๔. หากประเทศสมาชกิ ไมส่ ามารถตกลงกันไดโ้ ดยหลักฉันทามติ ให้ใชก้ ารตัดสินใจ รูปแบบอื่นได้ตามทผ่ี ้นู าํ กาํ หนด ๕. เพิ่มความยืดหยุ่นในการตีความหลักการไม่แทรกแซงกิจการภายใน โดยมี ข้อกาํ หนดว่า หากเกิดปัญหาที่กระทบต่อผลประโยชน์ส่วนรวมของอาเซียนหรือเกิดสถานการณ์ ฉกุ เฉิน ประเทศสมาชิกต้องหารอื กันเพื่อแก้ไขปญั หา และกาํ หนดให้ประธานอาเซียนเสนอวิธีการ แก้ไขปญั หาดงั กล่าว ๖. กฎบตั รอาเซียนจะให้สถานะนติ บิ คุ คลแกอ่ าเซยี นในฐานะองค์กรระหว่างรัฐบาล ในการมปี ฏิสมั พันธก์ ับองค์กรอ่นื ๆ ซ่งึ เป็นพ้นื ฐานสําหรบั ความร่วมมอื ทใ่ี กล้ชิดย่งิ ข้นึ ในอนาคต กลไกตรวจสอบและตดิ ตามความตกลงตา่ งๆ ให้มีผลเป็นรูปธรรม กฎบัตรอาเซียนสร้างกลไกตรวจสอบและติดตามการดําเนินการตามความตกลง ต่างๆ ของประเทศสมาชิกในหลากหลายรปู แบบ อาทิ (๑) ให้อาํ นาจเลขาธกิ ารอาเซียนดูแลการปฏิบตั ติ ามพนั ธกรณีและคําตัดสินของ องค์กรระงับข้อพพิ าท (๒) หากการปฏบิ ตั ิหรอื ไมป่ ฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลงตา่ งๆ ทาํ ใหเ้ กิดข้อพพิ าทระหว่าง รัฐสมาชกิ สามารถใชก้ ลไกและข้ันตอนระงบั ข้อพพิ าทท้งั ท่มี ีอยู่แล้วและที่จะต้ังข้ึนใหม่เพ่ือแก้ไข ขอ้ พิพาทท่เี กดิ ขึ้นโดยสันติวิธี (๓) หากมกี รณลี ะเมดิ พันธกรณีในกฎบัตรฯ อยา่ งร้ายแรง ผนู้ ําอาเซยี นสามารถ กําหนดมาตรการใด ๆ ที่เหมาะสมเพื่อลงโทษได้ แม้จะไม่ได้ระบุโทษอย่างชัดเจนว่าเป็นการ เพิกถอนสทิ ธิ หรอื ขับออกจากการเป็นสมาชิกกต็ าม มาตรการตา่ งๆ เหล่าน้จี ะช่วยให้สมาชิกให้ความสําคญั กับความตกลง และกฎกติกา ในการอยู่รว่ มกันมากขึ้น รวมถึงมกี ารปฏิบัติตามพันธกรณีต่างๆ มากข้ึน เพราะมีกลไกตรวจสอบ และตดิ ตามผลไปจนถึงการลงโทษในกรณีท่มี กี ารละเมิดกฎบัตรท่ีชัดเจนข้ึน ซึ่งจะช่วยให้ประเทศ สมาชิกไดร้ บั ประโยชนจ์ ากความตกลงที่มขี องอาเซยี นมากขึ้น ๑๕๑
คาแปล กฎบัตรสมาคมแหง่ ประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ************** อารัมภบท เรา บรรดาประชาชนของรฐั สมาชกิ ของสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) โดยมีประมุขรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาลของบรูไนดารุสซาลาม ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐ อนิ โดนเี ซยี สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สหภาพพม่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม เป็นผู้แทน รับทราบ ด้วยความพึงพอใจในความสําเร็จอย่างสูงและการขยายตัวของอาเซียนนับต้ังแต่มีการก่อตั้งข้ึนท่ี กรุงเทพมหานครด้วยการประกาศใช้ปฏิญญาอาเซียน โดยระลึกถึงการตัดสินใจจัดทํากฎบัตร อาเซยี น ตามแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ ปฏญิ ญากวั ลาลัมเปอร์ว่าดว้ ยการจดั ทาํ กฎบัตรอาเซียนและ ปฏิญญาเซบูว่าด้วยแผนแม่บทของกฎบัตรอาเซียน ตระหนักถึงการมีผลประโยชน์ร่วมกันและ การพึ่งพาอาศัยกันระหว่างประชาชนและรัฐสมาชิกอาเซียนซึ่งมีความผูกพันกันทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนมีวตั ถุประสงค์และชะตารว่ มกันไดร้ ับแรงบันดาลใจและรวมกันภายใต้วิสัยทัศน์เดียวกัน อัตลักษณ์เดียวกัน และประชาคมท่ีมีความเอ้ืออาทรเดียวกัน รวมกันด้วยความปรารถนาและ เจตจํานงร่วมกันท่ีจะดํารงอยู่ในภูมิภาคแห่งสันติภาพ ความมั่นคงและเสถียรภาพท่ีถาวร มี การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ทย่ี ง่ั ยืน มคี วามมง่ั คงั่ และความก้าวหนา้ ทางสังคมร่วมกนั และท่ีจะส่งเสริม ผลประโยชน์ อดุ มการณ์ และแรงดลใจทสี่ ําคัญของอาเซยี น เคารพความสําคญั พน้ื ฐานของมิตรภาพ และความร่วมมือ และหลักการแห่งอธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่ แทรกแซงในกิจการภายใน ฉันทามติและเอกภาพในความหลากหลาย ยึดม่ันในหลักการแห่ง ประชาธิปไตย หลกั นติ ธิ รรม และธรรมาภิบาล การเคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ ขั้นพ้ืนฐาน ตกลงใจทจ่ี ะประกันการพฒั นาอย่างยง่ั ยนื เพ่อื ประโยชน์ของประชาชนรุ่นปัจจุบันและ อนาคต และตั้งมั่นให้ ความอยู่ดีกินดี การดํารงชีวิตและสวัสดิการของประชาชนเป็นแกนของ กระบวนการสร้างประชาคมอาเซยี น ๑๕๒
เช่ือมั่นในความจําเป็นท่ีจะกระชับสายสัมพันธ์ท่ีมีอยู่ของความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันในระดับ ภูมิภาค เพ่ือบรรลุประชาคมอาเซียนท่ีมีความเหนียวแน่นทางการเมือง การรวมตัวทางเ ศรษฐกิจ และมีความรับผิดชอบทางสังคม เพ่ือที่จะตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพต่อความท้าทายและ โอกาสในปจั จุบันและอนาคต ผกู พันทจ่ี ะเร่งสร้างประชาคมโดยผา่ นความรว่ มมือ และการรวมตวั ในภูมิภาคที่เพิ่มข้ึน โดยเฉพาะ อยา่ งย่งิ โดยการจดั ตงั้ ประชาคมอาเซียน ซง่ึ ประกอบด้วยประชาคมความม่ันคงอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจอาเซยี น และประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน ตามทร่ี ะบุไวใ้ นปฏญิ ญาบาหลวี า่ ดว้ ย ข้อตกลงอาเซยี นฉบบั ที่ ๒ ในการนี้ จงึ ตกลงใจที่จะจัดทํากรอบทางกฎหมายและทางสถาบันของอาเซยี นโดยกฎบัตรน้ี และเพ่ือการน้ี ประมุขรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียน ซ่ึงมาประชุมกันท่ี สิงคโปร์ ในวาระประวัติศาสตร์ครบรอบ ๔๐ ปีของการก่อตั้งอาเซียน ได้เห็นชอบกับกฎบัตร อาเซียนน้ี หมวดท่ี ๑ วัตถปุ ระสงคแ์ ละหลักการ ข้อ ๑: วตั ถปุ ระสงค์ วตั ถปุ ระสงคข์ องอาเซยี นคือ ๑. เพ่ือธํารงรักษาและเพ่ิมพูนสันติภาพ ความม่ันคง และเสถียรภาพ กับทั้งเสริมสร้างคุณค่า ทางสันตภิ าพในภูมิภาคใหม้ ากข้ึน ๒. เพือ่ เพิ่มความสามารถในการปรับตวั สสู่ ภาวะปกติของภูมิภาคโดยการสง่ เสริมความร่วมมือ ดา้ นการเมือง ความมัน่ คง เศรษฐกิจและสังคมวฒั นธรรมให้แนน่ แฟ้นยิ่งขึ้น ๓. เพอ่ื ธาํ รงรกั ษาเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตใ้ ห้เป็นเขตปลอดอาวุธนิวเคลยี รแ์ ละปราศจากอาวุธท่ี มอี านภุ าพทําลายล้างสูงอน่ื ๆ ทกุ ชนดิ ๔. เพอื่ ใหม้ นั่ ใจวา่ ประชาชนและรัฐสมาชิกของอาเซียนอยู่ร่วมกับประชาคมโลกได้โดยสันติ ในสภาวะทีเ่ ปน็ ธรรม มีประชาธปิ ไตยและมคี วามสมานสามัคคี ๑๕๓
๕. เพ่ือสร้างตลาดและฐานการผลิตเดียวที่มีเสถียรภาพ ความมั่งคั่ง มีความสามารถใน การแข่งขันสูง และมีการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจซ่ึงมีการอํานวยความสะดวกทางการค้า และการลงทุนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการเคล่ือนย้ายอย่างเสรีของสินค้า บริการ และ การลงทุน การเคลื่อนย้ายท่ีได้รับความสะดวกของนักธุรกิ จ ผู้ประกอบวิชาชีพ ผ้มู คี วามสามารถพิเศษและแรงงาน และการเคล่อื นยา้ ยอย่างเสรยี ิง่ ขนึ้ ของเงนิ ทนุ ๖. เพอ่ื บรรเทาความยากจนและลดชอ่ งว่างการพัฒนาในอาเซยี นผ่านความช่วยเหลือซงึ่ กนั และ กันและความรว่ มมอื ๗. เพือ่ เสริมสร้างประชาธปิ ไตย เพม่ิ พูนธรรมาภิบาล และหลกั นติ ธิ รรม ตลอดจนส่งเสริมและ ค้มุ ครองสิทธมิ นษุ ยชนและเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานโดยคํานึงถึงสิทธิและหน้าที่ของรัฐสมาชิก ของอาเซยี น ๘. เพอ่ื เผชญิ หน้าอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ตามหลักความมนั่ คงท่ีครอบคลมุ ในทกุ มติ ิ ต่อสง่ิ ทา้ ทาย ทกุ รูปแบบ อาชญากรรมข้ามชาติ และสงิ่ ทา้ ทายขา้ มพรมแดนอ่ืนๆ ๙. เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาอย่างย่ังยืน เพ่ือทําให้แน่ใจว่ามีการคุ้มครองสภาพแวดล้อมใน ภมู ิภาค ความยงั่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติในภมู ิภาค การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมใน ภูมภิ าค และคุณภาพชีวติ ทด่ี ขี องประชาชนในภมู ิภาค ๑๐. เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยผ่านความร่วมมือที่ใกล้ชิดย่ิงข้ึนในเร่ืองการศึกษาและ การเรียนรู้ตลอดชีพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ือเสริมสร้างพลังประชาชนและ เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ แห่งประชาคมอาเซยี น ๑๑. เพื่อเพิ่มพูนความอยดู่ กี นิ ดีและการดาํ รงชีวติ ของประชาชนอาเซียนด้วยการให้ประชาชนมี โอกาสที่ทัดเทียมกนั ในการเขา้ ถึงการพฒั นามนษุ ย์ สวสั ดกิ ารสงั คม และความยุติธรรม ๑๒. เพ่ือเสริมสร้างความร่วมมือในการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัย ม่ันคง และปราศจาก ยาเสพติดสําหรบั ประชาชนของอาเซียน ๑๓. เพื่อส่งเสริมอาเซยี นทม่ี ปี ระชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งทกุ ภาคสว่ นของสังคมได้รบั การสง่ เสรมิ ใหม้ สี ่วนรว่ มและไดร้ ับผลประโยชน์จากกระบวนการรวมตัวและการสร้างประชาคมของ อาเซยี น ๑๔. เพ่ือส่งเสริมอัตลักษณ์ของอาเซียนด้วยการส่งเสริมความสํานึกถึงความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและมรดกของภมู ิภาคย่งิ ข้ึน และ ๑๕๔
๑๕. เพ่ือธํารงไว้ซึ่งความเป็นศูนย์รวมและบทบาทเชิงรุกของอาเซียนในฐานะพลังขับเคลื่อน ขั้นแรกของความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับหุ้นส่วนนอกภูมิภาคใน ภาพแบบของภูมภิ าคท่ีเปิดกว้าง โปร่งใส และไม่ปดิ กน้ั ขอ้ ๒ : หลกั การ ๑. ในการดาํ เนนิ การเพื่อใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์ตามข้อ ๑ อาเซียนและรฐั สมาชิกอาเซียนยืนยัน และยึดมั่นในหลักการพื้นฐานที่ปรากฏในปฏิญญา ความตกลง อนุสัญญา ข้อตกลง สนธสิ ัญญา และตราสารอนื่ ๆ ของอาเซียน ๒. อาเซียนและรฐั สมาชิกอาเซียนจะปฏิบัตติ ามหลกั การดังตอ่ ไปน้ี (ก) การเคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บรู ณภาพแหง่ ดินแดน และอตั ลักษณ์ แหง่ ชาตขิ องรฐั สมาชิกอาเซยี นทงั้ ปวง (ข) ความผูกพนั และความรับผิดชอบรว่ มกนั ในการเพ่ิมพนู สันตภิ าพ ความมั่นคงและ ความมั่งค่ังของภมู ิภาค (ค) การไมใ่ ช้การรุกราน และการข่มข่วู า่ จะใชห้ รอื การใช้กาํ ลงั หรือการกระทําอน่ื ใด ในลักษณะทขี่ ัดต่อกฎหมายระหว่างประเทศ (ง) การอาศยั การระงับข้อพิพาทโดยสันติ (จ) การไมแ่ ทรกแซงกจิ การภายในของรฐั สมาชิกอาเซยี น (ฉ) การเคารพสทิ ธขิ องรฐั สมาชกิ ทกุ รฐั ในการธํารงประชาชาตขิ องตนโดยปราศจาก การแทรกแซง การบ่อนทําลาย และการบงั คับ จากภายนอก (ช) การปรึกษาหารอื ท่ีเพมิ่ พูนขึ้นในเร่อื งทม่ี ผี ลกระทบอย่างร้ายแรงต่อผลประโยชน์ รว่ มกันของอาเซยี น (ซ) การยึดมน่ั ต่อหลักนิตธิ รรม ธรรมาภิบาล หลกั การประชาธิปไตยและรัฐบาลตาม รัฐธรรมนูญ (ฌ) การเคารพเสรีภาพพน้ื ฐาน การสง่ เสรมิ และค้มุ ครองสทิ ธิมนุษยชน และการส่งเสริม ความยตุ ธิ รรมทางสังคม (ญ) การยึดถอื กฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงกฎหมาย มนษุ ยธรรมระหว่างประเทศ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรบั ๑๕๕
(ฎ) การละเวน้ จากการมสี ่วนรว่ มในนโยบายหรอื กิจกรรมใดๆรวมถงึ การใชด้ นิ แดนของ ตน ซง่ึ ดําเนนิ การโดยรฐั สมาชกิ อาเซยี นหรือรฐั ทมี่ ิใช่สมาชิกอาเซียนหรือผูก้ ระทําท่ี ไมใ่ ชร่ ฐั ใดๆ ซึง่ คุกคามอธปิ ไตย บรู ณภาพแห่งดินแดน หรือเสถยี รภาพทางการเมือง และเศรษฐกิจของรฐั สมาชกิ อาเซยี น (ฏ) การเคารพในวัฒนธรรม ภาษาและศาสนาทแ่ี ตกตา่ งของประชาชนอาเซียน โดยเน้น คุณคา่ ร่วมกันของประชาชนอาเซียนในจติ วิญญาณของเอกภาพในความหลากหลาย (ฐ) ความเป็นศูนย์รวมของอาเซียนในความสัมพันธ์ภายนอกทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรม โดยคงไว้ซ่ึงความมีสว่ นร่วมอย่างแขง็ ขัน การมองไปภายนอก การไม่ปิดกั้นและการไมเ่ ลอื กปฏิบัติ และ (ฑ) การยึดมัน่ ในกฎการค้าพหุภาคแี ละระบอบของอาเซยี นซ่งึ มกี ฎเป็นพื้นฐาน สําหรบั การปฏบิ ตั ิตามขอ้ ผูกพนั ทางเศรษฐกจิ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และการลดอย่างคอ่ ยเปน็ ค่อยไป เพ่ือไปสู่การขจัดการกีดกันท้ังปวงต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับ ภูมิภาค ในระบบเศรษฐกจิ ซึง่ ขับเคลื่อนโดยตลาด หมวดที่ ๒ สภาพบคุ คลตามกฎหมาย ขอ้ ๓ : สภาพบคุ คลตามกฎหมายของอาเซยี น อาเซียน ในฐานะองคก์ ารระหว่างประเทศในระดบั รฐั บาล ได้รบั สภาพบุคคลตามกฎหมายโดย กฎบัตรน้ี หมวดท่ี ๓ สมาชิกภาพ ขอ้ ๔ : รัฐสมาชกิ ๑๕๖
๑. รฐั สมาชิกอาเซียน ไดแ้ ก่ บรไู นดารสุ ซาลาม ราชอาณาจกั รกมั พูชา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สหภาพพม่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐสงิ คโปร์ ราชอาณาจกั รไทย และสาธารณรฐั สังคมนิยมเวยี ดนาม ขอ้ ๕ : สทิ ธิและพนั ธกรณี ๑. ให้รฐั สมาชกิ มีสทิ ธแิ ละพนั ธกรณีทเี่ ท่าเทยี มกนั ภายใต้กฎบตั รนี้ ๒. ให้รัฐสมาชิกมมี าตรการที่จาํ เป็นทุกประการอันรวมถึงการออกกฎหมายภายในที่เหมาะสม เพ่ืออนุวัติบทบัญญัติของกฎบัตรน้ีอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อปฏิบัติตามพันธกรณี ทง้ั หมดของรฐั สมาชิก ๓. ในกรณกี ารละเมิดกฎบตั รอยา่ งร้ายแรง หรอื การไม่ปฏบิ ตั ิตาม ใหน้ าํ ขอ้ 20 มาใช้บงั คบั ข้อ ๖ : การรับสมาชิกใหม่ ๑. กระบวนการในการสมคั รและการรบั สมาชิกของอาเซยี นให้กาํ หนดโดยคณะมนตรี ประสานงานอาเซียน ๒. การรบั สมาชกิ ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ต่อไปนี้ (ก) ท่ตี งั้ ทางภมู ิศาสตร์อนั เปน็ ที่ยอมรบั ว่าอย่ใู นภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ข) การยอมรับโดยรฐั สมาชิกอาเซยี นท้ังปวง (ค) การตกลงท่ีจะผกู พนั และเคารพกฎบัตรนี้ และ (ง) ความสามารถและความเตม็ ใจทจี่ ะปฏิบัตพิ นั ธกรณขี องสมาชิกภาพ ๓. การรบั สมาชกิ ใหต้ ดั สนิ โดยฉนั ทามตโิ ดยที่ประชุมสดุ ยอดอาเซยี น ตามข้อเสนอแนะ ของคณะมนตรปี ระสานงานอาเซยี น ๔. รฐั ผสู้ มคั รจะไดร้ บั เขา้ เปน็ สมาชิกอาเซียนเมอื่ ไดล้ งนามภาคยานวุ ัตสิ ารกฎบตั รน้ี ๑๕๗
หมวดท่ี ๔ องคก์ ร ขอ้ ๗ : ท่ีประชุมสุดยอดอาเซียน ๑. ใหท้ ีป่ ระชุมสุดยอดอาเซยี นประกอบดว้ ยประมขุ ของรฐั หรือ หวั หนา้ รฐั บาลของรฐั สมาชิก ๒. ใหท้ ป่ี ระชมุ สุดยอดอาเซียน: (ก) เป็นองคก์ รสูงสดุ ในการกําหนดนโยบายของอาเซียน (ข) พิจารณาหารือ ใหแ้ นวนโยบาย และตดั สนิ ใจในประเดน็ หลกั ท่เี กย่ี วข้องกบั การบรรลวุ ัตถุประสงคข์ องอาเซียน ในเรอื่ งสาํ คัญทีเ่ ป็นผลประโยชนข์ องรัฐสมาชิก และในทุกประเด็นท่ีได้มีการนําเสนอต่อท่ีประชุมสุดยอดอาเซียนโดยคณะมนตรี ประสานงานอาเซียน คณะมนตรีประชาคมอาเซียน และองค์กรระดับรัฐมนตรี เฉพาะสาขา (ค) ส่ังการให้รัฐมนตรีท่ีเกี่ยวข้องในแต่ละคณะมนตรีที่เกี่ยวข้องให้จัดการประชุม เฉพาะกจิ ระหว่างรฐั มนตรี และหารือประเด็นสําคัญท่ีเก่ียวกับอาเซียน ท่ีมีลักษณะ คาบเกี่ยวระหว่างคณะมนตรีประชาคมอาเซียนต่างๆ ทั้งนี้ ให้คณะมนตรี ประสานงานอาเซียนรับรองกฎการดําเนินการประชมุ ดังกลา่ ว (ง) ตอบสนองสถานการณ์ฉกุ เฉินทีก่ ระทบต่ออาเซียนโดยดาํ เนินมาตรการที่เหมาะสม (จ) ตดั สินใจในเรอ่ื งท่ีมกี ารนาํ เสนอตอ่ ท่ปี ระชมุ สดุ ยอดอาเซียนภายใต้หมวดที่ ๗ และ ๘ (ฉ) อนมุ ัติการจัดต้ังและการยุบองคก์ รระดับรฐั มนตรเี ฉพาะสาขาและสถาบนั อน่ื ๆ ของ อาเซยี น และ (ช) แต่งตั้งเลขาธิการอาเซียน ท่ีมีชั้นและสถานะเทียบเท่ารัฐมนตรีซ่ึงจะปฏิบัติหน้าท่ี โดยได้รับความไว้วางใจและตามความพอใจของประมุขของรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาล ตามขอ้ เสนอแนะของที่ประชมุ รฐั มนตรตี า่ งประเทศอาเซยี น ๓. ให้ทป่ี ระชมุ สดุ ยอดอาเซียน (ก) จัดประชุมสองครง้ั ต่อปี และให้รฐั สมาชิกซงึ่ เป็นประธานอาเซยี นเปน็ เจา้ ภาพ และ (ข) เรียกประชุมเมื่อมีความจําเป็น ในฐานะการประชุมพิเศษหรือเฉพาะกิจ โดยมี ประธาน การประชุมเป็นรัฐสมาชิกซึ่งเป็นประธานอาเซียนโดยจัดในสถานที่ท่ีรัฐ ๑๕๘
สมาชิกอาเซียนจะตกลงกนั ขอ้ ๘ : คณะมนตรปี ระสานงานอาเซียน ๑. ใหค้ ณะมนตรีประสานงานอาเซียนประกอบดว้ ยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน และประชุม กันอย่างน้อยสองคร้ังต่อปี ๒. ใหค้ ณะมนตรปี ระสานงานอาเซยี น (ก) เตรยี มการประชมุ ของท่ีประชุมสุดยอดอาเซียน (ข) ประสานการอนวุ ตั คิ วามตกลงและข้อตดั สนิ ใจของทีป่ ระชุมสดุ ยอดอาเซยี น (ค) ประสานงานกบั คณะมนตรปี ระชาคมอาเซยี นต่างๆ เพ่อื เพิม่ ความสอดคล้องกนั ของ นโยบาย ประสิทธิภาพ และความรว่ มมอื ระหว่างกนั (ง) ประสานงานรายงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียน ซ่ึงเสนอท่ีประชุมสุดยอด อาเซยี น (จ) พจิ ารณารายงานประจําปขี องเลขาธกิ ารอาเซียนเกีย่ วกบั งานของอาเซยี น (ฉ) พิจารณารายงานของเลขาธิการอาเซยี นเกีย่ วกบั หนา้ ทแ่ี ละการดาํ เนินงานของ สาํ นักงานเลขาธกิ ารอาเซียนและองค์กรอน่ื ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง (ช) เหน็ ชอบการแตง่ ตงั้ และการยุติหน้าท่ีของรองเลขาธิการอาเซียน ตามข้อเสนอแนะ ของเลขาธกิ ารอาเซียน และ (ซ) ปฏิบตั ภิ ารกิจอื่นตามทก่ี ําหนดไว้ในกฎบัตรนี้ หรือหน้าท่ีอื่นท่ีได้รับมอบหมายจาก ทีป่ ระชุมสุดยอดอาเซียน ๓. ใหค้ ณะมนตรีประสานงานอาเซียนได้รับการสนับสนนุ โดยเจา้ หนา้ ทอี่ าวโุ สท่เี กย่ี วข้อง ข้อ ๙ : คณะมนตรีประชาคมอาเซียนต่างๆ ๑. ใหค้ ณะมนตรปี ระชาคมอาเซยี นต่างๆ ประกอบด้วยคณะมนตรีประชาคมการเมอื งและความ มน่ั คงอาเซยี น คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และคณะมนตรีประชาคมสังคมและ วฒั นธรรมอาเซียน ๒. ให้คณะมนตรปี ระชาคมอาเซยี นแต่ละคณะมีองค์กรระดับรัฐมนตรีเฉพาะสาขาท่ีเกี่ยวข้อง ในขอบข่ายการดาํ เนนิ งานของตน ๑๕๙
๓. ให้รัฐสมาชิกแต่ละรัฐแต่งตั้งผู้แทนของรัฐตนสําหรับการประชุมคณะมนตรีประชาคม อาเซยี นแตล่ ะคณะ ๔. เพอ่ื ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคข์ องแต่ละเสาหลักของเสาหลกั ท้ังสามของประชาคมอาเซียน ให้ คณะมนตรปี ระชาคมอาเซียนแตล่ ะคณะ (ก) ทําใหแ้ น่ใจวา่ มกี ารอนุวตั ขิ ้อตัดสนิ ใจของทปี่ ระชมุ สดุ ยอดอาเซียนท่เี ก่ยี วขอ้ ง (ข) ประสานการปฏิบัติงานของสาขาต่างๆ ทอ่ี ยใู่ นขอบข่ายการดําเนินงานของตน และ ในประเดน็ ซึ่ง คาบเกี่ยวกบั คณะมนตรีประชาคมอื่นๆ และ (ค) เสนอรายงานและข้อเสนอแนะตอ่ ท่ีประชุมสดุ ยอดอาเซยี นเกี่ยวกับเรือ่ งทอี่ ยู่ใน ขอบขา่ ยการดําเนนิ งานของตน ๕. ให้คณะมนตรีประชาคมอาเซียนแต่ละคณะประชุมกันอย่างน้อยสองครั้งต่อปี และ มีประธานการประชมุ เปน็ รฐั มนตรีทเี่ หมาะสมจากรัฐสมาชิกซึง่ เปน็ ประธานอาเซยี น ๖. ให้คณะมนตรีประชาคมอาเซียนแต่ละคณะได้รับการสนับสนุนจากเจ้าหน้าท่ีอาวุโสที่ เกยี่ วขอ้ ง ขอ้ ๑๐ : องค์กรระดับรัฐมนตรอี าเซยี นเฉพาะสาขา ๑. ให้องคก์ รระดบั รัฐมนตรอี าเซียนเฉพาะสาขา (ก) ดาํ เนินงานตามอํานาจหน้าท่ขี องแตล่ ะองคก์ รทมี่ อี ยู่ (ข) ปฏิบตั ิตามความตกลงและขอ้ ตดั สนิ ใจของท่ปี ระชุมสุดยอดอาเซียนทอี่ ยู่ใน ขอบข่ายการดาํ เนนิ งานของแต่ละองคก์ ร (ค) เสรมิ สร้างความร่วมมอื ในสาขาของแตล่ ะองคก์ รใหเ้ ขม้ แข็งขน้ึ เพือ่ สนับสนุน การรวมตวั ของอาเซียนและการสร้างประชาคมอาเซยี น และ (ง) เสนอรายงานและขอ้ เสนอแนะต่อคณะมนตรปี ระชาคมอาเซียนของแตล่ ะองค์กร ๒. องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขาแต่ละองค์กรอาจมีเจ้าหน้าที่อาวุโสและองค์กร ย่อยท่ีเก่ียวข้องในขอบข่ายการดําเนินงานของตนตามท่ีระบุในภาคผนวก 1 เพื่อดําเนิน หนา้ ทข่ี องตน ภาคผนวกดังกล่าวอาจไดร้ ับการปรับปรุงให้ทันสมัย โดยเลขาธิการอาเซียน ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการของผู้แทนถาวรประจําอาเซียน โดยไม่ต้องใช้ บทบัญญตั ิว่าด้วยการแก้ไขภายใต้กฎบัตรนี้ ๑๖๐
ขอ้ ๑๑: เลขาธิการอาเซยี นและสานกั งานเลขาธิการอาเซยี น ๑. ให้เลขาธิการอาเซียนได้รับการแต่งตั้งโดยท่ีประชุมสุดยอดอาเซียน โดยมีวาระการดํารง ตําแหน่งห้าปีท่ีไม่สามารถต่ออายุได้ และให้ได้รับการเลือกจากคนชาติของรัฐสมาชิก อาเซยี น บนพน้ื ฐานของการหมนุ เวียนตามลําดับตัวอักษร โดยคํานึงถึงความซ่ือสัตย์สุจริต ความสามารถ รวมถงึ ประสบการณท์ างวชิ าชพี และความเท่าเทยี มกันทางเพศ ๒. ให้เลขาธกิ ารอาเซยี น (ก) ปฏิบตั หิ น้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบของตาํ แหนง่ ระดับสูงนี้ โดยเป็นไปตาม บทบัญญัติของกฎบัตรฉบับน้ีและตราสาร พิธีสาร และแนวปฏิบัติที่มีอยู่ของ อาเซียนทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง (ข) อํานวยความสะดวกและสอดสอ่ งดูแลความคืบหนา้ ในการอนุวัติความตกลงและ ขอ้ ตัดสินใจของอาเซยี นและเสนอรายงานประจาํ ปีเกีย่ วกับงานของอาเซียนต่อที่ ประชุมสุดยอดอาเซียน (ค) เขา้ รว่ มในการประชุมตา่ งๆ ของทีป่ ระชมุ สุดยอดอาเซียน คณะมนตรปี ระชาคม อาเซยี น คณะมนตรีประสานงานอาเซยี น และองค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะ สาขา และการประชมุ อาเซียนอ่นื ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง (ง) เสนอขอ้ คิดเห็นของอาเซยี นและเขา้ รว่ มการประชมุ กบั ภาคีภายนอกตาม แนวนโยบายทีไ่ ด้รับความเหน็ ชอบและตามอํานาจหน้าท่ี ท่เี ลขาธกิ ารอาเซียนได้รับ มอบหมาย และ (จ) เสนอแนะการแตง่ ตั้งและการยุติหน้าท่ีของรองเลขาธิการอาเซยี นตอ่ คณะมนตรี ประสานงานอาเซยี น เพอื่ ให้ความเห็นชอบ ๓. ใหเ้ ลขาธิการอาเซยี นเปน็ หัวหน้าเจา้ หน้าทีฝ่ ่ายบรหิ ารของอาเซียนด้วย ๔. ให้เลขาธิการอาเซียนได้รับการสนับสนุนจากรองเลขาธิการอาเซียนสี่คน ซึ่งมีช้ันและ สถานะของรัฐมนตรีช่วยว่าการ โดยให้รองเลขาธิการอาเซียนรับผิดชอบต่อเลขาธิการ อาเซียนในการปฏบิ ัติหน้าท่ขี องตน ๕. รองเลขาธกิ ารอาเซยี นท้ังสคี่ นตอ้ งมสี ญั ชาติท่ีแตกต่างจากเลขาธิการอาเซียนและมาจากรัฐ สมาชกิ ทีแ่ ตกตา่ งกันสร่ี ฐั สมาชกิ อาเซียน ๑๖๑
๖. ใหร้ องเลขาธกิ ารอาเซียนสี่คน ประกอบดว้ ย (ก) รองเลขาธกิ ารอาเซยี นสองคน ซึง่ มีวาระการดํารงตําแหน่งสามปีท่ไี มส่ ามารถตอ่ อายุ ได้ ซงึ่ ได้รับเลือกจากคนชาติของรัฐสมาชิกอาเซียน บนพ้ืนฐานของการหมุนเวียน ตามลําดับตัวอักษร โดยคํานึงถึงความซ่ือสัตย์สุจริต คุณสมบัติ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเทา่ เทยี มกันทางเพศ และ (ข) รองเลขาธิการอาเซยี นสองคน ซ่งึ มวี าระการดาํ รงตําแหนง่ สามปี และอาจต่ออายุได้ อีกสามปี ให้รองเลขาธิการอาเซียนสองคนน้ีได้รับการคัดเลือกโดยเปิดกว้างบน พื้นฐานของความรคู้ วามสามารถ ๗. ให้สํานกั เลขาธิการอาเซยี นประกอบด้วยเลขาธิการอาเซียนและพนักงานตามทีจ่ ําเป็น ๘. ให้เลขาธิการอาเซียนและพนกั งาน (ก) ยึดม่ันในมาตรฐานสูงสุดของความซ่ือสัตย์สุจริต ความมีประสิทธิภาพ และ ความสามารถในการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ของตน (ข) ไม่ขอหรอื รับคําสั่งจากรฐั บาลหรอื ภาคีภายนอกอาเซยี นใดๆ และ (ค) ละเวน้ จากการดาํ เนินการใด ซึ่งอาจมผี ลสะทอ้ นถงึ ตําแหนง่ หน้าท่ีของตนในฐานะที่ เป็นเจา้ หนา้ ท่ขี องสาํ นักเลขาธิการอาเซียน ซงึ่ รบั ผดิ ชอบตอ่ อาเซียนเท่าน้นั ๙. รัฐสมาชิกอาเซียนแต่ละรัฐรับที่จะเคารพในลักษณะความเป็นอาเซียนโดยเฉพาะของ ความรับผิดชอบของเลขาธิการอาเซียนและพนักงาน และจะไม่แสวงหาที่จะมีอิทธิพลต่อ เลขาธิการอาเซียนและพนักงาน ในการปฏบิ ตั ิตามความรบั ผิดชอบของบุคคลเหลา่ น้นั ขอ้ ๑๒ : คณะกรรมการผแู้ ทนถาวรประจาอาเซียน ๑. ให้รัฐสมาชิกอาเซียนแต่ละรัฐแต่งตั้งผู้แทนถาวรประจําอาเซียนหนึ่งคน ในระดับ เอกอัครราชทูตทม่ี ีถิ่นพาํ นัก ณ กรุงจาการ์ตา ๒. ผูแ้ ทนถาวรรวมกันต้งั ขึ้นเปน็ คณะกรรมการผู้แทนถาวร ซ่งึ จะต้อง (ก) สนับสนุนการทํางานของคณะมนตรีประชาคมอาเซยี นและองคก์ รระดบั รฐั มนตรอี าเซยี นเฉพาะสาขา (ข) ประสานงานกับสํานกั เลขาธกิ ารอาเซยี นแหง่ ชาติและองคก์ รระดับรฐั มนตรีอาเซียน เฉพาะสาขาอนื่ ๆ (ค) ติดตอ่ ประสานงานกบั เลขาธกิ ารอาเซยี นและสาํ นักเลขาธิการอาเซียนในทกุ เรอื่ งที่ ๑๖๒
เกี่ยวกับงานของตน (ง) อาํ นวยความสะดวกความรว่ มมอื ของอาเซียนกบั ห้นุ สว่ นภายนอก และ (จ) ปฏิบตั ิหนา้ ทอ่ี นื่ ๆ ทอ่ี าจกาํ หนดโดยคณะมนตรีประสานงานอาเซียน ขอ้ ๑๓ : สานักเลขาธกิ ารอาเซียนแหง่ ชาติ ให้รัฐสมาชกิ แตล่ ะรัฐจัดต้ังสํานกั เลขาธิการอาเซียนแหง่ ชาติ ซ่งึ จะต้อง (ก) ทําหน้าทเ่ี ปน็ ผปู้ ระสานงานกลางแหง่ ชาติ (ข) เปน็ หนว่ ยงานระดบั ชาติ ซ่ึงเก็บรกั ษาข้อสนเทศในเร่อื งทั้งปวงเกี่ยวกบั อาเซียน (ค) ประสานงานระดบั ชาตเิ กี่ยวกับการอนวุ ตั ิข้อตัดสนิ ใจของอาเซยี น (ง) ประสานงานและสนบั สนนุ การเตรียมการระดับชาติของการประชมุ อาเซยี น (จ) สง่ เสริมอตั ลกั ษณแ์ ละความสาํ นึกเก่ยี วกับอาเซยี นในระดับชาติ และ (ฉ) มสี ว่ นรว่ มสร้างประชาคมอาเซียน ข้อ ๑๔ : องคก์ รสิทธิมนษุ ยชนอาเซยี น ๑. โดยสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และหลักการของกฎบัตรอาเซียนเก่ียวกับการส่งเสริมและ คมุ้ ครองสทิ ธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพน้ื ฐาน ใหอ้ าเซียนจดั ต้งั องคก์ รสิทธิมนษุ ยชนอาเซียน ข้ึน ๒. องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียนจะต้องดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ ซึ่งจะกําหนดโดยที่ ประชุมรฐั มนตรีต่างประเทศอาเซยี น ข้อ ๑๕ : มลู นิธอิ าเซียน ๑. ใหม้ ูลนิธิอาเซยี นสนับสนุนเลขาธิการอาเซียนและดําเนินการร่วมกับองค์กรของอาเซียนที่ เกีย่ วขอ้ งในการสนบั สนุนการสรา้ งประชาคมอาเซียน โดยการสง่ เสรมิ ความสํานกึ ทีเ่ พมิ่ ขนึ้ เกี่ยวกับอัตลักษณ์ของอาเซียน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน และการดําเนินการ รว่ มกันทใ่ี กล้ชิดระหวา่ งภาคธุรกจิ ภาคประชาสงั คม นกั วชิ าการ และผู้มีส่วนได้เสียอ่ืนๆ ใน อาเซยี น ๒. ให้มูลนิธิอาเซียนรับผิดชอบต่อเลขาธิการอาเซียน ผู้ซ่ึงจะต้องเสนอรายงานต่อที่ประชุม สดุ ยอดอาเซยี นผ่านคณะมนตรปี ระสานงานอาเซยี น ๑๖๓
หมวดท่ี ๕ องคภาวะท่ีมีความสมั พันธ์กบั อาเซยี น ข้อ ๑๖ : องคภาวะท่ีมคี วามสัมพันธก์ บั อาเซียน ๑. อาเซียนอาจมีความสัมพันธ์กับองคภาวะซ่ึงสนับสนุนกฎบัตรอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วตั ถปุ ระสงค์และหลักการของอาเซยี น องคภาวะที่มคี วามสัมพันธ์เหลา่ น้รี ะบุในภาคผนวก ๒ ๒. ให้คณะกรรมการผู้แทนถาวรบัญญัติกฎว่าด้วยขั้นตอนดําเนินงานและหลักเกณฑ์สําหรับ การมีความสมั พนั ธ์ตามข้อเสนอแนะของเลขาธกิ ารอาเซยี น ๓. ภาคผนวก ๒ อาจได้รบั การปรบั ปรุงให้ทนั สมยั โดยเลขาธกิ ารอาเซยี นตามข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการผู้แทนถาวร โดยไม่ตอ้ งใช้บทบัญญัติว่าด้วยการแก้ไขภายใต้กฎบัตรนี้ หมวด ๖ ความคุ้มกนั และเอกสทิ ธิ์ ขอ้ ๑๗ : ความคมุ้ กนั และเอกสทิ ธข์ิ องอาเซยี น ๑. ใหอ้ าเซยี นไดร้ ับเอกสทิ ธิ์และความคุ้มกันในดินแดนของรัฐสมาชิกเท่าที่จําเป็นเพ่ือให้บรรลุ ความมงุ่ ประสงค์ของอาเซียน ๒. ความคุ้มกันและเอกสิทธิ์จะถูกกําหนดไว้ในความตกลงต่างหากระหว่างอาเซียนและ รัฐสมาชกิ เจา้ ภาพ ข้อ ๑๘ : ความค้มุ กันและเอกสิทธขิ์ องเลขาธกิ ารอาเซียนและพนกั งานของสานักเลขาธกิ ารอาเซยี น ๑. ใหเ้ ลขาธกิ ารอาเซยี นและพนกั งานของสํานักเลขาธิการอาเซียนที่เข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ อย่างเป็นทางการของอาเซียนหรอื เปน็ ตัวแทนของอาเซียนในรัฐสมาชิก ได้รับความคุ้มกัน และเอกสทิ ธ์เิ ทา่ ทจี่ าํ เป็นในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่อี ยา่ งอิสระของตน ๒. ความคมุ้ กันและเอกสทิ ธิภ์ ายใตข้ อ้ น้จี ะถูกกําหนดไว้ในความตกลงต่างหากของอาเซียน ๑๖๔
ข้อ ๑๙ : ความคุ้มกันและเอกสิทธิ์ของผู้แทนถาวรและเจ้าหน้าที่ที่อยู่ระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ของ อาเซยี น ๑. ให้ผู้แทนถาวรของรัฐสมาชิกประจําอาเซียนและเจ้าหน้าท่ีของรัฐสมาชิกที่เข้าร่วมใน กิจกรรมต่างๆ อย่างเป็นทางการของอาเซียนหรือเป็นตัวแทนของอาเซียนในรัฐสมาชิก ได้รับความคุม้ กันและเอกสทิ ธเิ์ ทา่ ทีจ่ ําเป็นในการปฏิบตั หิ น้าท่ีของตน ๒. ใหค้ วามคุม้ กนั และเอกสทิ ธ์ิของผ้แู ทนถาวรและเจ้าหน้าทีท่ อี่ ยู่ระหว่างการปฏิบตั ิหน้าทข่ี อง อาเซียนอยภู่ ายใตบ้ ังคบั ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต ค.ศ. ๑๙๖๑ หรอื เปน็ ไปตามกฎหมายภายในของรฐั สมาชกิ อาเซียนทเ่ี ก่ียวข้อง หมวด ๗ การตดั สนิ ใจ ขอ้ ๒๐ : การปรกึ ษาหารอื และฉันทามติ ๑. โดยหลักการพื้นฐาน ให้การตัดสินใจของอาเซียนอยู่บนพื้นฐานของการปรึกษาหารือและ ฉันทามติ ๒. หากไม่สามารถหาฉนั ทามติได้ ท่ปี ระชมุ สดุ ยอดอาเซียนอาจตดั สนิ วา่ การตดั สินใจเฉพาะเร่ือง หนึง่ เรื่องใด จะสามารถทําได้อย่างไร ๓. ไม่มีความใดในวรรค ๑ และ ๒ ของข้อนี้กระทบถึงวิธีการตัดสินใจที่ระบุอยู่ในตราสาร ทางกฎหมายของอาเซียนที่เกี่ยวขอ้ ง ๔. ในกรณที ี่มกี ารละเมิดกฎบตั รอย่างรา้ ยแรง หรือการไมป่ ฏบิ ตั ิตาม ให้เสนอเรอื่ งดงั กลา่ วไปยงั ที่ ประชมุ สุดยอดอาเซยี นเพอ่ื ตัดสิน ขอ้ ๒๑ : การอนวุ ัติและข้นั ตอนการดาเนนิ งาน ๑. ให้คณะมนตรีประชาคมอาเซียนแต่ละคณะบัญญัติกฎว่าด้วยขั้นตอนการดําเนินงานของ ตนเอง ๑๖๕
๒. ในการอนุวัติข้อผูกพันด้านเศรษฐกิจ อาจนําสูตรการเข้าร่วมแบบยืดหยุ่นรวมถึง สตู รอาเซยี นที่ไมร่ วมสมาชกิ บางรัฐมาใช้ หากมีฉนั ทามติ หมวด ๘ การระงบั ขอ้ พิพาท ข้อ ๒๒ : หลกั การทว่ั ไป ๑. รัฐสมาชิกต้องพยายามที่จะระงับข้อพิพาทท้ังปวงอย่างสันติให้ทันท่วงที โดยผ่าน การสนทนา การปรึกษาหารือ และการเจรจา ๒. ให้อาเซียนจัดตั้งและธํารงไว้ซึ่งกลไกการระงับข้อพิพาทในทุกสาขาความร่วมมือของ อาเซียน ข้อ ๒๓: คนกลางที่มีตาแหน่งหน้าทีน่ า่ เชื่อถือ การประนีประนอม และการไกลเ่ กลยี่ ๑. รฐั สมาชกิ ท่ีเปน็ คู่กรณีในขอ้ พิพาทอาจจะตกลงกันเม่ือใดก็ได้ท่ีจะใช้คนกลางท่ีมีตําแหน่ง หนา้ ทีน่ า่ เช่ือถือ การประนปี ระนอม หรอื การไกลเ่ กลี่ย เพ่ือระงบั ขอ้ พพิ าทภายในระยะเวลา ทตี่ กลงกัน ๒. คู่กรณีในข้อพิพาทอาจร้องขอให้ประธานอาเซียน หรือเลขาธิการอาเซียน ทําหน้าท่ีโดย ตําแหน่ง ในการเป็นคนกลางท่ีมีตําแหน่งหน้าท่ีน่าเช่ือถือ การประนีประนอม หรือ การไกลเ่ กล่ีย ข้อ ๒๔ : กลไกระงบั ขอ้ พิพาทตามตราสารเฉพาะ ๑. ให้ระงับข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับตราสารเฉพาะของอาเซียน โดยกลไกและขั้นตอน การดาํ เนินการท่ีกาํ หนดไว้ในตราสารนน้ั ๆ ๒. ใหร้ ะงับขอ้ พพิ าททีไ่ มเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การตีความหรอื การใช้ตราสารอาเซยี นใดๆ โดยสันติตาม สนธิสัญญาทางไมตรีและความร่วมมือแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตามกฎว่าด้วย ข้นั ตอนการดาํ เนินงานของสนธสิ ญั ญาดงั กลา่ ว ๑๖๖
๓. ในกรณีท่ีมิกําหนดไว้เป็นอย่างอ่ืนเป็นการเฉพาะ ให้ระงับข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับ การตีความหรือการใช้ความตกลงทางเศรษฐกิจของอาเซียนตามพิธีสารว่าด้วยกลไกระงับ ขอ้ พพิ าทของอาเซียน ข้อ ๒๕ : การจดั ตง้ั กลไกระงับขอ้ พพิ าท ในกรณที ี่มไิ ดก้ ําหนดไว้เป็นอย่างอ่ืนเปน็ การเฉพาะ ให้มีการจดั ต้งั กลไกระงบั ข้อพิพาททเี่ หมาะสม รวมถึงอนุญาโตตุลาการ สําหรับข้อพิพาทท่ีเกี่ยวข้องกับการตีความหรือการใช้กฎบัตรน้ี และ ตราสารอาเซียนอืน่ ๆ ข้อ ๒๖ : ขอ้ พิพาทที่มอิ าจระงบั ได้ ในกรณีทีย่ ังคงระงับข้อพิพาทมิได้ ภายหลังการใช้บทบัญญัติก่อนหน้านี้ในหมวดนี้แล้ว ให้เสนอ ขอ้ พิพาทนน้ั ไปยงั ท่ปี ระชุมสุดยอดอาเซยี น เพ่อื ตัดสนิ ขอ้ ๒๗ : การปฏบิ ตั ิตาม ๑. เลขาธิการอาเซยี นโดยการชว่ ยเหลอื จากสาํ นักเลขาธิการอาเซียน หรือ องค์กรอาเซียนอ่ืนๆ ทไ่ี ด้รับแตง่ ต้งั จะสอดสอ่ งดูแลการปฏบิ ตั ติ ามผลการวินิจฉยั ข้อเสนอแนะ หรอื ขอ้ ตัดสนิ ใจ ซ่ึงเป็นผลจากกลไกระงับข้อพิพาทของอาเซียน และส่งรายงานไปยังที่ประชุมสุดยอด อาเซียน ๒. รัฐสมาชิกที่ได้รับผลกระทบจากการไม่ปฏิบัติตามผลการวินิจฉัย ข้อเสนอแนะ หรือ ขอ้ ตัดสินใจ ซึ่งเปน็ ผลจากกลไกระงับข้อพพิ าทของอาเซียน อาจส่งเร่ืองไปยังท่ีประชุมสุด ยอดอาเซยี นเพ่ือตัดสิน ขอ้ ๒๘ : บทบัญญตั ิของกฎบตั รสหประชาชาติ และกระบวนการระหวา่ งประเทศอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง หากมิไดร้ ะบไุ วเ้ ป็นอย่างอ่ืนในกฎบัตรนี้ รัฐสมาชิกยังคงไว้ซึ่งสิทธิท่ีจะใช้วิธีการระงับข้อพิพาท อย่างสันติท่ีระบุไว้ในข้อ ๓๓(๑) ของกฎบัตรสหประชาชาติ หรือตราสารทางกฎหมายระหว่าง ประเทศอนื่ ๆ ที่รฐั สมาชิกคู่พพิ าทเปน็ ภาคี ๑๖๗
หมวด ๙ งบประมาณและการเงนิ ขอ้ ๒๙ : หลักการทัว่ ไป ๑. อาเซียนจะต้องกําหนดกฎและข้ันตอนการดําเนินงานทางการเงินให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากล ๒. อาเซยี นจะต้องปฏิบัตติ ามนโยบายและแนวปฏบิ ัติในการบริหารจัดการทางการเงินท่ีดีและ ระเบยี บวินัยด้านงบประมาณ ๓. บญั ชีการเงินจะต้องได้รับการตรวจสอบภายในและภายนอก ข้อ ๓๐: งบประมาณสาหรับการดาเนนิ งานและการเงินของสานักเลขาธกิ ารอาเซียน ๑. สํานักเลขาธกิ ารอาเซยี นจะตอ้ งไดร้ บั ทรพั ยากรทางการเงินทีจ่ าํ เปน็ เพื่อปฏบิ ตั หิ น้าทีข่ องตน อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. งบประมาณสําหรับการดําเนินงานของสํานักเลขาธิการอาเซียนจะต้องมาจากรัฐสมาชิก อาเซยี นโดยเงินบรจิ าคประจาํ ปรี ฐั ละเท่าๆ กนั ซ่ึงจะต้องสง่ ใหท้ ันกาํ หนด ๓. เลขาธิการจะต้องเตรียมงบประมาณสําหรับการดําเนินงานประจําปีของสํานักเลขาธิการ อาเซียนเพื่อขอความเห็นชอบจากคณะมนตรีประสานงานอาเซียน โดยคําแนะนําของ คณะกรรมการผแู้ ทนถาวร ๔. สํานกั เลขาธกิ ารอาเซียนจะต้องดําเนินการให้สอดคล้องกับกฎและข้ันตอนการดําเนินงาน ทางการเงินทกี่ าํ หนดโดยคณะมนตรปี ระสานงานอาเซียน โดยคาํ แนะนําของคณะกรรมการ ผูแ้ ทนถาวร หมวด ๑๐ การบริหารและข้นั ตอนการดาเนนิ งาน ข้อ ๓๑ : ประธานอาเซียน ๑๖๘
๑. ตําแหน่งประธานอาเซียนให้หมุนเวียนทุกปี บนพื้นฐานของลําดับอักษรของชื่อ ภาษาองั กฤษของรฐั สมาชิก ๒. ในหนึ่งปีปฏิทิน อาเซียนจะมีตําแหน่งประธานหนึ่งเดียว โดยรัฐสมาชิกท่ีรับตําแหน่ง ประธานนน้ั จะทําหนา้ ท่ีเป็นประธานของ (ก) การประชมุ สดุ ยอดอาเซยี น และการประชุมสดุ ยอดที่เกย่ี วข้อง (ข) คณะมนตรีประสานงานอาเซยี น (ค) คณะมนตรีประชาคมอาเซียนทั้งสามคณะ (ง) องคก์ รระดับรฐั มนตรอี าเซยี นเฉพาะสาขาและเจา้ หน้าทร่ี ะดับสงู ทเี่ กี่ยวข้อง ตามท่ีเหมาะสม และ (จ) คณะกรรมการผ้แู ทนถาวร ข้อ ๓๒ : บทบาทของประธานอาเซยี น รัฐสมาชิกที่ดํารงตาํ แหนง่ ประธานอาเซียนจะตอ้ ง (ก) ส่งเสริมและเพ่มิ พนู ผลประโยชน์ และความเปน็ อยู่ทดี่ ีของอาเซยี น รวมถงึ ความพยายามในการสร้างประชาคมอาเซียนอย่างแข็งขัน โดยการริเร่ิมทางนโยบาย การประสานงาน ฉนั ทามติ และความรว่ มมือ (ข) ทําใหแ้ นใ่ จวา่ มคี วามเป็นศูนย์รวมของอาเซียน (ค) ทาํ ใหแ้ นใ่ จวา่ มีการตอบสนองต่อปญั หาเร่งดว่ นหรอื สถานการณ์วิกฤตทิ ่ีมี ผลกระทบตอ่ อาเซยี นอย่างมีประสทิ ธิภาพและทันทว่ งที รวมถงึ จดั ใหม้ คี นกลางทมี่ ี ตําแหนง่ น่าเชอ่ื ถือและการจดั การอื่นเช่นว่า เพือ่ แก้ไขขอ้ กังวลเหล่าน้ีโดยทันที (ง) เปน็ ตัวแทนของอาเซียนในการเสรมิ สรา้ งและสง่ เสริมความสมั พนั ธก์ ับหนุ้ สว่ น ภายนอกภมู ภิ าคให้ใกล้ชิดข้ึน และ (จ) ปฏบิ ัตภิ ารกิจและหนา้ ทอี่ ่ืนตามท่อี าจได้รับมอบหมาย ขอ้ ๓๓ : พธิ ีการและแนวปฏบิ ตั ิทางการทตู อาเซียนและรัฐสมาชิกจะต้องยึดมั่นในพิธีการและแนวปฏิบัติทางการทูตท่ีมีอยู่ในการดําเนิน กิจกรรมทั้งปวงท่ีเกี่ยวข้องกับอาเซียน การเปล่ียนแปลงใดๆ จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก ๑๖๙
คณะมนตรปี ระสานงานอาเซยี น โดยคาํ แนะนําของคณะกรรมการผ้แู ทนถาวร ขอ้ ๓๔ : ภาษาทางานของอาเซยี น ภาษาทํางานของอาเซียน คือ ภาษาองั กฤษ หมวด ๑๑ อัตลักษณแ์ ละสญั ลักษณ์ ข้อ ๓๕: อัตลกั ษณข์ องอาเซียน อาเซยี นจะต้องสง่ เสรมิ อัตลกั ษณ์ร่วมกนั ของตนและความรสู้ กึ เปน็ เจ้าของในหมู่ประชาชนของตน เพ่อื ให้บรรลุชะตา เปา้ หมาย และคุณค่าร่วมกนั ของอาเซยี น ข้อ ๓๖ : คาขวญั ของอาเซียน คาํ ขวัญของอาเซียน คือ ‚วิสยั ทัศนเ์ ดยี ว อัตลกั ษณ์เดยี ว ประชาคมเดียว‛ ขอ้ ๓๗ : ธงอาเซยี น ธงอาเซียนจะเป็นตามท่แี สดงไวใ้ นภาคผนวก ๓ ขอ้ ๓๘ : ดวงตราอาเซียน ดวงตราอาเซียนจะเปน็ ตามที่แสดงไว้ในภาคผนวก ๔ ขอ้ ๓๙ : วันอาเซียน ให้วันท่ี ๘ สิงหาคม เปน็ วันอาเซียน ข้อ ๔๐ : เพลงประจาอาเซียน ให้อาเซยี นมเี พลงประจาํ อาเซียน ๑๗๐
หมวด ๑๒ ความสัมพันธ์ภายนอก ข้อ ๔๑ : การดาเนินความสมั พนั ธ์ภายนอก ๑. อาเซียนจะต้องพัฒนาความสัมพันธ์ฉันท์มิตร และการเจรจา ความร่วมมือและความเป็น หุ้นสว่ นเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน กับประเทศ องค์การและสถาบนั ระดบั อนุภูมิภาค ภูมิภาค และระหวา่ งประเทศ ๒. ความสมั พนั ธภ์ ายนอกของอาเซียนจะยดึ มัน่ ในวตั ถุประสงค์และหลกั การที่วางไวใ้ นกฎบตั ร น้ี ๓. อาเซยี นจะเปน็ พลงั ขบั เคลอ่ื นขัน้ แรกในการจดั การภูมภิ าคที่อาเซยี นได้รเิ รม่ิ ข้นึ และธาํ รงไว้ ซ่งึ ความเปน็ ศนู ย์รวมของอาเซียนในความรว่ มมอื ระดบั ภมู ภิ าคและการสร้างประชาคม ๔. ในการดําเนินความสัมพันธ์ภายนอกของอาเซียน รัฐสมาชิกจะประสานงานและพยายาม พฒั นาท่าทรี ว่ มและดําเนินการรว่ มกนั บนพื้นฐานของเอกภาพและความสามคั คี ๕. แนวนโยบายยุทธศาสตร์ของความสัมพันธ์ภายนอกของอาเซียนให้กําหนดโดยที่ประชุม สดุ ยอดอาเซียนโดยการเสนอแนะของท่ปี ระชมุ รัฐมนตรตี ่างประเทศอาเซยี น ๖. ทป่ี ระชุมรฐั มนตรตี ่างประเทศอาเซยี นจะทาํ ให้แนใ่ จว่าความสัมพันธ์ภายนอกของอาเซียน ดําเนินไปอยา่ งเสมอต้นเสมอปลายและเปน็ ไปในทางทสี่ อดคลอ้ งกนั ๗. อาเซียนสามารถทําความตกลงกับประเทศ หรือองค์การและสถาบันระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาคและระหว่างประเทศ กระบวนการทําความตกลงดังกล่าวให้กําหนดโดยคณะมนตรี ประสานงานอาเซยี นโดยการหารือกับคณะมนตรีประชาคมอาเซียน ขอ้ ๔๒ : ผ้ปู ระสานงานกับคเู่ จรจา ๑. ในฐานะผูป้ ระสานงานประเทศ ให้รัฐสมาชิกผลัดกันรับผิดชอบภาพรวมการประสานงาน และส่งเสริมผลประโยชนข์ องอาเซียนในความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอาเซียนกับประเทศคูเ่ จรจาที่ เกีย่ วข้อง องคก์ ารและสถาบนั ระดบั ภูมิภาคและระหว่างประเทศทีเ่ กย่ี วข้อง ๒. ในส่วนทเ่ี ก่ียวกบั ความสมั พนั ธ์กบั หุน้ สว่ นภายนอก นอกจากหนา้ ทอ่ี ื่นแลว้ ให้ผูป้ ระสาน- งานประเทศ ๑๗๑
(ก) เปน็ ผแู้ ทนอาเซยี น และเพ่มิ พนู ความสัมพันธ์ บนพ้ืนฐานของความเคารพซึ่งกนั และ กันและความเสมอภาค โดยสอดคล้องกบั หลักการของอาเซียน (ข) เปน็ ประธานรว่ มในการประชุมทเี่ กย่ี วขอ้ งระหว่างอาเซียนและหุ้นสว่ นภายนอก และ (ค) รบั การสนบั สนุนจากคณะกรรมการอาเซียนในประเทศท่ีสามและองค์การระหวา่ ง ประเทศทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ข้อ ๔๓ : คณะกรรมการอาเซยี นในประเทศที่สามและองคก์ ารระหวา่ งประเทศ ๑. คณะกรรมการอาเซียนในประเทศท่ีสามอาจต้ังขึ้นในประเทศที่มิใช่สมาชิกอาเซียน ประกอบด้วยหัวหน้าคณะผู้แทนทางทูตของรัฐสมาชิกอาเซียน คณะกรรมการในลักษณะ เดียวกันอาจจัดตั้งข้ึนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับองค์การระหว่างประเทศต่างๆ คณะกรรมการ เช่นว่าจะต้องส่งเสริมผลประโยชน์และอัตลักษณ์ของอาเซียนในประเทศและองค์การ ระหวา่ งประเทศเจ้าภาพ ๒. ให้ท่ีประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกําหนดกฎว่าด้วยข้ันตอนการดําเนินงานของ คณะกรรมการเชน่ ว่า ข้อ ๔๔ : สถานภาพของภาคภี ายนอก ๑. ในการดําเนินความสัมพนั ธภ์ ายนอกของอาเซียน ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนอาจ มอบสถานภาพอย่างเป็นทางการให้แก่ภาคีภายนอกในฐานะประเทศคู่เจรจา ประเทศคู่เจรจา เฉพาะด้าน ห้นุ สว่ นเพ่อื การพฒั นา ผสู้ งั เกตการณ์พิเศษ ผู้ได้รับเชิญ หรือสถานภาพอื่นท่ีอาจ จัดต้งั ขน้ึ ตอ่ ไป ๒. อาเซียนอาจเชิญภาคีภายนอกให้เข้าร่วมการประชุมหรือกิจกรรมความร่วมมือโดยมิต้อง กาํ หนดให้สถานภาพอย่างเปน็ ทางการใดๆ ตามกฎว่าดว้ ยข้ันตอนการดําเนนิ งาน ขอ้ ๔๕ : ความสัมพันธก์ ับระบบสหประชาชาติและองคก์ ารและสถาบนั ระหว่างประเทศอื่น ๑. อาเซียนอาจขอสถานภาพท่ีเหมาะสมกับระบบสหประชาชาติ รวมท้ังกับองค์การและ สถาบันระดบั อนภุ ูมิภาค ภมู ภิ าค และระหวา่ งประเทศอ่นื ๑๗๒
๒. คณะมนตรีประสานงานอาเซียนจะเป็นผู้ตัดสินใจเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของอาเซียนใน องคก์ ารและสถาบนั ระดบั อนภุ ูมภิ าค ภมู ภิ าค และระหว่างประเทศอื่น ข้อ ๔๖ : การสง่ ผแู้ ทนอย่างเป็นทางการของรัฐท่ีมใิ ชร่ ฐั สมาชิกอาเซยี นประจาอาเซยี น รัฐท่ีมิใช่สมาชิกอาเซียนและองค์การระหว่างประเทศระดับรัฐบาลท่ีเกี่ยวข้องอาจแต่งต้ังและส่ง เอกอัครราชทูตเปน็ ผแู้ ทนอยา่ งเป็นทางการประจาํ อาเซียน ทปี่ ระชุมรัฐมนตรีตา่ งประเทศอาเซยี นจะ เป็นผูต้ ดั สินใจเกยี่ วกบั การส่งผู้แทนอย่างเปน็ ทางการเชน่ ว่า หมวด ๑๓ บทบญั ญัตทิ ่วั ไปและบทบัญญัตสิ ดุ ทา้ ย ขอ้ ๔๗ : การลงนาม การใหส้ ตั ยาบนั การเก็บรักษา และการมีผลใช้บงั คบั ๑. กฎบัตรนจี้ ะต้องได้รบั การลงนามโดยรัฐสมาชิกอาเซียนทั้งหมด ๒. กฎบัตรนีจ้ ะอยใู่ ตบ้ ังคับของการใหส้ ัตยาบันจากรัฐสมาชิกอาเซียนทุกรัฐตามกระบวนการ ภายในของแต่ละรัฐ ๓. สตั ยาบนั สารจะตอ้ งเกบ็ รักษาไว้กบั เลขาธกิ ารอาเซยี น ซ่ึงจะแจง้ ให้รฐั สมาชกิ ทกุ รัฐทราบถงึ การสง่ มอบสตั ยาบนั สารแตล่ ะฉบับโดยพลนั ๔. กฎบัตรนจ้ี ะมผี ลใช้บงั คบั ในวนั ที่สามสิบหลงั จากวันท่มี ีการส่งมอบสัตยาบันสารฉบับทสี่ ิบ ใหแ้ ก่เลขาธิการอาเซียน ข้อ ๔๘ : การแก้ไข ๑. รัฐสมาชกิ ใดๆ อาจเสนอข้อแก้ไขกฎบัตร ๒. ข้อเสนอแก้ไขกฎบัตรจะต้องย่ืนโดยคณะมนตรีประสานงานอาเซียนโดยฉันทามติต่อที่ ประชมุ สดุ ยอดอาเซยี นเพื่อตดั สิน ๓. ขอ้ แก้ไขกฎบตั รท่ีไดต้ กลงกันโดยฉนั ทามติโดยท่ีประชุมสุดยอดอาเซียนจะต้องได้รับการ สตั ยาบนั จากรฐั สมาชิกทุกรัฐ ตามขอ้ ๔๗ ๑๗๓
๔. ข้อแก้ไขใดๆ จะมีผลใชบ้ ังคบั ในวนั ทสี่ ามสิบหลังจากวนั ท่ีมกี ารส่งมอบสัตยาบันสารฉบับ สดุ ทา้ ยต่อเลขาธิการอาเซียน ข้อ ๔๙ : อานาจและหนา้ ทแ่ี ละกฎวา่ ด้วยข้ันตอนการดาเนนิ งาน นอกจากจะกําหนดไว้เป็นอย่างอ่ืนในกฎบัตรน้ี คณะมนตรีประสานงานอาเซียนจะเป็นผู้กําหนด อํานาจและหน้าท่ีและกฎว่าด้วยข้ันตอนการดําเนินงานและต้องทําให้แน่ใจว่าอํานาจหน้าท่ีและ กฎวา่ ด้วยข้นั ตอนการดําเนินงานสอดคล้องกัน ข้อ ๕๐ : การทบทวน กฎบตั รนอ้ี าจได้รับการทบทวนเมื่อครบห้าปีหลังจากท่ีมีผลใช้บังคับหรือตามที่ได้กําหนดไว้เป็น อย่างอ่นื โดยที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ขอ้ ๕๑ : การตีความกฎบัตร ๑. เม่ือรัฐสมาชิกใดๆ ร้องขอ ให้สํานักงานเลขาธิการอาเซียนตีความกฎบัตรตามกฎว่าด้วย ขัน้ ตอนการดําเนินงานที่กาํ หนดโดยคณะมนตรีประสานงานอาเซียน ๒. ใหร้ ะงับขอ้ พิพาทใดๆ ท่ีเกิดจากการตีความกฎบตั รตามบทบัญญัติทเ่ี กยี่ วขอ้ งในหมวด ๘ ๓. หัวและช่ือที่ใช้ในแต่ละหมวดและในแต่ละข้อของกฎบัตรน้ีมีไว้เพ่ือวัตถุประสงค์ใน การอา้ งอิงเท่านนั้ ข้อ ๕๒ : ความต่อเนอ่ื งทางกฎหมาย ๑. สนธิสัญญา อนุสัญญา ความตกลง ข้อตกลง ปฏิญญา พิธีสาร และตราสารอาเซียนอื่นๆ ทัง้ หมด ซง่ึ มผี ลใชบ้ งั คับแล้วก่อนการมผี ลใช้บังคับของกฎบตั รนี้ ใหม้ ีผลใชไ้ ดต้ อ่ ไป ๒. ในกรณที เี่ กิดความไมส่ อดคล้องกนั ระหวา่ งสิทธแิ ละพนั ธกรณีของรัฐสมาชกิ อาเซยี นภายใต้ ตราสารดังกลา่ วและกฎบตั รน้ี ใหย้ ึดถอื กฎบตั รน้ีเปน็ สําคัญ ๑๗๔
ข้อ ๕๓ : ต้นฉบบั ให้ส่งมอบตน้ ฉบับภาษาอังกฤษของกฎบัตรน้ที ล่ี งนามแลว้ แก่เลขาธิการอาเซียน ซึ่งจะจัดทําสําเนา ทไี่ ดร้ บั การรบั รองให้แกร่ ฐั สมาชิกแตล่ ะรฐั ข้อ ๕๔ : การจดทะเบียนกฎบตั รอาเซียน ให้เลขาธิการอาเซียนจดทะเบียนกฎบัตรอาเซียนกับสํานักเลขาธิการสหประชาชาติ ตามข้อ 102 วรรค ๑ ของกฎบตั รสหประชาชาติ ขอ้ ๕๕ : สนิ ทรพั ย์ของอาเซยี น ให้สินทรัพยแ์ ละกองทนุ ขององคก์ ารอย่ใู นนามของอาเซียน ทาํ ณ สิงคโปร์ เม่อื วันที่ ๒๐ พฤศจกิ ายน ปี ค.ศ. ๒๐๐๗ ๑๗๕
(คาแปลอย่างไม่เป็นทางการ) แผนงานการจัดต้ัง ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซยี น (ค.ศ. ๒๐๐๙ - ๒๐๑๕) *************************** I. บทนา ๑. ผู้นําอาเซียนเห็นชอบต่อปฏิญญาอาเซียนคอนคอร์ดสอง (บาหลี คอนคอร์ดสอง) ที่บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เม่ือวันท่ี ๗ ตุลาคม ๒๕๔๖ เพื่อจัดตั้งประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๖๓ ประชาคมอาเซียนท่ีจัดตั้งข้ึนประกอบด้วย ๓ เสา คือ ประชาคมการเมืองและความม่ันคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซ่ึงเก่ียวข้องและส่งเสริม ซึ่งกันและกันเพื่อวัตถุประสงค์ในการท่ีจะทําให้เกิดสันติภาพที่ยั่งยืน ความม่ันคงและ ความเจรญิ รุ่งเรอื งในภมู ิภาค ๒. ท่ีประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งท่ี ๑๓ เมื่อวันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๕๐ ท่ีเมืองเซบู ประเทศ ฟิลิปปินส์ ผู้นําเน้นย้ําคําม่ันในเรื่องการเร่งรัดการจัดต้ังประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ โดยได้ ลงนามในปฏญิ ญาเซบูวา่ ด้วยการเรง่ รดั การจดั ตัง้ ประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘ ๓. ประชมุ สดุ ยอดอาเซียน คร้ังที่ ๑๓ ทปี่ ระเทศสิงคโปร์ เม่อื วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ได้เห็น พ้องให้จัดทําแผนงานการจัดต้ังประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนเพ่ือรองรับการดําเนิน มาตรการตา่ งๆ เพือ่ ส่งเสรมิ การจดั ต้งั ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซยี น ๑๗๖
II. คุณลักษณะและองคป์ ระกอบ ๔. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน หรือ เอเอสซีซี มีเป้าหมายประการแรกที่จะทําให้เกิด ประชาคมอาเซยี นที่มปี ระชาชนเปน็ ศูนย์กลาง และเป็นสังคมท่ีรับผิดชอบเพื่อก่อให้เกิดความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกันและความเป็นเอกภาพในหมู่ประชาชาติและประชาชนอาเซียน โดย เสรมิ สรา้ งอตั ลักษณร์ ่วมกัน สร้างสังคมทเ่ี ออ้ื อาทรและแบ่งปนั ประชาชนมสี ่วนรว่ ม โดยมีคณุ ภาพ ชีวิตและความเป็นอยู่และสวัสดิการของประชาชนดีขึ้น ๕. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซยี น ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของภมู ิภาคในการยกระดับ คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน โดยดําเนินกิจกรรมท่ีเนน้ การให้ความสําคญั กบั ประชาชนและเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม เพื่อมุ่งไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนจะช่วย สนับสนุนการสร้างพื้นฐานท่ีแข็งแกร่งสําหรับความเข้าใจอันดี การเป็นเพ่ือนบ้านที่ดีและ การแบง่ ปนั ความรบั ผดิ ชอบ ๖. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ถูกกําหนดลักษณะโดยวัฒนธรรมท่ียืดหยุ่น ยึดม่ันใน หลักการ มคี วามร่วมมอื มคี วามรบั ผิดชอบรว่ มกันเพอ่ื ส่งเสรมิ การพัฒนามนษุ ย์และสงั คม เคารพใน เสรภี าพขั้นพื้นฐาน ความเท่าเทยี มทางเพศ การส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนษุ ยชนและการสง่ เสริม ความยตุ ธิ รรมทางสงั คม ๗. ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรมอาเซียนเคารพในความแตกต่างทางวฒั นธรรม ภาษา และศาสนา ของประชาชนอาเซียน จึงได้เน้นคุณค่าร่วมกัน ท่ามกลางความเป็นเอกภาพในความหลากหลาย โดยปรับให้เข้ากบั สถานการณ์ โอกาสและสิง่ ทา้ ทายในปจั จุบนั ๘. ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรมอาเซียน ให้ความสําคัญกับมิติทางสังคมในเร่ืองการลดช่องว่าง การพฒั นา โดยขจดั ความแตกตา่ งทางการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชกิ อาเซียน ๙. ตามท่กี ลา่ วมาแลว้ ข้างต้น ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรมอาเซียนครอบคลมุ คณุ ลักษณะ ดังน้ี ก. การพัฒนามนุษย์ ข. การคุ้มครองและสวสั ดกิ ารสงั คม ค. ความยตุ ิธรรมและสิทธิ ง. ความย่ังยนื ด้านส่งิ แวดล้อม จ. การสร้าง อัตลักษณ์อาเซียน ฉ. การลดช่องวา่ งการพฒั นา ๑๗๗
A. การพฒั นามนษุ ย์ ๑๐. อาเซยี นจะส่งเสริมความเปน็ อย่แู ละคณุ ภาพชีวิตทด่ี ขี องประชาชน โดยประชาชนเข้าถึงโอกาส อย่างเท่ยี งธรรมในการพัฒนามนุษย์ โดยส่งเสริมและลงทุนในด้านการศึกษาและการเรียนรู้ตลอด ชีวิต การฝึกอบรมและการเสริมสร้างขีดความสามารถ ส่งเสริมนวัตกรรมและการประกอบการ ส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์เชิงประยุกต์และเทคโนโลยีใน การดําเนนิ กจิ กรรมการพัฒนาทางดา้ นสังคมและเศรษฐกจิ A1. ใหค้ วามสาคญั กับการศกึ ษา ๑๑. เปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์: เน้นการบูรณาการด้านการศึกษาให้เป็นวาระการพัฒนาของอาเซียน การสร้างสังคมความรู้ โดยส่งเสริมการเข้าถึงการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างท่ัวถึง ส่งเสริมการเลี้ยงดู และพัฒนาเด็กปฐมวัย และการสร้างความตระหนักรับรู้เรื่องอาเซียนในกลุ่มเยาวชน ผ่านทาง การศกึ ษาและกจิ กรรมต่างๆ เพื่อสร้างอัตลักษณอ์ าเซยี นบนพื้นฐานของมิตรภาพและความร่วมมือ ซึ่งกันและกัน มาตรการ: i. ประเทศสมาชิกอาเซียนเขา้ ถงึ การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานภายในปี ๒๕๕๘โดยขจดั การไม่รหู้ นังสือ และ ให้หลกั ประกันทางการศึกษาภาคบงั คบั อยา่ งเท่าเทียมกันทกุ เพศ โดยเปิดโอกาสอย่างเท่าเทียม โดย ไม่คํานึงถึงสถานะทางสังคม เชื้อชาติหรือชาติพันธ์ุ หรือความพิการ โดยมีเป้าหมายท่ีจะบรรลุ ร้อยละเจ็ดสบิ ภายในปี ๒๕๕๔ ii. ปรบั ปรุงคุณภาพและความเหมาะสมของการศึกษารวมท้ังการฝึกอบรมทางด้านเทคนิค วิชาชีพ และทักษะ ในการศึกษาในภูมิภาคอาเซียน โดยพัฒนาโครงการให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ รวมทง้ั การฝกึ อบรมครผู ้สู อนและจัดโครงการแลกเปล่ียนเจ้าหนาที่ด้านการศึกษาระดับสูงภายใน ปี ๒๕๕๒ โดยเฉพาะในประเทศกัมพชู า ลาว พม่า และเวียดนาม - ซี แอล เอ็ม วี iii. ทบทวนเป็นระยะในเรื่องโครงการให้ทุนของอาเซียน เพื่อให้ทุนการ ศึกษามีลักษณะ สมเหตสุ มผล และมีความสอดคลอ้ งกัน เพอื่ ผลลพั ธท์ ด่ี ีขึน้ iv. ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศในการส่งเสริมการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเฉพาะในกล่มุ ท่ถี กู ละเลย โดยการเปิดกวา้ งการศกึ ษาทางไกลและการศึกษาทางอนิ เตอร์เน็ต ๑๗๘
v. สง่ เสรมิ การสร้างเครอื ข่ายทางดา้ นการศึกษาในทุกระดับ ระหว่างสถาบันการศึกษา และสานต่อ การสร้างเครือข่ายระหว่างมหาวิทยาลัย ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการแลกเปล่ียนนักเรียน เจ้าหน้าที่ด้านการ ศึกษาและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เช่ียวชาญ รวมทั้งจัดตั้งกลุ่มวิจัยระหว่าง สถาบันการศึกษาขั้นสูงในอาเซียน โดยประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับองค์การรัฐมนตรี ศึกษาแหง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (ซมี ีโอ) และเครือขา่ ยมหาวิทยาลยั อาเซียน (เอยูเอ็น) vi. ส่งเสริมการเข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียม สําหรับสตรีและเด็กผู้หญิงและส่งเสริม การแลกเปล่ียนแนวปฏบิ ตั ิทีด่ ี ในเร่ืองความละเอยี ดออ่ นทางเพศในหลกั สูตรการศกึ ษา vii. เสริมสรา้ งการประสานงานกบั องคก์ ารระหว่างประเทศ และองค์การในระดับภูมิภาคทางด้าน การศกึ ษา เพอื่ เสริมสรา้ งคุณภาพของการศึกษาในภูมิภาค viii. บรรจุเรอื่ งคา่ นิยมร่วมและมรดกทางวัฒนธรรมในหลักสตู ร รวมท้ังพฒั นาส่อื การสอนในเร่ือง ดงั กลา่ ว โดยเร่มิ ในปี ๒๕๕๑ ix. จัดทําหลักสตู รเกย่ี วกับอาเซยี นศกึ ษาทั้งในระดับประถม มัธยมและการศกึ ษาขนั้ สูง x. สานต่อโครงการพัฒนาผู้นําเยาวชนอาเซียนและโครงการใกล้เคียง ที่มีเป้าหมายเดียวกัน และ ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายศิษย์เก่าโครงการเยาวชนอาเซียนเพ่ือส่ง เสริมความเป็นอันหน่ึง อันเดียวกัน และความเขา้ ใจซ่งึ กันและกนั xi. สนับสนุนการเรียนภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน และส่งเสริมการแลกเปลี่ยนผู้เช่ียวชาญ ทางดา้ นภาษา xii. จัดการแข่งขนั กีฬาอาเซียนระดับมหาวิทยาลัย เยาวชนอาสาสมัครอาเซียนเพ่ือสันติภาพ เกมส์ คอมพิวเตอร์อาเซียน การแข่งโอลิมปิกวิทยาศาสตร์อาเซียน เพ่ือส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์และ ความเขา้ ใจในหมู่เยาวชนของภูมภิ าค xiii. สานต่อการดําเนินโครงการรางวัลเยาวชน อาทิ รางวัลวันเยาวชนอาเซียน และโครงการ สบิ องค์กรเยาวชนท่ีประสบความสําเร็จ (เทโย อาเซียน) เพื่อเป็นการแสดงการยอมรับบุคคลและ องค์กรเยาวชนท่ีมีบทบาทช่วยส่งเสริมความคิดเกี่ยวกับอาเซียน และคุณค่าเกี่ยวกับอาเซียนใน หมเู่ ยาวชนท่ัวภมู ภิ าค xiv. ดําเนินการจดั ตงั้ กองทุนสาํ หรับเยาวชนอาเซียนเพื่อสนบั สนนุ โครงการ และกิจกรรมตา่ งๆ ของ เยาวชนในอาเซียน ๑๗๙
xv. จัดตั้งเวทีเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายและแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีท่ีสุดในเร่ืองยุทธศาสตร์และ กลไกการพัฒนาเดก็ และเยาวชนในอาเซยี น xvi. แลกเปล่ียนนกั แสดงทางวัฒนธรรมและนักวชิ าการระหวา่ งประเทศสมาชิกอาเซียนผ่านระบบ การศึกษาเพ่ือให้เข้าถึงมากขึ้นและมีความเข้าใจในเร่ืองความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรมของ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น xvii. ส่งเสริมให้มีทางเลือกในการศึกษาระดับสูงในประเทศสมาชิกอาเซียนผ่านโครงการ หนึ่งหลักสตู รในตา่ งประเทศหรอื หนง่ึ ปีในตา่ งประเทศ xviii. สนับสนุนให้ประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียนมีความเชี่ยวชาญภาษาอังกฤษ เพื่อให้ สามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารกันไดโ้ ดยตรง และสามารถเข้าไปมีสว่ นร่วมกับชมุ ชนนานาชาติ xix. ส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต xx. ดาํ เนนิ การจัดตั้งตัวชว้ี ัดการพัฒนาเยาวชนอาเซียนเพอื่ ประเมนิ ผลที่ไดร้ ับและประสทิ ธิภาพของ โครงการเยาวชนต่างๆ ในภมู ิภาคเพ่ือช่วยประเทศสมาชกิ ในการวางแผนกิจกรรมเยาวชนใหม่ xxi. ส่งเสรมิ การพฒั นาเรือ่ งการดูแลเด็กเล็กโดยการแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด ประสบการณ์ และการเสรมิ สร้างขีดความสามารถ A2. การลงทนุ ในการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ ๑๒. เปา้ หมายเชิงยทุ ธศาสตร์: สง่ เสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ยข์ องอาเซียน โดยดําเนิน กิจกรรมเชิงยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณสมบัติ ความ สามารถ การเตรียมความพร้อมที่ดีให้กับ แรงงานอาเซียนเพ่ือที่จะเอื้อต่อการรับมือกับประโยชน์และกับส่ิงท้าทายต่างๆ ท่ีจะเกิดขึ้นจาก การรวมตัวในภมู ภิ าคได้ มาตรการ: i. จัดทําการสํารวจในปี ๒๕๕๒ และเสรมิ สร้างความแข็งแกรง่ ให้กับศูนย์การเรียนรู้ที่มีอยู่ในเรื่อง การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยใ์ นภมู ิภาคอาเซียน ii. สง่ เสริมการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางธุรกิจระหว่างประเทศในสถานทีท่ าํ งาน ๑๘๐
iii. จัดทําการประเมินเพ่ือกําหนดความต้องการการฝึกอบรมในอาเซียน โดยเฉพาะในประเทศ กัมพูชา ลาว และเวียดนาม เพ่ือร่วมกันจัดทําโครงการความร่วมมือทางด้านวิชาการสําหรับผู้ใช้ แรงงาน iv. สง่ เสรมิ ทักษะทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศใหก้ บั ผู้ใชแ้ รงงานในอาเซยี นโดยการจัดหลักสูตร หรือโครงการฝกึ อบรมรว่ มกนั v. จดั การฝึกอบรมทักษะเพอื่ คํานึงถึงความแตกต่างทางเพศสําหรับผู้ฝึกในประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะประเทศกมั พูชา ลาว พม่า และเวยี ดนาม ภายในปี ๒๕๕๓ vi. ออกแบบและดาํ เนินโครงการฝกึ อบรมทีจ่ ะสนองตอบความตอ้ งการของโรงงานอตุ สาหกรรมที่ มมี ลู ค่าเพ่มิ สงู เพ่ือชว่ ยเสรมิ สร้างขีดความสามารถในการแข่งขนั ของอาเซียนในระดับโลก vii. จัดทาํ แผนปฏบิ ัติงานความร่วมมือระดับภูมิภาคสําหรับการพัฒนาทักษะในสตรี เยาวชน และ ผู้พกิ าร viii. จัดการแข่งขันด้านทักษะในอาเซียนเป็นประจําเพ่ือสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาในหมู่ผู้ใช้ แรงงานในอาเซียนโดยเฉพาะความพยายามที่จะบรรลุมาตรฐานในเรื่องขีดความสามารถของ ภมู ิภาค A3. สง่ เสริมการจา้ งงานท่ีเหมาะสม ๑๓. เปา้ หมายเชิงยทุ ธศาสตร์: เนน้ ส่งเสริมใหร้ วมหลักการการทาํ งานอย่างถูกตอ้ งและเหมาะสมไว้ ในวัฒนธรรมการทํางานของอาเซียนรวมถึงสุขภาพและความปลอดภัยในท่ีทํางาน และทําให้เกิด ความมน่ั ใจว่าการส่งเสรมิ การบรหิ ารกิจการจะเป็นส่วนหน่ึงของนโยบายการจ้างงานของอาเซียน เพือ่ ให้บรรลุผลตามยทุ ธศาสตร์การจา้ งงาน มาตรการ: i. เสริมสรา้ งขีดความสามารถของภาครัฐในการติดตามตลาดแรงงานและตัวชี้วัดทรัพยากรมนุษย์ และคดิ คน้ นโยบายรองรับผลกระทบต่อสงั คม ii. จัดทาํ กรอบด้านทกั ษะระดบั ชาติเพือ่ นําไปสกู่ ารยอมรับทกั ษะในระดับอาเซยี น iii. พยายามจัดต้ังเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญด้านอุตสาหกรรมในอาเซียน เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ ระหวา่ งอุตสาหกรรมทแี่ ข็งแกร่ง มคี วามกลมกลนื มผี ลผลติ มากขึน้ และมงี านท่ีดี ภายในปี ๒๕๕๓ ๑๘๑
iv. ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการในเร่อื งความปลอดภัยในวิชาชีพและกรอบสุขภาพในระดับชาติ สําหรับอาเซียนตามที่ได้รับการยนื ยันโดยอาเซียน-โอชเนต็ A4. ส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอซที ี) ๑๔. เป้าหมายเชงิ ยุทธศาสตร์: เนน้ การดําเนนิ โครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งเสริมการปฏิบัติ ตามข้อริเร่ิมของภมู ภิ าคด้านไอซีที มาตรการ: i. ดําเนินโครงการเสรมิ สร้างขีดความสามารถ เพอื่ เพิ่มพนู ความร้ดู า้ น ไอซีทีในอาเซียน โดยเฉพาะ ในกลุ่มสตรี เดก็ ผู้สงู วยั และผูพ้ กิ าร ii. ส่งเสรมิ การใช้ไอซที ใี นเชิงบวก โดยเฉพาะอนิ เตอรเ์ นต็ iii. สนับสนุนการใชไ้ อซที ใี นทกุ ระดับการศึกษา iv. ริเรมิ่ การเริ่มใชไ้ อซีทีในโรงเรยี นประถมใหเ้ ร็วขึ้น v. ส่งเสรมิ การใชไ้ อซีทีเพ่อื สนบั สนนุ การเรยี นรู้ทางอินเตอรเ์ น็ต vi. พฒั นาผใู้ ช้แรงงานและกําลงั คนเพื่อการมวี ิชาชีพและความชํานาญทางดา้ นไอซที ี A5. การอานวยความสะดวกในการเขา้ ถงึ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์ ๑๕. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: พัฒนานโยบายและกลไกเพอ่ื สนบั สนุนความรว่ มมือในด้านการวิจัย การพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การถ่ายทอดเทคโนโลยีรวมท้ังในเชิงพาณิชย์ การจัดตั้งเครือข่ายสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและ หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง มาตรการ: i. จัดต้ังเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่ือส่งเสริมความร่วมมือและ แลกเปลี่ยนการใชป้ ระโยชน์จากงานวิจัย การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการค้า และการวิจัยร่วมกัน และการพฒั นาทางดา้ นเทคโนโลยภี ายในปี ๒๕๕๔ ii. เสริมสร้างการทําวิจัยร่วมกนั และการพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศเชงิ ประยกุ ต์เพื่อการเสรมิ สรา้ ง ใหป้ ระชาคมมคี วามกินดอี ยดู่ ี ๑๘๒
iii. อํานวยความสะดวกในเร่ืองการแลกเปลี่ยนและเคลื่อนย้ายนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยจาก สถาบนั ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งของภาครัฐและเอกชน โดยให้สอดคล้องกับกฎหมาย กฎระเบียบและนโยบายระดับชาติ iv. จัดตั้งพันธมิตรทางยุทธศาสตร์ร่วมกับภาคเอกชนเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการวิจัยและ การพฒั นา รวมท้ังการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการค้า v. ใหท้ ุนการศกึ ษาในอาเซยี นเพ่อื สนบั สนุนสถาบนั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเสมอื นจริงอาเซียน (เอวสิ ท์) และกิจกรรมทางด้านวทิ ยาศาสตร์อืน่ ๆ ที่เกีย่ วขอ้ ง vi. เพ่ิมการตระหนักรับรู้ในเร่ืองวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเชิงประยุกต์เพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน จัดทําตัวชี้วัดทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เพ่ือให้ผู้วางแผนด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมใช้ ประโยชนใ์ นการพัฒนายทุ ธศาสตรท์ างดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ vii. ส่งเสริมและสนับสนุนการใชป้ ระโยชนเ์ ครือข่ายทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีอาเซียน และ เครอื ข่ายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยอี ื่นๆ viii. สง่ เสรมิ การพฒั นาการใช้และการแลกเปลีย่ นการใช้ระบบดิจิตอลในประเทศสมาชิกอาเซียน A6. เสรมิ สรา้ งทักษะในการประกอบการสาหรับสตรี เยาวชน ผสู้ งู อายุ และผพู้ กิ าร ๑๖. เปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์: เน้นส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของสตรี เยาวชน ผสู้ ูงอายุ ผ้พู กิ าร กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มชายขอบในกําลังแรงงานท่ีมีผลผลิต โดยการฝึกอบรมการฝีมือเพ่ือ ปรับปรงุ คุณภาพความเป็นอยู่ ซ่ึงจะช่วยส่งเสริมการพัฒนาชาติและการรวมตัวทางเศรษฐกิจของ อาเซียน มาตรการ: i. จัดตั้งเวทีอาเซียนด้านผู้ประกอบการเยาวชน ภายใต้กรอบความร่วมมือรายสาขาด้านแรงงาน เยาวชน การศกึ ษา ภายในปี ๒๕๕๒ ii. จัดต้ังเครือขา่ ยผปู้ ระกอบการสตรี ภายในปี ๒๕๕๓ และเสริมบรรยากาศสําหรับผู้ประกอบการ สตรีในภูมิภาค รวมทั้งการเข้าถึงเงินกู้/สินเช่ือรายย่อยไร้หลักประกัน เทคโนโลยี การฝึกอบรม การตลาด และการใหบ้ ริการการคุ้มครองทางสงั คม ๑๘๓
iii. สร้างเครือข่ายผู้เช่ียวชาญในเร่ืองการประกอบการ โดยเฉพาะในการฝึกอบรมทางด้านทักษะ สําหรับเดก็ ท่อี อกจากโรงเรียน ผู้สูงอายุและผพู้ ิการ ภายในปี ๒๕๕๓ A7. พัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ (สาํ นักงาน ก.พ. เปน็ ผ้รู ับผิดชอบดําเนินการ) ๑๗. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: เน้นการจัดตั้งระบบราชการท่ีมีประสิทธิภาพ โปร่งใส มี ความรบั ผดิ ชอบและมีความน่าเช่ือถือ โดยการเพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรบุคคลใน ระบบราชการของอาเซยี น และเพ่มิ ความรว่ มมือระหวา่ งรัฐสมาชกิ อาเซยี น มาตรการ: i. พัฒนายุทธศาสตร์เพื่อดําเนินการตามแผนปฏิบัติการการประชุมอาเซียนว่าด้วยกิจการ ด้านพลเรอื น (เอซีซีเอสเอม็ ) (๒๕๕๑-๒๕๕๕) ภายในปี ๒๕๕๒ ii. ให้เอซีซีเอสเอ็มสนับสนุนการประสานงานในอาเซียนเพ่ือให้ระบบราชการมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อสาธารณชนและมีธรรมาภิบาล รวมทั้งสนับสนุนการจัดการประชุม เชงิ ปฏิบัตกิ ารในดา้ นเหล่านป้ี ระจาํ ทุกปี โดยให้เริ่มต้ังแต่ปี ๒๕๕๑ iii. เสริมสร้างขีดความสามารถของศูนย์ทรัพยากรอาเซียนภายใต้เอซีซีเอสเอ็มเพื่อพัฒนาและ จดั โครงการฝกึ อบรมเพ่ือชว่ ยประเทศสมาชิกอาเซียน iv. พัฒนากลุ่มผู้เช่ียวชาญและผู้ฝึกเพื่อเป็นทรัพยากรบุคคลในโครงการฝึกอบรมและเสริมสร้าง ขดี ความสามารถของพลเรือน v. พัฒนาคู่มือและหลักสูตรให้เหมาะสมสําหรับเพศและการพัฒนา และหลักจริยธรรมและ ธรรมาภบิ าล สําหรับการแลกเปล่ยี นระหวา่ งประเทศสมาชกิ อาเซยี น vi. พัฒนาและจดั โครงการฝึกอบรมโดยเน้นการเสรมิ สรา้ งขีดความ สามารถเพื่อแลกเปล่ียนกันใน ระบบราชการอาเซียนภายใต้การประชมุ อาเซยี นว่าดว้ ยกจิ การดา้ นพลเรอื น vii. กระชับความร่วมมือในการประสานงานเพื่อบรรลุการพัฒนาพลเรือนที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มคี วามสามารถ นา่ เชื่อถือและตอบสนองตอ่ ระบบราชการในอาเซียน โดยดําเนินผ่าน กิจกรรมของศูนย์ทรัพยากรอาเซยี นตา่ งๆ (เออาซี) กรอบความรว่ มมอื รายสาขา และกิจกรรมระดับ ภมู ภิ าคทสี่ นบั สนนุ การดาํ เนินการสาขาความสําคัญของเอซีซเี อสเอ็ม viii. จดั ทาํ นโยบายและโครงการภายใต้การรณรงค์ที่ย่ังยืนในระบบราชการเพื่อให้แผนงานเอซีซี เอสเอ็ม (๒๕๕๑-๒๕๕๕) บรรลุผลสําเร็จ ส่งเสริมความโปร่งใส ความซ่ือสัตย์ คํานึงถึง ๑๘๔
สิง่ แวดลอ้ ม เคารพหลักสิทธมิ นุษยชนและความเท่าเทียมทางเพศ ใส่ใจและปฏิบัติอย่างเป็นพิเศษ ต่อคนยากไร้ รวมถึงให้ขา้ ราชการอาเซยี นผู้ซ่งึ ควรจะเป็นผนู้ าํ และผใู้ หก้ ารสนบั สนุนเป้าหมายของ เอเอสซีซี ix. เพิ่มและจัดตั้งกลไกเพ่ือการบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ รวมท้ังมาตรฐานการบริการ ปฏิกริ ยิ าจากประชาชน และระบบจัดอันดบั แสดงฐานะการผลิต x. ขยายบทบาทของประชาสังคมและกลุม่ ประชาชน ในหลกั จริยธรรมและธรรมาภบิ าล B. การคุ้มครองและสวสั ดกิ ารสงั คม ๑๘. อาเซียนมีพันธกรณีในการส่งเสริมความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตท่ีดีของประชาชนโดย ลดความยากจนและส่งเสริมการคุ้มครองและสวัสดิการสังคม การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีม่ันคง ปลอดภัย และปลอดยาเสพติด การเตรียมความพร้อมเร่ืองภัยพิบัติ และการจัดการกับข้อกังวล เกีย่ วกับการพัฒนาสขุ ภาพ B1. การขจัดความยากจน ๑๙. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: เน้นการแก้ไขปัญหาความเหล่ือมลํ้าในด้านสังคมและเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศสมาชกิ อาเซยี น รวมถึงการบรรลุเปา้ หมายการพฒั นาแห่งสหสั วรรษ (เอม็ ดีจี) ของสหประชาชาติ ในด้านการกาํ จดั ความยากจนและความหวิ โหย มาตรการ: i. พัฒนาและดําเนินตามแผนงานอาเซียนเพ่ือบรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของ สหประชาชาติโดยหารือกับกรอบสาขาความร่วมมือต่างๆ เพื่อจะกําหนดและขยายความร่วมมือ ทางวชิ าการในการลดความยากจน ii. สนับสนุนข้อริเริ่มที่ขับเคลื่อนโดยประเทศสมาชิกอาเซียนในการลดความยากจนเพ่ือนําไปสู่ การลดช่องว่างทางการพฒั นาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน iii. เพ่ิมความพยายามในการดาํ เนนิ โครงการทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การขจัดความยากจน โดยเฉพาะในด้าน โครงสร้างพ้ืนฐานในชนบท แหล่งนํ้า สุขาภิบาล ภายใต้ข้อริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน และ กรอบความรว่ มมือในอนุภมู ภิ าคอื่นๆ ๑๘๕
iv. ปรับปรงุ ขดี ความสามารถของอาเซยี นในการประเมินความยากจนอย่างง่ายและสามารถปฏิบัติ ได้และติดตามกลยุทธ์ในการลดความยากจนภายใต้ระบบที่มคี า่ กําหนด โดยครอบคลมุ ใหม้ ากท่สี ุด v. ใหค้ วามชว่ ยเหลือครอบครัวที่ยากจนด้วยระบบสนับสนุนที่เหมาะสมเพื่อให้คนเหล่านั้นพึ่งพา ตนเองได้ vi. กระชบั ความรว่ มมือของอาเซียนในด้านเงนิ ทุนกู้ยืมขนาดเล็ก รวมทั้งกระชับความร่วมมือและ เครือข่ายระหว่างสถาบันด้านการเงินในพื้นท่ียากจนโดยคํานึงถึงค่านิยมและประเพณีท้องถ่ิน รวมทงั้ การรบั มอื กบั ปญั หาความยากจนในกลุ่มสตรี vii. พยายามจัดต้ังธนาคารข้อมูลอาเซียนในเร่ืองความยากจนและโครงการลดความยากจนโดย แบ่งปันข้อมลู ระหวา่ งประเทศสมาชกิ อาเซียน viii. สานต่อการแลกเปล่ียนประสบการณ์และแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดโดยการจัดสัมมนาและสัมมนา เชิงปฏบิ ัตกิ ารในเรือ่ งการลดความยากจนเป็นประจาํ ในประเทศสมาชกิ อาเซยี นและประเทศคู่เจรจา ix. จัดตง้ั เครอื ขา่ ยอาเซียนด้านการพัฒนาครอบครัว x. สนับสนุนขบวนการอาสาสมัครชนบทและให้มีการแลกเปล่ียนผู้เชี่ยวชาญเยาวชนวิชาชีพ ด้านการพัฒนาชนบทในอาเซยี น B2. เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันจากผลกระทบด้านลบจากการรวมตัว อาเซยี นและโลกาภิวัตน์ ๒๐. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: ให้ความม่นั ใจวา่ ประชาชนอาเซยี นทุกคนไดร้ ับสวัสดิการสังคมและ การคุ้มกนั จากผลกระทบเชงิ ลบจากโลกาภวิ ตั น์และการรวมตัว โดยพฒั นาคณุ ภาพ ความครอบคลุม และความยงั่ ยนื ของการคุ้มครองทางสงั คม และเพมิ่ ความสามารถในการจัดการความเส่ียงทางด้าน สงั คม มาตรการ: i. จดั การสาํ รวจระบอบการปกป้องทางด้านสังคมทม่ี ีอยใู่ นอาเซยี น ii. ส่งเสรมิ การแลกเปลย่ี นแนวปฏิบัตทิ ดี่ ีทีส่ ดุ ในเรอื่ งระบบความม่ันคงทางด้านสังคม iii. ใหม้ เี รอื่ งการปอ้ งกนั ทางด้านสงั คมในความรว่ มมอื อาเซียนในดา้ นแนวปฏิบตั ทิ ่เี กย่ี วกับแรงงาน iv. พิจารณาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งระบบประกันสังคมท่ีจะครอบคลุมแรงงานอย่างไม่เป็น ทางการ ๑๘๖
v. จดั ต้ังเครอื ขา่ ยหนว่ ยงานทีท่ ําหนา้ ทด่ี แู ลสงั คมในการสง่ เสริมการกินดอี ยู่ดีและชีวิตความเป็นอยู่ ของคนจน คนด้อยโอกาส คนท่ีถกู ละเลยและคนทถ่ี ูกเอาเปรยี บทไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากกระบวนการ รวมตวั และโลกาภวิ ัตน์ vi. ศึกษากลไกการจัดการความเส่ียงจากภัยพบิ ัตทิ างด้านเกษตร ป่าไม้และประมง vii. จัดทําวิจัยในเรื่องผลกระทบท่ีเกิดจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจและโลกาภิวัตน์ในมุมมอง ทางเพศท่ีเกย่ี วขอ้ งเพอ่ื เตรียมการในมาตรการทแ่ี ตล่ ะเพศจะมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม viii. ดําเนินการทีเ่ หมาะสมและออกมาตรการป้องกนั การใชอ้ ินเตอร์เน็ตในทางที่ผิดและการกระทํา อนาจารต่อผหู้ ญงิ เด็กและกลุม่ อ่นื ๆ ix. ดําเนินการทีเ่ หมาะสมและออกมาตรการป้องกันการใช้อินเตอร์เน็ตในการก่อกวนสังคม สร้าง ความเกลียด การแบ่งแยกและการไมย่ อมรบั ความคดิ ที่แตกต่าง x. กระชบั ความร่วมมือของอาเซียนในการปกป้องแรงงานย้ายถนิ่ ฐานทีเ่ ปน็ สตรี B3. ส่งเสรมิ ความม่ันคงและความปลอดภัยด้านอาหาร ๒๑. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: ให้ความมั่นใจว่าประชาชนอาเซียนทุกคนมีอาหารเพียงพอ ตลอดเวลาและให้ความม่ันใจในความปลอดภยั ดา้ นอาหารในรัฐสมาชิกอาเซียน มาตรการ: i. ปรับกฎระเบียบทางด้านความม่ันคงทางอาหารระดับชาติให้เข้ากับมาตรฐานระดับนานาชาติที่ ได้รบั การยอมรบั รวมทัง้ มาตรการการกักกันและการตรวจสอบสาํ หรับการเคล่ือนย้ายพืชและสัตว์ และผลผลติ ทท่ี ําจากพชื และสตั ว์ ii. เสริมสรา้ งงานภายใต้คณะทาํ งานผปู้ ระสานงานเรื่องความมน่ั คงด้านอาหารเพ่ือประสานงานกับ หนว่ ยงานหลักและหน่วยงานย่อยด้านอาหารของอาเซยี นไดด้ ีขึ้นรวมทงั้ การปฏบิ ตั แิ ผนงานตา่ งๆ iii. ส่งเสริมใหผ้ ู้ผลติ ทุกระดับผลติ อาหารทป่ี ลอดภยั และดีตอ่ สขุ ภาพ iv. จดั ทํากรอบกฎหมายในดา้ นอาหารที่เป็นแบบอย่างและเสริมสร้างการตรวจสอบอาหาร ระบบ การออกใบรับรอง ตงั้ แต่ทงุ่ นาถงึ โตะ๊ อาหารในประเทศสมาชกิ อาเซียน ๑๘๗
v. สร้างเครือข่ายของห้องปฏิบัติการด้านอาหารท่ีมีประสิทธิภาพของประเทศสมาชิกอาเซียน เพอ่ื อาํ นวยความสะดวก ในการแลกเปลย่ี นข่าวสาร ข้อมลู การค้นหาประสบการณ์ แนวปฏิบัติการ ท่ีดที ส่ี ดุ ทีเ่ กีย่ วกบั หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารด้านอาหาร และเทคโนโลยีใหมๆ่ vi. เสรมิ สร้างขีดความสามารถของประเทศสมาชิกอาเซียนในการวเิ คราะหเ์ รื่องความเสี่ยง vii. ส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมและบทบาทของผบู้ รโิ ภคในด้านความปลอดภยั อาหาร viii. สง่ เสริมบทบาทของคณะกรรมการการสํารองอาหารเพ่ือความมั่นคงของอาเซียน (เอเอฟเอส อาบี) รวมทัง้ เพ่มิ การสํารองอาหารหลกั ในภมู ิภาค ix. เสริมสร้างความร่วมมือกับสถาบันทั้งในระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติและองค์กรเอกชน เพ่อื ประกันความมั่นคงทางอาหารในภูมภิ าค x. จัดตง้ั เครอื ข่ายเพือ่ ส่งเสริมความร่วมมือการค้าอาหารท้ังในและนอกอาเซียนเพ่ือความมั่นคงใน การแจกจ่ายอาหารในภมู ิภาค xi. สร้างหลกั ประกนั ให้มีอาหารตลอดเวลาสาํ หรับประชาชนอาเซียน xii. สนับสนุนใหใ้ ชเ้ ทคโนโลยที ่ีเป็นมติ รต่อส่งิ แวดล้อมในการปลกู และผลิตอาหาร xiii. ปรับปรุงคุณภาพของระบบการตรวจสอบคุณภาพและประสิทธิภาพในการรับมือกับ โรคท่ีติดจากอาหารและการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษโดยให้มีการแบ่งปันข้อมูลและ แลกเปลย่ี นความเช่ียวชาญ xiv. ส่งเสริมการสนบั สนุนใหผ้ ูผ้ ลติ ผลิตอาหารที่ปลอดภัยและดีต่อสุขภาพ ผ่านทางการศึกษาและ การสอ่ื สารไปยงั กลุม่ ชุมชนเพ่อื ใหเ้ ปน็ กําลงั ทีจ่ ะสนบั สนนุ อาหารปลอดภยั xv. หาโอกาสจดั การหารอื การประชุม เพอื่ ประสานความรว่ มมือระหว่างผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียเพอ่ื ให้ ชว่ ยสง่ เสรมิ ความม่นั คงและความปลอดภยั ดา้ นอาหาร xvi. บูรณาการมาตรการดังกล่าวขา้ งตน้ เข้าไว้ในแผนปฏิบัติการอย่างครอบคลุมโดยมีเป้าหมายใน การปรบั ปรุงอาหารให้ดตี อ่ สุขภาพมากข้ึน B4. การเข้าถึงการดแู ลสขุ ภาพและส่งเสริมการดารงชีวิตที่มสี ขุ ภาพ ๒๒. เปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์: เน้นการเข้าถึงการรักษาสุขภาพการบริการทางการแพทย์และยาท่ี เพียงพอและราคาถูก และส่งเสรมิ ให้ประชาชนอาเซยี นดํารงชวี ติ ท่ีมีสขุ ภาพสมบรู ณ์ ๑๘๘
มาตรการ: i. สง่ เสริมการลงทนุ ในเรือ่ งการปรบั ปรุงโครงสร้างการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานอย่างมีเหตุผล เพ่ือ เป็นหลักประกันทางด้านการเงินและสังคมสําหรับคนยากจนและคนที่ไม่ได้รับโอกาสทางด้าน สังคมใหส้ ามารถเข้าถึงการรับการบริการและบรรลุเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษที่เก่ียวกับ ทางดา้ นสุขภาพไดม้ ากข้ึน ii. ส่งเสริมข่าวสาร การศึกษาและการดําเนินกิจกรรมเพื่อสุขภาพสําหรับสาธารณชนเพ่ือส่งเสริม การใชช้ วี ติ อยา่ งมสี ขุ ภาพที่ดแี ละเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรม เช่น การรับประทานอาหาร การออกกําลัง กาย และการรักษาสุขภาพจติ ใหม้ ลี กั ษณะท่เี ข้าถึงงา่ ย ราคาถูกและมคี วามย่งั ยืน iii. ใช้ยุทธศาสตร์เพ่ือเสริมสร้างการจัดการกับความเส่ียงแบบบูรณาการ และส่งเสริมการใช้ชีวิต อยา่ งมีสุขภาพท่ีดี เพอื่ ปรบั เปล่ียนพฤติกรรม iv. จัดทําและรับรองกรอบความร่วมมือสาํ หรบั อาหารและเคร่อื งดม่ื ทไ่ี ม่เปน็ ผลดตี อ่ สุขภาพ รวมทั้ง เคร่อื งดืม่ ประเภทสุราในลกั ษณะเดียวกบั กรอบอนุสญั ญาวา่ ดว้ ยการควบคมุ ยาสบู (เอฟซที ซี ี) v. ส่งเสริมการตระหนักรับรู้เก่ียวกับผลกระทบนโยบายการค้าระดับภูมิภาคและระดับโลกและ การรวมตัวทางด้านเศรษฐกิจในเรือ่ งสุขภาพ และจัดทํายุทธศาสตร์เพ่ือท่ีจะลดผลกระทบในทางลบ โดยการจดั สมั มนาและสัมมนาเชงิ ปฏิบตั ิการในระดบั ภมู ิภาค แลกเปล่ียนผลการศึกษาและเอกสาร ทางดา้ นวชิ าการ vi. จัดทํายุทธศาสตร์สําหรับอาเซยี นในการเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถและการแขง่ ขันในด้านสนิ คา้ และบริการที่เกยี่ วกบั สุขภาพ รวมท้งั สาขาทางด้านเภสชั กรรม vii. จัดให้มีการวิจัยและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ข้ามประเทศในการส่งเสริมการบูรณาการ ดา้ นความปลอดภัย และประสทิ ธิผลของยาแผนโบราณและการแพทย์ทางเลือกเข้าไปในระบบการ ดูแลสุขภาพระดบั ชาตแิ ละในระดบั อน่ื ๆ viii. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีเกี่ยวกับอาหาร และนาโนเทคโนโลยี เพ่ือช่วย การใชท้ รัพยากรชีวภาพอยา่ งย่ังยนื การออกแบบการผลิตและการจดั ส่งยาหรือผลติ ภณั ฑอ์ ืน่ ๆ ix. สง่ เสรมิ โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศสาธารณสุข (อี-เฮลท์) เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลท่ีเหมาะสม เท่ยี งตรงและสมบรู ณ์เพ่ือประโยชนต์ อ่ สุขภาพของสาธารณชนอย่างทันเวลา x. ส่งเสริมการประสานงานในเร่ืองการวิจัยและการพัฒนาเกี่ยวกับสุขภาพ การใช้ชีวิตอย่างมี สขุ ภาพ รวมท้งั ปจั จยั ความเสี่ยงของการเกิดโรคไม่ตดิ ต่อในประเทศสมาชิกอาเซียน ๑๘๙
xi. สง่ เสรมิ การแบง่ ปนั แนวปฏบิ ัติทดี่ ีทสี่ ดุ ในการปรับปรุงการเข้าถึงผลิตภัณฑ์เพ่ือสุขภาพรวมท้ัง ยาสําหรับประชาชนในอาเซยี น xii. จดั หาแรงจูงใจและสภาพการทาํ งานทดี่ ีเพื่อเป็นหลักประกันในการทํางานของเจ้าหน้าที่ผู้ดูแล ด้านสขุ ภาพในภูมภิ าค ในการรว่ มกับองคก์ รอนามยั โลกและหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งพฒั นาแนวปฏบิ ตั ิ ที่ยุติธรรมในการคัดเลือกเจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขในระดับสากลเพื่ อแก้ปัญหาการขาดแคลน เจ้าหน้าท่ีผูด้ ูแลสขุ ภาพทั่วโลก xiii. ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนผู้เช่ียวชาญด้านสุขภาพ ยา การศึกษาด้านกายภาพและสุขภาพเพื่อให้ เกดิ การแบง่ ปนั ความรู้และประสบการณ์ xiv. ส่งเสริมการเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน เสริมสร้างบทบาทหน้าที่ของชุมชน และนโยบายประเดน็ ออ่ นไหวด้านเพศ เพ่อื การปรับปรงุ มาตรฐานด้านสขุ ภาพของชุมชน xv. ส่งเสรมิ โครงการเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถ เชน่ การปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการ ด้านเภสัชกรรม จัดให้มีหลักสูตรการฝึกอบรมและแลกเปล่ียนประสบการณ์ด้านการวิจัยในเร่ือง เสถยี รภาพ สภาพพรอ้ มใช้ทางชีวภาพ ชีวสมมลู การศึกษาทางคลินิก การให้กระบวนการผลิตและ วธิ ีการวเิ คราะห์ xvi. จัดต้งั และคงไว้ซึ่งระบบการตรวจสอบด้านโภชนาการในอาเซียน xvii. สง่ เสรมิ การเผยแพรแ่ นวปฏบิ ตั ิท่ดี ที ส่ี ดุ เพื่อปรับปรุงการเข้าถึงการดูแลสุขภาพข้ันพ้ืนฐานใน กลุ่มเสีย่ ง หรือกล่มุ ท่ีมีโอกาสติดเช้ือได้ง่าย ให้ความสําคัญกับโรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง และความพิการ ผ่านการจดั สมั มนาเชิงปฏิบตั ิการ การจัดสัมมนาและแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่าง ประเทศสมาชิก xviii. สง่ เสริมใหผ้ บู้ รโิ ภคเปน็ ผ้มู สี ว่ นรว่ มในเร่อื งการดแู ลสุขภาพ โดยผู้บริโภคจะไดร้ ับทางเลือกที่ ไดร้ ับประโยชนม์ ากท่สี ุดและมีความเสี่ยงน้อยทส่ี ดุ ในการใชย้ าแผนโบราณและการแพทยท์ างเลือก xix. ส่งเสรมิ ให้ผูก้ าํ หนดนโยบายเร่งรัดการดาํ เนินการเพ่อื เพ่ิมการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพด้านเพศและ การเจริญพันธุ์ และการให้บริการด้านสุขภาพอย่างเป็นมิตร และให้ความรู้แก่สังคมโดยเฉพาะ ผปู้ กครองและวัยรนุ่ ในเร่ืองการเจริญพันธุ์และสขุ ภาพทางเพศ xx. จัดทําโครงการและปรับปรุงระบบการตรวจสอบโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเรง็ ซงึ่ กลายเปน็ โรคที่พบบอ่ ยข้ึนในชมุ ชนเนื่องจากการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมการใชช้ ีวิต ๑๙๐
xxi. เสริมสร้างเครือข่ายด้านสุขภาพที่มีอยู่เดิมในประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อผลักดันให้เกิด ความสาํ เร็จในเรอื่ งของการเขา้ ถงึ การบริการดา้ นสุขภาพและการส่งเสรมิ พฤติกรรมการใชช้ วี ติ อยา่ ง มีสขุ ภาพดี โดยแลกเปลยี่ นความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรมเพอ่ื ความร่วมมอื และการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืน สบื ต่อไป xxii. ส่งเสริมการใชย้ าอย่างมีเหตผุ ล โดยเฉพาะการสั่งยาปฏชิ ีวนะ xxiii. แลกเปล่ียนข้อมูลและประสบการณ์เรื่องการควบคุมราคายาเพ่ือการเข้าถึงยาที่จําเป็นใน ประเทศสมาชิกอาเซยี น xxiv. สง่ เสริมการแลกเปล่ียนประสบการณ์ระหวา่ งประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องการจัดการและ กําหนดนโยบายดา้ นสาธารณสขุ B5. การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ ๒๓. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: เสริมสร้างความพร้อมและประสิทธิภาพในระดับภูมิภาค โดย บูรณาการแนวทางการป้องกันการเฝ้าระวัง ควบคุม และการสนองตอบที่ทันเวลาเพื่อ แก้ปญั หาโรคตดิ ตอ่ และโรคตดิ เชอ้ื อบุ ตั ใิ หม่ มาตรการ: i. เสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาความตกลงความร่วมมือระดับภูมิภาค โดยบูรณาการ แนวทางการปอ้ งกนั การควบคุม การเตรยี มความพรอ้ มเรือ่ งโรคตดิ เชือ้ อบุ ัตใิ หม่ โดยใหเ้ ปน็ ไปตาม กฎระเบียบระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยเร่ืองสุขภาพ ปี ๒๕๔๘ และยุทธศาสตร์เอเชีย-แปซิฟิก สําหรับ โรคตดิ ต่ออบุ ัติใหม่ (แอปเซด) ii. จัดต้งั เสรมิ สร้างและคงไว้ซ่ึงระบบการสนบั สนนุ ระดบั ภมู ภิ าคและสร้างเครือขา่ ยเพอ่ื ลดช่องวา่ ง ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซยี น ในการ รบั มือกบั โรคตดิ เชอ้ื อุบตั ิใหมแ่ ละโรคตดิ ตอ่ อน่ื ๆ iii. สรา้ งหลักประกันวา่ คลงั ของยาตา้ นไวรสั และอปุ กรณป์ ้องกนั สว่ นบุคคล (พีพอี ี) จะถกู เก็บรักษา ไว้ในระดับภูมภิ าคสาํ หรบั ประเทศสมาชิกอาเซยี นเพอ่ื เตรยี มความพร้อมอย่างทันทว่ งทใี นกรณีเกิด การระบาดของไขห้ วดั iv. ลดผลกระทบจากการแพร่กระจายและการระบาดของโรคติดเชื้อเอชไอวี โดยให้สอดคล้องกับ เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ การประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยพิเศษว่าด้วยเร่ือง ๑๙๑
โรคเอชไอวแี ละโรคเอดส์ พันธกรณี อาเซยี นวา่ ด้วยเรอ่ื งเอชไอวีและเอดส์ และแผนงานอาเซียนว่า ดว้ ยเอชไอวีและโรคเอดสร์ ะยะท่ี ๓ v. ปรับปรงุ ใหส้ ามารถเข้าถึงการดแู ลรกั ษาดว้ ยยาตา้ นไวรัสเอชไอวีท่ีสามารถซ้ือหาได้และการรับ การรกั ษาโรคติดเชอื้ ฉวยโอกาส รวมท้ังสารเคมใี นการวินิจฉยั โรค vi. จัดทาํ โครงการเพื่อปรับปรุงการเฝ้าดูการติดเชื้อเอชไอวีระยะสอง (ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรม) และส่งเสริมการเผยแพรข่ อ้ มูลและประสบการณ์ในหมู่ประเทศสมาชิกอาเซียน vii. ส่งเสริมการเผยแพร่แนวปฏิบัติท่ีดีท่ีสุดในการปรับปรุงการเข้าถึงการดูแลรักษาเบื้องต้นใน กลมุ่ บุคคลที่มีความเสี่ยงและกลุ่มทต่ี ดิ เช้อื ไดง้ ่าย โดยเฉพาะโรคเอชไอวีและโรคเอดส์ โรคมาลาเรยี โรคไขเ้ ลอื ดออก โรควณั โรค และโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ โดยจัดสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและแลกเปล่ียน การเยือนระหวา่ งประเทศสมาชิกอาเซยี น viii. เสริมสรา้ งความชาํ นาญทางคลินิกในภมู ิภาคผ่านเครือข่ายองค์กรผู้เชี่ยวชาญ สถาบันวิจัยระดับ ภูมิภาคและการแลกเปลย่ี นความชํานาญและการแบ่งปนั ข้อมลู ix. เสริมสร้างความร่วมมือโดยการแบ่งปันข้อมูลและประสบการณ์เพ่ือป้องกันและควบคุมโรค ติดเชื้อที่เกี่ยวข้องกับภาวะโรคร้อน การเปล่ียนแปลงทางภูมิอากาศ และภัยพิบัติท่ีเกิดขึ้นทั้งจาก ธรรมชาติหรือจากมนุษย์ x. จดั การกับเรือ่ งน้ําสะอาด การปลอดเช้ือ ระบบสุขาภิบาล การจัดการของเสีย ท่ีมีส่วนทําให้เกิด โรคตดิ เช้อื xi. กระชับความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนในเร่ืองการติดตามผู้ติดโรคและระบบ กักกนั xii. เสริมสรา้ งและรกั ษาระบบการเฝา้ ระวังโรคตดิ เช้ือ เช่น โรคเอชไอวีหรอื โรคเอดส์ โรคมาลาเรีย โรคไขเ้ ลอื ดออก โรควัณโรค และ xiii. ส่งเสริมการประสานงานในการวิจัยและพัฒนาทางด้านผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพโดยเฉพาะ ยาชนิดใหม่สําหรับโรคติดต่อรวมท้ังโรคที่ไม่ได้รับความสนใจท่ีพบได้ทั่วไปในประเทศสมาชิก อาเซยี น ๑๙๒
B6. รับประกันอาเซียนท่ปี ลอดยาเสพติด ๒๔. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: ลดการเสพยาเสพติดท่ีผิดกฎหมายในหมู่ประชาชนท่ัวไป โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียน เยาวชน และกลุ่มท่ีมีความเส่ียงสูง โดยเน้นมาตรการป้องกันและ สง่ เสรมิ การเข้าถงึ วิธีการรักษา การฟนื้ ฟเู พื่อกลบั เข้าสู่สังคมอีกครั้ง และการบริการหลังการบําบัด เพื่อให้กลับเข้าสู่สังคมอย่างเต็มที่โดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชนและองค์กร ภาคประชาสังคม มาตรการ: i. จดั ทําและดําเนินโครงการป้องกนั การใชย้ าเสพตดิ และโครงการควบคมุ การใช้ยาเสพติดในทางท่ี ผดิ ในครอบครัว โรงเรยี น สถานท่ีทํางานและชมุ ชน ii. สง่ เสริมการตระหนักรับรู้และปฏิกิริยาทางสังคมโดยสนับสนุนในเร่ืองการต่อต้านภัยร้ายและ อนั ตรายของยาเสพติด iii. ลดการใช้ยาเสพติดที่ผิดกฎหมายโดยการสร้างมติร่วมกันและแบ่งปันแนวปฏิบัติท่ีดีท่ีสุดใน การจดั ทาํ โครงการการลดความต้องการใช้ยาเสพตดิ iv. แบ่งปนั ข้อมูลการวิจยั ยาเสพติดระหว่างประเทศสมาชิก v. พฒั นาความช่วยเหลอื ด้านวิชาการเพ่ือให้ประเทศท่ีเกี่ยวข้องกําหนดพืชทดแทนแทนการใช้พืช ยาเสพตดิ ที่ผิดกฎหมายและจดั ทําการปฏริ ูปนโยบายอยา่ งยัง่ ยนื vi. ส่งเสริมการเข้าถึงตลาดสําหรับผลผลิตท่ีมาจากการพัฒนาทางเลือกภายในภูมิภาค โดย สอดคลอ้ งกบั พันธกรณีและสนธิสัญญาการค้าพหุภาคี vii. อํานวยความสะดวกในการจัดตั้งและดูแลรักษาศูนย์การรักษาและการฟื้นฟูในทุกประเทศ สมาชกิ อาเซียน viii. แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความชํานาญ แนวปฏิบัติที่ดีท่ีสุดและบทเรียนในการป้องกันและ การรักษาผู้ท่ีใช้ยาเสพติด/ผู้ติดยาเสพติดในหมู่องค์กรต่างๆ และองค์กรพัฒนาเอกชนที่อยู่ใน ภาคสาธารณะและในองค์กรทม่ี ิใชร่ ฐั บาล ix. เสรมิ สรา้ งสมรรถภาพการทํางานของเจา้ หน้าท่ีทดี่ ูแลเรื่องการลดปริมาณการต้องการยาเสพติด และเจ้าหน้าท่ีควบคุมยาเสพติด และพัฒนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญและผู้ฝึกในด้านการลดปริมาณ การตอ้ งการยาเสพตดิ และโครงการการควบคมุ ยาเสพติด ๑๙๓
B7. การสรา้ งรัฐทีพ่ รอ้ มรับกบั ภัยพบิ ตั ิและประชาคมท่ปี ลอดภัยยิง่ ขน้ึ ๒๕. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: เสริมสร้างกลไกให้มีประสิทธิภาพและสามารถป้องกันและ ลดการสญู เสียชีวิต และทรัพยส์ นิ ทางสงั คม เศรษฐกิจและส่งิ แวดลอ้ มของรฐั สมาชกิ อาเซียนอนั เกิด จากภัยพิบัติ และร่วมมือกันจัดการกับภัยพิบัติฉุกเฉินโดยใช้ความพยายามของรัฐบาล และ ความร่วมมอื ในระดับภมู ิภาคและระหว่างประเทศ มาตรการ: i. ดําเนินการตามความตกลงว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินของ อาเซียนภายในปี ๒๕๕๘ ii. สนบั สนุนการจัดต้งั และการดําเนินการของศูนย์ประสานงานอาเซียนในการให้ความช่วยเหลือ ดา้ นมนุษยธรรม (อาฮา เซน็ เตอร์) เพอื่ สนับสนนุ ความร่วมมือและการประสานงานระหวา่ งประเทศ สมาชิกอาเซียนกบั หน่วยงานของสหประชาชาติและองค์การระหวา่ งประเทศ iii. จัดทาํ โครงการเสรมิ สร้างขีดความสามารถในสาขาที่มีความจําเป็นเร่งด่วนของประเทศสมาชิก อาเซียนภายในปี ๒๕๕๘ สง่ เสริมความรว่ มมือทางวชิ าการ การวจิ ัยรว่ มกนั และการสร้างเครือข่าย เพอ่ื เพิ่มพนู ขดี ความสามารถในการรับมอื กบั ภยั พบิ ตั ิและลดการสูญเสยี จากภัยพิบัติ iv. สรา้ งเครือขา่ ยอาเซียนเพ่ือแบ่งปันข้อมลู และเครือข่ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับภัยพิบัติภายในปี ๒๕๕๓ เพื่อส่งเสริมการแบ่งปันข้อมูลและแนวปฏิบัติที่ดีท่ีสุดและช่วยในเรื่องการตัดสินใจใน การดาํ เนินการ v. ดาํ เนนิ การและส่งเสริมความตระหนกั รับรู้ของสงั คมและโครงการด้านการศึกษาอย่างสม่ําเสมอ รวมทั้งส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของสาธารณชนในโครงการที่เกี่ยวกับการลดความเส่ียงจากภัยพิบัติ และการตอบโตส้ ถานการณฉ์ กุ เฉนิ เพ่ือส่งเสริมใหช้ ุมชนสามารถฟ้ืนตัวกลับสู่สภาพเดิมหลังเผชิญ ภยั พิบัติ vi. ส่งเสริมการเป็นหุ้นส่วนกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งชุมชนท้องถิ่นองค์กรพัฒนาเอกชน หน่วยงานเอกชน และกระชบั ความรว่ มมือกบั สหประชาชาตแิ ละองค์การระหว่างประเทศ vii. แสดงธงประจําชาติและธงอาเซียน หรือสัญลักษณ์เพ่ือประชาสัมพันธ์อาเซียนใน หมูผ่ ทู้ ่ตี อบสนองรายแรกกับภารกจิ ด้านมนษุ ยธรรม viii. ส่งเสรมิ ทางเลือกการดํารงชีวติ อยา่ งยงั่ ยนื ผ่านกิจกรรมการพฒั นาดา้ นเศรษฐกิจและสังคมเพื่อ ลดความเสีย่ งจากภยั พิบัติ และเสริมสรา้ งขีดความสามารถของชุมชน ๑๙๔
ix. เสริมสรา้ งการมสี ่วนรว่ มและการพร้อมรับมือกับภัยพิบัติในชุมชน โดยเผยแพร่ความรู้ท้องถิ่น และแนวทางปฏิบัติ ความตระหนักรับรู้ของสังคม การศึกษาและบทเรียนเพื่อสร้างชุมชนให้ สามารถกลับสู่สภาพเดมิ ได้หลงั ภัยพิบัติ x. ส่งเสริมการใช้บริการศูนย์อํานวยความสะดวกในภูมิภาคให้มากข้ึน เช่น การใช้บริการ ศูนยพ์ ยากรณ์อากาศอาเซียน (เอเอสเอม็ ซี) ศนู ย์ประชาสมั พนั ธด์ ้านแผ่นดินไหวอาเซียน (เออีไอซี) เพื่อจัดเตรียมข้อมูลการเตือนภัยล่วงหน้า และให้คําแนะนําเฉพาะทางเพ่ือเตรียมพร้อมรับมือกับ ภัยพบิ ตั ิในภมู ิภาค xi. จัดโครงการอาสาสมัครอาเซียนเพื่อช่วยเหลือพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติซึ่งจะช่วย เสริมสร้างการอย่รู ว่ มกันของอาเซียน xii. ส่งเสริมการประสานงานและการวางแผนร่วมกันในหลายภาคส่วน ในเร่ืองการเตรียม ความพร้อมและการรบั มือกบั โรคระบาดตา่ งๆ ในระดบั ภูมิภาค C. ความยตุ ิธรรมและสทิ ธิ ๒๖. อาเซียนมีพันธกรณีในการส่งเสริมความยุติธรรม โดยให้สิทธิของประชาชนสะท้อนอยู่ใน นโยบายและทุกวิถีของชีวิต ซ่ึงรวมถึงสิทธิและสวัสดิการสําหรับกลุ่มด้อยโอกาสและกลุ่มท่ี อ่อนแอ เชน่ สตรี เดก็ ผู้สงู อายุ ผูพ้ ิการ และแรงงานโยกย้ายถิน่ ฐาน C1. การสง่ เสริมและค้มุ ครองสทิ ธิและสวัสดิการสาหรับสตรี เดก็ ผู้สงู อายุ และผพู้ กิ าร ๒๗. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: ปกป้องผลประโยชน์ สิทธิ รวมทั้งส่งเสริมโอกาสอย่างเท่าเทียม และยกระดบั คณุ ภาพชีวิตมาตรฐานการดํารงชีพสาํ หรับสตรี เดก็ ผสู้ ูงอายุ และผพู้ ิการ มาตรการ: i. จดั ตงั้ คณะกรรมาธกิ ารอาเซียนเพอื่ ส่งเสริมและปกป้องสิทธิของสตรแี ละเด็ก ii. สานตอ่ การดําเนินตามแผนงานเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามปฏญิ ญาว่าดว้ ยการขจดั ความรนุ แรงตอ่ สตรีใน ภมู ภิ าคอาเซยี น iii. ดาํ เนินโครงการว่าด้วยการมีชีวิตรอดของเด็ก พัฒนาการและปกป้องเด็กโดยให้สอดคล้องกับ อนสุ ญั ญาว่าด้วยสทิ ธขิ องเด็ก iv. สรา้ งเครอื ข่ายอาเซียนดา้ นเจ้าหนา้ ท่สี งั คมสงเคราะห์ภายในปี ๒๕๕๖ ๑๙๕
v. จัดทําโครงการเสริมสร้างขีดความสามารถระดับภูมิภาคว่าด้วยการให้บริการทางสังคมและ การฟื้นฟูผพู้ ิการ vi. สนับสนุนกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาการดูแลและสวัสดิการและคุณภาพชีวิตและ ความเป็นอยูข่ องผ้สู ูงอายุ ผพู้ กิ าร สตรีและเด็กท่ียากจน อ่อนแอและถูกเอาเปรียบ โดยแลกเปล่ียน แนวปฏิบัตทิ ดี่ ีท่ีสุดในทุกเรื่องทเ่ี ก่ยี วข้อง เชน่ การเข้าถึง การฟน้ื ฟู การปกป้อง การเอาใจใส่ รวมทง้ั การรักษาทางยา ซึ่งควรครอบคลุมถึงการดูแลภายในบ้านอย่างสมัครใจหรือการจัดการดูแลใน รูปแบบครอบครัวหรือชมุ ชน vii. ส่งเสรมิ การสนบั สนนุ และยดึ ถือพันธกรณีที่จะปรับปรุงการคุ้มครองทางสังคมแก่ผู้สูงอายุใน ประเทศสมาชกิ อาเซียนผ่านเครอื ข่ายและการแลกเปลยี่ นข้อมูล viii. จดั ทาํ มาตรฐานความมัน่ คงด้านสงั คมในประเทศสมาชิกอาเซยี น ix. จัดทาํ การวจิ ัยและการศกึ ษาเกี่ยวกับผูส้ งู อายแุ ละยารักษาสาํ หรับผูส้ งู อายุ x. ใชข้ อ้ มูลจาํ แนกเพศเพอื่ สง่ เสรมิ ความตระหนักรับรู้ในเร่ืองความเท่าเทียมทางเพศ บทบาทสตรี และการสนบั สนุนการพัฒนาของภมู ิภาคในระดับนโยบาย xi. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของสตรีในทุกสาขาและทุกระดับ รวมทั้งด้านการเมือง การตดั สนิ ใจตา่ งๆ และการส่งเสริมบทบาทในเศรษฐกิจสังคมของสตรี xii. รวบรวมทัศนะเรอ่ื งสถานะทางเพศใหบ้ รรจใุ นนโยบายระดบั ชาติและระดบั ภูมิภาคและส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ มของผู้หญิงในโครงการต่างๆ xiii. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการมสี ว่ นร่วมของผู้พิการในกระบวนการตัดสินใจและให้การยอมรับ ในความสําเร็จ xiv. พัฒนาและดําเนินโครงการที่ช่วยเหลือชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กที่ถูกเอาเปรียบและอยู่ใน สภาวะออ่ นแอ และ xv. จดั ต้งั กล่มุ ผูป้ ฏิบตั งิ านดา้ นสงั คมสงเคราะห์ของอาเซียน นกั วชิ าการและโรงเรยี นทีเ่ กี่ยวข้องกับ สงั คมสงเคราะห์ C2. การคมุ้ ครองและส่งเสรมิ สิทธิแรงงานโยกยา้ ยถนิ่ ฐาน ๒๘. เปา้ หมายเชงิ ยุทธศาสตร์: สง่ เสรมิ ใหน้ โยบายแรงงานโยกยา้ ยถิ่นฐานมีความครอบคลุมและมี การคุ้มครองท่ีเหมาะสมตามกฎหมาย ระเบียบ และนโยบายของแต่ละประเทศสมาชิก และ ๑๙๖
การดาํ เนนิ การให้สอดคล้องกับปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของแรงงาน โยกยา้ ยถ่ินฐาน1 มาตรการ: i. ใหค้ ณะกรรมการอาเซยี นเพอื่ ปฏิบัติตามปฏิญญาอาเซยี นวา่ ดว้ ยการค้มุ ครองและสง่ เสรมิ สทิ ธขิ อง แรงงานโยกยา้ ยถ่นิ ฐานภายใต้การกาํ กบั ดูแลของเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านแรงงาน ดําเนินงาน เพ่ือการปฏิบัติตามข้อกําหนดในปฏิญญาฯ และทํางานสานต่อการพัฒนาเรื่องการคุ้มครอง อีกท้ัง สง่ เสริมสทิ ธิของแรงงานโยกย้ายถิน่ ฐาน ii. จัดการประชุมว่าด้วยแรงงานโยกย้ายถิ่นฐานอย่างสมํ่าเสมอเพื่อเป็นเวทีในการหารืออย่าง กว้างขวางในเรื่องแรงงานโยกย้ายถนิ่ ฐาน ภายใต้การกํากบั ดแู ลของคณะกรรมการซ่ึงจะรายงานต่อ เจ้าหนา้ ทีอ่ าวุโสอาเซียนดา้ นแรงงาน iii. ส่งเสริมการปกป้องการใหค้ ่าแรงทเี่ ปน็ ธรรมและเหมาะสม รวมท้ังการเข้าถึงงานที่ดีและสภาพ ความเป็นอยู่ท่ีดีสําหรับแรงงานโยกย้ายถิ่นฐานและให้แรงงานโยกย้ายถ่ินฐานที่อาจตกเป็นเหย่ือ ของการเลือกปฏิบัติ การข่มเหง การเอาเปรียบ ความรุนแรงให้สามารถเข้าถึงระบบกฎหมายและ ระบบตัดสนิ คดที ี่เปน็ ธรรมของรัฐผู้รบั iv. เพิ่มความพยายามในการค้มุ ครองสิทธิขั้นพ้ืนฐานของมนุษย์ เช่น ส่งเสริมสวัสดิการและยึดถือ เกียรตภิ ูมมิ นุษย์ของแรงงานโยกย้ายถิน่ ฐาน โดยการอํานวยความสะดวกต่อการดําเนนิ การทางด้าน กงสุลหรือ อํานาจทางการทูตของรัฐต้นกําเนิด ในกรณีที่แรงงานถูกจับและถูกจําคุกหรือกักขัง ภายใต้กฎหมายและกฎระเบยี บของรัฐผรู้ ับ โดยสอดคล้องกับอนุสัญญาเวียนนาและความสัมพันธ์ ด้านกงสุล v. อํานวยความสะดวกในการแบง่ ปันขอ้ มูลในเรื่องท่ีเกี่ยวกบั แรงงานโยกย้ายถน่ิ ฐานเพ่อื ประโยชน์ ในการดาํ เนนิ นโยบายและโครงการที่เก่ยี วข้องกับแรงงานโยกย้ายถิ่นฐานทง้ั ในรฐั ผู้สง่ และรัฐผู้รบั vi. เสริมสร้างนโยบายและพิธีการของรัฐผู้ส่งท่ีจะกําหนดเร่ืองท่ีเกี่ยวกับแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน รวมทง้ั เร่ืองการคดั เลือก การเตรยี มการสาํ หรับเคลอื่ นยา้ ยแรงงานไปต่างประเทศ และการคุ้มครอง แรงงานโยกยา้ ยถนิ่ ฐานเม่อื ออกนอกประเทศ การสง่ กลับประเทศและการกลับสู่ประเทศตนอกี ครั้ง vii. อํานวยความสะดวกในการเข้าถึงทรัพยากรและการเยียวยาโดยให้ข้อมูลการฝึกอบรมและ การศกึ ษา การเขา้ ถึงความยตุ ธิ รรม การใหบ้ ริการสวัสดกิ ารทางสงั คมทเ่ี หมาะสมและสอดคล้องกับ ๑๙๗
กฎหมายของรัฐผู้รับ หากแรงงานมีคุณสมบัติท่ีเป็นไปตามข้อกําหนดภายใต้กฎหมายและ กฎระเบียบและนโยบายของรัฐดังกล่าว ในกรอบความตกลงทวิภาคีและสนธิสญั ญาพหภุ าคี viii. จัดทําและส่งเสริมแนวปฏิบัติทางกฎหมายของรัฐผู้ส่งเพื่อเป็นการวางกฎระเบียบใน การคัดเลือกแรงงานโยกย้ายถิ่นฐานและเลือกใช้กลไกเพ่ือขจัดการจ้างงานท่ีไม่ถูกต้อง โดยใช้ กฎหมายและสัญญาทมี่ ผี ลตามกฎหมาย กฎระเบียบและการให้การรับรองของสํานักงานจัดหางาน และลูกจา้ ง โดยจะข้นึ ทะเบียนสํานกั งานท่ผี ิดกฎหมายและสํานกั งานทลี่ ะเลย และ ix. ส่งเสริมการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการแบ่งปันข้อมูลและแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด และ โอกาส ความท้าทาย โดยสัมพันธ์กับการปกป้องคุ้มครอง และส่งเสริมสิทธิและสวัสดิการของ แรงงานโยกย้ายถ่ินฐาน C3. ส่งเสริมความรับผดิ ชอบตอ่ สังคมขององคก์ รธุรกิจ (สานักงาน ก.พ. เปน็ เจา้ ภาพรว่ ม) ๒๙. เป้าหมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์: ส่งเสรมิ ให้เร่ืองความรับผิดชอบตอ่ สงั คมขององค์กรธรุ กจิ รวมไว้ใน เร่ืองที่ภาคธุรกิจต้องดําเนินการเพื่อให้มีส่วนในการสนับสนุนการพัฒนาที่ย่ังยืนในรัฐสมาชิก อาเซียน มาตรการ: i. จัดทาํ ตวั อยา่ งนโยบายของรฐั วา่ ด้วยความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมขององค์กรธุรกจิ หรือเคร่ืองมือทาง กฎหมายเพ่ือเป็นเอกสารอ้างอิงสําหรับประเทศสมาชิกอาเซียนภายในปี ๒๕๕๓ อาจอ้างอิงจาก มาตรฐาน สากลหรือแนวทาง เช่น ไอเอสโอ สองหม่ืนหกพันภายใต้ช่ือ ‚คําแนะนําเกี่ยวกับ การรับผิดชอบต่อสงั คม‛ ii. ใหภ้ าคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนกิจกรรมรายสาขาต่างๆ และมูลนิธิอาเซียนใน ด้านความรับผิดชอบต่อสงั คมทม่ี ีร่วมกนั iii. ส่งเสรมิ การนํามาใชแ้ ละการดําเนนิ การตามมาตรฐานสากลในเรือ่ งความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม iv. เพิ่มการตระหนักรับรใู้ นเร่อื งความรับผิดชอบต่อสงั คมในอาเซยี นเพื่อความสมั พนั ธท์ ่ี ยง่ั ยนื ระหว่างกิจกรรมทางการค้าและชุมชมที่องคก์ ร ธรุ กิจอาศัยอยู่ โดยเฉพาะการสนบั สนุน การพฒั นาชุมชน ๑๙๘
D. สง่ เสริมความยั่งยนื ดา้ นสิ่งแวดล้อม ๓๐. อาเซียนจะมุ่งสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน รวมทั้งส่งเสริมสิ่งแวดล้อมท่ีเขียวและสะอาดโดย การปกป้องทรัพยากรทางธรรมชาติเพื่อการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมท้ังการจัดการ บริหารอย่างยั่งยืนและการอนุรักษ์ดิน นํ้า แร่ธาตุ พลังงาน ความหลากหลายทางชีวภาพ ป่าไม้ ทรัพยากรชายฝ่งั และทรพั ยากรทางทะเล รวมทง้ั การปรบั ปรุงคุณภาพนํ้าและอากาศสําหรับภูมิภาค อาเซียน อาเซียนจะมีส่วนร่วมในความพยายามของโลก ในการจัดการแก้ปัญหาส่ิงท้าทาย ส่งิ แวดลอ้ มโลก รวมทง้ั การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศและคุม้ ครองช้ันโอโซน เช่นเดียวกับการพัฒนา และการปรบั ใช้เทคโนโลยีดา้ นสง่ิ แวดล้อมสาํ หรับการพัฒนาและสิ่งแวดลอ้ มทย่ี ่ังยนื D1. การจัดการปัญหาสงิ่ แวดล้อมของโลก ๓๑. เปา้ หมายเชงิ ยุทธศาสตร์: แก้ไขปญั หาสงิ่ แวดล้อมของโลกโดยปราศจากผลกระทบตอ่ หลักการ แข่งขันและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยอยู่บนพื้นฐานของหลักความเท่าเทียม ยืดหยุ่น มี ประสิทธิภาพ และหลักการความรับผิดชอบร่วมกันในระดับที่แตกต่างโดยสะท้อนถึงสภาพ การพัฒนาทางเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศทีแ่ ตกตา่ งกัน มาตรการ: i. เพิ่มพนู ความรว่ มมอื ในระดับภมู ิภาคเพ่ือปรับปรุงและเสริมสร้างศักยภาพในระดับประเทศและ ภูมิภาคในการจัดการประเด็นและพันธกรณีท่ีเก่ียวข้องกับความตกลงพหุภาคีด้านส่ิงแวดล้อม (เอ็มอีเอเอส) โดยการวิจัยระดับภูมิภาค การส่งเสริมความตระหนักรับรู้ โครงการส่งเสริม ขดี ความสามารถและตัวเลือกนโยบายทม่ี ขี ้อมลู ครบถว้ น ii. ส่งเสริมการประสานในการดําเนินงานกับเอ็มอีเอเอสที่เกี่ยวข้อง โดยผ่านการกระชับความ ร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการมาตรการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเอ็มอีเอเอสว่าด้วยเรื่อง ชน้ั บรรยากาศ เชน่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ สารทําลายชั้นโอโซน และเอ็มอีเอเอส ว่าด้วย เร่อื งสารเคมีและของเสยี ทเ่ี ปน็ สารเคมี iii. ส่งเสรมิ ความเขา้ ใจ/และท่าทีร่วมของอาเซียนในเอม็ อเี อเอส และ iv. การนําการจัดการแบบภาพรวมไปใช้ในการเสริมสร้างความร่วมมือระดับภู มิภาคด้าน ส่ิงแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท้ังหมดท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงนักธุรกิจ นกั วชิ าการ องคก์ รเอกชน และภาคประชาสงั คม ๑๙๙
D2. การจัดการและการปอ้ งกันปัญหามลพษิ ทางส่งิ แวดล้อมขา้ มแดน ๓๒. เปา้ หมายเชิงยทุ ธศาสตร์: ดาํ เนินมาตรการและส่งเสรมิ ความร่วมมือระดับภมู ิภาคและระหวา่ ง ประเทศ เพือ่ ตอ่ ตา้ นปญั หามลพษิ จากสงิ่ แวดลอ้ ม ซ่งึ รวมถึงปญั หามลพษิ หมอกควันข้ามแดน การเคลือ่ นยา้ ยปฏกิ ลู อนั ตรายข้ามแดน โดยการเสริมสรา้ งขดี ความสามารถ สง่ เสรมิ การตระหนัก รับรูต้ อ่ สาธารณชน เพิ่มอํานาจการบงั คับใชก้ ฎหมาย และสนับสนนุ ปฏบิ ัติการดา้ นสิง่ แวดล้อมที่ ย่ังยืน และดําเนนิ การตามความตกลงอาเซยี นวา่ ดว้ ยมลพิษหมอกควันขา้ มแดน D2.1 มลพษิ หมอกควนั ข้ามแดน มาตรการ: i. ดาํ เนินการตามความตกลงอาเซียนวา่ ด้วยมลพิษหมอกควนั ขา้ มแดน โดยดําเนนิ มาตรการป้องกัน ให้เป็นรูปธรรมในการติดตามและลดผลกระทบ และริเริ่มกระบวนการจัดทําพิธีสารสําหรับ การดําเนนิ การเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามความตกลง ii. จดั ทาํ ความร่วมมอื ท่อี าํ นวยประโยชนร์ ่วมกันระหว่างประเทศสมาชกิ อาเซียนที่ยอมรับกฎหมาย กฎ ระเบียบ และนโยบายระดับชาติของกันและกัน ไม่ว่าจะเป็นความร่วมมือระดับพหุภาคีหรือ ทวิภาคีโดยเนน้ กจิ กรรมในการป้องกัน iii. ให้ศูนย์ประสานงานการควบคุมมลพิษจากหมอกควันข้ามพรมแดนแห่งอาเซียน อํานวย ความสะดวกในความร่วมมือและการประสานงานรวมทั้งร่วมกันตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ระหวา่ งประเทศสมาชกิ อาเซียน iv. จัดหาเงินสําหรับกองทุนการควบคุมมลพิษจากหมอกควันข้ามพรมแดน โดยการบริจาคอย่าง สมัครใจจากประเทศสมาชิกและด้วยความร่วมมือจากประเทศค่เู จรจาเพือ่ ใหม้ ีเงนิ ทุนสาํ รองสาํ หรบั การดําเนินการที่เป็นประสิทธิภาพในการปฏิบัติความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควัน ขา้ มพรมแดน v. ควบคุมและสอดส่องดูแลพ้ืนท่ีและการเกิดไฟป่าในภูมิภาคและส่งเสริมการจัดการอย่างยั่งยืน และการจัดการกับพ้ืนที่พรุในภูมิภาคอาเซียนเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดไฟป่าและมลพิษจาก หมอกควันโดยการดําเนินการข้อริเร่ิมในการจัดการพ้ืนที่พรุในอาเซียน (เอพีเอ็ม ไอ) ภายในปี ๒๕๕๘ ๒๐๐
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281