Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3.คู่มือการสอน_circular economy Lifestyle_KU

3.คู่มือการสอน_circular economy Lifestyle_KU

Published by lawanwijarn4, 2022-05-05 01:00:52

Description: 3.คู่มือการสอน

Search

Read the Text Version

Module 5 (2): Design Thinking for Circular Business การคดิ เชงิ ออกแบบภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ชือ่ บทหรอื โมดูล การคดิ เชงิ ออกแบบภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น (Design Thinking for Circular Business) ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ ใหน้ กั ศกึ ษามคี วามรสู้ กึ อยากทจี่ ะเรยี นรเู้ นอื้ หาของกระบวนการ Design Think- ing และสนใจทีจ่ ะประยุกตใ์ ช้กบั เร่อื งท่เี กี่ยวขอ้ งกบั เศรษฐกิจหมุนเวียนตามพ้ืนฐานความรแู้ ละความถนดั ของนักศกึ ษา สาระส�ำคญั 1. ใหน้ กั ศกึ ษาไดม้ โี อกาสเรยี นรกู้ ารประยกุ ตใ์ ชก้ ระบวนการ Design Thinking กบั การแกป้ ญั หาทางธรุ กจิ จากการเล่าเรอื่ งกรณีศกึ ษาท่เี ป็นเรื่องราวจรงิ มาสรา้ งแรงบันดาลใจ ใหน้ ักศึกษาอยากที่จะเรยี นรู้ใน รายละเอยี ด และวธิ กี ารใช้งานกระบวนการ Design Thinking 2. แนะนำ� ใหน้ ักศกึ ษารู้จักหลกั การเบือ้ งต้น และองค์ประกอบของกระบวนการ Design Thinking 3. เปดิ โอกาสใหน้ กั ศกึ ษาเลอื กหวั ขอ้ เรอ่ื งทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นตามความสนใจของนกั ศกึ ษา มาเป็นจุดตั้งต้นในการเรียนรู้วิธีประยุกต์ใช้กระบวนการ Design Thinking เพื่อแก้ปัญหาในหัวข้อท่ี เลอื ก ด้วยฐานความรทู้ ีม่ อี ยู่ผ่านการมอบหมายงาน และเขา้ ร่วมสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการ เนือ้ หาสาระ 1. ภาคธุรกิจ ได้เตรียมกรณีศึกษาที่เกิดข้ึนจริงเพ่ือแก้ปัญหาต่างๆที่น่าสนใจ โดยปัญหาเหล่าน้ันอาจ เกย่ี วขอ้ งหรอื ไมเ่ กยี่ วขอ้ งกบั เรอื่ งเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นกไ็ ด้ แตส่ ง่ิ ทเี่ ปน็ เรอ่ื งสำ� คญั คอื เปน็ การแกป้ ญั หา ทนี่ า่ สนใจ และมีการใช้กระบวนการ Design Thinking มาแกป้ ัญหา และไดผ้ ลลัพธท์ เ่ี ห็นประจักษไ์ ด้ ท้ังนี้ กรณศี ึกษาอาจใชก้ ระบวนการ Design Thinking เพยี งบางสว่ น หรอื เตม็ รูปแบบก็ได้ ขนึ้ อย่กู บั สภาพความจ�ำเปน็ ของปัญหานน้ั ส่ิงส�ำคญั คือ กรณีศึกษานัน้ จะสร้างความประทับใจให้กับนักศึกษามี ความรู้สกึ ว่า กระบวนการ Design Thinking นนั้ มคี วามน่าสนใจ และมีนกั ศกึ ษาอยากที่จะมโี อกาส ทดลองใช้วธิ ีการ และแสดงความสามารถให้ผสู้ อนและเพือ่ นได้เหน็ 151

2. กระบวนการ Design Thinking เปน็ เครอ่ื งมอื ทจี่ ะชว่ ยใหเ้ กดิ การแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ตรงประเดน็ อยา่ งมรี ะบบ มกี ลไกการพฒั นาการแกป้ ญั หาทม่ี คี วามตอ่ เนอ่ื งจนไดผ้ ลสรปุ ในการแกป้ ญั หาทใี่ ชง้ านได้ จรงิ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมขี นั้ ตอนคอื ผทู้ ใ่ี ชก้ ระบวนการนต้ี อ้ งเรยี นรถู้ งึ ความเขา้ ใจเชงิ ลกึ ของความ ต้องการของผทู้ ่ีเกีย่ วขอ้ งและผทู้ ไี่ ด้รบั ผลกระทบจากปัญหากอ่ น แลว้ จงึ เรียบเรยี งใชค้ วามเขา้ ใจเหลา่ นน้ั มาทำ� การกำ� หนดตวั ปญั หาทตี่ รงประเดน็ กอ่ นทจ่ี ะหาแนวทางแกป้ ญั หา แลว้ ทำ� การทดลองดว้ ยการ ใชว้ ธิ ที ำ� ตน้ แบบมาทดสอบ แลว้ ใหผ้ ทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งมาทดลองพรอ้ มกบั สะทอ้ นความเหน็ เพอ่ื ใหผ้ แู้ กป้ ญั หา สามารถนำ� ไปใชป้ รบั ปรงุ ตน้ แบบใหม่ หรอื อาจไปเปลย่ี นการกำ� หนดตวั ปญั หาใหถ้ กู ตอ้ ง ซงึ่ เปน็ กระบวน การทส่ี ามารถ วนกลบั ไปขนั้ ตอนกอ่ นหนา้ นไ้ี ด้ ถา้ เกดิ การเรยี นรทู้ ตี่ า่ งออกไปจากทเี่ คยเขา้ ใจ จนกระทงั่ สามารถแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ นอกจากน้ี ยงั มอี งคป์ ระกอบ 7 อยา่ ง เปน็ แนวทางทจี่ ะใชช้ ว่ ยใหผ้ แู้ ก้ ปัญหา มที างเลือกทจ่ี ะปรบั ปรุง หรือแกไ้ ข เพ่ือใหผ้ ้ทู ไ่ี ดร้ ับผลกระทบจากปัญหาน้นั มีประสบการณ์ท่ี ดจี ากผลของการแกป้ ญั หาเหล่านัน้ เมอ่ื ไดล้ องแก้ปัญหาดว้ ยแนวทางตา่ งๆ ก็สามารถใชเ้ กณฑ์ 5E ใน การตรวจสอบว่า ผลทไ่ี ด้นนั้ ไดช้ ว่ ยใหผ้ ใู้ ช้งานไดป้ ระโยชนค์ รบถว้ นในมมุ มองทีส่ ำ� คญั หรือไม่ 3. การชกั จงู ใหน้ กั ศกึ ษามสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ จะมงุ่ เนน้ ใหน้ กั ศกึ ษาเลอื กเรอ่ื งทตี่ นเองมคี วามสนใจและ มีความเก่ียวข้องกับเศรษฐกิจหมุนเวียนท่ีได้เรียนไปใน Module ที่ผ่านมา โดยอาจใช้วิธีแบ่งกลุ่มให้ เลอื กหวั ขอ้ ทตี่ อ้ งการจะแกป้ ญั หา แลว้ เปดิ โอกาสใหน้ กั ศกึ ษาทดลองใชก้ ระบวนการ Design Thinking เพื่อหาค�ำตอบตามเวลาที่ก�ำหนด ท้ังน้ี ต้องการเน้นให้นักศึกษามีทักษะท่ีจะรับฟังความคิดเห็นของผู้ อนื่ แลว้ นำ� มาตอ่ ยอดใหเ้ กดิ การแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ซง่ึ เปน็ คณุ สมบตั สิ ำ� คญั เบอื้ งตน้ ทจี่ ะประสบ ความสำ� เรจ็ ในการใชเ้ คร่ืองมอื นี้ โดยจุดเรม่ิ ตน้ นี้ จะใชไ้ ดใ้ นขน้ั ตอนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเรยี นรู้ความ ตอ้ งการเชงิ ลกึ , การกำ� หนดปญั หา, การเสนอแนวทางในการแกป้ ญั หา, การทำ� ตน้ แบบ, การรบั รผู้ ลการ ทดสอบและนำ� ผลเหล่านน้ั ไปปรบั ปรงุ ต่อไป ดงั น้ันการทำ� Mini-Workshop ไม่ไดม้ ีจดุ ประสงคท์ ่ีจะได้ ผลงานที่สามารถนำ� ไปใชไ้ ด้ แตม่ ีเปา้ หมายให้นกั ศึกษาได้รู้สกึ และยอมรบั ที่จะรบั ฟังความคดิ เห็น เพ่อื ท�ำการต่อยอดไปสู่การแก้ปัญหาทีต่ รงประเด็นตอ่ ไป 4. อยา่ งไรกต็ าม วชิ าทสี่ อนในหลกั สตู รนี้ เปน็ เพยี งการแนะนำ� ใหน้ กั ศกึ ษารจู้ กั หลกั การเบอื้ งตน้ เทา่ นน้ั ถา้ นกั ศกึ ษาไดเ้ รยี นรจู้ ากการเขา้ เรยี นวชิ าน้ี แลว้ มคี วามรสู้ กึ ทอ่ี ยากเขา้ ใจเชงิ ลกึ เพม่ิ ขน้ึ ควรมกี ารแนะนำ� ให้นักศกึ ษาได้ทราบวา่ สามารถท่จี ะสมัครเรียนวชิ า Design Thinking น้ไี ดอ้ ย่างไร 152

กจิ กรรมการเรยี นการสอน หัวขอ้ จำ� นวน กิจกรรม การวัดผล สือ่ การสอนทีใ่ ช้ นาทีทใี่ ช้ หรือเทคนิคการสอน และประเมินผล การประยกุ ตใ์ ช้ Design Thinking สอน ภายใต้แนวคิด เศรษฐกิจหมนุ เวียน 1. บรรยาย การทำ� Pre-Test Presentation 30 นาที กอ่ นเรยี น เทียบ File กับการท�ำ Post- Test หลงั เรยี น 30 นาที 2. ยกตวั อยา่ งจริง VDO Clips จากภาคธุรกิจ 3. จดั Mini-Work- การให้คะแนนการ Presentation shop ใหน้ กั ศกึ ษา ท�ำกล่มุ File 60 นาที เลอื กเรื่องทส่ี นใจ Mini-Workshop มาประยุกตใ์ ชก้ ับ เรื่องเศรษฐกิจ หมุนเวียน กจิ กรรม ใหน้ กั ศกึ ษาแบง่ ออกเปน็ กลมุ่ 3 กลมุ่ เพอ่ื ทำ� การกำ� หนดหวั ขอ้ ของปญั หาทสี่ นใจทเ่ี กยี่ วกบั เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นในการใชก้ ระบวนการ Design Thinking เพอ่ื หาทางแกป้ ญั หานน้ั แลว้ ใหน้ กั ศกึ ษา ทดลองไปทำ� ขั้นตอน Empathize, Identify, Ideate และน�ำเสนอผลงาน เป็น Presentation แสดงใหเ้ หน็ ผลของสิ่งที่ ไดท้ ำ� มา โดยมา Present เปน็ กลุ่ม ใชเ้ วลากลุม่ ละ 10 นาทรี วมการถาม-ตอบ เมื่อทุกท่านเขียนแต่ละโมดูลของตนเองมาแล้วแต่ละโมดูล จะมาสรุปเป็นตารางดังกล่าวนี้เพื่อให้ เหน็ ภาพรวมของรายวิชาทั้งหมด 153

ชื่อบท/ จำ� นวนชมท่ีใช้ CLO วิธีการจัดการ การวัดผลและ สอ่ื ท่ใี ช้ หรือช่อื โมดูล สอน เรียนการสอน ประเมินผล 30 นาที CLO ที่ 1 บรรยาย กอ่ นเรยี น ใหท้ ำ� Presentation การประยุกตใ์ ช้ บรรยายพรอ้ ม Pre-Test กอ่ น file Design VDO Clip(s) Thinking 30 นาที CLO ท่ี 2 Mini Presentation 60 นาที CLO ที่ 3 Workshop ภายใตแ้ นวคดิ file + VDOs เศรษฐกิจ หมนุ เวียน หลงั จาก Presentation Mini- file Workshop ให้ ท�ำ Post-Test เนื้อหาการบรรยาย วิชา การคดิ เชงิ ออกแบบสำ� หรับเศรษฐกจิ หมุนเวยี น (Design Thinking for Circular Business) เปน็ การอธิบายใหน้ กั ศึกษา ไดเ้ ข้าใจพืน้ ฐาน และองค์ประกอบ ของกระบวนการคิดเชงิ ออกแบบ เบ้ืองต้น เพอ่ื ทจี่ ะเชอ่ื มโยงกบั แนวทางทภี่ าคธรุ กจิ เลอื กนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นทางปฏบิ ตั ิ รวมทงั้ ยกตวั อยา่ งในชวี ติ จรงิ ใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ ความรสู้ กึ อยากทจี่ ะเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ และอยากใชศ้ กั ยภาพของวชิ าชพี ทตี่ นเองเรยี น มาสรา้ ง โอกาสใหก้ บั ธรุ กิจหมนุ เวียน (Circular Business) ในอนาคต ในอดีต เมอ่ื องคก์ รใดตอ้ งการทจ่ี ะสร้างนวัตกรรมไมว่ า่ จะเปน็ การออกแบบสินคา้ หรอื บรกิ ารใดๆ เราจะนกึ ถงึ การทจ่ี ะตอ้ งมบี คุ คลพเิ ศษ ทม่ี แี นวคดิ แตกตา่ งกบั บคุ คลทว่ั ไป และมคี วามเกง่ กาจทหี่ าคนเทยี บ ดว้ ยไดย้ าก เปน็ ผูค้ ดิ ค้นนวตั กรรมใหมๆ่ ขน้ึ ในปัจจุบัน มีผู้ศึกษาถึงระบบความคิดของบุคคลเหล่าน้ันแล้วรวบรวมกระบวนการคิดท่ีสามารถ ให้กลุ่มบุคคลไดๆก็ตามที่ต้องการสร้างนวัตกรรม ใช้วิธีการเหล่าน้ีเป็นแนวทางการกระตุ้นให้บุคคลเหล่า น้ันสามารถสรา้ งนวตั กรรมได้ โดยมุง่ เนน้ ใหค้ ดิ ถึงความตอ้ งการทแี่ ทจ้ รงิ ของลกู ค้า, หาแนวทางแก้ปัญหา ท่ลี ะเอียดและตอบโจทย์ และสง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มของพนักงานในองคก์ ร ใหเ้ กิดความรู้สึกมีคุณค่า ช่วย กันผลักดนั สิ่งใหมๆ่ ใหอ้ งค์กรประสบความส�ำเรจ็ เมื่อกล่าวถึงการสร้างนวัตกรรม อาจมีคนเข้าใจว่า เร่ิมต้นจากการมีผู้คิดค้นบางส่ิงท่ีไม่เคยมี ให้ เกิดขน้ึ มากอ่ น ถ้าเปน็ เร่อื งท่ีดีจรงิ กจ็ ะมีคนยอมรับ และใช้นวตั กรรมเหลา่ นน้ั อย่างแพรห่ ลาย ซ่ึงวธิ กี ารน้ี กต็ อ้ งเสย่ี งกบั การทอ่ี าจไมม่ คี นยอมรบั และไมไ่ ดถ้ กู ใชง้ านแพรห่ ลายทงั้ ๆทเี่ ปน็ นวตั กรรมทเ่ี กดิ จากความคดิ ท่ีเย่ียมยอด แต่ไมไ่ ดต้ อบโจทยข์ องผใู้ ช้งานในเวลาน้นั มผี ลให้ความคดิ ท่ีเยยี่ มยอดน้ันสญู เปล่าไป 154

กระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ (Design Thinking) จงึ มงุ่ เนน้ ใหผ้ สู้ รา้ งนวตั กรรม ตงั้ เปา้ ไปทก่ี ารสรา้ ง นวตั กรรมท่เี นน้ การตอบสนองความต้องการของผ้ใู ชเ้ ปน็ หลัก ไม่ยึดตดิ กับความรู้สึกสว่ นตัวของนวตั กร ที่ ตอ้ งการสรา้ งนวัตกรรมเพื่อสร้างความโดดเด่นให้กับตวั เองเปน็ หลกั ท�ำใหก้ ารใช้กระบวนการนี้ เปน็ เรื่อง ของการสรา้ งโอกาสใหล้ กู คา้ ทไี่ ดส้ ัมผัสกับนวตั กรรมทสี่ รา้ งขนึ้ ร้สู ึกชอบและปล้มื ท่จี ะใชส้ ินค้าหรอื บริการ ทไ่ี ด้รับ องคป์ ระกอบของกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ มอี ยู่ 5 ข้ันตอน ทค่ี รอบคลุมการสร้างแรงบันดาล ใจ, กระตุ้นใหเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรคใ์ หมๆ่ และกลไกการลงมอื ปฏบิ ัติ ใหเ้ กิดนวัตกรรมท่ใี ชง้ านไดจ้ รงิ จดุ เรมิ่ ตน้ ทสี่ ำ� คญั คอื ขน้ั ตอน Empathize เปน็ การเขา้ ถงึ ความตอ้ งการของลกู คา้ รบั รถู้ งึ พฤตกิ รรม ของลูกคา้ เข้าใจปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ของลกู ค้า จากน้ันก็จะเข้าสู่ขั้นตอน Define เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากข้ันตอนแรก มาแปลผลให้เกิด การกำ� หนดสง่ิ ที่ลูกคา้ ตอ้ งการที่ชัดเจน และเฉพาะเจาะจง หลงั จากนน้ั จะทำ� ขน้ั ตอน Ideate คอื ระดมสมองจากผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ ง มาหาทางเลอื กในการแกป้ ญั หา แล้วท�ำการล�ำดบั และเลือกวา่ ทางเลือกใดสามารถแกป้ ัญหาได้อย่างตรงประเดน็ และสรา้ งสรรค์ ข้นั ตอนน้ี ควรมตี วั แทนของผใู้ ชง้ านหรอื ลกู คา้ มสี ว่ นรว่ มใหค้ วามเหน็ ดว้ ย เพอ่ื ใหม้ นั่ ใจวา่ สง่ิ ทเี่ ลอื กนน้ั เปน็ สงิ่ ทล่ี กู คา้ ตอ้ งการจริงๆ 155

เมื่อหาทางเลอื กไดแ้ ลว้ ก็จะเขา้ ขน้ั ตอน Prototype คือการสรา้ งตน้ แบบจากความคดิ ทีไ่ ดน้ น้ั ให้ เปน็ ตน้ แบบท่ีทำ� งานได้ เพื่อประเมินวา่ ต้นแบบท่ไี ด้ สามารถทำ� งานได้ตามที่ออกแบบ และจะมตี น้ ทุนใน การผลิตจริงประมาณเท่าใด ขน้ั ตอนถดั ไป Test จะเปน็ การนำ� ตน้ แบบทไี่ ด้ ไปใหล้ กู คา้ ทดลองใช้ และรบั ผลตอบรบั ถงึ ปญั หาและความพงึ พอใจ เพอื่ นำ� ขอ้ มลู เหลา่ นนั้ มาปรบั ปรงุ ตน้ แบบชดุ ใหม่ หรอื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู การออกแบบสำ� หรบั ผลติ จรงิ ตอ่ ไป เพือ่ ให้เกดิ การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง หลงั จากที่ไดท้ ดสอบกับลกู คา้ แล้ว อาจต้องกลับไปในขนั้ ตอน Empathize เริ่มต้นเข้าถึงลูกค้า ในกรณีท่ีพบว่า Prototype ไม่ตอบโจทย์เนื่องจากสถานการณ์ความ ต้องการของลูกค้าเปล่ียนไป หรือในกรณีท่ีต้องการขยายลูกค้ากลุ่มเป้าหมายใหม่ ซ่ึงอาจมีความต้องการ ตา่ งจากกลมุ่ เปา้ หมายเดิม แล้วก็ดำ� เนินขน้ั ตอนเปน็ วฏั จักรใหม่ตอ่ ไป 156

ระหว่างการออกแบบผลิตภัณฑ์ หรอื บรกิ าร ควรคำ� นงึ ถงึ ลกั ษณะของผลติ ภัณฑท์ ่ีมคี ุณประโยชน์ 5 ประการนี้ เพอ่ื ใหม้ ่นั ใจวา่ ผลงานท่ีไดม้ ีคณุ ประโยชนท์ ล่ี ูกค้าหรอื ผใู้ ชง้ านได้รบั ครบทุกมติ ิ ท้ังการใชง้ าน และการใช้สอย อันเป็นพ้ืนฐานที่ลูกค้า ใช้เป็นเกณฑ์ในการเปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ และบริการต่างๆ ทีม่ ีอยใู่ นตลาด 157

เพอื่ ใหผ้ ลงานทเ่ี ปน็ ผลติ ภณั ฑ์ หรอื บรกิ าร เกดิ ความโดดเดน่ จนประสบความสำ� เรจ็ อยา่ งสงู นนั้ ควร คำ� นงึ ถงึ ปจั จยั ตา่ งๆทจี่ ะสง่ ผลตอ่ ประสบการณข์ องผใู้ ชง้ านดงั ทแี่ สดงใน Slide น้ี ซง่ึ นยั ยะสำ� คญั ของแตล่ ะ ปจั จยั ตา่ งๆ นอกจากจะตอบสนองความตอ้ งการและประสบการณก์ ารใช้งานแล้ว ยังมเี ร่ืองของการที่ผู้อยู่ ใกลช้ ดิ รอบขา้ ง หรือผูอ้ ่นื ท่ีไดป้ ฏสิ ัมพันธก์ ับผู้ใช้งาน สามารถเกดิ การรบั รไู้ ด้ว่า ผลิตภณั ฑ์ หรอื บรกิ ารนนั้ น่าใช้งานและอยากทจี่ ะมีประสบการณ์ร่วม ในการใช้ผลติ ภณั ฑ์ หรือบรกิ ารน้นั ด้วย ปัจจยั เหล่าน้ี จะสรา้ งความแตกตา่ งระหว่างผลงานท่มี อี ย่ทู วั่ ๆไป กับผลงานที่ประสบความสำ� เรจ็ สงู เพราะลกู คา้ จะมคี วามรสู้ กึ วา่ เงนิ ทจ่ี า่ ยไปนนั้ คมุ้ คา่ มากเมอ่ื แลกกบั การมโี อกาสไดใ้ ชง้ านผลติ ภณั ฑห์ รอื บรกิ ารนน้ั เมื่อเราตอ้ งการประยุกต์ใช้ Design Thinking กับเรือ่ งของธุรกิจหมุนเวียน จะมีแนวทางเพิม่ เติมท่ี จะเออื้ อำ� นวย ใหผ้ ลของการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรกิ ารน้นั สนับสนุนกระบวนการธรุ กจิ หมนุ เวยี น ไม่ วา่ จะเปน็ ดา้ นการออกแบบวสั ดุ หรอื ดา้ นการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ตามรายละเอยี ดของตวั อยา่ งสำ� หรบั การ ออกแบบผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ ใน slide นี้ เพอ่ื ใหม้ กี ารลดการใชว้ ตั ถดุ บิ และทรพั ยากรการผลติ , สง่ เสรมิ การ คัดแยกหลังการใช้งานให้ท�ำได้ง่ายและสามารถน�ำวัสดุกลับมาใช้ประโยชน์ได้มากข้ึน รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ ย่อยสลายให้เหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพ 158

แนวโน้มของการออกแบบผลิตภัณฑ์ในปัจจุบันและอนาคต จะมุ่งเน้นการใช้ Circular Design สนับสนุนให้เกิด Circular Business โดยเลือกวิธีการต่างๆท่ีสอดคล้องกับความสามารถขององค์กรและ พันธมิตรทางธุรกิจท่ีเข้าถึงได้ ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของการลดการใช้วัสดุใหม่ เพิ่มการใช้วัสดุ หมนุ เวยี น หรือมบี ริการยดื อายุการใชง้ านของผลติ ภัณฑ์ เปน็ ตน้ ตัวอย่างของการท�ำรองเท้าจากผืนหนังโดยไม่ต้องทิ้งเศษวัสดุ ด้วยการน�ำเศษวัสดุที่เหลือจากการ ตัดแบบ มาบดและขึ้นรูปเป็นส่วนล่างของรองเท้า เป็นการใช้วัสดุอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด คือไม่เหลือ เศษวสั ดุทีต่ ้องทิง้ ออกสูภ่ ายนอกเลย 159

ตวั อยา่ งผลงานเกา้ อพี้ ลาสตกิ ทที่ ำ� จากวสั ดใุ ชแ้ ลว้ ไมม่ สี ารเคมที เ่ี ปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ ทนทาน และ ถอดซ่อมไดง้ า่ ย ตัวอย่าง กล่องขนสง่ ขวดไวน์ ท่ที ำ� จากเหด็ ซ่ึงวัสดุยอ่ ยสลายได้ ตวั อยา่ ง การออกแบบชอ้ นและสอ้ ม ทที่ ำ� จากวสั ดชุ นดิ เดยี วและเปน็ ชนิ้ เดยี วกนั ไมต่ อ้ งใชข้ องหลาย ชน้ิ ท�ำให้ลดการใชว้ ัสดุ และน�ำกลับมาใชใ้ หมไ่ ด้งา่ ย ตัวอย่างของ Food Packaging น้ี ท�ำจากวสั ดุยอ่ ยสลายได้ ช่วยใหก้ ารกำ� จดั ท�ำได้ดว้ ยการย่อย สลาย แตก่ ต็ อ้ งระมดั ระวงั ไมท่ ง้ิ วสั ดยุ อ่ ยสลายนี้ ไปปะปนกบั วสั ดพุ ลาสตกิ ทส่ี ามารถนำ� ไปรไี ซเคลิ ได้ เพราะ จะทำ� ใหก้ ระบวนการรไี ซเคลิ วสั ดพุ ลาสตกิ เกดิ ความเสยี หาย ดงั นนั้ การเลอื กใชว้ สั ดยุ อ่ ยสลายน้ี จำ� เปน็ ตอ้ ง มวี นิ ัยของผูใ้ ช้งานรว่ มกับระบบการคัดแยกและจดั เก็บที่แข็งแกร่งเพยี งพอ เพ่ือไมใ่ หเ้ กดิ ความเสยี หายกบั ระบบหลักของการรีไซเคลิ พลาสติกโดยรวม 160

From Reef to Sunglass & Chairs Recycle Fish net http://www.remakehub.coremakeocean ตัวอย่างน้ี เป็นการน�ำขยะในทะเลที่เป็นตาข่ายจับปลาท่ีสูญหายอยู่ใต้ทะเล ซึ่งมีปริมาณมาก โดยมีกลุ่มธุรกิจหน่ึงมองเห็นโอกาส ได้หาทางรวบรวมตาข่ายจับปลาท่ีอยู่ใต้ทะเล รวมท้ังตาข่ายที่ถูกใช้ งานแล้วก่อนจะถูกน�ำไปท้ิงจากชาวประมง มาท�ำการแปรสภาพด้วยกระบวนการทางอุตสาหกรรม เพื่อ เปลยี่ นตาขา่ ยทีห่ มดสภาพเหล่าน้ี ให้กลายเป็นวัตถุดบิ คณุ ภาพสงู ส�ำหรับใชท้ ำ� กรอบแวน่ ตาแฟชนั่ , เกา้ อ้ี เฟอรน์ เิ จอร์พลาสติก, ฯลฯ เปน็ ตน้ ตัวอย่างการประยุกตใ์ ช้งาน Design Thinking ในธรุ กิจ (มีวีดโิ อประกอบ) DoNotPay (ไม่ตอ้ งจา่ ย) ทนายความ AI Browder คนใบสง่ั ถงึ 30 ใบ เมอื่ ตอนอายุ 18 ปี เคา้ คดิ วา่ รฐั บาลไมไ่ ดแ้ คต่ อ้ งการลงโทษประชาชน แต่มองวา่ นี่คอื แหลง่ ทำ� เงนิ ช้นั ดี คนทไ่ี ม่อยากเสยี คา่ ปรบั ก็ตอ้ งท�ำการอุทธรณเ์ ข้ามา แต่คนส่วนใหญ่กไ็ มม่ ี เงินพอจะจ้างทนายหรือไม่อยากเสยี เวลาศกึ ษาขอ้ กฎหมาย Browder มองว่าคนเหล่านีม้ ากกว่า 80% ไม่ สามารถเข้าถึงความชว่ ยเหลือทางกฎหมายได้ “เขาจึงคดิ ว่า ต้องท�ำอะไรสกั อยา่ ง เพือ่ แกป้ ัญหานี้” นาย Joshua Browder อายุ 24 @2018 ผู้ก่อต้ังบริษัทสตาร์ทอัพ DoNotPay \"The First Ro- bot Lawyer\" (ทนายความ ห่นุ ยนต์ตวั แรก) 161

A piece(s) of paper “กระดาษหอ่ ของขวัญมอี ายุการใช้งานสนั้ มาก ใครเห็นดว้ ย ยกมือขึน้ !” “กระดาษห่อของขวัญมีอายุการใช้งานสั้นมาก ใครเหน็ ด้วย ยกมอื ขึน้ !”แต่จะดกี วา่ หรอื ไม่ถา้ ในเทศกาล แห่งการมอบของขวัญที่ก�ำลังจะมาถึง เราใช้กระดาษ ห่อของขวัญทใ่ี ช้ไดม้ ากกวา่ หน่ึงครั้ง และเป็นได้มากกวา่ กระดาษหน่ึงแผ่น จากผู้ผลิตคิดเยอะอย่าง A piece(s) of paper สตูดิโอออกแบบกระดาษห่อของขวัญ ท่ี พยายามเพิ่มฟังก์ช่ันการใช้งานให้ได้นานและคุ้มค่า และอยากชวนทุกคนมาร่วมเป็นส่วนหน่ึงของการใช้ ทรพั ยากรให้ค้มุ คา่ ไปดว้ ยกัน กระดาษหนึง่ แผน่ ไมไ่ ดม้ ีค่าเทา่ กบั หนงึ่ แตม่ คี า่ มากกวา่ นั้น อยู่ท่ีเราจะใชซ้ ้�ำหรอื ไม่ ธนเวทย์ สิรวิ ัฒนธ์ นกลุ รัดนิน สพุ ฤฒพิ านิชย์ La Rocca Studio “ถงุ ผา้ ในมอื หรือท่ีเกบ็ ไว้ในตู้ สามารถเปลย่ี นเปน็ เส้ือเทๆ่ ได้นะ” ไอเดียมันๆ ท่ีสร้างมูลค่าเพ่ิมจากการมองเห็น คุณค่าของถุงผ้าไม่ใช้แล้ว โดย รุ่งโรจน์ จันทร์กระจ่าง เจ้าของร้านเส้ือผ้า La Rocca Studio ท่ีชุบชีวิตใหม่ ให้ถุงผ้ากลายเปน็ เส้ือเทๆ่ ทมี่ ีเพยี งแค่ตัวเดียวแบบเดยี ว เทา่ นน้ั ในโลก ถา้ พรอ้ มจะเทไ่ ปกบั การเกบ็ ถงุ ผา้ ใบเกา่ มา เลา่ ใหม่ตามหลักเศรษฐกิจหมนุ เวยี น เราใชว้ ัตถดุ ิบท่ไี ม่ใชแ้ ลว้ ทไี่ มม่ ีคณุ คา่ แล้ว กลบั มาท�ำให้มีคณุ คา่ อกี ครั้งหนึ่ง ร่งุ โรจน์ จนั ทรก์ ระจ่าง 162

Cheww.co “ยาสีฟนั และของใชใ้ นห้องน้�ำ โดยยดึ สิง่ แวดลอ้ มเป็นศนู ย์กลาง” “วันหนึ่งเราจะไม่สามารถออกแบบอะไรได้เลย ถ้าเราไม่เหลือ Materials ไม่เหลือ Resources จาก ธรรมชาติให้เราผลิต” ปัจจุบันขยะจากหลอดยาสีฟัน ในครวั เรือนมมี ากถึง 1.5 ลา้ นลา้ นช้ินตอ่ ปี Cheww.co แบรนดย์ าสฟี นั เมด็ แบรนดแ์ รกของไทย โดย เกวลนิ ศกั ด์ิ สยามกุล จงึ นำ� แนวคดิ Circular Thinking ทต่ี ้ังใจผลิต ยาสฟี ันและของใชใ้ นห้องนำ้� โดยยดึ สง่ิ แวดลอ้ มเป็นศูนย์กลาง (Ecocentric Toiletries) เกวลนิ ศกั ดส์ิ ยามกลุ วันหน่ึงเราจะไม่สามารถออกแบบอะไรไดเ้ ลย ถา้ เราไมเ่ หลอื Material ไม่เหลือ Resources จากธรรมชาติ ให้เราผลติ ซนั ไลต์ “ปฏวิ ัติพลาสติก ปี 2565 พลาสตกิ ทสี่ ามารถรไี ซเคิลได้ 100%” ตัวอย่างน้ี เป็นแนวทางการ “ปฏิวัติ พลาสติก” ของซันไลต์ ได้ถกู วางไว้อยา่ งเป็นระบบ เร่ิมตั้งแต่สิงหาคม 2560 เปิดตัวบรรจุภัณฑ์ขวด ดไี ซนใ์ หม่ เปลยี่ นขวดพลาสตกิ HDPE จากขวดกลม ทบึ สเี หลอื งทใี่ ชม้ าอยา่ งยาวนาน เปน็ ขวด PET ขวด พลาสติกใสคุณภาพสูง ท่ีสามารถมองเห็นสีและ ปรมิ าณน้ำ� ยาลา้ งจานในขวดได้ชัดเจน พร้อมดีไซน์พิเศษรูปกลีบมะนาวเพ่ือการหยิบจบั กระชับมือ อีกทั้ง ส่งผลใหล้ ดใชพ้ ลาสติกไดถ้ ึง 274 ตนั ตอ่ ปี เทยี บเทา่ กับขวดซันไลตข์ นาด 150 มล. จ�ำนวน 26 ลา้ นขวด มกราคม 2562 เปลย่ี นวัสดทุ ่ใี ช้ทำ� ขวดบรรจภุ ัณฑ์ จากพลาสติกผลิตใหม่ (Virgin Plastic) มาเป็น พลาสตกิ รีไซเคิล 100% (Post-Consumer Recycled – PCR) เพือ่ ลดการใช้พลาสตกิ ทใ่ี ชค้ ร้งั เดยี วทิง้ (Single Use Plastic) ซง่ึ นอกจากจะชว่ ยลดการใช้พลาสตกิ คร้ังเดียวทิ้งได้ถึง 277 ตนั ตอ่ ปี ยงั ช่วยลดก๊าซ ท่ีท�ำให้เกดิ ภาวะเรือนกระจกไดถ้ ึง 56% 163

โดยเปา้ หมายภายในสน้ิ ปี 2563 จะเปลย่ี นวสั ดทุ ใ่ี ชท้ ำ� บรรจภุ ณั ฑแ์ กลลอน จากขวดพลาสตกิ HDPE เปน็ พลาสตกิ รไี ซเคลิ 100% และปี 2565 จะเปลยี่ นวสั ดทุ ใี่ ชท้ ำ� บรรจภุ ณั ฑถ์ งุ เตมิ ใหเ้ ปน็ พลาสตกิ ทส่ี ามารถ รีไซเคลิ ได้ 100% ซึง่ เปน็ มิตรตอ่ สงิ่ แวดล้อม Coca-Cola “Can now be recycled into the high quality plastic” The marine plastic bottle has been deve lopedto show the transformationalpotentialof revolutionary ‘enhanced recycling’ tech- nologies, which can recycle previously used plastics of any quality back to the high-qual- ity needed for food or drinks packaging. The sample bottle is the result of a part- nership between loniqa Technologies, Indorama Ventures, Mares Circulares (Circular Seas) and The Coca-Cola Company. Although enhanced recycling is still in its infancy, the partners produced the sample marine plastic bottle as a proof of concept for what the technology may achieve in time. 164

Wangwa Community PPP Plastics Rayong Model ชุมชนบ้านเอ้ืออาทรระยอง (วังหว้า) เป็นชุมชนต้นแบบแนวราบของการเคหะแห่ง ชาติที่ถือว่ามีมาตรฐานสูง มีผู้น�ำชุมชนท่ีเก่ง เป็นคนรุ่นใหม่ไฟแรง คิดจริง ท�ำจริง สามารถ เปล่ียนขยะเป็นรายได้เสริมให้กับผู้อยู่อาศัยใน ชมุ ชน ดว้ ยการจดั ต้งั กลมุ่ ต่าง ๆ ในชมุ ชน เพ่ือ ใหท้ กุ คนไดม้ สี ว่ นร่วมในการท�ำกิจกรรม จนยก ระดบั เปน็ ชมุ ชนตน้ แบบดา้ นการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม และเปน็ ชมุ ชนเขม้ แขง็ ทส่ี ามารถบรหิ ารจดั การตวั เอง ไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม สายณั ห์ รงุ่ เรอื่ ง ผมเรม่ิ ตน้ โดยไปเคาะประตูทกุ ๆ บา้ น จนสุดท้ายก็มีคน 50 คนมารว่ มดว้ ยกัน ผมศกึ ษาวธิ ีการจัดการและวธิ ีคดั แยกขยะดว้ ยตัวเองก่อน แลว้ ถึงค่อยไปสอนอาสาสมคั ร โครงการนำ� ร่องเพื่อการทดสอบต้นแบบถนนพลาสตกิ รีไซเคลิ ณ เอสซีจี จังหวดั ระยอง การใชง้ านและประโยชน์ • ช่วยลดปริมาณขยะพลาสตกิ ได้ 80,000 ตันต่อปี (คดิ จากปรมิ าณการใชง้ านยางมะตอย 1 ลา้ นตนั ตอ่ ป)ี • ถนนมีความแข็งแรงเพมิ่ ข้นึ 15-33% • ช่วยต้านทานการกัดเซาะของน�้ำได้ดียง่ิ ขน้ึ • ใชพ้ ลาสติกทดแทนยางมะตอย 8% ลดการเกิดกา๊ ชเรอื นกระจก จากการผลิตยางมะตอย • ใชไ้ ด้ทั้งยางมะตอยปกตแิ ละยางมะตอยสตู รผสมยางพารา • ค่าใช้จา่ ยไม่เพ่ิมขน้ึ ใชพ้ ลาสตกิ ท่ีไมม่ ีมูลคา่ มเี พียงค่าจดั การบด ย่อยพลาสตกิ ตัวอย่างเหล่าน้ีเป็นบทเรียนซึ่งไม่ได้กล่าวถึงรายละเอียดของกระบวนการคิดเชิงออกแบบ แต่ เป็นการแสดงให้เห็นถึงแรงบันดาลใจ และความมุ่งม่ันของผู้ประกอบการ ที่จะผลักดันให้เกิดธุรกิจ หรือ การแกป้ ญั หาซง่ึ มพี น้ื ฐานจากกระบวนการคิดเชงิ ออกแบบทีไ่ ด้กล่าวมาในบทเรียนขา้ งต้นน้ี 165

ใบกจิ กรรม ผู้สอนสามารถเลอื กใชแ้ นวทางต่อไปนี้ ในการทำ� กจิ กรรมในชว่ ง Mini-Workshop 60 นาที โดย แบง่ เป็นการระดมสมอง 30 นาที และการน�ำเสนอผลงาน 30 นาที ตัวอยา่ งแบบฟอร์มใบงานกจิ กรรมออกแบบเชงิ ความคดิ (ใชไ้ ด้ทง้ั งานท่ี 1 และ 2) กลมุ่ ท_่ี ______________ ปัญหาเศรษฐกิจหมนุ เวียนเรือ่ ง 166

การประเมิน ผสู้ อนสามารถเลอื กใช้แนวทางต่อไปน้ีในการประเมินนกั ศกึ ษาไดต้ ามความเหมาะสม 167

เอกสารอ้างองิ Handbook of Design Thinking, Christian Muller-Roterberg November, 2018 Plastics Strategic Research and Innovation Agenda in a Circular Economy, SUSCHEM (European Technology Platform for Sustainable Chemistry) Internet Sources : Specified in Presentation file เศรษฐกจิ หมนุ เวียนทีท่ กุ คนควรร,ู้ TISTR เอกสารประกอบการอ่านเพ่มิ เติม The Design Thinking Toolbox : A Guide to Mastering the Most Popular and Valuable Innovation Methods, Michael Lewrick , Patrick Link, Larry Leifer คู่มือการคิดเชิงออกแบบ The Design Thinking Playbook, Michael Lewrick, Patrick Link, Larry Leifer ผแู้ ปล: วิญญู กง่ิ หริ ญั วฒั นา สไลดป์ ระกอบการบรรยาย โปรดดู Presentation File : Module-5 (2) Design Thinking Final.pptx (Font : TH SarabunPSK) หรอื Module-5 (2) Design Thinking Final.pdf (ส�ำหรบั ไฟลข์ นาดท่เี ลก็ ลง และไมม่ ปี ัญหาเรื่อง Font) 168

Module 6 (1): Circular Lifestyle วถิ ชี วี ติ ภายใตแ้ นวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ชอื่ บทหรือโมดลู วิถชี ีวติ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวยี น (Circular Lifestyle) ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ • สามารถปรับพฤติกรรมและปรับรูปแบบในการด�ำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับหลักการของเศรษฐกิจ หมนุ เวยี น • สามารถนำ� ความรทู้ ไี่ ดไ้ ปใชใ้ นการวเิ คราะหแ์ ละตดั สนิ ใจวางแผนเพอ่ื สรา้ งกจิ กรรมทางสงั คมไดถ้ กู ตอ้ ง ตามแนววถิ ชี วี ติ เศรษฐกจิ หมุนเวียน สาระส�ำคัญ • โลกในศตวรรษที่ 21 กับแนวคิดเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น (ใชเ้ วลาบรรยาย 10 นาที) • ประชาชนจะมสี ่วนร่วมกับเศรษฐกจิ หมุนเวียนได้อยา่ งไร (ใชเ้ วลาบรรยาย 10 นาท)ี • ตวั อย่างกจิ กรรมในชีวติ ประจำ� วนั ของประชาชน (ใชเ้ วลาบรรยายและวเิ คราะห์กิจกรรม 60 นาท)ี • วิถีชวี ติ ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมนุ เวยี น (ใช้เวลาบรรยายและวิเคราะหแ์ ละวางแผนสร้างกจิ กรรม 40 นาท)ี เนือ้ หาวชิ า 1. โลกในศตวรรษที่ 21 ตอ้ งคู่กบั แนวคิดเศรษฐกจิ หมนุ เวียน โลกในศตวรรษที่ 21 มีการปรบั เปลย่ี นอยา่ งรวดเร็วและรนุ แรง (Disruption) เดิมการผลิตสินค้า หนง่ึ ชนิ้ ถา้ คดิ แบบเสน้ ตรง (Linear Economy) ทตี่ ง้ั อยบู่ นพนื้ ฐานของ “การใชท้ รพั ยากร–ผลติ –ทง้ิ (Take- Make-Dispose) ซง่ึ ถ้าประชากรโลกมีเพยี ง 1 ล้านคนเร่ืองน้ีอาจจะยงั ไม่ใชเ่ รอื่ งเรง่ ดว่ น แตข่ ณะนโ้ี ลกเรา มปี ระชากรประมาณ 7,600 ลา้ นคนสง่ ผลใหค้ าดว่าในปี ค.ศ.2030 ความตอ้ งการใชท้ รพั ยากรของโลกจะ สงู ถงึ 3 เทา่ ของปรมิ าณทรพั ยากรทมี่ อี ยู่ สว่ นหนง่ึ เปน็ เพราะการเติบโตของภมู ภิ าคอาเซยี น ความตอ้ งการ บรโิ ภคจึงสูงขึ้นพอๆ กบั ความตอ้ งการผลิตสนิ คา้ เพอ่ื สรา้ งรายได้ ขณะทป่ี รมิ าณทรพั ยากรทลี่ ดลงจนเรยี ก ได้ว่าหายากมากขึน้ นอกจากเรอื่ งของทรัพยากรท่ีลดลงแลว้ และความต้องการใชท้ รพั ยากรท่สี งู ขึ้นยงั ก่อ ใหเ้ กดิ ขยะจำ� นวนมาก มกี ารพบวา่ คนไทย 1 คนจะสรา้ งขยะเฉลยี่ ถงึ วนั ละ 1.1 กโิ ลกรมั โดยมากกวา่ 60% 169

ล้วนแตเ่ ปน็ ขยะที่สามารถน�ำกลับไปใชเ้ ปน็ ทรพั ยากรใหมไ่ ด ้ ขณะที่ปัจจุบันสามารถนำ� ขยะกลับมาใชเ้ ปน็ ทรพั ยากรใหม่ไดเ้ พยี งแค่ 31% เท่าน้นั ส่งผลใหค้ นไทยเสียโอกาสในการนำ� ขยะกลับมาเปน็ ทรพั ยากรใหม่ เพอื่ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน ์ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นจะสามารถชว่ ยแกไ้ ขปญั หานไี้ ด้ เนอ่ื งจากเปน็ แนวคดิ ในการใช้ ทรพั ยากรเทา่ ทจ่ี ำ� เปน็ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ลดการเหลอื ทง้ิ ตง้ั แตก่ ารผลติ ไปจนถงึ สนิ คา้ หมดอายุ แต่ การจะท�ำใหแ้ นวคดิ ดงั กล่าวสมบูรณ์และยงั่ ยนื จำ� เป็นต้องอาศยั ความร่วมมอื จากทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็น องค์กรช้นั น�ำระดบั โลก ภาครฐั ภาคประชาสังคม ผปู้ ระกอบการ SME สตารท์ อพั ชมุ ชน รว่ มแลกเปลยี่ น มมุ มองและจดุ ประกายเพอ่ื ชว่ ยกนั ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นเพอื่ สรา้ งการเตบิ โตอยา่ งสมดลุ ของธรุ กจิ คณุ ภาพชวี ิตลกู คา้ และอนาคตโลกทย่ี ัง่ ยนื เนื่องจากขยะที่ก�ำจัดเท่าไหร่ก็ไม่มีวันหมดโลกจึงต้องน�ำแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)มาใช้นั่นคือเปลี่ยนจากข้นั ตอนทีต่ ้องไป Take ทรัพยากรธรรมชาต ิ ใหม้ าเป็น Re-Material ซง่ึ ทรพั ยากรก็เอามาจากตวั สินคา้ ทใ่ี ช้แล้วนั่นเอง จาการเรียนร้ใู นบทเรียนตน้ ๆ ของรายวชิ านี้ อาจสรปุ ไดว้ า่ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นหมายถงึ ระบบทว่ี างแผนและออกแบบมาเพอ่ื คนื สภาพหรอื ใหช้ วี ติ ใหมแ่ กว่ สั ดตุ า่ ง ๆ ในวงจรชวี ติ ผลติ ภณั ฑ์ แทนทจ่ี ะทงิ้ ไปเปน็ ขยะเมอื่ สนิ้ สดุ การบรโิ ภคโดยจะนำ� วสั ดทุ เี่ ปน็ องคป์ ระกอบของ ผลติ ภณั ฑ์เหลา่ น้ันกลับมาสร้างคุณค่าใหม่ หมุนเวยี นเป็นวงจรตอ่ เนื่องโดยไมม่ ีของเสียหรอื เกดิ ของเสยี ให้ น้อยทีส่ ุดเทา่ ทจ่ี ะสามารถท�ำได้ นอกจากน้ยี ังมงุ่ เน้นการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม สรา้ ง ความสมดุลในการดงึ ทรพั ยากรธรรมชาติมาใช้งานใหม่ ควบคูไ่ ปกับการสร้างระบบและการออกแบบที่มี ประสทิ ธภิ าพเพือ่ ลดผลกระทบภายนอกเชิงลบ เศรษฐกิจหมุนเวียนจะใช้พลังงานทดแทนหรือขจัดการใช้เคมีภัณฑ์ที่เป็นพิษซึ่งเป็นอุปสรรคของ การน�ำวัสดุต่าง ๆ มาใช้อีกครั้ง รวมไปถึงการออกแบบวัสดุ ผลิตภัณฑ์ ระบบ และโมเดลทางธุรกิจใน รูปแบบใหม่ที่ต้องต่างไปจากเดิมเพื่อท�ำให้เกิดนวัตกรรม ในขณะที่ Linear Economy หรือเศรษฐกิจ เส้นตรง จะมีการดึงทรัพยากรธรรมชาติออกมาใช้ในจ�ำนวนมหาศาลก่อนจะน�ำทรัพยากรเหล่าน้ันมาผ่าน กระบวนการผลิตขายให้ลูกค้าได้น�ำไปใช้งาน ซ่ึงเมื่อผลิตภัณฑ์หมดประโยชน์แล้วก็ทิ้งกลายเป็นขยะไป (เศรษฐกิจหมนุ เวยี นโอกาสใหม่ของธุรกจิ เพอ่ื ความย่งั ยืน, 2561) ทกุ ภาคสว่ นในสงั คมจงึ ตอ้ งรว่ มมอื ปฏวิ ตั โิ มเดลธรุ กจิ จากการขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ แบบเสน้ ตรงมาสู่ รปู แบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นทน่ี ำ� ทรพั ยากรใชแ้ ลว้ กลบั มาผลติ ใชใ้ หม ่ เพอ่ื แกว้ กิ ฤตการขาดแคลนทรพั ยากร ทกี่ ำ� ลงั เกดิ ขน้ึ เพอื่ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development) จะไดเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ งสมบรู ณใ์ นโลกแหง่ การเปล่ียนแปลงต่อไป 2. ประชาชนจะมีสว่ นรว่ มในเศรษฐกิจหมนุ เวียนไดอ้ ยา่ งไร 170

เน่อื งจากเศรษฐกิจหมุนเวยี นเป็นระบบเศรษฐกจิ ท่ีครอบคลมุ ทกุ ภาคส่วนของสงั คม ตง้ั แต่ต้นทาง อย่างกระบวนการผลิตสินค้า การจ�ำหน่ายจา่ ยแจกไปจนถงึ ปลายทางของผบู้ ริโภคและการจดั การของเสยี ท่ีเกิดข้ึน ดังน้ันประชาชนทุกคนจึงจ�ำเป็นจะต้องมีส่วนร่วมในการสร้างระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนครบท้ัง ระบบ เพ่ือนำ� ไปสูค่ วามย่งั ยนื และสงั คมให้มีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ี เร่ิมจากภาคการผลิตต้องค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมท่ีจะตามมาไม่ว่าจะเป็นของเสียจาก กระบวนการผลิตในการน�ำมาหมุนเวียนใช้ การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ท่ีสามารถน�ำกลับมาหมุนเวียนเป็น วัตถุดิบการผลิตใหม่ได้ ไปจนถึงความรับผิดชอบต่อผู้บริโภคในเร่ืองของบรรจุภัณฑ์และปริมาณท่ีสัมพันธ์ กบั ราคาสินคา้ ท่ีจ่ายไป บางคร้ังอาจมีข้อจ�ำกัดในเร่ืองของการลงทุนเทคโนโลยีที่จะเข้ามาช่วยในการปรับเปลี่ยนการผลิต เพื่อให้สามารถน�ำทรัพยากรที่ใช้ไปแล้วน�ำกลับมาผลิตซ้�ำแทนทรัพยากรใหม่ได้ รวมถึงกระบวนการผลิต ท่ีจะต้องสะอาด นอกจากน้ันยงั อาจส่งผลกระทบตอ่ ตลาดแรงงานที่จ�ำนวนผูใ้ ชแ้ รงงานอาจตอ้ งลดลงเพอื่ เป็นการลดตน้ ทุน (ฝา่ ยเศรษฐกจิ และศนู ย์ข้อมลู หอการคา้ ไทย, 2561) ขณะทภี่ าคธรุ กิจที่ทำ� หน้าที่กระจายสนิ คา้ ไปยงั ผ้บู รโิ ภค จะตอ้ งคำ� นึงถึงการรวบรวมบรรจุภณั ฑท์ ่ี สามารถน�ำกลับเข้าสู่กระบวนการผลิตใหม่กลับมาใช้ประโยชน์ให้มากท่ีสุด เช่น บรรจุภัณฑ์ท่ีท�ำจากวัสดุ ประเภทแก้ว กระดาษ โลหะ หรอื พลาสติก สามารถรวบรวมมาเปน็ วตั ถดุ ิบในการผลิตสนิ คา้ ใหมไ่ ด้ และ บรรจุภณั ฑ์บางชนดิ สามารถใชซ้ ำ้� ไดห้ ลายครัง้ เชน่ ขวดแก้วของน้าอัดลม สามารถใชซ้ ้�ำไดถ้ งึ 16-18 ครัง้ นบั วา่ เปน็ ตวั อยา่ งของภาคธรุ กจิ ทมี่ กั พบเหน็ มาตงั้ แตเ่ ดมิ ทา้ ยทส่ี ดุ คอื ปลายทางซงึ่ เปน็ สว่ นของผบู้ รโิ ภคที่ จำ� เปน็ ตอ้ งตระหนกั ถงึ ความรบั ผดิ ชอบในการพจิ ารณาเลอื กซอ้ื สนิ คา้ ทเี่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มหรอื สง่ ผลก ระทบต่อส่ิงแวดล้อมน้อยท่ีสุดด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภคเอง รวมถึงการเรียนรู้ถึงการคัด แยกขยะเพอื่ นำ� มาหมนุ เวยี นเขา้ สกู่ ระบวนการผลติ ใหม่ กจ็ ะเกดิ ประโยชนต์ อ่ ระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นได้ ครบวงจร (เศรษฐกิจหมนุ เวียน กรงุ เทพมหานครกบั ระบบเศรษฐกจิ เพอื่ ความยั่งยืน, 2561) จากขา้ งตน้ จะเหน็ ได้ว่าเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น นน้ั ไม่ใชเ่ ร่ืองใหม่แตเ่ ปน็ เรื่องท่ีหลายประเทศที่พัฒนา แล้วท่ัวโลกตา่ งให้ความสำ� คัญมาโดยตลอด โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในยุคท่ีโลกก�ำลังเขา้ สภู่ าวะโลกร้อน รวมถึง ทรพั ยากรทม่ี กี ก็ ำ� ลงั ลดลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และใกลจ้ ะหมดไป ดงั นนั้ ทางเดยี วทจ่ี ะสามารถชว่ ยใหท้ กุ ประเทศ สามารถอยรู่ อด มกี ารพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื นน้ั คงจะหนไี มพ่ น้ การนำ� เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นมาใชใ้ นการสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ควบคู่กบั การยกระดบั คุณภาพชวี ิตทีด่ ีบนพื้นฐานของการอย่รู ว่ มกับสง่ิ แวดล้อมอย่างสมดลุ อยา่ งไรกด็ แี มว้ า่ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นจะยงั ไมเ่ ปน็ ทแ่ี พรห่ ลายในไทยมากนกั แตใ่ นปจั จบุ นั ทง้ั ภาครฐั และภาค เอกชนตา่ งใหค้ วามสำ� คญั และพยายามนำ� แนวคดิ ดงั กลา่ วมาปรบั ใชเ้ พอื่ การพฒั นาและยกระดบั องคก์ ร ซง่ึ ประโยชนท์ ไ่ี ดน้ น้ั ไมเ่ พยี งแตจ่ ะชว่ ยสรา้ งมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ แตย่ งั นบั วา่ เปน็ อกี กลไกสำ� คญั ในการลดปญั หา 171

ขยะและผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ซ่ึงเป็นปญั หาใหญท่ ี่ทงั้ ไทยและต่างประเทศต่างต้องเผชญิ การทจี่ ะน�ำเศรษฐกิจหมนุ เวยี นมาปรับใชใ้ นประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสดุ นั้น จ�ำเปน็ อยา่ งยง่ิ ท่จี ะ ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกหน่วยในระบบเศรษฐกิจ โดยในช่วงแรกอาจเป็นการผลักดันและขับเคล่ือน โดยรฐั บาล ไม่ว่าจะเป็นการสรา้ งความตระหนกั รแู้ ละทศั นคติเชิงบวกแก่ประชาชน การให้แรงจูงใจ สทิ ธิ ประโยชน์ตา่ ง ๆ แกภ่ าคเอกชน รวมถงึ การพิจารณาข้อกฎหมาย ทีไ่ มเ่ อ้ือต่อเศรษฐกิจหมนุ เวยี น ขณะท่ี ภาคธรุ กจิ และผบู้ รโิ ภคจะตอ้ งตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั และใหค้ วามรว่ มมอื อยา่ งสดุ ความสามารถเชน่ เดยี วกนั เพือ่ ให้ประเทศไทยสามารถก้าวข้ามผา่ นเศรษฐกจิ แบบเดิมไปสโู่ อกาสทางการผลิตแบบใหม่ทจี่ ะก่อใหเ้ กิด ระบบเศรษฐกจิ ท่ีมีความยั่งยืนไปพร้อมกบั การทชี่ ว่ ยลดผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ ม นบั จากนไ้ี ปเศรษฐกจิ หมนุ เวยี นจงึ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งไกลตวั อกี ตอ่ ไป โดยทที่ กุ ภาคสว่ นจำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษาและ ปรับตัว เพอื่ เตรียมความพร้อมใหไ้ ทยก้าวสู่ระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวียนอย่างมปี ระสิทธิภาพตอ่ ไป ตวั อย่างกิจกรรมในชวี ิตประจ�ำวันของประชาชน จากขอ้ มูลท่ีบรษิ ทั เอ็นคิวเอ ที.เอ็น.(ไทยแลนด)์ ได้จดั ทำ� ตวั อยา่ งกจิ กรรมในชีวิตประจ�ำวนั ของ ประชาชนในการดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมซ่ึงสามารถน�ำไปปรับใช้เพ่ือเป็นแนวทางน�ำไปสู่วิถีชีวิตตามแนว เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นมีดังน้ี (ทีม่ า: https://www.facebook.com/artnqa/) ตวั อย่างท่ี 1 การใชผ้ า้ แทนกระดาษทชิ ชู เราใช้กระดาษทิชชู เช็ดมือ เช็ดหน้า ปลี ะหลายล้านฟุต ซึง่ หมายถงึ การโคน่ ตน้ ไมล้ งจำ� นวนมหาศาล จึงต้องช่วยกนั ลดการใช้กระดาษทิชชู ดว้ ยการวางผา้ เชด็ มอื ไวใ้ กลอ้ า่ งลา้ งมอื และใช้ผา้ เชด็ โต๊ะแทนการใช้กระดาษทิชชู ตวั อยา่ งท่ี 2 การใชถ้ ุงพลาสตกิ ซำ้� หลายๆ คร้งั เปน็ การประหยดั ถุงพลาสตกิ ได้ หากถงุ พลาสตกิ สกปรกกใ็ ห้ทำ� ความสะอาด แลว้ แขวนไว้ให้แหง้ เพื่อส่งกลับเขา้ โรงงานส�ำหรับผลิตใหม่ ตัวอยา่ งที่ 3 การแยกเศษกระดาษจากขยะอนื่ หลกี เล่ียงการทิ้งเศษกระดาษ ลงในถังเดยี วกบั ขยะ อน่ื ๆ เพราะจะทำ� ใหก้ ระดาษเปรอะเปอ้ื นไขมนั และเศษอาหาร จะทำ� ใหเ้ ศษกระดาษนน้ั นำ� ไปผลติ ใหมอ่ กี ไมไ่ ด้ ตวั อยา่ งที่ 4 พงึ ระลกึ เสมอวา่ มกี ระดาษทนี่ ำ� ไปรไี ซเคลิ ไมไ่ ด้ เชน่ กระดาษที่ เคลอื บดว้ ยขผี้ ง้ึ กระดาษ ทเ่ี ขา้ เลม่ ดว้ ยกรรมวธิ ี โทรศพั ท์ นติ ยสารตา่ งๆ ตลอดจนกระดาษทถ่ี กู เปรอะเปอ้ื นดว้ ยกาวชนดิ ทไ่ี มล่ ะลายนำ�้ ตัวอย่างท่ี 5 แก้ไขปญั หาขยะกระดาษจากแหล่งสรา้ งขยะ เราสามารถแก้ไขปญั หาขยะกระดาษ จากแหล่งสร้างขยะ กระดาษที่ส�ำคัญก็คือหนังสือพิมพ์ หน้าท่ีเป็นขยะกระดาษโดยผู้อ่านไม่ได้อ่าน ก็คือ หนา้ โฆษณาธุรกจิ ซงึ่ มีอยู่ฉบับละหลายๆ หน้าซง่ึ แม้วา่ เปน็ สง่ิ จำ� เป็นสำ� หรบั หนงั สอื พมิ พ์ แต่ควรค�ำนึงวา่ นน่ั คือการทำ� ลายกระดาษสะอาด และสร้างขยะกระดาษให้เกดิ ขนึ้ จ�ำนวน มหาศาลในแต่ละวัน 172

ตัวอย่างท่ี 6 เศษหญา้ มีประโยชน์ เศษหญ้าท่ถี กู ท้ิงอยู่บนสนามน้นั สามารถใหป้ ระโยชน์ต่อสนาม หญ้าได้มากเพราะในเศษหญ้านนั้ มีธาตุอาหารท่มี ีคณุ ค่าเทยี บเทา่ กับปยุ๋ ท่ใี ชใ้ สห่ ญา้ ทเี ดยี ว ตวั อย่างท่ี 7 วธิ ตี ัดก่งิ ไมว้ ธิ ีการตดั กงิ่ กา้ นของต้นไมไ้ มพ้ ุม่ ใบไม้ ควรตดั ใหเ้ ป็นเศษเล็กน้อยเพ่อื ชว่ ย ลดเศษขยะให้กับสวนไดแ้ ละยังชว่ ยให้เกิดการเน่าเปอ่ื ยขน้ึ กบั เศษใบไม้น้นั เร็วขน้ึ ดว้ ย ตัวอยา่ งที่ 8 ใชเ้ ศษหญา้ คลุมไม้ใหญ่ เศษหญา้ ที่ตัดจากสนามและสวนนน้ั สามารถน�ำไปคลุมต้นไม้ ใหญ่ได้ การใช้เศษหญา้ ปกคลมุ พชื ในสวนจะชว่ ยในการก�ำจัดวชั พืชได้เพราะเศษหญ้าได้ นอกจากนี้ เมลด็ ของวัชพชื ทรี่ ่วงหล่นก็ไมอ่ าจหย่งั รากทะลผุ ่านเศษใบไมไ้ ดด้ ว้ ย ตวั อยา่ งท่ี 9 ประโยชน์ของพลาสตกิ ช่วยถนอมอาหารพลาสตกิ ทกุ ชนดิ หากถกู ไฟไหม้จะกอ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ ทางอากาศท่เี ปน็ อนั ตรายได้ มีการรณรงค์ใหเ้ ลกิ ใชพ้ ลาสติก แตจ่ ริง ๆ แลว้ พลาสตกิ ยงั คงมี ความ จำ� เปน็ ต่อชีวิตประจำ� วนั โดยเฉพาะพลาสติกมปี ระโยชนใ์ นการถนอมอาหารให้สดอย่ไู ดเ้ ปน็ เวลานาน ๆ ตัวอย่างท่ี 10 พลาสติกรีไซเคิล ปจั จุบันมีบรษิ ัทกวา่ 200 แห่งในอุตสาหกรรมการผลิตพลาสตกิ ได้ ทำ� การรไี ซเคลิ พลาสตกิ จ�ำนวน 20% จากขวดเคร่อื งดมื่ พลาสติกท่ีท�ำจาก Poly-Ethylene- Terephtha- late หรือ PET จะถกู น�ำไปรไี ซเคิลเป็นด้ามเครือ่ งจับไฟฟา้ กระเบ้ืองปพู ้ืน เสน้ ใยสงั เคราะห์ในหมอน ถุง นอน หรอื ใช้บเุ สอ้ื แจ็คเก็ต ตัวอย่างที่ 11 พลาสติกรีไซเคิล ภาชนะพลาสติกที่ใส่น้�ำผลไม้และนมนั้นท�ำมาจากพลาสติกชนิด Polyethylene ทม่ี ีความเขม้ ข้นมากเม่ือใช้แลว้ ได้ถกู น�ำมารไี ซเคิลทำ� เปน็ ท่อพลาสติก กระถางต้นไม้ เก้าอี้ พลาสติก ตัวอย่างท่ี 12 วิธเี กบ็ ขวดแกว้ ท่ใี ช้แล้ว ขวดแกว้ ทุกชนดิ ทบ่ี รรจุของเมือ่ ใชแ้ ล้วควรท�ำความสะอาด และแยกชนิดของแกว้ และแยกสขี องแก้วดว้ ย ตวั อยา่ งที่ 13 วธิ ีเก็บกระป๋องอลมู ิเนยี มที่ใช้แล้วน�ำกระปอ๋ งอลูมเิ นียมทีใ่ ชแ้ ล้วมาบใ้ี ห้แบนกอ่ นท้งิ หรอื ขายแกค่ นรับซอ้ื เศษโลหะ ตวั อยา่ งท่ี 14 นำ้� สะอาดมาจากนำ้� ใตด้ นิ นำ�้ สะอาดทเ่ี ราใชป้ ระโยชนด์ ม่ื กนิ สว่ นใหญม่ าจากนำ้� ใตด้ นิ การทงิ้ ขยะบนพืน้ ผวิ ดินทำ� ให้มผี ลถงึ นำ�้ ใต้ดนิ เพราะนำ�้ ฝนจะชะความโสโครกซึมลงไปถึงชั้นน�ำ้ ใต้ดนิ ทำ� ให้ น�ำ้ ใต้ดินเนา่ เสียและเป็นพิษได้ ตวั อย่างท่ี 15 วิธลี ้างรถยนตล์ ้างรถยนตด์ ว้ ยฟองนำ�้ และใชถ้ ังนำ้� จะใชน้ ้�ำเพยี ง 15 แกลลอนแตถ่ า้ ลา้ งด้วยสายยางจะตอ้ งสูญเสยี น้ำ� ถึง 150 แกลลอน ตวั อยา่ งท่ี 16 ดแู ลรกั ษารถดว้ ยการเปลยี่ นนำ้� มนั เครอื่ ง การดแู ลรกั ษารถจะตอ้ งทำ� อยา่ ง สมำ�่ เสมอ ไดแ้ กก่ ารเปลย่ี นนำ�้ มนั เครอื่ งตามระยะเวลาทร่ี ะบไุ วใ้ นคมู่ อื และทกุ ครงั้ ทเี่ ปลย่ี นถา่ ยนำ�้ มนั เครอื่ ง ควรเปลยี่ น ไสก้ รองดว้ ย 173

ตวั อยา่ งที่ 17 การรักษารถดว้ ยการเปล่ยี นไสก้ รอง ไสก้ รองอากาศที่สกปรกจะทำ� ใหก้ ารไหลของ อากาศทส่ี ะอาดท�ำได้น้อยลงมผี ลตอ่ การเผาไหม้ของเคร่ืองยนต์ดว้ ย ตวั อยา่ งท่ี 18 การรกั ษารถชว่ ยลดมลพษิ การดแู ลรกั ษารถจะทำ� ใหร้ ถสามารถวง่ิ ไดเ้ พมิ่ ขน้ึ อกี 10% ของจำ� นวนไมล์ ซงึ่ เทา่ กบั สามารถลดราคาเชอ้ื เพลงิ ลงไดถ้ งึ 10% เชน่ กนั การลดการใชเ้ ชอื้ เพลงิ ลงกเ็ ทา่ กบั เปน็ การชว่ ยลดมลพษิ ทางอากาศใหก้ บั โลกได้ด้วย ตัวอยา่ งที่ 19 ยางรถยนตช์ ว่ ยประหยดั น้ำ� มนั การเติมลมยางรถใหพ้ อดีและขับรถตามข้อ ก�ำหนด ความเรว็ จะชว่ ยในการประหยดั น้�ำมันได้ ตัวอย่างท่ี 20 วิธีป้องกันการรั่วไหลของน�้ำมันเคร่ืองการป้องกันการรั่วไหลของน้�ำมันเคร่ืองจาก ตวั ถงั รถยนตส์ ามารถทำ� ไดด้ ว้ ยการปดิ สลกั เกลยี วในเครอื่ งยนตท์ กุ ตวั ใหแ้ นน่ โดยเฉพาะในสว่ นทซี่ งึ่ นำ�้ มนั เครือ่ งรัว่ ไหลออกไปได้ชว่ ยปอ้ งกันการรั่วไหลของนำ้� มันเพอื่ ลดมลพษิ ใหก้ บั อากาศของเรา ตัวอย่างที่ 21 ควรเปล่ียนน้�ำมันเครื่องเมื่อไหร่ ควรเปลี่ยนน้�ำมันเคร่ืองเมื่อขับรถได้ทุก ๆ ระยะ 3,000 - 4,000 ไมล์และควรเลอื กใชไ้ สก้ รองทด่ี ีทส่ี ุดด้วย ตัวอย่างที่ 22 การเพิม่ ออกซเิ จนในน�้ำมนั วิธกี ารหนง่ึ ทจี่ ะช่วยลดมลพิษให้กบั รถยนต์ก็คือการเพ่มิ สว่ นผสมของออกซเิ จนในนำ้� มนั ซงึ่ จะชว่ ยลดปรมิ าณการเกดิ กา๊ ซคารบ์ อนมอนอกไซตล์ งไดเ้ ปน็ จำ� นวนมาก ตัวอยา่ งที่ 23 อนั ตรายจากก๊าซเรดอน ก๊าซเรดอนเปน็ ก๊าซกมั มนั ตภาพรงั สมี กั พบแทรกอยใู่ นดนิ และหินมีคุณสมบัติท่ีสามารถซึมผ่านมาบนผิวดินและกระจายออกสู่อากาศได้ โดยผ่านทางรอยร้าวและ โพรงของคอนกรีตบล็อคตามทอ่ กา๊ ซเรดอนเป็นกา๊ ซทเี่ ปน็ อันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ ตวั อย่างท่ี 24 พษิ ของกา๊ ซเรดอน ต่อร่างกาย ก๊าซเรดอน เป็นอนั ตราย ตอ่ เน้อื เยื่อของปอด การ ได้รบั สาร กมั มันตภาพรังสี จากก๊าซเรดอนเป็น เวลานานกว่า 20 - 30 ปี จะท�ำใหเ้ กิดเปน็ มะเรง็ ที่ปอดได้ ตวั อยา่ งที่ 25 วธิ ปี อ้ งกนั อนั ตรายจากกา๊ ซเรดอน การปอ้ งกนั อนั ตรายจากกา๊ ซเรดอนทำ� ไดโ้ ดย การ ไมส่ ูบบหุ ร่ี ในบา้ นหรอื ในหอ้ งทีม่ อี ากาศถ่ายเทไดน้ อ้ ย เปิดหนา้ ต่างให้มีการถ่ายเทระหว่างอากาศภายใน บ้านกับอากาศนอกบา้ นทุกๆ วนั ตวั อยา่ งท่ี 26 ปลกู ต้นไมใ้ นหอ้ งชว่ ยลดมลพิษ การปลูกตน้ ไม้ในหอ้ งโดยปลูกไม้กระถางผสมถ่าน กบั ดนิ ถ่านจะเปน็ ตัวช่วยดูดซับสารมลพษิ และจลุ นิ ทรยี ภ์ ายในห้องได้ ตัวอย่างท่ี 27 พษิ ภัยของฝนุ่ ฝา้ ย ฝนุ่ ฝ้ายในโรงงานอตุ สาหกรรมเป็นต้นเหตุของการเกดิ โรคปอด อกั เสบโดยฝุน่ ฝา้ ยจะเขา้ ไปทำ� ให้เกดิ อาการแนน่ หน้าอกและหวั ใจ การป้องกันตนเองจากฝุน่ ฝา้ ยด้วยการ ใช้อปุ กรณป์ ้องกันในการหายใจจะดมี าก ตัวอยา่ งท่ี 28 วิธใี ชน้ ำ�้ ยาท�ำความสะอาดครวั เรอื น มสี ารเคมีมากกว่า 63 ชนิดทใ่ี ชเ้ ปน็ ส่วนผสม อยใู่ นนำ�้ ยาท�ำความสะอาดครวั เรอื น เชน่ น�ำ้ ยาถพู ืน้ น�ำ้ ยาขดั ห้องนำ้� โปรดอ่านคำ� แนะนำ� ในฉลากกอ่ นใช้ 174

ทุกคร้งั เพื่อป้องกนั ตัวเองใหพ้ น้ จากพิษภัยอันตราย ตวั อยา่ งที่ 29 เกา้ อพ้ี ลาสตกิ รไี ซเคลิ เกา้ อพ้ี ลาสตกิ สว่ นใหญผ่ ลติ ขน้ึ ใหมจ่ า พลาสตกิ ทใี่ ชแ้ ลว้ เชน่ เก้าอ้ีพลาสตกิ ทมี่ ีขนาดความยาว 6 ฟตุ นัน้ ทำ� มาจากถังพลาสติกทีใ่ ชบ้ รรจนุ มเปน็ จำ� นวนถงึ 1,050 ใบ ตวั อยา่ งท่ี 30 รกั ษาสงิ่ แวดล้อมเริม่ ต้นทใี่ กล้ตัว ในการอนุรักษส์ ่งิ แวดลอ้ มน้นั เราไมจ่ ำ� เป็นต้อง เดินทางไปจนถึงพ้ืนที่ป่าใหญ่เพ่ือปลูกป่าแต่เราสามารถเริ่มต้นอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมท่ีถูกท�ำลายได้ในพื้นท่ี ใกล้บา้ นเราเอง ตวั อยา่ งที่ 31 พชื ทอ้ งถน่ิ มคี วามสำ� คญั ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม พชื ดง้ั เดมิ ของทอ้ งถน่ิ มคี วามสำ� คญั ตอ่ ระบบ นเิ วศวทิ ยาและมคี วามเหมาะสมกบั สภาพอากาศและดนิ มากกวา่ พชื ทน่ี ำ� เขา้ มาจากทอี่ น่ื ๆ ดงั นนั้ เราจงึ ควร ต้องชว่ ยกันปอ้ งกนั และอนรุ ักษพ์ ชื ทอ้ งถนิ่ ไว้ไม่ใหส้ ญู พนั ธุ์ ตัวอยา่ งท่ี 32 รถยนตผ์ ลิตคาร์บอนมอนนอกไซด์ ทกุ ๆ ปรี ถยนตค์ ันหน่งึ ๆ จะผลติ กา๊ ซ คาร์บอน มอนนอกไซด์ออกมาสู่บรรยากาศโลกได้ในปริมาณทีม่ ีน�้ำหนกั เท่ากบั ตวั รถเอง ตวั อยา่ งที่ 33 นำ�้ มนั กา๊ ซโซลนี เผาไหมเ้ กดิ เปน็ คารบ์ อนไดออกไซด์ ทกุ ๆ แกลลอนของกา๊ ซโซลนี ใน รถยนตท์ ถี่ กู เผาไหมจ้ ะทำ� ใหเ้ กดิ กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดจ์ ำ� นวนถงึ 9,000 กรมั กระจายขนึ้ สชู่ นั้ บรรยากาศโลก ตัวอย่างท่ี 34 ปรากฏการณ์เรือนกระจก การเผาไหม้เชอ้ื เพลิงจากเช้ือเพลิงฟอสซิล เปน็ สาเหตุ ส�ำคัญท่ีท�ำให้เกิดภาวะปรากฏการณ์เรือนกระจก หากสามารถเปล่ียนไปใช้พลังงานจากแหล่งอ่ืน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ก็จะช่วยลดอณุ หภูมิความรอ้ นที่เกดิ ขึ้นกับโลกได้ ตวั อยา่ งที่ 35 ผลิตภณั ฑ์ที่ใช้พลงั งานแสงอาทิตย์ ผลติ ภัณฑท์ ่ใี ชพ้ ลังงานแสงอาทิตย์ ท่แี พรห่ ลาย มากทส่ี ดุ คอื เครอื่ งคดิ เลขทใ่ี ชพ้ ลงั งานแสงอาทติ ย์ ซง่ึ ในแตล่ ะปผี ลติ ออกจำ� หนา่ ยถงึ กวา่ 2,000,000 เครอ่ื ง ตัวอยา่ งท่ี 36 การลดการใช้สำ� คญั กว่าการผลิตใช้ใหม่ การนำ� ของที่ใชแ้ ล้วมาผลติ ใช้ใหมอ่ าจไมใ่ ช่ การแก้ปญั หาทส่ี ำ� คัญเพราะความส�ำคญั ไม่ได้อยู่ที วธิ ีการน�ำพลาสตกิ ท่ีใชแ้ ลว้ กลบั มาผลิตใช้ใหม่ไดอ้ กี แต่ ส�ำคัญตรงทเี่ ราควรจะหาวิธลี ดการใช้พลาสตกิ ใหน้ อ้ ยลงตา่ งหาก ตวั อยา่ งท่ี 37 ผกั ปลอดสารพษิ เมอ่ื ใดกต็ ามทไ่ี ดล้ งมอื ทำ� สวนครวั ดว้ ยตนเองเมอ่ื นนั้ เราจงึ จะเชอื่ มั่ ได้อยา่ งแนน่ อนวา่ เราก�ำลังมโี อกาสไดก้ ินพืชผกั ท่ีปลอดจากยาฆา่ แมลงแล้วจริง ๆ ตวั อย่างที่ 38 สวนสาธารณะของเมอื ง สวนสาธารณะนอกจากจะชว่ ยรักษาพื้นท่ีสเี ขยี วแลว้ ยงั ท�ำให้มีพื้นที่โล่งว่างขึ้นในท่ามกลางตึกอาคารส่ิงก่อสร้างที่เติบโต อย่างแออัดในเมืองใหญ่สวนสาธารณะ ไมเ่ พยี งจะช่วยใหอ้ ากาศบรสิ ทุ ธ์ิแต่ยงั เปน็ สัญลกั ษณ์จากธรรมชาติใหผ้ ู้คนได้ตระหนักวา่ เมอื งมใิ ชเ่ ปน็ ที่ต้งั ของถนน อาคารระฟา้ และรถยนตเ์ ท่าน้ัน แตค่ วรจะเป็นทอ่ี ยขู่ องธรรมชาตดิ ้วย ตัวอย่างที่ 39 ดื่มน้�ำสะอาดให้หมดแก้ว ดื่มน�้ำสะอาดให้หมดแก้วทุกคร้ังอย่าเหลือทิ้งเพราะน�้ำ สะอาดมีเหลืออยูน่ อ้ ยในโลกน้ีและกระบวนการทำ� นำ�้ ให้สะอาดกต็ อ้ งเพมิ่ ค่าใชจ้ า่ ย 175

ตวั อยา่ งท่ี 40 สมนุ ไพรแกก้ ลน่ิ อบั ในหอ้ งทม่ี กี ลน่ิ อบั ใหใ้ ชส้ มนุ ไพรแหง้ หรอื เครอ่ื งหอมจาก ดอกไม้ แหง้ หอ่ ดว้ ยเศษผ้าโปรง่ บาง แขวนไว้ในหอ้ งทมี่ ีกล่ินอับ จะช่วยให้ห้องหายจากกลน่ิ อบั ได้ ตัวอย่างที่ 41 ปดิ เตาอบกอ่ นอาหารสุก ทกุ ครัง้ ทีป่ รุงอาหารด้วยเตาอบให้ปิดเตาอบก่อนอาหาร สกุ ประมาณ 2 - 3 นาที เพราะความรอ้ นในเตาอบจะยงั คงมีอย่อู ย่างเพยี งพอทจ่ี ะท�ำใหอ้ าหารสุก ตัวอย่างท่ี 42 วิธีดูแลรักษาพรม ดูแลรักษาพรมที่ปูพื้นให้สะอาดด้วยการดูดฝุ่นอย่างสม่�ำเสมอ และในการกำ� จัดกลนิ่ พรมก็จะต้องใชผ้ งเบกกิ้งโซดา (Baking Soda) โรยให้ท่วั พนื้ พร แล้วท้งิ ไวป้ ระมาณ 15 นาทีจงึ ท�ำการดดู ฝุ่นจะท�ำให้พรมปลอดจากกลน่ิ ได้ ตัวอย่างที่ 43 การทำ� ความสะอาดเฟอรน์ เิ จอร์ การทำ� ความสะอาดเฟอร์นิเจอรท์ ำ� ไดด้ ว้ ยวิธีงา่ ยๆ โดยใชผ้ ้าบางๆ ชุบน้�ำสบู่บดิ ใหห้ มาดแล้วใชเ้ ช็ดถเู ฟอร์นเิ จอรจ์ ากนั้นใช้ผ้าแห้งถูซ�ำ้ อกี คร้ัง ตัวอย่างที่ 44 กระดาษใช้แล้วน�ำมาผลิตใช้ใหม่ การน�ำกระดาษที่ใช้แล้วกลับมาผลิตใช้ใหม่ ใน จำ� นวนทกุ ๆ 1 ตัน นั้น เป็นการชว่ ยอนุรักษ์ต้นไม้ ได้ถงึ 17 ตน้ ตัวอย่างที่ 45 หมน่ั ปัดฝ่นุ จากหลอดไฟ ให้หมน่ั ปัดฝนุ่ จากหลอดไฟเสมอๆ เพราะฝุน่ และความ สกปรกบนสว่ นทเี่ ปน็ แกว้ จะชว่ ยลดความสวา่ งของแสงทส่ี อ่ งจากหลอดไฟลงไปถงึ 33 เปอรเ์ ซน็ ตท์ ำ� ใหแ้ สง จากหลอดไฟไม่สว่างเท่าทค่ี วร ตวั อย่างที่ 46 คณุ คา่ ของต้นไม้ท่ีมีอายุกวา่ 50 ปี ตน้ ไม้ทุกต้นทม่ี อี ายมุ ากกวา่ 50 ปีขนึ้ ไปมีคณุ คา่ ในการทำ� ใหอ้ ากาศบรสิ ทุ ธค์ิ วบคมุ การกดั เซาะผวิ ดนิ และนำ้� ปา่ ปกปอ้ งคมุ้ ครองชวี ติ ของสตั วป์ า่ และสามารถ ควบคมุ มลภาวะในอากาศได้อย่างมีประสิทธภิ าพสงู ตวั อย่างท่ี 47 ตน้ ไมด้ ูดซบั กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ตน้ ไม้ท่อี ยู่ในสภาพสภาวะสมบูรณ์สามารถ ดูดซบั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากอากาศไดถ้ งึ 40 ปอนด์ในเวลา 1 ปี ตัวอยา่ งที่ 48 พลงั งานจากแก้วรไี ซเคลิ พลังงานทีไ่ ดจ้ ากการน�ำแก้วทีใ่ ชม้ าผลิตใชใ้ หม่ 1 ใบน้ัน เทยี บไดเ้ ทา่ กบั พลังงานของหลอดไฟ 60 วัตต์ทส่ี ่องสวา่ งได้เป็นเวลานานถึง 4 ชวั่ โมง ตวั อยา่ งท่ี 49 พลังงานจากกระปอ๋ งรไี ซเคลิ พลังงานท่ีได้จากการน�ำกระป๋องอลมู ิเนียมทใี่ ชแ้ ล้ว มาผลิตใช้งานใหม่ 1 ใบนัน้ เทียบเท่าได้กบั พลังงานแสงสวา่ งทใ่ี ชก้ ับทวี ีเปน็ เวลานาน ถงึ 3 ชัว่ โมง ตวั อยา่ งท่ี 50 เวลาทคี่ วรรดนำ�้ ตน้ ไม้ การรดนำ�้ ตน้ ไมร้ ะหวา่ งเวลา 9 โมงเชา้ จนถงึ 5 โมงเยน็ ปรมิ าณ นำ�้ ท่ีรดจะสญู เสียไปในการระเหยมากถึง 60% ของจำ� นวนนำ้� ทีร่ ด ดังนนั้ เวลาที่ควรรดน�้ำตน้ ไมท้ ีด่ ีที่สดุ คือ เวลาหลงั 6 โมงเย็นหรอื กอ่ น 9 โมงเชา้ ตวั อยา่ งท่ี 51 เงาต้นไม้ประหยดั พลงั งาน เงาของต้นไมช้ ว่ ยลดความต้องการ เคร่อื งปรับอากาศลง ได้ถงึ 50% และในฤดรู ้อนต้นไมจ้ ะท�ำใหเ้ มืองเย็นลงถงึ 15% 176

ตัวอย่างท่ี 52 คณุ ท�ำอย่างไรกับใบไมท้ ่ีกวาดแลว้ การเผาเศษใบไม้ ทุก ๆ 1 ตน้ จะทำ� ให้เกดิ ก๊าซ คารบ์ อนมอนอกไซด์ถึง 117 ปอนด์ ฝุน่ 41 ปอนดแ์ ละคารซ์ โิ นเจน 7 ปอนด์ หรือมากกว่านน้ั เศษใบไมท้ ี่ กวาดแลว้ ควรน�ำมาทำ� ปุ๋ยหมกั หรอื สุมไว้โคนตน้ ไม้ เพือ่ ใหย้ ่อยสลายเป็นป๋ยุ ตอ่ ไป ตวั อย่างท่ี 53 หลอดไฟฟ้าประหยดั พลังงาน การใชห้ ลอดไฟฟ้าแบบประหยัดพลังงาน 1 หลอด แทนการใช้ หลอดไฟฟ้าแบบฟูลออเรสเซนต์จะช่วยประหยัดพลังงานได้เป็นปริมาณเท่ากับถ่านหินหนัก 600 ปอนด์ ตลอดชั่วอายขุ องหลอดไฟฟา้ หลอดนน้ั ตัวอย่างที่ 54 วิธีลดมลพิษจากรถยนต์ วิธีการหนึ่งที่จะช่วยลดมลพิษจากรถยนต์ก็คือการ เพ่ิม ส่วนผสมของออกซิเจนในน�้ำมัน การเพิ่มออกซิเจนในน�้ำมันก็เพ่ือช่วยลดปริมาณการเกิดของก๊าซ คาร์บอนมอนอกไซด์ใหล้ ดนอ้ ยลง ตวั อย่างที่ 55 ทำ� อยา่ งไรกับน�ำ้ มนั เคร่ืองท่ใี ช้แล้ว นำ�้ มนั เครอื่ งทใ่ี ช้แล้วจากรถยนตจ์ ะก่อมลพษิ ให้ เกดิ กบั แหลง่ นำ้� และผวิ ดนิ ได้ หากมกี ารกำ� จดั ทไี่ มเ่ หมาะสมทกุ ครง้ั ทเ่ี ปลย่ี นถา่ ยนำ�้ มนั เครอื่ งใหถ้ า่ ยเทนำ้� มนั เครอ่ื งที่ใช้แล้วลงในภาชนะท่ปี ดิ ฝาแลว้ ส่งคืนใหก้ บั สถานบี รกิ าร ตวั อยา่ งที่ 56 มลพษิ จากเตาแกส๊ แหลง่ มลพษิ ของอากาศในบา้ นทส่ี ำ� คญั กค็ อื เตาแกส๊ ในหอ้ งครวั ท่ี ไมม่ ชี อ่ งหรอื ระบบระบายอากาศจะเปน็ แหลง่ สะสมของกา๊ ซไนโตรเจนออกไซดแ์ ละคารบ์ อนมอนอกไซดท์ ี่ เกิดจากเตาแกส๊ สารมลพิษในห้องครวั จะลดลงได้ด้วยการ ระบายอากาศที่ดี ตวั อยา่ งท่ี 57 วิธีปลูกต้นไมใ้ นอาคาร การปลูกต้นไม้ ไวใ้ นอาคาร วิธกี ารท่ีเหมาะสม คอื การปลกู ลงในกระถาง ท่ีผสมถา่ นกบั ดนิ ไวด้ ้วยกัน ถ่านจะเป็นตัวชว่ ยดดู ซับสารมลพษิ และจุลนิ ทรยี ์ได้ ตัวอย่างท่ี 58 ท�ำความสะอาด เครื่องปรับอากาศ ในอาคารท่ีติดต้ัง เครื่องปรับอากาศ จะต้อง ทำ� ความสะอาด แผ่นกรองอากาศบ่อยๆ และไมค่ วรใช้ยาก�ำจัดกลิน่ หรอื แอรเ์ ฟรชเชอเนอร์ ตวั อยา่ งท่ี 59 ถอดรองเทา้ ก่อนเข้าบา้ น ทกุ คร้งั ก่อนจะเขา้ บ้าน ต้องถอดรองเทา้ ไว้ทห่ี น้าประตู บ้าน จะต้องไมใ่ ส่รองเทา้ เขา้ บ้าน เพราะพ้ืนรองเทา้ เป็นท่รี วม ของสารพิษทั้งหลายท่ีเราไปเหยยี บย่�ำ มา จากท่ีต่าง ๆ ตวั อยา่ งท่ี 60 สดั สว่ นของกา๊ ซ คารบ์ อนไดออกไซด์ ในอากาศ โดยสดั สว่ นความสมดลุ ของธรรมชาติ จะมกี ๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ อยู่เปน็ ประมาณ 0.03% ของบรรยากาศ กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ทำ� หนา้ ที่ ดดู ซับพลังงานจากดวงอาทติ ย์ไว้ ทำ� ใหโ้ ลกมีความอบอ่นุ ที่พอเหมาะ ตัวอย่างที่ 61 ท�ำไมโลกจึงร้อนขึ้น กิจกรรมท้ังหลายของมนุษย์ได้เป็นสาเหตุของการเพ่ิมความ ร้อนให้กับโลก ได้แก่ การเผาผลาญน้�ำมันเชื้อเพลิง การเผาป่าเขตร้อนของโลกได้ท�ำให้ปริมาณของก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์เพ่มิ ข้นึ จ�ำนวนมากในบรรยากาศ โลกจงึ รอ้ นข้นึ 177

ตวั อยา่ งท่ี 62 วธิ หี ยดุ ความรอ้ นใหก้ บั โลก เราสามารถหยดุ ยงั้ การเพมิ่ ขนึ้ ของกา๊ ซ คารบ์ อนไดออกไซด์ ด้วยการลดการใช้ พลังงาน ที่ กอ่ ใหเ้ กิดความร้อน ใหน้ อ้ ยลง และตอ้ งหยุดการ เผาทำ� ลายป่าลงใหไ้ ด้ ณ ทกุ หนทกุ แห่งของพื้นพภิ พน้ี ตวั อย่างท่ี 63 ปลูกปา่ เพ่อื ให้โลกรม่ เยน็ เพือ่ ใหโ้ ลกเยน็ ลง เราทุกคนจะต้อง ช่วยกัน ปลูกป่าคลมุ พน้ื ที่ว่างเปล่า ใหไ้ ด้มากที่สุด เพราะปา่ เปน็ แหล่งดดู ซับ คาร์บอนไดออกไซด์ ที่ดที ่สี ดุ ของโลก ตวั อย่างที่ 64 สารอนั ตรายในถา่ นอัลคาไลน์ ถา่ นอัลคาไลน์เปน็ ถา่ น ท่ใี ชใ้ ส่กลอ้ งถ่ายรูป ไฟ ฉาย นาฬิกา เครือ่ งคดิ เลข ทีใ่ ช้ได้เพยี งครงั้ เดียว แล้วทิง้ จดั เป็นของเสีย ท่เี ป็นอันตรายได้แก่ แมงกานีส สังกะสี และปรอท ตวั อย่างที่ 65 การเลือกใช้ถ่านแคดเม่ยี มแทน ถา่ นอัลคาไลน์ ควรเลือกใช้ ถ่านแคดเมี่ยม แทนการ ใช้ ถา่ นอัลคาไลน์ เพราะถา่ นแคดเมี่ยม เม่ือใชห้ มดแลว้ สามารถน�ำมาชารต์ ไฟใหม่ใชไ้ ด้อกี ในขณะที่ถ่าน อัลคาไลน์ ใชไ้ ดเ้ พียงคร้งั เดียว ก็ต้องท้ิง ตัวอยา่ งที่ 66 อ่านคำ� อธิบายก่อนใช้ กอ่ นใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ ท่มี สี ว่ นประกอบของ สารเคมอี ันตราย ควร อ่านค�ำอธิบาย ให้เข้าใจก่อนใช้ทุกครั้ง และต้องปฏิบัติตาม ค�ำแนะน�ำการใช้ อย่างเคร่งครัด เพ่ือความ ปลอดภยั ต่อชวี ิตของตวั เอง ตัวอย่างท่ี 67 การเลือกซือ้ อาหารกระปอ๋ ง ทุกครง้ั ท่ีเลือกซอื้ อาหารกระป๋อง จะต้องตรวจหา วัน หมดอายุ ท่ีบอกไว้บน ภาชนะบรรจสุ ินคา้ นน้ั ๆ และควรซ้อื อาหารกระปอ๋ ง ทยี่ ังไมห่ มดอายุเทา่ น้นั ตัวอย่างท่ี 68 อันตรายจาก อาหารกระป๋องที่หมดอายุ อย่าซื้ออาหารกระป๋อง ที่หมดอายุแล้ว เพราะอาหารกระป๋อง ที่หมดอายุแลว้ จะเป็นสาเหตขุ องพิษภยั อนั ตรายตอ่ ร่างกาย เชน่ มะเรง็ ทต่ี ับ โปรด ระมัดระวงั ทุกคร้งั ท่ซี อื้ อาหารกระป๋อง เพราะท่ีหมดอายแุ ล้ว มักถูกนำ� มาลดราคาใหช้ วนซ้อื ตัวอยา่ งที่ 69 แอมโมเนียในน้ำ� ยาซกั แหง้ ในน�้ำยาซักล้างทกุ ๆ ชนิด เช่น นำ�้ ยาลา้ งกระจก น้�ำยา ย้อมผม น�้ำยาทำ� ความสะอาด หอ้ งนำ�้ จะมีส่วนประกอบของ แอมโมเนยี อยูด่ ้วย โปรดใชอ้ ยา่ งระมดั ระวงั ทุกครั้ง เพราะแอมโมเนยี มผี ลโดยตรงตอ่ ระบบ ทางเดินหายใจ ตัวอย่างที่ 70 สารฟอร์มาลดไี ฮด์ในไม้อดั เส้ือผา้ ใหม่ ๆ และน้ำ� ยาล้างเลบ็ จะมสี ารฟอร์มาลดีไฮด์ เป็นสารประกอบอยู่ด้วย สารฟอร์มาลดีไฮด์ จะมีผลต่อระบบทางเดินหายใจ ฉะน้ัน โปรดระมัดระวังทุก ครั้งท่ใี ช้ ตวั อย่างที่ 71 บรรจุภัณฑถ์ นอมอาหาร มอี าหารไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 50 ท่ตี ้องอาศัยบรรจภุ ัณฑ์ ที่ช่วยในการถนอมอาหารเพ่ือรักษาความกรอบของอาหารบรรจุภัณฑ์จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการห่อหุ้ม อาหาร 178

ตวั อยา่ งที่ 72 บรรจภุ ณั ฑท์ ฟี่ มุ่ เฟอื ย ปจั จบุ นั บรรจภุ ณั ฑ์ ไดถ้ กู นำ� มาใช้ อยา่ งฟมุ่ เฟอื ย จนเกนิ ความ จ�ำเป็น และได้กลายเปน็ ขยะ จ�ำนวนมหาศาล ฉะนน้ั โปรดช่วยกนั ลดขยะ จากบรรจภุ ณั ฑด์ ้วยการ ไมซ่ อ้ื สนิ ค้า ทีใ่ ช้บรรจภุ ัณฑ์ ฟมุ่ เฟอื ยเกนิ ความจำ� เปน็ ตัวอยา่ งท่ี 73 ผลิตภณั ฑเ์ ขม้ ข้นช่วยลดขยะบรรจุภัณฑ์ได้ ผลิตภัณฑ์บางชนิดทพ่ี ฒั นาการผลติ ให้ เขม้ ข้น ซึ่งผู้บริโภคสามารถนำ� ไปเจอื จางก่อนใชเ้ ป็นการชว่ ยลดปริมาณขยะจากบรรจุภัณฑไ์ ด้ ตวั อยา่ งท่ี 74 ใชบ้ รรจภุ ณั ฑก์ ระดาษแทนการใชพ้ ลาสตกิ และโฟม ปจั จบุ นั มกี ารผลติ บรรจภุ ณั ฑท์ ่ี เป็น กระดาษ เพอื่ ใช้ บรรจอุ าหารแทน บรรจุภัณฑ์พลาสติก และโฟม เชน่ กล่องบรรจุน�ำ้ ผลไม้ นม เป็นต้น ตัวอยา่ งท่ี 75 บรรจภุ ัณฑท์ ่รี ีไซเคลิ ได้ ควรเลอื กซ้อื สินคา้ ท่ี บรรจใุ นภาชนะ ท่สี ามารถ นำ� กลบั ไป ผลิตใช้ไหม่ ดีกวา่ บรรจุภัณฑ์ ที่ใชไ้ ดเ้ พียงครั้งเดยี วแลว้ ตอ้ งท้ิง ตวั อย่างท่ี 76 ควรเลอื กซอ้ื สนิ ค้าทีบ่ รรจุกระป๋อง อลมู ิเนียมและแก้ว ควรเลอื กซ้อื สินค้าท่ี บรรจุ ในกระปอ๋ ง อลมู เิ นียมหรอื แก้ว แทนสนิ ค้าทบ่ี รรจใุ นภาชนะพลาสติก และโฟม เพราะอลมู ิเนยี มและแกว้ สามารถน�ำกลบั ไปผลติ ใชไ้ ด้ใหม่อีก ตวั อยา่ งที่ 77 การเลอื กซอ้ื ไมค่ วรเลอื กซอื้ สนิ คา้ ทถี่ กู บรรจภุ ณั ฑ์ หรอื หมุ้ ดว้ ยบรรจภุ ณั ฑ์ ทฟี่ มุ่ เฟอื ย มากเกินไป ตัวอยา่ งที่ 78 ควรเลือกซอื้ ผลติ ภัณฑ์ ชนิดเข้มขน้ ควรซอ้ื ผลิตภัณฑ์ ชนดิ เขม้ ขน้ แล้วนำ� ไปเจือจาง เอง โดยการเตมิ น�้ำก่อนใช้ เป็นการประหยดั ภาชนะบรรจุได้ ตัวอยา่ งที่ 79 ซอ้ื สนิ คา้ เท่าท่ีจ�ำเปน็ ควรเลอื กซื้อสนิ คา้ เทา่ ทีต่ ้องการและใช้ใหห้ มด ตวั อยา่ งที่ 80 สนิ คา้ ปลอดสารพษิ ควรเลอื กซอื้ สนิ คา้ ทปี่ ลอดสารพษิ เทา่ นน้ั ทง้ั นเี้ พอื่ ความปลอดภยั ของชวี ิตและสขุ ภาพร่างกายของตัวท่านเอง ตวั อย่างท่ี 81 คณุ สมบตั ขิ องสารละลาย สารละลายเป็นสารที่มีคุณสมบัตใิ นการละลายวัตถอุ นื่ ๆ โดยปกตแิ ล้วสารละลายนี้จะอย่ใู นรูปของเหลว เชน่ ผสมอยู่ในทนิ เนอร์ท่ใี ชผ้ สมสีและอยู่ในแลคเกอร์ ตัวอย่างที่ 82 วิธีป้องกันอันตรายจากสารละลาย ส่วนประกอบของสารเคมีในสารละลาย เป็น อนั ตรายโดยตรง ตอ่ ดวงตา ผวิ หนงั และปอด ทกุ ครงั้ ทต่ี อ้ งใชส้ ารละลาย ควรจะตอ้ งแตง่ กายดว้ ย เสอ้ื แขน ยาว สวมถงุ มอื ใสแ่ ว่นตา และใช้สาร ละลายในทท่ี ี่เปดิ โลง่ เทา่ นนั้ ตวั อยา่ งที่ 83 ในหอ้ งปรบั อากาศควรระบายอากาศ ในหอ้ งปรบั อากาศควรเปดิ หนา้ ตา่ ง ใหอ้ ากาศ ระบายได้ ในบางช่วง และควรเปดิ พัดลม ดดู อากาศดว้ ยทกุ ครง้ั ท่ีเปิดแอร์ ตัวอย่างท่ี 84 ผลิตภณั ฑ์อันตราย ไมค่ วรท้ิงลงแมน่ ำ�้ ผลิตภัณฑ์ทีเ่ ป็นอันตราย ได้แก่ ผลติ ภณั ฑ์ท่ี ติดไฟ นำ้� มันเชือ้ เพลงิ น�้ำยาละลายสี ผลติ ภัณฑ์ทเี่ ปน็ กรด น�้ำยาท�ำความสะอาด ผลติ ภณั ฑท์ ีเ่ ปน็ พษิ เชน่ ยากำ� จดั ศัตรูพชื เม่ือใช้แล้วต้องมีวิธีกำ� จดั ทถ่ี กู ต้อง และตอ้ งไม่ท้ิงลงแม่น�ำ้ 179

ตัวอย่างที่ 85 สารอนั ตรายไดออกซิน สารพษิ ทมี่ ีอนั ตราย มากท่สี ดุ ทีเ่ ปน็ สว่ นประกอบของ ยา ฆ่าแมลง คอื ไดออกซนิ ไดออกซิน แม้เพยี ง จำ� นวนเลก็ นอ้ ยก็เปน็ สาเหตุของการ เกิดโรคมะเร็งได้ จงึ ไม่ ควรใช้ยาก�ำจดั ศตั รพู ืช ที่มีสว่ นผสมของ ไดออกซิน ตวั อยา่ งที่ 86 อันตรายจากเบนซิน เบนซินเป็นตวั ทำ� ละลาย ท่ีมีพษิ ตอ่ รา่ งกาย ทรี่ นุ แรงท่ีสดุ คอื เปน็ ต้นเหตขุ องการป่วย เป็นโรคลูคีเมยี และท�ำลายไขกระดูก ตวั อยา่ งที่ 87 ชว่ ยกนั ปลกู ตน้ ไม้อีก 5 เทา่ จงึ จะเพียงพอ ในปริมาณการใชไ้ ม้ และจ�ำนวนพืน้ ทีป่ า่ ไม้ ท่ีลดลงในปจั จบุ นั นนั้ สามารถแก้ไขได้ ดว้ ยการปลกู ต้นไม้ โตเรว็ มากกวา่ ที่ปลูกอยใู่ นปจั จุบันมากถึง 5 เท่า จึงจะเพียงพอกบั การใชป้ ระโยชนใ์ น ตัวอยา่ งท่ี 88 ไฮโดรเจนคอื พลงั งานทดแทน ไฮโดรเจนเปน็ พลงั งานทดแทนท่ีไดม้ าจาก การแยก ละลายสาร เชน่ ไฟฟ้าจากน�้ำ ไฮโดรเจนเป็นเช้ือเพลงิ ท่ีสะอาดและไม่กอ่ เกดิ มลพษิ ทางอากาศดว้ ย ตัวอย่างที่ 89 รถยนต์พลังงานไฟฟ้า โลกได้ผลิตรถยนต์ชนิดใหม่เพื่อลดมลพิษให้กับท้องถนน รถยนต์ท่ีผลติ ขน้ึ ใหมน่ ้ี ขับเคล่ือนโดย ขบวนการเปล่ยี นไฮโดรเจนเหลว ให้เป็นพลังงานไฟฟา้ โดยไมต่ ้อง ผ่านขบวนการเผาไหม้ ตัวอย่างที่ 90 ลักษณะของรถยนต์ พลังงานไฮโดรเจนเหลวรถยนต์พลังงาน ไฮโดรเจนเหลวน้ี มี ลกั ษณะเดยี วกบั รถไฟฟ้า แตแ่ ตกต่างกนั ตรงที่มี ถงั เก็บไฮโดรเจนเหลว แทนแบตเตอร่ี ปัจจุบนั พลังงาน ไฮโดรเจนเหลว ก�ำลังไดร้ บั การพัฒนารปู แบบ เพอ่ื ทจ่ี ะน�ำมาใชบ้ นท้องถนนแล้ว ตัวอยา่ งท่ี 91 รถยนตพ์ ลังงานไฮโดรเจนเหลวไมก่ อ่ มลพิษ รถยนตพ์ ลังงาน ไฮโดรเจนเหลว ไมก่ ่อ ใหเ้ กิด มลพิษ ตอ่ สภาพแวดลอ้ ม เพราะไฮโดรเจนเหลว ทใ่ี ช้กับตัวรถไดม้ าจากแหลง่ ท่ีสะอาด ตวั อยา่ งท่ี 92 หลอดฟลอู อเรสเซนตป์ ระหยดั ไฟ หลอดไฟฟา้ ฟลอู อเรสเซนต์ เปน็ หลอดไฟทสี่ ามารถ ประหยดั พลงั งานไฟฟ้า ได้ถึง 75% และมอี ายุการใชง้ านยาวนานกว่าหลอด แบบขดลวดถึง 10 เทา่ ตวั อยา่ งที่ 93 วิธลี ดกา๊ ซ คาร์บอนไดออกไซด์ ให้กับโลก หากเราเผาถา่ น ให้นอ้ ยลง และเผาพลาญ นำ�้ มนั ใหน้ อ้ ยลง กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ และกา๊ ซอนื่ ๆ ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ภาวะเรอื นกระจกขน้ึ กบั โลก กจ็ ะนอ้ ยลง ตวั อย่างที่ 94 ขยะกระดาษ ทกุ ๆ อาทิตย์เราท้ิงกระดาษลงตระกรา้ ขยะมากถึง 1,000 ตันแต่มี เพียงไมถ่ งึ รอ้ ยละ 10 ทีก่ ระดาษเหลา่ นัน้ ถกู น�ำกลบั มาผลติ ใชไ้ ด้ใหมอ่ ีก ตวั อย่างท่ี 95 อันตรายจากสีทาบ้าน ในสนี �้ำมนั ท่ีใช้ทาบา้ น มีส่วนประกอบของ แคดเมยี ม และไท ทาเนีย่ มออกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน ซ่งึ เปน็ สารทีม่ อี ันตราย ดงั น้ัน เพือ่ หลกี เลย่ี งอันตราย จากสารอันตราย ควรใชส้ นี �ำ้ ในการทาสีบ้าน ตัวอยา่ งท่ี 96 การเติมลมยางรถ ชว่ ยประหยัดน้ำ� มนั ในการบำ� รงุ รักษา การเตมิ ยางรถ ที่พอดีจะ ช่วยในการ ประหยัดน้�ำมันได้ การเติมลมยางรถ ถา้ เติมอ่อนเกินไป จะท�ำให้สิน้ เปลอื งนำ�้ มนั เพม่ิ ข้ึนถงึ รอ้ ย 180

ละ 5 ตามการหมนุ รอบของวงล้อท่ีเพมิ่ ขนึ้ ตัวอย่างที่ 97 เติมลมยางรถ ช่วยยืดอายยุ างรถยนต์ การเติมลมยางรถยนต์ ทพี่ อเหมาะพอดี ยัง ชว่ ยยดื อาย การใช้งาน ชว่ ยป้องกนั ไม่ให้ ยางรถยนต์ฉีกขาดได้ง่าย จากสาเหตุทเี่ ติมลมอ่อนหรือแข็ง เกิน ไปอีกดว้ ย ตัวอย่างท่ี 98 เตาไมโครเวฟประหยดั ไฟกว่าเตาอบ การใชเ้ ตาไมโครเวฟ จะช่วยประหยัด พลังงาน จากไฟฟ้า มากกวา่ เตาอบถงึ 1 - 2 เท่า ตวั อยา่ งที่ 99 ถา่ นไฟฉายทช่ี ารต์ ไฟใหมไ่ ด้ ประหยดั กวา่ ถา่ นไฟฉายธรรมดา ถา่ นไฟฉายทช่ี ารต์ ไฟ ไดใ้ หม่นั้น แมจ้ ะมีส่วนประกอบ ของแคดเมี่ยม แตก่ ม็ อี ายกุ ารใช้งาน ไดน้ านกวา่ ถ่านไฟฉาย แบบธรรมดา ถงึ 500 เท่า และชว่ ยลดปริมาณ การใชถ้ ่านธรรมดา ไดม้ ากที่สดุ ตวั อยา่ งที่ 100 อันตรายจากน้ำ� ยาปรับอากาศ ในน้ำ� ยาปรับอากาศ แอร์รีเฟรชเชอเนอร์ น้ันมีสว่ น ประกอบของ สารเคมีประเภท เทอนอลไซลีน ซ่งึ เปน็ สารทีเ่ ป็นอันตราย ตอ่ ร่างกายมนุษย์ 4. วิถชี วี ิตตามแนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น ตัวอย่างขอ้ คดิ ใน 24 ชั่วโมงของการใชช้ วี ิตตามแนวคิดเศรษฐกจิ หมุนเวียนการเลือกรา้ นอาหารท่ี ใส่ใจในแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคสังคมและธุรกิจต่ืนตัวและน�ำแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียนมาปรับ ใชใ้ นการด�ำเนินธรุ กจิ เช่น บรษิ ทั “Close the Loop” น�ำตลับหมึกเครื่องพิมพ์และพลาสตกิ อ่อนมาเป็น ส่วนผสมในการท�ำถนนแทนการน�ำไปทิ้ง ผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตจากการด�ำเนินธุรกิจแบบเศรษฐกิจหมุนเวียน จะเป็นผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลกระทบหรือท�ำลายสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าผลิตภัณฑ์ที่ใช้วิธีการด�ำเนินงานรูปแบบ เดิม ในสว่ นของธรุ กจิ บรกิ ารก็มีการใหค้ วามส�ำคญั ในเร่อื งนี้ เช่น การดำ� เนินธรุ กิจประเภทร้านอาหารที่ เลง็ เหน็ ถงึ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มจากการปรงุ อาหารและการใหบ้ รกิ าร โดยจะไมค่ ำ� นงึ ถงึ เฉพาะการเกดิ ขยะปลายทางแตย่ งั คำ� นงึ ถงึ การเกดิ ขยะตลอดกระบวนการเลอื กใชว้ ตั ถดุ บิ กระบวนการจดั ซอื้ จดั เกบ็ และ เตรียมวัตถดุ ิบ กระบวนการปรงุ อาหารแมก้ ระท่งั การจดั การกับเศษตัดแตง่ ทเี่ กิดขน้ึ ด้วย 181

ภาพท่ี 1 รา้ นอาหารท่ีเป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม หรือ Green Restaurant กรณีศกึ ษา รา้ นโบ.ลาน อาหารไทย เหน็ ความส�ำคญั ต้งั แตก่ ารเลือกวัตถุดบิ ใหส้ ่งผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมน้อยที่สุด กระบวนการเตรียมวัตถุดิบในแต่ละข้ันตอนท่ีก่อให้เกิดขยะน้อยที่สุดและพยายามน�ำ เศษวตั ถุดบิ เหลือน�ำกลบั มาใช้ใหม้ ากสุด ไม่เหลือเปน็ ขยะ เชน่ เปลือกตะไคร้นำ� มาต้มเปน็ น�้ำตะไคร้ใบเตย ขา้ วสกุ เหลอื น�ำไปตากแห้งแล้วควั่ ทำ� น�้ำชาขา้ วคัว่ ข้าวคัว่ บดท�ำข้าวตูหรือน�ำไปทอดท�ำขา้ วพอง ท�ำสบลู่ ้าง มือจากนำ�้ มนั ทอดอาหาร จนถึงกระบวนการจดั การกบั ขยะเพ่ือให้เกดิ การนำ� มาใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ย่างสงู สดุ จนได้รับการรับรองทุกการกระท�ำกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม นอกจากวตั ถุดิบและเครื่องปรงุ รา้ นอาหารยงั ตอ้ งใช้ ไฟฟา้ แก๊ส และน�้ำ จ�ำนวนมากในแตล่ ะวนั โบ.ลาน ตระหนกั เรือ่ งน้เี ป็นอยา่ งดี และพยายามทำ� ทุกอยา่ งใหส้ ่งผลกระทบต่อสิง่ แวดลอ้ มน้อยทส่ี ดุ เช่น เลกิ ใชน้ ำ้� ดมื่ ขวดพลาสตกิ และกรองนำ�้ ใสข่ วดแกว้ นอกจากลดปรมิ าณพลาสตกิ แลว้ ยงั ลดปรมิ าณเชอ้ื เพลงิ ท่ีใช้ในการขนส่งน�้ำด่ืมมาที่ร้านมีระบบน้�ำหมุนเวียน โดยน�ำน�้ำที่ใช้ล้างผักและน�้ำฝนลงไปเก็บไว้ในแทงค์ ใต้ดิน เพ่ือน�ำมาใช้ในการรดน�้ำต้นไม้และน้�ำกดชักโครก ใช้ระบบท�ำน�้ำร้อนโดยดูดมวลความร้อนและใช้ พลงั งานความร้อนทอี่ ยู่ในอากาศ มาท�ำใหน้ ้ำ� รอ้ นเพื่อประหยัดพลงั งานไฟฟา้ นำ�้ มันเหลือใชจ้ ากการทอด จะถกู นำ� ไปกรองใหส้ ะอาดแลว้ นำ� ไปทำ� สบู่ หรอื ไบโอดเี ซล ขยะทอ่ี อกจากโบ.ลาน จะถกู แยกตามประเภท ได้แก่ กระดาษ พลาสติก ขวดแก้ว และขยะอินทรยี ์ ที่จะน�ำไปหมกั ท�ำปยุ๋ ชีวภาพ และ กา๊ ซชวี ภาพ ต่อไป 182

2. ทกุ มือ้ ของอาหารต้องช่วยกันลดขยะอาหาร มกี ารประมาณการวา่ ทกุ วนั นอ้ี าหารทวั่ โลกถกู ทง้ิ ราว 1 ใน 3 ของอาหารทผี่ ลติ ขนึ้ ปญั หาขยะอาหาร ท่เี พิม่ ข้นึ ส่งผลอย่างมากมายตอ่ ปญั หาส่ิงแวดลอ้ ม การสญู เสียอาหารและขยะอาหารยังเป็นส่วนหนึง่ ของ เปา้ หมายการพฒั นาทีย่ ่ังยืน (SDGs) ซงึ่ องคก์ ารสหประชาชาติ ไดก้ �ำหนดในปี 2558 เป้าประสงค์ท่ี 12.3 อีกด้วยว่า “ลดขยะอาหารของโลกลงครึ่งหน่ึงในระดับค้าปลีกและผู้บริโภคและลดการสูญเสียอาหารจาก กระบวนการผลติ และห่วงโซอ่ ุปทานรวมถงึ การสูญเสียหลังการเก็บเก่ยี ว ภายในปี 2573” ภาพที่ 2 ร่วมรณรงคล์ ดขยะอาหารเพ่อื ธุรกจิ ได้ ส่งิ แวดลอ้ มดี ขยะอาหารเป็นอาหารท่ีมนุษย์กินท้ิงกินขว้างและเหลือจากการกิน รวมไปถึงอาหารหมดอายุ ผัก ผลไมท้ ม่ี ตี ำ� หนแิ ละตกเกรดซงึ่ ถกู นำ� เอาไปทง้ิ กลายเปน็ ขยะ (Food Waste) ซง่ึ ถา้ พดู กนั ตามความเปน็ จรงิ ขยะอาหารบางส่วนที่ถกู ทิง้ เหล่าน้ี สามารถนำ� มากินหรือใช้ประกอบอาหารได้ หากลงมอื ป้องกนั กอ่ นพวก ทอี่ าหารจะกลายเป็นขยะ ขยะอาหารเหลา่ นี้เป็นสาเหตขุ องภาวะโลกร้อน เกดิ จากการสะสมของก๊าซเรือนกระจก เชน่ การ เผาไหม้ และการยอ่ ยสลายแบบไมใ่ ชอ้ อกซเิ จนซง่ึ ทำ� ใหเ้ กดิ กา๊ ซมเี ทนโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในขนั้ ตอนของการ กำ� จดั ขยะอาหารในปจั จบุ นั ซง่ึ สว่ นใหญย่ งั คงใชว้ ธิ ี “ฝงั กลบ” และวธิ นี เ้ี องเปน็ ตน้ เหตขุ องการเกดิ กา๊ ซมเี ทน รวมถงึ ก๊าซอืน่ ๆ ที่มีอันตรายต่อสขุ ภาพและสิง่ แวดล้อม การจดั การขยะอาหารสามารถท�ำไดโ้ ดย 1. วางแผนกอ่ นการซ้ือ ควรตรวจสอบอาหารทีม่ ีอยู่ วางแผนรายการอาหารและซ้อื วัตถุดิบใหพ้ อดี กบั ท่บี ริโภค งดพฤติกรรมซื้อมาตุนไวจ้ นกนิ ไมท่ นั 2. ร้คู ุณคา่ และความพอเหมาะ เตรยี มอาหารใหพ้ อเหมาะกับจ�ำนวนสมาชิกในครอบครวั ลดเศษ วตั ถุดิบจากการเตรยี มอาหาร ตักอาหารใหพ้ อดกี ิน ไม่ตกั ในปรมิ าณทม่ี ากเกนิ ไป กรณีไปกนิ ท่ีร้านอาหาร 183

หากกินไม่หมดสามารถหอ่ กลับ เก็บไวก้ นิ มอ้ื อนื่ หรือหากมอี าหารเหลือควรนำ� มาแปรรปู ประกอบอาหาร เมนอู ่ืน 3. รกั ษาอยา่ งถกู วิธี เกบ็ รักษาให้เหมาะสมกับประเภทอาหารในอณุ หภมู ทิ ่เี หมาะสม ไม่ควรใส่ของ ในตูเ้ ยน็ แนน่ เกนิ ไปจนความเยน็ กระจายไม่ทั่วถงึ และคอยตรวจสภาพอาหารรวมถงึ วนั หมดอายุอย่เู สมอ 4. ท�ำบุญโดยไมส่ รา้ งขยะอาหาร เตรยี มอาหารส�ำหรับทำ� บุญในปริมาณทีเ่ หมาะสม 5.เหลือกแ็ บง่ ปนั น�ำอาหารไปใช้ประโยชน์ เช่น การมอบอาหารให้ผู้อื่นที่ต้องการ นำ� ไปเปน็ อาหาร สตั ว์ นอกจากจะช่วยลดปรมิ าณอาหารแลว้ ยงั เปน็ การแบ่งปันน�้ำใจใหก้ บั สังคมอีกดว้ ย 3. ทกุ วนั เวลาทใ่ี ชช้ วี ติ ตอ้ งเลอื กผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม กจิ กรรมในชวี ติ ประจำ� วนั ตงั้ แตต่ น่ื นอน อาบน้ำ� ล้างจาน ซักเสือ้ ผ้า ทำ� ความสะอาดพนื้ รวมถงึ การใช้อุปกรณต์ ่าง ๆ ในส�ำนกั งาน ไม่ว่ากระดาษ เครื่องเขียน นำ้� ยาลบค�ำผดิ เคร่อื งพิมพ์ เคร่อื งถ่ายเอกสาร และอนื่ ๆ เราควรเลือกผลิตภัณฑ์ท่มี ี “ฉลาก เขียว” ซงึ่ ใหก้ ารรบั รองวา่ เป็นสนิ ค้าทมี่ ผี ลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ มน้อยกวา่ ผลติ ภัณฑ์ทั่วไป กลมุ่ ผลิตภัณฑท์ �ำความสะอาด เช่น สบู่ แชมพู ผงซักฟอก น�ำ้ ยาลา้ งจาน น�้ำยาทำ� ความสะอาดพน้ื ผวิ ทไ่ี ดก้ ารรบั รองฉลากเขยี ว จะสามารถยอ่ ยสลายทางชวี ภาพได้ ลดการตกคา้ งในแหลง่ นำ้� ไมร่ ะคายเคอื ง ผิว ไมม่ สี ว่ นประกอบท่ีเป็นสารอันตรายต่อสง่ิ มีชวี ติ และสิ่งแวดล้อม ชว่ ยลดการปนเปอ้ื นของสารเคมีลงสู่ แหลง่ น�ำ้ จึงช่วยลดภาระและค่าใช้จ่ายในการบ�ำบัดน้�ำเสียดว้ ย เครอ่ื งใชใ้ นสำ� นกั งานทไ่ี ดร้ บั การรบั รองฉลากเขยี ว เชน่ เครอ่ื งเรอื นเหลก็ มกี ารใชส้ เี คลอื บทไ่ี มเ่ ปน็ อันตราย ปลอดสารฟอรม์ ลั ดีไฮด์ สาร VOC และโลหะหนัก เคร่ืองเขยี น มกี ารใช้น้ำ� หมึกหรอื สีทป่ี ลอดสาร กอ่ มะเรง็ และโลหะหนัก น้ำ� ยาลบค�ำผดิ ก็จะไมม่ สี ารเปน็ พิษ เช่น สารกอ่ มะเรง็ สารกดั กรอ่ น และไม่มสี าร ทีร่ ะคายเคืองต่อสุขภาพ ผลติ ภณั ฑก์ ระดาษทไี่ ดร้ บั การรบั รองฉลากเขยี ว เชน่ กระดาษอนามยั กระดาษพมิ พแ์ ละเขยี น ผลติ จากเยื่อเวียนทำ� ใหม่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 จึงลดการตัดต้นไม้ และปลอดภัยจากสารอันตราย เช่น สาร ฟอกเย่อื สารกนั เช้ือรา โลหะหนกั เปน็ ต้น รวมท้ังโรงงานผูผ้ ลิต​ยงั มีการควบคุมปริมาณการใช้น�้ำและไฟ ในกระบวนการผลิตอีกดว้ ย กลุ่มเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ที่ได้รับการรับรองฉลากเขียว เครื่องปรับอากาศ และตู้เย็นประหยัดไฟ ไม่มี เสียงรบกวน ใช้สารก่อความเย็นทีไ่ มท่ ำ� ลายโอโซนในชัน้ บรรยากาศ สว่ นประกอบที่เป็นพลาสติกสามารถ นำ� กลบั มาใชใ้ หมไ่ ดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 และปลอดสารโลหะหนกั เครอื่ งพมิ พเ์ ครอ่ื งถา่ ยเอกสารตอ้ งไดร้ บั การออกแบบมาเพ่ือสนบั สนนุ การ reduces reuse recycle ทง้ั ประหยดั ไฟ ไมม่ เี สียงรบกวน และควบคุม การปลอ่ ยมลพษิ ได้แก่ ฝนุ่ (Dust) โอโซน (Ozone) สารอนิ ทรีย์ระเหยทัง้ หมด (TVOC) สไตรนี (Styrene) 184

และเบนซนี (Benzene) ในขณะใช้งานใหไ้ มเ่ ปน็ อนั ตราย​ต่อผู้ใชง้ าน นอกจากน้ียงั ใช้ตลบั หมึกและหมึกที่ ปลอดสารอนั ตรายและโรงงานผผู้ ลติ ยงั มกี ารรบั คนื ซากผลติ ภณั ฑช์ ว่ ยลดการทง้ิ ของเสยี หรอื กำ� จดั ไมถ่ กู ตอ้ ง ดว้ ย หลอดแอลอดี ปี ระหยดั พลงั งานทำ� จากชนิ้ สว่ นพลาสตกิ ทปี่ ลอดสารโลหะหนกั และควบคมุ ปรมิ าณสาร ฮาโลเจนไมใ่ หเ้ ป็นอนั ตรายตอ่ ผ้ใู ช้ เอกสารอา่ นประกอบ (บางส่วน) CIRCULAR ECONOMY กรงุ เทพมหานครกบั ระบบเศรษฐกจิ เพอ่ื ความยงั่ ยนื . (5 พฤศจกิ ายน 2561) สบื คน้ 26 ธันวาคม 2561 จาก http://www.allaroundplastics.com/article/sustainability/2113 Circular Economy: the Future We Create (3) เรียนรู้ประสบการณ์ระดับโลก-ถอดโมเดลองค์กร ธุรกิจช้ันน�ำ.(21 กรกฎาคม 2561). สืบค้น 12 มกราคม 2562 จาก https://thaipublica. org/2018/07/scgcircular-economy-the-future-we-create/ Circular Economy เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น เทรนดใ์ หม่ธุรกิจโลก โรดแมป PTTGC กับโครงการ Upcycling Plastic Waste.(31 พฤษภาคม 2561). โพสทเู ดย์. สืบค้น 12 มกราคม 2562 จาก https://www. posttoday.com/pr/552940 ปัญญ์ชลี พมิ ลวงศ์. (24 ตุลาคม 2561). เศรษฐกจิ หมุนเวียนต้องมองให้ไกล. สบื คน้ 15 มกราคม 2562 จาก https://www.prachachat.net/csr-hr/news-239370 ปางอบุ ล อานวยสทิ ธ.์ิ (15 กนั ยายน 2560). Circular Economy: พลกิ วกิ ฤตทิ รพั ยากรดว้ ยระบบเศรษฐกจิ ใหม่.สบื ค้น 12 มกราคม 2562 จาก https://www. scbeic.com/th/detail/product/3831 ฝ่ายเศรษฐกิจและศูนย์ข้อมูลหอการค้าไทย. (2561). Circular Economy. สืบค้น 12 มกราคม 2562 จาก https://www.thaichamber.org/content/file/document/0906181536224841.pdf พัทธ์ธีรา วงศราวิทย์. (5 มิถุนายน 2561). เศรษฐกิจหมุนเวียน. ประช�ำช�ำติธุรกิจออนไลน์. สืบค้น 28 ธนั วาคม 2561 จาก https://www.prachachat.net/columns/news-169313 มนต์ชัย วงษ์กิตติไกรวัล. (12 มิถุนายน 2561). เศรษฐกิจหมุนเวียนที่จะหมุนโลกทั้งใบในอนาคตที่ งาน Movin’On 2018. สบื ค้น 20 ธนั วาคม 2561 จาก https://thestandard.co/movin-on- 2018-by-michelin/ 185

เอกสารอ่านประกอบ (บางสว่ น) Memagazine. (4 กันยายน 2561). ชูโครงการต้นแบบ “หนึ่งหมู่บ�้ำนหน่ึงผลิตภัณฑ์” ประเทศญ่ีปุ่น หนุนชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน. สืบค้น 26 ธันวาคม 2561 จาก https://www. memagazine.co.th/7054. เศรษฐกิจหมนุ เวียน โอกาสใหม่ของธุรกิจเพอื่ คว�ำมยง่ั ยนื . (17 มิถุนายน 2561). สืบคน้ 26 ธนั วาคม 2561 จาก http://www.allaroundplastics.com/article/sustainability/1898 สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย. (3 กันยายน 2561). Circular Economy. สืบค้น 26 ธันวาคม 2561 จาก https://www.tma.or.th/2016/news_detail.php?id=311 สำ� นักข่าวส่งิ แวดล้อม. (23 เมษายน 2561). เศรษฐกจิ หมุนเวียน เทรนด์ธุรกจิ ใหม่สู่ควำ� มย่งั ยืน. สืบค้น 22 ธนั วาคม 2561 จาก https://greennews.agency/?p=16783 เอสซจี .ี (9 กรกฎาคม 2561). เอสซจี จี ดั งาน SD Symposium 2018 ดงึ ทกุ ภาคสว่ นรว่ มขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ หมุนเวียนเสนอต้นแบบความส�ำเร็จจากองค์กรชั้นน�ำจุดประก�ำยคว�ำมย่ังยืนทรัพยากรโลก. สืบค้น 26 ธนั วาคม 2561 จาก www.scg.com/th 186

Module 7 (1) – (3): Circular Living in Action ความตระหนกั และแรงผลกั ดนั สวู่ ถิ ชี วี ติ ภายใต้ แนวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นและสงั คมเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ชื่อบทหรอื โมดลู ความตระหนักและแรงผลักดันสู่วิถีชีวิตภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมเศรษฐกิจ หมุนเวียน (Circular Living in Action) ผลลัพธ์การเรยี นรู้ 1. สามารถสรา้ ง Portfolio for Circular Living ท้งั ในรูปแบบ Digital หรอื Handmade ของตนเองได้ 2. สามารถนำ� ความรทู้ ไี่ ดไ้ ปใชใ้ นการสรา้ งโครงงานกจิ กรรมทางสงั คมหรอื ธรุ กจิ เบอื้ งตน้ ตามแนววถิ ชี วี ติ เศรษฐกจิ หมุนเวยี นได้ สาระสำ� คญั 1. สรา้ ง Portfolio for Circular Living ทง้ั ในรปู แบบ Digital หรอื Handmade ของตนเอง (สง่ ผลงาน ในสัปดาห์สุดท้ายของการเรยี น) 2. สรา้ งโครงงานกจิ กรรมทางสังคมหรอื ธรุ กิจเบื้องต้น ตามแนววถิ ชี ีวติ เศรษฐกจิ หมุนเวียนได้ (สง่ ผลงาน ในสปั ดาห์สุดท้ายของการเรียน) เนื้อหาวชิ า ตัวอยา่ งโครงการหรือการทำ� กิจกรรมทางสงั คมหรอื ธรุ กจิ ตามแนวเศรษฐกจิ หมนุ เวียน นวตั กรรมจดั การขยะตามหลกั เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ความรว่ มมอื คอื เสน้ ทางสคู่ วามยงั่ ยนื “เอสซจี ”ี หนงึ่ ในองคก์ รทใี่ หค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื จงึ สง่ เสรมิ แนวคดิ “ใชใ้ หค้ มุ้ แยกใหเ้ ปน็ ทง้ิ ใหถ้ กู ” สู่การปฏบิ ตั ิจริง และผนกึ ก�ำลงั กับพันธมิตรทัง้ ภาครัฐ-ภาคธุรกจิ -ชมุ ชน เพ่ือตอ่ ยอดและขยายแนวคิดนี้ไป สกู่ ารพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม เชอ่ื ความรว่ มมอื คอื เสน้ ทางสคู่ วามยง่ั ยนื พรอ้ มนำ� เสนอ 6 นวตั กรรมจัดการขยะ ตามหลกั เศรษฐกิจหมนุ เวยี น 187

“บางซื่อโมเดล” จากนโยบายส่กู ารปฏิบัติ เอสซจี ไี ดแ้ ปลงหลกั Circular Economy จากนโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ โดยเรมิ่ จากโครงการ “บางซอื่ โมเดล” ซึ่งเปน็ ส่วนหนงึ่ ของแนวปฏบิ ตั ิ “SCG Circular way” ทมี่ งุ่ จดั การของเสียภายในส�ำนกั งานใหญ่ บางซ่ือ เพื่อสร้างความตระหนักให้พนักงานเห็นคุณค่าของทรัพยากร เป็นต้นแบบที่ดีด้านบริหารจัดการ ของเสีย ปลูกฝงั หลกั เศรษฐกจิ หมนุ เวียนให้กบั พนักงานผา่ นเรื่องใกล้ตวั ทที่ ุกคนสามารถท�ำได้ดว้ ยแนวคดิ “ใช้ให้คุ้ม แยกให้เป็น ท้ิงให้ถูก” ตลอดจนส่งต่อแนวคิดการบริหารจัดการขยะสู่ชุมชนภายนอกด้วยการ พัฒนาแอปพลิเคชัน “KoomKah” (คุ้มค่า) เพ่ือช่วยบริหารจัดการรวบรวมและคัดแยกขยะจากชุมชน ท�ำให้ผู้รบั ขยะหรือธนาคารขยะทำ� งานได้สะดวกมากขน้ึ จบั มอื ภาครฐั พัฒนาต้นแบบ “ทนุ่ กกั เกบ็ ขยะ” ส�ำหรับโครงการน�ำร่องท่ีร่วมกับหน่วยงาน ภาครฐั เอสซจี ไี ดร้ ว่ มกบั กรมทรพั ยากรทางทะเลและ ชายฝัง่ (ทช.) พฒั นา “ทุ่นกักขยะลอยน�้ำ” (SCG - DMCR Litter Trap) โดยออกแบบทุ่นลอยน้�ำให้ มีกลไกฝาเปิด-ปิด ที่ช่วยกักเก็บขยะได้สูงสุด 700 กิโลกรมั ตอ่ ตวั น�ำรอ่ งตดิ ตง้ั 24 จุด ใน 13 จงั หวัด และพัฒนา “ต้นแบบหุ่นยนต์เกบ็ ขยะลอยน้ำ� 4.0” (SCG Smart Litter Trap 4.0) โดยมกี ารนำ� ระบบ ML (Machine Learning) และ IoT (Internet of Things) มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บขยะในแม่น�้ำโดยระบบอัตโนมัติ มีระบบเพื่อช่วยบ�ำบัดน้�ำ ประหยัด พลงั งานดว้ ยการใชแ้ รงขบั เคลอ่ื นพลงั งานแสงอาทิตย์ เก็บขยะไดส้ ูงสดุ 5 กโิ ลกรัมตอ่ หน่งึ รอบการเก็บ 188

“บ้านรางพลบั ” ต้นแบบเศรษฐกจิ หมนุ เวียนในชมุ ชน หลังจากน้ัน เอสซีจีได้ขยายผลโครงการน�ำร่องไปยังชุมชนขนาดเล็กที่หมู่บ้านรางพลับ จ.ราชบุรี ด้วยการเข้าไปพูดคุยกับชุมชนเพื่อสอบถามถึงปัญหาขยะ ก่อนแลกเปลี่ยนแนวทางที่จะเปล่ียนขยะเป็น ความมั่งคั่ง (จาก Waste สู่ Wealth) โดยมุ่งใหช้ ุมชนจดั การได้ดว้ ยตนเองและมสี ่วนร่วมในโครงการ ชุมชนน้ีแสดงให้เหน็ ความต้งั ใจและมีความเป็นผนู้ ำ� ทจี่ ะจัดการขยะ จงึ เร่ิมโครงการด้วยการจัดหา กลุม่ ผ้นู ำ� ในชมุ ชนกอ่ น และเมอ่ื ชุมชนวางกฎระเบียบของตัวเองรว่ มกันจงึ ได้เรม่ิ แยกขยะ ท�ำใหพ้ บวา่ ขยะ อินทรีย์หรือขยะอาหารเป็นส่วนที่ก�ำจัดยากท่ีสุด เอสซีจีจึงเข้าไปช่วยให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะ อนิ ทรยี ์ (Organic Waste) ดว้ ยการใชอ้ ปุ กรณ์งา่ ยๆ ท่ชี มุ ชนสามารถน�ำหญ้าหรอื ขยะอนิ ทรียม์ าใส่แลว้ น�ำ ไปท�ำป๋ยุ การรเิ รม่ิ เหลา่ นี้ทำ� ให้ขยะอาหารกลายเป็นอาหารสัตว์หรือปุ๋ยที่ใช้ในชุมชน สว่ นท่เี หลอื กข็ ายให้ ชมุ ชนข้างเคียง นอกจากน้ี ชุมชนยังไดร้ เิ ริ่มพฒั นาและสรา้ งมลู ค่าของเสียใหก้ ลายเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ทำ� ให้ได้ รบั การขนานนามว่าเป็น “Zero Waste to Landfill Community” เปลยี่ นพลาสติกเหลอื ใชเ้ ปน็ งานดไี ซน์ท่ใี ชไ้ ด้จริง “เก้าอร้ี ีไซเคิลจากถงุ นมโรงเรยี น” เก้าอี้พลาสติกที่ผลิตจากถุงนมโรงเรียนถูกใช้เป็นสื่อกลางในการเรียนรู้หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ Circular Economy ใหแ้ กเ่ ดก็ นกั เรยี นด้วยการปฏิบัตจิ รงิ ปลูกฝังใหเ้ ด็กนกั เรยี นเหน็ คุณคา่ ของการ แยกขยะและรไี ซเคลิ ผา่ นการลงมือปฏบิ ัตจิ ริงทเ่ี ห็นผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรม 189

เปล่ียน “เศษท่อ” เปน็ “บา้ นปลา” แปลง “คอนกรตี ” เปน็ “ปะการงั เทยี ม” นอกจากนี้ยังร่วมกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และกลุ่มประมงพื้นบ้าน จัดท�ำโครงการ “บ้านปลาเอสซีจ”ี ตั้งแตป่ ี 2555 เพ่ือเป็นแหล่งอนุบาลสตั วน์ ้�ำวัยอ่อนและวัยเจรญิ พันธ์ใุ ตท้ ้องทะเล โดย ใชเ้ ศษท่อทผ่ี ลิตจากเมด็ พลาสติกพอลเิ อทิลนี เกรดพิเศษ หรอื PE 100 จากกระบวนการทดสอบขึ้นรปู มา ใช้สร้างบ้านปลา ถึงปัจจุบันวางบ้านปลาเอสซีจีไปแล้วจ�ำนวน 2,090 หลัง ครอบคลุมทุกจังหวัดในภาค ตะวนั ออก และในภาคใตท้ ี่ จ.ระนอง คดิ เปน็ 41 กลุ่มประมงพ้นื บ้าน เกิดพ้นื ทอี่ นุรกั ษ์ทางทะเลกวา่ 47 ตารางกิโลเมตร เกิดความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลกว่า 172 ชนิด และสรา้ งเครอื ข่ายจิตอาสากวา่ 22,480 คน ท่ัวประเทศ รวมถงึ การออกแบบ “ปะการังเทยี ม” โดยนำ� เทคโนโลยกี ารพมิ พ์ข้นึ รูปปนู ซีเมนต์ 3 มิติในการก่อสร้างที่อยู่อาศัยมาประยุกต์ออกแบบโดยจ�ำลองกลไกของปะการังตามธรรมชาติ โดยใช้ วสั ดหุ ินปูนธรรมชาติรว่ มกับวัสดุรีไซเคลิ อยา่ งเศษคอนกรตี จากการทุบ รอื้ อาคารส่งิ กอ่ สร้าง จาก “ขยะ” สู่ “ถนน” ลด “ตน้ ทนุ ” เพ่มิ “ความแข็งแรง” พร้อมกันน้ี เอสซีจีได้น�ำเสนออีกนวัตกรรม “ถนนพลาสตกิ รไี ซเคลิ ” (Recycled Plastic Road) ซ่ึงเกิดจากความร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจอย่าง กลมุ่ บรษิ ทั ดาว ประเทศไทย โดยนำ� พลาสตกิ ใชแ้ ลว้ มาบดยอ่ ยใหม้ ขี นาดเลก็ ผสมกบั ยางมะตอยเพอ่ื ใชป้ ู ถนน นอกจากจะเพม่ิ คณุ คา่ ใหแ้ กข่ ยะพลาสตกิ แลว้ ยังเพิ่มประสิทธิภาพให้กับถนนยางมะตอย มีความ แข็งแรงเพม่ิ ขนึ้ ร้อยละ 15 - 33 ส่วนการบริหารจัดการขยะจากเศษคอนกรีต เอสซจี ี ร่วมกบั บรษิ ทั ศภุ า ลัย จ�ำกัด (มหาชน) ในโครงการ “ถนนคอนกรีตรีไซเคิล” (Recycled Concrete Aggregates For Road) น�ำเศษคอนกรตี รีไซเคิล 100% เชน่ กอ้ นปนู แผน่ พน้ื หวั เสาเขม็ มาใชท้ ดแทนวสั ดธุ รรมชาติ เพ่ือเทเปน็ ถนนคอนกรตี ในโครงการ สามารถสรา้ งมลู คา่ ใหก้ บั ขยะในแตล่ ะโครงการถงึ 7 ลา้ นบาท ลดการใชห้ นิ ทราย ได้ถงึ 100 ตนั ส�ำหรับพ้ืนท่ี 150 ตร.ม. 190

นวัตกรรม Green Meeting สูก่ ารประชุม ASEAN Summit นอกจากนน้ั นวตั กรรม “Green Meeting” หรอื การจดั ประชมุ ทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ยงั เปน็ อกี หนงึ่ แนวคดิ ทเ่ี อสซจี แี ปลงไปสกู่ ารปฏบิ ตั ดิ ว้ ยการนำ� เสนอผลติ ภณั ฑจ์ ากกระดาษรไี ซเคลิ ในการจดั ประชมุ ผ้นู �ำอาเซยี น เชน่ นทิ รรศการจากกระดาษรีไซเคิล ฉากหลังส�ำหรับถ่ายภาพ เกา้ อ้ีกระดาษ แทน่ บรรยาย กล่องกระดาษส�ำหรับรับคนื ปา้ ยชอ่ื คล้องคอ สมุดโนต้ จากกระดาษรไี ซเคลิ 100% บรรจุภณั ฑอ์ าหาร Fest หลอดกระดาษ ขวดน้ำ� พับได้ Fill Fest และถังขยะแยกประเภท รวมถงึ กระเป๋าถุงปนู และตะกร้าสานจาก เสน้ เทปกระดาษทน่ี ำ� วสั ดเุ หลอื ใชจ้ ากกระบวนการผลติ ของเอสซจี มี าพฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี มี ลู คา่ เพมิ่ ซงึ่ ล้วนมาจากความมุ่งมั่นของเอสซีจีท่ีต้องการใช้ทรัพยากรใหม่ให้น้อยท่ีสุด และใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิด ประโยชน์และคุ้มค่าท่ีสุด โดยใช้นวัตกรรมการผลิตให้สามารถน�ำกระดาษที่ใช้แล้วกลับมาใช้ซ้�ำ และเพ่ิม สัดส่วนการใช้วัตถุดิบรีไซเคิลท่ีสูงขึ้น แต่ยังคงคุณภาพของกระดาษให้แข็งแรง เพ่ือให้สามารถน�ำไปผลิต เป็นสินค้ารปู แบบต่าง ๆ ได้ ชุมชนบ้านมดตะนอย การจดั การขยะคือยารกั ษาชวี ติ ชมุ ชนสะอาด...ทำ� ใหผ้ คู้ นในชมุ ชนไดม้ ชี วี ติ และลมหายใจอยตู่ อ่ ไป ความเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยของชาวบา้ น เปน็ แรงผลกั ดนั สำ� คญั ทท่ี ำ� ใหช้ มุ ชนบา้ นมดตะนอย ชมุ ชนเลก็ ๆ ในอำ� เภอกนั ตงั จงั หวดั ตรงั ลกุ ขน้ึ มาจดั การ ขยะในพน้ื ท่ีอย่างจรงิ จัง การลกุ ข้นึ มาตอ่ สู้กับโรครา้ ยดว้ ยการจัดการขยะคอื การรกั ษาโรคทดี่ ที สี่ ดุ ย่งิ กวา่ ยาชนิดไหนๆ 191

ชุมชน LIKE (ไร้) ขยะ จังหวัดระยอง หากชมุ ชนไรข้ ยะจะเกดิ ขนึ้ จรงิ ได้ หนา้ ทใี่ นการจดั การขยะไมค่ วรเปน็ หนา้ ทข่ี องใครหรอื ฝา่ ยใดฝา่ ย หนง่ึ และสงิ่ สำ� คญั คอื ตอ้ งเรมิ่ จากการเปลย่ี นทศั นคตใิ หม่ ไมป่ ลอ่ ยขยะใหก้ ลายเปน็ เรอ่ื งไรค้ า่ ชมุ ชนในเขต เทศบาลมาบตาพุดจงั หวัดระยอง ไดแ้ ก่ ชุมชนโขดหิน 2 ชุมชนโขดหนิ มติ รภาพ และชุมชนเขาไผ่ ตา่ งชืน่ ชอบและเหน็ คณุ คา่ ของขยะ จงึ ทำ� การจดั การขยะโดยใหท้ กุ ภาคสว่ นบรู ณาการรว่ มกนั ทง้ั บา้ น วดั โรงเรยี น รวมไปถงึ ธนาคารขยะ นีค่ ือเรอื่ งราวของชมุ ชนทที่ �ำให้เราทุกคนเห็นวา่ การจดั การขยะจะส�ำเร็จได้หากทกุ คนทุกฝา่ ยรวมกันเป็นหนึง่ เดียว บา้ นโป่งโมเดล – เราจัดการขยะท่วั ทง้ั อำ� เภอ เพราะเปน็ พนื้ ทเ่ี ศรษฐกจิ และมรี ายไดเ้ ฉลย่ี ของประชากรสงู กวา่ อกี หลายๆ อำ� เภอในจงั หวดั ราชบรุ ี จึงท�ำให้อ�ำเภอบ้านโป่งมีประชากรจ�ำนวนมาก และมีปัญหาเร่ืองการจัดการขยะตามมา ซ่ึงหากปล่อยให้ เนิน่ นานไปจะยง่ิ กลายเปน็ ปัญหาใหญ่เกนิ กว่าจะแก้ไขได้ ดว้ ยเหตุนท้ี ัง้ ภาคราชการ ภาคเอกชน และภาค ประชาชน จงึ จบั มือร่วมกันสรา้ งรูปแบบการจดั การขยะทเ่ี รียกวา่ ‘บ้านโป่งโมเดล’ ขน้ึ มา นีค่ ือโมเดลท่จี ะ เปลยี่ นแปลงบา้ นโปง่ ทง้ั อำ� เภอใหก้ ลายเปน็ เมอื งแหง่ ความสะอาด ทส่ี ำ� คญั โมเดลนไ้ี มไ่ ดม้ งุ่ เปลยี่ นแปลงแค่ สภาพแวดลอ้ ม หากแต่ยังหมายรวมถงึ ทศั นคติและจติ ใจของคนบา้ นโปง่ ทุกคนอีกดว้ ย 192

BIM BUSINESS เอสซจี ี เชอ่ื มนั่ วา่ การนำ� เทคโนโลยี BIM (Building Information Modeling) มาใชใ้ นอตุ สาหกรรม การกอ่ สรา้ งผา่ นกระบวนการออกแบบและกอ่ สรา้ งอาคารตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ จะชว่ ยลดของเสยี จากการกอ่ สรา้ ง (Construction Waste) ด้วยการสร้างแบบจ�ำลองหรือโมเดล 3 มิติ (Building Model) ท่ีรวมแบบ สถาปัตย์ โครงสร้าง และงานระบบเข้าดว้ ยกัน โดยใส่ข้อมลู ของวัสดุ องคป์ ระกอบต่างๆ ในอาคารเขา้ ไป เมือ่ มีการแกไ้ ขวัตถุหรอื สว่ นใดสว่ นหนง่ึ ของโมเดล ก็จะเกดิ การปรบั เปลี่ยนตามกัน ท�ำใหส้ ามารถวางแผน การก่อสร้าง (Timeline Management) และท�ำ Clash Detection เพ่ือตรวจสอบความผิดพลาด ผ่านโมเดลก่อนลงมอื ก่อสรา้ งอาคารจรงิ ตวั อยา่ งโครงการภายในเอสซีจที นี่ �ำเทคโนโลยี BIM มาประยุกตใ์ ช้ 1) โครงการติดตั้งแผงโซลารเ์ ซลล์ ณ โรงงานปูนซีเมนตแ์ ก่งคอยเฟสท่ี 3 น�ำเทคโนโลยี BIM มาใช้ ในการค�ำนวณวัสดุท่ีต้องใช้ เชน่ จำ� นวนเสาเข็ม จำ� นวนแผน่ โซลารเ์ ซลล์ ทำ� ใหส้ ามารถวางแผนการสั่งวสั ดุ ไดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ� ไม่ตอ้ งเสยี พื้นทใ่ี นการกองเก็บ และตน้ ทนุ ในการบริหารจดั การ 2) โรงงานแปรรปู ของเสียเป็นพลงั งานมาบตาพุด นำ� เทคโนโลยี BIM มาทำ� Clash Detection ใน งานโยธา สถาปัตย์ ไฟฟา้ เครอ่ื งกล และประปาสุขาภิบาล โดยการปรบั แบบจาก 2D เปน็ 3D และรวมแบบ สถาปัตย์กับแบบโครงสร้างเข้าด้วยกัน ท�ำให้สามารถเช็คต�ำแหน่งและความผิดพลาดของเครื่องจักรก่อน การกอ่ สรา้ ง ลดปัญหาการแก้แบบหน้างาน ปจั จบุ นั สนิ คา้ เอสซจี ไี ดถ้ กู นำ� มาปน้ั เปน็ 3D Object สำ� หรบั ใชใ้ นโปรแกรมตระกลู BIM เชน่ Revit และ ArchiCAD บนแพลทฟอรม์ BIMINONE (www.biminone.com) ซงึ่ เป็นแหลง่ รวบรวม BIM Library ท่ใี หญท่ ี่สดุ ในประเทศไทย เพ่อื ให้สถาปนกิ วศิ วกร ชา่ งเขยี นแบบ หรือผ้ทู ่ีใช้ BIM ในการออกแบบและ ก่อสรา้ งอาคาร ดาวน์โหลดไปใชง้ าน ดาวนโ์ หลด BIM Object สินคา้ เอสซจี แี ละแบรนดอ์ ื่น ๆ ไปใช้ได้ ที่ https://biminone.com/ 193

คนรักษ์โลกก�ำลังถกู ทา้ ทาย ไม่มีความส�ำเร็จใดเกิดข้ึนจากคนใดคนเดียวหรือฝ่ายใดฝ่ายเดียว แต่ความส�ำเร็จเกิดขึ้นได้เพราะ ความรว่ มมอื ของทุกคน ทุกฝา่ ย ทกุ ภาคส่วนและยิง่ ไปกว่าชัยชนะคอื ความยง่ั ยนื ทจ่ี ะเกดิ ข้ึนกับโลกของ เราใบนี้ น่ีจึงเป็นความท้าทายใหม่ที่ไม่ใช่แต่เฉพาะคนรักษ์โลกเท่านั้น ท่ีต้องรับการท้าทายน้ี ถ้าโลกนี้ จะรอดพ้นจากวิกฤตสิ่งแวดลอ้ มทกุ คน ทกุ ฝ่าย ทุกภาคสว่ นตอ้ งรับการท้าทาย เพราะในระบบเศรษฐกิจ หมนุ เวยี น หรอื Circular Economy ครอบคลมุ ตง้ั แตต่ น้ ทาง โดยเรม่ิ จากผผู้ ลติ สนิ คา้ ผจู้ ดั จำ� หนา่ ย ตลอดจน ผบู้ รโิ ภคทเี่ ปน็ ปลายทาง และเมอ่ื สนิ คา้ สนิ้ สดุ อายกุ ารใชง้ าน ผเู้ กยี่ วขอ้ งทงั้ หมดจำ� เปน็ ตอ้ งมสี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง ในการจัดการทรพั ยากรนน้ั ใหเ้ กิดความยัง่ ยืนและประโยชนส์ ูงสดุ ท้งั ตอ่ เศรษฐกจิ สงิ่ แวดล้อม และสังคม เพอ่ื การมีคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ี ความทา้ ทายน้ี ใครตอ้ งท�ำอะไร ผู้ผลิต ถอื วา่ เป็นตน้ ทางเป็นหวั ใจหลักของระบบ Circular Economy เพราะกอ่ นทจี่ ะผลติ สนิ คา้ ตา่ งๆ ต้องศกึ ษาอยา่ งรอบดา้ น ท้งั ความเปน็ ไปไดใ้ นการผลิต การใชง้ านจรงิ และความเปน็ ไปได้ในการนำ� ส่วนใดส่วนหน่ึง กลับมาเป็นทรัพยากรได้ใหม่ ความสัมพันธ์เรื่องจ�ำนวน ความต้องการ ราคาและปัจจัย ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงวิธีการ และกระบวนการต่างๆ ในโรงงาน ท่ีอาจจะต้องอาศัยการลงทุนเพ่ือ เปลย่ี นแปลงสายการผลติ บางสว่ น จงึ เปน็ เรอื่ งทา้ ทายผผู้ ลติ วา่ จะสามารถกา้ วไปสรู่ ะบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ไดเ้ รว็ หรอื ช้าขนาดไหน นอกจากน้ีผูผ้ ลิตยงั ตอ้ งคดิ ถึงวิธกี ารรบั สนิ ค้าทส่ี ิน้ สุดอายุการใช้งาน กลบั มาเป็น ทรพั ยากรไวต้ ้งั แต่ต้น เพอ่ื อำ� นวยความสะดวก และสร้างความแน่นอนวา่ ตนเองจะมที รพั ยากรกลับมาเข้า สู่ระบบ 194

ผจู้ ดั จำ� หนา่ ย ถอื วา่ เปน็ ตวั กลางระหวา่ งผผู้ ลติ และผบู้ รโิ ภคเปน็ หนง่ึ ในตวั การสำ� คญั ทจี่ ะทำ� ใหค้ วาม ท้าทายนี้ประสบความส�ำเร็จ เพราะจะต้องตอบรับสินค้าจากผู้ผลิตและพยายามเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ บริโภค หรือสรา้ งการรบั รูเ้ พือ่ ใหเ้ หน็ ถึงความสำ� คญั และจำ� เป็นตอ่ ของระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวียนที่ทุกคน เปน็ สว่ นหนึ่งในวงจรนี้ ผบู้ รโิ ภค คนปลายทางจะตอ้ งตระหนกั ถงึ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ งสง่ิ แวดลอ้ ม ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการ บรโิ ภคของตวั เอง ด้วยการสนับสนุนสินคา้ ที่เปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม หรอื สง่ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อมน้อย ท่ีสุด รวมถึงเรียนรู้ถึงการคัดแยกขยะ เพื่อน�ำมาหมุนเวียนเข้าสู่กระบวนการผลิตใหม่ ก็จะเกิดประโยชน์ ตอ่ ระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวียนได้ครบวงจร สิ่งส�ำคัญที่สุดของผู้ท่ีอยู่ในระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน คือต้องคิดว่าตัวเองคือกลไกหนึ่งในระบบ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ทกุ ๆ พฤตกิ รรม ทกุ ๆ การเปลยี่ นแปลงของตวั เองสง่ ผลตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ทงั้ หมดคำ� วา่ เศรษฐกิจหมนุ เวียน อาจจะเป็นคำ� ใหม่สำ� หรับคนไทย แตค่ วามตระหนกั ถงึ ปญั หาสง่ิ แวดล้อม ทีแ่ สดงออก ผา่ นการลงมอื ทำ� ของทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชนและประชาชน เชน่ การรณรงคแ์ ยกขยะ การใชถ้ งุ ผา้ หรอื ความ พยายามลดขยะท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจ�ำวัน ตัวอย่างเหล่าน้ีคือความหมายท่ีแท้จริงที่เกิดข้ึนอยู่ และมันจะ เติบโตข้นึ ได้ถา้ ทกุ ภาคสว่ นร่วมมอื กนั อยา่ งจริงจัง เพือ่ สร้างความย่งั ยืนในระดบั ประเทศ 195

ตัวอยา่ งแผนจดั กจิ กรรม Module 7: Circular Living in Action ความตระหนกั และแรงผลกั ดนั สวู่ ิถีชีวติ ภายใต้แนวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นและสงั คมเศรษฐกจิ หมุนเวียน ชว่ั โมง เนื้อหากจิ กรรม รปู แบบการสอน มอบหมายงาน ประเมินผล แนะนำ� โครงการ Group Card (5%) 0.5 รณรงค์ แบ่งกล่มุ กลุ่มละ 16 คน (5%) จำ� นวน 10 กลมุ่ ต่อ 1 sec- (5%) (5%) tion (5%) (5%) 0.5 ประชมุ : ออกแบบ Project Mind Map (20%) โครงงาน 0.5 กจิ กรรม : Circular ประชุม : แบง่ หน้าท่ี Organization Chart (20%) Living in Action ประชุม : 0.5 ความตระหนักและแรง แผนปฏิบตั งิ าน Project Timeline 0.5 ผลักดันส่วู ถิ ชี วี ติ ภาย ประชุม : งบประมาณ Budget Matrix 0.5 ใตแ้ นวคดิ เศรษฐกจิ น�ำเสนอ : Defense Project หมุนเวียนและสงั คม โครงการรณรงค์ เศรษฐกจิ หมนุ เวียน ภาคสนาม : Poster 1-2 รณรงค์ออนไลน์ ขนาด 150 x 75 ซม. (.jpg) video presentation 1-2 ความยาว 1 นาที 1 นทิ รรศการออนไลน์ Poster (15%) รวมคะแนน (15%) ประเมินผลการ ขนาด 150 x 75 ซม. (.jpg) (100%) จดั กจิ กรรม video presentation ความยาว 1 นาที ตรวจสอบคะแนนทั้งหมด 196

คณะท่ปี รึกษาและกำ� กับโครงการ รายวชิ าการศกึ ษาทัว่ ไป ดา้ นเศรษฐกจิ หมนุ เวียนสำ� หรับระดบั อดุ มศกึ ษา 1. คุณอรนชุ รัตนะ ทป่ี รกึ ษา ส�ำนักงานสภานโยบายการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรมแห่งชาติ ที่ปรกึ ษา 2. รองศาสตราจารย์ ดร.ธำ� รงรัตน์ มุ่งเจรญิ ที่ปรึกษา ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ ที่ปรึกษา 3. รองศาสตราจารย์ ดร.พรี เดช ทองอ�ำไพ สถาบนั คลงั สมองของชาติ ทป่ี รึกษา 4. ดร.วจิ ารย์ สมิ าฉายา ท่ีปรึกษา เครอื ข่ายส่งเสริมการผลติ และการบรโิ ภคที่ยั่งยนื แห่งประเทศไทย ทีป่ รกึ ษา และโครงการความร่วมมือภาครฐั ภาคธรุ กจิ ภาคประชาสังคม ทป่ี รึกษา เพื่อจัดการพลาสติกและขยะอย่างยงั่ ยืน 5. ดร.อรทัย พงศ์รกั ธรรม สถาบนั ส่ิงแวดลอ้ มไทย 6. คุณคงศกั ดิ์ ดอกบวั สถาบนั พลาสติก 7. รองศาสตราจารย์ ดร.ลดาวัลย์ พวงจติ ร เครือข่ายการศกึ ษาทัว่ ไปแห่งประเทศไทย 8. ผศ.ดร. รชั ด ชมภนู ชิ ผู้แทนเครอื ขา่ ยมหาวิทยาลัยยัง่ ยืน 197

คณะท�ำงานการพฒั นาคมู่ อื การสอน รายวชิ าการศกึ ษาทั่วไป ด้านเศรษฐกจิ หมนุ เวียน สำ� หรบั ระดับอดุ มศกึ ษา 1. รองศาสตราจารย์ ดร.ลดาวลั ย์ พวงจติ ร ที่ปรกึ ษา รองประธานคณะกรรมการบริหารเครอื ขา่ ยศึกษาทั่วไปแหง่ ประเทศไทย และรองอธกิ ารบดฝี ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รตั นาวรรณ มัง่ ค่งั ประธาน คณะสง่ิ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ รองประธาน คณะท�ำงาน 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กติ ติภมู ิ มปี ระดษิ ฐ์ สำ� นกั วิชาศึกษาทวั่ ไป มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ 4. ดร. พงษ์วภิ า หลอ่ สมบูรณ์ องคก์ ารบริหารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก 5. ศาสตราจารย์ ดร.แชบเบยี ร์ กีวาลา คณะทำ� งาน บณั ฑิตวทิ ยาลยั ร่วมดา้ นพลงั งานและส่งิ แวดลอ้ ม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 6. รองศาตราจารย์ ดร.ธภทั ร ศลิ าเลิศรักษา คณะท�ำงาน บณั ฑติ วทิ ยาลยั รว่ มด้านพลังงานและสิง่ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี 7. รองศาตราจารย์ ดร.เศรษฐ์ สมั ภัตตะกุล คณะท�ำงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ 8. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร จักรวัฒนา คณะท�ำงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 9. ดร.สุจติ รา วาสนาด�ำรงดี คณะท�ำงาน สถาบันวจิ ยั สภาวะแวดลอ้ ม จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย 198

คณะท�ำงานการพฒั นาคู่มือการสอน รายวิชาการศกึ ษาทัว่ ไป ดา้ นเศรษฐกิจหมนุ เวียน สำ� หรบั ระดับอุดมศึกษา 10. อาจารย์ ดร.ณฐั วรพล รัชสิริวชั รบลุ คณะท�ำงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร 11. รองศาตราจารย์ ดร.วารีรัตน์ แก้วอุไร คณะท�ำงาน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 12. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนสั นันท์ หัตถศักด์ิ คณะท�ำงาน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 13. นางสาวนพเกา้ สจุ ริตกุล คณะทำ� งาน ตลาดหลักทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย 14. คุณประวิทย์ พรพพิ ัฒน์กลุ คณะทำ� งาน กลมุ่ ปโิ ตรเคมี สภาอุตสาหกรรม และโครงการความรว่ มมือภาครฐั ภาคธรุ กิจ ภาคประชาสงั คมเพ่อื จัดการพลาสติกและขยะอยา่ งย่งั ยนื 15. คณุ ประทรรศน์ สูตะบตุ ร คณะทำ� งาน บรษิ ทั ดาวเคมิคอล ประเทศไทย จำ� กดั 16. นายคงศกั ด์ิ ดอกบัว คณะท�ำงาน สถาบันพลาสติก 17. คณุ ณัฏฐิณี เนตรอ�ำไพ คณะทำ� งาน บริษทั ยูนลิ เี วอร์ ไทย เทรดด้งิ จ�ำกัด 18. คุณสยุมพร เหล่าวชริ ะสวุ รรณ คณะทำ� งาน บรษิ ทั อนิ โดรามา เวนเจอรส์ จำ� กดั (มหาชน) 19. รองศาสตราจารย์ ดร.รัฐชา ชัยชนะ คณะทำ� งานและเลขานุการ คณะสิ่งแวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 199

รายชอ่ื ผูแ้ ต่งค่มู อื การสอน รายวชิ าการศกึ ษาทว่ั ไป ดา้ นเศรษฐกิจหมุนเวยี นส�ำหรบั ระดบั อุดมศกึ ษา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รัตนาวรรณ มั่งคงั่ คณะสิ่งแวดล้อม มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ผ้แู ตง่ : Carbon Footprint คาร์บอนฟุตพรน้ิ ท์ Circular Economy: แนวคดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวียน (รว่ มแต่ง) Circular Business Model: โมเดลธรุ กจิ หมนุ เวยี น (รว่ มแตง่ ) Design Thinking for Circular Business: นวัตกรรม ประยกุ ต์ใช้แนวคดิ เชิงออกแบบภายใตแ้ นวคิด เศรษฐกิจหมนุ เวียน (ร่วมแต่ง) ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ กติ ติภมู ิ มปี ระดษิ ฐ์ สำ� นักวชิ าศกึ ษาท่วั ไป มหาวิทยาลัยศรปี ทุม ผแู้ ตง่ : Circular Lifestyle วถิ ชี ีวติ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกจิ หมนุ เวียน Circular Living in Action ความตระหนักและ แรงผลกั ดันสวู่ ิถีชีวติ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวยี น และสังคมเศรษฐกิจหมุนเวียน (ร่วมแต่ง) ดร. พงษ์วภิ า หลอ่ สมบูรณ ์ องคก์ ารบรหิ ารจัดการกา๊ ซเรอื นกระจก ผู้แต่ง: Circular Economy แนวคดิ เศรษฐกจิ หมุนเวียน 200


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook