Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่ม WI ส่งงานบริการ

รวมเล่ม WI ส่งงานบริการ

Published by wiangnon.pongsai519, 2021-01-22 15:56:57

Description: รวมเล่ม WI ส่งงานบริการ

Search

Read the Text Version

ระเบยี บปฏบิ ัตงิ าน (Work Instruction) หน่วยไตและไตเทยี ม งานบริการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

คำนำ ในปัจจุบนั ประเทศไทยมีจำนวนผปู้ ่ วยที่ตอ้ งไดร้ ับกำรรักษำบำบดั ทดแทนไตท้งั กำรฟอกเลือดดว้ ย เครื่องไตเทียมและกำรลำ้ งไตทำงช่องทอ้ งเป็ นจำนวนมำก โดยมีจำนวนผปู้ ่ วยเพ่มิ มำกข้ึนทุกปี ดงั น้นั พยำบำลผใู้ หบ้ ริกำรบำบดั ทดแทนไตจึงตอ้ งพฒั นำตนเองให้ มีองคค์ วำมรู้ มีควำมสำมำรถในกำรดูแล ผปู้ ่ วยตำมมำตรฐำนและผปู้ ่ วยปลอดภยั หน่วยไตและไตเทียม แผนกกำรพยำบำลอำยรุ กรรม งำนบริกำรพยำบำล โรงพยำบำลศรีนครินทร์ คณะแพทยศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั ขอนแก่น ใหบ้ ริกำรดูแลผปู้ ่ วยโรคไตแบบครบวงจร รวมท้งั กำรบำบดั ทดแทนไตดว้ ยเคร่ืองไตเทียม เพอ่ื เป็ นแนวทำงในกำรปฏิบตั ิงำนท่ีเป็นมำตรฐำนและมีประสิทธิภำพเป็นกำร พฒั นำงำนมุ่งสู่ควำมเป็ นเลิศเพือ่ คุณภำพกำรบริกำร ดงั น้นั หน่วยไตและไตเทียมจึงไดจ้ ดั ทำคู่มือระเบียบปฏิบตั ิงำนเล่มน้ีข้ึน เพื่อเป็นแนวทำงในกำร ปฏิบตั ิงำนของหน่วยไตและไตเทียมต่อไป หน่วยไตและไตเทียม พฤศจิกำยน 2563

สารบญั เร่ืองที่ หน้า 1. การเตรียม Dialyzer และ Blood line เพอ่ื ใชก้ บั ผปู้ ่ วย 1 2. การประเมินผปู้ ่ วยและเตรียมผปู้ ่ วยก่อนทา Hemodialysis 7 3. การประเมินและใช้ Vascular access (Permanent และ Temporary) 13 4. การเริ่มตน้ ( Start) Hemodialysis 25 5. การใหก้ ารพยาบาลผปู้ ่ วยระหวา่ งการทา Hemodialysis และการเฝ้าระวงั วงจรไตเทียม 31 6. การยตุ ิ (OFF) Hemodialysis และการดูแลผปู้ ่ วยภายหลงั การทา Hemodialysis 37 7. การลา้ งอบฆา่ เช้ือ (Reuse) Dialyzer และ Blood line โดยวิธี manual 46 8. การทาความสะอาดและ Disinfect เครื่องไตเทียมหลงั ใชง้ าน 56 9. การพยาบาลผปู้ ่ วยท่ีใส่สายสวนหลอดเลือดดาชวั่ คราว เพ่ือฟอกเลือด ( Double Lumen 62 Catheter ) 71 10. การเก็บเลือดส่งเพาะเช้ือ (Hemoculture) จากสายสวนหลอดเลือดดาชวั่ คราว เพอ่ื ฟอก 80 เลือด ( Double Lumen Catheter ) 89 11. การใชง้ านสายสวนหลอดเลือดดาชวั่ คราว เพอ่ื ฟอกเลือด( Double Lumen Catheter ) 95 12. การเตรียมผปู้ ่ วยก่อนส่งรับบริการการฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทียม 101 13. การดูแลผปู้ ่ วยต่อเนื่องหลงั สิ้นสุดการฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทียม 14. เอกสารอา้ งอิง





3 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ เรื่อง : การเตรียม Dialyzer และ Blood line 9 พฤศจิกายน 3/6 เพื่อใชก้ บั ผปู้ ่ วย 2563 1. วตั ถุประสงค์ 1.1 เพอื่ เตรียม Dialyzer และ Blood line ใหพ้ ร้อมก่อนใชง้ าน 1.2 เพ่อื ใหผ้ ปู้ ่ วยปลอดภยั จากภาวะแทรกซอ้ น 2. ขอบเขต วธิ ีปฏิบตั ิน้ีใชใ้ นการเตรียม Dialyzer และ Blood line เพือ่ ใชก้ บั ผปู้ ่ วยในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 3. คาจากดั ความ 3.1 การเตรียม Dialyzer และ Blood line หมายถึง การเตรียมตวั กรองและสายส่งเลือดดว้ ยเทคนิคปลอดเช้ือ เพอื่ ใหป้ ราศจากน้ายาฆา่ เช้ือตกคา้ งในตวั กรองและสายส่งเลือด 3.2 Dialyzer หมายถึง ตวั กรองไตเทียมชนิดตา่ งๆ ท่ีทาหนา้ ที่เป็นตวั แลกเปล่ียนของเสียระหวา่ งน้ายากบั เลือด 3.3 Blood line หมายถึง สายส่งเลือดตอ่ จาก Vascular access ไปยงั Dialyzer และต่อจาก Dialyzer กลบั ไปยงั Vascular access 3.4 Blood line A หมายถึง สายส่งเลือดที่ใชต้ อ่ จาก Vascular access ดา้ น A ถึง Dialyzer port A 3.5 Blood line V หมายถึง สายส่งเลือดท่ีใชต้ อ่ จาก Vascular access ดา้ น V ถึงDialyzer port V 4. หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบ 4.1 พยาบาล/ผ้ชู ่วยพยาบาล มีหนา้ ที่ ตรวจสอบและเตรียมลา้ ง Dialyzer และ Blood line ใหถ้ ูกตอ้ งกบั ขนาดชนิด และชื่อ – สกุลผปู้ ่ วยใหพ้ ร้อมใชง้ าน 4.2 พนักงานการแพทย์ มีหนา้ ท่ีจดั เตรียมอุปกรณ์ที่จะใชใ้ หพ้ ร้อมใชง้ านไดแ้ ก่ น้าเกลือ 0.9% NSS, Set IV, Residual strip test 5 . อุปกรณ์เคร่ืองใช้ 5.1 Dialyzer และ Bloodline 5.2 IV set / พลาสเตอร์/ Syringe 5.3 ถงั สาหรับรองน้าขณะลา้ ง Dialyzer 5.4 ถุงใส่ขยะไม่ติดเช้ือ 5.5 ถงั ใส่ขยะติดเช้ือ 5.6 Residual strip test 5.7 สาลีแอลกอฮอล์ 5 กอ้ น 5.8 0.9% NSS 1,000 ml

4 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏิบัติ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ 4/6 เรื่อง : การเตรียม Dialyzer และ Blood line 9 พฤศจิกายน เอกสารท่ี เพ่อื ใชก้ บั ผปู้ ่ วย 2563 เกี่ยวขอ้ ง 6. แผนผงั การปฏบิ ตั งิ าน แบบบนั ทึก Hemodialysis กรณี Dialyzer เก่า Blood line เก่า chart /TDMS ผรู้ ับผดิ ชอบ แผนผงั การไหลของงาน ผเู้ กี่ยวขอ้ ง พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล Dialyzer เก่า Blood line เก่า พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล ตรวจสอบความถูกตอ้ ง พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล Rinse เคร่ืองไตเทียมก่อน 16 นาที พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล จากน้นั รอเครื่อง Test pass จึงต่อดา้ น Dialysate part กบั Dialyzer พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาลล ลา้ งสาย A ดว้ ย 0.9% NSS 300 ml พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล ลา้ ง Dialyzer ผา่ น Blood line V ดว้ ย 0.9% NSS 1000 ml พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล mlmmlml ลา้ งหนวดทกุ สายดว้ ย 0.9%NSS 100-200 ml ดว้ ย 0.9%NSS 1000 ml พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล จดั ระดบั A,V Chamber/Re-circulation พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล ทดสอบ ไม่ ลา้ งตอ่ ดว้ ย พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล สารเคมีตกคา้ ง ผา่ น หนวด heparin 0.9%NSS พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล ผา่ น พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล ตอ่ สาย A กบั ผปู้ ่ วย พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล เร่ิมฟอกเลือด พยาบาล/ผชู้ ่วยพยาบาล

5 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏบิ ตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ เรื่อง : การเตรียม Dialyzer และ Blood line 9 พฤศจิกายน 5/6 เพอื่ ใชก้ บั ผปู้ ่ วย 2563 7.รายละเอยี ดวธิ ีปฏิบตั ิ 7.1 การเตรียม Dialyzer และ Blood line เก่า 7.1.1 ตรวจสอบความถูกตอ้ งของตวั กรอง ไดแ้ ก่ ช่ือผปู้ ่ วย, TCV ไม่ต่ากวา่ 80% ของ Priming volume, วนั ที่ และเวลาท่ีเร่ิมอบฆ่าเช้ือ, น้ายาที่ใชอ้ บฆา่ เช้ือ, รอยตอ่ ตา่ งๆ ของ Dialyzer และ Blood line ตอ้ งปิ ดสนิท ไมม่ ีรอยร้าว และแตกร่ัว 7.1.2 Rinse เครื่องไตเทียม 16 นาที จากน้นั จุม่ ทดสอบเครื่อง รอเคร่ือง Test ผา่ น จึงต่อ Dialysate port เขา้ กบั Dialyzer ดา้ น Dialysate compartment ในทิศทางสวนกลบั กบั ดา้ น Blood compartment ต้งั DFR ไมต่ ่ากวา่ 500 ml/min ตอ่ IV set เขา้ กบั A line ตรงบริเวณสายท่ีทางแยก IV line คว่า Dialyzer ทางดา้ น A ลงใหด้ า้ น V ต้งั ข้ึน chamber A และ V คว่าลง -นาปลายของสาย V ลงในถงั สาหรับลา้ งโดยไม่ใหป้ ลายสายหยอ่ นถึงกน้ ถงั 7.1.3 เปิ ด Clamp Blood line ทางดา้ น A ปล่อย 0.9% NSS 300 ml แลว้ จึงปิ ด Clamp ไว้ 7.1.4 เปิ ด Clamp ทางดา้ น V line เปิ ด 0.9%NSS ไล่น้ายาอบฆ่าเช้ือจานวน 1000 ml 7.1.5 เปิ ด 0.9% NSS ไล่น้ายาอบฆา่ เช้ือท่ีคา้ งทีละสายดงั น้ี - ทางแยก Heparin ปล่อย 0.9% NSS 200 ml - Chamber A หนวดส้ัน ปล่อย 0.9% NSS 200 ml - Chamber A หนวดยาว ปล่อย 0.9% NSS 200 ml - Chamber V หนวดส้ัน ปล่อย 0.9% NSS 200 ml - Chamber V หนวดยาว ปล่อย 0.9% NSS 200 ml 7.1.6 หลงั จากไล่ครบทุกสายแลว้ จดั ระดบั ใน A, V Chamber เตรียม Recirculationใช้ 0.9%NSS Recirculation 10 นาที UFR 3000 ml/hr, UF 500 ml, BFR ไมต่ ่ากวา่ 400 ml/min 7.1.7 ทดสอบสารตกคา้ งในการอบฆ่าเช้ือตวั กรองที่ตาแหน่ง Heparin line และหนวดของ Blood line เปิ ด BFR 150 ml โดยปล่อยน้าในสายทิง้ ก่อนอยา่ งนอ้ ย 10-15 วนิ าที ปิ ด IV line จนผลตรวจ Negative 7.1.8 ตอ่ A line เขา้ กบั Vascular access ของผปู้ ่ วย โดยยงั ไม่เปิ ดใหเ้ ลือดผา่ น 7.1.9 เร่ิมฟอกเลือด

6 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ 6/6 เร่ือง : การเตรียม Dialyzer และ Blood line 9 พฤศจิกายน เพอ่ื ใชก้ บั ผปู้ ่ วย 2563 8. บันทกึ คุณภาพ แบบฟอร์มลงบนั ทึก Hemodialysis chart / ระบบ TDMS 9. ดชั นีชี้วดั 9.1 ลงบนั ทึกการทดสอบดว้ ย Residual strip-test 9.2 ผปู้ ่ วยไมเ่ กิดภาวะแทรกซอ้ นจากการมีน้ายาฆ่าเช้ือตกคา้ งในระบบ เกณฑ์การประเมนิ หัวข้อประเมิน ใช่ ไม่ใช่ เชิงโครงสร้าง 1. ผปู้ ฏิบตั ิสามารถปฏิบตั ิไดถ้ ูกตอ้ ง 2. มีอุปกรณ์พร้อมใชง้ าน เชิงกระบวนการ 1. ลา้ งมือก่อนและหลงั ปฏิบตั ิ 2. ตรวจสอบความถูกตอ้ งของDialyzerก่อนทุกคร้ังโดยพยาบาลหรือผชู้ ่วยพยาบาล 2 คน 3. ทดสอบดว้ ย Residual strip-test ทุกคร้ัง (ยกเวน้ Dialyzer และ Blood lineใหม่)





9 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏบิ ัติ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ เรื่อง : การประเมินผปู้ ่ วยและการเตรียม 9 พฤศจิกายน 3/6 ผปู้ ่ วยก่อนทา Hemodialysis 2563 1. วตั ถุประสงค์ 1.1 เพื่อประเมินสภาวะของผปู้ ่ วยท้งั ร่างกายและจิตใจ 1.2 เพ่ือวางแผนการฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทียม 2. ขอบเขต วธิ ีปฏิบตั ิน้ีใชใ้ นการประเมินผปู้ ่ วยและเตรียมผปู้ ่ วยก่อนทา Hemodialysis ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 3.คาจากดั ความ 3.1ผ้ปู ่ วย หมายถึง ผปู้ ่ วยไตวายเร้ือรังท่ีไดร้ ับการรักษาโดยการฟอกเลือดดว้ ยเครื่องไตเทียม 3.2การประเมินผู้ป่ วย หมายถึง การดูแลสภาพร่างกายทวั่ ไปของผปู้ ่ วยรวมถึงสัญญาณชีพและหลอด เลือดสาหรับการฟอกเลือด 4. หน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบ 4.1 พยาบาล มีหนา้ ที่ - ประเมินสภาพผปู้ ่ วยท้งั ร่างกายและจิตใจก่อนฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทียมและรายงานแพทย์ เมื่อมีความผิดปกติ - เตรียมเครื่องไตเทียมปรับต้งั และเฝ้าระวงั การทางานของเครื่องไตเทียมใหเ้ หมาะสมกบั แผนการรักษา - แกไ้ ขสภาวะแทรกซอ้ นร่วมกบั แพทย์ 4.2 ผ้ชู ่วยพยาบาล มีหนา้ ท่ี - ประเมินสญั ญาณชีพ - รายงานเม่ือมีความผดิ ปกติ 5. เครื่องมือและอปุ กรณ์ 5.1 เคร่ืองชง่ั น้าหนกั 5.2 เคร่ืองวดั ความดนั โลหิต 5.3 หูฟัง 5.4 ปรอทวดั ไข้

10 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏบิ ตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ 4/6 เร่ือง : การประเมินผปู้ ่ วยและการเตรียม 9 พฤศจิกายน ผปู้ ่ วยก่อนทา Hemodialysis 2563 6 . แผนผงั การปฏิบัติงาน แผนผงั การไหลของงาน ผเู้ กี่ยวขอ้ ง เอกสารที่ ผรู้ ับผดิ ชอบ เก่ียวขอ้ ง พยาบาล ผปู้ ่ วย พยาบาล แบบลงบนั ทึก พยาบาล แพทย์ Hemodialysis พยาบาล มีปัญหา แกไ้ ขไมไ่ ด้ พยาบาล Chart ประเมิน ผปู้ ่ วย รายงาน งดใช้ ไม่มีปัญหา แกไ้ ขได้ แพทย์ ใชด้ ตรวจสอบแผนการรักษา พยาบาล บนั ทึกขอ้ มูลและวางแผนการฟอก เลือด เตรียมผปู้ ่ วยทาความสะอาด พยาบาล หลอดเลือดสาหรับฟอกเลือด พยาบาล บนั ทึกขอ้ มูล/วางแผนการฟอกเลือด พยาบาล

11 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ 5/6 เรื่อง : การประเมินผปู้ ่ วยและการเตรียม 9 พฤศจิกายน ผปู้ ่ วยก่อนทา Hemodialysis 2563 7.รายละเอยี ดข้ันตอนการปฏิบัติ 7.1 การประเมินผ้ปู ่ วยก่อนฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทยี ม 7.1.1 ทกั ทายผปู้ ่ วยโดยการเรียกช่ือและนามสกุลพร้อมท้งั สงั เกตสีหนา้ ทา่ ทางการเคลื่อนไหว 7.1.2 ประเมิน Volume status - ชงั่ น้าหนกั ดูสภาพทวั่ ไปของผวิ หนงั อาการบวม จุดเลือดออก - Neck vein engorgement - ฟังเสียงปอด - ประเมินสมดุลน้าที่ผปู้ ่ วยไดร้ ับและขบั ออกในแต่ละวนั รวมท้งั น้าหนกั ท่ีเหลือคา้ งในการฟอก เลือดคร้ังก่อน - กาหนดปริมาณน้าที่ตอ้ งการดึงออกระหวา่ งการฟอกเลือด 7.1.3 วดั สัญญาณชีพและลงบนั ทึกใน Hemodialysis Chart/ ระบบ TDMS 7.1.4 ซกั ประวตั ิและสอบถามอาการดา้ นร่างกาย เช่น อาการหลงั ฟอกเลือดคร้ังที่ผา่ นมา อาการขณะอยทู่ ่ี บา้ นและก่อนมาโรงพยาบาล เช่น อ่อนเพลีย หนา้ มืด เวยี นศีรษะ นอนราบไม่ได้ เจบ็ แน่นหนา้ อก คลื่นไส้ อาเจียน ทอ้ งเสีย ทอ้ งผกู มีไขห้ นาวส่ัน เลือดออกผดิ ปกติ หรือประวตั ิการบาดเจบ็ และอุบตั ิเหตุ หรือไดร้ ับการ ผา่ ตดั การมีประจาเดือน (ในผปู้ ่ วยหญิง) ดา้ นจิตใจ เช่น ความรู้สึกตอ่ การเจบ็ ป่ วย ความวติ กกงั วลต่างๆ 7.1.5 ประเมิน Vascular access ประเมินสภาพการอกั เสบติดเช้ือของขอ้ ต่อหลอดเลือดหรือแผลบริเวณ ทางออกของสาย Catheter ประเมินดว้ ยสายตา คลาและฟังเสียงฟ่ ู 7.1.6 รายงานแพทยก์ รณีพบความผดิ ปกติก่อนการฟอกเลือดเพือ่ ทาการแกไ้ ข 7.2 ตรวจสอบขอ้ มูลคาส่ังการรักษา ขอ้ มูลการฟอกเลือดคร้ังที่ผา่ นมา ผลการตรวจสอบทางหอ้ งปฏิบตั ิการ และยาที่ผปู้ ่ วยรับประทาน 7.3ใหผ้ ปู้ ่ วยทาความสะอาดมือ แขนขา้ งที่มี AVF, AVG กรณี Temporary Vascular access ใหท้ าความ สะอาดโดย Sterile technique 7.4 บนั ทึกขอ้ มูลผปู้ ่ วยลงในใบ Hemodialysis chart/ระบบTDMS และวางแผนการฟอกเลือด

12 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏิบัติ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ 6/6 เร่ือง : การประเมินผปู้ ่ วยและการเตรียม 9 พฤศจิกายน ผปู้ ่ วยก่อนทา Hemodialysis 2563 8. บนั ทกึ คุณภาพ 8.1 แบบฟอร์มลงบนั ทึก Hemodialysis Chart ในกรณี Case Acute Hemodialysis ส่วน Chronic Hemodialysis ลงบนั ทึกในระบบ TDMS 9. ดัชนีชี้วดั คุณภาพ 9.1 วางแผนการฟอกเลือดถูกตอ้ งตามแผนการรักษา 9.2 บนั ทึกขอ้ มูลการประเมินผปู้ ่ วยใน Hemodialysis Chart ในกรณี Case Acute Hemodialysis ส่วน Chronic Hemodialysis ลงบนั ทึกในระบบ TDMS เกณฑ์การประเมิน หวั ข้อประเมิน ใช่ ไม่ใช่ เชิงโครงสร้าง 1. ผปู้ ฏิบตั ิเป็นพยาบาล 2. ผปู้ ฏิบตั ิสามารถปฏิบตั ิไดถ้ ูกตอ้ ง เชิงกระบวนการ 1. ประเมินผปู้ ่ วยก่อนการฟอกเลือด 2. วางแผนการฟอกเลือดถูกตอ้ งตามแผนการรักษา 3. บนั ทึกขอ้ มูลลงใน Hemodialysis Chart





15 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏบิ ตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ท่ีอนุมตั ิใช้ หนา้ 3/12 เรื่อง : การประเมินและใชV้ ascular access 9 พฤศจิกายน (Permanent และTemporary) 2563 1. วตั ถุประสงค์ 1.1 เพื่อถนอมและยดื อายกุ ารใชง้ านของขอ้ ต่อหลอดเลือด (Vascular access) 1.2 เพอ่ื ป้องกนั ปัญหาและลดภาวะแทรกซอ้ นของขอ้ ต่อหลอดเลือด (Vascular access) 1.3 สามารถแกไ้ ขปัญหาไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสมเมื่อเกิดภาวะแทรกซอ้ น 2. ขอบเขต วธิ ีปฏิบตั ิน้ีใชใ้ นการประเมินและใช้ Vascular access (Permanent และTemporary) ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 3. คาจากดั ความ 3.1 Vascular access หมายถึง ช่องทางติดต่อกบั หลอดเลือดใหญ่เพื่อเป็นทางผา่ นของเลือดในกระบวนการ ฟอกเลือดดว้ ยเครื่องไตเทียม 3.2 Permanent Vascular access หมายถึง ขอ้ ตอ่ หลอดเลือดชนิดถาวรท่ีใชเ้ พ่ือเป็ นทางผา่ นของเลือดใน กระบวนการฟอกเลือดดว้ ยเครื่องไตเทียม 3.3 Temporary Vascular access หมายถึง ขอ้ ตอ่ หลอดเลือดชนิดชว่ั คราวที่ใชเ้ พื่อเป็นทางผา่ นของเลือดใน กระบวนการฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทียม 4. หน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบ 4.1 พยาบาล มีหนา้ ที่ - ประเมิน Vascular access ในการใชง้ านทุกคร้ัง - เฝ้าระวงั ภาวะตีบตนั และความผดิ ปกติเบ้ืองตน้ ของVascular access - ใชง้ าน Vascular access อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม - ใหค้ าแนะนาผปู้ ่ วยในการดูแล Vascular access - รายงานแพทย์ และร่วมแกไ้ ขเมื่อมีภาวะแทรกซอ้ นเกิดข้ึน 4.2 ผู้ช่วยพยาบาล/พนักงานการแพทย์ มีหนา้ ท่ี - จดั เตรียมอุปกรณ์ - ช่วยเหลือในการเสิร์ฟอุปกรณ์

16 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏิบัติ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ท่ีอนุมตั ิใช้ หนา้ 4/12 เร่ือง : การประเมินและใชV้ ascular access 9 พฤศจิกายน (Permanent และTemporary) 2563 5 . เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ 5.1 Permanent Vascular access (AVF, AVG ) - หูฟัง - Set Dressing 1 Set หรือ Hemodialysis Set (Sterile) - ถุงมือสะอาดปราศจากเช้ือ1 คู่ - ผา้ ปิ ดปากปิ ดจมูก 1 ผนื - ผา้ สี่เหลี่ยมเจาะกลาง (กรณีไม่มีใน Set Dressing) - AVF needle 1 คู่ - Syringe 10 ml 1 อนั - Needle No.18 1 อนั - 2% Chlorhexidine in 70 % Alcohol - 0.9% NSS - พลาสเตอร์เหนียวขนาด 1-2 นิ้ว 6-8 ชิ้น 5.2 Temporary Vascular access (Double lumen Catheter) - Set Dressing 1 Set หรือ Hemodialysis Set (Sterile) - ถุงมือสะอาดปราศจากเช้ือ1 คู่ - ถุงมือสะอาดใชแ้ ลว้ ทิง้ 1 คู่ - ผา้ สี่เหล่ียมเจาะกลาง (กรณีไม่มีใน Set Dressing) - ผา้ ปิ ดปากปิ ดจมูก 2 ผนื สาหรับผปู้ ่ วย 1 ผนื - Syringe 5 ml 1 อนั - Syringe 10 ml 1 อนั - Needle No.18 1 อนั - 2% Chlorhexidine in 70 % Alcohol - Hypafix - พลาสเตอร์เหนียวขนาด 1-2 นิ้ว 2-3 ชิ้น - กอ็ ซ ( Sterile gauze ขนาด 3 นิ้ว X 3 นิ้ว)

17 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ เร่ือง : การประเมินและใชV้ ascular access 9 พฤศจิกายน 5/12 (Permanent และTemporary) 2563 6 . แผนผงั การปฏบิ ตั ิงาน 6.1 Permanent Vascular access (AVF, AVG ) ผรู้ ับผดิ ชอบ แผนผงั การไหลของงาน ผเู้ กี่ยวขอ้ ง เอกสารที่ เก่ียวขอ้ ง พยาบาล ลา้ งมือ/สวมผา้ ปิ ดปากปิ ดจมูก พยาบาล แบบลงบนั ทึก มีปัญหา Hemodialysis แกไ้ ขไม่ได้ Chart พยาบาล ประเมิน รายงาน แพทย์ Vascular access แพทย/์ แกไ้ ข งดใช้ ไมม่ ีปัญหา แกไ้ ขได้ พยาบาล เตรียมอปุ กรณ์ พยาบาล พยาบาล สวมถงุ มือสะอาดปราศจากเช้ือ พยาบาล พยาบาล พยาบาล เช็ดดว้ ยน้ายาฆ่าเช้ือตาแหน่งที่จะแทงเขม็ พยาบาล พยาบาล พยาบาล รองผา้ ส่ีเหล่ียมสะอาดปราศจากเช้ือบริเวณที่จะแทงเขม็ พยาบาล Prime เขม็ AVF Needle ดว้ ย 0.9%NSS พยาบาล รัด Tourniquet เหนือบริเวณท่ีจะแทงเขม็ ( กรณี AVF ) พยาบาล A

18 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ท่ีอนุมตั ิใช้ หนา้ 6/12 เร่ือง : การประเมินและใชV้ ascular access 9 พฤศจิกายน (Permanent และTemporary) 2563 ผรู้ ับผดิ ชอบ แผนผงั การไหลของงาน ผเู้ ก่ียวขอ้ ง เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง A พยาบาล ตรึงผวิ หนงั ใหต้ ึงในทิศทางตรงกนั ขา้ มกบั เขม็ พยาบาล พยาบาล แทงเขม็ ดว้ ยความนุ่มนวลระมดั ระวงั พยาบาล พยาบาล ตรึงเขม็ กบั ผิวหนงั ดว้ ยพลาสเตอร์ พยาบาล พยาบาล ทดสอบตาแหน่งท่ีแทงเขม็ และFlowดว้ ย 0.9%NSS พยาบาล พยาบาล ปิ ดทบั บริเวณรอยตอ่ ของเขม็ กบั ผวิ หนงั ดว้ ย Sterile ก๊อซ พยาบาล พยาบาล ทาความสะอาดปลายสายส่งเลือด พยาบาล ก่อนตอ่ เขา้ กบั ผปู้ ่ วย พยาบาล/ พยาบาล/ ผชู้ ่วยพยาบาล เร่ิมตน้ การฟอกเลือด ผชู้ ่วยพยาบาล พยาบาล เก็บอปุ กรณ์ พยาบาล/พนกั งาน การแพทย์

19 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏบิ ตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ เรื่อง : การประเมินและใชV้ ascular access 9 พฤศจิกายน 7/12 (Permanent และTemporary) 2563 6.2 Temporary Vascular access (Double lumen Catheter) ผรู้ ับผดิ ชอบ แผนผงั การไหลของงาน ผเู้ ก่ียวขอ้ ง เอกสารที่ เก่ียวขอ้ ง พยาบาล ลา้ งมือ/สวมผา้ ปิ ดปากปิ ดจมูก พยาบาล แบบลงบนั ทึก Hemodialysis Chart พยาบาล เตรียมอปุ กรณ์/เปิ ดผา้ ปิ ดแผลภายนอก (โดยสวมถุงมือสะอาดชนิด Disposable) พยาบาล มีปัญหา แกไ้ ขไม่ได้ พยาบาล ประเมิน รายงาน งดใช้ แพทย์ พยาบาล Vascular แพทย/์ แกไ้ ข access แกไ้ ขได้ ไมม่ ีปัญหา สวมถงุ มือ Sterile พยาบาล พยาบาล ทาความสะอาดแผล Exit Site พยาบาล พยาบาล Scrub ขอ้ ตอ่ ของ Catheter ท้งั 2 ท่อ ดว้ ยน้ายาฆ่าเช้ือ พยาบาล พยาบาล พยาบาล ปิ ดดว้ ยกอ๊ ซ Sterile ท่ีบริเวณแผล Exit Site A

20 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏบิ ัติ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ท่ีอนุมตั ิใช้ หนา้ 8/12 เรื่อง : การประเมินและใชV้ ascular access 9 พฤศจิกายน (Permanent และTemporary) 2563 ผรู้ ับผดิ ชอบ แผนผงั การไหลของงาน ผเู้ กี่ยวขอ้ ง เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง A พยาบาล พยาบาล ปูผา้ ส่ีเหลี่ยมเจาะกลางลงบน Catheter พยาบาล พยาบาล เปิ ด Cap/ทาความสะอาดปลาย พยาบาล Catheter ดว้ ยน้ายาฆ่าเช้ือ พยาบาล พยาบาล พยาบาล/ พยาบาล ดูดเลือดออกขา้ งละ 2 เท่าของปริมาตรสารกนั เลือดแขง็ ตวั ผชู้ ่วยพยาบาล ที่หลอ่ ปลายสายไว้ พยาบาล พยาบาล Flush 0.9%NSS ขา้ งละ 5-10 ml พยาบาล/ เพื่อทดสอบตาแหน่งและ Flow ของเลือด พนกั งาน การแพทย์ พยาบาล/ ทาความสะอาดปลายสายส่งเลือดก่อนต่อเขา้ กบั ผปู้ ่ วย ผชู้ ่วยพยาบาล หุม้ ขอ้ ตอ่ ของ Catheterกบั สายส่งเลือด พยาบาล พยาบาล เร่ิมตน้ การฟอกเลือด พยาบาล ปิ ดแผล พยาบาล เก็บอปุ กรณ์

21 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ท่ีอนุมตั ิใช้ หนา้ 9/12 เรื่อง : การประเมินและใชV้ ascular access 9 พฤศจิกายน (Permanent และTemporary) 2563 7.รายละเอยี ดข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ 7.1 การประเมินและใช้ Permanent Vascular access 7.1.1 ลา้ งมือสวมผา้ ปิ ดปากปิ ดจมูก 7.1.2 ประเมินสภาพขอ้ ตอ่ หลอดเลือดก่อนการใชง้ าน (ใหผ้ ปู้ ่ วยลา้ งแขนขา้ งท่ีมี AVF, AVG ดว้ ยน้า สบูฆ่ ่าเช้ือโรคและลา้ งออกดว้ ยน้าสะอาดและเช็ดใหแ้ หง้ ก่อน) - คลา Thrill ฟังเสียง Bruit - ตรวจสอบลกั ษณะผวิ หนงั วา่ มีการอกั เสบบริเวณขอ้ ต่อหลอดเลือดหรือไม่ หากตรวจพบวา่ มีการ อกั เสบงดใชข้ อ้ ตอ่ หลอดเลือดน้นั และรายงานแพทยเ์ พอ่ื การแกไ้ ขต่อไป - ตรวจสอบทิศทางการไหลของเลือดก่อนการแทงเขม็ ทุกคร้ัง 7.1.3 เปิ ดชุดตอ่ เส้นเลือดเทน้ายา 2% Chlorhexidine in 70 % Alcohol จานวน 20 ml ในถว้ ย - เปิ ด Syringe 10 ml และ เขม็ เบอร์ 18 พร้อมกบั AVF Needle 1 คูใ่ ส่ในชุดตอ่ เส้นเลือด (เลือกขนาด ของเขม็ ใหเ้ หมาะสมกบั การเปิ ด Blood flow) AVF Needle No.17,16,15 ใชก้ บั Blood flow 250-300, 300-350, >350 ตามลาดบั 7.1.4 สวมถุงมือสะอาดปราศจากเช้ือ 7.1.5 เตรียมผวิ หนงั ก่อนการแทงเขม็ โดยใชส้ าลีชุบน้ายาฆา่ เช้ือ 2% Chlorhexidine in 70 % Alcohol เช็ดวนเป็นวงกลมจากตาแหน่งที่จะแทงเขม็ ออกรอบนอกรอแหง้ 30 วนิ าที และเช็ดซ้าบริเวณท่ีจะลงเขม็ กอ้ นที่ 3 และ 4 ตามลาดบั 7.1.6 รองบริเวณขอ้ ต่อหลอดเลือดแทนผา้ สะอาดดว้ ยผา้ ส่ีเหลี่ยมเจาะกลางสะอาดปราศจากเช้ือ หลงั จากทาความสะอาดขอ้ ต่อหลอดเลือดดว้ ยน้ายาฆ่าเช้ือ 7.1.7 ใช้ Syringe 10 ml ใส่ 0.9% NSS Prime AVF Needle และปิ ด Clamp ของสาย AVF 7.1.8 รัด Tourniquet เหนือบริเวณท่ีจะแทงเขม็ หา้ มรัดแน่น (เฉพาะกรณี AVF) 7.1.9 กรณี AVF ตรึงผวิ หนงั ใหต้ ึงในทิศทางตรงกนั ขา้ มกบั ทิศทางของเขม็ เพ่ือกดประสาทระหวา่ ง หนงั กาพร้ากบั หนงั แทก้ รณี AVG ดึงผวิ หนงั และใชน้ ิ้วมือตรึงหลอดเลือดเทียมใหอ้ ยกู่ บั ท่ี 7.1.10 แทงเขม็ ดว้ ยความนุ่มนวลและระมดั ระวงั ไม่ใหเ้ กิดการทะลุออกนอกเส้นโดยหนั หนา้ ตดั ของ เขม็ ข้ึน

22 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏิบัติ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ท่ีอนุมตั ิใช้ หนา้ 10/12 เร่ือง : การประเมินและใชV้ ascular access 9 พฤศจิกายน (Permanent และTemporary) 2563 - กรณี AVF แทงเขม็ ทามุม 25 องศา และห่างจาก Anastomosis อยา่ งนอ้ ย 3 เซนติเมตร ห่างจาก ตาแหน่งเดิมอยา่ งนอ้ ย 2-3 เซนติเมตรกรณีท่ีแทงเขม็ ในเส้นเดียวกนั ปลายเขม็ ท้งั สองตอ้ งห่างกนั อยา่ งนอ้ ย 5 เซนติเมตร - กรณี AVG แทงเขม็ ทามุม 45 องศา ห่างจากจุดเดิม 1 เซนติเมตรและห่างจาก Loop Graft อยา่ งนอ้ ย 2-3 เซนติเมตร 7.1.11 เมื่อเขม็ เขา้ สู่หลอดเลือดแลว้ ใช้ พลาสเตอร์ตรึงเขม็ กบั ผวิ หนงั 7.1.12 เปิ ด Clamp ของสาย AVF เม่ือเห็นเลือดเขา้ มาในสายและทดสอบดว้ ย 0.9% NSS แทงเขม็ อีก 1 เขม็ ตามข้นั ตอนเดิม 7.1.13 ใช้ Sterile gauze ปิ ดบริเวณรอยต่อของเขม็ กบั ผวิ หนงั ก่อนปิ ดทบั ดว้ ยพลาสเตอร์ 7.1.14 ทาความสะอาดปลายสายส่งเลือดดว้ ยน้ายาฆา่ เช้ือ 2% Chlorhexidine in 70 % Alcoholโดยเปิ ดจุก ปิ ดปลายสายดา้ น Artery แลว้ เปิ ด Line clamp ให้ 0.9% NSS ผา่ นปลายสาย 5-10 ml และต่อเขา้ กบั AVF Needle ดา้ น Artery และลอ็ คใหแ้ น่น เปิ ดปั๊มเลือดเพ่ือส่งเลือดเขา้ ไปในวงจรไตเทียม เมื่อเลือดมาถึง Venous line แลว้ ปิ ดปั๊มเลือดทาความสะอาดปลายสายส่งเลือดดา้ น Vein ดว้ ยน้ายาฆ่าเช้ือ 2% Chlorhexidine in 70 % Alcohol เช่นเดียวกบั ดา้ น Artery แลว้ ตอ่ เขา้ กบั AVF Needle ดา้ น Vein และล็อคใหแ้ น่น 7.1.15 เร่ิมตน้ การฟอกเลือด/เก็บอุปกรณ์ 7.2 การประเมินและใช้ Temporary Vascular access (Double lumen Catheter) 7.2.1 ลา้ งมือผกู ผา้ ปิ ดปากปิ ดจมูก/ ผกู ผา้ ปิ ดปากปิ ดจมูกใหผ้ ปู้ ่ วยและจดั ทา่ ใหผ้ ปู้ ่ วยหนั หนา้ ไปในทาง ตรงกนั ขา้ มกบั Catheter 7.2.2 เตรียมชุดสาหรับต่อเส้นเลือด เทน้ายา 2% Chlorhexidine in 70 % Alcohol จานวน 30 ml ใส่ในถว้ ย - เปิ ด Syringe 10 ml 1 อนั Syringe 5 ml 1 อนั และ เขม็ เบอร์ 18 สาหรับใชด้ ูด 0.9% NSS ใส่ในชุด ตอ่ เส้นเลือด - เปิ ดผา้ ส่ีเหล่ียมเจาะกลางสะอาดปราศจากเช้ือใส่ในชุดต่อเส้นเลือด (กรณีไมม่ ีใน Set) 7.2.3 สวมถุงมือสะอาดเปิ ดแผลผปู้ ่ วยออกใหห้ มดสงั เกตดู Exit Site วา่ ผดิ ปกติหรือไม่ เช่น การอกั เสบ บวมแดง หรือไหมเยบ็ หลุด เป็นตน้ 7.2.4 ลา้ งมือก่อนสวมถุงมือสะอาดปราศจากเช้ือ - ใช้ Syringe 10 ml และ เขม็ เบอร์ 18 ดูด 0.9% NSS10 ml (โดยมีผชู้ ่วยเสิร์ฟ)

23 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ 11/12 เรื่อง : การประเมินและใชV้ ascular access 9 พฤศจิกายน (Permanent และTemporary) 2563 7.2.5 ใชส้ าลีชุบ 2% Chlorhexidine in 70 % Alcohol ทาความสะอาดแผลรอบ ๆ Catheter โดยเช็ดใน ลกั ษณะเป็นวงกลมออกไปจาก Exit Site 10 เซนติเมตรรวมถึงสาย Catheter ที่โผล่ออกมาจากผวิ หนงั รอแหง้ 30 วนิ าที 7.2.6 ใชก้ อ็ ซหรือก็อซชุบน้ายา 2% Chlorhexidine in 70 % Alcohol รองนิ้วมือและยกปลาย Catheter ข้ึน 7.2.7 ปิ ดแผล Exit Site ดว้ ย กอ๊ ซ Sterile7.2.8 ปูผา้ ส่ีเหล่ียมเจาะกลางสะอาดปราศจากเช้ือลงบน Catheter 7.2.9 เปิ ด Cap และทาความสะอาดปลาย Catheter ดว้ ย 2% Chlorhexidine in 70 % Alcohol อีกคร้ัง 7.2.10 ใช้ Syringe 5 ml ดูด Heparin ที่หล่อสาย Catheter ท้งั 2 ขา้ งออกขา้ งละประมาณ 2 เทา่ ของ ปริมาตรของสารกนั เลือดแข็งตวั ที่หล่อไวป้ ลายสาย กรณีมีล่ิมเลือดใหด้ ูดออกจนแน่ใจวา่ ล่ิมเลือดหมด (ถา้ รู้สึก วา่ ดูดออกยากใหข้ ยบั หรือหมุนสายเบาๆโดยใชม้ ืออีกขา้ งหน่ึงยดึ บริเวณขอ้ ต่อไว)้ 7.2.11 Plush 0.9% NSS 5 ml ไล่เลือดในสายท้งั สองขา้ งเพื่อทดสอบ Catheter 7.2.12 ทาความสะอาดปลายสายส่งเลือดโดยเปิ ดจุกปิ ดปลายสายดา้ น Artery ดว้ ยน้ายาฆ่าเช้ือ 2% Chlorhexidine in 70 % Alcohol แลว้ เปิ ด Line clamp ให้ 0.9% NSS ผา่ นปลายสาย 5-10 ml และตอ่ เขา้ กบั Catheter ดา้ น Artery และล็อคใหแ้ น่น เปิ ดปั๊มเลือดเพื่อส่งเลือดเขา้ ไปในวงจรไตเทียม เม่ือเลือดมาถึง Venous line แลว้ ปิ ดป๊ัมเลือดทาความสะอาด ปลายสายส่งเลือดโดยเปิ ดจุกปิ ดปลายสายดา้ น Venous line ดว้ ยน้ายาฆ่า เช้ือ 2% Chlorhexidine in 70 % Alcohol แลว้ เปิ ด Line clamp ให้ 0.9% NSS ผา่ นปลายสาย 5-10 ml (หรือจน มนั่ ใจวา่ ไมม่ ี Air ในสาย Vein )และตอ่ เขา้ กบั Catheter ดา้ น Vein และล็อคใหแ้ น่น 7.2.13 หุม้ ขอ้ ต่อของ Catheter กบั สายส่งเลือดดว้ ย Sterile ก๊อซ 7.2.14 เร่ิมตน้ การฟอกเลือด 7.2.15 ปิ ดแผลใหเ้ รียบร้อยดว้ ย Hypafix 7.2.16 เกบ็ อุปกรณ์ 8. บันทกึ คุณภาพ 8.1 แบบฟอร์มลงบนั ทึก Hemodialysis Chart ในกรณี Case Acute Hemodialysis ส่วน Chronic Hemodialysis ลงบนั ทึกในระบบ TDMS

24 โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ท่ีอนุมตั ิใช้ หนา้ 12/12 เร่ือง : การประเมินและใชV้ ascular access 9 พฤศจิกายน (Permanent และTemporary) 2563 9. ดชั นีชี้วดั คุณภาพ 9.1 ผปู้ ่ วยไมม่ ีการติดเช้ือในกระแสเลือด 9.2 Vascular accessใชง้ านไดต้ ามปกติ เกณฑ์การประเมนิ หัวข้อประเมนิ ใช่ ไม่ใช่ เชิงโครงสร้าง 1. ผปู้ ฏิบตั ิเป็นพยาบาล 2. มีอุปกรณ์พร้อมใชง้ าน 3. ผปู้ ฏิบตั ิสามารถปฏิบตั ิไดถ้ ูกตอ้ ง เชิงกระบวนการ 1. ลา้ งมือ/สวมผา้ ปิ ดปากปิ ดจมูก 2. ใชถ้ ุงมือปราศจากเช้ือในการปฏิบตั ิ 3. AVF แทงเขม็ ห่างจากAnastomosisอยา่ งนอ้ ย 3 เซนติเมตร 4. AVG แทงเขม็ ห่างจากห่างจาก Loop graft 2-3 เซนติเมตร 5. Double lumen Catheter ดูดเลือดออกจากสาย Catheter ทิ้ง อยา่ งนอ้ ย 2 เทา่ ของปริมาตร Priming volume





โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ท่ีอนุมตั ิใช้ หนา้ 3/6 เร่ือง : การเริ่มตน้ (Start) Hemodialysis 9 พฤศจิกายน 2563 1. วตั ถุประสงค์ 1.1 เพื่อใหผ้ ปู้ ่ วยไดร้ ับการฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทียมอยา่ งปลอดภยั 1.2 เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ่ วยไดร้ ับการฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทียมครบตามแผนการรักษา 2. ขอบเขต วธิ ีปฏิบตั ิน้ีใชใ้ นการเริ่มตน้ (Start) Hemodialysis ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 3. คาจากดั ความ การเร่ิมต้น หมายถึง การตอ่ สายส่งเลือดกบั Vascular access เพอ่ื นาเลือดเขา้ สู่กระบวนการฟอกเลือดดว้ ยเครื่อง ไตเทียม 4. หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบ 4.1 พยาบาล มีหนา้ ท่ี - ปรับต้งั ค่าการทางานของเครื่องไตเทียม/ตรวจสอบความพร้อมของวงจรไตเทียม - แจง้ แผนการรักษาแก่ผปู้ ่ วย - แจง้ สภาวะ Vascular access แก่ผปู้ ่ วย/ประเมินและใช้ Vascular access ตามคู่มือ - ปรับต้งั วงจรไตเทียมเพือ่ ใหไ้ ดค้ วามเพยี งพอตามแผนการรักษาของแพทย์ - เฝ้าระวงั วงจรไตเทียมและดูแลแกไ้ ขถา้ มีความผดิ ปกติ - รายงานแพทยเ์ มื่อมีความผดิ ปกติและแกไ้ ขภาวะแทรกซอ้ นท่ีอาจเกิดข้ึน 4.2 ผ้ชู ่วยพยาบาล มีหนา้ ที่ - ประเมินสญั ญาณชีพ - ตรวจสอบและบนั ทึกการทางานของเคร่ืองไตเทียม - รายงานเมื่อมีความผดิ ปกติ 5 . เครื่องมือและอุปกรณ์ 5.1 เคร่ืองวดั ความดนั โลหิต 5.2 ปรอทวดั ไข้ 5.3 0.9% NSS 5.4 ยาตามแผนการรักษา 5.5 อุปกรณ์กูช้ ีพ (รถ Emergency)

โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏบิ ตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ท่ีอนุมตั ิใช้ หนา้ 4/6 เรื่อง : การเริ่มตน้ (Start) Hemodialysis 9 พฤศจิกายน 2563 6. แผนผงั การปฏบิ ตั งิ าน แผนผงั การไหลของงาน ผเู้ ก่ียวขอ้ ง เอกสารท่ี ผรู้ ับผดิ ชอบ เกี่ยวขอ้ ง ผปู้ ่ วยพร้อมฟอกเลือด HD Record เตรียมเคร่ืองไตเทียม/Blood line/Dialyzer พยาบาล/ ปรับต้งั /ตรวจสอบความพร้อมวงจรไตเทียม พยาบาล/ ผปู้ ฏิบตั ิการ ผปู้ ฏิบตั ิการ พยาบาล แจง้ แผนการรักษาแก่ผปู้ ่ วย พยาบาล พยาบาล พยาบาล พยาบาล พยาบาล พยาบาล ประเมินและใชV้ ascular accessตามคูม่ ือ พยาบาล พยาบาล ทาการตอ่ วงจรไตเทียม พยาบาล พยาบาล ตรวจสอบวงจรไตเทียม/ตดิ ตามเฝ้าระวงั อาการผปู้ ่ วย พยาบาล พยาบาล พยาบาล ปรับต้งั คา่ การทางานของเคร่ืองไตเทียมตามแผนการรักษา พยาบาล ตรวจสอบ/บนั ทึก พยาบาล

โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ 5/6 เรื่อง : การเร่ิมตน้ (Start) Hemodialysis 9 พฤศจิกายน 2563 7.รายละเอยี ดข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ 7.1 Self Test เคร่ืองไตเทียมเพื่อใหเ้ ครื่องพร้อมใชง้ าน /Blood line /Dialyzer 7.2 ต้งั ค่าการทางานของเครื่องไตเทียมตามแผนการรักษาและตรวจสอบความเรียบร้อยของวงจร ไตเทียม 7.3 แจง้ แผนการรักษาใหผ้ ปู้ ่ วยทราบดูแลจดั ท่าผปู้ ่ วยใหอ้ ยใู่ นทา่ ที่สุขสบาย 7.4 แจง้ สภาวะของ Vascular access ใหผ้ ปู้ ่ วยทราบและทาตามหลกั การใช้ Vascular access 7.5 ทาการต่อวงจรไตเทียมโดย 7.5.1 ปิ ด Blood pump และนาปลาย Blood line A ต่อกบั เขม็ หรือ Catheter A โดยไม่ใหม้ ี ฟองอากาศและระวงั หยดเลือดหยด ตรึงสาย Blood line ดว้ ยพลาสเตอร์เพือ่ ไม่ใหเ้ ลื่อนหลุดหรือดึงร้ัง 7.5.2 Clamp IV line เปิ ด Clamp ท่ีเขม็ A หรือ Catheter A และ Blood line A เปิ ด Blood Pump ใช้ BFR ไมเ่ กิน 150 ml/min พร้อมกบั สงั เกตวา่ Pillow ที่ Blood line A โป่ งตึงดีแสดงวา่ มี Blood flow ออกมา ดีแตถ่ า้ มีการตีบแฟบตอ้ งปิ ด Blood Pump แกไ้ ข 7.5.3 ตรวจสอบฟองอากาศที่อาจตกคา้ งในตวั กรองไตเทียมอีกคร้ังขณะที่รอเลือดผา่ นไปตาม วงจรไตเทียมรอจนเลือดไหลเขา้ สู่ Chamber V ปิ ด Blood pump Clamp ท่ี Blood line V นาปลาย Blood line V ตอ่ กบั เขม็ หรือ Catheter V ตอ้ งระวงั ไมใ่ หม้ ี Air เพราะจะเขา้ สู่ผปู้ ่ วยโดยตรง 7.5.4 เปิ ด Clamp ท่ีเขม็ Vหรือ Catheter V , Blood line V และ Venous Pressure line แลว้ จึงเปิ ด Blood Pump ขณะเลือดไหลเขา้ สู่ผปู้ ่ วยตอ้ งสงั เกตการแตกของหลอดเลือดปลายเขม็ ไดแ้ ก่ อาการบวม ปวด และ การเพมิ่ ข้ึนอยา่ งรวดเร็วของ Venous Pressure ถา้ พบตอ้ งหยดุ Blood pump ทนั ทีและทาการแกไ้ ขก่อน 7.5.5 ใส่ Heparin pump พร้อมท้งั Bolus และต้งั คา่ อตั ราไหลและเวลาหยดุ การใหย้ า 7.5.6 เม่ือไมม่ ีปัญหาในการต่อวงจรไตเทียมแลว้ Start UF และกลบั ข้วั ของ Dialyzer ดา้ นA ข้ึน 7.6 วดั ความดนั โลหิตและสังเกตอาการผดิ ปกติของผปู้ ่ วยกรณีมีอาการผดิ ปกติดูแลแกไ้ ขก่อนจึง ดาเนินการต่อ

โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ท่ีอนุมตั ิใช้ หนา้ 6/6 เรื่อง : การเร่ิมตน้ (Start) Hemodialysis 9 พฤศจิกายน 2563 7.7 ทาการปรับต้งั คา่ วงจรไตเทียมเพือ่ ใหไ้ ดค้ วามเพยี งพอตามแผนการรักษา 7.8 ตรวจสอบความเรียบร้อยของวงจรไตเทียมอีกคร้ังบนั ทึกรายงานอาการผปู้ ่ วยขณะเร่ิมทา HD และ การปรับต้งั วงจรไตเทียม 8. บันทกึ คุณภาพ 8.1 แบบฟอร์มลงบนั ทึก Hemodialysis Chart ในกรณี Case Acute Hemodialysis ส่วน Chronic Hemodialysis ลงบนั ทึกในระบบ TDMS 9. ดัชนีชี้วดั คุณภาพ 9.1 ผปู้ ่ วยไดร้ ับการฟอกเลือดตามแผนการรักษา 9.2 ผปู้ ่ วยปลอดภยั จากภาวะแทรกซอ้ นที่อาจเกิดข้ึนในการฟอกเลือด เกณฑ์การประเมิน ใช่ ไม่ใช่ หวั ข้อประเมนิ เชิงโครงสร้าง 1. ผปู้ ฏิบตั ิสามารถปฏิบตั ิไดถ้ ูกตอ้ ง 2. มีอุปกรณ์ฉุกเฉินพร้อมใชง้ าน เชิงกระบวนการ 1. ประเมินความผิดปกติและภาวะแทรกซอ้ นที่อาจ เกิดข้ึนในการฟอกเลือดได้ 2. ตรวจสอบดูแลเฝ้าระวงั วงจรการทางานของเครื่อง ไตเทียม แกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดข้ึนได้ 3. ผปู้ ่ วยไดร้ ับการฟอกเลือดตามแผนท่ีวางไว้ 4. บนั ทึกขอ้ มูลลงใน Hemodialysis Chart/ TDMS





โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังที่ วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ 3/6 เร่ือง : การใหก้ ารพยาบาลผปู้ ่ วยระหวา่ ง 9 พฤศจิกายน การทา Hemodialysis และการเฝ้าระวงั 2563 วงจรไตเทียม 1. วตั ถุประสงค์ 1.1 เพือ่ ป้องกนั และแกไ้ ขภาวะแทรกซอ้ นระหวา่ งฟอกเลือด 1.2 เพือ่ ป้องกนั และแกไ้ ขความผิดปกติที่เกิดข้ึนกบั เคร่ืองไตเทียมและวงจรไตเทียม 1.3 เพือ่ ความสุขสบายของผปู้ ่ วย 2. ขอบเขต วธิ ีปฏิบตั ิน้ีใชใ้ นการใหก้ ารพยาบาลผปู้ ่ วยระหวา่ งการทา Hemodialysis และการเฝ้าระวงั วงจรไตเทียมใน โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 3. คาจากดั ความ 1.1 ผ้ปู ่ วย หมายถึง ผปู้ ่ วยไตวายเร้ือรังที่ไดร้ ับการรักษาโดยการฟอกเลือดดว้ ยเครื่องไตเทียม 1.2 การพยาบาล หมายถึง การให้การดูแลผปู้ ่ วยรวมถึงการปรับต้งั เครื่องไตเทียมและเฝ้าระวงั การทางาน ของเคร่ืองไตเทียมใหผ้ ปู้ ่ วยไดร้ ับการฟอกเลือดอยา่ งเหมาะสมตามแผนการรักษา มีความสุขสบาย และปลอดภยั ขณะฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทียม 4. หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบ 4.1 พยาบาล มีหนา้ ท่ี 4.1.1 ดูแลผปู้ ่ วยขณะฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทียม 4.1.2 ปรับต้งั และเฝ้าระวงั การทางานของเคร่ืองไตเทียมใหเ้ หมาะสมตามแผนการรักษา 4.1.3 ประเมินผปู้ ่ วยเฝ้าระวงั ภาวะแทรกซอ้ นที่อาจเกิดข้ึนขณะฟอกเลือดดว้ ยเครื่องไตเทียม 4.1.4 รายงานแพทยเ์ ม่ือมีความผดิ ปกติและแกไ้ ขภาวะแทรกซอ้ นท่ีอาจเกิดข้ึนขณะฟอกเลือด ดว้ ยเคร่ืองไตเทียมร่วมกบั แพทย์ 4.2 ผ้ปู ฏบิ ัตกิ ารพยาบาล มีหนา้ ที่ 4.2.1 ประเมินสญั ญาณชีพ 4.2.2 ตรวจสอบและบนั ทึกการทางานของเครื่องไตเทียม 4.2.3 รายงานเม่ือมีความผดิ ปกติ 5 . เครื่องมือและอุปกรณ์ 5.1 เครื่องวดั ความดนั โลหิต

โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏบิ ัติ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ท่ีอนุมตั ิใช้ หนา้ 4/6 เรื่อง : การใหก้ ารพยาบาลผปู้ ่ วยระหวา่ งการทา 9 พฤศจิกายน Hemodialysis และการเฝ้าระวงั วงจรไตเทียม 2563 5.2 ปรอทวดั ไข้ 5.4 0.9% NSS 5.4 ยาตามแผนการรักษา / อุปกรณ์กชู้ ีพ (รถ Emergency ) 6. แผนผงั การปฏบิ ตั งิ าน ผรู้ ับผดิ ชอบ แผนผงั การไหลของงาน ผเู้ กี่ยวขอ้ ง เอกสารที่ เก่ียวขอ้ ง พยาบาล ผปู้ ่ วยเขา้ รับการฟอกเลือด HD Record ใหก้ ารพยาบาลขณะ มีภาวะแทรกซอ้ น แพทย/์ ฟอกเลือด/ใหส้ ุข แกไ้ ขไม่ได้ หอผปู้ ่ วย ศึกษา/เฝ้าระวงั วงจร พยาบาล รายงาน ยตุ ิการฟอก แพทย/์ ไตเทียม แพทย/์ แกไ้ ข พยาบาล พยาบาล เลือด/Admit / แพทย/์ ส่งต่อ พยาบาล แกไ้ ขได้ ไมม่ ีภาวะ แทรกซอ้ น ฟอกเลือด ตามแผนการรักษา ยตุ ิการฟอกเลือด แพทย/์ พยาบาล

โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine , Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏบิ ตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ 5/6 เร่ือง : การใหก้ ารพยาบาลผปู้ ่ วยระหวา่ ง 9 พฤศจิกายน การทา Hemodialysis และการเฝ้าระวงั 2563 วงจรไตเทียม 7.รายละเอยี ดและข้นั ตอนการปฏิบัติ 7.1 ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชวั่ โมงหลงั เริ่มฟอกเลือดหรือตรวจวดั ถ่ีข้ึนถา้ มีอาการผิดปกติ สอบถาม อาการทุก 30-60 นาที เมื่อมีอาการผดิ ปกติหรือภาวะแทรกซอ้ นแกไ้ ขปัญหา พร้อมลงบนั ทึกใน Hemodialysis Chartในกรณี Case Acute Hemodialysis ส่วน Chronic Hemodialysis ลงบนั ทึกในระบบ TDMS 7.2 ใหก้ ารพยาบาลโดย 7.2.1 ตรวจสอบดูแลเฝ้าระวงั บนั ทึกการทางานของเครื่องไตเทียมทุก 1 ชว่ั โมง หรือตามความ จาเป็นพร้อมลงบนั ทึกใน Hemodialysis Chart หรือ ระบบ TDMSโดยตรวจเช็ค BFR ,AP,VP, TMP, UFR, UF remove , Heparin pump ถา้ มีการเปล่ียนแปลงของ VP,TMP โดยไมม่ ีการปรับเปลี่ยน BFR,UFR แสดงวา่ เร่ิมมี ปัญหาในวงจรไตเทียมตอ้ งรีบทาการแกไ้ ขและคอยตรวจเช็คค่า Conductivity และดูแลไมใ่ หน้ ้ายาลา้ งไตหมด ในขณะฟอกเลือดเพอื่ ป้องกนั Conductivity alarm 7.2.2 ตรวจดูตาแหน่งของเขม็ ขอ้ ต่อต่างๆ ของวงจรไตเทียมใหค้ าแนะนาแก่ผปู้ ่ วยในการเปล่ียนท่า ขณะมีเขม็ AVF หรือสายสวนคาหลอดเลือดดา 7.2.3 จดั ท่าผปู้ ่ วยใหเ้ หมาะสม จดั บรรยากาศสิ่งแวดลอ้ ม ใหส้ ะดวกสะอาดผอ่ นคลาย ดูแลให้ รับประทานอาหารและยาตามแผนการรักษา 7.2.4 ใหส้ ุขศึกษาตามความเหมาะสม เช่น การรับประทานอาหาร, ยา, การออกกาลงั กาย, การเขา้ โครงการรอเปลี่ยนไต 7.2.5 ป้องกนั และระมดั ระวงั ภาวะแทรกซอ้ นที่อาจเกิดข้ึนกรณีมีความดนั โลหิตต่าขณะฟอกเลือด สามารถให้ 0.9 % NSS 100 ml x 3 คร้ัง พร้อมรายงานแพทย์ 7.2.6 รายงานแพทยเ์ มื่อมีปัญหาหรือภาวะแทรกซอ้ นและทาการแกไ้ ขร่วมกบั แพทยก์ รณีแกไ้ ขแลว้ ไมด่ ีข้ึนหรือตามแพทยแ์ ลว้ ยงั ไม่ไดร้ ับการแกไ้ ขท่ีดีข้ึนพิจารณายตุ ิการฟอกเลือด 7.3 ฟอกเลือดตามแผนการรักษา 7.4 ยตุ ิการฟอกเลือดเมื่อครบ Period โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสาร แกไ้ ขเอกสารคร้ังท่ี วนั ที่อนุมตั ิใช้ หนา้ 6/6 เรื่อง : การใหก้ ารพยาบาลผปู้ ่ วยระหวา่ ง 9 พฤศจิกายน การทา Hemodialysis และการเฝ้าระวงั 2563 วงจรไตเทียม 8.บันทกึ คุณภาพ แบบฟอร์มลงบนั ทึก Hemodialysis Chart ในกรณี Case Acute Hemodialysis ส่วน Chronic Hemodialysis ลงบนั ทึกในระบบ TDMS 9.ดชั นีชี้วดั ใช่ ไม่ใช่ 1.1 ผปู้ ่ วยไดร้ ับการฟอกเลือดถูกตอ้ งตามแผนการรักษา 1.2 ผปู้ ่ วยปลอดภยั จากภาวะแทรกซอ้ นที่อาจเกิดข้ึนระหวา่ งฟอกเลือด เกณฑ์การประเมิน หัวข้อประเมนิ เชิงโครงสร้าง 1. ผปู้ ฏิบตั ิสามารถปฏิบตั ิไดถ้ ูกตอ้ ง 2. มีอุปกรณ์ฉุกเฉินพร้อมใชง้ าน เชิงกระบวนการ 1. ประเมินสญั ญาณชีพอยา่ งนอ้ ยทุก1 ชว่ั โมง 2. ประเมินความผิดปกติและภาวะแทรกซอ้ นท่ีอาจเกิดข้ึนระหวา่ งฟอกเลือด 3. ตรวจสอบดูแลเฝ้าระวงั วงจรการทางานของเครื่องไตเทียมแกไ้ ขปัญหาที่ เกิดข้ึนได้ 4. สามารถป้องกนั และแกไ้ ขภาวะแทรกซอ้ นร่วมกบั ทีมการรักษาได้ 5. ลงบนั ทึกใน Hemodialysis Chart/TDMS





39 โรงพยำบำลศรีนครินทร์ คณะแพทยศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏิบตั ิ (System Procedure) รหัสเอกสำร แก้ไขเอกสำรคร้ังที่ วนั ทอ่ี นุมตั ใิ ช้ หน้ำ 3/9 เร่ือง : การยตุ ิ (OFF) Hemodialysis และ 9 พฤศจิกายน การดูแลผปู้ ่ วยภายหลงั การทา 2563 Hemodialysis 1. วตั ถุประสงค์ 1.1 เพื่อยตุ ิการฟอกเลือดใหผ้ ปู้ ่ วยเม่ือสิ้นสุดการรักษา 1.2 เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ่ วยปลอดภยั จากภาวะแทรกซอ้ น 1.3 เพ่อื ถนอมและยดื การใชง้ านของขอ้ ต่อหลอดเลือด (Vascular access) 2.ขอบเขต วธิ ีปฏิบตั ิน้ีใชใ้ นการยตุ ิ (OFF) Hemodialysis และการดูแลผปู้ ่ วยภายหลงั การทา Hemodialysis ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 3. คำจำกดั ควำม 3.1 กำรยุติ หมายถึง การถอดเขม็ AVF Needle ออกจากผปู้ ่ วย, การปลดสายส่งเลือดออกจากขอ้ ต่อ หลอดเลือดชวั่ คราวจากผปู้ ่ วยเมื่อสิ้นสุดการฟอกเลือด 3.2 AVF Needle หมายถึง เขม็ ท่ีใชแ้ ทงเขา้ ไปในเส้นเลือดดาเพือ่ เป็นทางผา่ นของเลือดเพอ่ื ฟอกเลือด 3.3 AVG หมายถึง เส้นเลือดเทียมที่ใส่เขา้ ไปเช่ือมต่อระหวา่ งเส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดาเพ่ือใช้ สาหรับฟอกเลือด 3.4 AVF หมายถึง การเชื่อมต่อเส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดาเขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือใชเ้ ป็นทางเขา้ ออกใน การฟอกเลือด 3.5 ก๊อซห่อ หมายถึง ก๊อซปราศจากเช้ือท่ีทาเป็ นกอ้ นใชใ้ นการกดหา้ มเลือด 3.6 Temporary vascular access หมายถึง ขอ้ ต่อหลอดเลือดชว่ั คราว (Double lumen Catheter) ที่ แทงเขา้ บริเวณเส้นเลือดดาเพื่อใชเ้ ป็นทางเขา้ ออกในการฟอกเลือด 4. ผู้รับผดิ ชอบ 4.1 พยำบำล มีหนา้ ที่ 4.1.1 ประเมินสัญญาณชีพ 4.1.2 ยตุ ิการฟอกเลือดและดูแลผปู้ ่ วยหลงั การฟอกเลือด 4.1.3 ประเมิน Vascular access ผปู้ ่ วย 4.1.4 รายงานแพทย์ และร่วมแกไ้ ขภาวะแทรกซอ้ นท่ีอาจเกิดข้ึนหลงั การฟอกเลือด

40 โรงพยำบำลศรีนครินทร์ คณะแพทยศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏบิ ัติ (System Procedure) รหัสเอกสำร แก้ไขเอกสำรคร้ังท่ี วนั ทอ่ี นุมัติใช้ หน้ำ 4/9 เรื่อง : การยตุ ิ (OFF) Hemodialysis และ 9 พฤศจิกายน การดูแลผปู้ ่ วยภายหลงั การทา 2563 Hemodialysis 4.2 ผ้ชู ่วยพยำบำล มีหนา้ ท่ี 4.2.1 ช่วยประเมินสญั ญาณชีพ 4.2.2 รายงานพยาบาลเม่ือมีความผดิ ปกติ 4.2.3 ช่วยเตรียมอุปกรณ์การทาหตั ถการ 5. เครื่องมือและอุปกรณ์ 5.1 กรณีผปู้ ่ วยใช้ AVF, AVG 5.1.1 ก๊อซห่อปราศจากเช้ือสาหรับกดหา้ มเลือด 5.1.2 พลาสเตอร์ 2-4 ชิ้น 5.1.3 ถุงมือชนิดใชค้ ร้ังเดียว 1 คู่ 5.2 กรณีที่ผปู้ ่ วยใช้ Double lumen Catheter ในการฟอกเลือด 5.2.1 ถุงมือปราศจากเช้ือ 1 คู่ 5.2.2 Heparin 25,000 ยนู ิต 1 ขวด 5.2.3 Set ทาแผลเล็ก 1 Set 5.2.4 Syringe 20 ml 1 อนั 5.2.5 Syringe 3 ml 2 อนั 5.2.6 จุกปิ ด Sterile 2 อนั 5.2.7 Hypafix 2 แผน่ (ยาว 5-6 นิ้ว) 5.2.8 2% Chlorhexidine in 70% Alcohol

41 โรงพยำบำลศรีนครินทร์ คณะแพทยศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏบิ ตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสำร แก้ไขเอกสำรคร้ังที่ วนั ทอ่ี นุมตั ใิ ช้ หน้ำ 5/9 เร่ือง : การยตุ ิ (OFF) Hemodialysis และ 9 พฤศจิกายน การดูแลผปู้ ่ วยภายหลงั การทา 2563 Hemodialysis 1. แผนผงั กำรปฏิบัตงิ ำน 6.1 กำรยุติ (OFF) Hemodialysis ผรู้ ับผดิ ชอบ แผนผงั การไหลของงาน ผเู้ กี่ยวขอ้ ง เอกสารที่ เก่ียวขอ้ ง พยาบาล ผปู้ ่ วยฟอกเลือดครบ Period HD Record ลา้ งมือ/ผกู Mask/เตรียมอุปกรณ์ สวมถุงมือปราศจากเช้ือ/สะอาด หยดุ เครื่องไตเทียมไล่เลือดกลบั ดว้ ย 0.9%NSS กรณี Catheter ใหเ้ ชด็ บริเวณขอ้ ตอ่ ก่อน ปลดขอ้ ตอ่ สาย Blood line ดา้ น Artery และ Vein ถอดเขม็ /หรือFill สาย Catheter ดว้ ย 0.9% NSS และตามดว้ ย Heparin A

42 โรงพยำบำลศรีนครินทร์ คณะแพทยศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบียบวธิ ีปฏบิ ัติ (System Procedure) รหสั เอกสำร แก้ไขเอกสำรคร้ังที่ วนั ทอ่ี นุมัติใช้ หน้ำ 6/9 เร่ือง : การยตุ ิ (OFF) Hemodialysis และ 9 พฤศจิกายน การดูแลผปู้ ่ วยภายหลงั การทา 2563 Hemodialysis 6.2 กำรดูแลผ้ปู ่ วยภำยหลังกำรทำ Hemodialysis ผรู้ ับผดิ ชอบ แผนผงั การไหลของงาน ผเู้ กี่ยวขอ้ ง เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง A HD Record พยาบาล ประเมินผปู้ ่ วย มีปัญหา แพทย์ หลงั การฟอก รายงาน เลือด แพทย/์ แกไ้ ข ไมม่ ีปัญหา แกไ้ ขได้ บนั ทึกสรุปผลการฟอกเลือดใน Hemodialysis Chart/TDMS กลบั บา้ น/ส่งกลบั Ward กรณีผปู้ ่ วยใน

43 โรงพยำบำลศรีนครินทร์ คณะแพทยศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏิบัติ (System Procedure) รหสั เอกสำร แก้ไขเอกสำรคร้ังท่ี วนั ทอี่ นุมัตใิ ช้ หน้ำ 7/9 เรื่อง : การยตุ ิ (OFF) Hemodialysis และ 9 พฤศจิกายน การดูแลผปู้ ่ วยภายหลงั การทา 2563 Hemodialysis 7.รำยละเอยี ดและข้นั ตอนกำรปฏิบตั ิ 7.1 ประเมินสภาพผปู้ ่ วยก่อนสิ้นสุดการฟอกเลือดโดยการตรวจวดั สัญญาณชีพและอาการร่วม 7.2 ลา้ งมือ/ผกู Mask/เตรียมอุปกรณ์สวมถุงมือชนิดใชค้ ร้ังเดียวกรณี AVF/AVG กรณี Catheter ใชถ้ ุง มือ Sterile 7.3 กำรไล่เลือดกลบั 7.3.1 กรณีAVF/AVG หยดุ เครื่องไตเทียมและไล่เลือดกลบั โดย - ปิ ด Blood pump/ปิ ด Aterial line และปิ ด Clamp AVF needle ดา้ น Artery - ปลด Aterial line ออกจาก AVF needle ใช้ Syringe ดูดอากาศ 2 ml ไล่เลือดคา้ งในสาย AVF needle เขา้ ในตวั ผปู้ ่ วยจนหมด ระวงั อยา่ ใหอ้ ากาศเขา้ ไปในตวั ผปู้ ่ วย - เปิ ด Aterial line พร้อมเปิ ด Blood pump ดว้ ยความเร็วประมาณ 150 ml/min หมุนจนเลือด ไหลไปถึงขอ้ ต่อIV line แลว้ ปิ ดAterial line เปิ ด 0.9NSS แทนท่ีเลือดผปู้ ่ วยจนกระทงั่ หมด (สังเกตจาก Venous line ใส)แลว้ จึงปิ ดBlood pump/ปิ ด Venous line และปิ ด Clamp AVF ดา้ น Vein 7.3.2 กรณีผปู้ ่ วยใช้ Temporary Vascular access - เช็ดทาความสะอาดขอ้ ต่อ Catheter ดว้ ย 2% Chlorhexidine in 70% Alcohol - เปิ ด Blood pump ไล่เลือดผปู้ ่ วยกลบั เหมือนกรณี AVF,AVG จนกระทง่ั เลือดหมดแลว้ ปิ ด Blood pump 7.4 กำรปลดสำย 7.4.1 กรณีAVF/AVG - ปลด Venous line ออกจาก AVF needle ปิ ด Clampใหเ้ รียบร้อย - แกะกอ็ ซปิ ดแผลและถอดเขม็ ออก - ถอดเขม็ ออกในแนวนอน โดยมืออีกขา้ งหน่ึงใชก้ อ็ ซห่อกดหา้ มเลือดวางเตรียมกดไว้ บริเวณรูปากแผล เม่ือปลายเขม็ เร่ิมโผล่พน้ จากผวิ หนงั ใหก้ ดก็อซเพ่ือหา้ มเลือด ใชแ้ รงกด ปานกลาง (ใหค้ ลาFlow เหนือและต่ากวา่ บริเวณรูเขม็ ได)้ - ใชเ้ วลาประมาณ 5-10 นาทีจนมน่ั ใจวา่ เลือดหยดุ แลว้ ใชพ้ ลาสเตอร์ปิ ดทบั โดยไม่มีแรงกด

44 โรงพยำบำลศรีนครินทร์ คณะแพทยศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏบิ ตั ิ (System Procedure) รหัสเอกสำร แก้ไขเอกสำรคร้ังที่ วนั ทอี่ นุมัตใิ ช้ หน้ำ 8/9 เร่ือง : การยตุ ิ (OFF) Hemodialysis และ 9 พฤศจิกายน การดูแลผปู้ ่ วยภายหลงั การทา 2563 Hemodialysis 7.4.2 กรณผี ู้ป่ วยใช้ Temporary Vascular access - เช็ดทาความสะอาดขอ้ ต่อ Catheter ดว้ ย 2% Chlorhexidine in 70% Alcohol - เปิ ด Blood pump ไล่เลือดผปู้ ่ วยกลบั เหมือนกรณี AVF, AVG จนกระทง่ั เลือดหมดแลว้ ปิ ด Blood pump - ปลดสาย Aterial line และVenous line ออกจากขอ้ ต่อหลอดเลือด - ใช้ Syringe 20 ml ท่ีดูด 0.9%NSS ไว้ 20 ml Fill 0.9% NSS ขา้ งละ 10 ml และ Fill Heparin ตามปริมาตรของสาย Catheter แตล่ ะขา้ งโดยใช้ Syringe 3 ml ดูด Heparin ท่ี เตรียมไวแ้ ลว้ ปิ ดดว้ ยจุก Sterile 7.5 ประเมินอาการผปู้ ่ วยหลงั การฟอกเลือด และประเมิน Vascular access หลงั การใชง้ านหากพบความ ผดิ ปกติรายงานแพทยแ์ ละร่วมแกไ้ ขภาวะแทรกซอ้ น 7.6 บนั ทึกสรุปผลการพยาบาลหลงั การฟอกเลือดตลอดจนการแกไ้ ขปัญหาภาวะแทรกซอ้ นที่เกิดข้ึน 7.7 นดั หมายการมาฟอกเลือดคร้ังต่อไปก่อนกลบั บา้ นหรือส่งกลบั หอผปู้ ่ วยกรณีผปู้ ่ วยใน รายงาน อาการผปู้ ่ วยตอ่ พยาบาล WARD ทุกคร้ังก่อนส่งผปู้ ่ วยกลบั 8. บันทกึ คุณภำพ 8.1 แบบฟอร์มลงบนั ทึก Hemodialysis Chart ในกรณี Case Acute Hemodialysis ส่วน Chronic Hemodialysis ลงบนั ทึกในระบบ TDMS 9. ดัชนีชี้วดั 9.1ไมม่ ีเลือดออกหลงั จากปิ ดก๊อส/ไมม่ ีเลือดออกจาก Catheter 9.2 ขอ้ ต่อหลอดเลือดใชง้ านไดป้ กติในคร้ังต่อไป 9.3 ผปู้ ่ วยปลอดภยั จากภาวะแทรกซอ้ นหลงั การฟอกเลือด

45 โรงพยำบำลศรีนครินทร์ คณะแพทยศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั ขอนแก่น ( Srinakarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University ) ระเบยี บวธิ ีปฏบิ ตั ิ (System Procedure) รหสั เอกสำร แก้ไขเอกสำรคร้ังที่ วนั ทอี่ นุมตั ใิ ช้ หน้ำ 9/9 เร่ือง : การยตุ ิ (OFF) Hemodialysis และ 9 พฤศจิกายน การดูแลผปู้ ่ วยภายหลงั การทา 2563 Hemodialysis เกณฑ์กำรประเมนิ หวั ข้อประเมนิ ใช่ ไม่ใช่ เชิงโครงสร้ำง 1. ผปู้ ฏิบตั ิเป็นพยาบาล 2. มีอุปกรณ์ในการยตุ ิการฟอกเลือด 3. ผปู้ ฏิบตั ิสามารถปฏิบตั ิไดถ้ ูกตอ้ ง เชิงกระบวนกำร 1. ใชถ้ ุงมือสะอาดในการถอดเข็มกรณี AVF, AVG/ ถุงมือ Sterile กรณี Catheter 2. ไล่เลือดกลบั ก่อนถอดเขม็ ออก 3. กดหา้ มเลือด 5-10 นาทีจนเลือดหยดุ /Fill0.9% NSSและ Fill Heparin ตามชนิดของ Catheter 4. ลงบนั ทึกใน Hemodialysis Chart




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook