D2.2 มลพษิ จากของเสียทม่ี ีพิษข้ามแดน มาตรการ: i. ส่งเสริมการประสานงานในระดับภูมิภาคและการแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ และ ความสามารถในการจัดการของเสียอนั ตราย ii. ใช้ประโยชน์จากศูนย์ภูมภิ าคอนสุ ัญญาบาเซลในการฝกึ อบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีในภูมิภาค เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (บซี อี าซี-เอสอเี อ) และบทบาทของคณะทาํ งานในการให้บริการแก่ภูมิภาค ในเร่ืองการถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดการของเสียอันตราย iii. จัดต้ังกลไกระดับภูมิภาคท่ีมีประสิทธิภาพและพร้อมที่จะปฏิบัติการในการจัดการของเสีย อนั ตรายข้ามแดน รวมท้ังการขนย้ายของเสยี ท่ีผดิ กฎหมายโดยใหส้ อดคล้องกับอนุสัญญาบาเซล D3. ส่งเสริมการพฒั นาทยี่ ่งั ยนื โดยการศกึ ษาดา้ นสง่ิ แวดล้อมและการมีส่วนรว่ มของประชาชน ๓๓. เปา้ หมายเชงิ ยุทธศาสตร์: ทําให้อาเซียนเขยี วและสะอาด มั่งคั่งด้วยประเพณีวัฒนธรรม เป็นที่ ซงึ่ คา่ นยิ มและธรรมเนยี มปฏิบัตขิ องประชาชนสอดคลอ้ งกลมกลนื และประสานกับธรรมชาติด้วย การทีป่ ระชาชนมีความรดู้ ้านสิง่ แวดลอ้ ม เตม็ ไปดว้ ยชาติพนั ธ์ทุ างส่งิ แวดล้อมและมคี วามต้งั ใจ และ ความสามารถในการสง่ เสรมิ การพฒั นาทยี่ ่ังยืนของภูมิภาค โดยผ่านทางการศึกษาด้านส่ิงแวดล้อม และการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน มาตรการ: i. ปฏิบัติตามแผนงานอาเซยี นว่าดว้ ยการศึกษาดา้ นส่ิงแวดล้อม (เอออี เี อพี) ปี 2551-2555 ii. จัดทําการประเมนิ สาํ หรับหลักสตู รการศกึ ษาแหง่ ชาติในระบบการ ศึกษาขั้นพื้นฐานเรื่องเน้ือหา ครอบคลุมการศกึ ษาดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม (ออี ี) และการพฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งยัง่ ยืน (อีเอสดี) iii. จดั ทําฐานขัน้ ตา่ํ เพื่อประเมนิ โครงการการศกึ ษาวชิ าชพี ครู รวมทั้งการใหบ้ รกิ ารฝกึ อบรมทงั้ ก่อน และระหว่างนนั้ ไดค้ รอบคลุมประเดน็ อีอีและอีเอสดีในทางทฤษฎแี ละแนวทางปฏิบตั ิ iv. สง่ เสรมิ ให้มีระบบการรับประกันคุณภาพในการศึกษาที่เป็นทางการเพื่อให้ครอบคลุมอีอีและ อีเอสดใี นสาขาวิชาทีเ่ กี่ยวขอ้ ง v. ส่งเสริมการทําวิจัยในเรื่องอีอีและอีเอสดีเพ่ือให้แน่ใจว่าจะมีการพัฒนาในการศึกษาที่เป็น ทางการ ๒๐๑
vi. ส่งเสริมแนวคิดเร่ืองโรงเรียนท่ีย่ังยืน เช่น อีโคสกูลและโรงเรียนสีเขียว ในประเทศสมาชิก อาเซียน vii. พัฒนาหลักสูตรอีอี ส่ือการสอนที่เหมาะกับท้องถ่ินและช่วยส่งเสริม อีเอสดีในระดับท้องถ่ิน และชมุ ชน viii. สง่ เสรมิ อีอีใหเ้ ปน็ เครือ่ งมอื สาํ คัญสาํ หรบั การพัฒนาเมอื งทเ่ี ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ในแต่ละประเทศสมาชกิ ix. ใชอ้ อี อี ยา่ งเหมาะสมในการส่งเสริมแนวปฏบิ ตั ขิ องธรุ กิจที่เปน็ มติ รต่อสง่ิ แวดล้อมอยา่ งยง่ั ยนื x. ส่งเสริมสัปดาห์ส่ิงแวดล้อมอาเซียนเพ่ือเป็นเวทีจัดกิจกรรมระดับชาติในการเฉลิมฉลองและ ส่งเสริมการตระหนักรับรู้เรื่องส่ิงแวดล้อมในภูมิภาคกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากประเทศสมาชิก อาเซยี น xi. จัดทําเกณฑ์ขั้นตํ่าของอีอีสําหรับความต้องการในการฝึกอบรมในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน สําหรบั ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสียจากทุกภาคสว่ นทงั้ ทเี่ ปน็ ทางการและไม่เป็นทางการ xii. จดั การฝึกอบรมเกี่ยวกบั ออี ีและอีเอสดสี ําหรบั ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี ทสี่ ําคัญ xiii. จดั ทําโครงการฝึกอบรมผู้นําดา้ นการพฒั นาอย่างยง่ั ยนื ในเร่อื งอาเซียนออี สี าํ หรบั กลมุ่ เปา้ หมาย หลกั เช่น ข้าราชการ สมาชิกรัฐสภา นักการเมือง รวมทั้งส่ือมวลชนและผ้ทู อ่ี ยู่ในแวดวงการสื่อสาร เยาวชน สตรี เปน็ ต้น xiv. จัดใหม้ ที ุนการศกึ ษาเกี่ยวกับอีอีและอีเอสดีสําหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ในภูมิภาค xv. สง่ เสรมิ และจัดการฐานขอ้ มูลเกีย่ วกับการศกึ ษาดา้ นส่ิงแวดล้อมในอาเซียนอย่างแข็งขันเพ่ือให้ เป็นศนู ยข์ ้อมูลในการแจกจ่ายและแลกเปล่ียนและการเรียนรเู้ ร่อื งอีอีและอีเอสดีในอาเซียน xvi. พัฒนาเครือขา่ ยเยาวชนท่ัวอาเซียนเพอ่ื ส่ิงแวดล้อมที่ยง่ั ยนื xvii. จดั ต้งั เครือขา่ ยโรงเรียนอาเซยี นท่ีย่ังยืน โรงเรียนอาเซียนสเี ขยี ว และ อีโคสกูล xviii. จดั ใหม้ กี ารประชมุ นานาชาติประจําปีเก่ียวกับอาเซียนอีอี การประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน อีอีของภูมิภาคเพ่ือเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข้อเท็จจริง ประสบการณ์และเป็นการสร้าง เครือขา่ ย เป็นต้น xix. จัดต้ังเครือข่ายและกระชับความร่วมมือกับองค์กรเอกชน มหา-วิทยาลัย และสื่อมวลชน ท่ัวภูมิภาคเพ่ือให้เปน็ ผ้ปู ฏบิ ตั ิ ผสู้ นบั สนนุ ผถู้ ่ายทอด และเปน็ ตัวแทนของการเปล่ียนแปลงสําหรับ ออี ี และอเี อสดี และ ๒๐๒
xx. สง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมของผู้นาํ ชมุ ชน เช่น ผู้นําทางศาสนาซ่ึงมีความใกล้ชิดกับชุมชนท้องถ่ิน ในการสง่ เสริมเรื่องการตระหนักรับรู้แก่สาธารณชนเกยี่ วกับความสาํ คญั ของการพฒั นาท่ียั่งยืนและ แนวปฏิบัติเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อมทยี่ ่งั ยนื D4. ส่งเสรมิ เทคโนโลยดี า้ นสิ่งแวดลอ้ ม (อเี อสที) ๓๔. เป้าหมายเชิงยทุ ธศาสตร์: ใชเ้ ทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อมเพ่ือบรรลุเป้าหมายเรื่องการพัฒนาท่ี ย่ังยืนโดยให้มีผลกระทบน้อยท่ีสุดตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม มาตรการ: i. ดาํ เนนิ การตามเครือข่ายอาเซยี นวา่ ด้วยอเี อสที (อาเซียน-เนสต์) ภายในปี ๒๕๕๘ ii. มงุ่ ไปสกู่ ารรบั รองในเรอ่ื งการจัดการสง่ิ แวดล้อมท่วั ทั้งภมู ิภาค/กลไกในการติดป้ายประกาศเพื่อ สง่ เสริมการเตบิ โตทางเศรษฐกิจและปกปอ้ งทางสง่ิ แวดล้อมภายในปี ๒๕๕๘ iii. สง่ เสริมการประชุมอีเอสทีเพ่ือประเมินความต้องการในการพัฒนาเทคโนโลยีและการพัฒนา ความรว่ มมอื ระหว่างประเทศสมาชกิ อาเซยี น iv. สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศสมาชกิ อาเซียนภายใต้กรอบความรว่ มมอื ใต-้ ใต้ และกรอบ ความรว่ มมอื เหนอื ” ใต้ เพ่อื สง่ เสรมิ การถ่ายทอดเทคโนโลยี v. แสวงหาแนวทางในการจัดต้ังศูนย์อีเอสทีสําหรับประเทศสมาชิกอาเซียน (ศูนย์ผลิตภัณฑ์ทํา ความสะอาด) vi. ขยายความรว่ มมอื ในการทําวิจยั รว่ ม การพัฒนา การเคล่ือนยา้ ยและการถา่ ยทอดอีเอสที D5. ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดารงชวี ิตในเมืองตา่ งๆ ของอาเซียนและเขตเมือง ๓๕. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: เพ่ือรับประกันว่าเขตเมืองและชุมชนในอาเซียน มีสิ่งแวดล้อมท่ี ยง่ั ยืน รองรบั ความต้องการของประชาชนในดา้ นสังคมและเศรษฐกิจได้ มาตรการ: i. ขยายงานทมี่ อี ย่ภู ายใต้ขอ้ ริเร่ิมอาเซยี นว่าด้วยเมืองทีม่ ลี กั ษณะท่มี สี ง่ิ แวดล้อมทยี่ ง่ั ยืน ii. เพ่มิ พนู ความพยายามของแตล่ ะประเทศ และร่วมกันในการปรับปรุงคุณภาพของอากาศและนํ้า ภายในอาเซียนภายใต้ข้อริเร่ิมระดับชาติหรือระดับภูมิภาคเพ่ือลดมลภาวะทางอุตสาหกรรมและ การคมนาคม ๒๐๓
iii. แบง่ ปนั ประสบการณค์ วามเชี่ยวชาญและเทคโนโลยีในด้านต่างๆ เช่น การวางผังเมือง รวมท้ัง การจัดการน้ํา เขตเมืองสีเขียว และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของเขตเมือง การสาธารณสขุ และการจดั การของเสีย สามอาร์ (ลด,นาํ มาใช้ใหม่ และการทาํ ใหน้ ํามาใชป้ ระโยชน์ ไดอ้ กี ) การควบคุมมลภาวะในอากาศ เสียง นํ้า และบนดิน อาทิเช่น จัดใหม้ โี ครงการเมอื งคู่แฝด iv. ดําเนินการเพ่ือมุ่งไปสู่ข้อริเร่ิมต่างๆ เช่น ‚สังคมที่มีก๊าซคาร์บอนตํ่า‛, ‚เมืองกะทัดรัด‛, ‚เมอื งเปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม‛ และการคมนาคมท่ีเป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยนื v. จัดทํามาตรการท่เี ปรยี บเทยี บไดใ้ นระดบั สากล สําหรับสิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืนสําหรับเมืองใหญ่ ในอาเซียนภายในปี ๒๕๕๘ vi. แนะนําและดําเนินการให้รางวัลเมืองท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมอย่างยั่งยืน (อีเอสซี) ภายในปี ๒๕๕๑ เพอ่ื เป็นแรงจูงใจในการสง่ เสรมิ แนวปฏิบัติในเรื่องอีเอสซี D6. การทาการประสานกนั เรื่องนโยบายด้านส่ิงแวดล้อมและฐานขอ้ มูล ๓๖. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: ส่งเสริมความพยายามท่ีเหมาะสมท่ีจะประสานนโยบายด้าน ส่ิงแวดล้อมและฐานข้อมูลทีละข้ัน โดยคํานึงถึงสภาวะแวดล้อมระดับชาติของรัฐสมาชิก เพื่อ สนับสนนุ การบูรณาการดา้ นสง่ิ แวดล้อม สังคมและเป้าประสงคด์ ้านเศรษฐกจิ ของภูมภิ าค มาตรการ: i. มงุ่ ไปสกู่ ารดําเนนิ การตามเกณฑส์ ิบสามข้อ อนั ดบั แรก ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม และดาํ เนินความพยายาม ท่ีจะสร้างหลักประกันเรื่องการประสานในระดับภูมิภาคในเร่ืองของการวัด การควบคุมและ การรายงาน ภายในปี ๒๕๕๘ ii. มุ่งมั่นในเร่ืองการประสานเร่ืองมาตรฐาน และกระบวนการประเมินให้สอดคล้องสําหรับ การดําเนินการและโครงการดา้ นสิ่งแวดล้อม ภายในปี ๒๕๕๘ iii. สานต่อการจัดทํารายงานสภาวะด้านสิ่งแวดล้อมตรงตามกําหนดเวลาเพ่ือประกอบการจัดทํา นโยบายและการจดั การเรื่องผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม iv. สง่ เสรมิ แนวปฏิบัติทางด้านสิ่งแวดล้อมอยา่ งยัง่ ยืน และการจดั การเร่ืองสีเขียวในรัฐสมาชิกและ พฒั นายทุ ธศาสตรร์ ะดบั ภูมภิ าคสําหรบั อาเซยี น ภายในปี ๒๕๕๘ และ v. ส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคในเรื่องการประเมินยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมสําหรับ โครงการขนาดใหญแ่ ละกิจกรรมอืน่ ๆ ทอ่ี าจสง่ ผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ มในภูมิภาค ๒๐๔
D7. สง่ เสรมิ การใช้ทรพั ยากรชายฝั่งและทรัพยากรทางทะเลอยา่ งยัง่ ยนื ๓๗. เปา้ หมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์: สร้างหลักประกันเร่ืองสิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝ่ังว่าจะได้รับ การพัฒนาอย่างยั่งยืน ระบบนิเวศตัวอย่าง พืชและพ้ืนท่ีด้ังเดิมได้รับการคุ้มครอง การดําเนิน กจิ กรรมทางเศรษฐกิจได้รับการจัดการอย่างยั่งยืน และการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทาง ทะเลและชายฝ่งั ได้รบั การปลูกฝัง มาตรการ: i. สร้างหลักประกันเรื่องการประสานงานระหว่างหน่วยงานระหว่างประเทศและรายสาขาทั้งใน ระดับภูมิภาคและระดับประเทศเพื่อบรรลุการพัฒนาอาเซียนอย่างย่ังยืนในด้านสิ่งแวดล้อมทาง ชายฝั่งและทางทะเล ii. เสริมสร้างศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานท่ีมีคุณภาพของน้ําทะเลแห่งชาติภายในปี ๒๕๕๘ โดยยึดถอื เกณฑน์ ํ้าทะเลท่ีมีคุณภาพของอาเซียน iii. จดั ต้ังเครอื ขา่ ยตวั แทนของพ้นื ท่คี มุ้ ครองเพ่ือรักษาสภาพแวดลอ้ มที่วกิ ฤต ภายในปี ๒๕๕๘ โดย การดําเนินการตามข้อกําหนดของอาเซียนว่าด้วยพ้ืนที่ท่ีเป็นมรดกทางทะเลและข้อกําหนดของ อาเซียนวา่ ด้วยพ้ืนทที่ ่ไี ด้รบั การคุม้ ครองแห่งชาติ iv. ส่งเสริมการอนุรักษ์และการจัดการอย่างย่ังยืนสําหรับระบบนิเวศที่สําคัญในเขตชายฝั่งและ สถานที่อาศยั ของสตั วแ์ ละพชื ทะเล เช่น ความพยายามรว่ มกนั ทีจ่ ะรักษาและปกปอ้ งอทุ ยานแหง่ ชาติ ทางทะเลในเขตพน้ื ทร่ี อยต่อ เช่น ข้อริเร่ิมสามเหล่ียมปะการังว่าด้วยแนวปะการัง การประมงและ ความมั่นคงด้านอาหาร iv. เสริมสร้างขีดความสามารถและศักยภาพรวมทั้งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเพื่อชุมชนประมง และชุมชนชายฝั่งอ่ืนๆในการสนับสนุนการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการส่งเสริมความย่ังยืน ทางด้านสงิ่ แวดลอ้ ม vi. สง่ เสริมการใชส้ ิ่งแวดลอ้ มชายฝัง่ และทางทะเลอย่างยัง่ ยืนโดยการรณรงคป์ ลกุ จิตสํานึกโดยเน้น ความสําคญั ระดับโลกของสง่ิ แวดลอ้ มชายฝ่ังและทางทะเลในการรับมอื กับประเด็นความมน่ั คงทาง อาหาร การทาํ นบุ าํ รุงการให้บริการของระบบนิเวศ รวมทง้ั ปกปอ้ งสิ่งแวดล้อมทางทะเล vii. ส่งเสริมการประสานงานระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนในการรับมือกับปัญหามลภาวะ ข้ามแดนสืบเนอ่ื งจากอุบัตเิ หตนุ ้าํ มันรว่ั ในทะเล และ ๒๐๕
viii. ส่งเสริมความรว่ มมือในการรับมือกับมลภาวะของสิ่งแวดล้อมชายฝั่งและทะเลที่มีแหล่งท่ีมา จากพ้ืนดนิ D8. สง่ เสริมการจัดการเกยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ อยา่ งย่งั ยนื ๓๘. เปา้ หมายเชิงยทุ ธศาสตร์: ใหค้ วามม่ันใจว่าความหลากหลายทางชีวภาพที่สมบรู ณ์ของอาเซียน จะได้รับการรกั ษาและจัดการอยา่ งยั่งยืนโดยการเสรมิ สรา้ งสภาวะท่ดี ีทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และ สิง่ แวดล้อม มาตรการ: i. บรรลุเป้าหมาย ภายในปี ๒๕๕๓ ในเรื่องการลดอย่างมีความหมายของอัตราการสูญเสียใน ปัจจุบันของความหลากหลายทางชวี ภาพโดยการดาํ เนินแผนงานที่เก่ียวข้องทั้งในระดับชาติ ระดับ ภมู ิภาคและระหวา่ งประเทศ ii. ส่งเสริมการประสานงาน การแบ่งปันตัวอย่างบทเรียนในการเข้าถึงและการแบ่งปันทรัพยากร ทางพันธุกรรมและชีวภาพอย่างเท่าเทยี มกันภายในปี ๒๕๕๘ iii. ส่งเสริมการจดั ทํารายการและการรว่ มกันจัดการอทุ ยานทเ่ี ป็นมรดกของอาเซยี นในการเปน็ เวทที ี่ มีประสทิ ธภิ าพสาํ หรับการจัดการพน้ื ทท่ี ี่ไดร้ ับการคุ้มครองทางระบบนิเวศ ภายในปี ๒๕๕๘ iv. สง่ เสริมความรว่ มมือในการจัดการพ้นื ทค่ี ุ้มครองข้ามพรมแดนระหว่างประเทศสมาชกิ อาเซียนท่ี เป็นเพื่อนบา้ นกัน v. ดําเนินมาตรการทเ่ี หมาะสมเพือ่ ลดผลกระทบของการเคล่ือนย้ายข้ามพรมแดนของส่ิงมีชวี ิตท่เี กิด จากการตัดตอ่ สารพันธุกรรมโดยเป็นไปตามพิธีสารคาร์ทาเกน่าว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพ ภายในปี ๒๕๕๘ vi. จัดต้ังเครือข่ายการทํางานในระดับภูมิภาคเพื่อการเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดทํา รายการของทรัพยากรทางชีวภาพและมาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพของภูมิภาคอาเซียน ภายในปี ๒๕๕๘ vii. ส่งเสริมบทบาทและศักยภาพของศูนยอ์ าเซียนว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (เอซีบี) เพื่อ ทาํ หน้าทเ่ี ปน็ ศูนย์ความเป็นเลิศในระดับภูมิภาคท่ีมีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการอนุรักษ์ และ การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ๒๐๖
viii. สง่ เสริมการมสี ่วนร่วมของชุมชนท้องถ่ินในการรกั ษาความหลากหลายทางชีวภาพและสขุ ภาพ ป่าไม้ ภายในปี ๒๕๕๘ ix. สง่ เสริมนโยบายการจดั การอยา่ งมีประสทิ ธิภาพและแนวปฏิบัติท่ีจะลดผลกระทบจากการบุกรุก ของสายพันธุ์ตา่ งถน่ิ ในระดบั ภูมภิ าคและระหว่างประเทศ x. ส่งเสริมความรว่ มมอื ในระดับภูมิภาคว่าด้วยการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน เช่น การทาํ วิจัยร่วมกนั และการพฒั นาประสบการณ์ การแลกเปลีย่ นผูเ้ ช่ียวชาญและการฝกึ อบรม xi. เสริมสร้างความพยายามที่จะควบคุมการค้าข้ามพรมแดนในเร่ืองสัตว์ป่าและพืชป่าภายใต้ แผนงานอาเซียนว่าด้วยเรื่องการค้าพันธุ์พืชและสัตว์ป่า ปี ๒๕๔๘- ๒๕๕๓ และเครือข่าย การปอ้ งกนั และปราบปรามการค้าสตั วป์ า่ ท่ผี ิดกฎหมาย (อาเซยี น-เว็น) เพอื่ ดาํ เนนิ การตามพนั ธกรณี ภายใตอ้ นสุ ญั ญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซง่ึ ชนดิ สตั ว์ป่าและพชื ปา่ ทใี่ กล้สญู พนั ธุ์ (ไซเตส) xii. แสวงหาความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนในการจัดทําการสํารวจร่วมกันและ การติดตามการอพยพของสัตวป์ ่า xiii. ส่งเสริมความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศสมาชิกอาเซียนในการจัดการพื้นดินเสื่อมโทรมสําหรับ การจดั การพน้ื ดินอยา่ งยง่ั ยนื เพื่อสนบั สนุนการเกษตรและสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยนื D9. ส่งเสรมิ ความยงั่ ยนื ของทรัพยากรนา้ จืด ๓๙. เปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์: ส่งเสรมิ ความย่ังยนื ของทรัพยากรน้ําจืด โดยให้ความเชื่อมั่นในเรื่อง การเข้าถึงทรัพยากรน้ําอย่างเท่าเทียมกัน และคุณภาพที่ได้รับการยอมรับได้ในปริมาณที่เพียงพอ เพ่อื รองรับความตอ้ งการของประชาชนอาเซยี น มาตรการ: i. สานต่อการดําเนนิ การตามแผนงานยุทธศาสตรอ์ าเซียนวา่ ดว้ ยการจัดการทรพั ยากรนาํ้ ii. พยายามที่จะลดจาํ นวนประชากร ท่ไี ม่สามารถเขา้ ถึงนํา้ ด่ืมปลอดภยั ใหเ้ หลือเพยี งคร่ึงเดยี วภายใน ปี ๒๕๕๓ iii. จัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพ่ือให้สามารถได้บริการนํ้าดื่มได้ อย่างเพียงพอภายในปี ๒๕๕๘ iv. ส่งเสริมการดาํ เนินการจดั การลุม่ แมน่ ้าํ อยา่ งบรู ณาการภายในปี ๒๕๕๘ ๒๐๗
v. ส่งเสริมการตระหนักรับรู้และการเป็นหุ้นส่วนเพื่อเสริมสร้างการจัดการทรัพยากรนํ้า อย่างบูรณาการ vi. ส่งเสรมิ ความร่วมมือระดับภูมิภาคว่าด้วยมาตรการและโครงการอนุรักษ์นํ้า รวมท้ังนวัตกรรม ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการปรบั ปรงุ คุณภาพและการจัดหานํ้า D10. การตอบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภมู ิอากาศและการจัด การต่อผลกระทบ ๔๐. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: ส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศ เพื่อแก้ไข ปัญหาการเปล่ียนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม สขุ ภาพและสิ่งแวดล้อมในรัฐสมาชิกอาเซียน โดยดําเนินมาตรการในการบรรเทาและการปรับตัว บนพ้ืนฐานของหลกั ความเป็นธรรม ความยดื หยุ่น การมีประสิทธภิ าพและความรับผิดชอบร่วมกัน และแตกต่างกนั ตามขีดความสามารถ รวมทั้งสะทอ้ นสภาวะท่แี ตกต่างทางสงั คมและเศรษฐกิจของ แตล่ ะประเทศ มาตรการ: i. สง่ เสรมิ ความเข้าใจรว่ มกันของอาเซียนว่าด้วยเรื่องการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและ (เท่าท่ี เปน็ ไปได้) มีสว่ นร่วมในความพยายามและท่าทีร่วมกันในการจัดการประเด็นเหลา่ นี้ ii. ส่งเสรมิ ความพยายามในการจดั ทําข้อริเร่มิ การเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศ (เอซซี ไี อ) iii. ส่งเสริมและอํานวยความสะดวกให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ด้านการวิจัยและพัฒนาทาง วิทยาศาสตร์ (อาร์แอนด์ดี) การถ่ายทอดเทคโนโลยีและแนวปฏิบัติท่ีดีท่ีสุดในการปรับตัวและ มาตรการลดผลกระทบ และสง่ เสรมิ การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ iv. สนบั สนุนให้ประชาคมโลกมสี ่วนรว่ มและช่วยสนับสนนุ ความพยายามของอาเซียนในเร่ืองการ ปลกู ป่า และฟ้นื ฟผู ืนปา่ รวมทัง้ เพ่อื ลดปริมาณการตัดไม้ทําลายปา่ และการทาํ ใหป้ า่ เสื่อมสภาพ v. พฒั นายทุ ธศาสตร์ระดับภูมิภาคเพ่ือเสริมสร้างขีดความสามารถในการปรับตัวสําหรับกิจกรรม ทางเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิดคาร์บอนตํ่า และส่งเสริมการตระหนักรับรู้ของสาธารณชนเพ่ือจัดการ ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงทางภูมอิ ากาศ vi. เสรมิ สรา้ งการประสานงานระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศคู่เจรจาในการจัดการ ภมู อิ ากาศทเ่ี กย่ี วกับภยั พิบัตแิ ละโครงการการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ๒๐๘
vii. พัฒนาระบบสังเกตการณ์ในระดับภูมิภาคเพื่อตรวจสอบผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงทาง ภูมิอากาศที่เปน็ ภัยต่อระบบนิเวศในอาเซยี น viii. สนบั สนุนการจัดทํานโยบายระดบั ภมู ภิ าค การศึกษาทางวิทยาศาสตร์และสาขาท่ีเก่ียวข้องเพ่ือ ชว่ ยดําเนินการใหเ้ ปน็ ไปตามอนุสญั ญาการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและอนสุ ัญญาทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ix. ส่งเสริมการตระหนักรับรแู้ ละสนบั สนนุ การมสี ว่ นร่วมของชุมชนในการปกป้องสุขภาพมนุษย์ จากผลกระทบที่อาจเกิดขน้ึ ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ x. สง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมขององคก์ ารบรหิ ารส่วนทอ้ งถนิ่ ภาคเอกชน องค์กรเอกชน และชุมชนใน การจดั การกบั ผลกระทบของการเปล่ียน แปลงสภาพภูมิอากาศ xi. ส่งเสริมยุทธศาสตร์เพื่อทําให้เกิดความเชื่อม่ันว่าข้อริเร่ิมที่นําไปสู่ประชาคมอาเซียนที่มี เศรษฐกิจท่ีดีและเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม โดยคํานึงถึงความร่วมมือที่ต่างฝ่ายต่างได้ประโยชน์ ระหวา่ งการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและการพฒั นาทางเศรษฐกิจ D11. ส่งเสรมิ การบรหิ ารจัดการป่าไมท้ ่ยี ั่งยนื (เอสเอฟเอม็ ) ๔๑. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้ในภูมิภาคอาเซียนอย่าง ยัง่ ยนื และขจดั กจิ กรรมท่ีไมย่ ่ังยนื รวมถึงการดําเนินการปราบปรามการลักลอบตดั ไม้ท่ผี ิดกฎหมาย และการคา้ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งอ่ืนๆ โดยการเสริมสรา้ งขีดความสามารถ การถ่ายโอนเทคโนโลยีและสง่ เสรมิ การตระหนักรบั รู้และส่งเสรมิ การบงั คับใช้กฎหมายและธรรมาภิบาล มาตรการ: i. ดาํ เนินการตามแผนงานยุทธศาสตร์ของมาตรการความร่วมมือของอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือ ดา้ นปา่ ไม้ ปี ๒๕๔๘-๒๕๕๓ ii. สนบั สนุนการวางแผนเรื่องส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยืนและการจดั การเรื่องป่าในอาเซียน iii. เสริมสร้างการจัดการสังคมและวัฒนธรรมในด้านปัญหาการลักลอบตัดไม้ที่ผิดกฎหมายและ การคา้ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง โดยเฉพาะการขจดั ความยากจนและการปฏบิ ตั ทิ ี่ผิดกฎหมาย เช่น การคอร์รัปชั่น และการฟอกเงนิ iv. สนับสนุนข้อริเริ่มระดับโลกและระดับภูมิภาคในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระ จกจาก การตัดไม้ทําลายป่าและการแผ้วถางป่า และเพื่อส่งเสริมการปลูกป่า และฟื้นฟูพื้นท่ีป่าภายใต้ ๒๐๙
ความพยายามของกลไกการพัฒนาที่สะอาด (ซีดีเอ็ม) เพื่อกําหนดแรงจูงใจและความช่วยเหลือท่ี เหมาะสมระหวา่ งประเทศ v. สนับสนนุ ข้อรเิ ร่ิมระดบั ภมู ิภาคท่ีเกี่ยวกับป่าไม้ เช่น ข้อริเรม่ิ เร่ืองการปลกู ปา่ ในใจกลางบอร์เนยี ว หุน้ ส่วนป่าแห่งเอเชีย และเครอื ขา่ ยเอเชีย-แปซิฟิก เพอ่ื การจัดการและการฟ้นื ฟูป่าอย่างยั่งยืนรวมทงั้ ความพยายามระดับโลก เชน่ ปา่ ไม้ 11 เวที vi. เสรมิ สร้างขดี ความสามารถและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมท้ังการวิจัยและการพัฒนาด้าน ป่าไม้เพอ่ื บรรลุการจัดการปา่ ไม้อย่างยงั่ ยนื (เอสเอฟเอ็ม) vii. เสรมิ สรา้ งความร่วมมือในอาเซียนและร่วมกนั จดั การปัญหาเร่ืองป่าไม้ท้ังในระดับภูมิภาคและ ระหว่างประเทศเพอื่ มีสวนร่วมในการพฒั นาหนุ้ ส่วนระดบั โลกเพ่อื การพัฒนา viii. สง่ เสริมการจดั การปา่ ไม้ รวมทง้ั การดํารงชวี ติ ในชมุ ชนท่ีอยูใ่ นบริเวณป่าและพืน้ ท่ีรอบๆปา่ ให้ มีส่วนรว่ มเพือ่ ความย่ังยนื ของป่าไมแ้ ละความเจรญิ รุ่งเรืองของประชาชน ix. ส่งเสรมิ การขจัดแนวปฏบิ ตั ิการที่ไม่ย่ังยืนและทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจกรรมทีผ่ ิดกฎหมาย x. เสริมสร้างการดําเนินการเร่ืองการบังคับใช้กฎหมายด้านป่าไม้และ ธรรมาภิบาลเพ่ือบรรลุ การจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างย่ังยืนและเพื่อช่วยสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนแห่ง สหัสวรรษ รวมท้ังการขจัดและการต่อสู้กับกระบวนการลักลอบตัดไม้ผิดกฎหมายและการค้าที่ เกย่ี วขอ้ ง รวมทั้งการขจัดแนวปฏิบตั ทิ ผี่ ดิ กฎหมายเชน่ ในเร่ืองคอร์รปั ช่นั และการฟอกเงิน xi. ดาํ เนนิ การตามแผนงานในการบงั คับใช้กฎหมายเพ่อื เสรมิ สร้างป่าและธรรมาภบิ าลในอาเซียน ปี ๒๕๕๑-๒๕๕๘ E. การสร้างอตั ลักษณ์อาเซยี น ๔๒. อัตลักษณ์อาเซียนเปน็ พนื้ ฐานด้านผลประโยชน์ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเป็น ตัวตนร่วมกัน จารีต ค่านิยม และความเชื่อ รวมท้ังความปรารถนาในฐานะประชาคมอาเซียน อาเซียนจะส่งเสริมตระหนัก และมีค่านิยมร่วมกันในความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันท่ามกลาง ความแตกต่างในทกุ ชัน้ ของสงั คม E1. ส่งเสริมการตระหนกั รบั รู้เก่ียวกบั อาเซียนและความรู้สกึ ของการเปน็ ประชาคม ๒๑๐
๔๓. เปา้ หมายเชงิ ยุทธศาสตร์: สร้างความรู้สึกของความเป็นเจ้าของ และการรวมกันเป็นเอกภาพ ท่ามกลางความหลากหลายและส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนในเร่ือง วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ ศาสนาและอารยธรรม มาตรการ: i. ทบทวนและพัฒนาแผนงานการประชาสัมพันธ์ใหม่ในระดับภูมิภาคและระดับชาติในประเทศ สมาชกิ อาเซยี นเพือ่ สนับสนุนอตั ลักษณ์อาเซียนและความพยายามในการสร้างความตระหนักรับรู้ เก่ียวกบั อาเซยี น ii. สนบั สนุนให้กรอบความร่วมมือรายสาขาต่างๆ เพ่ิมพูนความพยายามในการส่งเสริมอัตลักษณ์ อาเซยี นและการตระหนกั รู้เกย่ี วกับอาเซียน รวมทั้งเสริมสรา้ งบทบาทเจ้าหน้าท่ีอาวุโสผู้รับผิดชอบ ด้านสนเทศ (ซอมรี) การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสว่าด้วยวัฒนธรรมและศิลปะ (ซอมกา) และ คณะกรรมการอาเซยี นด้านวฒั นธรรมและสนเทศ (ซีโอซีไอ) ในการสง่ เสริมเร่อื งอตั ลกั ษณ์อาเซียน และการตระหนกั รับรู้ iii. ดําเนินการประสานการผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ อุปกรณ์การออกอากาศและส่ือมัลติมีเดียเกี่ยวกับ อาเซียน เพ่ือให้หน่วยงานประชาสัมพันธ์ของรัฐและหน่วยงานเอกชนในแต่ละประเทศผลิตและ แจกจา่ ย โดยเริม่ ต้ังแตป่ ี ค.ศ. ๒๐๐๙ iv. ร่วมมอื กบั สือ่ มวลชนในการสง่ เสรมิ โครงการและรายการอยา่ งต่อเน่ืองเกี่ยวกับอาเซียน รวมทั้ง เรื่องมรดกทางวัฒนธรรมและศลิ ปะอาเซียนและงานของคณะกรรมการอาเซียนด้านวัฒนธรรมและ สนเทศ v. เพิ่มพูนการแลกเปล่ียนสื่อมวลชนและการสร้างเครือข่ายบุคลากรด้านสื่อสารมวลชนระหว่าง ประเทศสมาชิกอาเซียนและระหวา่ งอาเซยี นกบั ประเทศคูเ่ จรจา vi. สนับสนุนกิจกรรมในโรงเรียนในการส่งเสริมการตระหนักรับรู้เก่ียวกับอาเซียน เช่น การให้ ความสําคัญกบั การจดั งานวันอาเซียนเปน็ ประจาํ ทกุ ปี vii. ริเริ่มการจัดต้ังการเช่ือมโยงระหว่างเมืองใหญ่และเมืองเล็กของอาเซียนโดยเฉพาะเมืองที่มี ศลิ ปวฒั นธรรมและมรดกทางวัฒนธรรม ๒๑๑
viii. สนบั สนุนการดําเนินงานของมูลนธิ อิ าเซียนในการสง่ เสรมิ อัตลักษณ์อาเซียน การตระหนักรบั รู้ และการปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างประชาชนท้ังในอาเซียนและระหว่างอาเซยี น มิตรประเทศ และประเทศ คเู่ จรจา ix. สง่ เสรมิ งานกฬี าอาเซียนในสอื่ ของภาครัฐและภาคเอกชน เช่น ซเี กมส์ และพาราเกมส์ x. สนับสนนุ การใชเ้ พลงประจาํ อาเซียน และสัญลักษณ์อาเซยี นอนื่ ๆ เพ่อื สง่ เสริมการตระหนักรับรู้ เก่ียวกับอาเซยี นในประเทศสมาชกิ อาเซียน xi. สนบั สนุนการจดั ตงั้ สมาคมอาเซยี นในระดับชาตเิ พ่อื สง่ เสริมการตระหนักรับรู้เก่ียวกับอาเซียน ในประเทศสมาชิกอาเซยี น xii. สนับสนุนการเสริมสร้างความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและการยอมรับระหว่างประชาชนอาเซียนที่ ลึกซ้ึงโดยผ่านการเจรจาหารือในเรื่องความเชื่อที่ต่างกันและการประชาสัมพันธ์ผลการหารือที่ สําคญั ตามสอ่ื ตา่ งๆ xiii. ส่งเสริมวัฒนธรรมในการยอมรับในหมู่เจ้าหน้าท่ีสื่อมวลชนเก่ียวกับความหลากหลายทาง วัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติของอาเซียน โดยจัดการหารือระหว่างสื่อมวลชนอาเซียนร่วมกับ องคก์ ารระหว่างประเทศ xiv. ส่งเสริมการใช้และขีดความสามารถในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีทางด้านสื่อสารใหม่ อาทิ การออกอากาศทางดจิ ิตอลเพอ่ื ส่งเสริมการตระหนักรบั รเู้ กี่ยวกบั อาเซียนและอัตลักษณอ์ าเซยี น และการอํานวยความสะดวกให้กับการประสานงานของอุตสาหกรรมด้านสื่ออาเซียนเพื่อเป็น ตวั อย่างของวัฒนธรรม การพัฒนาและความสามารถของประเทศสมาชิกอาเซียน xv. เสริมสรา้ งขดี ความสามารถระดับชาติในการอนุรกั ษ์และการสง่ เสรมิ มรดกโสตทศั น์ xvi. สนบั สนนุ การมีสว่ นรว่ มของบรรณาธิการสื่อมวลชนต่างๆ โดยจัดการประชุมอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อเสริมสรา้ งการตระหนกั รบั รู้เกย่ี วกับอาเซียน xvii. สนับสนุนความร่วมมือและการสร้างเครือข่าย รวมท้ังโครงการแลกเปล่ียนหนังสือระหว่าง หอ้ งสมุดในอาเซยี น xviii. เผยแพรว่ ัฒนธรรมอาเซยี น ประเพณที างสังคมและค่านิยมโดยเฉพาะในหมู่เยาวชนโดยผ่าน ทางสอ่ื xix. ส่งเสรมิ การแลกเปล่ียนรายการทีวีเพ่ือเสริมสร้างความเข้าใจทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศ สมาชกิ อาเซยี น ๒๑๒
xx. ระดมส่ือมวลชนและสถาบันทางด้านวัฒนธรรมเพื่อเผยแพร่และแลกเปล่ียนข้อมูลทางด้าน วัฒนธรรมอาเซียน พฒั นาการ ความสาํ เรจ็ ประโยชน์ และวัตถุประสงค์ ให้ประชาชนรับทราบ xxi. สนับสนุนการแลกเปล่ียนเยาวชน เช่น การจัดค่ายเยาวชน และกิจกรรมที่คล้ายคลึงกันเพ่ือ ส่งเสริมการแสดงศิลปะและวัฒนธรรมของอาเซียน การตระหนักรับรู้เก่ียวกับอาเซียนและ ความร้สู ึกเป็นประชาคม xxii. บรรจกุ ารศึกษาเกีย่ วกบั ศิลปะและวฒั นธรรมของอาเซยี น รวมท้งั คา่ นยิ มในหลกั สตู รการศึกษา ของโรงเรียน E2. การอนรุ ักษ์และส่งเสรมิ มรดกทางวฒั นธรรมของอาเซยี น ๔๔. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: สง่ เสริมการสงวนและอนรุ กั ษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน เพื่อ สร้างความเช่อื มัน่ ให้กับประชาคมว่าจะส่งเสริมความตระหนักรับรู้และความเข้าใจของประชาชน เก่ียวกับประวัติศาสตร์ท่ีเป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาค และความคล้ายคลึงกันทางวัฒนธรรมและ ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของประเทศสมาชิก รวมทงั้ เพือ่ ปกป้องความเปน็ เอกลักษณ์ของมรดก ทางวฒั นธรรมของอาเซียนในภาพรวม มาตรการ: i. พฒั นาและปรับปรุงกฎระเบียบภายในประเทศและกลไกระดับภูมิภาคในการปกป้อง รักษาและ สง่ เสริมมรดกทางวฒั นธรรมของอาเซยี นและประเพณีที่ยดึ ถือปฏบิ ตั ิอยู่ของประเทศสมาชกิ อาเซยี น ภายในปี ๒๕๕๘ ii. จดั ทาํ เอกสารและรวบรวมรายช่ือมรดกทางวัฒนธรรมของอาเซยี นเข้าด้วยกนั iii. ให้มีการประเมินความเสี่ยงและมีการจัดทําแผนรองรับกรณีฉุกเฉินในการบูรณะมรดกทาง วัฒนธรรมที่สําคัญท่ัวอาเซียน ส่งเสริมการศึกษาอารยธรรมของอาเซียนโดยการประสานงาน ระหวา่ งเจา้ หนา้ ที่ด้านวฒั นธรรมของอาเซียนและสมาชิกของเครอื ขา่ ยมหาวิทยาลยั อาเซยี น iv. ส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวทางวฒั นธรรมและการพฒั นาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องโดยการเสริมสร้าง ความสมั พันธร์ ะหว่างเจ้าหน้าที่วัฒนธรรมอาเซียนและเจ้าหนา้ ทกี่ ารท่องเที่ยวและภาคเอกชน v. เสริมสร้างขีดความสามารถและการลงทุนมนุษย์ในการจัดการมรดกโดยจัดให้มีการฝึกอบรม การจัดสัมมนา การสมั มนาเชิงปฏิบัตกิ าร การประชุมระหว่างประเทศ และอืน่ ๆ vi. ทําการศกึ ษาเรอ่ื งการจัดตั้งศูนย์วฒั นธรรมอาเซียนในประเทศอาเซียนและในประเทศคเู่ จรจา ๒๑๓
vii. อนุรักษ์และพัฒนาหมูบ่ ้านหัตถกรรมดั้งเดิมและอาชีพในชนบทโดยเฉพาะในชนกลุม่ นอ้ ย viii. พัฒนาศกั ยภาพระดบั ชาตใิ นการส่งเสรมิ การจัดการ และการรักษามรดกทางวัฒนธรรมด้ังเดิม และที่ไมใ่ ชว่ ฒั นธรรมดัง้ เดมิ เชน่ การผลิตโสตทัศนูปกรณ์ ix. สนับสนุนการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนในการอนุรกั ษ์มรดกทางวฒั นธรรมโดยผ่านส่อื มวลชน x. ส่งเสริมการปกป้องสมบัติทางวัฒนธรรมจากการลักขโมย การค้าและธุรกิจผิดกฎหมาย หรือ การเคลอื่ นยา้ ยอยา่ งผิดกฎหมายในอาเซียนและนอกอาเซียน xi. ส่งเสริมความร่วมมือในระดับภูมิภาคในเรื่องการได้มา การอนุรักษ์ และการใช้เอกสารสําคัญ ทางประวตั ิศาสตร์ xii. การจัดต้ังศูนย์ข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพหรือท่ีจัดเก็บบันทึกและเอกสารสําคัญของ สํานกั เลขาธิการอาเซียน xiii. แลกเปล่ียนแนวปฏิบัติท่ีดีท่ีสุดและผู้เช่ียวชาญทางด้านเอกสารสําคัญทางประวัติศาสตร์และ การจดั การเกบ็ บนั ทึก และ xiv. ฟูมฟักความสามารถและสง่ เสรมิ การมปี ฏสิ มั พนั ธ์ท่ามกลางนักคดิ ของอาเซียน ศลิ ปนิ และสือ่ ท่ี ให้ความสนใจในด้านมรดกเพ่ือช่วยอนุรักษ์และส่งเสริมความหลากหลายทางวัฒนธรรมของ อาเซียน ในขณะเดียวกันช่วยเสริมสร้างอัตลักษณ์อาเซียนในระดับภูมิภาค รวมทั้งปลูกฝัง การตระหนักรบั รู้เกี่ยวกับอาเซียนให้กบั ประชาชน E3. ส่งเสรมิ การสร้างสรรค์ดา้ นวฒั นธรรมและอตุ สาหกรรม ๔๕. เปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์: ส่งเสรมิ อัตลกั ษณอ์ าเซยี นและการดํารงอยู่ร่วมกันของอาเซียน โดย การสรา้ งสรรคท์ างวัฒนธรรม และการสง่ เสริมและรว่ มมอื กนั ในอุตสาหกรรมดา้ นวฒั นธรรม มาตรการ: i. ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรมโดยการประสานงานและการสร้าง เครือข่ายระหว่างวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทางด้านวฒั นธรรม (เอสเอม็ ซอี เี อส) ii. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการพฒั นาอตุ สาหกรรมทางด้านวัฒนธรรมโดยการแลกเปลย่ี นความรแู้ ละ แนวปฏิบัตทิ ่ดี ีท่สี ดุ โดยเคารพอตุ สาหกรรมทางวัฒนธรรมที่เปน็ แบรนด์ระดับชาติ iii. พฒั นาและสนบั สนนุ ความสามารถของเยาวชนที่มีความคิดสร้างสรรค์ในเร่ืองวัฒนธรรมและ ศลิ ปะ ๒๑๔
iv. ส่งเสริมโอกาสแบบเปิดกว้างมากขึ้นแก่เยาวชนและประชาชนทุกภาคส่วนที่มีความคิด สร้างสรรคท์ างด้านวฒั นธรรม รวมทง้ั ชนกลุ่มน้อย v. ส่งเสริมการทาํ การตลาด และการจําหน่ายสินค้าและบริการทางวฒั นธรรม vi. ปรับปรุงขีดความสามารถของสถาบันระดับชาติในการจัดการและพัฒนาอุตสาหกรรมด้าน วัฒนธรรมโดยการส่งเสริมการวา่ จ้างและการนาํ วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ มาเปน็ สนิ ค้าและบรกิ ารในตลาด ภายในประเทศและระหวา่ งประเทศ vii. สนับสนุนความร่วมมือในอุตสาหกรรมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์กับประเทศ คู่เจรจาของอาเซียน viii. จัดทําโครงการฝกึ อบรมร่วม การจัดสัมมนา และการจัดสมั มนาเชิงปฏิบัติการสาํ หรับเอสเอ็มซี อเี อสเป็นประจาํ และ ix. ส่งเสริมการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสถาบันของภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนาสถาบันของ ภาคเอกชนเกี่ยวกับเรอื่ งเอสเอ็มซีอีเอสโดยจัดการประชุมร่วมกันทุกปี E4. การมสี ่วนเก่ยี วขอ้ งกบั ชมุ ชน ๔๖. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์: เพื่อปลูกฝังอัตลักษณ์อาเซียนและสร้างอาเซียนท่ีมีประชาชนเป็น ศูนยก์ ลางในการก่อตั้งประชาคมโดยสนับสนุนทุกภาคสว่ นให้มีสว่ นรว่ ม มาตรการ: i. รว่ มกับองคก์ รเอกชนอาเซยี นท่อี ย่ใู นเครอื ขา่ ยของอาเซยี นในขบวนการสร้างประชาคมอาเซยี น ii. จัดการประชุมทางด้านสังคมของอาเซียน และการประชุมภาคประชาสังคมอาเซียนทุกปีเพื่อ แสวงหาวธิ กี ารที่ดที ส่ี ดุ ในการหารือ แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นสําหรับการหารือและความรว่ มมือที่มี ประสิทธภิ าพระหว่างอาเซยี นกบั ภาคประชาสังคมของอาเซียน iii. แสวงหาแนวทางในการจัดตง้ั โครงการอาสาสมัครอาเซียนประกอบดว้ ยผเู้ ชยี่ วชาญอาชพี รนุ่ เยาว์ โดยเน้นเร่อื งการพัฒนาชนบทและการชว่ ยเหลอื ชุมชนให้ชว่ ยเหลือกนั เองไดภ้ ายในปี ๒๕๕๒ iv. สนับสนนุ อาสาสมคั รรนุ่ เยาว์ในการดาํ เนินภารกจิ ฉกุ เฉินและภารกิจทางดา้ นมนษุ ยธรรมโดยให้ ได้รับการยอมรับ และ v. แบ่งปันเครือข่ายข้อมูลสาธารณะและฐานข้อมูลของอาเซียนเพื่อการเคลื่อนย้ายข้อมูลที่เป็น ประโยชนใ์ นภูมภิ าค ๒๑๕
F. การลดชอ่ งว่างทางการพฒั นา ๔๗. เป้าหมายเชงิ ยุทธศาสตร์: เสริมสรา้ งความรว่ มมอื เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาโดยเฉพาะมิติการ พฒั นาดา้ นสงั คม ระหว่างประเทศสมาชิกเก่า ๖ ประเทศ และประเทศสมาชิกใหม่ (ซี แอล เอ็ม วี) และในพนื้ ที่ของอาเซยี นท่ีถกู ทอดท้ิงและดอ้ ยพฒั นา มาตรการ: i. บูรณาการประเดน็ ด้านการพัฒนาทางสังคมเข้าไวก้ ับโครงการการพัฒนาและดาํ เนินการโครงการ สาํ หรบั ไอเอเอ โดยผ่านกรอบความรว่ มมืออนุภมู ภิ าค ต่างๆ เชน่ การพฒั นาพนื้ ที่อาเซียนตะวันออก ระหวา่ งบรไู น อินโดนเี ซยี มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ (บิมเพียก้า), โครงการพัฒนาความร่วมมือทาง เศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ําโขง (จีเอ็มเอส), ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี- เจ้าพระยา-แมโ่ ขง ระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม (แอ็คเม็กส), การพัฒนาเศรษฐกิจ สามฝ่าย (ไอเอ็มที-จีที), การพัฒนาแนวพ้ืนที่ตะวันตก-ตะวันออก (อีเว็ก) ระหว่างเวียดนาม ลาว กมั พูชาและตะวนั ออกเฉียงเหนือของไทย และพมา่ , ความร่วมมอื เพอื่ การพัฒนาอาเซียน-ลุ่มนํ้าโขง (เอเอ็มบีดีซี), การพัฒนาสามเหลี่ยม กัมพูชา, ลาว และเวียดนาม (ซีแอลวี) สามเหลี่ยมมรกต กัมพูชา, ลาว และไทย (ซีแอลที) กัมพชู า, ลาว, พมา่ และเวียดนาม (ซแี อลเอม็ วี) ii. ดาํ เนนิ การตามแผนการไอเอไอฉบบั ที่ 2 ในระหว่างปี ๒๕๕๒-๒๕๕๘ iii. ประเทศอาเซียนเดมิ ๖ ประเทศทาํ การสานตอ่ การสนบั สนุนและความช่วยเหลอื สาํ หรบั แผนการ ไอเอไอฉบับท่ี ๒ iv. สานต่อการระดมทรัพยากรจากประเทศคู่เจรจา สถาบัน และองค์กรระหว่างประเทศระดับ ภมู ภิ าคเพือ่ แผนการและโครงการไอเอไอฉบบั ท่ี ๒ ทีส่ นบั สนนุ และช่วยเหลือประเทศซีแอลเอ็มวี v. ให้หน่วยงานด้านการพัฒนาในประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศคู่เจรจามีส่วนร่วมใน การประเมนิ การศึกษาเรือ่ งผลกระทบทางด้านสงั คมตอ่ การรวมตัวของภูมิภาคเพ่ือจัดทํานโยบายที่ เหมาะสมในการตอบสนองโดยเร่ิมต้นในปี ๒๕๕๒ vi. รบั และดําเนนิ โครงการสนับสนนุ ระดับภมู ภิ าคท่คี รอบคลุมด้านเกษตร สัตว์นํ้าและการประมง อตุ สาหกรรมเกษตร รวมท้งั การพัฒนาชนบท ๒๑๖
vii. สานต่อการให้ความช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกซีแอลเอ็มวีในการเสริมสร้าง ขีดความสามารถเพ่ือพัฒนาและดําเนินนโยบายทางสังคมเพื่อลดและติดตามผลกระทบจาก กระบวนการรวมตวั ของภูมิภาค viii. จัดทําการศึกษาอย่างครอบคลุมในเร่ืองผลกระทบต่อประเทศสมาชิกใหม่อาเซียนอันเป็น ผลจากการเร่งรดั การเปน็ ประชาคมอาเซยี นจากปี ๒๕๖๓ เปน็ ๒๕๕๘ III. การดาเนนิ งานและการทบทวนแผนงานการจดั ต้ังประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน A. กลไกการดาเนินงาน ๑. คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนจะรับผิดชอบภาพรวมการดําเนินงานของ แผนงานและจะทําหน้าท่ีประสานงานภายใต้ขอบเขตการปฏิบัติงานของตน รวมถึงประเด็นที่ คาบเกีย่ วกับคณะมนตรดี ้านอ่นื ๆ ๒. คณะทํางานอาเซียนระดับรัฐมนตรีทุกคณะหรือคณะทํางานท่ีเทียบเท่า จะรับผิดชอบใน การสร้างความม่ันใจว่าจะมีการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพขององค์ประกอบมาตรการและ พนั ธกรณใี นแผนงาน โดยจะบรรจุไวใ้ นแผนงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง จะระดมทรัพยากร เพื่อการดําเนินการ และจะดําเนินข้อรเิ ร่มิ ระดบั ชาติเพ่ือให้เปน็ ไปตามพันธกรณี ๓. เพื่อสร้างความม่ันใจว่าแผนงานจะมีการดําเนินการที่มีประสิทธิภาพ ควรจะต้องมีการดําเนิน มาตรการ ดงั ตอ่ ไปนี้ มาตรการ: i. บูรณาการยุทธศาสตร์ เปา้ หมายและการดําเนินการของแผนงานเอเอสซีซี โดยบรรจุในแผนงาน การพัฒนาระดบั ชาติ ii. พยายามใหส้ ตั ยาบันความตกลงอาเซียนท่ีเกยี่ วขอ้ งภายในระยะเวลาทีส่ อดคล้องกับกระบวนการ ภายในของแต่ละประเทศสมาชกิ อาเซียน iii. ร่วมกับประเทศคเู่ จรจา ภาคเอกชน องคก์ รภาคประชาสงั คมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีเกี่ยวข้อง เพอ่ื ให้มั่นใจวา่ มาตรการทไ่ี ดต้ กลงไวจ้ ะปฏิบตั ทิ นั เวลา iv. กําหนดและดําเนินการตามโครงการศึกษาและการฝึกอบรมเฉพาะในประเด็นด้านหรือหัวข้อ ตอ้ งมีการวิเคราะห์ และการสนบั สนุนในด้านการเสรมิ สร้างขีดความสามารถ ๒๑๗
v. เสริมสร้างขีดความสามารถของสํานักเลขาธิการอาเซียนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประชาคม ด้านสังคมและวฒั นธรรมอาเซยี น vi. เสริมสร้างขีดความสามารถของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโดยเฉพาะในด้านการวิจัยและ การพฒั นาทุนมนษุ ย์ vii. จัดทาํ โครงการเสรมิ สร้างขดี ความสามารถท่เี หมาะสมเพ่อื ช่วยประเทศสมาชิกใหมใ่ นการบรรลุ เป้าหมายเอเอสซซี ี ๕. เลขาธิการอาเซียนจะรายงานความคืบหน้าของการดําเนินงานตามแผนของเอเอสซีซีให้กับ ที่ ประชุมคณะมนตรแี ละรฐั มนตรีทีเ่ กีย่ วข้อง และท่ปี ระชมุ สุดยอดผ้นู าํ อาเซียนรับทราบ B. การระดมทุน ๕. แหลง่ เงนิ ทุน ความเช่ียวชาญ การวิจยั และการเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถสาํ หรบั การดําเนนิ งาน ของแผนงาน จะถกู ระดมจากแหลง่ ตา่ งๆ ดังต่อไปนี้ ก. ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ข. ประเทศค่เู จรจา ประเทศหุ้นส่วนเฉพาะด้าน และประเทศหุน้ ส่วนด้านการพฒั นา ค. สถาบนั ในภูมิภาคและสถาบันระหว่างประเทศโดยเฉพาะธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (เอดีบี) ธนาคารโลก (ไอเอฟซี) และสหประชาชาติ ง. มลู นธิ ใิ นภมู ภิ าคและระหว่างประเทศ และ จ. ภาคเอกชน C. ยุทธศาสตร์การประชาสมั พันธ์ ๖. ความสําเร็จในการสร้างประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนต้องการการมีส่วนร่วมของ ผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ในกระบวนการรวมตัวของอาเซียน จึงต้องการโครงการประชาสัมพันธ์ที่ดีใน การสร้างความตระหนักรับรู้เก่ียวกับเอเอสซีซีในประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งให้ผู้มีส่วนได้ สว่ นเสียรอบขา้ งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม และประชาชนอาเซียนได้รับทราบความคืบหน้า ของการสรา้ งประชาคม มาตรการ: ๒๑๘
i. เร่ิมแผนประชาสัมพันธ์อย่างครอบคลุมเพ่ืออธิบายแก่เจ้าหน้าท่ีรัฐ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีสําคัญ และสาธารณชนท่ัวไปเก่ียวกบั เปา้ หมาย ผลประโยชน์ และความท้าทายของเอเอสซซี ี ii. ดาํ เนนิ กิจกรรมในการส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแบบเปิด และการแบ่งปันข้อมูลใน การดําเนินการของเอเอสซซี ี iii. ประเทศสมาชิกจัดตั้งกลไกในระดับประเทศเพ่ือรายงานผลและกระบวนการรวมตัวเป็นประจํา iv. พัฒนาเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์เอเอสซีซี เพื่อเป็นช่องทางเพิ่มเติมในการเข้าถึงประชาคมน้ีใน วงกวา้ ง และผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี สามารถสะทอ้ นความเห็นข้อริเรมิ่ ด้านสังคมและวฒั นธรรมอาเซยี น D. กลไกการทบทวน ๗. สาํ นักเลขาธกิ ารอาเซียนจะทําหน้าที่ติดตามและทบทวนเพอื่ สร้างความเช่ือม่ันว่ากิจกรรมต่างๆ สามารถตอบสนองความตอ้ งการและความเร่งด่วนของอาเซยี น ๘. สํานักเลขาธิการอาเซียนจะพัฒนาและจัดทําตัวช้ีวัด ระบบการติดตามและการประเมิน ความคบื หนา้ การดําเนินงานตามที่กําหนดไวใ้ นแผนงานของ เอเอสซซี ี ๙. การทบทวนกลางรอบของการดําเนินการตามแผนงานเอเอสซีซี สามารถจัดให้มีขึ้นได้ตาม ความจาํ เปน็ โดยจะคาํ นงึ ถงึ เร่อื งการเปล่ยี นแปลงในภูมภิ าคและสภาพแวดล้อมของโลก ขอ้ ความต่อทา้ ย 1 ไมม่ ีส่วนใดของข้อความในแผนงานเอเอสซีซฉี บบั นี้ขดั แยง้ กบั หลักการโดยท่ัวไปท่ีปรากฏอยู่ใน ปฏิญญาอาเซียนวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองและส่งเสรมิ สิทธิของแรงงานยา้ ยถนิ่ ฐาน 2 เรื่องน้ใี ห้ถือปฏิบัติกบั รัฐสมาชกิ อาเซียนซงึ่ เป็นภาคีของความตกลง ๒๑๙
A อภธิ านศพั ท์ เอซบี ี : ศูนย์อาเซยี นวา่ ดว้ ยความหลากหลายทางชีวภาพ เอซีซเี อสเอ็ม : การประชุมอาเซยี นวา่ ดว้ ยกิจการพลเรือน (ACCSM) แอ็คเมก็ ส : ยทุ ธศาสตรค์ วามรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ อริ ะวดี-เจ้าพระยา- แม่โขง เอดี : การพฒั นาทางเลอื ก เอดีบี : ธนาคารเพ่ือการพฒั นาแห่งเอเชีย เอออี ีเอพี : แผนปฏิบัติการส่ิงแวดล้อมศกึ ษาอาเซยี น เอออี ไี อดี : ฐานข้อมลู สงิ่ แวดลอ้ มศึกษาอาเซยี น เออไี อซี : ศูนยข์ ้อมลู แผ่นดนิ ไหวแห่งอาเซียน เอเอฟเอสอาบี : คณะกรรมการสาํ รองอาหารเพื่อความมน่ั คงอาเซยี น เอเอชเอ : ศนู ยช์ ว่ ยเหลอื ด้านมนุษยธรรมอาเซียน เอไอดเี อส : โรคภมู ิคมุ้ กนั บกพรอ่ ง เอพเี อ็มไอ : ข้อริเริม่ ในการจดั การป่าพรุ เอพเี อสอดี ี : ยทุ ธศาสตรเ์ อเชียแปซิฟกิ สําหรบั โรคอบุ ัตใิ หม่ เอ/อาร-์ ซดี เี อ็ม : การปลกู ปา่ และฟืน้ ฟปู า่ ภายใตก้ ลไกการพฒั นาทส่ี ะอาด เออารซ์ ี : ศูนย์ทรัพยากรอาเซยี น อาเซียน : สมาคมประชาชาติแหง่ เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เอเอสเอ็มซี : ศูนยอ์ ุตุนยิ มวทิ ยาเฉพาะทางอาเซียน เอเอสซซี ี : ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรมอาเซียน เอ็สเนต็ : เครอื ขา่ ยดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีในอาเซียน เอยเู อ็น : เครือข่ายมหาวทิ ยาลยั อาเซยี น เอวีส : สถาบนั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี สมือนจริงอาเซยี น B บีซอี าซี-เอสอเี อ : ศนู ยภ์ ูมิภาคอนสุ ัญญาบาเซลเพอื่ การฝึกอบรมและถา่ ยทอดเทคโนโลยี ภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ๒๒๐
บมิ เพยี ก้า : เขตเศรษฐกจิ อาเซียนตะวนั ออก บรูไน อินโดนเี ซยี มาเลเซยี ฟิลปิ ปนิ ส์ C แคม : การแพทยท์ างเลือก ไซเตส : อนสุ ญั ญาว่าด้วยการคา้ ระหวา่ งประเทศซึง่ ชนิดพนั ธุ์สัตว์ปา่ และพืชปา่ ใกล้สูญพนั ธุ์ ซแี อลเอม็ วี : กมั พชู า, ลาว, พม่า, เวยี ดนาม ซีแอลที : กมั พูชา, ลาว และไทย ซแี อลวี : กมั พชู า, ลาว, เวยี ดนาม ซีโอซไี อ : คณะกรรมการดา้ นวัฒนธรรมและสนเทศ ซเี อสอาร์ : ความรับผดิ ชอบขององคก์ รธุรกจิ ตอ่ สังคม E อีอี : สง่ิ แวดล้อมศึกษา อีเอสดี : การพฒั นาท่ียงั่ ยนื ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม อเี อสที : เทคโนโลยที เ่ี ปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม อเี วก็ : เส้นทางระเบยี งเศรษฐกิจแนวตะวนั ออก-ตะวนั ตก F เอฟซีทีซี : กรอบอนสุ ัญญาว่าดว้ ยการควบคุมยาสูบ G จีเอม็ เอส : โครงการพฒั นาความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจในอนภุ มู ภิ าคลุม่ แม่นาํ้ โขง H เอชไอวี : ไวรสั ทที่ ําลายภมู ิคมุ้ กนั ของมนุษย์ I ไอเอฟซี : ความรว่ มมอื ทางการเงนิ ระหว่างประเทศ ไอเอม็ ท-ี จที ี : สามเหลี่ยมเศรษฐกจิ อินโดนเี ซีย มาเลเซยี ไทย M ความตกลงพหภุ าคีดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม เปา้ หมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ เอ็มอเี อ : เอม็ ดจี ี : ๒๒๑
N : การลดช่องวา่ งการพัฒนา เอน็ ดจี ี : องคก์ รท่มี ใิ ชข่ องรัฐบาล เอน็ จโี อ O : เครอื ขา่ ยความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ของอาเซยี น โอชเน็ต P : อุปกรณป์ ้องกันสว่ นบคุ คล พีพีอี Q : การประกนั คุณภาพ ควเอ T : ยาแผนโบราณ ทเี อม็ S : วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เอสแอนด์ที : องค์การความรว่ มมอื ของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการใน ซีมโี อ ภาคพื้นเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ การจัดการปา่ ไมอ้ ย่างย่ังยนื เอสเอฟเอม็ : การประชมุ เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแรงงาน ซลอม : ธรุ กจิ ด้านวัฒนธรรมขนาดกลางและขนาดยอ่ ม เอสเอ็มซอี ี : การประชุมเจ้าหน้าทอ่ี าวโุ สดา้ นวัฒนธรรมและศลิ ปะ ซอมคา : เจา้ หน้าทอ่ี าวโุ สสารนเิ ทศอาเซียน ซอมรี : T โครงการสบิ องคก์ รเยาวชนที่ประสบความสําเรจ็ เทโย : U สหประชาชาติ ยูเอน็ : W เครอื ขา่ ยปราบปรามการลกั ลอบคา้ สัตว์ป่า เวน็ : ๒๒๒
๘บทท่ี ประเทศสมาชกิ อาเซียน ๒๒๓
บทท่ี ๘ ประเทศสมาชิกอาเซยี น MYANMAR ปี 2553 สมาชกิ อาเซยี นท้ังหมดมี 10 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย สาธารณรัฐฟลิ ปิ ปินส์ บรไู นดารสุ ซาลาม ราชอาณาจักรกมั พูชา สาธารณรัฐอินโดนิเซยี สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว มาเลเซยี สหภาพพม่า สาธารณรัฐสงิ คโปร์ และสาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม ๒๒๔
บรูไนดารสุ ซาลาม ธงชาติ ตราแผน่ ดิน ชื่อทางการ เนการา บรูไน ดารสุ ซาลาม (Negara Brunei Darussalam แปลวา ดินแดนแหงความสงบสุข) พ้ืนที่ ๕,๗๖๕ ตารางกโิ ลเมตร เมืองหลวง บันดาร์เสรีเบกาวัน ภาษา มาเลย์ เป็นภาษาราชการ รองลงมาเปน็ ภาษาองั กฤษและภาษาจีน ศาสนา อสิ ลาม (ร้อยละ ๖๗) พุทธ (ร้อยละ ๑๓) คริสต์ (รอ้ ยละ ๑๐) ฮินดู (ร้อยละ ๑๐) วันชาติ วนั ท่ี ๒๓ กมุ ภาพันธ์ ของทุกปี การปกครอง ระบอบกษัตริย์ มสี มเดจ็ พระราชาธบิ ดเี ปน็ ประมขุ ของรัฐและเป็น นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรกี ลาโหม และรกั ษาการรฐั มนตรกี ารคลังด้วย ๒๒๕
อากาศ ค่อนข้างร้อนช้ืน มีปรมิ าณฝนตกคอ่ นขา้ งมาก อณุ หภูมิเฉลีย่ 28 องศาเซลเซยี ส สกุลเงนิ ดอลลารบรไู น (Brunei Dollar : BND) อตั ราแลกเปลี่ยนประมาณ(ซ้อื ) ๒๒.๘ บาทตอ่ ๑ ดอลลารบรไู น (คาเงนิ บรไู นมคี วามมัน่ คงและใชอัตราแลกเปลยี่ นเดยี วกบั เงนิ สงิ คโปรและ สามารถใชเงนิ สิงคโปรในบรไู นได) ทรพั ยากรธรรมชาติ นํ้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ สมาชิกอาเซยี น วนั ที่ ๗ มกราคม ๒๕๒๗ วันสถาปนา ความสมั พนั ธท์ างการทูตกับบรไู นฯ เมื่อวันท่ี ๑ มกราคม ๒๕๒๗ ดา้ นสังคม ไทยและบรูไนฯ ได้ร่วมลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือใน วฒั นธรรมและ ทวิภาคีด้านสารสนเทศและการกระจายเสียงและภาพ เพ่ือเป็นการส่งเสริมให้ การศึกษา เกดิ ความร่วมมือดา้ นขอ้ มูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ การแลกเปลี่ยนรายการ วิทยุ โทรทัศนแ์ ละส่ือส่ิงพิมพ์ท่ีมีสาระตลอดจนการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร อันจะส่งผลให้เกิดความเข้าใจอนั ดีระหว่างประชาชนของทง้ั สองประเทศ ดา้ นการศึกษา มนี ักศกึ ษาไทยที่ไปเรยี นในมหาวิทยาลยั บรูไนฯ ท้ังโดยทุนรฐั บาลไทยและ บรไู นฯ และมีนกั ศึกษามสุ ลมิ จากจงั หวดั ชายแดนภาคใตท้ ่ไี ดร้ ับทนุ จากทางการ บรูไนฯ ใหไ้ ปเรียนทางดา้ นรฐั ศาสตรแ์ ละการศาสนา ซง่ึ มที ง้ั หญงิ และชาย แตก่ ็ มีนักศกึ ษาหลายคนที่บริษัทเอกชนในประเทศไทยสง่ ไปเรยี นวชิ าท่วั ไป ระบบการศึกษา ประเทศบรไู นดารุสซาลามไมม่ กี ารศึกษาภาคบังคบั แตก่ ารศึกษาเป็น สากล และจดั ใหฟ้ รีสําหรบั ประชาชนทั่วไป การศกึ ษาแบง่ ออกเปน็ ระดับกอ่ น ประถมศึกษา ๑ ปี ระดับประถมศกึ ษา ๖ ปี ระดับมธั ยมศกึ ษา ๗-๘ ปี ซ่ึง แบง่ เปน็ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ๓ ปี ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๒-๓ ปี และระดบั เตรยี มอดุ มศึกษา ๒ ปี และระดับมหาวทิ ยาลยั ๓-๔ ปี ระบบการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๒๘ กาํ หนดใหใ้ ชภ้ าษาองั กฤษ และภาษา มาเลย์ในการสอนตัง้ แต่ระดบั อนุบาลจนถงึ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ครูจะสอนทุก วิชาดว้ ยภาษามาเลย์ ยกเว้นวชิ าภาษาอังกฤษซง่ึ ใชภ้ าษาองั กฤษในการสอน ๒๒๖
สิ่งทค่ี วรทํา สําหรับระดับประถมศึกษาปีที่ ๔ ข้นึ ไป โรงเรยี นจะใชท้ ้งั ภาษามาเลย์ และ ไมค่ วรทาํ ภาษาองั กฤษในการสอน โดยภาษามาเลยใ์ ช้สําหรับสอนวชิ าเกยี่ วกบั มาเลย์ ความรเู้ ก่ยี วกบั ศาสนาอสิ ลาม พลศึกษา ศิลปะและการชา่ ง และวชิ าหนา้ ที่ ข้อควรรู้ พลเมอื ง สว่ นภาษาอังกฤษใช้ในการสอนวิชาวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ และภาษาองั กฤษ เป็นต้น - สตรีชาวบรไู นฯ จะแต่งกายมดิ ชิด นงุ่ กระโปรงยาวเสื้อแขนยาว และมีผ้าโพก ศรี ษะ คนต่างชาตจิ ึงไม่ควรนุง่ กระโปรงสั้นและใส่เส้อื ไม่มีแขน - ควรหลกี เลย่ี งเสื้อผ้าสีเหลืองเพราะถือเปน็ สีของพระมหากษตั รยิ ์ - การทักทายจะจบั มอื กันเบาๆ และสตรีจะไมย่ นื่ มือใหบ้ รุ ุษจับ - การใช้นว้ิ ช้ีไปท่ีคนหรอื สิง่ ของถือวา่ ไมส่ ภุ าพ แต่จะใช้หัวแม่มอื ช้แี ทน และจะไม่ใชม้ ือซา้ ยในการส่งของใหผ้ อู้ น่ื - สตรีเวลาน่ังจะไม่ใหเ้ ท้าชีไ้ ปทางผูช้ ายและไม่สง่ เสยี งหรือหวั เราะดัง - ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถทําวซี ่าทจ่ี ุดตรวจคนเขา้ เมอื งใน ประเทศบรไู นฯไดต้ ามขอ้ ตกลงของกล่มุ อาเซยี น มีระยะเวลาอยู่ในบรูไนฯได้ ๒ สปั ดาห์ - สนิ คา้ ทขี่ ดั กับข้อกําหนดฮาลาล ได้แก่ เนอ้ื ไก่สด/แชแ่ ขง็ (ท่ไี ม่ไดเ้ ชอื ดโดยชาว มุสลิม) สินค้าท่ีขัดกับประเพณี และขนบธรรมเนียมอันดีงาม ได้แก่ ภาพและ สง่ิ พิมพล์ ามกอนาจาร เป็นตน้ - สนิ ค้าทีข่ ดั กับหลักขอ้ ปฏบิ ัติของศาสนาอิสลาม เช่น เครื่องดืม่ ผสมแอลกอฮอล์ และสินค้าที่ขัดกับกฎหมายระหว่างประเทศต่างๆ เช่น กฎหมายที่ให้ความ คมุ้ ครองทรัพย์สินทางปัญญา เช่น สินค้าปลอม รวมทงั้ สนิ ค้า ทไ่ี มเ่ ป็นไปตามมาตรฐานดา้ นสขุ อนามยั ๒๒๗
ราชอาณาจักรกมั พูชา ธงชาติ ตราแผ่นดนิ ชื่อทางการ ราชอาณาจักรกมั พชู า (Kingdom of Cambodia) พ้นื ที่ ๑๘๑,๐๓๕ ตารางกิโลเมตร ทต่ี งั้ พรมแดน และเส้นเขตแดนของประเทศกมั พชู า ส่วนใหญก่ ําหนดข้นึ โดย ฝร่ังเศส มีอาณาเขตติดต่อกบั ประเทศข้างเคยี ง อยู่สามประเทศคือ ไทย ลาว และ เวียดนาม ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กบั ประเทศไทย จังหวัดบรุ รี มั ย์ สุรนิ ทร์ ศรีษะเกษ และ อบุ ลราชธานี และตดิ สปป.ลาว แขวงอตั ตะปือ และแขวงจาํ ปาศักด์ิ ทศิ ตะวันออกเฉียงเหนอื และทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับเวยี ดนาม ในเขต จงั หวัดเปลกู ดารล์ ัค และกวางดกั๊ ๒๒๘
ทิศตะวนั ออกเฉยี งใต้และทิศใต้ ตดิ ต่อกบั เวียดนามเขตจังหวดั ฟุคลอง บนิ หล์ อง เทนินห์ ฟุคทยุ เคียนเทอื ง เคียนพง อนั เกยี ง เคียนเกียง และอา่ วไทย ทิศตะวันตกเฉียงใต้ และทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กบั ประเทศไทยในเขต จังหวัดตราด จนั ทบรุ ี และปราจนี บุรี เส้นเขตแดนโดยรอบประเทศมีความยาวประมาณ ๒,๖๐๐ ก.ม. ติดตอ่ กับประเทศไทยประมาณ ๙๓๐ ก.ม. สปป.ลาวประมาณ ๔๐๐ ก.ม.เวียดนาม ประมาณ ๑,๐๓๐ ก.ม. และอา่ วไทย ประมาณ ๔๕๐ ก.ม. เมืองหลวง กรงุ พนมเปญ ภาษา เขมรเปน็ ภาษาราชการ สว่ นภาษาทีใ่ ช้โดยทวั่ ไป ไดแ้ ก่ องั กฤษ ฝรัง่ เศส เวียดนาม จนี และไทย ศาสนา ศาสนาประจําชาติคอื ศาสนาพทุ ธ นิกายเถรวาท (แยกเป็น 2 นิกายยอ่ ย คอื ธรรมยุตนิ กิ ายและมหานกิ าย) และศาสนาอนื่ ๆ อาทิ ศาสนาอสิ ลามและคริสต์ วนั ชาติ วันที่ ๙ พฤศจกิ ายน ของทกุ ปี การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยโดยมพี ระมหากษัตริยเ์ ปน็ ประมขุ อากาศ อากาศรอ้ นชื้นแถบมรสมุ ฤดูฝนเริ่มจากเดอื นพฤษภาคม-ตลุ าคม ฤดแู ลง้ เรมิ่ จากเดอื นพฤศจิกายน-เมษายน เดอื นเมษายนมีอุณหภมู สิ ูงสดุ ที่สุด เดือนมกราคมมอี ณุ หภูมิตา่ํ ทส่ี ดุ เดอื นตุลาคมมฝี นตกชุกทีส่ ดุ อาหารพนื้ เมือง วันท่ี ๑๙ ธนั วาคม ๒๔๙๓ สกลุ เงิน - จดั ต้งั คณะกรรมาธกิ ารรว่ มไทย ” กัมพูชาเพื่อสง่ เสรมิ ความร่วมมอื ดา้ น วฒั นธรรมและใช้เปน็ กลไกในการกระชบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประชาชนของ ทง้ั สองประเทศ - จัดต้ังคณะอนุกรรมการดา้ นวัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ และการท่องเทย่ี ว เพ่อื ผลักดนั ความร่วมมือในแตล่ ะสาขาด้วย - ไทยกับกมั พูชาได้รว่ มลงนามในบนั ทกึ ความเขา้ ใจว่าด้วยความรว่ มมอื ด้าน สารสนเทศและการกระจายเสียง สมาชกิ อาเซยี น ๓๐ เมษายน ๒๕๔๒ ๒๒๙
วนั สถาปนา ๑๙ ธันวาคม ๒๔๙๓ ส่ิงที่ควรทาและ CAMBODIA DO AND DON’T ไม่ควรทาใน ๑. ควรให้ความเคารพตอ่ ผสู้ ูงอายุ ประเทศกัมพชู า ๒. ควรให้เจา้ ของบา้ นเรม่ิ ทานอาหารกอ่ นต่อจากนน้ั ผู้มาเยือนถงึ จะรบั ประทาน ตอ่ ได้ ๓. ควรให้ผู้อาวโุ สท่ีสุดของโตะ๊ รบั ประทานอาหารกอ่ น แล้วจึงเรมิ่ รับประทาน ได้ ๔. ไมค่ วรช้ีเท้าไปทบี่ ุคคลอื่น เชน่ เวลานง่ั กบั พืน้ ผหู้ ญงิ ควรเกบ็ ปลายเทา้ อยา่ ง สารวม ๕. ไม่ควรเดนิ ขา้ มเท้าคนอน่ื ๖. ไมค่ วรเรอหรอื แคะฟันขณะรบั ประทานอาหาร ๗. ท่กี มั พชู าผ้ชู ายสามารถจบั มอื กนั ไดเ้ พอื่ แสดงมิตรภาพท่ีดีและไมใ่ ช่เกย์ ๘. เม่ือเดนิ ผา่ นบคุ คลทก่ี าลงั สนทนากนั อยคู่ วรก้มศีรษะเล็กนอ้ ยเมอ่ื เดนิ ผา่ น (ถา้ เดินผ่านตรง ๆ จะถอื ว่าไมม่ มี ารยาท) ๙. เมอื่ ขบั ข่จี กั รยานหรือจักรยานยนตค์ วรชะลอความเรว็ เมอื่ ผ่านวัด และถอด หมวกทุกครง้ั เมอ่ื เข้าเขตวัด ๑๐.ผ้หู ญิงไม่ควรแต่งหน้าจดั หรอื แตง่ ตวั ไมส่ ุภาพเมื่อเขา้ เขตวดั ๑๑.เมือ่ เจอพระภกิ ษสุ งฆ์ตอ้ งถอดหมวกทกุ ครัง้ ไม่ควรวพิ ากษ์วิจารณก์ ารเมอื ง ๑๒. หา้ มถ่ายภาพสญั ลักษณท์ างทหาร ๑๓. ห้ามถหู รอื สมั ผสั ศรีษะของคนอ่นื เพราะกมั พชู าถือวา่ ศีรษะเป็นสว่ นที่ สาํ คัญท่สี ดุ ของรา่ งกาย ๑๔. ต้องถอดรองเท้ากอ่ นเข้าบา้ นคนอน่ื ทกุ ครัง้ ๑๕. แตง่ ตวั มดิ ชดิ และเรียบร้อย ผหู้ ญิงไม่ควร ๑๖. ใส่กระโปรงสัน้ และโชว์หัวไหล่ ผชู้ ายควรใส่เสื้อมปี กและกางเกงขายาว ๑๗. ระวังกริ ิยามารยาทตอ่ เพศตรงขา้ ม และไมค่ วรวางหรือแตะมอื ชาวกัมพูชา เวลาถ่ายรปู เพราะอาจทาให้เข้าใจผิดกนั ๒๓๐
ขอ้ ควรรู้ ๑๘. เมอื่ เข้าเขตวัดควรปิดมอื ถอื และเคร่อื งเลน่ MP๓ ทกุ ครัง้ ๑๙. ไม่ส่งเสยี งดังในเขตวัด และตอ้ งไม่สวมหมวกเมอ่ื เขา้ เขตวัดหรอื โบสถ์ ๒๐. ไม่ควรห่อกระดาษของขวัญดว้ ยสขี าว เพราะถอื วา่ เป็นสขี องการไว้ทุกข์ ควรใชก้ ระดาษทม่ี ีสีสัน ๒๑. เมื่อไดร้ บั ของขวัญแล้วยงั ไม่ควรเปดิ ออกทนั ที ๒๒. เมอ่ื จะส่งของให้ผู้อน่ื ควรส่งดว้ ยสองมอื หรอื ไมก่ ส็ ่งของด้วยมอื ขวา ถือวา่ เปน็ มารยาทท่ีดี แหล่งที่มา: http://www.kwintessential.co.uk/resources/global- etiquette/cambodia.html http://www.vietvaluetravel.com/Travel_Guide_Cambodia_Do_and_Dont/158 http://www.asiarooms.com/en/travel-guide/cambodia/useful- information/cambodia-dos-and-dont.html - ผู้ถอื หนงั สอื เดนิ ทางไทยสามารถขอตรวจลงตราเขา้ กัมพูชาไดจ้ าก สถานเอกอคั รราชทูตกัมพชู าในไทย โดยเสยี คา่ ธรรมเนยี ม ๑,๐๐๐ บาท หรือ ขอตรวจลงตรานักทอ่ งเทีย่ ว หรอื ผเู้ ดนิ ทางผา่ นได้เมอ่ื เดนิ ทางถึงทา่ อากาศยาน กรงุ พนมเปญ โดยกรอกแบบฟอร์ม Visa on Arrival พรอ้ มยืน่ รูปถา่ ยและ ค่าธรรมเนยี ม ๒๐ ดอลลารส์ หรฐั - ผู้ทีเ่ ดนิ ทางเข้ากัมพชู า และจะอยทู่ าํ ธรุ กิจเกนิ กว่า ๓ เดือน ควรฉดี ยาปอ้ งกัน โรคไทฟอยด์ และไวรัสเอและบี และกรอกแบบฟอร์มลงทะเบยี นทสี่ ถาน เอกอัครราชทตู ไทย เพื่อใหเ้ จา้ หนา้ ทสี่ ามารถตดิ ตอ่ และชว่ ยเหลอื ในกรณีฉุกเฉนิ ๒๓๑
สาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ ช่ือทางการ สาธารณรัฐอินโดนเี ซยี (Republic of Indonesia) เป็นประเทศท่ใี หญท่ ส่ี ุดใน เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้และมปี ระชากรมสุ ลิมมากทส่ี ุดในโลก พ้นื ที่ ๕,๑๙๓,๒๕๐ ตารางกโิ ลเมตร เมืองหลวง กรงุ จาการ์ตา ภาษาราชการ ภาษาราชการและภาษาประจาํ ชาติ ไดแก ภาษาอนิ โดนเี ซีย หรอื Bahasa ศาสนา อิสลาม (รอ้ ยละ ๘๘) ครสิ ต์ (ร้อยละ ๘) ฮนิ ดู (รอ้ ยละ ๒) พุทธ (รอ้ ยละ๑) ศาสนาอ่ืนๆ (รอ้ ยละ๑) ๒๓๒
วันชาติ ๑๗ สิงหาคม ของทุกปี การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตย มปี ระธานาธิบดเี ป็นผู้นาํ ของประเทศ อากาศ แบบป่าฝนเขตรอ้ น มี ๒ ฤดคู อื ฤดูแลง้ และฤดูฝน อณุ หภูมเิ ฉลีย่ อยู่ระหว่าง๒๑-๓๓ องศาเซลเซียส สกุลเงิน รเู ปยี ห์ อตั ราแลกเปลยี่ นประมาณ (ซอื้ ) ๒.๘๗ บาท ได้ ๑,๐๐๐ รูเปยห ทรัพยากรธรรมชาติ น้ํามนั ถา่ นหนิ ทองคาํ สตั ว์น้าํ สมาชิกอาเซียน ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ วนั สถาปนาการทตู ๗ มนี าคม ๒๔๙๓ ด้านสงั คม มีการแลกเปลยี่ นทางวัฒนธรรมกนั อยา่ งลกึ ซงึ้ ทัง้ ทางวรรณคดี อาหาร วฒั นธรรม เครอ่ื งแตง่ กาย และเคร่อื งดนตรี เปน็ ตน้ ดา้ นการศึกษา การเปลี่ยนแปลงทางการเมอื ง และเศรษฐกจิ สังคม นําไปสกู่ ารปฏริ ูปดา้ น การศึกษาของกมั พชู ากอ่ นปี พ.ศ.๒๕๑๘ ประเทศไทยยดึ ระบบการศึกษา แบบฝร่ังเศสซงึ่ ใหม้ กี ารศกึ ษาภาคบังคบั ๑๓ ปี (๖+๔+๓+๑) ภายหลังปี พ.ศ. ๒๕๒๒กระทรวงศึกษาฯใชร้ ะบบการศกึ ษาแบบ ๑๐ ปี (๔+๓+๓) และตอ่ มา ได้ขยายเปน็ แบบ๑๑ ปี และใชส้ บื เนือ่ งจากปี พ.ศ.๒๕๓๙ ระดบั อุดมศกึ ษา ๔-๗ ปี ส่วนการจดั การศกึ ษาด้านอาชีวะและเทคนคิ จดั ให้ ตั้งแต่ ๑ ปี ไปจนถงึ ๓-๕ ปีการจัดการศกึ ษาระดับอดุ มศึกษาน้ี บาง สถาบนั การศึกษาอยู่ภายใตก้ ารกํากบั ดแู ลของกระทรวงเกษตรสาธารณสขุ หรือแรงงาน การจัดการศึกษานอกระบบเนน้ การฝกึ ทกั ษะ ใหก้ บั ประชาชน ข้อควรรู้ - ไม่ควรใชม้ อื ซา้ ยในการรบั -ส่งของ หรือรับประทานอาหาร - คนมสุ ลมิ อนิ โดนีเซยี ถอื ว่ามือซา้ ยไม่สภุ าพ - ไม่จบั ศีรษะคนอินโดนเี ซยี รวมทั้งการลูบศรี ษะเดก็ - การครอบครองยาเสพตดิ อาวุธ หนงั สอื รปู ภาพอนาจารมบี ทลงโทษหนกั - การนําเขา้ และครอบครองยาเสพติด มโี ทษถงึ ประหารชีวติ - มีบทลงโทษรุนแรงเกีย่ วกบั การค้าและสง่ ออกพชื และสตั วก์ ว่า ๒๐๐ ชนิด จึงควรตรวจสอบกอ่ นซ้ือหรอื นาํ พืชและสตั ว์ออกนอกประเทศ ๒๓๓
สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ธงชาติ ตราแผ่นดนิ ๒๓๔
ช่อื ทางการ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พน้ื ที่ (Lao People’s Democratic Republic) เมืองหลวง ๒๓๖,๘๐๐ ตารางกิโลเมตร ภาษา นครหลวงเวยี งจนั ทน์ ศาสนา วันชาติ ภาษาทางราชการคอื ภาษาลาว การปกครอง สําหรบั ภาษาฝรง่ั เศสยงั คงมีใช้อย่ทู ว่ั ไป แตไ่ ม่ถอื วา่ เป็นภาษาทางราชการ ขณะนี้ รัฐบาลได้ทําการฟนื้ ฟภู าษาลาว และต้งั สถานีวิทยกุ ระจายเสียงภาษา อากาศ ลาว ออกอากาศไปทวั่ โลก ภาษาพดู ประจาํ ชาติคือ ลาว แม้จะสามารถพูดกนั เขา้ ใจได้ทัว่ ประเทศ แต่ สกลุ เงนิ สําเนยี งการพูดแตกต่างกนั ไปตามแตล่ ะภาค ทําใหร้ ไู้ ด้ว่าผู้พดู เปน็ คนภาคใด ทรพั ยากร กล่าวคือ คนลาวทางหลวงพระบาง มีสาํ เนยี งพดู คล้ายคนไทยทางภาคเหนอื สมาชกิ โดยเฉพาะจงั หวัดเชียงใหม่ คนลาวต้ังแตเ่ วียงจนั ทนจ์ นถงึ สีทนั ดอน มี สาํ เนียงพูดคล้ายคนไทยทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื สาํ หรับชาวเผ่าตา่ ง ๆ ใชภ้ าษาของตนเอง ตา่ งไปจากภาษาลาว เช่น ภาษาแม้ว เยา้ ย้อ อีก้อ พุทธ (ร้อยละ ๗๕) อื่นๆ (ร้อยละ ๒๕) วันท่ี ๒ ธันวาคม ของทกุ ปี ระบอบสงั คมนิยมคอมมวิ นิสต์ (ทางการลาวใชค้ าํ ว่า ระบอบประชาธปิ ไตย ประชาชน) พรรคการเมอื งเดียว คือพรรคประชาชนปฏวิ ัติ ลาวซ่งึ เปน็ องค์กรทมี่ อี ํานาจสูงสดุ ในการปกครองประเทศมปี ระธานประเทศเปน็ ประมขุ ลักษณะภมู อิ ากาศของลาวคล้ายกับภาคเหนอื และภาคอสี านของไทย แต่ฤดูหนาวมอี ากาศหนาวมากกวา่ พืน้ ทที่ างภาคใตแ้ ละทางตอนกลางของ ประเทศเป็นบริเวณทมี่ ีฝนตกชกุ มากกว่าภาคเหนอื กบี ไมซ้ ุง ไมแ้ ปรรปู ผลิตภัณฑ์ไม้ เศษโลหะ ถา่ นหิน เส้ือผ้าสาํ เร็จรปู ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ๒๓๕
วนั สถาปนา ๑๙ ธนั วาคม ๒๔๙๓ การทตู ด้านสังคม วัฒนธรรมและการศกึ ษา ไทยใหค้ วามรว่ มมือทางเศรษฐกิจและวชิ าการ วฒั นธรรม กบั ลาว ต้ังแตป่ ี ๒๕๑๖ โดยเนน้ ด้านการพฒั นาบุคลากรในลกั ษณะ การใหท้ ุนการศกึ ษา ทนุ ฝึกอบรม ดูงาน และโครงการพัฒนาในสาขา วัฒนธรรม การเกษตร การศกึ ษา และสาธารณสขุ ท้งั สองฝา่ ยยงั มีความร่วมมอื ดา้ น และลักษณะ แรงงาน ท้ังการจ้างแรงงาน การคุม้ ครองแรงงานและการแก้ปัญหาแรงงาน ประจาชาติ ตา่ งด้าวหลบหนเี ข้าเมอื ง การศึกษา มคี วามซอื่ สตั ยส์ จุ รติ กล้าหาญ อดทน รกั อิสระเสรี รกั หมูค่ ณะ ไมช่ อบ การเบียดเบียนขม่ เหง เปน็ ชาติท่รี กั สงบ มคี วามเคารพนบั ถอื ในบรรพบุรษุ การแต่งกาย นับถอื อาวโุ สทางอายเุ ปน็ เกณฑส์ ําคญั มีอิสระในการเลอื กคคู่ รอง และมกั จะ ศกึ ษาจติ ใจกนั กอ่ น ลกั ษณะครอบครัวเปน็ ครอบครวั ใหญ่ เชน่ เดียวกับ ชาวไทยทัว่ ไป ระบบการศึกษาเป็นแบบ ๑๑ ปี คอื ระบบ ๕ :๓ :๓ ดังน้ี เม่อื เด็กจบ การศึกษาในระดับประถมและมธั ยมศกึ ษาแลว้ จะมกี ารคัดเลอื กนักเรยี นเพ่ือ เสนอกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหเ้ ดก็ ไดเ้ ขา้ ศกึ ษาต่อในระดบั ท่ีสงู ข้นึ ไดแ้ ก่ “ สายอาชีพ ใช้เวลาศกึ ษา ๓ ปี ในวิทยาลยั เทคนิคตา่ งๆ เชน่ ทางดา้ นไฟฟา้ ก่อสร้าง บัญชี ป่าไม้ เป็นต้น “ มหาวทิ ยาลยั และสถาบนั การศึกษาทีส่ ําคัญได้แก่ ๑. มหาวทิ ยาลยั แพทย์ศาสตร์ (เวยี งจนั ทน์) ใช้เวลาศกึ ษา ๖ ปี ข้ึนกบั กระทรวงสาธารณสุข ๒. มหาวทิ ยาลัยแหง่ ชาติ (ดงโดก) ใชเ้ วลาศกึ ษา ๔ ปี ๓. สถาบันสรรพวิชา (National Polytechnic Institute) ใชเ้ วลาศึกษา ๖ ปี ผูห้ ญิงนิยมเกลา้ ผม นงุ่ ผ้าซ่ิน และมีสไบเฉยี งพาดไหล่ ผ้ชู ายแตง่ กาย เช่นเดยี วกบั คนไทยในภาคอสี าน สว่ นชาวเขาเผา่ ต่าง ๆ นยิ มแตง่ กายตาม ประเพณขี องเผา่ ๒๓๖
ท่อี ย่อู าศัย บ้านเปน็ หลังคาทรงแหลมชะลดู ยกพน้ื สรา้ งด้วยไม้ อาหารการกนิ อาหารหลักคอื ข้าวเหนยี วและลาบ เชน่ เดยี วกบั ชาวอสี านของไทย การดนตรี เครอ่ื งดนตรปี ระจาํ ภาคคือ แคน และการแสดงคอื หมอลาํ แคน ส่วนการ ฟ้อนรําและดนตรสี ว่ นใหญ่ไดร้ ับอทิ ธพิ ล สงิ่ ท่ีควรทา ๑. ลาวทกั ทายกนั ดว้ ยคาํ ว่า ‚สบายดี‛ พรอ้ มกบั ยมิ้ แตก่ ารแตะเนอื้ ตอ้ งตวั และไม่ควรทา กันไมน่ ยิ มทาํ ๒. การพนมมือ เป็นประเพณกี ารทกั ทายของชาวลาว ๓. การใชเ้ ทา้ ทําอย่างอนื่ นอกจากการเดนิ และเลน่ กฬี าแล้ว ถอื ว่าเปน็ เรอ่ื ง ที่ ‚หยาบคาย‛ มากสําหรบั ชาวลาว เพราะเทา้ เปน็ ‛ของตํ่า‛ ๔. การใช้มือจบั ศรีษะของผอู้ น่ื เปน็ สง่ิ ทีไ่ มส่ ุภาพอย่างมาก ๕. การตะโกนเสยี งดังหรอื พูดเสยี งดังเปน็ การไม่สภุ าพ เพราะชาวลาวเป็น คนพูดจานมุ่ นวล ๖. นกั ทอ่ งเท่ียวควรการแตง่ กายใหส้ ะอาด และเรยี บร้อย ๗. การเปลอื ยกายในท่สี าธารณะน้ันไมเ่ หมาะสมอยา่ งยง่ิ ๘. การที่จะเข้าบ้านเรอื น ควรถอดรองเทา้ ทกุ ครงั้ เพราะชาวลาวถือเปน็ สงิ่ สาํ คญั อยา่ งมาก ๙. การเดินผ่านคนที่นงั่ อยูค่ วรท่ีจะคอ้ มตวั ลง เพราะเทา้ เป็นของ ‚ตาํ่ ‛ และจะต้องไมเ่ ดนิ ขา้ มคนทน่ี งั่ อยอู่ ยา่ งเดด็ ขาด ๑๐. การที่จะถา่ ยรูปควรขออนุญาตเจ้าตวั กอ่ น วา่ ยนิ ดหี รอื ไม่ ๑๑. การแจกของฝากแกเ่ ด็กๆ เปน็ การสง่ เสรมิ ใหม้ ีการขอ ๑๒. การอุดหนนุ ซ้อื หรอื ลองรบั ประทานอาหารของชาวลาวเปน็ การ ช่วยเหลอื ธุรกิจและการเกษตรของท้องถน่ิ ๑๓. ‚กรุณา‛ แต่งกายให้สุภาพเรยี บรอ้ ย และแสดงความนอบน้อมใน ขณะทีอ่ ยู่ในวัดต่างๆ และขณะท่ถี า่ ยรปู ๑๔. สถานท่ศี กั ด์สิ ิทธ์ิ และสง่ิ ของ ไม่ควรเขา้ ไปหรอื จบั ต้องโดยทไ่ี มไ่ ดร้ บั อนุญาต ๑๕. พระสงฆ์เปน็ ทเ่ี คารพบูชา สตรีไมค่ วรถกู เนอื้ ตอ้ งตวั พระ หรือ จวี ร ๒๓๗
ขอ้ ควรรู้ ๑๖. ช่วยกนั รกั ษาความสะอาด ไม่ทิง้ ขวา้ งสง่ิ ของ ให้สกปรก!!!เพือ่ เปน็ ตัวอยา่ งทดี่ ใี หก้ ับเยาวชนชาวลาว ๑๗. ชว่ ยกนั รกั ษาความสะอาด ไม่ทิ้งขว้างสง่ิ ของ ใหส้ กปรก!!!เพอื่ เปน็ ตัวอย่างทด่ี ีใหก้ บั เยาวชนชาวลาว ๑๘. สนบั สนนุ โดยการซอ้ื งานฝมี อื ทอ้ งถนิ่ ที่ดีและมีคณุ ภาพของชาวลาว ๑๙. สง่ิ เสพติดผิดกฎหมาย มีโทษต่อตวั เองและ สงั คมชาวลาวดว้ ย ขอขอบคณุ แหล่งข้อมลู จาก http://www.thaiembassy.org/vientiane/laosinformation_do-donts.html http://www.linethaitravel.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=40888 1&Ntype=6 http://www.dooasia.com/trips/detail_recommend.php?id=233 - ลาว มีสายการบนิ เดียวคือ การบนิ ลาว - มสี นามบินทงั้ หมด ๕๒ แหง่ มเี พยี ง ๙ แหง่ ที่ลาดยาง - ลาวขบั รถทางขวา - ธนาคารไทยในลาวมี ๕ แห่ง ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารทหารไทย ธนาคารไทยพาณชิ ย ์ธนาคารกรงุ ไทย และธนาคารกรงุ ศรอี ยุธยา ๒๓๘
ประเทศมาเลเซยี (Malaysia) ธงชาติ ตราแผ่นดนิ ๒๓๙
ชือ่ ทางการ มาเลเซยี มงุ่ เปน็ ประเทศท่พี ฒั นาแลว้ ภายในปี ๒๕๖๓ หรอื (Vision 2020) พน้ื ท่ี ๓๒๙,๗๕๘ ตารางกโิ ลเมตร เมอื งหลวง กรุงกวั ลาลมั เปอร์ ภาษา มาเลย์ ศาสนา อสิ ลาม (ร้อยละ ๖๐) พทุ ธ (ร้อยละ ๑๙) ครสิ ต์ (รอ้ ยละ ๑๒) วนั ชาติ วันที่ ๓๑ สงิ หาคม ของทกุ ปี การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยแบบรัฐสภา ปัจจุบนั ประกอบดว้ ยรฐั ๑๓ รัฐ ประมขุ แหง่ รัฐมตี าํ แหนง่ เปน็ สมเดจ็ พระราชาธบิ ดี อากาศ อากาศร้อนชืน้ แถบศูนย์สตู ร อยู่ในอิทธพิ ลของลมมรสมุ สกุลเงิน รงิ กติ ทรัพยากรธรรมชาติ อุปกรณไ์ ฟฟ้า และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ นา้ํ มันดบิ กา๊ ซธรรมชาติเหลว ปิโตรเลยี ม เฟอรน์ ิเจอร์ ยาง น้าํ มันปาล์ม สมาชิกอาเซียน ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ วนั สถาปนาการทูต ๓๑ สิงหาคม ๒๕๐๐ ด้านสงั คม - มโี ครงการเชื่อมโยงเสน้ ทางคมนาคม และความรว่ มมอื ดา้ นการบริหาร วฒั นธรรมและ จดั การสัญจรข้ามแดน เพอ่ื อาํ นวยความสะดวกแก่ประชาชนในพนื้ ทแี่ ละ การศึกษา สง่ เสรมิ การตดิ ตอ่ ด้านการคา้ และการท่องเทีย่ ว - อนญุ าตให้ประชาชนทถ่ี ือสญั ชาติของอกี ฝ่ายหนงึ่ ทอ่ี าศัยอยใู่ นพื้นที่ ชายแดนใช้บัตรผา่ นแดนซึง่ ออกใหโ้ ดยหน่วยงานปกครองทอ้ งถนิ่ ของ แต่ละประเทศแทนการใชห้ นงั สือเดินทางเพอื่ ผา่ นดา่ นพรมแดน - มกี ารแลกเปลยี่ นการเยอื นของผ้นู ําศาสนาอิสลาม ดา้ นการศกึ ษา - มกี ารแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ดา้ นการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นสอนศาสนาอิสลาม และวิทยาลยั อิหมา่ ม เพ่อื สง่ เสรมิ ความรว่ มมือด้านกจิ การศาสนาอิสลาม - มีการประชุมความร่วมมอื ทางวิชาการระหวา่ งกนั เพ่ือทบทวนและติดตาม ผลการดําเนนิ งานของทง้ั 2 ประเทศ ส่งิ ทีค่ วรทา ๑. การทกั ทายตามประเพณที างศาสนาหรอื การ ‚ สลาม‛ คือการยน่ื มอื ท้ัง ๒๔๐
ไม่ควรทา สองมาสมั ผัสกนั แตม่ าบบี แรงหลงั สมั ผัสมือจะดึงมอื กลับแลว้ มาไว้ท่ี ข้อควรรู้ หน้าอกเปน็ วธิ กี าร แสดงออกซง่ึ การคารวะหรือทกั ทาย ทมี่ าจากใจ ผมู้ า เยือนควรทักทายดว้ ยคําว่า ‚ สลาม‛ ๒. การใชน้ ิ้วชี้ไปยงั สถานท่ี สงิ่ ของ หรอื คน ถอื เปน็ การไม่สภุ าพ ใน มาเลเซยี จะใชน้ ว้ิ โปง้ ด้านขวาชี้แทนและกํานวิ้ ทเ่ี หลอื ไวก้ บั ฝ่ามือ ๓. นักทอ่ งเที่ยวหรอื ผู้เดนิ ทางทเี่ ข้าไปยงั สถานที่สาํ คญั ทางศาสนา ตอ้ งถอด รองเทา้ เสมอ มัสยิดหรอื วัดบางแห่งจะมีเสอ้ื คลมุ และผา้ สําหรับคลมุ ศีรษะ ไวใ้ หส้ าํ หรบั สุภาพสตรี ๔. เครอื่ งดื่มแอลกอฮอลเ์ ปน็ เรอื่ งตอ้ งห้ามเน่อื งจากหลกั ศาสนาอิสลามซงึ่ เป็นทนี่ ับถือ ของประชากรสว่ นใหญ่ในมาเลเซีย ๕. ผู้ทมี่ ียาเสพติดหรืออาวุธไวใ้ นครอบครอง มโี ทษประหารชีวิตสถานเดยี ว ไม่มกี ารลดหยอ่ น ๖. การแต่งกาย นกั ทอ่ งเทย่ี วต้องแตง่ กายใหเ้ หมาะสม หากจะเข้าชมมัสยิด หรอื วดั สาํ หรับสตรคี วรแต่งกายสุภาพ กระโปรงยาวคลมุ เข่า หา้ มใสเ่ สื้อที เชต้ิ เส้อื กล้าม กางเกงขาสนั้ รองเทา้ แตะ และรองเทา้ โปร่ง ผูเ้ ยือนชาย ควร ใสเ่ สอ้ื มปี ก และกางเกงขายาว ผเู้ ยอื นหญงิ ไม่ควรใสเ่ ส้อื ผา้ ท่ีเปดิ มาก เกนิ ไป ข้อมูลโดย สวัสดี มาเลเซีย | การทอ่ งเท่ยี วมาเลเซยี ประจาประเทศ ไทย - ประเทศมาเลเซียบญั ญตั ิในรฐั ธรรมนูญให้ศาสนาอสิ ลามเปน็ ศาสนา ประจาํ ชาติ และผทู้ ีน่ ับถือศาสนาอิสลามจะได้รบั สทิ ธิพิเศษ คอื เงนิ อุดหนนุ ทางด้านการศกึ ษา สาธารณสขุ การคลอดบุตร งานแตง่ งานและงานศพตามนโยบาย ‚ภูมิบุตร‛ - ประชากรหลากหลายเชือ้ ชาติ - นอกจากสถานเอกอัครราชทูตไทยในกรงุ กัวลาลมั เปอร์แลว้ มีสถานกงสุลใหญ่ ในมาเลเซยี อกี ๒ แห่ง คือ ปนี ัง และโกตาบารู และ สถานกงสลุ กิตตมิ ศักดเ์ิ กาะลงั กาวี อีก ๑ แห่ง ๒๔๑
สาธารณรฐั สหภาพพม่า ธงชาติ ตราแผน่ ดิน ๒๔๒
ชอ่ื ทางการ สาธารณรัฐสหภาพพม่า (the Republic of the Union of Myanmar) พนื้ ท่ี ๖๕๗,๗๔๐ ตารางกิโลเมตร ท่ีต้ัง ประเทศพมา่ มอี าณาเขตตดิ ต่อกับประเทศต่าง ๆ ดังน้ี ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กบั ประเทศธเิ บต และประเทศจนี ทิศตะวนั ออกตดิ ตอ่ กบั ประเทศจีน ประเทศลาวและประเทศไทย ทิศใต้จดทะเลอนั ดามัน และอา่ วเบงกอล ทศิ ตะวันตกจดอา่ วเบงกอล และประเทศบังคลาเทศ มเี ส้นพรมแดนยาวประมาณ ๗,๑๐๐ กโิ ลเมตร เป็นเสน้ พรมแดนทางบกยาว ประมาณ ๔,๖๕๐ กโิ ลเมตร เสน้ พรมแดนทางทะเล ยาว ๒,๔๕๐ กโิ ลเมตร เมืองหลวง เนปีดอว์ ภาษา พมา่ ศาสนา พทุ ธ (ร้อยละ ๙๐) คริสต์ (ร้อยละ ๕) อสิ ลาม (รอ้ ยละ ๓.๘) วันชาติ วันที่ ๔ มกราคม ของทกุ ปี การปกครอง ระบอบเผดจ็ การทางทหาร ปกครองโดยรฐั บาลทหารภายใตส้ ภาสันตภิ าพ และการพฒั นาแหง่ รัฐ (State Peace and Development Council หรือ SPDC) อากาศ มรสมุ เมอื งรอ้ น ด้านหน้าภเู ขาอาระกนั โยมา ฝนตกชกุ มาก ภาคกลาง ตอนบนแห้งแลง้ มาก เพราะมีภเู ขากนั้ กาํ บงั ลมส่วนภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื อากาศค่อนขา้ งเยน็ และคอ่ นขา้ งแหง้ แลง้ สกุลเงนิ จั๊ต ทรพั ยากรธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติ ส่งิ ทอ ไมซ้ ุง สมาชกิ อาเซยี น ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐ วันสถาปนาการทตู ๒๔ สิงหาคม ๒๔๙๑ วฒั นธรรม ประกอบด้วยชนหลายเผา่ แตล่ ะเผา่ ยึดมนั่ ในวฒั นธรรมตนเอง ไมย่ อม เปลีย่ นแปลงง่าย ๆ ยงั ยึดมนั่ ในศาสนาของตนเองอยา่ งเครง่ ครัด ประชาชน สว่ นใหญ่ประมาณรอ้ ยละ ๘๕ นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา ดงั น้ัน ขนบธรรมเนยี มประเพณี วัฒนธรรมสว่ นใหญผ่ กู พนั อยกู่ ับพระพุทธศาสนา ๒๔๓
ด้านสงั คม วัฒนธรรมทางภาษา รฐั บาลพม่าประกาศใหภ้ าษาพม่าเปน็ ภาษา วฒั นธรรมและ ราชการ และให้มกี ารเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ เป็นภาษาทสี่ องในโรงเรยี น การศึกษา ตั้งแต่ระดบั อนุบาล ถึงมหาวทิ ยาลัย อย่างไรกต็ าม มีภาษาของชนเผ่าตา่ ง ๆ ด้านการศึกษา ท่ีใชอ้ ยู่ในพม่าไมน่ ้อยกว่า ๒๐ ภาษา จึงเป็นการยากทจ่ี ะใหค้ นพม่าทงั้ ประเทศใช้ภาษาพมา่ แตเ่ พยี งภาษาเดยี ว วฒั นธรรมในการแตง่ กาย ประชาชนพม่านยิ มแตง่ กายตามแบบ ฉบับของเผา่ ของตน จงึ เปน็ การยากท่จี ะใหแ้ ตง่ กายแบบเดียวกนั แมพ้ ม่าจะ ตกเป็นเมอื งขน้ึ ขององั กฤษนานถงึ ๖๒ ปี แต่อิทธพิ ลวัฒนธรรมแบบ ตะวนั ตก ก็ไม่สามารถเปลยี่ นแปลงการแตง่ กายของชาวพมา่ ได้ วัฒนธรรมผสม เนอ่ื งจากพมา่ ไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากหลายทางดว้ ยกนั เช่น จากอินเดยี จนี มอญ ธเิ บต ลาว ไทย และชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ประเพณี วัฒนธรรมของชนชาตติ ่าง ๆ ดงั กลา่ วจึงเขา้ ไปปะปนกบั วฒั นธรรมของพมา่ ไทยและพมา่ ได้ลงนามในความตกลงทางวฒั นธรรมเมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๔๒ และมกี ารดาํ เนนิ กิจกรรมตา่ งๆ เชน่ โครงการอญั เชญิ ผา้ พระกฐิน พระราชทานไปถวายแก่วัดในพม่าการเชิญผู้สอ่ื ขา่ วพม่าเยอื นไทย * สนบั สนนุ การสอนภาษาไทยในมหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศของพม่า * โครงการความรว่ มมอื ทางวิชาการทไ่ี ทยใหท้ นุ การศกึ ษา ทุนฝึกอบรม/ ดงู าน จดั สง่ วัสดอุ ุปกรณแ์ ละผเู้ ช่ียวชาญไปให้คําปรกึ ษาแนะนาํ ในดา้ นต่าง ๆ ในสาขาการเกษตร การศึกษา สาธารณสุข และสาขาอื่นๆ ทท่ี ้ังสองฝ่าย เห็นชอบรว่ มกัน * ปี ๒๕๔๔ รฐั บาลไทยไดใ้ ห้ความชว่ ยเหลอื แกพ่ มา่ ในโครงการพฒั นา หมบู่ ้านยองขา่ รัฐฉาน โดยนาํ โครงการพฒั นาดอยตงุ เปน็ แบบอย่างเพอื่ ยกระดับความเป็นอยขู่ องประชาชนพมา่ ใหเ้ ลกิ ปลกู ฝน่ิ และปลกู พืชผลอยา่ ง อื่น ชว่ ยสรา้ งโรงเรยี น โรงพยาบาล ดําเนนิ การดา้ นสาธารณสุขฯลฯ แต่เมอื่ มี การปลดพลเอก ข่นิ ย้นุ โครงการดังกลา่ วไดร้ บั ผลกระทบจงึ หยดุ ชะงกั ไป * ไทยและพมา่ ไดร้ ว่ มลงนามในบนั ทกึ ความเข้าใจวา่ ด้วยความรว่ มมือดา้ น สารสนเทศและการกระจายเสยี งและเผยแพร่ ๒๔๔
ช่องทางทตี่ ิดต่อ จงั หวดั เชยี งราย ไดแ้ ก่ ช่องทางท่าขเ้ี หล็ก ในเขตรฐั ฉานของพม่า กับอาํ เภอ ประเทศไทย แม่สายของไทย จงั หวดั เชียงใหม่ มีอยู่ ๗ ช่องทางคอื ชอ่ งทางแมอ่ าย ชอ่ งทางแมอ่ าย มอ่ น ข้อควรรู้ ปนื แม่งอน ปงุ ดํา แม่ลาว เมืองแหง หนองหมู่ฮอ่ ของไทย ติดตอ่ กบั รฐั ฉาน ตอนใตข้ องพม่า จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน มอี ยู่ ๑๓ ชอ่ งทาง คือ ชอ่ งทางปางมะผ้า หมอกจําแป ผาปอง หว้ ยโปง แม่ยอม แม่คง แมล่ านชยั เมอื งปอน หว้ ยปา ขุนยวม แม่สาหลวง แมน่ าเตงิ และเวยี งเหนอื ตดิ ต่อกบั รฐั คะยาห์ของพม่า จงั หวัดตาก มีอยู่ ๑๓ ช่องทางคอื ช่องทางบ้านชอ่ งแคบ แม่กุ แม่ดาว ทา่ สาย ลวด แมก่ าสา แม่จะเรา แมร่ ะมาด คะเนจื๊อ แมจ่ ัน แหลง่ หลวง โกโกร แม่ตา้ น ทา่ สองยาง ตดิ ตอ่ กับรัฐกะเหรีย่ งของพมา่ จงั หวัดกาญจนบรุ ี มี ๘ ชอ่ งทางด้วยกนั คอื ชอ่ งทางจรเขเ้ ผอื กสงิ ห์ ลมุ่ สมุ ปลิ ๊อก ทา่ ขนุน หอนดาด ล่ินถนิ่ หนองลู และโลโว่ ติดตอ่ กบั ตะนาวศรี จงั หวัดราชบรุ ี มชี ่องทางสวนผึ้ง ในเขตอาํ เภอสวนผ้งึ ของไทย ติดตอ่ กบั ภาคตะนาวศรีของพมา่ จังหวดั เพชรบุรี มอี ยู่สองชอ่ งทางคือ ช่องทางบางนาํ้ กลดั และช่องทาง สองพนี่ ้อง ติดต่อกบั ภาคตะนาวศรขี องพม่า จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์ มีอยู่ ๑๕ ช่องทางคือ ช่องทางหินเหลก็ ไฟ เขานอ้ ย สังกระทาย กยุ บรุ ี อา่ วน้อย เกาะหลัก คลองวาฬ พงษป์ ระสาท หว้ ยยาง ทบั สะแก อ่างทอง ธงชยั รอ่ นตอง ปากแพรก และทรายทอง ตดิ ตอ่ กบั ภาค ตะนาวศรีของพม่า จงั หวัดชุมพร มอี ยู่ ๕ ชอ่ งทางคือ ช่องทางรับรอ่ สลุย ปากจนั่ มะมุ นํา้ จดื น้อย นา้ํ จดื ใหญ่ ลําเลียง บางแกว้ ทรายทอง ปากนาํ้ หงาว ราชกรดู มว่ งกลาง นาคา และกาํ พวน ติดตอ่ กับภาคตะนาวศรขี องพม่า เมือ่ วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๓ รัฐบาลพมา่ ประกาศเปลยี่ นธงชาติและ ตราประจาํ ชาติอยา่ งเปน็ ทางการ แต่ยงั ใช้ช่ือเดมิ คอื สหภาพพมา่ (the Union of Myanmar) สว่ นชอื่ ประเทศใหม่ตามรัฐธรรมนูญ คือ ๒๔๕
สาธารณรฐั สหภาพพมา่ (the Republic of the Union of Myanmar) ๑. ไม่ควรถา่ ยรปู ในบรเิ วณสนามบนิ สถานรี ถไฟ และสถานท่รี าชการทมี่ ี ทาํ การของทหารอย่ใู กล้เคยี ง เมอ่ื จะถา่ ยรปู กบั ชาวพม่าก็ควรขออนุญาต ก่อนทกุ ครง้ั ๒.สถานท่ีทอ่ งเทีย่ วในตอนกลางคืน นน้ั พม่าเริ่มเปิดใหม้ ีร้านจําพวก คาราโอเกะมากขนึ้ แตก่ ็ยังมขี อ้ จาํ กดั อยู่ ขอแนะนาํ ให้นกั ทอ่ งเทย่ี วใช้ บรกิ ารบาร์ในบรเิ วณโรงแรมจะสะดวดกว่ามากและปลอดภยั กว่า ๓.การท่องเทย่ี วในประเภทพม่า ควรเตรยี มเส้อื ท่ีใส่สบายและไมอ่ ึดอดั จนเกนิ ไปนกั เส้อื แบบผ้าฝา้ ยนา่ จะเหมาะที่สดุ ทงั้ นี้ควรเตรยี มเสอ้ื กนั หนาวไปดว้ ยถ้าตอ้ งการไปเท่ยี วบรเิ วณเทอื กเขาตอนเหนอื ในช่วงฤดหู นาว ๔.ประเทศพมา่ เปน็ ประเทศเมอื งพุทธเชน่ เดยี วกบั ประเทศไทย นักทอ่ งเทีย่ ว ควรใหค้ วามเคารพแก่สถานทที่ ่องเท่ยี วซง่ึ เป็นโบราณสถานหรอื วดั วา อารามอย่างเครง่ ครดั ๕.การจดั ซือ้ ของจาํ นวนเครอื่ งเพชรพลอยตา่ งๆ หรอื สนิ ค้าจาํ พวกวตั ถุ โบราณ ควรเลือกซอื้ จากรา้ นท่มี ีใบรับรองจากภาครฐั หรือรา้ นทค่ี อ่ นข้าง มีช่ือเสียง มฉิ ะนนั้ จะไมส่ ามารถนาํ ออกนอกประเทศได้ ๖. นักทอ่ งเทยี่ วชาวไทยอาจจะสบั สนเรอ่ื งระยะทางได้ ควรจําไวว้ า่ ประเทศ พมา่ ใช้หน่วยในการวัดระยะทางเปน็ ไมล์ไมใ่ ชก่ ิโลเมตร สว่ นรถยนตน์ ั้น กข็ ับชดิ ขวา ไมไ่ ดข้ บั ชดิ ซ้ายเหมือนประเทศองั กฤษทเ่ี คยเปน็ อาณานิคม ๗.ร้านขายสนิ ค้าปลอดภาษมี ใี หบ้ รกิ ารทงั้ ในอาคารผู้โดยสารขาเขา้ และ ขาออกของสนามบินนานาชาตยิ ่างกุ้ง ๒๔๖
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ธงชาติ ตราแผ่นดนิ ๒๔๗
ชอ่ื ทางการ สาธารณรัฐฟลิ ปิ ปินส์ (Republic of the Philippines) พื้นท่ี 298,170 ตารางกโิ ลเมตร เมอื งหลวง กรุงมะนลิ า ภาษา ตากาลอ็ ก เปน็ ภาษาประจําชาติ ภาษาฟลิ ิปปินส์และองั กฤษเปน็ ภาษาราชการ ศาสนา ครสิ ต์นิกายโรมนั คาทอลคิ (ร้อยละ ๘๓) นิกายโปรเตสแตนท์ (รอ้ ยละ ๙) อสิ ลาม (รอ้ ยละ ๕) ชาวพนื้ เมอื งเชอื่ ถอื ในพระเจา้ ทเี่ รยี กวา่ Bathalang Majkapall เชอื่ วา่ พระเจ้าเปน็ ผสู้ ร้างโลก ยังมเี ทพเจา้ อื่นๆ อีกมาก ทมี่ อี ํานาจ รองลงมา มพี ธิ ที างศาสนาดว้ ยการสวดมนตแ์ ละบชู ายัญต่อเทพเจ้าและ ส่ิงศกั ดิ์สทิ ธิโ์ ดยมนี กั บวชของนกิ ายน้นั ๆ เปน็ ผูท้ ําพธิ ี ยังนับถอื ส่ิงทีเ่ ปน็ ธรรมชาติ เช่น ดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว ดาวตก ผีพงุ่ ใต้ และรวมไปถงึ การนบั ถอื บชู าสัตว์บางชนิด เชน่ นก และจรเข้ เปน็ ต้น เชื่อวา่ เมือ่ ตายไปแลว้ วิญญาณจะตอ้ งทอ่ งเท่ียวจะไดข้ นึ้ สวรรคถ์ า้ คนนัน้ มพี ฤตกิ รรมดี ผทู้ ่กี ระทาํ ชั่ว ดุร้าย โหดเหีย้ มต่อเพอ่ื นมนุษย์ จะถกู พระเจา้ ลงโทษ และ นาํ ไปสู่นรก ความเชอ่ื ในยคุ โบราณดงั กลา่ วยงั คงมอี ยู่ วันชาติ วันท่ี ๑๒ มถิ นุ ายน ของทกุ ปี การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยตามแบบสหรฐั อเมรกิ า โดยมปี ระธานาธิบดี เปน็ ประมขุ และหวั หน้าคณะบริหารประเทศ อากาศ มรสมุ เขตรอ้ น บริเวณท่ีฝนตกมากทีส่ ดุ คือเมืองบาเกียว สกุลเงิน เปโซฟลิ ปิ ปนิ ส์ ทรพั ยากรธรรมชาติ มะพร้าว อ้อย ปา่ นอบากา และขา้ วเจา้ สมาชกิ อาเซยี น ๘ สงิ หาคม ๒๕๑๐ วันสถาปนาการทูต ๑๒ กนั ยายน ๒๔๙๒ เปน็ ประเทศแรกในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ท่ไี ทย สถาปนาความสมั พนั ธ์ทางการทตู ดว้ ย ขอ้ ควรรู้ การเข้าไปประกอบธรุ กจิ ในฟิลปิ ปนิ สใ์ นลกั ษณะต่างๆ เชน่ การลงทนุ รว่ มกบั ฝ่ายฟิลิปปนิ ส์จําเปน็ ตอ้ งมกี ารศึกษาขอ้ มูลใหล้ ะเอยี ด โดยเฉพาะใน ด้านกฎหมาย การจดทะเบียนภาษี และปญั หาทางด้านแรงงาน เปน็ ตน้ ๒๔๘
สาธารณรัฐสิงคโปร์ ธงชาติ ตราแผน่ ดนิ ช่อื ทางการ สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore) พ้ืนที่ 699.4 ตารางกโิ ลเมตร ท่ีตั้ง ทิศเหนอื จดชอ่ งแคบยะโฮร์ มคี วามกว้างเฉลยี่ ประมาณ ๑.๒ กโิ ลเมตร และ อยูต่ รงข้ามฝ่ังยะโฮร์ ของมาเลเซยี เช่อื มกันดว้ ยถนนข้ามสมุทร เมืองหลวง ทิศตะวันออก จดทะเลจีนใต้ หา่ งจากประเทศฟลิ ปิ ปินส์ ประมาณ ๒,๑๕๐ กิโลเมตร หา่ งจากรฐั ซาราวคั ของมาเลเซยี ประมาณ ๕๖๐ กโิ ลเมตร ทศิ ใต้ จดชอ่ งแคบสงิ คโปร์ ทิศตะวันตก จดชอ่ งแคบมะละกา โดยมีเกาะสมุ าตราของอนิ โดนเิ ซยี อยู่คนละฟากฝ่ัง สิงคโปร์ ๒๔๙
ภาษา มาเลย์ เปน็ ภาษาประจําชาติ และใช้ภาษาอังกฤษ มาเลย์ จนี กลาง และทมฬิ เป็น ภาษาราชการ ศาสนา พุทธ (รอ้ ยละ ๔๒.๕) อสิ ลาม (ร้อยละ ๑๔.๙) คริสต์ (ร้อยละ ๑๔.๖) ฮนิ ดู (ร้อยละ ๔) ไมน่ บั ถือศาสนา (รอ้ ยละ ๒๕) วนั ชาติ วันท่ี ๙ สงิ หาคม การปกครอง ระบอบสาธารณรัฐ ระบบรัฐสภา มีประธานาธบิ ดเี ป็นประมุข และ อากาศ นายกรฐั มนตรเี ป็นหวั หน้ารัฐบาล สกุลเงนิ มฝี นตกตลอดปี อณุ หภมู เิ ฉล่ีย ๒๖.๘ องศาเซลเซยี ส สมาชกิ อาเซยี น วนั สถาปนาการทตู ดอลลารส์ งิ คโปร์ ด้านสงั คม วัฒนธรรมและ ๘ สงิ หาคม ๒๕๑๐ การศกึ ษา วันท่ี ๒๐ กันยายน ๒๕๐๘ ดา้ นการศกึ ษา สิง่ ท่ีควรทํา กลไกความรว่ มมือ ได้แก่ โครงการความรว่ มมือระหว่างหนว่ ยงาน ไมค่ วรทํา ขา้ ราชการพลเรือนไทย ” สงิ คโปร์ (Thailand ” Singapore Civil Service Exchange Programme - CSEP) ด้านการศกึ ษา มีแผนงาน เพอื่ พัฒนาบคุ ลากรด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยโี ดยแลกเปลย่ี น คณาจารย์ นกั วจิ ยั และนสิ ิตนกั ศึกษาของท้ังสองประเทศ ระบบการศึกษาและการแพทย์ที่ดีในเอเชีย ๑)การสูบบหุ รใี่ นท่สี าธารณะ อาทิ รถบัส แทก็ ซี่ ลฟิ ต์ โรงภาพยนตร์ สถานที่ ราชการ ร้านอาหารท่ีมีเครื่องปรับอากาศและห้างสรรพสินค้าจะมีโทษปรับ สงู สดุ ถึง ๑,๐๐๐ สงิ คโปร์ดอลล่าร์ ขณะที่การสูบบุหรี่ในผับ ดิสโก คาราโอ เกะและบารท์ ่ีมเี คร่ืองปรบั อากาศไมถ่ อื เปน็ ความผิด ๒) ผู้ท่ีทิ้งขยะในที่เขตห้ามทิ้งจะถูกปรับ ๑,๐๐๐ สิงคโปร์ดอลล่าร์สําหรับ การกระทําความผิดครั้งแรก และหากทําผิดซ้ําจะถูกปรับ ๒,๐๐๐ สิงคโปร์ ดอลล่าร์ รวมถงึ ตอ้ งทาํ ความสะอาดพ้ืนท่ีสาธารณะตามระยะเวลาที่กําหนด เป็นบทลงโทษ ๓)การห้ามจําหน่ายและมีหมากฝร่ังไว้ในครอบครอง โดยถือว่าเป็น ๒๕๐
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281