สรา้ งสงั คม ให้เขม้ แข็งและมดี ลุ ยภาพ เป้าประสงค์ : เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการคณะฯให้ทันสมัยและทันต่อการเปลี่ยนแปลง สามารถรกั ษาและพฒั นาคณุ ภาพการจดั การการศกึ ษา และงานวจิ ยั เพอื่ มงุ่ สกู่ ารเปน็ โรงเรยี นแพทยร์ ะดบั โลก (300th QS World University Rankings by subject : Medicine) และการพฒั นางานบรกิ ารรกั ษาพยาบาล ให้มคี ุณภาพระดับสากล และเกดิ ผลส�ำเร็จตามวสิ ัยทศั นแ์ ละเปา้ หมายของคณะฯ โดยมเี ปา้ ประสงคด์ งั นี้ 1. มงุ่ ผลติ บณั ฑติ และบคุ ลากรทางการแพทย์ และแพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญโดยใชห้ ลกั สตู รทมี่ คี ณุ ภาพ ได้มาตรฐานสากล และเปี่ยมไปด้วยทักษะที่จ�ำเป็นส�ำหรับบุคลากรทางการแพทย์ ในศตวรรษท่ี 21 2. มงุ่ พฒั นาคณุ ภาพการบรกิ ารรกั ษาพยาบาลในโรงพยาบาลศรนี ครนิ ทรแ์ ละศนู ยห์ วั ใจสริ กิ ติ ฯ์ิ ใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากล มรี ะบบเครอื ขา่ ยการใหบ้ รกิ ารทค่ี รอบคลมุ และสอดคลอ้ ง กบั ระบบสุขภาพของประเทศ สามารถรองรับการผลิตบัณฑติ ทั้งในระดับปริญญาตรี และ ผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะทาง และมกี ารจดั ตงั้ โครงการศนู ยบ์ รกิ ารการแพทยช์ น้ั เลศิ (Medical hub) เพอื่ รองรบั การใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และการรกั ษาโรคทต่ี อ้ งการความ เช่ียวชาญและเทคโนโลยีชนั้ สงู 3. ผลิตผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ เพ่ือน�ำไปใช้แก้ปัญหาสุขภาพของประชาชน ในประเทศ และนานาชาติ รวมทงั้ นำ� ไปใชป้ ระโยชนเ์ ชิงพาณชิ ย์ 4. มงุ่ มน่ั ในการเปน็ องคก์ รทเี่ ปน็ ทพ่ี ง่ึ มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมชมุ ชน และสงิ่ แวดลอ้ ม โดยมี นโยบายส่งเสริมการมีส่วนร่วม ระหว่างชุมชนและคณะฯ รวมท้ังการลดผลกระทบต่อ ส่ิงแวดลอ้ ม การปรบั ปรุงส่งิ แวดลอ้ มและการอนรุ กั ษ์พลงั งาน 5

แผนยทุ ธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น 5. มรี ะบบบรหิ ารจดั การทรพั ยากรบคุ คล (Human resource management) ทด่ี ี ครอบคลมุ ทั้งเรื่องการพัฒนาสมรรถนะ แนวทางความก้าวหน้า ค่าตอบแทน สวัสดิการและสิทธิ ประโยชน์อย่างเหมาะสม รวมทั้งการสร้างกลไกในการรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความ สามารถสงู ใหค้ งอยใู่ นคณะฯ ตลอดจนการสรา้ งแรงจงู ใจทจ่ี ะดงึ ดดู คนดคี นเกง่ ใหม้ าปฏบิ ตั ิ งานในคณะฯ 6. สร้างระบบบริหารจัดการที่ดี ที่ท�ำให้เกิดคุณภาพชีวิตและความสุขในการปฏิบัติงาน ของบคุ ลากร ควบคกู่ บั การมธี รรมาภบิ าลและมาตรฐานการทำ� งานทม่ี ผี ลสมั ฤทธสิ์ งู โดยใช้ ระบบสารสนเทศ เกณฑ์มาตรฐานสากล และเกณฑค์ ุณภาพการศึกษาเพ่ือการด�ำเนนิ การ ท่เี ปน็ เลศิ (EdPEx) ค่านิยมขององคก์ ร : ACT– SMART A : รับผดิ ชอบ โปรง่ ใส (Accountability) C : มุ่งเน้นผูเ้ รียน และผู้รับบริการ (Customer target) T : ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี (Technology) S : รับผดิ ชอบต่อสังคม (Social responsibility) M : การบริหารจัดการด้วยข้อมูลจริง (Management by fact) A : พรอ้ มรับการเปลยี่ นแปลง และมงุ่ สคู่ วามเปน็ สากล (Agility) R : มุ่งม่ันวจิ ัยและนวัตกรรม (Research & innovation based) T : การทำ� งานเปน็ ทมี (Teamwork) สมรรถนะหลกั ของคณะฯ คอื 1. การเรียนการสอนดา้ นแพทยศาสตรท์ ่เี ปี่ยมดว้ ยทกั ษะและสมรรถนะ (Skillful and highly competent medical teaching) 2. การใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพระดบั ตตยิ ภมู ขิ น้ั สงู ทม่ี คี ณุ ภาพสงู (High quality super tertiary healthcare) 3. การพัฒนางานวิจัยจากโจทย์ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ท่ีสอดรับกับความสนใจระดับโลก (Developing research projects that tackle regional health problems in accordance with global interest) 6

แผนยุทธศาสตรก์ ารบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ คณะฯ จ�ำแนกผปู้ ฏิบตั งิ าน (Workforce) เป็น 3 กลุ่ม ตามตาราง 1 ตาราง 1 ลักษณะโดยรวมของบุคลากรและวฒุ ิการศึกษา (ประจ�ำปงี บประมาณ 2561) วฒุ กิ ารศกึ ษา สายวชิ าการ สายสนบั สนนุ สายสนับสนนุ ความก้าวหน้าทางวชิ าชีพ วชิ าชพี ทัว่ ไป ต�่ำกวา่ ปรญิ ญาตรี - 11 ปรญิ ญาตรี 1 2176 2,243 ตำ� แหน่งทางวิชาการสายผู้สอน: ปริญญาโท 22 599 ปริญญาเอก 400 78 385 ศ./รศ./ผศ./อ.(คน) = หรอื เทียบเทา่ 38/120/127/138 รวม 423 2864 9 คิดเป็นร้อยละ = อายุคนเฉล่ยี 47.59 35.03 0 8.98/28.37/30.02/32.62 อายุงานเฉลี่ย 18.36 10.04 ตำ� แหนง่ ความก้าวหนา้ ของ 2637 สายสนับสนุน : เช่ียวชาญ = 4 39.71 ช�ำนาญการพเิ ศษ = 371 10.95 ช�ำนาญการ = 298 ช�ำนาญงานพเิ ศษ = 9 ชำ� นาญงาน = 331 ทวั่ ไป 2,189 คน ปฏิบตั งิ าน = 2,294 คณะฯ มีอาคารสถานท่ี เทคโนโลยี อปุ กรณแ์ ละสิง่ อำ� นวยความสะดวกท่ีสำ� คัญตามตาราง 2 ตาราง 2 อาคารสถานท่ี เทคโนโลยี อุปกรณ์ และสงิ่ อ�ำนวยความสะดวก อาคาร • อาคารส�ำหรับการเรียนการสอน การวิจัยและการรักษาพยาบาล ได้แก่ 1) อาคาร สถานท่ี ผปู้ ว่ ยนอก 2) อาคาร 89 พรรษา สมเดจ็ ยา่ 3) อาคารหอผปู้ ว่ ยใน 4) อาคารวทิ ยาศาสตร์ คลินกิ 5) อาคารเตรยี มวทิ ยาศาสตร์คลินิกและหอ้ งสมุด 6) อาคารเรยี นรวม 7) อาคาร กัลยาณิวฒั นานุสรณ์ 8) อาคารเวชวชิ าคาร 9) คลงั เลอื ดกลาง 10) อาคารศูนย์หวั ใจ สริ กิ ติ ฯ์ิ 11) อาคารสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี อนสุ รณ์ 1 12) อาคารสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี อนสุ รณ์ 2 13) อาคารเฉลมิ พระบารมี 14) เรอื นพกั ญาติ 15) พืน้ ทีส่ �ำหรับสร้าง Medical Hub จำ� นวน 29 ไร่ • อาคารส�ำหรับการเรียนการสอน ประกอบด้วยห้องประชุม/ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องปฏิบัติการทักษะทางคลินกิ (Skills Lab, Simulation center & CPR-unit) ห้องกิจกรรมกลุ่ม และห้องโถงรองรับนักศึกษา ห้องปฏิบัติการวิจัยพร้อมครุภัณฑ์ การวิจยั รวมมีพ้นื ท่ขี องหอ้ งเรียนและห้องปฏิบตั กิ ารมากกวา่ 24,000 ตารางเมตร 7

แผนยทุ ธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น เทคโนโลยีและ • จดุ Access Point (Wireless) 531 จดุ switch ทใี่ ช้ในการกระจายเครอื ขา่ ย ณ ปจั จบุ นั อปุ กรณ์ รุน่ 2960 และ 2960x จำ� นวน 371 ตวั • คอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการเรียนการสอน การวิจัย และการรักษาพยาบาล รวมท้ังส้ิน 2,700 เครือ่ ง และมเี ครอ่ื งคอมพวิ เตอรพ์ กพา จำ� นวน 250 เคร่ือง • ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล เพอื่ การบริการทางการแพทย์ (Health Object) • ระบบงานบญั ชี การเงิน และการจัดซอื้ (PeopleSoft Finance and Supply Chain) • ระบบงานบุคลากร (PeopleSoft Human Capital Management) • ฐานข้อมูลท่ีใช้ในการบริหารจัดการผลการด�ำเนินการของคณะฯ ได้แก่ ฐานข้อมูล นักศึกษา ฐานข้อมูลวิจัย ฐานข้อมูลบุคลากร ฐานข้อมูลการเงินการคลัง พัสดุ และ ฐานข้อมลู บริการวชิ าการ/วชิ าชีพ • ส่ือการเรียนการสอนและสงิ่ สนับสนุน E-Learning, Tele-conference และ สอื่ การสอนตา่ งๆ เช่น หุ่นฝึกทกั ษะ ผู้ปว่ ยจ�ำลอง เป็นตน้ • ระบบการประเมนิ การเรียนการสอนโดยนักศกึ ษาผ่านระบบ e-learning • ระบบเคร่อื งมอื สรา้ งนวตั กรรมชุดทดสอบทางการแพทย์ตน้ แบบ • ระบบจัดเก็บคลังตัวอย่างชีวภาพ และการเพาะพันธุกรรมสัตว์เพ่ือสนับสนุนงานวิจัย ดา้ นโรคมะเรง็ ท่อน�้ำดี ครภุ ณั ฑ์ • CT256 slide , CT PET scan, MRI3 tesla, Angiogram biplane, Advance การแพทย์ radiotherapy, Sleep Lab, Total Laboratory, mobile service van จำ� นวน • โรงพยาบาลศรีนครินทร์เป็นท่ีฝึกปฏิบัติงานส�ำหรับนักศึกษาท้ังระดับปริญญาตรีและ เตียงผปู้ ว่ ย บัณฑิตศึกษา มีจ�ำนวนเตียงให้บริการท้ังหมด 1,200 เตียง และศูนย์หัวใจสิริกิต์ิฯ 200 เตยี ง ร่วมกบั การฝึกปฏิบตั ิงานในโรงพยาบาลสถาบันร่วมผลิตจำ� นวน 4 แหง่ ห้องสมดุ • มีเน้อื ที่ 3,630 ตารางเมตร มีที่น่ังอ่านและค้นคว้ารวม 380 ที่น่ัง เปิดท�ำการทุกวัน ทรพั ยากรหอ้ งสมดุ มหี นงั สอื จำ� นวน 46,529/71,346 ชอื่ เรอื่ ง/เลม่ วารสารฉบบั พมิ พ์ ไทยและต่างประเทศ จ�ำนวน 371/717 ช่ือเรื่อง วารสารอิเล็กทรอนิกส์ 19/6,830 ฐาน/ช่อื เรอื่ ง โสตทศั นวสั ดุ 5,167 รายการ และ e-book 12 ฐานข้อมลู • มฐี านข้อมลู อิเลก็ ทรอนกิ สส์ �ำหรบั ค้นควา้ จำ� นวน 23 ฐานขอ้ มูล 8

แผนยทุ ธศาสตร์การบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น คณะฯ ได้ด�ำเนนิ การภายใต้กฎหมาย กฎระเบยี บ และขอ้ บังคบั ที่สำ� คญั ดังนี้ ตาราง 3 กฎหมาย กฎระเบยี บและขอ้ บงั คับท่ีสำ� คัญ กฎหมาย กฎระเบียบ สาระสำ� คัญของกฎหมาย กฎระเบยี บ สว่ นราชการทีเ่ ปน็ ผูอ้ อก หรือ ข้อบังคบั ขอ้ บงั คบั เจ้าของกฎหมาย ด้านการจดั การเรยี นการสอน 4 ฉบบั พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษา ขอ้ กำ� หนดในการจัดการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ แหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ให้ไดม้ าตรฐาน กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการประกนั คณุ ภาพ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารประกัน การศกึ ษา คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ.2553 เกณฑม์ าตรฐานของ เกณฑม์ าตรฐานของหลักสูตร พ.บ. และ แพทยสภา แพทยสภา พ.ศ.2545 การรับรองความร้คู วามสามารถ ในการประกอบวชิ าชพี เวชกรรม ดชั นีและตวั บ่งชี้เกณฑ์ เกณฑก์ ารประกันคุณภาพการศึกษา สกอ. สมศ. กพร. มข. กสพท. คณุ ภาพของ สกอ. สมศ. ราชวทิ ยาลยั ต่างๆ กพร. มข. กสพท. ราช วิทยาลัยตา่ งๆ ด้านการวิจัย 2 ฉบับ หลักเกณฑก์ ารพิจารณา ขอ้ กำ� หนดเพอ่ื การดำ� เนินการวจิ ยั ชอบดว้ ย สภาวิจยั แห่งชาติ จริยธรรมของการวจิ ัย มนุษยธรรม จริยธรรมทั้งการวิจัยในคน ในมนุษย์ พ.ศ.2540 และสัตว์ทดลอง โดยยึดแนวทางการ ดำ� เนนิ การตาม Declaration of Helsinki, World Health Organization’s ICH – GCP Guidelines พระราชบญั ญตั ิสัตว์เพอื่ งาน ประกาศ ระเบยี บ ตามที่กำ� หนดใน พรบ. สถาบนั พัฒนาการดำ� เนนิ การ ทางวทิ ยาศาสตร์ พ.ศ.2558 สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ.2558 ต่อสตั ว์เพือ่ งานทาง เช่น จรรยาบรรณ การดำ� เนินการ สถานที่ วิทยาศาสตร์ (สพสว.) ดำ� เนนิ การตอ่ สตั ว์ เพอื่ งานทางวทิ ยาศาสตร์ ส�ำนักงานคณะกรรมการ วจิ ัยแหง่ ชาติ (วช.) ด้านการบริการทางการแพทย์ 1 ฉบบั มาตรฐานการรับรองคณุ ภาพ ขอ้ ก�ำหนดในการบริหารจดั การ สรพ. โรงพยาบาล โรงพยาบาลให้ไดม้ าตรฐาน 9

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ดา้ นการบริหารการเงิน 3 ฉบบั ระเบียบวา่ ด้วยการบรหิ ารงบ การบรหิ ารงบประมาณแผ่นดนิ สำ� นกั งบประมาณ ประมาณ พ.ศ. 2548 ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั วา่ ด้วย การบริหารงบประมาณเงนิ รายได้ มข. การเงนิ รายได้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระเบียบคณะกรรมการตรวจ การควบคมุ การใชจ้ า่ ยงบประมาณแผน่ ดนิ ส�ำนักงบประมาณ เงินแผ่นดิน พ.ศ. 2544 เพื่อติดตามประเมินผลเชิงเปรียบเทียบ แผนและผล ดา้ นการบริหารจดั การ 5 ฉบับ พระราชบัญญตั ิระเบียบ การบริหารงานบคุ คลข้าราชการพลเรอื น กระทรวงศกึ ษาธิการ ขา้ ราชการพลเรอื นในสถาบนั ในสถาบนั อุดมศกึ ษา อดุ มศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 ข้อบังคับสภา มข. วา่ ดว้ ย การปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณของอาจารย์ มข. จรรยาบรรณของอาจารย์และ และข้าราชการ มข. ขา้ ราชการ มข. พ.ศ.2549 กฎระเบยี บดา้ นอาชวี อนามยั ข้อก�ำหนดด้านความปลอดภัย การสร้าง คณะแพทยศาสตร์ มข. และความปลอดภยั ของคณะ เสริมสุขภาพและการดูแลส่งเสริม แพทยศาสตร์ พ.ศ.2551 สง่ิ แวดลอ้ มในการปฏิบตั ิงาน ระเบียบส�ำนักนายกรฐั มนตรี การบรหิ ารพัสดุ สำ� นกั นายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยการพัสดุ พ.ศ.2535 แก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ที่ 2 - 7) ข้อบงั คับ มข. ว่าดว้ ย การจดั โครงสร้างการแบง่ หนว่ ยงาน มข. การจัดต้งั การรวม การยบุ เลิก การแบง่ สว่ นงาน และ หน่วยงานในกำ� กับหน่วยงาน ยอ่ ยของส่วนงานใน มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2560 10

แผนยุทธศาสตร์การบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น 2. ความสมั พนั ธร์ ะดับองคก์ ร คณะฯ มคี ณบดเี ปน็ ผนู้ ำ� สูงสุดขึน้ ตรงต่ออธิการบดี มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ มวี าระการด�ำรงตำ� แหน่ง 4 ปี มคี ณะกรรมการบรหิ ารซงึ่ ประกอบดว้ ยคณบดแี ละรองคณบดี 12 ฝา่ ย มกี ารประชมุ คณะกรรมการบรหิ าร คณะฯสัปดาหล์ ะ 1 คร้ัง ทำ� หน้าทก่ี �ำหนดนโยบาย ส่ือสาร ก�ำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ และทบทวนผลการดำ� เนนิ งาน มีคณะกรรมการประจ�ำคณะแพทยศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยคณบดี รองคณบดี ตัวแทนหัวหน้าภาควิชา คลนิ กิ และ ปรคี ลินิก และผู้ทรงคุณวฒุ ิซ่ึงเปน็ ตัวแทนคณาจารย์ 1 ทา่ น และผู้ทรงคณุ วุฒิจากภายนอก 1 ทา่ น โดยมีหัวหน้าส�ำนักงานคณบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ ทั้งนี้ มีการประชุมเดือนละ 2 ครั้ง เพ่ือควบคุม ปรับปรุงและก�ำกับติดตามผลการด�ำเนินการตามนโยบายท่ีได้ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ คณบดีต้องรายงานผลการ ปฏบิ ตั งิ านตอ่ อธกิ ารบดแี ละสภามหาวทิ ยาลยั ปลี ะ 2 ครง้ั ตามทไ่ี ดท้ ำ� ขอ้ ตกลงการปฏบิ ตั ริ าชการกบั อธกิ ารบดี และมกี ารประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานของรองคณบดี หวั หนา้ ภาควชิ า และหวั หนา้ งาน ตามคำ� รบั รองทไ่ี ดท้ ำ� กบั คณบดีหรือรองคณบดี ปีละ 2 ครั้ง นอกจากนั้นคณะแพทย์ฯ ต้องรับการตรวจประเมินทั้งจากภายในและ ภายนอก ตามรอบระยะเวลาท่กี �ำหนด 3. สภาวการณข์ ององค์กร ก. สภาพด้านการแข่งขนั เป็นโรงเรียนแพทยท์ ่ผี ลิตบณั ฑติ แพทยต์ อ่ ปีสงู เป็นลำ� ดับท่ี 3 ของประเทศ ซ่งึ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8-10 โดยประมาณของบณั ฑติ แพทยท์ ผ่ี ลติ ไดต้ อ่ ปที งั้ หมดในประเทศไทยซงึ่ ผลติ ไดป้ ระมาณ 2,800 คนทว่ั ประเทศ ในการจัดอนั ดบั โรงเรียนแพทย์ในประเทศ คณะฯ อยอู่ ันดบั ท่ี 4 จากโรงเรียนแพทย์ 25 แห่งท่วั ประเทศ และ อยู่ในอนั ดบั ท่ี 401-450 ของโลก โดยการจัดล�ำดบั ของ QS World University Rankings by subject : Medicine ในปี ค.ศ.2017-2018 ซงึ่ คณะฯ มงุ่ มัน่ ในการยกระดับคณะฯ ใหอ้ ยูใ่ น 300 อนั ดับแรก ดงั น้ัน คณะฯ จงึ กำ� หนดใหค้ ณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ซงึ่ อยใู่ นลำ� ดบั ท่ี 3 ของประเทศ และอยใู่ นอนั ดบั ท่ี 251-300 ของโลกตาม QS World University Rankings by subject : Medicine เปน็ คู่เทียบส�ำคัญเพ่อื การพัฒนาในด้านคุณภาพของการจัดการศึกษา และการวิจัย การเปล่ียนแปลงท่ีส�ำคัญท่ีมีผลกระทบต่อ สถานการณ์แขง่ ขนั ของคณะแพทยฯ์ โดยแสดงในตาราง 4 11

แผนยุทธศาสตรก์ ารบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ตาราง 4 การเปล่ียนแปลงทสี่ ำ� คัญท่ีมผี ลกระทบต่อสถานการณแ์ ข่งขันของคณะฯ การเปลี่ยนแปลงสำ� คัญท่ีสง่ ผลกระทบต่อ พันธกิจหลกั ที่ไดร้ ับผลกระทบ ความสอดคลอ้ งกับ สถานการณแ์ ขง่ ขันของคณะฯ การ การ การบริการ บรบิ ท แผน ศกึ ษา วิจยั สุขภาพ เชงิ กลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์ 1. หลกั สูตรอบรมแพทยป์ ระจ�ำบ้าน P- - SC1, SC5 Initiative โดย รพ.สงั กดั กระทรวงสาธารณสุข 10 2. ทักษะนกั ศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 P- - SC1 Initiative 7, 8, 9, 10 3. นโยบายการกระจายงบฯ จาก P - P SC4 Initiative กระทรวงสาธารณสุข ไปยงั รพ.ศนู ย์ 1, 3, 17 4. ความคาดหวงั คณุ ภาพบรกิ ารมาตรฐาน - - P SC5 Initiative สากลและเปน็ มิตรต่อส่ิงแวดล้อม 2, 14 5. นโยบายการเปน็ -- P SO5 Initiative Khon Kaen Smart City 1 6. นโยบายการให้ทนุ วิจยั บูรณาการ -P - SO1, SO5 Initiative สู่ชุมชนของผู้ให้ทุนในประเทศ 11, 12, 13 7. สภาวะการแข่งขันในการจัดอันดบั PP - SC5 Initiative ของโรงเรียนแพทยท์ วั่ โลก 4, 5, 6, 18 8. การเกดิ ขน้ึ ของ PP P Initiative Disruptive technology และ SC3 1, 9, 11, นวัตกรรมการแพทย์ 19, 20 9. การเจรญิ เตบิ โตของประเทศอนื่ ๆ PP P SO2, SO3 Initiative ในเขตเศรษฐกจิ ประชาคมอาเซยี น 1, 3, 8 10. การชะลอตัวในการเติบโต PP P SC4 Initiative ของเศรษฐกจิ ไทยและการลด 1, 11, 17 งบประมาณ 11. Thailand 4.0 การมุ่งสรา้ งนวัตกรรม P P P SC2, SC5 Initiative และการเปน็ medical hub 1, 11, 19, 20 12. การเขา้ สูส่ ังคมผ้สู งู อายุ และการเพ่ิม P P P SO4 Initiative ขึ้นของโรคเรอื้ รงั ท่ไี ม่ติดตอ่ 1, 3, 15 12

แผนยุทธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น แหลง่ ขอ้ มลู เชงิ เปรยี บเทยี บทสี่ ำ� คญั ไดแ้ ก่ QS World University Rankings by subject : Medicine ซง่ึ เปน็ ขอ้ มลู เชงิ เปรยี บเทยี บทสี่ ะทอ้ นผลลพั ธข์ องพนั ธกจิ การศกึ ษา และพนั ธกจิ ดา้ นวจิ ยั เปน็ หลกั โดยคเู่ ทยี บ ท่ีส�ำคัญในบริบทท่ีใกล้เคียงกับคณะฯ และมีความท้าทายในการพัฒนาเพ่ือมุ่งสู่ความเป็นเลิศ คือ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และยงั ใชข้ อ้ มลู เปรยี บเทยี บ จากมหาวิทยาลัยตา่ ง ๆ ในกลมุ่ สกอ. สมศ. และกล่มุ สถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย และขอ้ มูลจาก เครอื ข่ายสถาบันแพทยภ์ มู ิภาค (มข./ มช./ มอ.) ในสว่ นของพนั ธกิจด้านการรกั ษาพยาบาล คณะฯได้เทียบ เคยี งกับโรงพยาบาลของโรงเรยี นแพทย์ในโครงการ THIP (Thailand Hospital Indicator Project) ของเครอื ข่าย UHOSNET 16 สถาบัน ส่วนคเู่ ทียบระดบั ต่างประเทศ (international benchmark) มุ่งเน้นการเปรยี บ เทยี บการบริการสขุ ภาพด้าน clinical outcome โดยมกี ระบวนการพจิ ารณาคัดเลือกและทบทวนแหลง่ ขอ้ มูล และคู่เทยี บที่เหมาะสมอยา่ งเปน็ ระบบ แผนภาพ 1 แสดงล�ำดับของคณะแพทยศาสตร์โดยการจัดล�ำดับของ QS World University Rankings by Subject : Medicine 2015 -2018 500 QS World University Rankings by Subject : Medicine 2015-2018 450 400 401 401 350 300 301 301 250 251 251 251 200 150 151 151 151 151 100 101 101 101 50 0 ป 2015 ป 2016 ป 2017 ป 2018 Khon Kaen University / Songkla nakarin University Chiangmai University Chulalongkorn University Mahidol University 13

แผนยุทธศาสตร์การบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ข. บริบทเชงิ กลยทุ ธ์ คณะฯ ไดว้ ิเคราะห์ความทา้ ทาย ความได้เปรียบและโอกาสเชิงกลยทุ ธ์ ตามตาราง 5 ตาราง 5 ความท้าทาย ความไดเ้ ปรียบและโอกาสเชิงกลยุทธ์ ท่สี �ำคญั ความท้าทายเชงิ กลยทุ ธ์ ความไดเ้ ปรยี บเชงิ กลยุทธ์ โอกาสเชงิ กลยทุ ธ์ SC1: Education for 21st SA1: Established Research SO1: New Grant Platform Century in Some Specific Area and Wide Array of Networking SC2: Human Resource SA2: Strategic Location with SO2: Economic Growth of Transformation Endemic Area of the Region and AEC Certain Diseases SC3: Innovative Services SA3: Highly Capable Faculty SO3: International Fulfilling Digital Era & Researchers Collaboration SC4: Financial & Budget SO4: Aging Population Constraint and New Area of Healthcare Services SC5: Striving for the World’s SO5: Khon Kaen Smart City Top 300th Medical Schools by QS World University Rankings by Subject : Medicine and International Accreditation 14

แผนยทุ ธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ค. ระบบการปรับปรุงผลการด�ำเนินการ คณะฯ มีระบบการปรับปรุงผลการด�ำเนนิ การโดยแบ่งออกเป็น 4 ช่วง ซ่ึงมีการน�ำเคร่ืองมือและ มาตรฐานดา้ นคณุ ภาพมาใชอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยช่วงแรก (ต้งั แตจ่ ัดตั้งคณะฯจนถงึ พ.ศ.2540) คณะฯ ไดป้ รบั ปรุงผล การดำ� เนนิ การตามมาตรฐานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั พนั ธกจิ หลกั เชน่ มาตรฐานหลกั สตู รจาก สกอ. มาตรฐานจากสภา วิชาชีพและราชวิทยาลัยแพทย์ และมาตรฐานการวิจัย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์และสัตว์ทดลอง เป็นต้น หลังจากนั้นในช่วงที่สอง (พ.ศ. 2541-2550) คณะฯ ได้ใช้มาตรฐานระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ เช่น เกณฑ์มาตรฐาน หลักสตู รแพทยศาสตรน์ านาชาติ WFME มาตรฐานทางด้านการรักษาพยาบาล HA ระดับชาติ และพฒั นาต่อ เนื่องเปน็ JCI ในระดบั นานาชาติ รวมทง้ั มาตรฐานคุณภาพระดับนานาชาตดิ า้ นการบรหิ ารจัดการอืน่ ๆ (เช่น ISO14001, ISO50001, ISO15189 และ ISO15190) เพอื่ ใหม้ มี าตรฐานในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ และเทยี บเทา่ ระดบั นานาชาติ ในช่วงทีส่ าม (พ.ศ.2550-2555) เพือ่ ใหค้ วามสามารถในการแขง่ ขันและการพฒั นาในระดับสงู ขนึ้ และช่วยขับเคลื่อนองค์กรให้มีการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด คณะฯ ได้ใช้เครื่องมือในการบริหารจัดการและ พฒั นาคณุ ภาพเพอื่ ปรบั ปรงุ ผลการดำ� เนนิ การใหด้ มี ากย่งิ ขนึ้ ไปอกี โดยใชว้ งจร PDCA เครอ่ื งมอื R2R, LEAN, Performance review, storyboard, กระบวนการ KM & Innovation ในชว่ งท่ี 4 (ชว่ งหลังปี พ.ศ. 2555- 2560) คณะฯ ไดน้ ำ� เกณฑค์ ณุ ภาพระดบั องคก์ ร โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ เกณฑ์ EdPEx/TQA เพอื่ พฒั นาไปสอู่ งคก์ ร แห่งความเป็นเลิศและมีสมรรถนะสูง (High performance organization) รวมท้ังการพัฒนาผล การดำ� เนินการและเลอื กเทยี บเคยี งกบั คเู่ ทยี บระดบั นานาชาติ เพอ่ื มงุ่ มน่ั ในการบรรลวุ สิ ยั ทศั นแ์ ละเปน็ โรงเรยี น แพทยร์ ะดับโลกท่มี คี ุณคา่ ต่อสงั คมไทยและมวลมนษุ ยชาตไิ ด้อยา่ งแท้จรงิ 15

แผนยทุ ธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กระบวนการจัดท�ำแผนเชิงกลยุทธ์ การจดั ท�ำแผนกลยุทธ์ คณะฯ ดำ� เนินการวางแผนกลยทุ ธ์ ผา่ นกระบวนการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารในการวางแผนกลยทุ ธ์ โดย ทมี ผบู้ ริหารระดบั สูงและผู้บริหารระดบั ต่าง ๆ นำ� โดยคณบดี ภายใตค้ ำ� แนะน�ำของผทู้ รงคุณวฒุ ภิ ายนอก โดย แบง่ เป็น แผนยุทธศาสตรร์ ะยะยาว 4 ปี และแผนยุทธศาสตร์ระยะสน้ั 1 ปี โดยมีเปา้ หมายสงู สุด คือการบรรลุ วิสัยทัศน์ของคณะฯ นอกจากนยี้ ังมีแผนกลยุทธ์ระยะยาว ที่ต้องด�ำเนินการโดยทีมบริหารหลายวาระ (ได้แก่ แผนการสร้าง medical hub) ซึ่งต้องส่งผ่านนโยบายและแผนปฏิบัติการไปยังทีมบริหารใหม่ในอนาคตเพ่ือ ความต่อเนื่อง โดยขัน้ ตอนของกระบวนการจัดทำ� แผนกลยทุ ธ์ ผู้มีส่วนรว่ ม แสดงใน แผนภาพ 1 กระบวนการ จัดทำ� กลยทุ ธ์ กระบวนการจดั ท�ำแผนกลยทุ ธข์ องคณะฯ ไดม้ กี ารทบทวนและปรับปรงุ อยา่ งต่อเนอ่ื งทกุ ปี โดย แผนล่าสดุ นม้ี กี ารทบทวนปรบั ปรุง โดยปรบั ขัน้ ตอนการทำ� SWOT จากเดมิ ที่อยกู่ ่อนมาเปน็ ภายหลงั จากการ ท�ำ Trend and Scenario analysis เพื่อให้สามารถรวบรวมปัจจัยภายในและภายนอกต่างๆ ให้ครบก่อน แลว้ มาจำ� แนกเปน็ SWOT ในภายหลัง และทำ� ให้เกิดความสอดคล้องกบั บรบิ ทเชิงกลยทุ ธ์ ของคณะ และมี การยา้ ยข้ันตอนการทำ� Work system redesign มาภายหลัง การทำ� SWOT & define strategic context เพื่อให้การไหลของขั้นตอนตรงกับขั้นตอนการด�ำเนนิ การจริงจนเป็นแผนกลยุทธ์ฉบับปัจจุบัน โดยแผนระยะ ยาวลา่ สุด คอื แผน พ.ศ.2561-2564 และ แผนระยะส้นั ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 ซง่ึ ได้ดำ� เนินการในการสัมมนา ผ้บู ริหารประจำ� ปี 2560 ในวันท่ี 20-21 มกราคม 2561 ทำ� ให้ได้ผลลพั ธ์ของกระบวนการน้ี คือ วัตถปุ ระสงค์ เชงิ กลยุทธ์ โครงการรเิ รมิ่ แผนปฏบิ ตั ิการทส่ี �ำคญั ตวั ช้วี ดั และเป้าหมายของแผนกลยทุ ธ์ แผนภาพ 2 กระบวนการจัดทำ� กลยทุ ธ์ Phase 1 : Organization analysis Phase 2 : Strategic development 2Envirsocnamn etal 3 SaTcnreeannlydasr&iiso 4 dD(irVeefMcintVieo)dn S5WOSCTCC&//SSDOAefine 1Opregarfanonarilmzyasatinisocne a6lignSremtdraeetnsetigg&inc WS Oct Nov Dec Jan Feb Mar Resource allocation SPP SDP mAoctdioifnicaptliaonn 7deCpalosGycomaadelinngt & Sep Aug July Jun May Apr 8Peprrfoojremctaionnce 12 10 &PemArfegoarresmeumarenescnet Ac&tioEnxepclauntiodnev. 11 Pmerofnoirtmorainngce 9 Phase 4 : Performance measurement Phase 3 : Strategic deployment 16

แผนยุทธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ตาราง 6 แสดงขั้นตอน ปจั จยั และผูท้ เี่ กยี่ วขอ้ งในการทำ� แผนกลยทุ ธ์ ระยะ 1. การวเิ คราะห์ 2. การพฒั นา 3. การน�ำไปสู่ 4. การวัดผล องคก์ ร แผนกลยทุ ธ์ การปฏิบตั ิ และทบทวน ขนั้ ตอน 1 2 3 456 789 10 11 12 ชว่ งเวลา ตลุ าคม – ธนั วาคม มกราคม-มีนาคม เมษายน-มถิ ุนายน กรกฎาคม-กนั ยายน • วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ • วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ • วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ • วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ ค่านยิ ม ค่านิยม คา่ นยิ ม ค่านยิ ม • ผลลัพธ์การปฏบิ ัติ • สมรรถนะหลักของ • สมรรถนะหลกั • ขอ้ มลู ผลการ งานทส่ี ำ� คัญ องคก์ ร ขององคก์ ร ดำ� เนินงาน ปจั จัย • ข้อมูลสารสนเทศ • โอกาสเชิงกลยุทธ์ • วัตถุประสงค์ • กระบวนการ น�ำเข้า ภายใน และ • ความไดเ้ ปรยี บ เชงิ กลยทุ ธ์ ทบทวนผลการ (Input ภายนอกทส่ี ำ� คญั เชงิ กลยทุ ธ์ • ตวั ชว้ี ัดแผนกลยทุ ธ์ ด�ำเนินการ phase) • ความตอ้ งการของ • ความท้าทายเชงิ กล • โครงการริเรมิ่ ผเู้ รียน ผู้รบั บรกิ าร ยุทธ์ • แผนปฏบิ ัตกิ าร ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย ท่ีส�ำคญั • สมรรถนะหลักของ • เปา้ หมายทีค่ าด องคก์ ร การณ์ • โอกาสเชงิ กลยทุ ธ์ • วัตถุประสงค์ • แผนปฏิบตั กิ าร: • ข้อมลู สรุปผลการ • ความท้าทาย เชิงกลยทุ ธ์ หนว่ ยงาน ระดับ ดำ� เนินงานตาม เชงิ กลยทุ ธ์ • ตวั ชี้วดั แผนกลยทุ ธ์ ภาควชิ า วัตถปุ ระสงค์ ผลผลิต • จุดบอดองคก์ ร • โครงการริเรม่ิ • การวางแผนจัดสรร เชิงกลยุทธ์ (Output • วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ phase) แผนปฏิบัตกิ าร การเงิน • ผลการด�ำเนนิ การ คา่ นิยม สมรรถนะ หลัก ทีท่ บทวน/ ระดับคณะ • การวางแผนจดั สรร ตามแผนปฏิบตั ิการ • แผนปฏบิ ัติการ บุคลากร ที่ส�ำคญั ปรบั ปรุงแล้ว ทีส่ ำ� คัญ • การพัฒนาบุคลากร • ผลประเมนิ • เป้าหมายที่ ความพึงพอใจ คาดการณ์ ทีมบรหิ าร ผมู้ ีสว่ น ทีมบริหาร ทมี บรหิ าร ทมี บรหิ าร ฝ่ายต่างๆ คณะกรรมการบริหาร เกย่ี วขอ้ ง คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ภาควชิ า หน่วยงาน คณะฯ ผเู้ รยี น ที่ส�ำคัญ คณะฯ คณะฯ บุคลากร ผูร้ บั บริการ บุคลากร 17

แผนยุทธศาสตร์การบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ระยะที่ 1 การวเิ คราะหอ์ งคก์ ร คณะฯ มกี ระบวนการวางแผนกลยทุ ธ์ ทเ่ี น้นถงึ การกระตุ้นให้ เกิดการสร้างนวัตกรรม โดยการระดมสมองในข้ันตอนย่อย 1-5 การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกด้วยเครื่องมือ PEST Analysis และร่วมกบั เครอื่ งมือ SWOT/ TOWS matrix Analysis/ Gap analysis โดยทมี บริหารนำ� การเปลย่ี นแปลงทสี่ ำ� คญั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การแขง่ ขนั ของคณะฯ และพจิ ารณาถงึ ความสอดคลอ้ งกบั วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ หลกั ทง้ั 3 ดา้ น จดั ลำ� ดบั วา่ มคี วามสำ� คญั และไดส้ รปุ ออกมาเปน็ โอกาสเชงิ กลยทุ ธท์ ส่ี ำ� คญั (Stra- tegic Opportunity; SO) ของคณะ และพจิ ารณาถงึ ความเส่ียงท่นี า่ ลงทนุ และความสอดคลอ้ งกบั สมรรถนะ หลกั และพจิ ารณาถึงทรพั ยากรเงินและทรัพยากรอ่นื ๆ และคคู่ วามรว่ มมอื ที่มอี ยู่ อนั นำ� ไปสโู่ ครงการริเรมิ่ ใหม่ เชน่ SO1: ทุนวจิ ัยรปู แบบใหม่จากผู้ใหท้ นุ เช่น ทนุ วิจยั บูรณาการสหสาขาวิชาเพือ่ แก้ปัญหาสุขภาพในพนื้ ที่ และทุนวิจัยท่ีมุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมต้นแบบ ซึ่งน�ำไปสู่โครงการริเรม่ิ ด้านการสร้างนวัตกรรมเชิงพาณชิ ย์, SO2: การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของพ้ืนที่โดยรอบและประชาคมอาเซียน ซึ่งน�ำไปสู่การท�ำโครงการริเร่มิ ด้าน Medical hub และ Center Of Excellences (COEs), SO3: การมีความร่วมมอื กบั นานาชาตนิ �ำไปสู่ โครงการริเร่มิ ดา้ นการสรา้ งมาตรฐานหลักสูตรและการวิจยั ใหเ้ ปน็ ที่ยอมรับในระดับสากล, SO4: การเพมิ่ ข้ึน ของประชาคมผู้สูงวัยและการบริการทางการแพทย์ยุคใหม่ น�ำไปสู่การท�ำโครงการ COEs, SO5: การเกิด ขอนแก่นมหานครเมืองอัจฉริยะ น�ำไปสู่การท�ำโครงการ Medical hub เป็นต้น ซึ่งแต่ละโครงการได้รับการ จดั สรรงบประมาณและมอบหมายผบู้ รหิ ารทร่ี ับผดิ ชอบและดำ� เนนิ การใหบ้ รรลุผล ระยะที่ 2 พัฒนาแผนกลยุทธ์ คณะฯ มีกระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ ภายในและภายนอกท่ีส�ำคัญเพ่ือใช้ในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ โดยฝ่ายวางแผนยุทธศาสตร์ ทีมบริหารและที่ ปรกึ ษาภายนอก ไดว้ เิ คราะห์โดยใชข้ อ้ มลู ตามปจั จยั สารสนเทศ (ตารางท่ี 7) ซง่ึ รวบรวมโดยผบู้ รหิ ารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และถูกทบทวนอย่างสม่�ำเสมอ และใช้ Balance Strategic Check/ SWOT/ TOWS matrix Analysis/ Gap analysis ในการวิเคราะห์ พร้อมท้ังก�ำหนดบริบทเชิงกลยุทธ์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และเป้าหมาย เพอื่ ทำ� ใหเ้ กดิ ความสมดลุ ระหวา่ งโอกาสกบั ความทา้ ทายเชงิ กลยทุ ธแ์ ละความไดเ้ ปรยี บเชงิ กลยทุ ธท์ งั้ ระยะสน้ั และระยะยาวของแผนกลยุทธ์ รวมท้งั กำ� หนดตัววัด ตาราง 7 ปจั จยั และสารสนเทศท่ีใชว้ เิ คราะห์ก�ำหนดกลยุทธ์ ปจั จยั ด้านตา่ งๆ ข้อมูลท่รี วบรวม/ประเดน็ /รายละเอยี ด ผ้เู ก่ยี วขอ้ ง ทีมบริหาร ผลการด�ำเนนิ งาน และ • ผลการดำ� เนินการตามกลยุทธแ์ ละแผนปฏบิ ัตกิ าร รองฯ แผน ข้อมลู ป้อนกลับจาก ท่สี �ำคัญ ผลการด�ำเนินการดา้ นทรพั ยากรบุคคล การตรวจประเมนิ ด้านผเู้ รียน/ผรู้ บั บริการ ด้านความรบั ผิดชอบ ทมี บริหาร ตอ่ สังคม และดา้ นการเงิน รองฯ แผน • ขอ้ มลู จากการตรวจประเมินทุกระดับ นโยบายจากภาครัฐ และ • นโยบายภาครัฐ เชน่ Thailand 4.0, การส่งเสริม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ Smart city ในภูมภิ าค • แผนยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลัยขอนแกน่ 18

แผนยุทธศาสตรก์ ารบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ปจั จัยด้านต่างๆ ขอ้ มูลทร่ี วบรวม/ประเดน็ /รายละเอยี ด ผู้เกย่ี วขอ้ ง กฎระเบียบ • กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คับ, ขอ้ กำ� หนด, จรยิ ธรรม, รองฯ ทรี่ ับผิดชอบ ข้อบังคบั ตา่ งๆ มาตรฐานในการท�ำงาน ตามพันธกิจ สถานการณ์ • อตั ราการเตบิ โตด้านเศรษฐกิจของประเทศ, รองฯ คลงั , งานคลัง ด้านเศรษฐกิจ งบประมาณดา้ นการศกึ ษาและสาธารณสขุ สถานการณ์ ดา้ นสงั คม • อัตราการเกดิ อัตราสว่ นของผสู้ งู อายใุ นประเทศ รองฯ แผน สถานการณ์ ดา้ นตลาด • ข้อมูลด้านตลาดท่สี ำ� คญั ของคเู่ ทียบในแตล่ ะพันธกจิ , รองฯ แผน ข้อมูลสถาบนั แพทยเ์ ปดิ ใหม่ในอนาคต และจากต่างประเทศ สถานการณ์ เทคโนโลยี • การเปล่ยี นแปลงด้านเทคโนโลยที ี่สำ� คัญ รองฯ แผน, ทีเ่ กีย่ วขอ้ งในแตล่ ะพันธกิจ รองฯ สารสนเทศ • ขอ้ มลู ประสทิ ธภิ าพด้านเทคโนโลยีของคณะฯ บรบิ ทใหม่ของโลก • บรบิ ทใหมข่ องโลกทีส่ อดคล้องในแต่ละพันธกิจ เช่น รองฯ แผน Disruptive technology ทางดา้ นการศึกษา รองฯ ทร่ี ับผิดชอบ การวจิ ยั และการแพทย์ ตามพนั ธกจิ คแู่ ข่ง/คู่เทียบ • ผลการจัดอนั ดับระดบั ชาต/ิ นานาชาติ (QS World รองฯ ทรี่ ับผิดชอบ University Rankings by Subject : Medicine)/ ตามพันธกิจ ผลการดำ� เนินการทส่ี �ำคัญของคแู่ ขง่ ความคาดหวงั ของผูเ้ รยี น • ข้อมลู จากเสียงของผเู้ รยี นและลกู คา้ กลุม่ อ่ืน รองฯ แผน รองฯ ทีร่ ับผดิ ชอบ และลกู ค้ากลมุ่ อื่น ความพึงพอใจ ข้อร้องเรยี น ความคาดหวัง ตามพันธกิจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความต้องการ ความสามารถในการ • ระบบการน�ำองค์กร , กระบวนการนำ� แผนกลุยทุ ธ์ ทมี บริหาร นำ� กลยทุ ธ์ไปปฏิบัติ สกู่ ารปฏบิ ตั ,ิ การออกแบบกระบวนการ, รองฯ แผน การจดั การด้านทรพั ยากรบุคคล และงบประมาณ คณะฯ โดยทมี บรหิ ารไดอ้ อกแบบระบบงาน ตามขนั้ ตอนที่ 6 ของ SPP โดยพจิ ารณาความสอดคลอ้ ง กบั วสิ ยั ทศั น์ ความเปน็ เลศิ ในการดำ� เนนิ การตามพนั ธกจิ หลกั ทง้ั 3 ดา้ น สมรรถนะหลกั ความทา้ ทายเชงิ กลยทุ ธ์ และการนำ� องคก์ รของทมี บรหิ าร เพอื่ มงุ่ สกู่ ารบรรลวุ สิ ยั ทศั น์ โดยสง่ เสรมิ การทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งระบบงาน ให้มีความสอดคล้อง สนับสนุนการใช้ทรัพยากรร่วมกัน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มของกระบวนการท�ำงาน ได้แก่ 1) Core Process ซ่งึ ประกอบดว้ ย 3 กระบวนการตามพนั ธกจิ ซึ่งต้องใช้สมรรถนะหลักในการเป็นแนวทาง ดำ� เนนิ งาน โดยคณะฯ มีการทบทวน ปรบั ปรุง แก้ไข สมรรถนะหลักในช่วงการท�ำ SPP ทกุ ปี และจากการ ทบทวนและปรับปรุงในปีล่าสุด คณะฯ ได้ปรับ สมรรถนะหลักเป็น 3 ข้อ 2) Key Support Process ประกอบดว้ ย 7 กระบวนการ ซง่ึ ไดม้ กี ารทบทวนและปรบั ในขนั้ ตอนท่ี 6 ของ SPP โดย Key Support Process ปปี จั จบุ ันมีความสอดคลอ้ งกบั การแบ่งฝา่ ยการบริหารตามรองคณบดี 19

VOC/VOS&STRATEGIC CONTEXTแผนยทุ ธศาสตรก์ ารบริหาร พ.ศ. 2561-2564 LEADERSHIP SYSTEM คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น คณะฯ โดยทมี บรหิ ารได้มกี ารกำ� หนดวัตถุประสงค์เชิงกลยทุ ธท์ ่สี �ำคญั เป้าประสงค์ ตวั วัด และผู้รับ ผิดชอบ โครงการท่ีส�ำคัญ และระยะเวลาที่จะบรรลุตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงเป็นผลลัพธ์จากช่วงการพัฒนาแผน กลยทุ ธต์ ามกระบวน SPP โดยแผนกลยุทธ์ 2P2I แบง่ เปน็ 1) Go International สำ� หรบั พนั ธกจิ การจดั การ ศกึ ษาเพอ่ื มงุ่ สู่ world class education, 2) Go Premium สำ� หรบั พนั ธกจิ ดา้ นการบรกิ ารรกั ษาพยาบาลเพอ่ื มงุ่ สู่ international standard and hospital outcome 3) Go innovation สำ� หรบั พนั ธกจิ ดา้ นการวจิ ยั และ นวัตกรรมเพื่อมงุ่ สู่ high quality research และ 4) Go Professional สำ� หรับกระบวนการสนบั สนุนหลัก เพือ่ มงุ่ ส่อู งค์กรที่ responsible to society, best place to work และ efficient & modern โดยมีการ เปลยี่ นแปลงที่ส�ำคญั ที่ส่งผลกระทบตอ่ แผนกลยทุ ธ์ แผนบุคลากรและผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ได้แก่ (โครงการการ ขยายตวั ของการบรกิ ารสขุ ภาพท้ังแนวขวาง; Medical hub และแนวดงิ่ ; COEs, โครงการการปรบั หลกั สตู ร ตามมาตรฐานนานาชาติ WFME และหลักสูตรใหมท่ ี่เป็นหลกั สูตรนานาชาติ และการสร้างนวัตกรรมวิจยั ของ พันธกิจวิจัย) ไปยังหน่วยงานตา่ งๆ โดย เพ่อื ให้หน่วยงานรบั รูถ้ ึงการเปลย่ี นแปลงหลักดา้ นการนำ� แผนกลยทุ ธ์ ไปปฏิบัติ แผนภาพ 3 ระบบงานหลกั และระบบสนับสนนุ ของคณะแพทยศาสตร์ MD KKU Work System CORE PROCESS CC1 CP1 EDUCATION PROCESS CC2 CP2 HEALTHCARE PROCESS CC3 CP3 RESEARCH PROCESS KEY SUPPORT PROCESS SP1 STRATEGIC PROCESS SP2 ADMINISTRATIVE MANAGEMENT SP3 STUDENT DEVELOPMENT PROCESS SP4 IT MANAGEMENT SP5 ENVIRONMENTAL MANAGEMENT SP6 CSR & RELATION SP7 INTERNATIONAL COORPERRATION MANAGEMENT คณะฯ จัดท�ำกลยุทธ์ ในรูปแบบการสัมมนาผู้บริหารระดับสูงครบทุกส่วน ใช้กระบวนการอภิปราย และเวทีน�ำเสนอ เพ่ือให้ผู้บริหารทุกส่วนได้แสดงความคิดเห็น และระดมสมอง ท�ำให้สามารถพัฒนา วัตถปุ ระสงค์กลยุทธท์ ใี่ ช้สมรรถนะหลักขององค์กร คอื การบรู ณาการแตล่ ะพันธกจิ เข้าด้วยกัน ไดข้ อ้ สรุปร่วม กนั ทค่ี ำ� นึงถงึ สมดลุ ระหวา่ งความตอ้ งการทหี่ ลากหลาย กอ่ ใหเ้ กดิ จดั สรรทรพั ยากรทมี่ อี ยไู่ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และสอดคล้องกับแผนระยะส้นั ระยะยาวของคณะ การท�ำแผนกลยุทธข์ องคณะใช้ BSC เปน็ เคร่อื งมอื ในการ ช่วยให้ค�ำนงึ ถึงการตอบสนองต่อความท้าทายเชิงกลยุทธ์ และใช้ประโยชน์จากสมรรถนะหลักและความได้ เปรียบเชิงกลยุทธ์ และน�ำความต้องการและความคาดหวังของผู้เรียน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ สำ� คัญ มาพิจารณาประกอบการจัดท�ำแผนกลยทุ ธ์ 20

แผนยทุ ธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ระยะที่ 3 การน�ำกลยทุ ธ์ไปสู่การปฏิบัติ ในการจัดท�ำแผนปฏบิ ัตกิ ารท้ังระยะสนั้ และระยะ ยาวอยู่ในขน้ั ตอนที่ 9 ของกระบวนการจัดทำ� แผนกลยุทธ์ โดยมอบหมายใหร้ องคณบดแี ต่ละฝ่ายท่เี กยี่ วข้อง ร่วมกับส่วนงานและหน่วยงาน จัดท�ำแผนปฏิบัติการท่ีสามารถตอบสนองสอดคล้องกับโครงการริเร่ิมและ วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ในแตล่ ะข้อของแผนกลยุทธ์ 2P2I โดยคณะฯ ได้มีการปรับการจัดท�ำแผนปฏบิ ตั ิการ โดยมุ่งเนน้ โครงการท่มี ีความส�ำคัญสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ จ�ำนวนท้งั ส้ิน 20 โครงการ คณะมกี ารถา่ ยทอดแผนปฏบิ ตั กิ ารทสี่ อดคลอ้ งกบั โครงการรเิ ริม่ สำ� คญั และตวั ชวี้ ดั ทง้ั หมดทสี่ อดคลอ้ ง กบั วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ ไปยงั ภาควชิ า หนว่ ยงาน และระดบั รายบคุ คล และมกี ารจดั ทำ� ขอ้ ตกลงการปฏบิ ตั ิ งานระหว่างรองคณบดีกับคณบดี และระหว่างหัวหน้าภาควิชากับรองคณบดี/คณบดี และการก�ำหนด TOR ระดบั บุคคลโดยหวั หนา้ ภาควิชา/หัวหนว่ ยงาน และส่อื สารไปยงั คู่ความร่วมมือสำ� คญั โดยเฉพาะสถาบันร่วม ผลิตแพทย์ และมีการประชุมชี้แจงและติดตามผลการด�ำเนินงานเป็นระยะโดยมีกลไกการประกันคุณภาพ การตดิ ตามผลการด�ำเนินงาน ในลกั ษณะของเครอื ขา่ ยกับทุกฝา่ ย หากพบวา่ การดำ� เนินการตามแผนปฏิบัตกิ าร ไม่เป็นไปตามเป้าหมายท่ีก�ำหนด ทีมบริหารจะวิเคราะห์หาสาเหตุ ท�ำการปรับปรุงแผนปฏิบัติการ จัดสรร งบประมาณสนบั สนนุ เพม่ิ เตมิ และตดิ ตามอยา่ งใกลช้ ดิ เพอื่ ใหแ้ ผนปฏบิ ตั กิ ารนน้ั บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคต์ ามกรอบ เวลาท่ีก�ำหนดได้ นอกจากน้ันผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงและผลการประเมินคุณภาพภายในได้ถูกน�ำไป ใช้เป็นเงื่อนไขในการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหาร/บุคลากร และการจัดสรรงบประมาณให้กับ หน่วยงานด้วย และมีกระบวนการติดตามผลการด�ำเนนิ งานโดย ติดตามผลการด�ำเนนิ การอย่างสม�่ำเสมอ ผา่ นกระบวนการทบทวนผลการด�ำเนนิ การ มรี ายงานผลการติดตามงาน ตามแผนปฏิบัติราชการ 6 และ 12 เดอื น โดยรายงานผลการดำ� เนินงานตามตวั ชวี้ ดั ทสี่ ำ� คญั ของโครงการ/กจิ กรรม ในแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ� ปี และการ ตรวจติดตามตัวชี้วัดที่ส�ำคัญใน monitoring dashboard รองคณบดีฝ่ายวางแผนฯ ท�ำการพิจารณาจัดสรร งบประมาณใหแ้ ตล่ ะแผนปฏบิ ตั กิ าร รองคณบดฝี า่ ยการคลงั พสั ดุ และทรพั ยากรบคุ คล จดั สรรและพฒั นาบคุ ลากร ทต่ี อบสนองอยา่ งเหมาะสมตอ่ แผนปฏบิ ตั กิ ารนน้ั ใหส้ ามารถดำ� เนนิ การตามแผนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ แลว้ ท�ำการทบทวนเพื่อพัฒนาปรับปรุงให้แผนปฏิบัติการมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น โดยในปีล่าสุดนี้ คณะฯ ได้ ทบทวนผลการด�ำเนนิ งาน กระบวนการ SPP คณะฯ พบว่าจากผลลัพธด์ ้านสัดส่วนแผนปฏิบตั กิ ารที่ส�ำเรจ็ มี แนวโนม้ ไมด่ ี คณะฯจงึ ปรบั การถา่ ยทอดแผนกลยทุ ธใ์ หมโ่ ดย การทำ� cross functional team ในแตล่ ะพนั ธกจิ คือ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายพัฒนานักศึกษา และฝ่ายวิเทศน์สัมพันธ์ในการขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการในพันธกิจ การจดั การศกึ ษา สว่ นฝา่ ยใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพมกี ารรว่ มกนั ของฝา่ ยโรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ ศนู ยห์ วั ใจสริ กิ ติ ฯิ์ และศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ดา้ นสขุ ภาพ (COEs) และการมกี ารปรบั เปลยี่ นการทำ� แผนปฏบิ ตั กิ าร จากเดมิ ทใี่ ชก้ าร ต้ังรับ action plan ทมี่ าจากการดำ� เนินการจากงานประจ�ำ ให้กลายมาเป็นการถ่ายทอดกรอบของโครงการ รเิ รม่ิ ลงไปสกู่ ารพฒั นาแผนปฏบิ ตั กิ าร และการจดั สรรงบประมาณในโครงการทสี่ อดคลอ้ ง (top-down strat- egy) เพื่อให้งานประจ�ำสามารถสอดรับกับแผนกลยุทธ์และโครงการริเรม่ิ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการ เพ่ิมการส่ือสารถึงการเปล่ียนแปลงที่ส�ำคัญต่อกลยุทธ์ไปยังหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้หน่วยงานรับรู้ถึงการ เปลีย่ นแปลงหลักดา้ นการน�ำแผนกลยทุ ธ์ไปปฏิบตั ิ 21

แผนยทุ ธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น แผนดา้ นบคุ ลากร คณะฯ โดยฝา่ ยวางแผนและพฒั นาคณุ ภาพ และฝา่ ยการคลงั พสั ดุ และทรพั ยากร บุคคลร่วมกันบริหารความต้องการด้านขีดความสามารถและกรอบอัตราก�ำลังผ่านคณะกรรมการบริหาร บุคลากรคณะแพทยศาสตร์ โดยหลังกระบวนการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์เสร็จสิน้ ปลายเดือนมีนาคม ฝ่ายวางแผนฯ จะเรมิ่ ค�ำนวณกรอบอัตราก�ำลังท่ีเหมาะสม และการจัดสรรอัตราก�ำลังปีละ 2 รอบตามรอบ ปฏิทินของมหาวิทยาลัย โดยแผนด้านบุคลากรแบ่งเป็นสองส่วน คือ 1) แผนบุคลากรเพื่อขับเคล่ือน แผนยุทธศาสตรก์ ารเปน็ โรงเรยี นแพทยร์ ะดับโลกทม่ี ีคณุ คา่ ตอ่ สงั คมไทยและมวลมนษุ ยชาติ โดยมีแผนพฒั นา ขีดความสามารถท่ีจ�ำเป็นต่อการขับเคล่ือนกลยุทธ์ของบุคลากรในแต่ละสาขาวิชาชีพ โดยฝ่ายการคลัง พัสดุ และทรัพยากรบคุ คล ฝา่ ยวิจัย และฝ่ายวิชาการ เพ่ือพฒั นาอาจารย์ให้มคี วามรู้ดา้ นการรกั ษาโรคเฉพาะด้าน ด้านวจิ ยั การสรา้ งนวัตกรรม และการเรยี นการสอนระดบั นานาชาต/ิ WFME และคณะฯ ยังได้มโี ครงการจ้าง อาจารย์ชาวต่างชาติท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาต่างๆมาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน และการวิจัย เปน็ การสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ บรรยากาศดา้ นวชิ าการทเี่ ปน็ ระดบั นานาชาตมิ ากขน้ึ 2) แผนอตั รากำ� ลงั เพอ่ื ขบั เคลอ่ื น พนั ธกจิ คณะฯ มแี ผนดา้ นบคุ ลากรทส่ี ำ� คญั ทสี่ นบั สนนุ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธแ์ ละแผนปฏบิ ตั กิ ารทง้ั ระยะสน้ั และระยะยาวของคณะฯ โดยมุ่งเน้นแผนการบรรลุตามโครงการริเรม่ิ ส�ำคัญซ่ึงสอดคล้องในแต่ละพันธกิจทั้ง 3 ด้านและวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ โดยค�ำนึงท้ังด้านจ�ำนวน (capacity) และความสามารถ (capability) คณะฯ ยังได้มีการวิเคราะห์ข้อมูลด้านบุคลากร และการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้ึนเช่นการเกษียณอายุ การท่ี อาจารย์สายวิชาการต้องไปท�ำงานด้านบริหาร โดยน�ำปัจจัยดังกล่าวมาค�ำนวณอัตราความขาดแคลน ของอาจารย์ในอนาคต รว่ มกับภาระงานในปัจจบุ นั ระยะท่ี 4 การวดั ผลและทบทวน คณะฯมกี ารกำ� หนดตัวชีว้ ัดผลการดำ� เนนิ การทส่ี ำ� คญั เพ่ือใช้ ในการตดิ ตามผลสำ� เรจ็ และประสทิ ธผิ ลของแผนปฏบิ ตั กิ าร โดยใชก้ ารวเิ คราะหแ์ ผนยทุ ธศาสตร์ ในกระบวนการ SPP และเช่ือมโยงกับเป้าประสงค์ และมีกระบวนการพิจารณาอย่างเป็นระบบผ่านกระบวนการคัดเลือก ตัววัดผลการด�ำเนินการ ตัวชี้วัดแผนปฏิบัติการท่ีส�ำคัญ แบ่งออกเป็น ตัวช้ีวัดผลการด�ำเนินการตามแผน ปฏบิ ัติการท่ีสำ� คญั Strategic KPIs จำ� นวน 20 ตวั ชีว้ ัด และ ตัวชวี้ ดั ตามพันธกิจอื่นๆ เพอ่ื ให้เกดิ การวดั ผล โดยรวมมคี วามสอดคลอ้ งกนั ทง้ั สถาบนั คณะฯไดม้ กี ารถา่ ยทอดตวั ชว้ี ดั ตามลำ� ดบั จาก คณบดี ผา่ นรองคณบดี และหวั หนา้ ภาควชิ า หัวหนา้ งาน ผา่ นการถ่ายทอดแผนกลยทุ ธ์ การประชมุ ของรองคณบดีแต่ละฝา่ ยกับสาย งานท่ีเก่ียวข้อง และการท�ำข้อตกลงการปฏิบัติราชการของหัวหน้าภาควิชาต่างๆ จากการปฏิบัติท่ีผ่านมา พบว่าการติดตามตัวชี้วัดต่างๆอาศัยการลงข้อมูลเฉพาะในหน่วยงานของแต่ละฝ่ายท�ำให้ไม่สามารถติดตาม ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งครบถว้ น ฝา่ ยวางแผนและพฒั นาคณุ ภาพและฝา่ ยสารสนเทศ จงึ ไดจ้ ดั ทำ� ระบบ MD KKU data bank เพื่อตดิ ตามผลการดำ� เนนิ การและตวั ชีว้ ดั ตา่ งๆ และเช่ือมโยงขอ้ มลู ของฝ่ายตา่ งๆกบั ทางมหาวิทยาลยั เพ่ือใหท้ ้งั คณะฯมีระบบวัดและติดตามผลไปในทศิ ทางเดยี วกนั คณะฯ ได้ก�ำหนดค่าคาดการณ์ผลการด�ำเนนิ การของตัวชี้วัดท่ีส�ำคัญ ตามกรอบเวลาท้ังระยะส้ัน และระยะยาว ระหว่างการจัดท�ำแผนกลยุทธ์ข้ันตอนที่ 5 โดยใช้ข้อมูลต่อไปน้ีประกอบการคาดการณ์ ได้แก่ 1) ผลการด�ำเนินการที่ผ่านมา 2) ความท้าทายและความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ 3) โอกาสเชิงกลยุทธ์ 4) ปจั จยั ภายนอกทสี่ ง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงความสามารถในการแขง่ ขนั และ 5) เปา้ หมายการจดั อยใู่ น1- 300 อนั ดบั แรกของ QS World University Rankings by Subject : Medicine ในปี พ.ศ. 2563 คา่ คาดการณ์ ผลการด�ำเนินการของคณะฯ รวมทง้ั ของคแู่ ขง่ หรือคูเ่ ทยี บท่สี �ำคญั จะถูกก�ำหนดขึ้นโดยผู้บรหิ ารท่ีรับผดิ ชอบ 22

New situation change แผนยทุ ธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ในแตล่ ะแผนปฏบิ ตั งิ าน ในกระบวนการทบทวนผลการดำ� เนนิ การทสี่ ำ� คญั ของคณะฯ ผบู้ รหิ ารทรี่ บั ผดิ ชอบใน การดำ� เนนิ การและตดิ ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารตา่ ง ๆ มหี นา้ ทใ่ี นการนำ� เสนอผลการดำ� เนนิ การ พรอ้ มกบั เทยี บเคยี ง ผลการดำ� เนินการของคแู่ ขง่ หรอื คเู่ ทยี บทส่ี ำ� คญั เสมอ หากพบวา่ ผลการดำ� เนนิ การมคี วามแตกตา่ งระหวา่ งผล การด�ำเนนิ การเปรียบเทียบกับที่คาดการณ์ไว้ รวมถึงการเปรียบเทียบกับคู่แข่งหรือคู่เทียบที่ส�ำคัญ ผู้บริหาร แต่ละฝา่ ยจะมีการจัดทำ� แผนเพอื่ ปรับปรุงโดยกระบวนการ PDCA, Root cause analysis, Gap analysis และน�ำแผนปฏิบัตกิ ารทปี่ รับปรงุ แล้วนัน้ ไปดำ� เนินการ และตดิ ตามผลผา่ นกระบวนการทบทวนผลการปฏบิ ตั ิ การในรอบต่อไป คณะฯมีกระบวนการปรับแผนปฏิบัติการในกรณที ่ีมีสถานการณ์บังคับให้มีการปรับเปลี่ยน แผนปฏบิ ตั กิ าร โดย 1) การเปลย่ี นแปลงจากสถานการณป์ กตทิ ว่ั ไป กำ� หนดใหเ้ ปน็ อำ� นาจหนา้ ทใ่ี นการตดิ ตาม ด�ำเนนิ การตามแผนและปรับแผนปฏิบัติการในอ�ำนาจความรับผิดชอบของรองคณบดี/หัวหน้าภาค/หัวหน้า สว่ นงานทเ่ี ก่ียวข้อง โดยจะตอ้ งมกี ารรายงานการปรบั แผนมายงั ฝา่ ยวางแผนฯ 2) การเปลี่ยนแปลงแผนที่เปน็ กรณีเร่งด่วนฉุกเฉนิ ท่ีเกี่ยวข้องกับนโยบายจะมีการนัดประชุมทีมบริหารเป็นวาระพิเศษ โดยมีการประชุม เพ่ือวิเคราะห์สถานการณ์ ผลกระทบและแนวทางการปรับเปล่ียนแผนปฏิบัติการเบื้องต้น และมอบหมายให้ ผบู้ รหิ ารทร่ี บั ผดิ ชอบกำ� หนดแผนปฏบิ ตั กิ ารใหมแ่ ละนำ� เสนอตอ่ ทป่ี ระชมุ ทมี บรหิ าร ทงั้ นห้ี ากมกี ารปรบั เปลยี่ น แผนในข้อ 2 จะมีการประชุมช้ีแจงความเข้าใจไปยังหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มีการปฏิบัติท่ีถูกต้อง สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกนั แผนภาพ 4 กระบวนการปรับแผนปฏิบตั ิการ Understand the situation and incident Establisshtroabtejegcytive and Develop plan & Reallocate resources Communicate and deploy Evaluation 23

แผนยุทธศาสตรก์ ารบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่วนแผนยุทธศาสตร์เพ่ือการบรรลวุ สิ ัยทศั น์ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ความเปน็ โรงเรียนแพทย์ระดับนานาชาติ (Go International) วัตถุประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ : World class education (WFME) พฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนใหอ้ ยู่ในระดบั ทเ่ี ป็นเลศิ ตามมาตรฐานสากล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ความเปน็ องคก์ ารแหง่ นวตั กรรม (Go Innovation) วตั ถปุ ระสงค์เชิงกลยทุ ธ์ : High quality research สร้างงานวิจยั ที่มีคณุ ภาพสงู และนวตั กรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 คุณภาพการให้บริการระดับเปน็ เลิศ (Go Premium) วัตถปุ ระสงค์เชิงกลยุทธ์ : International standard and hospital outcome พฒั นาคุณภาพบริการด้านสุขภาพให้อย่ใู นระดับท่ีเป็นเลศิ ตามมาตรฐานสากล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 คุณภาพการบรหิ ารองคก์ ารระดบั เปน็ เลศิ (Go Professional) วัตถุประสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ : Responsible to society, best place to work , modern &efficient เป็นองค์กรท่ีมีความรับผิดชอบต่อสังคม และเป็นองค์กรที่บริหารงานอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ประเด็นยุทธศาสตร์ สว่ นแผนยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื รองรบั งานประจ�ำ ตามพันธกจิ ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การบริหารจัดการทด่ี ี วัตถุประสงค์เชิงกลยทุ ธ์ : สรา้ งระบบบรหิ ารจดั การทดี่ ี (Administration excellence) ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ คุณภาพชีวิตและความสุขในการปฏิบัติงานของบุคลากร (Happy workplace) ควบคู่กับการมีธรรมาภิบาล (Good governance) และมาตรฐานการท�ำงานท่ีมีผลสมั ฤทธสิ์ งู (High performance organization) ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การผลติ บัณฑิตท่ดี ี วตั ถปุ ระสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ : มุ่งผลิตบัณฑิตและบุคลากรทางการแพทย์และแพทย์ผู้เช่ียวชาญท่ีมี คุณภาพไดม้ าตรฐานสากล มคี วามรบั ผดิ ชอบ คุณธรรม จริยธรรม (Morality) มีความสนใจใฝร่ ูแ้ ละสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต (Lifelong learning) และมีทักษะที่จ�ำเป็นส�ำหรับบุคลากรทางการแพทย์ใน ศตวรรษท่ี 21 (Professional graduate) 24

แผนยุทธศาสตร์การบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ความเป็นเลิศดา้ นการวิจยั วัตถปุ ระสงค์เชิงกลยทุ ธ์ : ผลิตผลงานวิจัยและนวัตกรรมท่ีมีคุณภาพ (Quality research & innovation) เพอ่ื นำ� ไปใชแ้ ก้ไขปญั หาสขุ ภาพของประชาชนในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื อนภุ มู ภิ าคลมุ่ นำ�้ โขง และนานาชาติ รวมทงั้ การน�ำไปใช้ประโยชน์เชงิ พาณิชย์ (Commercialization) ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การบริการรกั ษาพยาบาลท่ดี ี วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ : พฒั นาคณุ ภาพการบรกิ ารรกั ษาพยาบาลของโรงพยาบาลศรนี ครนิ ทรแ์ ละ ศูนย์หวั ใจสิรกิ ติ ฯิ์ ใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากล (Joint Commission International; JCI) มรี ะบบเครอื ข่ายการให้บริการที่ครอบคลุมและสอดคล้องกับระบบสุขภาพของประเทศ (Holistic service & network) สามารถรองรับการผลิตบัณฑิตทั้งในระดับปริญญาตรีและการฝึกอบรมแพทย์ผู้เช่ียวชาญเฉพาะทาง การตั้ง ศนู ยก์ ลางการบรกิ ารทางการแพทยข์ องภมู ภิ าค (Academic medical hub) เพอ่ื รองรบั การรกั ษาโรคทตี่ อ้ งการ ความเช่ียวชาญและเทคโนโลยีขั้นสูง (Super tertiary care) ส�ำหรับประชาชนในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ กล่มุ ประเทศอนุภมู ิภาคล่มุ น�้ำโขง และนานาชาติ ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 การสร้างรายได้เพือ่ ใหเ้ ป็นสนิ ทรพั ย์เพ่อื การพฒั นาและพึ่งพาตนเอง วตั ถุประสงค์เชิงกลยทุ ธ์ : มีระบบการสร้างรายได้เพ่ือให้เป็นสินทรัพย์ในการพัฒนา มีการบริหาร จดั การทรพั ยส์ นิ (Asset management system )และทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (Intellectual property management) ท�ำให้มีความมั่นคงทางการเงินและสามารถพึ่งพาตนเองได้ (Organization sustainability) ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 การอนุรักษแ์ ละการทำ� นบุ �ำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรมท่ดี ี วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์: มีการอนุรักษ์และส่งเสริมการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม และประเพณี อันดีงามของชาติ ตลอดจนการบูรณาการเข้ากับการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการบริการรกั ษาพยาบาล ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 7 ระบบการพัฒนาคณุ ภาพท่ีดี วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยุทธ์ : มีระบบการพัฒนาคุณภาพเพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรที่มีระบบการบริหาร จดั การทเี่ ปน็ เลศิ ตามเกณฑค์ ณุ ภาพการศกึ ษาเพอ่ื การดำ� เนนิ การทเ่ี ปน็ เลศิ (EdPEx) และตามแนวทางรางวลั คุณภาพแห่งชาติ (Thailand quality award-TQA) เพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแข่งขัน (Organization competitiveness) เกิดผลลพั ธท์ ่ดี ี และมีมาตรฐานในระดับสากล (International ranking & outcome) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 8 ดา้ นชุมชนสมั พนั ธท์ ่ีดี วตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ:์ เพ่ือสร้างความสัมพันธ์ การยอมรับ และการช่วยเหลือเก้ือกูลกับ หน่วยงานภายนอก (Corporate social responsibility & community trust) 25

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น แผนผงั ยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ าร คณะแพทยศาสตร์ พ.ศ.2561–2564 เพ่ือให้การบริหารจัดการองค์การมีความชัดเจนและสามารถติดตามผลได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงได้ แบง่ แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารคณะแพทยศาสตรอ์ อกเปน็ 2 กลมุ่ คอื แผนยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ การบรรลวุ สิ ยั ทศั น์ (2P2I) และแผนยุทธศาสตรเ์ พ่ือรองรบั งานประจ�ำตามพันธกจิ จ�ำนวน 8 ยทุ ธศาสตร์ โดยมีกลุ่มภารกิจหลกั คอื การ ผลติ บณั ฑิต การวิจัย การบริการรักษาพยาบาล โดยแบง่ เปน็ 2 กล่มุ ของกระบวนการท�ำงาน ได้แก่ 1) Core Process ซง่ึ ประกอบดว้ ย 3 กระบวนการตามพนั ธกจิ ซงึ่ ตอ้ งใชส้ มรรถนะหลกั ในการเปน็ แนวทางดำ� เนิน งาน โดยคณะฯ มกี ารทบทวน ปรบั ปรงุ แก้ไข สมรรถนะหลกั ในช่วงการทำ� SPP ทกุ ปี และจากการทบทวน และปรับปรุงในปีลา่ สดุ คณะฯ ไดป้ รบั สมรรถนะหลกั เปน็ 3 ขอ้ 2) Key Support Process ประกอบด้วย 7 กระบวนการซ่ึงได้มกี ารทบทวนและปรับในขั้นตอนท่ี 6 ของ SPP โดย Key Support Process ปปี ัจจุบนั มี ความสอดคลอ้ งกบั การแบง่ ฝา่ ยการบริหารตามรองคณบดี ตวั ชีว้ ดั ความส�ำเร็จของวสิ ัยทัศน์ ตวั ชี้วดั ความสำ� เร็จตามวิสยั ทัศน์ ท่ีแสดงขดี ความสามารถของคณะเมอ่ื เปรยี บเทียบกับองคก์ ารอืน่ ท่ี มีพันธกจิ ทเี่ ทยี บเคียงกัน คอื โรงเรยี นแพทยท์ ่วั โลกผ่านการวดั โดย QS World University Rankings by Subject : Medicine คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ซ่งึ มงุ่ มน่ั สกู่ ารเปน็ โรงเรียนแพทยช์ ั้นนำ� ใน 300 อนั ดบั แรกของโลก จากอนั ดบั 401-450 ในปจั จบุ นั เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั โรงเรยี นแพทยท์ วั่ โลกกวา่ 3,000 แหง่ และปจั จบุ ัน คณะฯ มพี นั ธกจิ หลกั 3 ด้าน ไดแ้ ก่ 1) การจดั การศกึ ษาและผลิตบณั ฑติ ทางการแพทย์ ซึง่ เป็นหลกั สตู รท่ีมีความโดดเด่น ดา้ นการผลติ แพทยท์ ี่เป่ียมด้วยทักษะและสมรรถนะต่างๆ 2) การบรกิ ารรักษา พยาบาลผปู้ ว่ ย ซงึ่ มคี วามโดดเดน่ ในการใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพระดบั ตตยิ ภมู ขิ นั้ สงู ทมี่ คี ณุ ภาพสงู ทม่ี ศี นู ยค์ วาม เปน็ เลศิ ในการรกั ษาโรคจำ� เพาะหลายดา้ น 3) การวจิ ยั และนวตั กรรม ซง่ึ มคี วามโดดเดน่ ในดา้ นการพฒั นางาน วจิ ัยจากโจทย์ปญั หาสุขภาพในพ้นื ที่ ท่ีสอดรบั กบั ความสนใจระดับโลก 26

แผนยุทธศาสตรก์ ารบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ แผนภาพ 5 แผนผงั ยุทธศาสตรก์ ารบรหิ าร คณะแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2561 – 2564 และตวั ชีว้ ัดความส�ำเรจ็ Vision : World class medical school that brings value to thai society and all mankind Our values Our enablers Mission Education Healthcare Research and Innovation Society People Process Goal World class education International std. and High quality research Highly engage Best place to work Modern & Efficient (WFME) hospital outcome society (Top employer) (Reasonable return) Challenge New platform Ed. Private very strong 1. National research policy (SC5) Green Readiness for the Readiness for QS World University Rankings by Subject : Medicine Disruptive tech. Budget constraint 2. New platform research grant Megatrend next era HPO the digital era Advantage New expectation working env. (SC3, SC4) Opportunity (SC4) (SC3) Social (SC2) (SC2) Specialist location 3. Decline of active researcher & Expectation High retention Highly capable Noble staffs Reputation (SA3) faculty & researcher (SA2) Increase of young researcher (SC5) New Gen. staffs (SA3) AEC, Mega city (SC2) Community (SO4) (SA3) Learning on Demand (SO2, SO5, SO4) 4. Ability to commercial (SC4) Affordable tech. 1. Established research in some trust (SO3) specific area and widely of (SA2) (SO5) networking (SA1) 2. Strategic location with endemic area of certain diseases (SA2) 1. Cloud funding (SO1) University policy 2. Holistic research (SO3, SO4) (SO5) Strategic Go International Go Premium Go Innovation Go Professional Objective Initiatives 1. Dual PhD. degree 1. new area medical 1. Fostering a startup and 1. Green faculty 1. Productivity max 1. TQA/EdPEx 2. International degree service innovation ecosystem 2. Health 2. High engagement 2. Digital customer 3. New medical (Medical hub) 2. Bio-resources management promotion organization experience curriculum 2. COE 3. Data mining and big data 3. Digital 4. WFME for postgrad 3. JCI analytics transformation training 5. Inbound smile initiative 6. Outbound max initiative 7. MOU with QS top 500 231... RIOneubstobeuoanrucdnhdsMstutOudUdeenwnttith 1. Revenue / Market 1. Research income 1. Energy 1. Engagement 1. TQA/EdPEx share 2. Number of citation : faculty reduction score 2. Customer 3. Paper : faculty 2. CSR project 2. Productivity NNNQpdereSuuogwmmgtroerbbmapeeemerrp5d0rooioc0ffgadinlruatcaemulrrndraiectguiorleunemal 2. Margin from satisfaction (IT) KPIs. 4. healthcare service 3. Cycle time Owner 5. 6. 3. Patients satisfaction 7. Nstuamndbaerrdof WFME วิชาการ/วเิ ทศฯ/ รพ.+COE+QSHC วจิ ัยและนวัตกรรม กายภาพฯ / คลงั ฯ / HRD Plan / IT พัฒนานักศกึ ษา กจิ การพเิ ศษฯ Core Competencies Core value 27

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ แผนภาพ 6 แผนผงั ยุทธศาสตร์ วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ ของคณะแพทยศาสตร์ MD KKU Strategic House World class medical school that brings value to thai society and all mankind 300th QS World University Rankings by Subject : Medicine Values of the Organization to Thai Society & All Mankind Weodrulcdactiloanss sIntaothenuordtnscaaportdimitoaaenlnadl Hirgehseqauraclhity Education Healthcare iRnneosaevnaadtricohn Enablers ( HR, IT, Social ) Core values and Core competencies 28

แผนยทุ ธศาสตร์การบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น สว่ นที่ 1 แผนยทุ ธศาสตร์เพอื่ การบรรลวุ สิ ัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 1 ความเป็นโรงเรยี นแพทยร์ ะดบั นานาชาติ (Go International) วัตถุประสงค์เชิงกลยทุ ธ์ : World class education (WFME) พฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนให้อยูใ่ นระดบั ทเ่ี ป็นเลศิ ตามมาตรฐานสากล ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ความเปน็ องค์การแห่งนวัตกรรม (Go Innovation) วัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยุทธ์ : High quality research สรา้ งงานวิจยั ท่ีมคี ณุ ภาพสงู และนวตั กรรมส่เู ชิงพาณชิ ย์ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 3 คณุ ภาพการใหบ้ ริการระดับเป็นเลศิ (Go Premium) วตั ถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ : International standard and hospital outcome พฒั นาคณุ ภาพบริการดา้ นสขุ ภาพใหอ้ ยูใ่ นระดับทีเ่ ป็นเลิศ ตามมาตรฐานสากล ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 4 คุณภาพการบรหิ ารองค์การระดบั เป็นเลศิ (Go Professional) วตั ถปุ ระสงค์เชิงกลยุทธ์ : Responsible to society, best place to work , modern & efficient เป็นองค์กรท่ีมีความรับผิดชอบต่อสังคม และเป็นองค์กรที่บริหารงานอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 29

ตาราง 8 ตารางเชื่อมโยงวิสยั ทศั น์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ เปา้ ประสงค์ และโครงการสำ� คญั Main responsible 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 Strategic เป้าหมายในปที ผี่ า่ นมา เปา้ หมาย Objectives & (ผลการดำ� เนินงาน) Balance Strategic Check แผนยทุ ธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564VisionKPIsInitiatives Strategies คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 30 World class medical school that brings value to Thai society and all mankind 1. International 1. Revenue from health- HA 3,480 3,650 3,832 4,000 4,200 4,400 4,600 4,850 1. New area medical standard and care service (หนว่ ย: ลา้ น (3,427) (3,452) (3,946) (4,427) service Hospital บาท) (Medical hub) outcome (JCI COE 300 490 530 570 820 900 1,000 1,200 2. JCI (466) (476) (594) (684) 950 certified) (SC1, 948 928 1,000 1,050 1,100 3. COE SC5, SA3, SO3, QH 842 797 Go Premium CC1) 2.Margin from healthcare HA 540 565 590 612 640 670 700 735 service (หน่วย: ลา้ นบาท) (753) (665) (839) (820) QH 106 107 112 117 120 125 130 135 (109) (41.1) (405) (317) 3. Patients satisfaction HA New New New New 95 95 95 95 COE New New New New 93 94 95 96 QH New New New New 95 95 95 95 2. World class 4. Inbound student IA 22 (58) 60 (72) 62 (97) 64 105 110 115 120 4. Inbound smile initiative education (หนว่ ย: คน) (100) (new departments, new (WFME) (SC4 partners) Go International SA2, SO2, SO4, SO5, CC2) 5. Outbound student IA 24 (42) 44 (46) 46 (57) 48 (60) 63 66 69 72 5. Outbound max initiative (หนว่ ย: คน) (new institutional partners: ASEAN Plus3,6) 6. Research MOU w QS IA 10 (11) 12 (13) 14 (16) 16 (19) 18 20 22 24 6. สร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมอื top 500 กับมหาวทิ ยาลัยทีอ่ ยูใ่ น 500 อนั ดับแรกของโลก

เป้าหมายในปีที่ผา่ นมา (ผลการด�ำเนนิ งาน) Vision Strategic Main responsible เปา้ หมาย Strategies Objectives & 2557 KPIs 2558 Initiatives Balance 2559 Strategic Check 2560 2561 2562 2563 2564 7. Number of dual degree AA New New New New 0 1 1 2 7. Dual degree program 8. Number of international AA New New New New 12 13 14 15 8. International degree degree program 9. New medical AA/ New New New New 0 1 1 1 9. New medical curriculum curriculum SDA 10. Number of WFME AA New New New New 0 1 2 3 10. WFME standard in standard program under grade and post grad training program แผนยุทธศาสตรก์ ารบริหาร พ.ศ. 2561-2564 3. High Quality 11. Research income คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่Research (SC2, (Outbound grant & SC3, SC4, SC5 Revenue from industrial 31 SA1, SA2 SO1, and commerce) (หน่วย: SO3, SO4, CC3) บาท/คน) RA 273,801 347,130 541,451 685,251 600,000 700,000 800,000 900,000 11. Fostering a startup and innovation ecosystem 12. Bio-resources management Go Innovation 12. Citation: faculty RA 11.30 9.70 11.90 14.30 12.0 13.0 14.0 15.0 13. Bio-resources (หนว่ ย: สัดส่วน) Management 14. Data mining and big data analytics 13. Paper : faculty RA 1.04 1.07 1.11 1.01 1.1 1.1 1.1 1.1 15. Bio-resources (หนว่ ย: สดั สว่ น) management 16. Data mining and big data analytics

เปา้ หมายในปที ผ่ี า่ นมา (ผลการดำ� เนินงาน) Vision Strategic Main responsible เป้าหมาย Strategies Objectives & 2557 KPIs 2558 Initiatives Balance 2559 Strategic Check 2560 2561 2562 2563 2564 แผนยทุ ธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 32 4. Responsible 14. Energy reduction PA -2.5 3.59 2.49 -8.9 -10 -8 -6 -5 17. Green faculty to Society (SC5, SA2, SO5, CC1, 15. จำ� นวน CSR project OS New New New New 1 2 3 4 18. Health Promotion CC2, CC3) 5. Best place to 16. Engagement score HRD/ 85 78 79 79 82 84 86 88 19. High Engagement work (SC2, SA3, TP Organization Go Professional SO4) 17. Productivity HRD/ 0.78 0.73 0.75 0.76 0.8 0.85 0.9 0.95 20. Productivity max (หนว่ ย: จำ� นวนรายได้ TP ต่อบคุ ลากร;ลา้ นบาท) 6. Modern& 18. TQA/EdPEx PQ 200 200 250 300 300 300 300 350 21. การขบั เคลอ่ื นองค์กรดว้ ย Efficient (SC3, (หนว่ ย: คะแนน) (<200) (>200) (>200) (>200) เกณฑร์ างวลั คณุ ภาพด้าน SA3 SO4, SO5) การศึกษา 19. Customer satisfaction IT New New New New 95 98 98 99 22. Digital customer (หน่วย:ร้อยละ) experience 20. Cycle time IT New New New New 20 30 40 50 23. Digital transformation หมายเหตุ : BSC: Balance Strategic Check; HRD/TP: Treasury Procurement & Human resource development Affaair; ฝ่ายการคลงั ทรัพย์สิน พสั ดุ และ ทรพั ยากรบคุ คล, HA: Hospital Affair; ฝา่ ยโรงพยาบาล, PQ: Planning &Quality Improvement Affaair; ฝา่ ยวางแผนและพฒั นาคณุ ภาพ, AA: Academic Affair; ฝ่ายวชิ าการ, RA: Research Affair; ฝา่ ยวจิ ยั , OS: Organization Communication & Special Affair; ฝ่ายกจิ การพิเศษและการสือ่ สารองค์กร, COE: Center of Excellence Affaair; ฝ่ายศนู ย์ความเปน็ เลิศและศูนย์กลางบรกิ ารสุขภาพ, SDA: Student Development Affair; ฝา่ ยพัฒนานกั ศึกษา, IA: International Relation &Cooperation Strategy Affaair; ฝา่ ยวเิ ทศสัมพนั ธ์และยุทธศาสตร์ระหวา่ งประเทศ, QH: Queen Sirikit Heart Center Director Affaair; ศนู ย์หวั ใจสริ กิ ติ ฯ์ิ , PA: Physical Facility & Environment Affaair; ฝา่ ยกายภาพและสภาพแวดลอ้ ม, IT : Information Technology Affaair; ฝ่ายสารสนเทศ *พจนานกุ รมตวั ชว้ี ัด ขยายความตัวชี้วดั วธิ ีการคำ� นวณ และคา่ เป้าหมาย แสดงในภาคผนวก, **ตัวเลขในวงเลบ็ คอื ผลงานปี 2557 , 2558 , 2559 และ 2560

แผนยุทธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ส่วนที่ 2 แผนยทุ ธศาสตรเ์ พ่อื รองรับงานประจ�ำ ตามพนั ธกิจ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การบรหิ ารจัดการทดี่ ี ผรู้ ับผดิ ชอบหลัก คณบดี ผู้รบั ผิดชอบร่วม รองคณบดฝี า่ ยการคลัง พสั ดุ และทรัพยากรบคุ คล รองคณบดฝี า่ ยกายภาพและสภาพแวดล้อม รองคณบดีฝ่ายกจิ การพเิ ศษและการสื่อสารองค์กร รองคณบดฝี า่ ยสารสนเทศ วตั ถปุ ระสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ : สร้างระบบบรหิ ารจดั การทีด่ ี (Administration excellence) ท่ีทำ� ใหเ้ กดิ คณุ ภาพ ชวี ติ และความสขุ ในการปฏิบตั งิ านของบคุ ลากร (Happy work place) ควบค่กู ับ การมี ธรรมาภบิ าล (Good governance) และมาตรฐานการทำ� งานทมี่ ผี ลสมั ฤทธิ์ สงู (High performance organization) กลยทุ ธ์ ตวั ชี้วัด ค่าเป้าหมาย โครงการท่ีจะดำ� เนินการ ผ้รู บั ผดิ ชอบ 2561 2562 2563 2564 กลยุทธ์ที่ 1 มโี ครงสร้างพนื้ ฐานและอาคารสถานท่ที ดี่ ี มาตรการท่ี 1 มกี ารบ�ำรุงรกั ษาอาคารสถานที่ที่ดี 1. อบุ ัตกิ ารณข์ องการเกดิ ปัญหา 0 0 0 0 1. วางระบบการบริหารจดั การ รองคณบดี การใชง้ านของอาคาร อาคารสถานทสี่ ง่ิ แวดลอ้ ม ฝา่ ยกายภาพและ สถานท่ลี ดลง และการรกั ษาความปลอดภยั สภาพแวดลอ้ ม (หนว่ ย: จ�ำนวนอบุ ตั ิการณ)์ (Facility management system, FMS) ให้ไดต้ ามมาตรฐาน JCI มาตรการที่ 2 ปรับปรงุ ภมู ทิ ศั น์ สงิ่ แวดลอ้ ม และพน้ื ทสี่ เี ขียว 2. จำ� นวนพน้ื ทีส่ ีเขยี วทเ่ี พ่มิ ขึ้น 5 10 15 20 1. ส�ำรวจและจัดทำ� แผนแมบ่ ทพ้นื ท่ี รองคณบดี (หนว่ ย: ร้อยละ) สีเขยี วของคณะฯ ฝ่ายกายภาพและ 2. ปรับปรุงภมู ทิ ศั น์และพัฒนาสวน สภาพแวดลอ้ ม หย่อมเพ่อื ใหเ้ ป็นทพ่ี กั ผ่อนหยอ่ นใจ ของบุคลากร ผูป้ ่วยและญาติ 33

แผนยุทธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ตัวชีว้ ดั คา่ เปา้ หมาย โครงการท่จี ะด�ำเนนิ การ ผรู้ ับผดิ ชอบ 2561 2562 2563 2564 มาตรการท่ี 3 มรี ะบบการอนุรกั ษพ์ ลังงานทด่ี ี 3. ผ่านการรบั รอง ISO 50001 เตรยี ม ผ่าน ผา่ น ผา่ น 1. มีระบบการอนุรกั ษ์พลังงาน รองคณบดี อย่างย่งั ยนื ฝ่ายกายภาพและ สภาพแวดล้อม 4. ค่าใช้จา่ ยด้านพลังงาน 10% 10% 10% 10% 1. ปรบั เปลยี่ นอุปกรณ์ไฟฟ้า รองคณบดี (หนว่ ย: ร้อยละ) ใหเ้ ป็นรุน่ ท่ีประหยัดพลังงาน ฝา่ ยกายภาพและ สภาพแวดลอ้ ม 2. บ�ำรงุ รักษาเคร่ืองปรบั อากาศ ทั้งชนิดแยกส่วนและระบบรวม อย่างสม่ำ� เสมอ มาตรการที่ 4 จัดระเบียบการจราจรและท่ีจอดรถ 5. มสี ถานท่จี อดรถท่เี ปน็ 4,200 4,200 4,200 4,200 1.ปรบั ปรุงพื้นท่ีจอดรถยนตแ์ ละ รองคณบดี ระเบียบเรยี บรอ้ ย จกั รยานยนต์ท้งั ภายในและ ฝา่ ยกายภาพและ (หน่วย: คัน) ภายนอกอาคาร สภาพแวดล้อม 2.จดั รถไฟฟ้ารบั -ส่งบุคลากรผปู้ ่วย และญาติ มาตรการท่ี 5 จัดระบบการรักษาความปลอดภยั ท่มี ีประสิทธิภาพ 6. อุบตั ิการณโ์ จรกรรมทรพั ย์สนิ 0 0 0 0 1. จัดทำ� แผนแมบ่ ทการรกั ษาความ รองคณบดี ในคณะฯ ลดลง (หนว่ ย : เรือ่ ง) ปลอดภยั ในคณะฯ ฝา่ ยกายภาพและ 2. ตดิ ตัง้ ประตนู ิรภัยทีค่ วบคมุ ดว้ ย สภาพแวดล้อม ระบบ Key card ในพืน้ ท่ีส�ำคญั 3. ตดิ ต้ังระบบกล้องวงจรปดิ ให้ ครอบคลมุ พื้นท่ี มีระบบเตอื นภยั และการเฝา้ ระวงั ตลอด 24 ชัว่ โมง มาตรการท่ี 6 การก�ำจดั ขยะและการบ�ำบดั ของเสียทด่ี ี 7. การผ่านการรับรอง ISO ผ่าน ผ่าน ผา่ น ผา่ น 1. การจัดการส่ิงแวดล้อม ขยะและ รองคณบดี 14001 การบ�ำบดั น�้ำเสียที่มปี ระสทิ ธิภาพ ฝา่ ยกายภาพและ และได้มาตรฐานสากล สภาพแวดลอ้ ม 2.มรี ะบบจดั การขยะติดเชอ้ื ท่ไี ด้ มาตรฐานสากล กลยทุ ธ์ท่ี 2 ระบบการบรหิ ารจัดการทรัพยากรบุคคลทด่ี ี มาตรการที่ 1 ระบบคา่ ตอบแทน สวัสดกิ าร และสทิ ธปิ ระโยชนท์ ี่เหมาะสม 8. ความพงึ พอใจของบคุ ลากร 85% 90% 90% 90% 1. มรี ะบบการจา่ ยค่าตอบแทนท้ัง รองคณบดฝี า่ ยการ (หน่วย: ร้อยละ) ในสว่ นของคา่ ตอบแทนพนื้ ฐาน คลังพัสดุและ (Basic salary) และค่าตอบแทน ทรัพยากรบคุ คล ตามภาระงาน (Performance pay) ทีเ่ หมาะสม 34

แผนยุทธศาสตรก์ ารบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ตวั ชี้วดั ค่าเป้าหมาย โครงการท่จี ะดำ� เนินการ ผูร้ ับผดิ ชอบ 2561 2562 2563 2564 2.จดั ระบบสวสั ดิการโดยเฉพาะกลุ่ม พนักงานมหาวิทยาลยั ให้ใกล้เคยี ง กบั ระบบข้าราชการเพือ่ จงู ใจให้คนดี คนเกง่ มาท�ำงานในคณะฯ 3. มีระบบดแู ลสทิ ธิประโยชนของ บคุ ลากร เช่น ท่ีพักการเขา้ ถึง กองทนุ สวสั ดิการตา่ งๆ 4.สง่ เสริมใหบ้ คุ ลากรมีรายได้เสริม ภายใต้หลักการเศรษฐกิจพอเพยี ง มาตรการท่ี 2 มแี ผนพฒั นาบคุ ลากรทด่ี ี 9. ผลลัพธต์ ามKPIของคณะฯ 20% 30% 40% 50% 1. การจดั ท�ำแผนแมบ่ ทกำ� ลงั คนที่ รองคณบดี สูงขึน้ สอดคลอ้ งกับทิศทางและเป้าหมาย ฝ่ายการคลัง พสั ดุ ** จากข้อตกลงปฏบิ ตั ริ าชการ การพฒั นาของคณะฯ และทรพั ยากรบคุ คล (ข้อตกลงปปี จั จุบันเทยี บกับปี 2. พัฒนาบคุ ลากรทุกระดับให้ตรง กอ่ น คดั เฉพาะตัวชวี้ ดั ที่เพม่ิ ขน้ึ ) ตามภารกจิ และสอดคลอ้ งกับ (หน่วย: ร้อยละ) ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาในแต่ละด้าน 3. พฒั นาผบู้ ริหารเพื่อให้เปน็ ผู้นำ� ใน การเปลีย่ นแปลง มาตรการที่ 3 การรกั ษาบคุ ลากรท่ีมีความรู้ความสามารถและการสร้างแรงจงู ใจให้คนดี คนเก่ง มาท�ำงานในคณะฯ 10. อัตราการลาออกของ <5% <4% <3% <3% 1. จัดทำ� โครงสรา้ งค่าตอบแทน รองคณบดี บุคลากรสาขาขาดแคลน สวัสดิการและสิทธิประโยชนท์ ่ี ฝ่ายการคลงั พัสดุ (หน่วย: ร้อยละ) เหมาะสม และทรพั ยากรบคุ คล 2. สรา้ งบรรยากาศการทำ� งานท่ี ท�ำใหร้ ู้สึกวา่ ตนเองมีคุณคา่ ต่อ องค์กร 3. มชี อ่ งทางเฉพาะส�ำหรบั การรบั อาจารยท์ มี่ คี ุณวุฒิดเี ดน่ หรอื เป็น สาขาทม่ี ีความจำ� เป็นตาม ยุทธศาสตร์ 4. สรา้ งระบบใหผ้ ้ทู รงคณุ วฒุ ิที่ เกษยี ณอายุทัง้ ชาวไทยและตา่ งชาติ และมีศกั ยภาพในด้านการเรียนการ สอน การวิจัย และการบรกิ าร พยาบาลมาทำ� งานในคณะฯ 35

แผนยุทธศาสตรก์ ารบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ตัวช้วี ดั ค่าเปา้ หมาย โครงการทจี่ ะดำ� เนินการ ผูร้ บั ผดิ ชอบ 2561 2562 2563 2564 มาตรการที่ 4 การสรา้ งความผาสุกในสถานท่ที ำ� งาน 11. อัตราการบาดเจ็บของ 9 8 7 6 1. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของที่ รองคณบดี บุคลากรทม่ี ีสาเหตจุ าก การทำ� งาน ทำ� งานใหม้ ีบรรยากาศของการ ฝา่ ยกายภาพและ (หนว่ ย: คน) ท�ำงานทด่ี ี สภาพแวดล้อม 2. ประเมนิ ความเส่ียงจากสง่ิ แวดลอ้ มในการทำ� งานและควบคุม ความเสี่ยงใหอ้ ยใู่ นระดบั ต่�ำ 3. จัดหาอปุ กรณ์ปอ้ งกันภยั สว่ น บคุ คลให้เพียงพอ 4. จัดทำ� ปา้ ยเตือนอันตรายไวก้ ับ อปุ กรณ์ท่มี คี วามเสยี่ งให้ครอบคลุม กลยุทธ์ที่ 3 การเงิน งบประมาณและระบบบญั ชที ี่ดี มาตรการที่ 1 การบริหารจัดการงบประมาณและระบบการคลงั ทีม่ ีประสิทธภิ าพ 12.มีระบบบญั ชใี หม่ มี มี มี มี 1. ปรับเปลีย่ นระบบบัญชจี ากเกณฑ์ รองคณบดี เงนิ สดเปน็ มาตรฐานรายงาน ฝา่ ยการคลัง พัสดุ ทางการเงนิ และทรพั ยากรบคุ คล 2. จัดท�ำบญั ชเี พือ่ การบริหารและ บญั ชตี น้ ทุน 3. นำ� ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ มาใช้ในการวางแผนงบประมาณ (Budget allocation module) กลยทุ ธ์ที่ 4 ระบบบรหิ ารจดั การองค์กรทด่ี ี มาตรการท่ี 1 สร้างระบบบรหิ ารจดั การทดี่ แี ละทนั สมัย 13. ผลติ ภาพ (Productivity) 0.8 0.85 0.9 0.95 1. การวิเคราะหแ์ ละสรา้ งระบบงาน รองคณบดี ของระบบงานสนบั สนุนท่สี งู ขนึ้ ที่ดขี ึ้นใหม่ (Business process ฝ่ายการคลัง พัสดุ (หน่วย: รอ้ ยละ) re-design) เพือ่ ให้ได้กระบวนงาน และทรพั ยากรบคุ คล (Work process) ทถ่ี กู ต้องรวดเร็ว ไม่ซ้�ำซอ้ น และสอดคล้องกับระบบ สารสนเทศเพอ่ื การบริหาร 2. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การคลงั สนิ ค้า (Inventory module) ให้มี ประสิทธภิ าพ 3.พฒั นาระบบการจัดการขนสง่ สนิ คา้ (logistic) ให้ครอบคลุม สนิ ค้าทุกประเภท 36

แผนยุทธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ตัวชว้ี ัด คา่ เปา้ หมาย โครงการท่ีจะดำ� เนนิ การ ผรู้ ับผดิ ชอบ 2561 2562 2563 2564 มาตรการที่ 2 มรี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การบริหารจัดการท่มี ีคณุ ภาพ 14.การเป็น Digital 1 2 4 5 1. พฒั นาระบบสารสนเทศเพ่ือการ รองคณบดี organization บรหิ ารจดั การต่อยอดจากระบบพ้นื ฝา่ ยสารสนเทศ (หนว่ ย: จ�ำนวนโครงการ) ฐานท่ไี ดต้ ิดตั้งไว้แล้ว 2. ฝึกอบรมบุคลากรใหม้ ที ักษะและ ความพรอ้ มทีจ่ ะรองรบั การใชง้ าน ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศใหม่ 3. วางระบบการดแู ลและบ�ำรุงรกั ษา ระบบสารสนเทศให้มีความเสถียรมี ประสิทธภิ าพ และมคี วามปลอดภยั 4. พัฒนา Application เพื่อเพ่มิ คณุ ภาพงานบรกิ ารรักษาพยาบาล การบริหารจัดการ และการจดั เกบ็ รายได้ มาตรการท่ี 3 มรี ะบบการสอื่ สารภายในคณะฯ อย่างมปี ระสิทธิภาพ 15. การรบั รขู้ า่ วสารของบคุ ลากร 75% 80% 85% 90% 1. พฒั นาระบบการสื่อสารใหม้ ี รองคณบดีฝ่าย (หน่วย: รอ้ ยละ) ประสิทธิภาพครอบคลุมทั้งศูนยร์ วม กจิ การพเิ ศษและ ขอ้ มูล กลุ่มเป้าหมาย และช่อง การสือ่ สารองคก์ ร ทางการสือ่ สารทเี่ หมาะกับเรอ่ื งและ ผู้รบั 2. จัดใหม้ กี ารสือ่ สารโดยตรง ระหว่างผู้บรหิ ารและบุคลากรอยา่ ง สม�ำ่ เสมอ 16. ภาพลกั ษณ์ของคณะฯตอ่ 75% 80% 85% 90% 1. จดั ให้มีการสอ่ื สารหลายชอ่ งทาง รองคณบดี บคุ คลภายนอก (หน่วย: รอ้ ยละ) ทงั้ การสื่อสารทางเดยี วและการ ฝ่ายกิจการพิเศษ ส่อื สาร 2 ทาง และการสื่อสาร 2. พัฒนาระบบการสอ่ื สารผ่านเครือ องค์กร ข่ายสงั คม (Social media) และ Internet 37

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การผลติ บัณฑติ ท่ีดี ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั รองคณบดฝี ่ายวิชาการ ผ้รู บั ผิดชอบร่วม รองคณบดฝี า่ ยพฒั นานักศึกษา วัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ : มุ่งผลิตบัณฑิตและบุคลากรทางการแพทย์และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่มีคุณภาพได้ มาตรฐานสากล) มีความรบั ผดิ ชอบ คุณธรรม จริยธรรม (Morality) มีความสนใจ ใฝร่ ูแ้ ละสามารถเรยี นรู้ไดด้ ้วยตนเองตลอดชวี ติ (lifelong learning) และมีทกั ษะ ทจี่ ำ� เปน็ สำ� หรบั บคุ ลากรทางการแพทยใ์ นศตวรรษท่ี 21 (Professional graduate) กลยุทธ์ ตัวชวี้ ดั ค่าเปา้ หมาย โครงการท่ีจะดำ� เนนิ การ ผรู้ บั ผดิ ชอบ 2561 2562 2563 2564 รองคณบดี กลยทุ ธ์ที่ 1 การจัดการการศกึ ษาหลกั สตู รแพทยศาสตรบัณฑติ และปรญิ ญาตรสี าขาอ่นื ๆ ที่ดี ฝา่ ยวชิ าการ มาตรการท่ี 1 การมีหลักสตู รทีด่ ี รองคณบดี ฝ่ายวชิ าการ 1. หลักสตู รแพทยศาสตร ผา่ น ผ่าน ผ่าน ผา่ น 1. การพฒั นาหลักสตู รแพทย บณั ฑติ ได้รับการรับรอง ศาสตรบัณฑติ ตามมาตรฐานของ รองคณบดี มาตรฐาน WFME World Federation for Medical ฝา่ ยวิชาการ Education (WFME) มาตรการท่ี 2 พัฒนาระบบการรับนักศกึ ษา 2. ความพงึ พอใจของผู้ใช้ 4.20 4.30 4.40 4.50 1. ประชาสมั พนั ธ์ใหน้ กั เรียนได้ บณั ฑติ ทราบขอ้ มูลของคณะฯเพอ่ื ให้ได้ (หน่วย: ระดับ) นกั เรยี นทม่ี ีความสามารถสงู มาสมคั รมากข้ึน 2. พฒั นาวธิ ีการคัดเลือกนกั ศกึ ษา เพ่ือให้ไดน้ ักศกึ ษาทีม่ ีความเหมาะ สมที่จะเปน็ แพทย์ มาตรการที่ 3 การจดั การศกึ ษาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ 3. ผลการประเมินคณุ ภาพ 93.00 94.00 95.00 96.00 1. มรี ะบบบรหิ ารจัดการหลักสตู ร หลักสตู รของคณะฯ ตามเกณฑม์ าตรฐานคุณภาพของ (ร้อยละของหลักสตู ร สำ� นกั งานคณะกรรมการ ผา่ นการกำ� กับมาตรฐาน) อดุ มศึกษา (หนว่ ย: ร้อยละ) 2. รว่ มมอื กบั โรงพยาบาลร่วมสอน เพอ่ื ให้การจดั การศกึ ษาในชน้ั คลินิกเป็นมาตรฐานเดียวกัน 3. จัดหาครุภณั ฑ์ เครือ่ งมือและ อปุ กรณใ์ นการจดั การเรยี น การสอนให้เพยี งพอและมีการ ใชง้ านอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 38

แผนยุทธศาสตร์การบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ตวั ชวี้ ดั ค่าเปา้ หมาย โครงการทจ่ี ะดำ� เนินการ ผรู้ บั ผิดชอบ 2561 2562 2563 2564 มาตรการที่ 4 การนำ� เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการศึกษา 4. จ�ำนวนวิชาทีใ่ ช้ E-learning 1 2 3 4 1. จดั ต้ังศูนยผ์ ลิตบทเรียน รองคณบดีฝ่าย ในการจัดการเรยี นการสอน E-learning ให้เปน็ Production วชิ าการ (หน่วย: จ�ำนวน) house ของคณะฯ 2. โครงการใหน้ กั ศึกษาไดศ้ กึ ษา บทเรยี น On line วิชาปรคี ลนิ ิก ของ Harvard Medical School 3. โครงการผลิตบทเรยี น E-learning ส�ำหรับนกั ศึกษาชั้น คลนิ ิกทีศ่ ึกษาในมหาวิทยาลัยและ สถาบันสมทบ 4. การจัดหาฐานขอ้ มลู Electronic ในหอ้ งสมุดของคณะฯ ให้เพียงพอส�ำหรับนักศึกษา มาตรการท่ี 5 การพฒั นาอาจารย์ใหม้ คี วามรู้และทกั ษะดา้ นแพทยศาสตรศึกษา 5.ผลการประเมินการสอนของ 89 90 91 92 1. การอบรมความร้แู ละทักษะด้าน รองคณบดี อาจารย์โดยนกั ศกึ ษา (หนว่ ย: ร้อยละ) แพทยศาสตรศกึ ษาใหก้ บั ฝา่ ยวิชาการ คณาจารย์ 2. สนบั สนนุ ใหอ้ าจารย์ไปศึกษา หรือฝึกอบรมด้านแพทยศาสตร ศึกษาในตา่ งประเทศ 3. จดั ให้มอี าจารย์ทำ� งานด้าน แพทยศาสตรศกึ ษามากขึน้ 4. สนบั สนนุ การทำ� วิจยั ด้านแพทย ศาสตรศึกษาเพือ่ น�ำมาพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน มาตรการท่ี 6 การพัฒนานักศกึ ษาให้เปน็ บณั ฑติ ท่สี มบูรณ์ 6. ผลการประเมินความพึง 95% 95% 95% 95% 1. สง่ เสรมิ กิจกรรมของนกั ศกึ ษา รองคณบดี พอใจของบณั ฑติ ทง้ั ด้านกิจกรรมบำ� เพญ็ ประโยชน์ ฝ่ายพฒั นา (ผลปี 2560: 96.91% ) วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา และ นักศึกษา (หน่วย: รอ้ ยละ) กีฬา 2. พฒั นาระบบอาจารยท์ ่ปี รกึ ษา เพอื่ ให้สามารถชว่ ยเหลอื นกั ศึกษา ท้ังดา้ นการเรยี นและการใช้ชีวติ 39

แผนยทุ ธศาสตร์การบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ตวั ชีว้ ดั ค่าเป้าหมาย โครงการทจ่ี ะดำ� เนนิ การ ผู้รบั ผิดชอบ 2561 2562 2563 2564 3. สนับสนุนการท�ำกจิ กรรมของ นักศกึ ษาทั้งในระดบั สโมสร นักศกึ ษาและชมรมตา่ งๆ 4. จัดหาและปรบั ปรุงสนามกฬี า และอุปกรณ์กฬี าเพ่ือส่งเสริมสุข ภาพนักศกึ ษา กลยทุ ธ์ท่ี 2 พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานของบัณฑิตศกึ ษาเพื่อสร้างงานวิจยั ทม่ี คี ณุ ภาพ มาตรการที่ 1 พัฒนาศักยภาพนักศกึ ษา 7. ร้อยละของผลงานวจิ ัย โท โท โท โท 1. วางระบบการรบั นักศึกษา รองคณบดี นกั ศึกษาท่ีไดร้ ับการ ตีพิมพต์ ่อ 78% 80% 82% 84% โดยการวเิ คราะหแ์ ละจดั กลุม่ ฝ่ายวิชาการ จำ� นวนนกั ศึกษาทีส่ �ำเร็จการ เอก เอก เอก เอก เปา้ หมายของแต่ละหลกั สตู ร ศกึ ษา 202% 204% 206% 208% เพ่ือการประชาสมั พันธ์ทีต่ รงเปา้ (หน่วย: รอ้ ยละ) 2. สนบั สนนุ ทนุ บัณฑติ ศกึ ษาโดย เฉพาะนกั ศึกษาทมี่ ีศักยภาพสงู รวมทั้ง นักศกึ ษาต่างชาตนิ กั ศกึ ษา เรียนดี และนักศึกษาในหลกั สตู รท่ี ขาดแคลน 3. โครงการพัฒนาคณุ ลักษณะ บณั ฑิตทีพ่ งึ ประสงคด์ า้ น เทคโนโลยสี ารสนเทศ 4. โครงการพัฒนาหลักสูตรการฝกึ อบรมภาษาอังกฤษแบบเข้มและ การฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพ นกั ศกึ ษาดา้ นภาษาองั กฤษ 5. โครงการอบรมการน�ำเสนอผล งานวชิ าการการเขียนผลงานวิจยั เพ่อื ตพี ิมพ์ มาตรการท่ี 2 เพิ่มศกั ยภาพของคณาจารย์บณั ฑิตศกึ ษา 8. ร้อยละของคณาจารยท์ ่ีมี 95% 95% 95% 95% 1. ขยายเครอื ข่ายอาจารยท์ ป่ี รึกษา รองคณบดี ความสามารถเป็นอาจารย์ท่ี และส่งเสรมิ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฝา่ ยวิชาการ ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ได้ และทักษะในการใหค้ �ำปรกึ ษา (หน่วย: ร้อยละ) วทิ ยานพิ นธ์และเขียนบทความวิจัย 2. การพัฒนาทกั ษะการบริหาร จัดการสมยั ใหมแ่ ละการเรียนรู้จาก ผู้ทป่ี ระสบความส�ำเรจ็ ในการ บริหารหลกั สูตรและงานวิจัยของ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรฯ 40

แผนยุทธศาสตรก์ ารบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ตวั ช้ีวัด ค่าเป้าหมาย โครงการทจี่ ะดำ� เนินการ ผรู้ บั ผิดชอบ 2561 2562 2563 2564 รองคณบดี ฝา่ ยวชิ าการ มาตรการที่ 3 การสรา้ งความพร้อมในการทำ� งานวจิ ัย รองคณบดี 9. ร้อยละของจ�ำนวนนกั ศึกษาท่ี โท โท โท โท 1.สรา้ งเครอื ขา่ ยกบั หนว่ ยงานท้ัง ฝ่ายวิชาการ สำ� เรจ็ การศึกษาตามหลักสูตร 42% 43% 44% 45% ภาคราชการและเอกชนในตา่ ง ก�ำหนด เอก เอก เอก เอก ประเทศเพ่ือทำ� ข้อตกลงความรว่ ม (หน่วย: รอ้ ยละ) 18% 19% 20% 21% มือ (MOU) ในการทำ� วจิ ยั ในระดับ ป. ป. ป. ป. บัณฑิตศกึ ษา บณั ฑติ บณั ฑติ บณั ฑติ บณั ฑติ 2. สรา้ งระบบติดตามความ 100% 100% 100% 100% ก้าวหน้าของการทำ� วจิ ยั ของ นักศึกษาทุกภาคการศกึ ษา 3. มรี ะบบการเตรยี มความพรอ้ ม ของเครื่องมอื ห้องปฏบิ ัติการวจิ ยั กลยุทธ์ท่ี 3 การฝึกอบรมแพทยผ์ ้เู ชี่ยวชาญท่ีดี มาตรการที่ 1 พฒั นาการฝกึ อบรมแพทย์ผเู้ ชย่ี วชาญ ให้มคี ุณภาพดยี ิง่ ข้นึ 10. รอ้ ยละของจ�ำนวนผลงาน 0.1 0.1 0.2 0.2 1. สนับสนุนการด�ำเนินการ วิจยั ของแพทยฝ์ ึกอบรมท่ีตีพิมพ์ ฝกึ อบรมแพทย์ผู้เช่ียวชาญของ ในวารสารที่มี Impact factor ภาควิชาให้ผา่ นการประเมนิ เพอื่ รบั รองคุณภาพของราชวทิ ยาลยั ฯ 2. เพ่ิมคณุ ภาพงานวจิ ยั ของแพทยฝ์ กึ อบรมใหส้ ามารถ ตพี มิ พ์ในวารสารท่มี ี Impact factor ได้ 3. สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหส้ าขา วิชาเปดิ หลกั สูตรปรญิ ญาเอก (Ph.D. in clinical science) ส�ำหรับแพทย์ฝกึ อบรม 41

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ าร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ความเปน็ เลศิ ดา้ นการวิจัย ผูร้ บั ผิดชอบหลัก รองคณบดีฝ่ายวิจัย ผู้รบั ผิดชอบร่วม รองคณบดฝี ่ายกจิ การพเิ ศษและสอื่ สารองคก์ ร วัตถุประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์ : ผลิตผลงานวิจัยและนวัตกรรมท่ีดี เพื่อน�ำไปใช้แก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชน ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื อนุภูมิภาคลุ่มน้�ำโขง และนานาชาติ (Value to Thai society and all mankind) รวมทั้งการน�ำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ (Commercial application) กลยุทธ์ ตวั ชวี้ ัด คา่ เป้าหมาย โครงการท่ีจะด�ำเนินการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ 2561 2562 2563 2564 กลยทุ ธ์ท่ี 1 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการงานวจิ ัยของคณะฯใหม้ คี วามพร้อมท่จี ะกา้ วไปสูก่ ารเป็นคณะแพทยศาสตรช์ ั้นนำ� ใน และในระดบั โลก มาตรการท่ี 1 สนบั สนุนผลงานวจิ ยั และนวตั กรรมเชิงพาณิชย์ 1. จำ� นวนผลงานวจิ ัยเพ่ือผลติ 2 2 3 3 1. โครงการสง่ เสรมิ การวจิ ยั เพื่อ รองคณบดีฝ่ายวจิ ยั นวัตกรรมเชิงพาณชิ ย์ตอ่ ปี สรา้ งนวัตกรรมดา้ นการแพทย์ที่ (หน่วย: จำ� นวน) สรา้ งความเขม้ แขง็ ของสังคมใหส้ ู่ Thailand 4.0 เชน่ Medical Robot, Medical diagnostic test kit, Medical devices/ instruments, Medical application/program/database 2. โครงการพฒั นาผลิตภัณฑอ์ าหาร เพอื่ สขุ ภาพ 3. โครงการสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การสร้างปญั ญาประดษิ ฐ์Artificial intelligence (AI) และ Internet of Thing (IOT) เพ่อื ทางการแพทย์ มาตรการที่ 2 จดั ต้งั หนว่ ยงานสนบั สนุนเพ่อื เพม่ิ ศกั ยภาพงานวจิ ยั ใหส้ งู ขนึ้ 2. จ�ำนวนโครงการวิจยั ท่มี ีความ 1 2 3 4 1.โครงการจัดตั้งสถาบนั วคั ซีน รองคณบดีฝ่ายวจิ ัย รว่ มมอื กับสถาบันในตา่ งประเทศ 2. โครงการจัดตงั้ ศนู ย์ Cellular (หนว่ ย: จ�ำนวน) therapy /Cancer vaccine กลยุทธ์ท่ี 2 สร้างและพฒั นาบุคลากรด้านการวจิ ยั เพอื่ รองรบั การเป็นมหาวทิ ยาลยั วจิ ยั มาตรการท่ี 1 การพฒั นาบุคลากรใหม้ ศี กั ยภาพดา้ นการวิจยั อย่างตอ่ เนือ่ งและเป็นระบบ 3. จำ� นวนนักวจิ ัยรุ่นใหมท่ ี่เพมิ่ ขน้ึ 12 14 16 18 1. สร้างระบบนกั วจิ ยั พ่เี ล้ยี ง รองคณบดฝี ่ายวิจยั ในแตล่ ะปี (Research Mentor) เพ่อื ชว่ ย (หน่วย: จำ� นวน) นกั วจิ ัยรุน่ ใหมใ่ หส้ ามารถท�ำวจิ ัยที่ เป็นประโยชน์และเผยแพรผ่ ลงานได้ ในระดบั นานาชาติ 42

แผนยทุ ธศาสตรก์ ารบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ตวั ชีว้ ัด ค่าเปา้ หมาย โครงการทจ่ี ะด�ำเนนิ การ ผรู้ บั ผิดชอบ 2561 2562 2563 2564 2. สง่ เสรมิ ให้นกั วจิ ยั ได้ทำ� งานวจิ ยั ร่วมกับนักวจิ ยั ระดับนานาชาตใิ น สถาบันช้ันน�ำ 1 ใน 500 QS World University Ranking ผ่าน ทางกลไก Research MOU หรือ เครอื ขา่ ยวจิ ัยของ Research mentoring system 3. ก�ำหนดประเภททนุ วิจยั ตาม ศกั ยภาพของนกั วิจัย และเพื่อการ จดั ตั้งกล่มุ วิจัยแบบบูรณาการ รว่ ม กับนกั วิจัยในตา่ งสาขา มาตรการที่ 2 การสรา้ งแรงจูงใจโดยการเชดิ ชูเกียรตนิ กั วจิ ัยท่สี ร้างชือ่ เสยี งใหก้ บั คณะฯ 4. ร้อยละของนักวิจยั ท่ีไดร้ างวลั 7% 7% 7% 7% 1. สร้างระบบประชาสัมพนั ธ์ เชดิ ชู 1. รองคณบดี ในทกุ ระดับต่อจ�ำนวนอาจารย์ เกยี รติ นกั วจิ ยั ทีไ่ ด้รับทนุ วจิ ยั จาก ฝา่ ยวิจยั (หน่วย: ร้อยละ) แหลง่ ทนุ วจิ ยั ภายนอก หรือมี โครงการวจิ ัยรว่ มกบั สถาบันวิจยั ท่ี มีชอ่ื เสยี งระดบั โลก 2. ประชาสัมพนั ธผ์ ลงานวจิ ัยและ 2. รองคณบดี นักวจิ ัยท่ีไดร้ ับรางวัลดา้ นการวิจัยใน ฝา่ ยกิจการพเิ ศษ ระดับชาตหิ รือนานาชาติ และสอื่ สารองค์กร 3. จัดให้นักวจิ ัยท่ีสรา้ งช่อื เสยี งมา แลกเปล่ียนเรยี นรู้ (KM) กบั บคุ ลากร กลยทุ ธ์ท่ี 3 สรา้ งความเปน็ เลิศดา้ นการวจิ ัยโดยการสร้างเครอื ข่ายเพ่อื ไดร้ ับการยอมรบั ในระดบั นานาชาติ มาตรการที่ 1 สง่ เสรมิ งานวิจยั ม่งุ เปา้ แบบสหสาขาวิชาตามเร่อื งทค่ี ณะฯ ตอ้ งการ 5. จ�ำนวนสาขาทค่ี ณะฯ ไดร้ ับ 2 2 2 2 1.สนบั สนนุ ให้เกิดโครงการวิจัยแบบ รองคณบดีฝ่ายวิจัย การยอมรบั จากองคก์ รภายนอก บรู ณาการวจิ ยั ท่แี กป้ ัญหาสขุ ภาพใน ถึงความเป็นเลิศด้านการวิจัย พ้ืนที่ (Esan One Health) และ (หนว่ ย: จำ� นวน) เป็นความสนใจของระดับนานาชาติ เช่น Geriatric Non communicable diseases (NCD) 2. สนับสนนุ ใหม้ ีการท�ำวิจยั ในเรอ่ื ง ทเ่ี ปน็ จุดแข็งของคณะแพทยศาสตร์ เช่น Tropical Medicine (Cholangiocarcinoma, Parasitic infections, Melioidosis, Tuberculosis etc.) 43

แผนยทุ ธศาสตร์การบริหาร พ.ศ. 2561-2564 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ตัวชีว้ ดั ค่าเปา้ หมาย โครงการทจี่ ะดำ� เนินการ ผ้รู ับผดิ ชอบ 2561 2562 2563 2564 3. สนบั สนนุ ให้เกดิ ศนู ย์วิจัย หรือ สถาบนั วิจัย ทสี่ นองนโยบายดา้ น การวิจัยของประเทศ เชน่ ศูนยว์ จิ ยั Cellular therapy /Cancer vaccine สถาบันวคั ซนี ศูนยว์ จิ ัย เพ่ือพัฒนาการแพทย์ชนั้ นำ� มาตรการท่ี 2 สง่ เสริมการทำ� วจิ ัยต่อยอดจากงานวิจัยพ้ืนฐานสคู่ ลินกิ และประยุกตส์ นู่ โยบายระดับชาติ 6. จ�ำนวนกลุ่มวิจยั ที่มคี วามรว่ ม 1 1 1 1 1. โครงการสร้างกลุม่ วิจัย From รองคณบดีฝ่ายวิจัย bench work to bedside ผ่าน มอื ระหวา่ งอาจารยภ์ าควชิ า ปรี ทางโครงการคลังตวั อยา่ งชวี ภาพ และโครงการรบั โจทยค์ วามตอ้ งการ คลนิ กิ กบั อาจารย์ภาควชิ าคลนิ กิ ของภาควิชาโดยผา่ นทางการ Road (ทเี่ กิดข้ึนใหม่ในแตล่ ะปี) show (หน่วย: จ�ำนวน) 2. สนบั สนนุ ทนุ วจิ ยั Post-doctoral fellow part time มาตรการท่ี 3 สร้างเครือขา่ ยความรว่ มมือการวิจัยในระดับชาติ และนานาชาติ 7. จำ� นวนเครือข่ายความรว่ มมอื 18 20 22 24 1. โครงการพฒั นาความรว่ มมือกับ รองคณบดฝี ่าย สถาบนั ตา่ งประเทศ (International วิเทศสัมพันธ์และ ด้านการวจิ ัย ( MOU) กบั สถาบนั Affairs) ท่ีอยู่ใน QS World Top 500 ยุทธศาสตรร์ ะหวา่ ง 2. โครงการสง่ เสริมความเปน็ นานาชาติ ประเทศ ของกระบวนการจัดการเรียนรู้ (Internationalization) 3. สนบั สนุนงานวิจัยรวม่ กบั หา รองคณบดฝี ่ายวจิ ัย วิทยาลยั ชัน้ นำ� ในกรุงเทพฯผ่าน โครงการแพทย์ 3 ปริญญา 4. สนับสนุนโครงการแลกเปลยี่ น อาจารย์ นกั ศึกษา นกั วิจยั Post doc กับมหาวทิ ยาลยั ชัน้ นำ� ทีม่ ี ชอ่ื เสียงทัง้ ในระดับชาตแิ ละนานาชาติ กลยุทธ์ที่ 4 พฒั นาระบบการเผยแพรผ่ ลงานวิจยั และการนำ� ผลงานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ มาตรการท่ี 1 พัฒนาระบบการน�ำผลงานวจิ ยั ไปใช้ประโยชนแ์ ก่ประชาชนในภมู ิภาค และประเทศชาติ ตามแนวนโยบาย มหาวิทยาลยั และของประเทศ 7. จ�ำนวนโครงการวจิ ัยที่สามารถ 9 10 11 12 1. จดั หาแหล่งทนุ และชอ่ งทางการ รองคณบดีฝ่ายวจิ ัย น�ำไปใช้ประโยชน์ สนบั สนุนงบประมาณโครงการวจิ ยั (หน่วย: จำ� นวน) ทีส่ ามารถน�ำไปใชป้ ระโยชน์ไดแ้ ยก จากทุนปกติ 2. สร้างกลไกการแลกเปลยี่ นความรู้ และปญั หาระหว่างบุคลากรในโรง พยาบาลกับนกั วจิ ยั เพ่อื ให้เกิดความ ร่วมมอื และคำ� ถามวิจยั ทสี่ ามารถนำ� ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ 44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook