Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Transforming Education Management in the New Normal After COVID-19

Transforming Education Management in the New Normal After COVID-19

Published by Education Management, 2022-05-02 15:35:32

Description: เมื่อมีวิกฤตโควิด-19 วิถีชีวิตทางเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งการบริหาร จัดการศึกษาต้องเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผัน ต้องใช้แนวคิดของการรักษาระยะ ห่างทางสังคมและระยะห่างทางกายภาพ (Social and Physical Distancing) โควิด-19 ไม่ใช่ เป็นเพียงวิกฤตสุขภาพเท่านั้น แต่เป็นวิกฤตเศรษฐกิจ สังคมและการจัดการศึกษาด้วย แม้ว่าโควิด-19 จะผ่านพ้นไปแล้ววิกฤตเศรษฐกิจ สังคมและการศึกษาจะยังคงมีอยู่ต่อไป เพราะจะทําให้เกิด "ภาวะปกติใหม่ "
ดังนั้น จึงมีความจําเป็นต้องทบทวนการบริหารจัดการศึกษาแบบดั้งเดิม หรือ แบบประเพณีนิยม (Traditional approach) ในปัจจุบัน แล้วทําการออกแบบใหม่ (Redesign) หรือพลิกโฉมใหม่ (Transform) ให้เหมาะสมกับ ภาวะปกติใหม่

Keywords: Transforming Education Management ,New Normal After Covid-19,Education Management

Search

Read the Text Version

การพลิกโฉมการบริหารจัดการศกึ ษา ในภาวะปกตใิ หม่หลังโควดิ -19 Transforming Education Management in the New Normal After Covid-19 โดย ศ.ดร.พฤทธิ� ศริ ิบรรณพิทกั ษ์

1. ความทา้ ทายของการบรหิ ารจัดการศกึ ษาในภาวะปกติใหม่ ภาวะปกติใหมห่ ลงั โควดิ -19 คอื สภาวะทเ�ี ศรษฐกิจและสงั คมจะตอ้ งได้รบั การ แกไ้ ขด้วยวธิ ีใหม่หลังจากวกิ ฤตโควดิ -19ซ�ึงส่งผลต่อวกิ ฤตเศรษฐกจิ และสังคม การจดั การศกึ ษาตามแนวคดิ ทฤษฎที ุนมนุษย์ (Schultz,1997) ท�ีมงุ่ พฒั นาผเู้ รียน ให้มที ักษะความร้แู ละคุณลกั ษณะท�เี สริมสรา้ งความสามารถในการทํางานอย่างมผี ลิตภาพ หรอื ประสิทธิภาพที�เรยี กวา่ to do productive work ซ�ึงเคยสง่ ผลดตี ่อการสร้างความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ เนอ�ื งจากคนเป็ นองคป์ ระกอบสําคัญของปัจจัยการผลติ 1

แตห่ ลงั วกิ ฤตเศรษฐกจิ ผลการศึกษาของ Monteils(2004) ไม่พบสหสมั พันธ์เชงิ บวกของการลงทุนทางการศกึ ษากับการเตบิ โตทางเศรษฐกิจ การจดั การศึกษาจงึ ไมต่ อบโจทย์การพฒั นาประเทศดา้ นเศรษฐกจิ สาเหตุ คือ โจทย์การพัฒนาประเทศดา้ นเศรษฐกิจเปลีย� นไป เปลย�ี นจากการพฒั นาเศรษฐกจิ โดยการขับเคล�อื นดว้ ยปัจจัยการผลิต (Factor-driven) และโดยการขบั เคลื�อนดว้ ย ประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) เป็ นการขับเคลื�อนด้วยนวตั กรรม (Innovation- driven) เป็ นเศรษฐกจิ นวตั กรรม (Innovation Economy) 2

นอกจากน�ี การจดั การศึกษากไ็ ม่ตอบโจทยก์ ารพัฒนาประเทศดา้ นสงั คม สาเหตุ คือ โจทยก์ ารพัฒนาประเทศดา้ นสังคมเปลยี� นไป เปลี�ยนจากการพฒั นา สังคมใหม้ ีความทนั สมัย (Modernization) เป็ นสังคมสขุ ภาวะ หรอื สังคมอยู่ดีมี สขุ (Societal Wellbeing) เป็ นสังคมดจิ ิทลั (Digital Society) สงั คมนวัตกรรม (Innovation Society) และสังคมหลงั นวตั กรรม (Post-innovation society) 3

เม�ือมวี กิ ฤตโควดิ -19 วถิ ชี ีวติ ทางเศรษฐกจิ และสังคม รวมท�งั การบริหาร จดั การศึกษาต้องเปลย�ี นแปลงอย่างพลกิ ผนั ต้องใช้แนวคดิ ของการรักษาระยะ ห่างทางสังคมและระยะห่างทางกายภาพ (Social and Physical Distancing) โควดิ -19 ไม่ใชเ่ ป็ นเพียงวิกฤตสขุ ภาพเท่านน� ั แตเ่ ป็ นวกิ ฤตเศรษฐกิจ สังคมและการจดั การศึกษาดว้ ย แม้ว่าโควดิ -19 จะผ่านพน้ ไปแล้ววกิ ฤตเศรษฐกจิ สังคมและการศึกษาจะยงั คงมอี ยตู่ ่อไป เพราะจะทาํ ให้เกิด \"ภาวะปกตใิ หม่\" 4

\" ดังนนั� จึงมคี วามจําเป็นต้องทบทวนการบรหิ ารจัดการ ศกึ ษา แบบดง�ั เดิม หรือ แบบประเพณนี ิยม (Traditional a pproach) ในปัจจบุ ัน แลว้ ทําการออกแบบใหม่ (Redesign) หรอื พลิกโฉม ใหม่ (Transform) \" ให้เหมาะสมกบั ภาวะปกติใหม่ 5

2. ภาวะปกตใิ หม่ในอนาคต จากรายงานเรื�อง OECD Future of Education and Skills 2030: OECD Learning Compass 2030 สรปุ ว่า สภาวะในอนาคต เป็ นส�ิงทคี� าดการณ์ได้ยากหรือ คาดการณไ์ มไ่ ดเ้ นื�องจากมกี ารเปลี�ยนแปลงที�ไมม่ ีใครร้วู า่ ป็ นอยา่ งไร โดยเฉพาะอย่าง ยง�ิ การเปล�ยี นแปลงทางเทคโนโลยแี ละการเปล�ียนแปลงในโลกของการทาํ งาน 6

2.1 ภาวะปกติใหม่ของเทคโนโลยีในอนาคต Goldin and Katz (2010) ได้เสนอผลการวเิ คราะห์ การแข่งขนั ระหว่างเทคโนโลยี กบั การศึกษา: The race between technology and education ว่าเทคโนโลยกี บั การศึกษาได้ ผลดั กนั เป็ นผู้นํา แต่มแี นวโน้มว่าเทคโนโลยจี ะมกี ารเปลยี� นแปลงอย่างพลกิ โฉม ทเี� รียกว่า Transformative change มากกว่าการศึกษาทม�ี กี ารเปลย�ี นแปลงอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ท�ี เรียกว่า Incremental change ดงั น�ัน จงึ มคี วามเป็ นต้องพลกิ โฉมการศึกษาให้มกี ารเปลยี� นแปลงแบบพลกิ โฉม เพ�ือให้การศึกษาเป็ นผู้นําในการสร้างเทคโนโลยใี หม่ทพ�ี งึ ประสงค์ในอนาคต ดูภาพท�ี 1 7

ภาพที� 1: การแข่งขันของเทคโนโลยีและการศกึ ษา 8 (Goldin and Katz (2010))

2.2 ภาวะปกติใหม่ของการศึกษาในอนาคต โครงการ OECD Future of Education and Skills 2030 Project ไดส้ รปุ ภาวะ ปกติใหม่ของการศกึ ษาในอนาคต ดภู าพท�ี 2 9

10

ภาพท�ี 2: ภาวะปกตใิ หม่ของการศกึ ษาในศตวรรษท�ี 21 11 (www.youtube.com/watch?v=9YNDnkphKo.)

2.3 ภาวะปกติใหม่ของสังคมในอนาคต สังคมปกตใิ หม่ในอนาคต เป็ น สังคมดจิ ทิ ัลและสังคมนวัตกรรมพลิกผัน สังคมดิจทิ ัล คอื สงั คมใหม่ที�มีการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั อย่างกว้างขวาง ทาํ ให้วิถชี วี ิต และความตอ้ งการของคนเปล�ียนแปลงไปอย่างพลิกผนั ทเ่ี รยี กวา่ Digital disruption ดา้ นเศรษฐกจิ ธรุ กิจแบบดั�งเดมิ ประสบกบั แรงสั�นสะเทือนของเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทําให้เกิดโมเดลธรุ กิจใหม่ในชือ� เรยี กตา่ งๆ เช่น ธุรกจิ ออนไลน์ E-commerce ธุรกิจแบบ แพลตฟอร์ม ธุรกจิ ธนาคารทีใ� ช้ Fin tech ธรุ กิจส�ือและโฆษณาท�ใี ช้ Facebook, YouTube, Google และ Line ธุรกจิ ทอ่ งเที�ยวและโรงแรมทีใ� ช้ Airbnb ธรุ กจิ รถบริการท�ใี ช้ Uber, Grab 12

ดา้ นวถิ ชี ีวติ พฤตกิ รรมผูบ้ ริโภค เปลี�ยนจากโมเดลการบริโภคออฟไลน์เป็ นออนไลน์ และเปลยี� นจาก Mass Marketing เป็ น Customer Network มากขึ�น ธุรกิจและวถิ ีชวี ติ ทีม� ีการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ยังไม่ใช่ธรุ กจิ แบบแพลตฟอรม์ และยัง ไม่ใช่สงั คมดิจิทลั แต่ตอ้ งเปลีย� นวธิ ีคดิ ใหม่ในทุกมิตอิ ย่างมีกลยทุ ธ์อย่างถึงแกน่ จากรากฐาน ของธรุ กจิ ด้วยการพลกิ โฉมธุรกจิ เป็ นธรุ กจิ ดจิ ิทลั (Digital Business) โดยการมสี ่วนรว่ มของ ทุกคนในองค์การ มีการใช้ Big Data ด้วยการออกแบบ Data Strategy เพอ�ื ใหธ้ รุ กจิ เปล�ยี น Data เป็ น “สนิ ทรพั ย”์ ทีช�่ ่วยใหธ้ ุรกิจสร้างความไดเ้ ปรียบในการแข่งขนั เหนอื คแู่ ข่ง 13

เม�ือธรุ กิจเขา้ ใจและลงมือทําเป็ นธุรกจิ ดิจทิ ลั แลว้ ขนั� ต่อไปก็ตอ้ ง “สร้างนวตั กรรม” ให้เกดิ ข�ึนจริงในองคก์ ารความฝนั อันสูงสุดของการสร้างนวัตกรรมคือ “นวัตกรรมพลกิ ผนั ” ทเ�ี รียกว่า Disruptive Innovation นวตั กรรมพลกิ ผนั คือ นวตั กรรมที�ทดแทน หรือ พลิกผันธรุ กิจ หรือ นวตั กรรมเดมิ สงั คมดิจทิ ลั จึงมลี กั ษณะเป็ น “สงั คมนวัตกรรมพลิกผัน (Disruptive Innovation Society)” 14

2.4 ภาวะปกติใหมข่ องคุณภาพคนท�ีพึงประสงค์ในอนาคต 2.4.1 ต้องมีสมรรถนะดจิ ทิ ลั และสมรรถนะนวัตกรพลกิ ผนั กรอบแนวคิด (Conceptual Framework) เกย�ี วกบั สมรรถนะดจิ ทิ ัลท�ีสาํ คญั มี 2 สมรรถนะ ได้แก่ 1) ความฉลาดรู้ทางดจิ ทิ ลั (Digital Literacy) 2) ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (Digital Intelligence) 15

ความฉลาดรู้ทางดจิ ทิ ลั คอื ทักษะในการนําเคร�อื งมอื อุปกรณแ์ ละเทคโนโลยีดจิ ิทลั อาทิ คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพวิ เตอร์และสือ� ออนไลน์มาใช้ให้ เกิดประโยชนส์ ูงสดุ ในการส�อื สาร การปฏิบตั ิงานและการทํางานร่วมกันหรือใช้พัฒนา กระบวนการทํางานหรือระบบงานในองค์การ รวมท�งั การเรยี นรู้ให้มคี วามทนั สมยั และ มีประสทิ ธิภาพมากย�งิ ข�นึ 16

ความฉลาดร้ทู างดิจิทัล ครอบคลมุ ความสามารถ 4 มติ ิ คอื 1) การใช้ (Use) ใช้และสร้าง 2) ความเข้าใจ (Understand) เทคโนโลยีดิจิทลั 3) การสร้าง (Create) ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4) การเข้าถงึ (Access) 17

มกี ารจาํ แนกทกั ษะการใช้และความเขา้ ใจเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เป็ น 9 ด้าน ดงั นี� 18 1) การใชง้ านคอมพวิ เตอร์ 2) การใช้งานอินเตอร์เนต 3) การใช้งานเพ�ือความมน�ั คงปลอดภยั 4) การใช้โปรแกรมประมวลคา่ 5) การใชโ้ ปรแกรมตารางคํานวณ 6) การใชโ้ ปรแกรมการนําเสนองาน 7) การใชโ้ ปรแกรมสร้างสื�อดจิ ทิ ัล 8) การทํางานรว่ มกนั แบบออนไลน์ 9) การใช้ดิจิทลั เพื�อความมั�นคงปลอดภัย

ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั คือ ความสามารถด้านการรับรู้ สตปิ ัญญา อารมณ์ และสังคมทที� าํ ให้คนเป็ นพลเมืองดจิ ทิ ลั (Digital Citizens) สามารถเผชิญหน้า กบั ความท้าทายและปรับตวั ให้เข้ากบั ยุคดจิ ทิ ลั ได้อย่างเหมาะสม ประกอบด้วย ความสามารถ 8 ด้าน คือ 19

1) การแสดงตวั ตนบนโลกดจิ ทิ ลั (Digital Identity) 20 2) การใช้เคร�ืองมือและส�ือดจิ ทิ ลั (Digital Use) 3) ความปลอดภยั ทางดจิ ทิ ลั (Digital Safety) 4) ความมนั� คงปลอดภยั ทางดจิ ทิ ลั (Digital Security) 5) ความฉลาดทางอารมณ์บนโลกดจิ ทิ ลั (Digital Emotional Intelligence) 6) การส�ือสารทางดจิ ทิ ลั (Digital Communication) 7) ความฉลาดรู้ทางดจิ ทิ ลั (Digital Literacy) 8) สิทธิทางดจิ ทิ ลั (Digital Rights)

มกี ารแบ่งความฉลาดทางดจิ ทิ ลั เป็ น 3 ส่วน ดงั นี� 1) พลเมืองดจิ ทิ ลั (Digital Citizenship) 2) การสร้างสรรค์ทางดจิ ทิ ลั (Digital Creativity) 3) ผู้ประกอบการดจิ ทิ ลั (Digital Entrepreneurship) 21

นอกจากนี� ผู้มีความฉลาดรูท้ างดจิ ิทัลและความฉลาดทางดิจทิ ัลจะตอ้ งเป็ น \"สดุ ยอดนักท่องอนิ เทอรเ์ น็ต\" (Be Internet Awesome) ยดึ หลักจรรยาบรรณ 5 ประการ คอื 1) คิดกอ่ นแชร์ (Be Internet Smart) คดิ ใหร้ อบคอบถึงขอ้ มูลทแี� ชรแ์ ละคนทเี� ราแชร์ โดยคํานึงถึงผลกระทบท�อี าจเกดิ ข�ึนกับตัวเราและผอู้ �ืนและไม่แชร์ขอ้ มูลทลี� ะเอยี ดอ่อนมากแก่ผู้อื�น (เชน่ ที�อยบู่ ้าน เลขท�ี บญั ชีเงินฝาก) 22

2) ไมต่ กหลุมพรางกลลวง (Be Internet Alert) ระมดั ระวงั ไมถ่ ูกหลอกจากข้อมูลกลโกง (Phishing) ทสี� ง่ มาทาง email หรือ social media 3) เกบ็ ขอ้ มูลไวเ้ ป็ นความลับ (Be Internet Strong) รบั ผิดชอบการปกปอ้ งขอ้ มูลสาํ คญั โดยการสรา้ งรหัสผา่ นทร�ี ัดกมุ และไมซ่ �ํากัน ท�ังอักขระและตัวเลข 23

4) เป็ นคนดีเทจ่ ะตาย (Be Internet Kind) การให้เกยี รตกิ นั และส่งต่อพลงั บวก ตลอดจนบลอ็ กและรายงานพฤตกิ รรม ทเี� ป็ นอนั ตรายในโลกออนไลน์ ถ้าพบว่ามคี นถูกทาํ ร้ายในโลกออนไลน์ จะลกุ ขนึ� ปกป้อง ไมใ่ ชน่ �ิงเฉย 5) สงสยั เมอื� ไหรก่ ็ถามไดเ้ ลย (Be Internet Brave) เราจะยืนหยดั เพ�ือตวั เองและผู้อื�น เม�ือพบพฤตกิ รรมทเ�ี ป็ นอนั ตรายหรือ ไม่เหมาะสมในโลกออนไลน์ เราจะพูดคุยถงึ สถานการณ์ทที� าํ ให้เราอดึ อดั กบั สมาชิกคนอื�นๆ ในฐานะครอบครัวเดยี วกนั 24

สมรรถนะดิจิทัล จากกรอบแนวคิดความฉลาดรู้ทางดจิ ิทัลและความฉลาดทาง ดจิ ิทัล จึงประกอบด้วย ความสามารถ 2 ด้าน คอื 1) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล และ 2) ความสามารถในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลอยา่ งชาญฉลาด พรอ้ มท�งั มีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมและมนุษยชาติ มคี ณุ ธรรมและเป็นมติ รต่อส�งิ แวดล้อมทาํ ให้เกดิ การพฒั นาทย�ี ง�ั ยืน (Sustainable Development) ตามเป้าหมายขององค์การ สหประชาชาตทิ ีเ� รียกว่า Sustainable Development Goals (SDGs) 25

สมรรถนะสําคญั ของคนในสังคมดจิ ิทลั คอื สมรรถนะการเป็ น “นวตั กร” (Innovator) ทม�ี ีความสามารถในการคดิ ริเร�มิ สร้างสรรค์สงิ� ใหมท่ ีเ� ป็ น นวัตกรรมพลิกผัน (Disruptive Innovation) ดงั น�ัน คุณภาพของคนทพี� งึ ประสงค์ในสังคมดิจิทัล จึงต้องเป็ น “นวัตกรพลกิ ผัน” (Disruptive Innovator) 26

นวัตกรพลิกผันจะตอ้ งมีทกั ษะการค้นหา (Discovery skills) ทเ�ี ป็ น DNA ของ นวัตกรพลกิ ผัน ดงั ภาพที� 3 ภาพท�ี 3 ดเี อ็นเอของนวตั กรพลกิ ผัน 27 2 1

2.4.2 ต้องมสี มรรถนะความเป็นมนุษยท์ สี� มบรู ณ์ (Humanized Person) ความเป็ นมนุษยท์ ี�สมบูรณ์ คอื ผู้ทีม� มี นษุ ยธรรม มคี วามรักในเพอื� นมนษุ ย์และ มีอจั ฉริยะทางรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาเป็ นผูท้ ี�อทุ ศิ ตนใหเ้ ป็ นประโยชน์ ตอ่ ผ้อู ื�นเป็ นผสู้ ร้างสงั คมอยดู่ ีมีสุขทแ�ี ทจ้ ริงและย�งั ยนื 28

2.4.3 ต้องมสี มรรถนะความเป็ นพลเมืองทสี� ร้างความยุตธิ รรมทางสังคม ความเป็ นพลเมือง (citizenship) ในทศั นะของ Faulks (1998) เป็ นสถานะที� แสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลกบั ชุมชนทางการเมือง (Political community) เป็ นลกั ษณะของคนในการแลกเปลยี� นหรือแบ่งปันการใช้สิทธิและความรับผดิ ชอบ (reciprocal rights and responsibilities) อย่างสมดุลและเป็ นธรรม 29

T.H. Marshall(1950) ได้เสนอไว้ในหนังสือเร�ือง Citizenship and Social Class ไว้ว่า ความเป็ นพลเมืองเป็ นเรื�องของสิทธิพลเมือง (citizenship rights) จาํ แนกได้ 3 ด้าน คือ (1) สิทธิในการแสดงออกอย่างเสรีของปัจเจกบุคคล (individual freedom) และสิทธิในการ เป็ นเจ้าของหรือมกี รรมสิทธ�ิในทรัพย์สิน (2) สิทธิทางการเมือง ได้แก่ สิทธิในการออกเสียง เลือกต�งั และการมสี ่วนร่วมในการใช้อาํ นาจทางการเมือง (3) สิทธิในความมนั� คงทางสังคม (social security) และบริการทางสังคม (social service) เช่น การศึกษาและสุขภาพ 30

ความเป็ นพลเมืองจะมผี ลต่อความยตุ ธิ รรมทางสงั คม เน�อื งจากการกระจายการใชส้ ทิ ธิ และความรับผดิ ชอบของปัจเจกบคุ คลและกลุ่มบคุ คล ตามแนวคิดความเป็นพลเมืองของ Marshall ทเ�ี กดิ จากการใช้สิทธิความเป็ นพลเมืองความยุติธรรมทางสงั คม มี 3 รูปแบบ คือ 31

1) ความยุตธิ รรมเชิงความเช�ือมโยง (Associational Justice) คือ การมสี ่วนร่วมของกล่มุ ทางสังคมในโครงสร้างการตดั สินใจและกระบวนการกาํ หนดนโยบายสาธารณะ 2)ความยุตธิ รรมเชิงกระจายทรัพยากร (Distributive Justice) คือ การกระจายทรัพยากร ทางเศรษฐกจิ ไปยงั กล่มุ ทางสังคมต่างๆอย่างเสมอภาค 3) ความยตุ ธิ รรมเชงิ วัฒนธรรม (Cultural Justice) คอื การยอมรบั และเห็นคณุ ค่าของ กล่มุ ทางสงั คมทกุ กล่มุ วฒั นธรรม 32

2.4.4 ต้องมีสมรรถนะผ้นู าํ เชิงผปู้ ระกอบการ ผนู้ ําเชิงผู้ประกอบการ มาจากภาษาอังกฤษวา่ Entrepreneurial leader คอื ผู้นํา ที�เสริมสรา้ งโอกาสทางเศรษฐกจิ และสงั คม มีคณุ ลกั ษณะสําคัญ 3 ประการ (Greenberg, Danna and others, 2011) ดงั น�ี 1) การคดิ ตัดสนิ ใจดว้ ยตรรกะแบบใหม่ ท�ีเรียกวา่ ตรรกะแบบทวพิ ุทธิปัญญา (Cognitive Ambidexterity) ประกอบดว้ ย ตรรกะในการคิดตัดสนิ ใจเชงิ ทาํ นาย (Prediction logic) และตรรกะในการคดิ ตัดสนิ ใจเชิงสรา้ งสรรค์ (Creation logic) 33

2) ความรับผดิ ชอบใหมแ่ บบ SEERS คอื ความรับผิดชอบในความย�งั ยืน 3 ป ระการ ไดแ้ ก่ สงั คม (Social) ส�ิงแวดลอ้ ม (Environment) และเศรษฐกิจ (Economic) 3) การปฏิบตั กิ ารแบบ SSA คือ การปฏิบัติการที�มีความตระหนักรใู้ นตนและสงั คม ( Self and Social Awareness) 34

2.4.5 ต้องมีสมรรถนะผู้ประกอบการนวตั กรรม ผู้ประกอบการนวตั กรรม มาจากภาษาองั กฤษว่า Innovation Entrepreneurs (www.entrepreneur.com/article/250777) มคี ุณลกั ษณะสําคญั 10 ประการ ดงั นี� 1) Apophenia: ความสามารถในการมองเห็นรูปแบบหรือแบบแผนความเช�ือมโยง อย่างมคี วามหมายในส�ิงของหรือข้อมูลทไี� ม่มคี วามสัมพนั ธ์กนั 2) Innovative: ความสามารถในการทาํ งานอย่างชาญฉลาด (work smart, not hard) 3) Obsessive note-takers: ความสามารถในการจดบันทกึ ตวั ยง 35

4) Preach perfection, practice progress: ความสามารถในการต�งั เป้าหมายทีส� ูงและ ก้าวส่เู ปา้ หมายเป็ นระยะๆแบบฝันให้ไกลไปให้ถงึ 5) Allied with fear: ความสามารถในการเปลย�ี นความกลัวใหเ้ ป็ นมิตรแบบการเปลยี� น วกิ ฤตให้เป็ นโอกาส คอื ความกลัวทาํ ให้เรามีความพยายามแล้วเกิดความก้าวหน้าและนวตั กรรม 6) Don't wait for things to break: ความสามารถในการบกุ เบิกพฒั นางานให้ดกี วา่ เดมิ (It can always be better) โดยไมร่ อใหเ้ กดิ ปญั หากอ่ น เป็ นการประกนั ไม่ใหเ้ กดิ ปญั หา (To ensure the problem will never even exist) และเป็ นการใช้มาตรการป้องกนั (Preventive action) ซ�ึงเป็ นลกั ษณะสําคญั ของผู้นําเชิงรุก ทเ�ี รียกว่า Proactive Leader 36

7) Understand the creative process: ความสามารถในการทาํ งานตามกระบวนการ สร้างสรรค์ ซึง� มี 4 กระบวนการ คอื การเตรียมการ (Preparation) การบม่ เพาะ (Incubation) การกระจ่างชดั (Illumination) และการนําสู่การทดสอบหรือปฏบิ ัติ (Implementation) 8) Pursue multiple streams: ความสามารถในการแสวงหาทางเลือกหรือผลลพั ท์ท�ี หลากหลาย 9) Possess a healthy arrogance: มคี วามทะนงและความเชื�อมนั� ในตนเอง 10) Embrace paradoxical thinking: ความสามารถในการใช้แนวคดิ ต่างมุมทย�ี ้อน แย้งให้เป็ นประโยชน์ 37

3. โฉมหนา้ ใหมข่ องการบริหารจดั การศกึ ษาในภาวะปกติใหม่ 3.1 นวตั กรรมการบริหารหลักสตู ร (Curriculum Management Innovation): มุ่งเป้า หมายผลลพั ธ์เชิงกลยุทธ์ (Strategic End Results) (1) หลกั สูตรมุ่งผลลพั ธ์การสรา้ งสรรค์นวัตกรรุ่นเยาว์ (Young Innovator Creating Curriculum) ลกั ษณะสําคญั ของหลกั สตู ร ตอ้ งเป็ นหลักสูตรอิงผลลัพธ์ (Outcome-based Curriculum: OBC) เฉพาะบคุ คลทีม� ่งุ สรา้ งดีเอน็ เอนวตั กรพลกิ ผนั (The disruptive Innovator’s DNA) ตามผลงานวิจยั ของ Jeff Dyer, Hal Gregersen และ Clayton M. Christensen (2019) ตามความ ใฝ่ ฝันของผู้เรยี น 38

จุดมงุ่ หมายของหลักสูตร จะตอ้ งเนน้ การพัฒนาทกั ษะการค้นหา ทเ�ี รียกว่า Discovery skills 5 ทกั ษะ ประกอบดว้ ย ทักษะพฤติกรรม (Behavioral skills) 4 ทกั ษะ และทกั ษะทาง ปญั ญา (Cognitive skill) 1 ทักษะ ทกั ษะพฤตกิ รรม 4 ทกั ษะ มดี งั นี� 39 1) ทกั ษะการต�งั คาํ ถาม (Questioning) 2) ทกั ษะการสังเกต (Observing) 3) ทกั ษะการค้น หาความคดิ จากเครือข่าย (Idea networking) 4) ทกั ษะการทดสอบและนําร่องความคดิ ใหม่ (Experimenting)

ทักษะทางปัญญา 1 ทกั ษะ คือ ทกั ษะการคิดเชือ� มโยง (Associational thinking หรอื Associating) นอกจากนี� จะต้องมจี ุดมุ่งหมายในการพฒั นาความกล้าหาญในการสร้างสรรค์ส�ิงใหม่ ทเี� รียกว่า Courage to innovate ประกอบด้วย 2 ประการ คือ 1) ความต้องการในการเปลยี� นแปลงสภาพเดมิ (Challenging the status quo) 2) ความสามารถในการเผชิญความเส�ียงในการเปลย�ี นแปลงอย่างชาญฉลาด (Take smart risk) 40

(2) หลกั สตู รมุ่งผลลพั ธ์การออกแบบชีวิตท�มี คี วามหมายและคณุ ค่า (Purposeful Life Design Curriculum) ลักษณะของหลกั สูตร ต้องเป็ นหลกั สตู รอิงผลลพั ธ์เฉพาะบุคคล ท�ีเรียกวา่ Personalized หรือ Customized program ตามแนวคดิ 3 แนวคดิ คอื 1) หลกั สตู รการออกแบบชวี ิต (Life design program) 2) แนวคดิ การเรยี นรทู้ มี� คี วามหมาย (Purposeful Learning) ของสงิ คโปร์ทเี� น้นการเรยี นรู้วธิ ีเรียน (Learn how to learn) และการเรียนรู้การใช้ชวี ิต (Learn how to live) 41

ประกอบด้วยการเรยี นรชู้ วี ติ 4 แบบ คอื การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ (Life long learning) การเรียน รูช้ วี ิตในโลกกว้าง (Life wide learning) การเรยี นรูช้ ีวติ อยา่ งลึกซึ�ง (Life deep learning) และ การเรยี นรชู้ วี ติ อย่างชาญฉลาด (Life wise learning) และ 3) แนวคดิ การสรา้ งสรรค์ชวี ิตที�มคี ุณค่าของญีป� ่ ุน ที�เรียกว่า Ikigai คอื ผ้เู รียนสามารถเลือก เรยี นตามเปา้ หมายชวี ิตหรอื ความฝันของตนและสามารถออกแบบชวี ติ ท�มี คี วามสุขอยา่ งมี คณุ ค่า ซึ�งประกอบ ด้วย 4 องค์ประกอบ คือ 42

1) Passion เลือกเรียนในสิ�งทใี� ฝ่ ฝัน 2) Mission เลือกเรียนในส�ิงทเ�ี ป็ นประโยชน์ต่อมนุษยชาตแิ ละโลก 3) Vocation เลือกเรียนในส�ิงทที� าํ เป็ นอาชีพได้ 4) Profession เลือกเรียนในสิ�งทที� าํ ได้ดอี ย่างมืออาชีพ หลักสตู รอิงผลลัพธ์เฉพาะบุคคลต้องมวี ชิ าเลือกมากกว่าวชิ าบงั คบั ผูเ้ รียนสามารถ เลือกที�ตรงกบั เป้าหมายชวี ติ หรอื ความฝนั ทั�งของตนและของมนษุ ยชาติ ควบคกู่ นั ตาม บริบท สงั คม ชมุ ชนท�ีแตกตา่ งกัน ทเี� รยี กวา่ หลักสูตรอิงบรบิ ท (Curriculum in Context) 43

(3) หลกั สตู รมุ่งผลลพั ธ์การสร้างสรรคส์ ุดยอดนกั ทอ่ งอินเทอร์เนต (Internet Awesome Creating Curriculum) ลกั ษณะของหลกั สูตรตอ้ งเป็ นหลักสตู รองิ ผลลัพธท์ ีม� ุ่งสรา้ งสรรค์สุดยอดนักท่อง อนิ เทอร์เนต (4) หลักสูตรมุ่งผลลพั ธ์การสรา้ งสรรคผ์ ู้ประกอบการนวัตกรรมและผูน้ าํ เชิงผู้ประกอบการ (Innovative Entrepreneur and Entrepreneur Leader Creating Curriculum) ลกั ษณะของหลักสตู รต้องเป็ นหลกั สูตรอิงผลลพั ธ์เฉพาะบคุ คลทมี� งุ่ สร้างสรรคผ์ ู้ ประกอบการนวตั กรรมและผู้นาํ เชงิ ประกอบการ 44

(5) หลกั สูตรม่งุ ผลลัพธก์ ารสร้างสรรคค์ วามเป็ นพลเมืองผู้นําทส�ี รา้ งสรรค์ความยุตธิ รรม ทางสงั คม (Citizenship and Social Justice Creating Curriculum) ลกั ษณะของหลกั สูตรต้องเป็ นหลกั สตู รอิงผลลัพธท์ ีม� ุง่ สร้างพลเมืองทเี� ป็ นผู้นํา ในการผสู้ รา้ งความยุตธิ รรมทางสังคม 3.2 นวตั กรรมการบริหารจดั การเรยี นรู้ (Learning Management Innovation): มงุ่ วิธี การจดั การเรียนรู้เชิงกลยุทธ์ (Strategic Learning Management) (1) การออกแบบการเรียนรู้ท�ีเป็ นสากล (Universal Design for Learning:UDL) และ การเรยี นการสอนอิงบรบิ ท (Contextual Teaching and Learning) 45

จุดมงุ่ หมายของการออกแบบการเรียนรทู้ เี� ป็ นสากล ทเ�ี รยี กว่า UDL คอื การทาํ ใหผ้ ูเ้ รียน เรยี นรู้วิธเี รยี นจนเป็ นครสู อนตนเองได้ ท�เี รียกว่า ผเู้ ชีย� วชาญการเรยี นรู้ (Expert learner) เป้าหมายสงู สดุ คือ การเป็ นผเู้ ช�ยี วชาญการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ (Lifelong Expert Learner) สว่ นการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรตู้ อ้ งทาํ ใหน้ ักเรียนทุกคนเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งทว�ั ถงึ หรืออย่าง ครอบคลมุ ไมม่ ีใครถกู ท�งิ ไว้ข้างหลัง ที�เรียกว่า Inclusive Learning หรอื การสอนให้ผูเ้ รียนท�ี มีความแตกตา่ งได้ประสบความสาํ เรจ็ ทุกคน (Pedagogy of Difference) 46

นอกจากนี� จะต้องให้ผเู้ รียนนาํ สิ�งท�เี รยี นร้ไู ปประยุกต์ใชใ้ นชีวิต ในบริบทที�แตกต่าง กันได้ ทเ�ี รียกว่า การเรยี นการสอนองิ บริบท (Contextual Teaching and Learning) 47

(2) การออกแบบการเรียนรู้ศกั ยภาพสูง (High Scope Learning) การเรยี นรูศ้ ักยภาพสูง หรือ ไฮสโคป เป็ นการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ PDR คือ การเปิด โอกาสใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นร่วมในการวางแผนการเรยี น (Plan) การนําแผนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ (Do) และ การทบทวนผลจากการนําแผนสกู่ ารปฏิบัติ (Review) ซ�ึงเป็ นนวัตกรรมทมี� ีลกั ษณะการเรียนรู้ ประจกั ษ์ชดั (Visible Learning) คอื การทําใหผ้ ู้เรยี นรเู้ ป้าหมาย (Milestone) ของการเรยี น วางแผนการเรียนและประเมินผลการเรยี นดว้ ยตนเอง 48

(3) การออกแบบการเรยี นร้ดู ว้ ยการสรา้ งสรรค์จนิ ตนาการและการคดิ ออกแบบ (Imagination and Design Thinking) มี 5 ข�นั ตอน ดงั นี� 1) ทาํ ความเข้าใจปญั หา (Empathize) คือเขา้ ใจอยา่ งลึกซึ�งในปัญหาความต้องการ ความจาํ เป็ น 2) ระบุความตอ้ งการให้ชัดเจน (Define) คือ การกําหนดส�งิ ที�ตอ้ งการจะทํา หรอื สร้างสรรค์ 3) ระดมความคดิ (Ideate) คอื การใช้จนิ ตนาการในการแสวงหาความคิดในการทาํ หรือสรา้ งสรรค์ สิ�งท�ตี อ้ งการหลายๆแนวทาง 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook