ASEAN +๑๐ ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมภิ าค ความรว่ มมอื ระหวา่ งอาเซียนกบั องคก์ รระหวา่ งประเทศ ท่ีมา กรมอาเซียน ๕๑
ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการเป็นสมาชิกอาเซยี น ปจั จุบันอาเซียนเป็นค่คู ้าอนั ดับหน่ึงของไทย โดยมมี ูลค่าการคา้ กว่า ๑.๗๕ ล้านล้าน บาทตอ่ ปี หรือรอ้ ยละ ๑๙.๒ มูลคา่ การคา้ ท้ังหมดของไทย ในจํานวนน้ีเป็นการส่งออกจากไทย ไป อาเซียนร้อยละ ๒๐.๗ ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด โดยประเทศไทยไทยเป็นฝ่ายได้ดุลการค้า มาตลอด การรวมตัวกันอย่างใกล้ชิดย่ิงขึ้นทางเศรษฐกิจบวกกับการขยายความร่วมมือเพ่ือ เช่ือมโยงโครงสร้างพนื้ ฐาน เชน่ เสน้ ทางคมนาคมขนสง่ ระบบจ่ายไฟฟ้า เครือขา่ ยอนิ เตอร์เน็ตฯลฯ จะเปน็ ปจั จัยสาํ คัญในการเพิม่ โอกาสทางการคา้ และการลงทุนให้กับไทย พร้อมกับช่วยขยายตลาด ใหก้ บั สนิ คา้ ไทยไปสู่ประชาชนอาเซยี นเกือบ ๖๐๐ ลา้ นคน ขณะท่ีอาเซยี นยังเป็นแหล่งเงินทุนและ เป้าหมายในการลงทุนของไทยอีกดว้ ย โอกาสของไทยยังจะเพ่ิมข้ึนเมอื่ อาเซียนสามารถสร้างประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นให้ เปน็ ตลาดและฐานการผลติ เดยี วตามท่ีกําหนดไว้ในแผนงานการจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สาํ เร็จ เพราะจะเปดิ โอกาสใหส้ ินคา้ บรกิ าร แรงงานมฝี มี ือ และเงินทนุ เคลื่อนยา้ ยได้อย่างเสรีย่ิงขึ้น สว่ นเร่อื งการท่องเทย่ี วท่ผี า่ นมา มีจํานวนนักท่องเที่ยวจากอาเซียนมาเท่ียวไทยมากถึงกว่า ๔ ล้าน คน คิดเป็นร้อยละ ๒๖ ของจํานวนนักท่องเท่ียวทั้งหมดของไทย นํารายได้เข้าประเทศถึงกว่า ๑๔๐,๐๐๐ ลา้ นบาท การเปน็ สมาชกิ อาเซยี นยงั ชว่ ยให้ไทยมีความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาคเม่ือต้อง เผชญิ กบั ภัยคกุ คามทส่ี ง่ ผลกระทบโดยตรงต่อประชาชน ไม่ว่าจะเป็นปญั หาความยากจน การรับมือ กับโรคระบาด เช่น ไข้หวัดนกและซาร์ส ปัญหา อาชญากรรมข้ามชาติอย่างการค้ามนุษย์และปัญหา ยาเสพติด การรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่นหมอกควันจากไฟป่าและ ปัญหาโลกร้อน อาเซียนยังช่วยเพิ่มอํานาจต่อรอง ของไทยในเวทีโลก ขณะเดียวกันความสัมพันธ์ใน กรอบอาเซยี นยังชว่ ยเก้ือหนุนความสัมพันธ์ทวิภาคี ระหวา่ งไทยกบั ประเทศต่างๆ อกี ดว้ ย ๕๒
ความสาเร็จของอาเซียน นับแต่ก่อตง้ั ประเทศสมาชิกอาเซยี นพยายามส่งเสรมิ การยดึ มนั่ ในบรรทดั ฐาน รว่ มกัน และสร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือระหวา่ งผกู้ าํ หนดนโยบาย ความร่วมมอื ทเี่ กิดขนึ้ ระหวา่ งกนั มสี ว่ นชว่ ยปอ้ งกนั ความขดั แย้งไมใ่ ห้เกิดขน้ึ ในภมู ภิ าค ทาํ ให้ไมม่ สี งครามระหวา่ งกนั และยงั ประสบความสาํ เรจ็ ในการสง่ เสรมิ ใหอ้ าเซยี นเปน็ เวทีทีป่ ระเทศมหาอาํ นาจหลายประเทศเขา้ รว่ ม หารอื ในฐานะประเทศคเู่ จรจา (Dialogue Partnerships) รวมทง้ั มคี วามรว่ มมอื ในกรอบความร่วมมอื อาเซียน + 3 (ASEAN Plus Three) ได้แก่ จีน ญี่ปนุ่ และเกาหลใี ต้ โดยอาเซียนเปน็ ตวั ขบั เคลอื่ นและ เป็นศูนย์กลางของความรว่ มมือ นอกจากนอ้ี าเซียนยังสรา้ งเวทีในการแสวงหาแนวทางเพ่อื การพฒั นาระบบราชการใน กลุ่มประเทศสมาชิกให้มีประสทิ ธิภาพ ศกั ยภาพ มคี วามรบั ผิดชอบและสามารถตรวจสอบได้ผา่ น การประชมุ ก.พ.อาเซียน หรอื ASEAN Conferences on Civil Service Matters (ACCSM) ซงึ่ เป็น หนึ่งในกลไกบริหารตามโครงสร้างองค์กร ASEAN ๕๓
๔บทท่ี โครงสร้างและกลไก การบรหิ ารองคก์ รอาเซยี น (Organs) ๕๔
บทที่ ๔ โครงสรา้ งและกลไกการบรหิ ารองค์กรอาเซียน ตามกฎบัตรอาเซียนซ่ึงเป็นเสมือนธรรมนูญของอาเซียน ได้กําหนดให้องค์กร อาเซียนมีสถานะเป็นนิติบุคคล มีกฎเกณฑ์และกระบวนการรับสมาชิกเฉพาะที่เป็นประเทศใน ภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซ่ึงจะต้องได้รับรองจากสมาชิกอาเซียนท้ังหมด ตลอดจนสมาชิก ต้องยินยอมท่ีจะผูกพันตามกฎบัตรและปฏิบัติตามพันธกรณี และมีหน้าที่ตามท่ีกําหนดไว้ใน กฎบัตรและความตกลงต่างๆของอาเซียน รวมถึงหน้าที่การออกกฎหมายภายในเพื่อรองรับ พนั ธกรณี ทั้งนี้ ในกฎบตั รอาเซียนหมวดท่ี ๔ ข้อท่ี ๖ได้กําหนดโครงสรา้ งองคก์ ร องคป์ ระกอบ อาํ นาจหนา้ ท่ีของอาเซยี น ที่เป็นกลไกในการบริหารงานของอาเซียน สรปุ ไดต้ ามตารางนี้ โครงสร้าง บทบาท/หนา้ ท่ี ๑. ที่ ปร ะชุ ม สุด ยอ ด อา เซี ย น เป็นองค์กรสูงสุดในการกําหนดนโยบาย มีการประชุม (ASEAN Summit) ปีละ ๒ ครั้ง หนา้ ท่ี ๑.๑ เป็นผนู้ ํา กําหนดนโยบายและตัดสินใจเร่ืองสําคัญๆ ร ว ม ถึ ง ก ร ณี ที่ มี ก า ร ล ะ เ มิ ด พั น ธ ก ร ณี ต า ม ก ฎ บั ต ร อยา่ งรุนแรง ๑.๒ส่ังการให้มีการประชุมระดับรัฐมนตรีเป็นการ เฉพาะกิจ เพ่ือพิจารณาเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับเสาหลักต่างๆ มากกว่า ๑ เสา ๑.๓ ดําเนินการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่กระทบต่อ อาเซียน ๑.๔ ตัดสินข้อพิพาทระหว่างรัฐสมาชิก กรณีท่ีไม่อาจหา ข้อยุติในข้อขัดแย้งได้หรือมีการไม่ปฏิบัติตามคําตัดสิน ๕๕
ของกลไกระงับข้อพพิ าท ๑.๕ ตัง้ หรอื ยบุ องคก์ รอาเซียน ๑.๖ แต่งตั้งเลขาธกิ ารอาเซียน ๒. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการตา่ งประเทศ (ACCs : ASEAN Coordinating ของประเทศสมาชกิ อาเซยี น ทําหนา้ ท่ี Council) ๒.๑ เตรยี มการประชมุ สุดยอดผนู้ ําอาเซียน ๒.๒ ประสานงานระหว่าง ๓ เสาหลัก เพื่อความเป็น บรู ณาการในการดาํ เนินงานของอาเซียน ๒.๓ แตง่ ตงั้ รองเลขาธิการอาเซยี น ๓. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน ผู้แทนท่ีประเทศสมาชิกแต่งตั้งให้เป็นผู้รับผิดชอบในแต่ (ASEAN Community Council) ละเสาหลัก (เศรษฐกิจ การเมอื ง สงั คม/วัฒนธรรม) เพ่ือทํา หนา้ ท่ี ๓.๑ ประสานงานและติดตามการดําเนินงานตาม แนวนโยบายของผู้นําทั้งในเรื่องที่อยู่ภายใต้เสาหลักของ ตน และเรื่องทเี่ ปน็ ประเด็นทเ่ี กยี่ วข้องกับหลายเสาหลัก ๓.๒ เสนอรายงานและขอ้ เสนอแนะต่อผู้นาํ ๔. องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน จัดตง้ั โดยทีป่ ระชุมสุดยอดอาเซียนมีหนา้ ทหี่ ลกั คือ เ ฉ พ า ะ ส า ข า (ASEAN Sectoral ๔.๑ ดําเนินการตามอาณัติทมี่ อี ยแู่ ลว้ Ministerial Bodies) ๔.๒ นาํ ความตกลงและมตขิ องผู้นําไปปฏิบัติ ๔.๓ เสริมสร้างความร่วมมือเพ่ือสนับสนุนการสร้าง ประชาคมอาเซียน ๔.๔ เสนอรายงานและข้อเสนอแนะประเทศไทยกับ อาเซียนต่อคณะมนตรีประชาคมอาเซียนทเี่ หมาะสม ๔.๕ สามารถมีเจ้าหน้าที่อาวุโสหรือองค์กรย่อยเพ่ือ สนบั สนุนการทาํ งานได้ ๔.๖ ให้ข้อเสนอแนะต่อคณะมนตรี AC ๕๖
๕. สานักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN เลขาธิการอาเซียน (Secretary General of ASEAN) เป็น Secretariat) ผบู้ ริหาร มีหนา้ ที่ ๕.๑ เป็น Chief Administrative Officer ของอาเซียน ๕.๒ ติดตามการปฏิบัติตามคําตัดสินของกลไกระงับ ข้อพิพาทและรายงานตรงตอ่ ผ้นู าํ ๕.๓ สนับสนุนการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์กรของ อาเซียนกับภาคประชาสงั คม ท้ังน้ี ให้มีรองเลขาธิการอาเซียน (Deputy Secretary General) ๔ คน โดย ๒ คนจะมาจากการ หมุนเวียนตามลําดับตัวอักษรประเทศ มีวาระการดํารง ตําแหน่ง ๓ ปี และอีก ๒ คนมาจากการคัดเลือกตาม ความสามารถ มีวาระการดํารงตําแหน่ง๓ ปี และอาจ ได้รับการตอ่ อายไุ ดอ้ ีก ๑ วาระ สาํ นกั เลขาธิการอาเซยี น อาเซียนจัดตั้งสํานักเลขา ขึ้นเมือ่ วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๙ หลังการลงนามใน ข้อตกลงการจัดตัง้ สาํ นกั เลขาธิการอาเซยี นท่ีกรุงจาการ์ตา ประเทศอนิ โดนีเซยี ตอ่ มาในวันที่ ๙พฤษภาคม ๒๕๒๔ รัฐบาล อินโดนีเซียได้มอบอาคารทางตอนใต้ของกรุงจาการ์ตา เพอื่ ใชเ้ ป็นสํานักงานใหญข่ องสาํ นกั เลขาธิการอาเซยี น ๖. คณะผู้แทนถาวรประจาอาเซียน ประเทศสมาชิกจะแตง่ ต้งั ผู้แทนระดับเอกอัครราชทูตเพื่อ (Committee of Permanent ทําหน้า ที่เป็ น คณะผู้แ ทนถา วรประ จําอา เซียน ที่ Representatives (CPR) to ASEAN) กรุงจาการ์ตา ซ่ึงเป็นคนละคนกับเอกอัครราชทูตประจํา กรุงจาการต์ า กรุงจาการต์ า ทาํ หนา้ ทแี่ ทนคณะกรรมาธกิ ารอาเซยี น โดย คณะผู้แทนถาวรประจําอาเซียนจะมีบทบาทสําคัญสอง ด้าน ได้แก่ การเป็นผู้แทนของประเทศสมาชิกและ การเป็นผู้แทนของอาเซยี น มีหนา้ ท่ี ๕๗
๖.๑ สนบั สนุนคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองค์กร ความรว่ มมือเฉพาะดา้ นต่างๆ ๖.๒ ประสานงานกับสํานักเลขาธิการอาเซียน เลขาธิการ อาเซียน และสํานักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติของแต่ละ ประเทศสมาชิก ๖.๓ สง่ เสริมความรว่ มมือกับประเทศคูเ่ จรจา ๗. สานักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ ต้ังอยู่ท่ีประเทศสมาชิกแต่ละตามข้อ ๑๓ ของกฎบัตร (ASEAN National Secretariat) อาเซียน โดยมกี รมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ทํา หน้าที่ ๗.๑ ศูนย์รวมในการประสานงานกลางแห่งชาติในเร่ือง ขอ้ ตดั สนิ ใจของอาเซยี น ๗.๒ สนับสนุนภารกิจต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับอาเซียน ภายในประเทศ การเตรียมการประชุมระดับชาติของ อาเซยี น ๗.๓ มีสว่ นรว่ มในการสร้างประชาคมอาเซียน ๗.๔ เกบ็ รกั ษาขอ้ มลู ตา่ งๆ ท่ีเกีย่ วกับอาเซยี น ๘. องค์กรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน หน้าที่ (ASEAN Human Rights Body - ๘.๑ ส่งเสริมและคุม้ ครองสทิ ธิมนุษยชนในภมู ิภาค ท้ัง AHRB) ใหค้ ําปรึกษา ติดตามและประเมินสถานะสิทธิมนุษยชน ๘.๒ ตดิ ตามและประเมนิ สถานการณส์ ิทธมิ นษุ ยชนใน ภูมภิ าค ๘.๓ สง่ เสริมการศกึ ษาและการต่ืนตวั ของหนว่ ยงาน ภาครฐั และประชาชน ๙ . มู ล นิ ธิ อ า เ ซี ย น หน้าท่ีสนับสนุนเลขาธิการอาเซียนและประสานงานกับ (ASEAN Foundation) องคก์ รอ่นื ๆ ของอาเซยี น ๙.๑ เผยแพรค่ วามรู้เกีย่ วกบั อาเซยี น ๕๘
๙.๒ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและ ความรว่ มมือกบั ผู้มีส่วนได้เสยี ตา่ งๆ ของอาเซยี น ๑๐. องคก์ รท่มี คี วามสมั พนั ธก์ ับ องค์กรตา่ งๆทอี่ าเซยี นมีปฏสิ มั พันธ์ มี ๕ ประเภท ได้แก่ อาเซียน (Entities Associated with องคก์ รรฐั สภา ภาคธรุ กจิ ภาคประชาสังคม กลุ่ม think- ASEAN) tank และภาคการศกึ ษา ๑๑. คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็น ของประเทศไทย ประธาน เป็นกลไกตัดสินใจและประสานงานระดับ นโยบาย เพ่อื บรู ณาการการดําเนนิ การของหน่วยงานไทย แ ล ะ เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม เ พื่ อ ก้ า ว สู่ ก า ร เ ป็ น ป ร ะ ช า ค ม อาเ ซีย นใ นปี ๒๕ ๕๘ อ ย่า งเ ป็นเ อก ภา พแ ละ มี ประสทิ ธิภาพ โดยจะมกี ารประชมุ ทกุ ๒-๓ เดือน ปี ๒๕๕๕ กระทรวงการต่างประเทศได้จัด ประชุมหน่วยงานที่รับผิดชอบท้ัง ๓ เสาเพื่อร่วมจัดทํา แผนงานแห่งชาติสําหรับการก้าวสู่การเป็นประชาคม อาเซยี นในปี๒๕๕๘ เพอื่ เป็นแนวทางในภาพรวมสําหรับ หน่วยงานต่างๆ ในการดําเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง สาํ หรับการเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ตอ่ ไป จัดต้ังคณะอนุกรรมการว่าด้วยความเชื่อมโยง ระหวา่ งกนั ในอาเซียน เพื่อประสานงานและติดตามให้มี การดําเนินการตามแผนแม่บทว่าด้วยความเช่ือมโยง ระหว่างกันในอาเซียนท่ีสอดคล้องกับผลประโยชน์ของ ไทย ปี ๒ ๕๕๕ ได้ จัดตั้ งคณะอนุ กรรมการ ประชาสัมพันธ์ เพอื่ บรู ณาการงานการเผยแพร่ความรู้ความ เข้าใจและการสร้าง ความตระหนักรู้เร่ืองอาเซียนแก่ทุก ภาคส่วนของสังคม เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับการ ส ร้ า ง ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น แ ล ะ ส า ม า ร ถ ใ ช้ โ อ ก า ส จ า ก ๕๙
ประชาคมอาเซียนไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี ๑๒.คณะกรรมการ/อนุกรรมการ โดยหนว่ ยงานท่ีเป็นผ้ปู ระสานงานหลกั ของแต่ละเสาเป็น สาหรับการดาเนินการตามแผนงาน ประธาน การจัดตั้งประชาคมอาเซียนในแต่ละ เสาของประเทศไทย ๖๐
๕บทท่ี การประชุม ก.พ. อาเซยี น The ASEAN Conferences on Civil Service Matters (ACCSM) ๖๑
บทท่ี ๕ การประชุม ก.พ. อาเซียน The ASEAN Conferences on Civil Service Matters (ACCSM) การประชุม ก.พ. อาเซียนเป็นหนึ่งในกลไกที่ใช้บริหารองค์กรอาเซียนเพ่ือสร้าง ความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างหน่วยงานราชการในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเน้น ความร่วมมือด้านราชการ รวมถึงระบบข้าราชการ ระบบการบริหารและการจัดการภาครัฐ (public administration and management systems) และเป็นการร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่าง หน่วยราชการในกลมุ่ ประเทศสมาชกิ อาเซียนเพ่อื รับมอื กบั ความทา้ ทายตา่ งๆ ทเี่ กิดขน้ึ ความเป็นมา การประชุม ก.พ. อาเซยี น (ASEAN Conference on Civil Service Matter ” ACCSM) ถอื เปน็ กจิ กรรมหนึ่งของ ASEAN โดยการประชุมครั้งแรกจัดที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ใน เดือนกรกฎาคม ๒๕๒๔ เดิมชื่อ ASEAN Conference on Reforms in the Civil Service (ACRCS) ต่อมาในปี ๑๙๘๗จงึ เปลีย่ นชอื่ เป็น ASEAN Conferences on Civil Service Matters (ACCSM) การจัดประชุม ก.พ. อาเซียนครั้งแรกนี้ ประกอบด้วย ๕ ประเทศ ได้แก่ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และไทย โดยมีวัตถุประสงค์ท่ีจะสร้างความสัมพันธ์ท่ีต่อเนื่องใน ระดบั ผู้บริหารระดบั สงู ของ ก.พ. รวมถงึ ผูบ้ ริหารขององค์กรทใ่ี ห้การบริการประชาชน ผูอ้ ํานวยการ องค์การบริหารการศึกษาและศูนย์ฝึกอบรมของประเทศในกลุ่มอาเซียน ท้ังน้ี เพ่ือเป็น การเสริมสร้างความร่วมมือในการปรับปรุงระบบราชการในแต่ละประเทศ ซึ่งทุกประเทศใน กลมุ่ สมาชกิ อาเซียนได้ตกลงทีจ่ ะหมนุ เวียนกันเป็นเจ้าภาพตามลําดับตัวอักษรช่ือประเทศ (ยกเว้น ในช่วงปีแรกๆ ทีม่ ีการเริ่มตน้ ) ๖๒
เจ้าภาพในการจดั ประชมุ ก.พ. อาเซียน การประชุมใหญ่ ACCSM จะประชุมคราวละ ๒ ปี ประเทศสมาชิกมี การหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพ เรียงตามลําดับตัวอักษรชื่อประเทศ (ยกเว้นในช่วงปีแรกๆ ที่มี การเร่ิมตน้ ) สาํ หรับหวั ข้อในการประชมุ เจ้าภาพจะเป็นผู้กําหนดหวั ขอ้ สรุปได้ดงั นี้ ท่ี ประเทศเจ้าภาพ ชว่ งเวลาจัดการประชมุ หัวข้อการประชมุ 1. Philippines 27 ” 31 July 1981 Streamlining the Civil Service for Developments 2. Malaysia 22 ” 26 August 1983 Towards Improving the Productivity of Civil Service 3. Thailand 13 ” 17 May 1985 Trends in Civil Service Reform in ASEAN Countries 4. Singapore 27 ” 31 July 1987 Productivity Challenges for the ASEAN Civil Service in the 21st Century 5. Indonesia 4 ” 9 September 1989 Human Resource Development and its Impact on the Improvement of Public Service in ASEAN 6. Brunei 9”13 September 1991 The Role of the Civil Service in Meeting the Darussalam Challenges of the Year 2000 and Beyond 7. Malaysia 4 ” 8 October 1993 Challenges for Innovation in the Civil Service 8. Philippines 22 ” 26 January 1995 Preparing the Civil Service for the 21st Century: The ASEAN Response 9. Singapore 30 June ” 4 July 1997 Strengthening ASEAN Cooperation on Civil Service Matters in the ASEAN organizational Structure 10. Thailand 22”26November 1999 Good Governance: A Challenge for Economic Revitalization and Democracy Development 11. Vietnam 16 ” 18 October 2001 ASEAN Services for Dynamic and Sustainable Development ๖๓
ท่ี ประเทศเจา้ ภาพ ช่วงเวลาจัดการประชมุ หัวขอ้ การประชมุ 12. Brunei 1 ” 13 October 2003 E-Government: An Opportunity for National Darussalam Development and Public sector Modernization 13. Cambodia 20 ” 22 December Human Resource Management in Public Service as 2005 Strategic Partner in National Development: New Paradigm for ASEAN Context 14. Indonesia 29 ” 31 October 2007 Developing Corporate Culture in Public Service towards ASEAN Community 15 Lao PDR 28-30 October 2009 Public Sector Capacity Development : Towards Improved Service Delivery 16 Malaysia 11-12 April 2011 Transforming the Public Sector for Enhanced Performance อน่ึง นบั ต้ังแต่มีการจัดตั้ง ACCSM สํานักงาน ก.พ. เปน็ เจา้ ภาพมาแล้ว ๒ คร้ัง คอื ในปี ๑๙๘๕ และ ๑๙๙๗ สว่ นในปที ่ปี ระเทศอื่นเปน็ เจ้าภาพ สาํ นักงาน ก.พ. จะไดร้ ับเชญิ ใหเ้ ขา้ รว่ มการประชุม ACCSM ทุกครง้ั เพือ่ ใหข้ อ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการประชมุ รวมทงั้ ให้ นาํ เสนอ Country paper และ Technical paper ในการประชมุ แตล่ ะครง้ั ด้วย วัตถุประสงค์ของการประชมุ ก.พ. อาเซยี น ๑) เพ่อื เปน็ การเปดิ เวทแี ลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และประสบการณใ์ นการดําเนนิ การ ปรบั ปรงุ ระบบราชการ รวมท้งั เสนอแนวทางการใหก้ ารศกึ ษาทางด้านการบริหารและการฝึกอบรม ๒) เพ่ือเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ในการดําเนินโครงการ พฒั นาระบบราชการในแตล่ ะประเทศ ๓) เพื่อเปน็ การทบทวนแผนการปฏิบตั ิการของโครงการความรว่ มมอื ใน การปรบั ปรุงระบบราชการในกลุ่มประเทศอาเซยี นใหท้ นั สมยั ๖๔
๔) เพ่ือเป็นการส่งเสรมิ ความร่วมมือในกลุ่มประเทศสมาชิกใหม้ ากขนึ้ โดยเฉพาะใน ด้านการบริหารและการจดั การ ๕) เพื่อความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างหน่วยงานราชการในกลุ่มประเทศ สมาชิกอาเซียนเพื่อรับมือกับความท้าทายต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากความก้าวหน้าทาง วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทบาทของ ACCSM ตอ่ การสง่ เสริมประสทิ ธภิ าพราชการพลเรอื น ACCSM มีบทบาทหลักในการแสวงหาแนวทางเพ่ือการพัฒนาระบบราชการใน กลมุ่ ประเทศสมาชิกใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ ศักยภาพ มีความรับผิดชอบและสามารถตรวจสอบได้ โดย ดาํ เนนิ การในรูปแบบต่างๆ ดังนี้ การเสรมิ สร้างกลไกในการพัฒนาเครือข่าย การเรยี นรู้รว่ มกัน และการแลกเปลีย่ น ประสบการณร์ ะหว่างประเทศสมาชกิ ใหม้ ีความเข้มแขง็ ยงิ่ ข้ึน การสง่ เสริมและสนับสนุนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ Best Practices และ นวตั กรรมใหม่ๆ ด้านการบริหารงานภาครัฐ โดยการพฒั นาบทบาทของ ASEAN ศนู ยข์ ้อมลู การพัฒนา (ASEAN Resource Centers) เฉพาะด้าน ตามความเชี่ยวชาญ ของประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ สําหรับประเทศไทยได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบด้าน Leadership Development การจัดตั้งโครงการสนับสนุนต่างๆ เพื่อช่วยให้เหลือประเทศสมาชิกให้มี การพัฒนาระบบงานราชการให้มีความทันสมัยยิ่งขึ้น เช่น โครงการ Initiatives for ASEAN Integration (IAI Project) เปน็ ต้น ๖๕
รูปแบบการประชมุ ACCSM ประเทศสมาชิกแต่ละประเทศจะมีรับผิดชอบในการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ๓ ครัง้ ในชว่ งเวลา ๓ ปี โดยผลัดกันเป็นเจ้าภาพตามลาํ ดับตัวอักษรชื่อประเทศ โดยจดั ประชุมดงั น้ี รปู แบบเดิม รูปแบบใหม่ Preparatory Meeting เป็นการประชุมเพ่ือตกลง Preparatory Meeting เป็นการประชุมเพื่อตกลง เตรยี มการสําหรบั ประเด็นความรว่ มมอื โดย เตรยี มการสําหรับประเดน็ ความรว่ มมือ โดย ความรว่ มมือซ่ึงจะมีขึ้นในช่วง ๒ ปี โดยจะจัด ความรว่ มมือซึ่งจะมีขึ้นในช่วง ๒ ปี โดยจะจัด ประมาณเดอื นมนี าคม-เมษายน ประมาณเดอื นมีนาคม-เมษายน สําหรับปี ๒๕๕๖ จะจัดที่เมืองย่างกุ้ง พม่า ในเดอื นมีนาคม The ASEAN Conference on Civil Service Senior Officials Meeting Matters (ACCSM) เป็นการประชุมใหญ่ สําหรับปี ๒๕๕๖ จะจัดที่เมืองย่างกุ้ง พม่า มีการเสนอผลงานที่เป็น Best Practice ของ ในเดือนตุลาคม แต่ละประเทศในเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับประเด็น ความร่วมมือที่ตกลงกันในการประชุม จดั ข้ึนในชว่ งปลายปขี องปที ่ี ๑ เดอื นตุลาคม Technical Meeting เป็นการประชุมเพื่อนําเสนอ The ASEAN Conference on Civil Service ผลงานทางวิชาการของแต่ละประเทศ จัดขึ้น Matters (ACCSM) เป็นการประชุมใหญ่ ในช่วงปลายปีของปีท่ี ๒ ประมาณเดอื นตุลาคม มีการเสนอผลงานที่เป็น Best Practice ของแต่ ละประเทศ กําหนดจัดในเดือนตุลาคม โดยมี การประชมุ อน่ื ๆ รว่ มดว้ ย ไดแ้ ก่ การประชุมหัวหน้าคณะ ASEAN Heads of Civil Services การประชุม ASEAN+๓Heads of Civil Services Forum on Good Governance ๖๖
สานกั งาน ก.พ. กบั การประชมุ ก.พ. อาเซียน (ACCSM) นับตั้งแต่มีการจัดตั้ง ACCSM สํานักงาน ก.พ. เป็นเจ้าภาพมาแล้ว ๒ ครั้ง คือ ในปี ๑๙๘๕ และ ๑๙๙๗ สว่ นในปีท่ีประเทศอ่ืนเป็นเจ้าภาพ สาํ นกั งาน ก.พ. จะได้รับเชิญให้เขา้ รว่ ม การประชุม ACCSM ทุกคร้ัง เพื่อให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประชุม และใน การประชุมแต่ละคร้งั นัน้ ทกุ ประเทศท่เี ข้าร่วมประชมุ ตอ้ งรายงานความกา้ วหน้าของการดาํ เนนิ งาน ภายใต้ศูนย์ข้อมูลการพัฒนาเฉพาะด้าน (ASEAN Resource Center ”ARC) ตามมติที่ประชุม ACCSM คร้ังท่ี ๘ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ณ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล งานวิจัยและประสบการณ์ด้านการบริหารท่ีเป็น Best Practices ของแต่ละประเทศ และเพื่อเป็น การกระชับความร่วมมือระหว่างกันและกันและความสัมพันธ์ที่ยั่งยืนในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ความเป็นมาของศูนย์ข้อมูลการพัฒนาเฉพาะด้าน ASEAN Resource Center (ARC) การประชุม ก.พ. อาเซียนครั้งท่ี ๕ และคร้ังท่ี ๖ ที่ประเทศอินโดนีเซียและบรูไน ผู้แทนสํานกั งาน ก.พ. คอื นายธรี ยุทธ์ หลอ่ เลิศรตั น์ ผู้อํานวยการสถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สํานักงาน ก.พ. ในขณะนั้น ได้เสนอโครงการสัมมนาเรื่อง ASEAN Senior Executive Seminar (โครงการสัมมนานักบริหารระดับสูงของประเทศอาเซียน) ต่อที่ประชุม ก.พ. อาเซียน ซ่ึงในที่ ประชมุ ก.พ. อาเซียนได้พิจารณาและเห็นชอบใหด้ าํ เนนิ การจดั ประชุมสมั มนาเร่อื ง ASEAN Senior Executive Seminar ได้ แต่เนื่องจากโครงการดังกล่าวได้ขอเงินทุนสนับสนุนจากองค์การระหว่าง ประเทศ เมื่อไมไ่ ดร้ ับการสนบั สนุนดา้ นการเงนิ จงึ ไมส่ ามารถดาํ เนินการได้ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว ซ่ึง หากประสงคจ์ ะดาํ เนินการในครัง้ ตอ่ ไป จะต้องนาํ เสนอที่ประชุม ก.พ. อาเซียนให้พิจารณาใหม่อีก ครง้ั หนง่ึ ๖๗
การประชุม ก.พ. อาเซยี น ครัง้ ที่ ๗ ณ กรงุ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ในการประชุมคร้ังนี้ ได้อาศัยแนวคิดดังกล่าวข้างต้น มาดําเนินการปรับปรุง เปล่ียนแปลงโครงการสัมมนานักบรหิ ารของประเทศอาเซียนใหม่ โดยเฉพาะอย่างย่ิง หลักการและ เหตผุ ล วัตถุประสงค์ และหลักสตู รการสัมมนา โดยมรี ายละเอียดของการเปลย่ี นแปลง ดังน้ี ๑) หลักการและเหตุผล ไดก้ าํ หนดหลักการและเหตุผลใหม่ ดงั นี้ หลกั การและเหตุผลเดมิ หลกั การและเหตุผลใหม่ เหตุผล ความเปลี่ยนแปลงอย่าง ในทศวรรษท่ผี า่ นมาไดม้ กี ารเปลี่ยนแปลง เดิ ม เ น้ น พัฒ น า ก า ร ร ว ด เ ร็ ว ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ใ น อย่างรวดเร็วทั้งในอาเซียนและที่อ่ืนทั่วโลก จัดการในภาครัฐให้ อาเซียนและที่อื่นๆ ได้มี ซง่ึ มีผลกระทบต่อระบบราชการเปน็ อยา่ งยิ่ง เป็นกลไกสําคัญใน ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ร ะ บ บ การเปล่ียนแปลงทั้งทางด้านการพัฒนา การพัฒนาเศรษฐกิจ ข้าราชการ ซ่ึงเป็นกลไก ทางเศรษฐกิจ การศึกษาและเทคโนโลยีคงมี สังคมและการเมือง แต่ สําคัญของทุกรัฐบาลของ อยตู่ อ่ ไปอีกหลายปี ระบบราชการเป็นกลไก เมื่อสถานการณ์ต่างๆ ประเทศอาเซยี นต่อการนํา สําคญั ในการนํานโยบายทางเศรษฐกิจ สังคม เปล่ียนไปคือโลกเข้าสู่ นโยบายและกลยุทธ์ทาง และการเมืองและกลยุทธ์ของรัฐบาลไปสู่ ยุคที่ส่ิงแวดล้อมต่างๆ การเมืองเศรษฐกิจและ การปฏิบัติ ดังน้ัน โครงสร้างและระบบ เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง อ ย่ า ง สั ง ค ม ไ ป ป ฏิ บั ติ ส่ิ ง ท่ี ราชการต้องเผชิญกับความเปล่ียนแปลง รวดเร็ว ระบบราชการ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น คื อ เหลา่ น้ี เช่น ต้องสนองตอบ ต้องรวดเร็วและ ก็ต้องปรับตัวรวดเร็ว การพัฒนาการจัดการใน ต้องมีประสิทธิภาพในหลายทศวรรษท่ีผ่าน ใ ห้ ทั น กั บ ภาครัฐจะเป็นทิศทางที่ มา ข้าราชการยินดีที่จะให้บริการเฉพาะกลุ่ม ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง สําคัญในกระบวนการ คนรวยหรือคนท่ีคุ้นเคยกันข้าราชการจะยึด เ ช่ น เ ดี ย ว กั น แ ล ะ สร้างความเจริญให้แก่ กฎ ระเบียบ แม้ว่ารัฐบาลจะพยายามปฏิรูป ส า ม า ร ถ เ ป็ น ก ล ไ ก ประเทศในอาเซยี น โครงสรา้ งราชการและปรับลดขนาดกําลงั คน สํ า คั ญ ใ น ก า ร นํ า การสัมมนา ASEAN เพื่อให้การทํางานดีข้ึน แต่ก็ต้องแสวงหา นโยบายทางเศรษฐกิจ Seminar Management มี วธิ ีการอ่ืนควบค่กู ันไปด้วย สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร เ มื อ ง ความต้ังใจให้นักบริหาร ดังนั้น สํานักงาน ก.พ. ซึ่งมีหน้าท่ี ไ ป สู่ ก า ร ป ฏิ บั ติ ระดับสูงได้มาร่วมกั น ประสานและดําเนินการพัฒนาข้าราชการ นอกจากน้นั โลกไดเ้ ขา้ ๖๘
ประเมินวิธีการบริหาร พ ล เ รื อ น จึ ง ดํ า เ นิ น ก า ร สั ม ม น า เ รื่ อ ง สู่ ยุ ค ที่ ย อ ม รั บ ว่ า ราชการในปัจจุบัน และ โลกาภิวัตน์สําหรับผู้บริหารระดับสูงใน ป ร ะ ช า ช น ห รื อ เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร วิ จั ย เ ชิ ง อาเซียน(Globalization for ASEAN Senior ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เ ป็ น ป ฏิ บั ติ ก า ร (Action Executive Seminar) เพื่อแลกเปล่ียนความ เป้าหมายสําคัญของ Research) เป็นเคร่ืองมือ คิดเห็น ประสบการณ์และหาวิธีแก้ปัญหาท่ี ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร สําหรับการเปลี่ยนแปลง เผชิญอยู่ เป็นที่เชื่อว่าผลการสัมมนา จะช่วย การบริหารราชการจึง จึ ง ไ ด้ นํ า เ ท ค โ น โ ล ยี กระตุ้นให้ผู้เข้าสัมมนาจะปฏิรูประบบ ต้องมีการปฏิรูปเพ่ือให้ การจดั การใหม่ๆ ไปใช้ใน ราชการและระบบขา้ ราชการใหส้ อดคลอ้ งกบั ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ การพัฒนาประเทศและการให้บริการท่ีดี ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ประเมินผลงาน ย่งิ ขึ้น ผรู้ ับบรกิ ารดีขึ้น ๒) วัตถุประสงค์ ไดก้ ําหนดวัตถุประสงคใ์ นการสมั มนาใหม่ ดงั นี้ วตั ถุประสงค์เดมิ วตั ถปุ ระสงค์ใหม่ เหตุผล ๑) เพื่อให้ผู้บริหาร ๑) เพ่อื ให้ผู้บริหารระดบั สงู ได้ตระหนัก เ ดิ ม มุ่ ง ใ ห้ ผู้ บ ริ ห า ร ไ ด้ ระดับสูงได้ตระหนักถึง ถึงความเปน็ สากล(Internationalization) แลกเปล่ียนประสบการณ์ ป ร ะ เ ด็ น ท่ี เ ก่ี ย ว กั บ การกระจายอํานาจ (Decentralization) การบริหาร ทักษะการนํา การพัฒนาการจัดการโดย ก า ร ใ ห้ เ อ ก ช น รั บ ง า น ภ า ค รั ฐ ไ ป ผ ล ก า ร วิ จั ย ม า ใ ช้ ใ น แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ดาํ เนินการ (Privatization) การลดขนาด ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ร ะ บ บ และขอ้ มลู กําลังคน(Downsizing) การให้บริการท่ี ราชการเน้นความร่วมมือ ๒) เพ่ือส่งเสริมทักษะ มีคุณภาพในภาครัฐ (Quality Service in ระหว่างนักบริหารในภมู ภิ าค การจัดการในการวิจัยเชิง Public Sector) ใ ห ม่ ไ ด้ ข ย า ย ข อ บ เ ข ต ปฏิบัติการในแง่ที่ใช้เป็น ๒)เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือด้าน วิสัยทัศน์และประสบการณ์ พ้ืนฐานสําหรับการจัดทํา เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองระหว่าง ไปสแู่ นวโน้มใหม่ คือ ความ แผนปฏิบตั ิการโครงการ ประเทศกลุ่มอาเซียน เปน็ สากล การกระจายอํานาจ ปรบั ปรงุ การจดั การ ๓) เพ่ือเพิ่มพูนทักษะด้านการบริการ ให้เอกชนรับงานภาครัฐไป ๓) เพื่อส่งเสริมเครือข่าย และสามารถนําไปใช้พัฒนาประเทศ ดําเนนิ การ ลดขนาดกําลังคน ในภมู ิภาค ของตนเองได้ ใหบ้ ริการท่ีมีคณุ ภาพ ๖๙
๓) ปรับปรุงกจิ กรรมหรอื หลกั สูตรการสัมมนาใหม่ ดงั น้ี กิจกรรมการสัมมนาเดมิ หลักสูตรการสมั มนาใหม่ เหตผุ ล โครงการนี้ดําเนนิ การเป็น เรื่องท่ีน่าสนใจ เช่น ความเป็นสากล กา ร ป ระ ส บ ปั ญห า ด้ า น ๔ ระยะ ใน ๑๕ เดือน ดังนี้ (Internationalization) การกระจาย การเงินในการจัดสัมมนา (๑) ระยะเตรยี มการ ออกแบบ อํา น า จ (Decentralization) ก า ร ใ ห้ ทาํ ให้ตอ้ งปรับลดระยะเวลา การฝกึ อบรมและการวิจัยเชิง เอกชนรับงานภาครัฐไปดําเนินการ ลงและปรับหลักสูตรให้ ปฏิบัติการ เลือกที่ปรึกษา (Privatization) การลดขนาดกําลังคน สอดคล้องกับหลักการและ ผู้ เ ข้ า สั ม ม น า แ ล ะ ทํ า (Downsizing) และการให้บริการที่มี เ ห ตุ ผ ล ต ล อ ด จ น กําหนดการ ๓ เดอื น คุณภาพในภาครัฐ (Quality Service วตั ถปุ ระสงคก์ ารสัมมนา (๒) จดั สัมมนา มีผู้เข้ารว่ ม in Public Sector) สัมมนา ๑๘ คน ประเทศละ - เร่ืองอื่นๆได้แก่เร่ืองอาเซียนและ ๓ คนระยะเวลา ๒ สัปดาห์ สถานการณ์ของโลก บทบาทของ (๓) ดําเนินการวิจัยเชิง รัฐบาลและราชการและแนวโน้มของ ปฏิบัติการโดยทีมงานของ ระบบราชการในประเทศอาเซียนใน แต่ละประเทศ ระยะเวลา ๖ ๕ ปี ขา้ งหน้า เดอื น ๔) เปลย่ี นแปลงชอ่ื โครงการ ดังนี้ ช่ือโครงการเดมิ ชื่อโครงการใหม่ เหตุผล ASEAN Senior Globalization for ASEAN เพือ่ ให้สอดคลอ้ งกบั หลักการ Executive Seminar Senior Executive Seminar และเหตผุ ลและวัตถุประสงค์ ทป่ี ระชุม ก.พ. อาเซยี น ครง้ั ท่ี ๗ ประเทศมาเลเซีย ได้พิจารณาแล้วมีมติเห็นชอบและ ให้ดําเนินการต่อไปได้ แต่ เน่ืองจากไม่ได้รับเงินทุนจากองค์การระหว่างประเทศ จึงไม่สามารถ จดั การสัมมนาตามโครงการนไี้ ด้ ๗๐
การประชุม ก.พ. อาเซยี น ครัง้ ที่ ๘ ณ ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ ไดป้ รบั ปรุงเปลยี่ นแปลงโครงการสมั มนานกั บริหารใหม่ ดังนี้ ๑) หลกั การและเหตุผล ไดก้ าํ หนดหลกั การและเหตผุ ลดงั น้ี หลักการและเหตผุ ลเดมิ หลกั การและเหตุผลใหม่ เหตผุ ล ระบบราชการต้องเผชิญกับ ในยุคโลกาภิวัตน์ โลกเปล่ียนแปลง ระบบราชการที่ปรับตัว ความเปลีย่ นแปลง เช่น ต้อง อย่างรวดเร็วและระบบเศรษฐกิจท่ี ให้กับการเปล่ียนแปลง สนองตอบต้องรวดเร็วและ ผสมผสานเป็นสากล ข้าราชการและ อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องมีประสิทธิภาพ ที่ผ่าน ผนู้ าํ ในภาครัฐ ต้องมีลักษณะที่แตกต่าง และตอบสนองความ มา ข้าราชการยนิ ดใี หบ้ รกิ าร ไ ป จ า ก ใ น อ ดี ต ภ า ค รั ฐ ต้ อ ง ก า ร ตอ้ งการของผู้รับบริการ เฉพาะกลมุ่ คนรวยหรือคนที่ ข้าราชการและผู้นําในรูปแบบใหม่ ซึ่ง ได้อยา่ งดีน้นั เริ่มไมเ่ ปน็ คุ้นเคยกัน ข้าราชการยึดกฎ การจะให้ได้มาซึ่งข้าราชการและผู้นํา การเพียงพอเน่ืองจาก ระเบียบ แม้ว่ารัฐบาลจะ ในรูปแบบใหม่น้นั จะกระทาํ โดยระบบ ยุคโลกาภิวัตน์ท่ีเป็น พยายามปฏิรูปโครงสร้าง การคัดเลือกและสรรหาอย่างปัจจุบัน ส า ก ล เ ป็ น ผ ล ใ ห้ ราชการและปรับลดขนาด ไม่ได้ แต่จะต้องดําเนินการในเชิงรุก การ แข่ง ขัน ระห ว่า ง กําลงั คนเพ่ือให้การทํางานดี แทนท่ีจะน่ังอยู่ในสํานักงานคอยให้มี ประเทศอยู่ในระดับสูง ขึ้น แต่กต็ อ้ งแสวงหาวิธีการ ผู้สมัครเข้ารับราชการ ก็ต้องออกไป ร า ช ก า ร ต้ อ ง ก า ร อน่ื ควบคู่กนั ไปดว้ ย สรรหาและคัดเลือกบุคคลที่ดีท่ีสุดใน ผู้บริหารที่มีคุณภาพสูง ดังนั้น สํานักงาน ก.พ. ซึ่ง ตลาดแรงงาน เมื่อได้ข้าราชการที่มี เ พ่ื อ รั บ มื อ กั บ ค ว า ม มี ห น้ า ท่ี ป ร ะ ส า น แ ล ะ คุณภาพสูงแล้ว ต้องรักษาไว้ให้อยู่ใน เปล่ียนแปลงทั้งหลาย ดําเนินการพัฒนาข้าราชการ ระบบราชการ ซึ่งอาจกระทําโดยให้ ไ ด ้ต้ อ ง มี ก า ร ส ร้ า ง พลเรื อน จึ งดําเ นินกา ร ค่าตอบแทนและประโยชน์เก้ือกูลท่ีดี ระบบสรรหารักษาและ สัมมนาเร่ืองโลกาภิวัตน์ ให้งานที่ท้าทายและให้หลักประกันว่า พฒั นานักบรหิ ารเพื่อให้ สาํ หรับผู้บรหิ ารระดับสูงใน จะมีโอกาสก้าวหน้าในสายอาชีพไปสู่ มีนักบริหารท่ีมีคุณภาพ อาเซียน (Globalization for ระดับสูงสุดเท่าท่ีจะก้าวหน้าไปได้ อยู่ในองค์การท้ังใน ASEAN Senior Executive สํานักงาน ก.พ. ซ่ึงรับผิดชอบใน ปจั จุบันและในอนาคต Seminar) เพื่อแลกเปลี่ยน การประสานงานและดําเนินการพัฒนา ๗๑
ความคิดเห็น ประสบการณ์ ข้าราชการ จึงจําเป็นท่ีจะจัดสัมมนา และหาวิธีแก้ปัญหาท่ีเผชิญ เร่ืองนักบริหารยุคใหม่ (New Wave อ ยู่ เ ป็ น ท่ี เ ชื่ อ ว่ า ผ ล ก า ร Leaders) เพื่อหาข้อสรุปว่า จะมีวิธีการ สัมมนา จะช่วยกระตุ้นให้ สรรหา คัดเลือกคนท่ีดีท่ีสุดเข้าสู่ระบบ ผู้เข้าสัมมนาปฏิรูประบบ ราชการได้อย่างไร จะรักษาเขาไว้ได้ ร า ช ก า ร แ ล ะ ร ะ บ บ อยา่ งไร ความกา้ วหน้าในสายอาชพี ควร ข้าราชการให้สอดคล้องกับ จะเป็นอย่างไร และพัฒนาอย่างไร การพัฒนาประเทศและ เพ่ือให้เขาก้าวหน้าในสายอาชีพและ การใหบ้ รกิ ารที่ดยี ิ่งขึ้น เปน็ ผ้นู าํ ทีด่ ีในอนาคต ๒ ) วตั ถปุ ระสงค์ ได้กาํ หนดวตั ถุประสงคใ์ นการสัมมนาใหม่ ดังนี้ วัตถปุ ระสงค์เดมิ วัตถุประสงคใ์ หม่ เหตุผล ๑) เพื่อให้ผบู้ ริหารระดบั สงู ๑) เพ่ือให้นักบริหารระดับสูงได้ วัตถุประสงค์เปล่ียนจากเดิมที่ ได้ตระหนักถึงความเป็ น ตระหนักว่า ในยุคปัจจุบันนี้ เป็น ใ ห้ นั ก บ ริ ห า ร ต ร ะ ห นั ก ถึ ง สากล การกระจายอํานาจ ความสําคัญอย่างย่ิงท่ีข้าราชการ แ น ว โ น้ ม ใ ห ม่ ข อ ง โ ล ก การให้เอกชนรับงานภาครัฐ ต้องมลี กั ษณะแตกต่างจากเดมิ การส่งเสริมความร่วมมือ และ ไปดําเนินการ การลดขนาด ๒) เพื่อแสวงหาแนวทางใน เพ่ิมทักษะด้วยการบริการ เป็น กําลังคน และการให้บริการท่ี ก า ร ป รั บ ป รุ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร วัตถุประสงค์ที่ให้นักบริหาร มีคณุ ภาพในภาครฐั คัดเลือกและสรรหา รวมทั้งเพื่อ ตระหนักว่า รูปแบบนักบริหาร ๒) เพือ่ ส่งเสริมความร่วมมือ แสวงหาเทคโนโลยีสมัยใหม่มา แบบเดิมได้เปลี่ยนแปลงไป ด้านเศรษฐกจิ สังคมและ ใชใ้ นกระบวนการนี้ไดอ้ ย่างไร นักบริหารต้องมีคณุ ภาพสูงท่ีจะ การเมืองระหว่างประเทศ ๓) เพ่ือแลกเปล่ียนวิสัยทัศน์ รับมือกบั สถานการณ์ตา่ งๆ ได้ กลุ่มอาเซยี น แนวความคิดและประสบการณ์ รวมทั้งต้องหาแนวทางใ น ๓) เพอ่ื เพ่มิ พนู ทกั ษะด้าน เกี่ยวกับวิธีการรักษาข้าราชการ การเตรียมและรักษานักบริหาร การบริการและสามารถนํา และวิธีการเตรียมข้าราชการให้ ให้มีคุณภาพ ให้อยู่ในระบบ ไปใช้พัฒนาประเทศของ เปน็ ผูน้ าํ ทม่ี ีความสามารถในยุคท่ี ราชการ ตนเองได้ โลกกาํ ลังมคี วามเปลย่ี นแปลง ๗๒
๓) ปรบั ปรุงกจิ กรรมหรอื หลกั สตู รการสมั มนาใหม่ ดงั น้ี กิจกรรมการสมั มนาเดิม หลักสูตรการสมั มนาใหม่ เหตผุ ล - เร่ืองที่น่าสนใจ ได้แก่ ความเป็น กําหนดให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ เ พ่ื อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ สากล การกระจายอํานาจ การให้ เตรยี มการท่ีจะอภิปรายในเร่ือง หลักการ และเหตุผลและ เอกชนรับงานภาครัฐไป ดาํ เนินการ ห ลั ก ใ น ส่ ว น ท่ี เ กี่ ย ว กั บ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง การลดขนาดกําลังคน การให้บริการ นกั บรหิ าร รวม ๔ เร่อื ง คือ การสมั มนา ที่ มี คุ ณ ภ า พ ใ น ภ า ค รั ฐ (Quality (๑) การสรรหาและการ Service in Public Sector) คดั เลอื ก - เร่ืองอื่นๆ ได้แก่เรื่องอาเซียนและ (๒) !การรักษาไว้ สถานการณ์ของโลก บทบาทของ (๓) ความก้าวหน้าในการรับ รัฐบาลและราชการ และแนวโน้ม ราชการ ของ ระ บบร าช การ ใน ประ เท ศ (๔) การพฒั นานกั บรหิ าร อาเซียนใน ๕ ปขี า้ งหนา้ ๔) เปลยี่ นแปลงช่ือโครงการ ดังนี้ ชือ่ โครงการเดิม ช่อื โครงการใหม่ เหตผุ ล Globalization for ASEAN New Wave Leaders เพ่ือให้สอดคล้องกบั หลักการ Senior Executive Seminar และเหตผุ ลและวตั ถุประสงค์ ในการประชุม Pre-Conference Technical Working Group ที่เมือง Tagaytay ประเทศฟิลิปปนิ ส์ ในระหว่างวันที่ ๓-๖ ธันวาคม ๒๕๓๗ ไดร้ ่วมพิจารณาโครงการท่ีนําเสนอแล้ว เห็นชอบให้บรรจุไว้ในแผน ๕ ปี ของ ก.พ. อาเซียน และโดยที่ประเทศไทยได้ผลักดันในเร่ือง นักบริหารหรือผู้นํา มาเป็นเวลานาน จึงได้เสนอให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางข้อมูล ASEAN Resource Center ดา้ นการพัฒนาผู้นํา ๗๓
ASEAN Resource Center ทางดา้ น Leadership Development ต่อมาทปี่ ระชุม ก.พ. อาเซียน ครงั้ ที่ ๘ ณ กรงุ มะนิลา ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ ไดพ้ ิจารณา ขอ้ เสนอแล้ว เห็นชอบให้ดําเนินการตามโครงการน้ีได้ แต่แทนท่ีจะให้อยู่ในแผน ๕ ปี ของ ก.พ. อาเซยี น เหน็ ควรให้ปรบั เป็นแผน ๖ ปี เพอ่ื สะดวกในการตดิ ตามและประเมินผล นอกจากนี้ ทป่ี ระชุมได้กําหนดใหป้ ระเทศต่างๆ เป็นศูนย์กลาง ARC ดา้ นต่างๆ ดงั นี้ บรไู นเปน็ ศูนย์กลางขอ้ มลู ทางดา้ น Management New Technologies อินโดนีเซียเป็นศูนยก์ ลางขอ้ มูลทางดา้ น Information Exchange มาเลเซยี เปน็ ศนู ย์กลางขอ้ มูลทางดา้ น Case Study ฟลิ ปิ ปินสเ์ ป็นศูนย์กลางขอ้ มลู ทางด้าน Examination and Testing สิงคโปร์เป็นศูนยก์ ลางขอ้ มลู ทางด้าน Management Innovation ประเทศไทยเปน็ ศนู ยก์ ลางข้อมลู ทางด้าน Leadership Development การจัดการสัมมนาตามแผนของ ก.พ. อาเซียนแม้ว่าโครงการ New Wave Leaders ไดร้ บั การเห็นชอบจากที่ประชุม ก.พ.อาเซยี น ครั้งท่ี ๘ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์แล้ว แต่จาก แนวคดิ เร่ืองการเปลี่ยนแปลงดังท่ีไดก้ ลา่ วแล้วขา้ งตน้ เม่ือได้รับงบประมาณท่ีจะดํา เนินการประชุม ในระหว่างวันท่ี ๒๓-๒๘ สิงหาคม ๒๕๓๙ ก็ได้ปรบั ปรงุ โครงการนใี้ ห้ดีขนึ้ หลายประการ กลา่ วคือ ๑) กาํ หนดหัวขอ้ สัมมนาให้แคบลง เปน็ เรือ่ ง New Wave Leaders for ASEAN in the Next Decade ทั้งน้ี การกาํ หนดเวลาเพียง 10 ปี จะทาํ ให้สามารถคาดการณ์ได้ ๒) ปรับปรงุ วัตถุประสงค์ของการสัมมนาใหม่ แตก่ ็ยงั ใชห้ ลักการเดิม ทั้งนี้ เพือ่ ต้องการท่ีจะผลการสัมมนาชัดเจนและสามารถนําไปใช้ได้ โดยได้ปรับปรุงวัตถุประสงค์ของ การสัมมนาใหม่ ดังนี้ (๒.๑) เพอ่ื กาํ หนดรปู แบบ (Model) รว่ มของผู้นํา ยคุ ใหม่ทพี่ งึ ปรารถนาในยคุ ของ ความเปลย่ี นแปลง (๒.๒) เพือ่ กาํ หนดกลยุทธ์และเทคนคิ ในการสรรหาและพัฒนาเพอ่ื ให้ได้ผนู้ ํา ยุคใหม่ตามรูปแบบร่วมทก่ี าํ หนด (๒.๓) เพอื่ ให้ผ้บู รหิ ารภาครฐั ของประเทศอาเซยี นได้มคี วามเข้าใจในบคุ ลิกภาพและ แนวแบบ (Style) การบริหารงานของผนู้ าํ แต่ละประเทศในอาเซยี น ๗๔
๓) เพอื่ ให้บรรลวุ ตั ถุประสงคด์ งั กลา่ วแลว้ จึงได้กําหนดให้ผแู้ ทนของประเทศต่างๆ ท่ีเข้าร่วมการประชุม จัดทํา Country Paper เรื่อง Model of New Wave Leaders in the Changing World โดยใหค้ รอบคลมุ เนื้อหา ดังตอ่ ไปน้ี (๓.๑) แนวความคดิ เกยี่ วกบั ผ้นู ํา ยคุ ใหม่ (๓.๒) ลกั ษณะของผูน้ ํา ยคุ ใหม่ (๓.๓) บทบาทของผนู้ าํ ยคุ ใหม่ (๓.๔) ความรู้ความสามารถท่ีจํา เป็นของผู้นํา เพือ่ แสดงบทบาทได้อยา่ งเหมาะสม (๓.๕) วิธกี ารสรรหาและพัฒนาผู้นํา ยุคใหม่ (๓.๖) แนวคิดและทางเลือกอื่นท่ตี ้องการให้ทปี่ ระชุมทราบ ๗๕
ศูนยข์ ้อมูล ASEAN Resource Center ของแตล่ ะประเทศ จากมติที่ประชุม ACCSM คร้ังท่ี ๘ เม่ือปี ค.ศ. ๑๙๙๕ ณ ประเทศฟิลิปปินส์ ท่ีให้ ประเทศสมาชกิ จัดต้ังศนู ย์ขอ้ มูลการพฒั นา (ASEAN Resource Center - ARC) เฉพาะด้าน ในแต่ละ ประเทศ เพ่ือให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลงานวิจัยหรือประสบการณ์ด้านการบริหารที่เป็น Best Practices ของแต่ละประเทศ และเพ่ือเป็นการกระชับความร่วมมือระหว่างกันและความสัมพันธ์ที่ ยง่ั ยนื ในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย ARC ของแต่ละประเทศมี ดงั นี้ ที่ ประเทศ ARC ๑ Brunei Darussalam Managing New Technologies ๒ Cambodia Capacity Development of the Civil Servants ๓ Indonesia Information Exchange ๔ Laos Civil Service Performance Management ๕ Malaysia Case Studies ๖ Myanmar Training of Trainers for Civil Service ๗ Philippines Examination and Testing ๘ Singapore Management Innovations ๙ Thailand Leadership Development ๑๐ Vietnam Civil Servants Management หมายเหตุ ARC ของประเทศ Cambodia, Laos PDR และ Myanmar ได้รับการจัดตั้ง ในภายหลัง (หลังจากการประชุม ACCSM คร้งั ที่ ๑๑ ณ กรุงฮานอย ประเทศ Vietnam) ๗๖
บทบาทของ ARC สํานักงาน ก.พ. ในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานผู้แทนการประชุม ACCSM ได้จัดต้ัง ศูนย์ข้อมูลการพัฒนาเน้นด้านการพัฒนาภาวะผู้นํา (ASEAN Resource Center on leadership development หรือ ARC-LD) ณ สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน จังหวัดนนทบุรีโดยถือเป็น โครงการหนง่ึ ขององคก์ รอาเซยี นภายใตก้ ารดาํ เนนิ งานของสถาบันพัฒนาขา้ ราชการพลเรือน โดยมี วัตถุประสงค์เพอ่ื ๑) พัฒนาผู้นําภาครัฐในภูมิภาคอาเซียนให้มีความพร้อมในการเป็นผู้นํา การเปล่ียนแปลงเพือ่ การพัฒนาประเทศ ตามสภาวการณท์ ี่เปล่ยี นแปลงไป ๒) เปน็ เวทใี นการแลกเปลีย่ นประสบการณแ์ ละแนวความคดิ ใหมๆ่ ดา้ นการพฒั นา ประเทศในภมู ภิ าคอาเซยี น กจิ กรรมที่ได้ดําเนินการในชว่ งแรก เป็นการเนน้ ๑) พัฒนาผู้นําเฉพาะในภาคราชการไทยในโครงการ “พัฒนาผนู้ ําคล่ืนลกู ใหม่” ๒) จัดทําคู่มือพัฒนาตนเองเพ่ือเพิ่มทักษะการเป็นผู้นํา เร่ือง การเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) การสอนงาน (Coaching) และการมอบหมายงาน (Job Assignment) ต่อมาในปี ค.ศ. ๒๐๐๔ เริ่มดําเนินการพัฒนาหลักสูตรและจัดฝึกอบรมให้แก่ ข้าราชการจากต่างประเทศ โดยได้ดําเนินการจัดโครงการ ASEAN New-Wave Leadership Development เปน็ ประจําทุกปีอย่างตอ่ เนื่อง รวมถึงโครงการอืน่ ๆ ทัง้ ท่เี ป็นโครงการตามคําขอจาก หนว่ ยราชการในตา่ งประเทศและโครงการความร่วมมือกับสํานักงานความร่วมมือเพ่ือการพัฒนา ระหว่างประเทศ (สพร.) กระทรวงการตา่ งประเทศ นับถงึ ปจั จบุ นั สํานักงาน ก.พ. โดยสถาบนั พัฒนาขา้ ราชการพลเรอื นได้ดาํ เนินการจดั ฝกึ อบรมให้แก่ขา้ ราชการประเทศต่างๆ ในภูมภิ าคอาเซียนหลายรปู แบบดว้ ยกัน ไดแ้ ก่ ๑. การรบั ผดิ ชอบด้านงบประมาณทั้งหมดจากประเทศเจ้าภาพ (Fully funded by the host country) โดยสํานักงาน ก.พ. เป็นเจ้าภาพ ดําเนินการพัฒนาหลักสูตร จัดฝึกอบรม ประเมินผล และรบั ผดิ ชอบค่าใช้จา่ ยทั้งหมด ได้แก่ การสมั มนาหลักสตู ร ‚Capacity Building for the Civil Service‛สําหรับ ผู้บริหาร งานดา้ นนโยบายของประเทศตา่ งๆ ในกล่มุ CLMV ๗๗
การประชมุ ตา่ งๆ ในปี ๒๕๔๗ ได้แก่ o เชิงปฏิบัติการหลักสูตร ‚Work Improvement Teams WITS‛ สําหรับ ข้าราชการ สปป. ลาว โดยสาํ นกั งาน ก.พ. ไดร้ ่วมมือกบั ประเทศสงิ คโปร์ ในการนําหลักสูตรที่ข้าราชการ สพข. ได้รับการฝึกอบรมโดยวิทยากร จากประเทศสิงคโปร์มาถ่ายทอดให้แก่ข้าราชการ สปป . ลาว เป็น ภาษาไทย โดย ทมี วิทยากรของ สพข. ได้เดินทางไปให้การฝึกอบรมแก่ ขา้ ราชการ สปป. ลาว ณ กรงุ เวียงจนั ทน์ ในปี ๒๕๔๗ o เชิงปฏิ บัติกา รหลัก สูตร ‚ASEAN New-Wave Leadership Development‛ ซง่ึ จัดใหแ้ กป่ ระเทศในกลุ่ม CLMV ในปี ๒๕๔๗ (โดย ความร่วมมือกับสาํ นกั งานความรว่ มมอื เพื่อการพฒั นาระหวา่ งประเทศ) o การศึกษาระดับปริญญาโทหลักสูตร ‚Master of Management in Public Sector Management‛ สําหรับข้าราชการไทยและประเทศในกลุ่ม ลุ่มแม่นํ้าโขง (Great Mekong Sub-region -- GMS) ระหว่างปี ๒๕๔๗- ๒๕๔๘ การฝึกอบรมและการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการตา่ งๆ ในปี ๒๕๔๘ ไดแ้ ก่ o การฝกึ อบรมหลักสูตร ‚ASEAN New-Wave Leadership Development Challenging Issues of Leadership Development‛ ซ่งึ จัดใหแ้ ก่ประเทศใน กลุม่ CLMV และสมาชกิ ด้ังเดมิ ๖ ประเทศ ในปี ๒๕๔๘ ○ การฝกึ อบรมหลกั สตู ร ‚Organization Management and Project Administration‛ สําหรับขา้ ราชการจากประเทศกมั พชู า (และ มาดากสั การ์) ในปี ๒๕๔๘ (โดยความรว่ มมือกับสาํ นกั งานความรว่ มมือ เพอ่ื การพัฒนาระหว่างประเทศ) การฝึกอบรมและการประชุมเชิงปฏบิ ัติการตา่ งๆ ในปี ๒๕๔๘ ได้แก่ ○ การฝกึ อบรมหลักสตู ร ‚Personnel Management and Human Resources Management‛ สําหรบั ขา้ ราชการจาก สปป.ลาว ในปี ๒๕๔๙ (โดยความ ร่วมมอื กับสํานกั งานความร่วมมอื เพ่อื การพัฒนาระหวา่ งประเทศ) ๗๘
๒. การรว่ มกนั รบั ผดิ ชอบงบประมาณระหวา่ ง ๒ ประเทศ (Cost sharing collaboration by two countries) โดยสาํ นักงาน ก.พ. และประเทศสมาชกิ ในกล่มุ อาเซียน ร่วมกัน ดาํ เนินการพฒั นาหลักสตู ร จัดฝกึ อบรม และรบั ผิดชอบค่าใช้จ่าย ได้แก่ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร ‚Personnel Information Management: The Cooperation between Public Administration and Civil Service Authority, Prime Minister’s Office, Lao PDR & Office of the Civil Service Commission, Office of the Prime Minister, Thailand‛ เมื่อวันที่ ๒-๘ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ซ่ึงประเทศไทยได้ดําเนินการคร้ังแรกโดยร่วมกับ ทบวงการปกครองและคุ้มครองรัฐกร สปป. ลาว โครงการน้ีได้เกิดข้ึนจากการเจรจาตกลงกัน ระหว่างเลขาธิการ ก.พ. (นายปรีชา วัชราภัย) และตัวแทนจากทบวงการปกครองและคุ้มครองรัฐ สปป. ลาว เม่ือคร้งั ท่ีไปประชุม ก.พ. อาเซยี น คร้งั ท่ี ๑๓ ณ กรงุ พนมเปญ ประเทศกัมพูชา ระหว่าง วนั ที่ ๒๒-๒๔ ธันวาคม ๒๕๔๘ ๓. ความรว่ มมอื กับสานักงานความร่วมมอื เพือ่ การพัฒนาระหว่างประเทศ ใน การจดั สมั มนาและประชมุ เชิงปฏิบตั ิการให้แก่ประเทศสมาชิกอาเซียน ใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๕ โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี ปี พ.ศ. การสมั มนาและประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการต่างๆ ๒๕๕๓ การสัมมนาเรือ่ ง ‚การพฒั นาระบบวนิ ัยและระบบคุณธรรมในราชการพลเรอื น‛ การสัมมนาเรือ่ ง ‚ทิศทางการสร้างรูปแบบนักบริหารระดับสูงในราชการพลเรือน ๒๕๕๔ สาํ หรับภูมภิ าคเอเชีย‛ การฝึกอบรมหลกั สูตร‚การพัฒนาภาวะผู้นาํ นกั บริหารระดบั กลาง การฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการหลักสตู ร ‚การเป็นวิทยากร‛ การฝกึ อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการหลักสูตร ‚การพัฒนาเครื่องมอื และกลไกสรรหาบคุ คล เขา้ รับราชการ‛ การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลกั สตู ร ‚ทกั ษะการนาํ เสนอด้วยการสอ่ื สาร‛ การสมั มนาเรื่อง ‚การส่งเสรมิ คุณธรรมจริยธรรมในราชการพลเรือน‛ โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร หลักสูตร “การเปน็ วทิ ยากร” โครงการเรอ่ื ง “สมั มนากลยทุ ธ์การดึงดูดคนดี คนเก่งใหม้ ารบั ราชการ” ๗๙
๒๕๕๕ โครงการสัมมนา เรื่อง “แนวทางการติดตามประเมินผลการบริหารทรัพยากร บคุ คลในราชการพลเรือน” โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ บรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลในราชการพลเรือน” โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “Singapore-Thailand Leadership Development Programme‛ โครงการฝึกอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการหลักสตู ร “ทักษะการนาํ เสนอดว้ ยการส่ือสาร” โครงการสัมมนาเรื่อง “การส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในราชการพลเรือน” โครงการฝกึ อบรมหลักสูตร “การพฒั นาสมรรถนะนักบริหารระดับหัวหน้าส่วน ราชการในภมู ิภาคในพน้ื ท่ีพิเศษเฉพาะ” โครงการฝกึ อบรมหลักสตู ร “การพฒั นาสมรรถนะการทํางานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ สาํ หรบั นกั บริหารระดบั ตน้ ” โครงการสัมมนา เรื่อง “การบริหารข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงและแนวทาง การเสริมสร้างเครือ ข่ายข้าราชการผู้มีผล สัมฤทธิ์สูงระหว่าง ปร ะเทศไ ทยแล ะ ประเทศเพอื่ นบา้ น” โครงการฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ หลักสตู ร “การเป็นวิทยากร” โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การกําหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนา ข้าราชการพลเรือนและการติดตามประเมินผลการดําเนินการตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาข้าราชการ\" โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการ บรหิ ารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือน” โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “การบริหารผลการปฏิบัติงานอย่างมี ประสิทธิภาพ” โครงการฝึกอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารหลักสตู ร “ทักษะการนําเสนอดว้ ยการสื่อสาร” ๘๐
๔. การรับผิดชอบงบประมาณโดยแหล่ง สนับสนุนการเงินอ่ืน (Third party funding) โดยสํานักงาน ก.พ. เป็นผู้จัดดําเนินการฝึกอบรมและ/หรือพัฒนาหลักสูตรโดย ใช้งบประมาณสนับสนุนจากแหล่งสนับสนุนการเงินอื่น เช่น Asian Development Bank (ADB), World Bank, และ UNDP เป็น ต้น หลกั สูตรทด่ี าํ เนินการในรปู แบบน้ี ได้แก่ การฝกึ อบรมหลกั สตู ร ‚Human Resource Management and Development สําหรบั นักบรหิ ารระดับสูงของประเทศเวียดนาม ซง่ึ จดั ขึ้นเม่ือปี ๒๕๔๖ การฝึกอบรมและการปฏบิ ตั งิ านหลกั สูตร ‚Public Administration Internship‛ สําหรับขา้ ราชการร่นุ ใหม่ผู้มีศักยภาพสงู ของประเทศเวยี ดนาม รุ่นท่ี ๑ ซึ่งจดั ข้ึนเมอื่ ตน้ ปี ๒๕๔๗ การฝกึ อบรมและการปฏิบตั งิ านหลักสตู ร ‚Public Administration and Services‛ สําหรบั ข้าราชการรุ่นใหม่ผ้มู ศี ักยภาพสงู ของ เวียดนาม ร่นุ ท่ี 2 ซึ่งจัดข้นึ เมือ่ ปลายปี ๒๕๔๗ การฝกึ อบรมหลกั สูตร ‚Training Management and Development of HR‛ สาํ หรับข้าราชการจากประเทศเวยี ดนาม ซ่ึงจดั ข้ึนเม่ือปี ๒๕๔๘ (หลักสูตรท้งั ๔ เป็นหลกั สูตรทส่ี ํานกั งาน ก.พ. ได้ให้ความรว่ มมอื กับMinistry of Home Affairs (MOHA) ประเทศเวียดนาม โดยใช้งบประมาณที่ MOHA ไดร้ ับการสนับสนุนจาก แหลง่ เงินทนุ อนื่ โดยความร่วมมือดงั กลา่ ว เป็นไปตามบนั ทึกความเข้าใจ (MOU) ระหวา่ งสํานักงาน ก.พ. และ MOHA เมอ่ื ปี ๒๕๔๕) การฝึกอบรมและศกึ ษาดูงานด้าน ‚Civil Service Management Strategic Framework and National Civil Service Training‛ (Government and Public Administration Reform II (Central) Project) สําหรับข้าราชการจาก สปป.ลาว โดยใช้งบประมาณท่ี PACSA ได้รับ การสนบั สนนุ จาก UNDP ในปี ๒๕๔๘ ๕. อืน่ ๆ นอกจากการฝกึ อบรมดังกลา่ วขา้ งต้น สาํ นักงาน ก.พ. ยังไดใ้ ห้ความร่วมมือกับ ประเทศต่างๆ ในกลุ่มสมาชิกด้านการศึกษาดูงานระยะสั้นตามคําขอของแต่ละประเทศ ซ่ึงใน ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔ มีข้าราชการจากประเทศต่างๆ ได้มาขอศึกษา ดูงานและฟังบรรยาย แลกเปล่ียน ประสบการณต์ า่ งๆ รวม ๔๓ คร้ัง ๘๑
๖บทท่ี ขา้ ราชการไทย กา้ วสปู่ ระชาคมอาเซยี น ๘๒
บทท่ี ๖ ข้าราชการไทยกา้ วสปู่ ระชาคมอาเซยี น ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๔ ได้รับทราบข้อเสนอของ คณะกรรมการอาเซียนแห่งชาติ ที่มี รมต.กระทรวงการต่างประเทศเป็นประธานในที่ประชุม เสนอเป็นวาระแห่งชาติให้หน่วยราชการต้องเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับการจัดตั้งประชาคม อาเซียน โดยจะต้องมีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง ทั้งน้ีไม่จําเป็นต้องตั้งเป็นสํานักงาน และ กําหนดให้ทุกส่วนราชการตอ้ งสร้างความตระหนักเร่ืองอาเซียนในหน่วยงาน โดยมีหลักสูตรเพื่อ สร้างความเข้าใจในเรอื่ งประชาคมอาเซียน และให้ทุกราชการเตรียมความพร้อม โดยหากจําเป็นจะ ของบประมาณเพิม่ เตมิ เพอื่ รองรบั โครงการต่างๆ ในการเตรียมความพร้อม ให้แจ้งคณะกรรมการ อาเซยี นแหง่ ชาตทิ ราบเพอ่ื ช่วยของบประมาณเพ่มิ เตมิ ให้ ทั้งนี้ กระทรวงการต่างประเทศได้จัดทําตารางแสดงความรับผิดชอบของแต่ละ หน่วยงานตามแนวทางการจัดตงั้ ประชาคมในแต่ละด้าน ดังนี้ ๘๓
๘๔
๘๕
๘๖
๘๗
๘๘
ที่มาของข้อมูล http://www.immigration.go.th/asean/docs/APSC.pdf (สถานะวนั ที่๘ ก.พ.๒๕๕๕) หมายเหตุ หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบอาจมกี ารเปลยี่ นแปลง ๘๙
๙๐
๙๑
๙๒
๙๓
๙๔
๙๕
๙๖
๙๗
๙๘
สถานะข้อมลู วันท่ี ๘ ก.พ. ๒๕๕๕ หมายเหตุ หนว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบอาจมกี ารเปล่ียนแปลง ๙๙
๑๐๐
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281