Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กาพย์เห่เรือ

กาพย์เห่เรือ

Published by pornchaitum2, 2022-01-17 17:06:16

Description: กาพย์เห่เรือ

Search

Read the Text Version

กาพยเ์ ห่เรอื วชิ าภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖

ประเพณกี ารเหเ่ รือ เรือพระราชพิธีและประเพณีเห่เรือ เป็น \"มรดกทาง วัฒนธรรม\" ซ่ึงบรรพบุรุษได้เนรมิตรสร้างสรรค์ไว้ให้แก่อนุชนรุ่น ต่อมา ยากทช่ี าตอิ ืน่ ใดในโลกจะเสมอเหมือนได้

เรือพระราชพิธเี ป็นงานศลิ ปะอนั ทรงคุณค่าสูง ฝีมอื ประณีต แสดงวิชาศิลปะการช่างอย่างเป็นเอก และได้สร้างสมจนเป็น ขนบธรรมเนียมประเพณี อันเป็นความภาคภูมิใจในชาติได้อย่าง ยอดเยี่ยม \"เรือพระราชพิธี\" มิใช่เป็นเพียงสมบัติของชาติไทย เท่าน้ัน แตเ่ ปน็ สมบัติอนั ล้าคา่ ของโลกดว้ ย

เรือพระราชพิธีประกอบด้วยศิลปะหลายประเภทคือ คิลปะ นาวาสถาปัตยกรรมในการออกแบบรูปทรงล้าเรือ อันบรรเจิด ตระการตาและได้ประโยชน์ใช้สอยอย่างสมบูรณ์ ศิลปะจิตรกรรม ในการออกแบบลวดลายและสีสันอันสวยสดงดงาม มีท่วงท่า ประณีตอ่อนระทวยแต่สง่าภูมิฐาน ศิลปะประติมากรรม อันได้แก่ การแกะสลกั ใหเ้ กิดการตนื้ ลกึ มีแสงและเงา มีทว่ งท้านอง...

...เน้นการทอดจังหวะของลวดลายท้าให้ท่อนไม้ซ่ึงไม่มีชีวิต ดุจมชี ีวิตเคล่อื นไหวไดร้ าวกับสงิ่ มีชวี ิตจริง เมื่อพายกระทบน้าและ กระทบแสงอาทิตย์เกิดประกายระยับจับตา ฝีพายท่านกบินพาย พร้อมกันประหนึ่งหงส์เหินโผผินบินเหนือท้องน้า ด้วยท่วงท่าอัน สง่าประกอบด้วยเพลงเห่อันไพเราะประทับใจในภาพดุจด่ังสวรรค์ เคล่อื นคล้อยลอยเลอื่ นมายังพน้ื น้าในแผ่นดิน เม่อื ได้เห็นภาพย่อม ตราตรงึ ตดิ ใจอยูอ่ ย่างมิรลู้ ืม

ฉะนั้นวัฒนธรรมกระบวนเรือพระราชพิธีพยุหยาตรา ชลมารคจึงเป็นเอกในโลกนี้ ด้วยความภูมิใจในความอุตสาหะ วิรยิ ะ และชาญฉลาดของบรรพบุรุษที่ได้สร้างมรดกทางปัญญาอัน สงู ค่าช้นิ น้ี ซึ่งจะตอ้ งอนุรกั ษ์ใหเ้ จริญคงทนถาวรต่อไปช่ัวนิรันดร

บทเพลงทั้งร้อยแก้ว ร้อยกรอง อันไพเราะเพราะพริ้ง ให้ กลมกลืนเข้ากับชีวิตความเป็นอยู่ประจ้าวันได้อย่างเหมาะเจาะ และลงตัวย่ิง กล่าวคือไม่ว่าจะเป็นการเห่เรือ กระบวนหลวงของ เจ้าฟา้ เจ้าแผ่นดนิ การพายเรือ เห่เรือของเจ้านายและขุนนาง ใน โอกาสท่ีจะเดินทางไปทอดกฐินตามวัดต่าง ๆ ในเวลากลางวัน และนัดกันไปทอดผ้าป่าในเวลากลางคืน การเห่เรือจึงไม่เพียงแต่ ให้เกิดจังหวะการพายที่พร้อมเพรียงกัน ยังเป็นการแสดงถึงความ รน่ื รมยห์ รรษาอีกด้วย

ต้านานการเห่เรอื นับแต่โบราณกาลมานอกจากการเสด็จพระราชด้าเนิน “ทางบก” ทเ่ี รยี กว่า “พยุหยาตราสถลมารค” แล้ว การเสด็จพระ ราชด้าเนินทางน้า คือ “พยุหยาตราชลมารค” นับเป็นเส้นทาง คมนาคมท่ีส้าคัญย่ิงเช่นกัน ซ่ึงสิ่งที่อยู่คู่กับการเสด็จพระราช ด้าเนนิ ทางชลมารคมาช้านานกค็ อื “การเหเ่ รือ”

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด้ารงราชานุ ภาพ ทรงอธบิ ายถงึ “ต้านานการเห่เรือ” ว่ามีมูลเหตุมาแต่การใช้ เรือเป็นพาหนะ โดยมีฝีพายจ้านวนมาก จึงต้องอาศัยเสียงเห่เรือ เป็นสัญญาณในการพายให้เกิด ความพรอ้ มเพรยี งกันการเหเ่ รือ ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค หรือที่เรียกว่า การเหเ่ รอื หลวง

ทรงสันนิษฐานว่า มีต้นก้าเนิดขึ้นโดยพวกพราหมณ์จาก อินเดีย และบทเหท่ ่ีใชใ้ นกระบวนเรอื หลวงกส็ ันนิษฐานว่า เป็นค้า สวดของพราหมณ์ ต่อมาในสมยั รัชกาลที่ 4 จึงน้าบทเห่เรอื เล่นมา ใช้ในการเห่เรือหลวง ซึ่งมีลักษณะบทประพันธ์เป็นบทร้อยกรอง ท่ีประกอบด้วยโคลงสี่สุภาพ 1 บทน้า กับมีบทร้อยกรอง เป็น กาพยย์ านี และเปน็ บทพรรณนาตามอกี หลายบท

ส้าหรับ “การเห่เรือเล่น” เป็นการเล่นอย่างหน่ึงในฤดูน้า หลาก เช่นเดียวกับ เพลงเรือและดอกสร้อยสักวา ซึ่งมีบทเห่เป็น กลอนสดที่มีเน้ือความสนุกสนาน ส่วน “บทเห่เรือ” หรือ “กาพย์ เหเ่ รือ” ท่ีใช้ส้าหรับการเห่ในกระบวนพยุหยาตราชลมารคน้ัน ถือ กันว่าเป็นศาสตร์แห่งภูมิปัญญาทางภาษาของไทยอย่างหนึ่ง และ เปน็ องคป์ ระกอบส้าคญั ของกระบวนพยหุ ยาตราชลมารค ท่ีได้รับ สืบทอดเป็นมรดกอนั สา้ คัญควบคู่กันมาแตโ่ บราณ

ทั้งนี้ “กาพย์เห่เรือ” ที่ไพเราะซึ่งเป็นท่ีรู้จักกันเป็นอย่างดี และได้รับการยกย่องให้เป็นเอกแห่งกาพย์เห่เรือ คือ กาพย์เห่เรือ ชมกระบวนพยุหยาตราชลมารค พระนิพนธ์ใน เจ้าฟ้าธรรมธิ เบศร์ หรือ “เจ้าฟ้ากุง้ ” พระโอรสในสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั บรมโกศ แห่งกรุงศรีอยุธยา นอกจากนี้ยังมีกาพย์เห่เรือซึ่งเป็นที่รู้จักกัน อย่างแพร่หลายในทั่วไป คือ กาพย์เห่เรือ ชมเคร่ืองคาวหวาน พระราชนิพนธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัยเป็นต้น

ประวัติผู้แตง่ เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ เป็น พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงเป็นกวีเอกในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ถือได้ว่าเป็นยุคทองของวรรณคดีที่ส้าคัญอีกยุค หนึ่ง พระองค์ทรงมีความสามารถในเชิงอักษร ศาสตร์เป็นอย่างย่ิง โดยเฉพาะในด้านนิรุก ติศาสตรแ์ ละฉนั ทศาสตร์

ประวัตผิ ู้แตง่ พระนิพนธ์ของพระองค์มีทั้งท่ีเกี่ยวกับทางโลกและทาง ธรรม ทางธรรม ต่อมาได้บังเกิดเหตุอันน่าสลดใจ เม่ือเจ้าฟ้ากุ้ง ต้องพระราชอาญาว่าทรงลอบเป็นชู้กับเจ้าฟ่าสังวาลย์ จึงถูกลง ทัณฑ์จนกระท่ังสิ้นพระชนม์ทั้งสองพระองค์ และประดิษฐาน พระบรมอฐั ิไว้ ณ วดั ไชยวัฒนาราม

ผลงานด้านวรรณกรรมที่พระองค์ทรงนิพนธ์ไว้น้ันจัดเป็น วรรณกรรมอันเลอค่า โดยเฉพาะค้าประพันธ์ประเภทกาพย์ห่อ โคลงดูจะมีมากกว่างานพระนิพนธ์ชนิดอ่ืน ๆ งานนิพนธ์ท่ีเหลือ จนบดั นี้มีท่ีรวบรวมได้ดังนี้ ๑. กาพยเ์ ห่เรือ ๒. บทเหเ่ รอื่ งกากี ๓ ตอน ๓. บทเห่สังวาสและเหค่ รวญอย่างละบท

๔. กาพยห์ ่อโคลงนิราศธารโศก ๕. กาพย์หอ่ โคลงนริ าศธารทองแดง ๖. นันโทปนันทสูตรค้าหลวง ทรงพระนิพนธ์ พ.ศ. ๒๒๗๙ ขณะทรงผนวช ๗. พระมาลัยค้าหลวง ทรงพระนิพนธ์ พ.ศ. ๒๒๘๐ ขณะ ทรงผนวช ๘. เพลงยาวบางบท

รูปแบบ แต่งเป็นกาพย์ห่อโคลง มี โคลงส่ีสุภาพน้า ๑ บท เรียกว่า เกร่ินเห่ และตามด้วยกาพย์ยานี ๑๑ พรรณนาเน้ือความโดยไม่ จา้ กัดจ้านวนบท

จดุ ประสงค์ในการประพนั ธ์ ใช้เห่เรือเล่นในคราวเสด็จฯ โดยทางชลมาครเพ่ือไป นมัสการพระพุทธบาท จงั หวัดสระบรุ ี การเหเ่ รือนอกจากจะเป็น ที่ส้าราญพระราชอิริยาบถแล้ว ยังเป็นการให้จังหวะแก่ฝีพาย ดว้ ย

การดา้ เนนิ เรื่อง ด้าเนินเรื่องได้สัมพันธ์กับเวลาใน 1 วัน คือ เช้าชม กระบวนเรือ สายชมปลา บ่ายชมไม้ เย็นชมนก กลางคืนเป็นบท ครวญสวาท การพรรณนาความ ตอนชมปลา ชมไม้ ชมนก มีการ พรรณนาพาดพิงไปถึงหญิงที่รัก เข้าทา้ นองเดยี วกับนิราศ

กาพยเ์ หเ่ รอื มี ๒ ตอน ตอนท่ี ๑ กล่าวชมกระบวนเรือ ชมปลา ชมไม้ ชมนก และแทรกบท ครา้่ ครวญถึงนางอันเปน็ ทีร่ กั ตอน ที่ ๒ เ ป็น บท เ ห่ เ รียกว่ า เห่กากี และเห่สังวาส ซึ่งเป็นบทคร้่า ครวญถึงนางอนั เป็นที่รกั เพียงอย่างเดยี ว

ลา้ น้าเห่ มี 3 ลา้ นา้ ตอนท่ี ๑ ช้าละวะเห่ มาจาก ช้า แลว่าเห่ การเห่ท้านองช้า ใช้เห่เม่ือเรือ เร่ิมออกจากท่าและเม่ือพายเรือตาม กระแสน้า ตอนท่ี ๒ มูลเห่ เป็นการเห่ท้านองเร็ว ๆ ให้เห่หลังจาก ชา้ ละวะเหแ่ ลว้ ประมาณ ๒-๓ บท และใชเ้ หเ่ มอ่ื เรือทวนน้า

ลา้ นา้ เห่ มี 3 ล้าน้า ตอนที่ ๓ สวะเห่ ใชเ้ หเ่ มื่อเรอื เทียบทา่

การด้าเนินเร่อื ง ด้าเนินเรอื่ งไดส้ ัมพนั ธก์ บั เวลา ๑ วัน สายชมปลา เยน็ ชมนก เช้าชมเรอื กระบวนเรือ บา่ ยชมไม้ กลางคืนเป็น บทครวญ

การด้าเนินเรอื่ ง ตอนท่ี ๑ *ชมกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค ต้งั แต่ “พระเสดจ็ โดยแดนชล ทรงเรือต้นงามเฉดิ ฉาย” *ตอ่ จากชมกระบวนเรือ วา่ ดว้ ยชมปลา ชมไม้ ชมนก เป็นลักษณะนริ าศ *กาพย์เห่เรอื นี้เจ้าฟ้ากุง้ ทรงนพิ นธ์ส้าหรับเห่เรือพระท่นี ่ังของพระองค์ เอง เมือ่ ครั้งเสดจ็ นมัสการพระพุทธบาท ออกจากอยธุ ยา(เชา้ )----------> ถึงทา่ เจา้ สนกุ (เยน็ )

การด้าเนินเรื่องตอนที่ ๒ *เปน็ ค้าสังวาสยกเร่ืองพระยาครฑุ ลกั พานางกากีมาท้าบทเหก่ ากีและ บทเหส่ งั วาส *ข้นึ ตน้ วา่ “กางกรโอบอุม้ แกว้ เจ้างามแพร้วจบสรรพางค์” *ยกมาเพยี งบางตอน คือบทเห่ครวญ ซ่งึ เป็นบทพรรณนาความอาลัย อย่างลกึ ซง้ึ

กาพยเ์ ห่เรือ พระนิพนธ์เจา้ ฟ้าธรรมธเิ บศร

เห่ชมเรอื โคลง ปางเสด็จประเวศดา้ ว ชลาลัย ทรงรตั นพมิ านชยั ก่งิ แกว้ พรงั่ พรอ้ มพวกพลไกร แหนแห่ เรอื กระบวนต้นแพร้ว เพรศิ พริ้งพายทอง

เห่ชมเรอื ทรงเรือตน้ งามเฉดิ ฉาย กาพย์ พายอ่อนหยบั จับงามงอน พระเสดจ็ โดยแดนชล ล้วนรูปสัตว์แสนยากร สาครล่นั ครั่นครืน้ ฟอง กงิ่ แกว้ แพรว้ พรรณราย นาวาแนน่ เปน็ ขนัด เรือริ้วทวิ ธงสลอน

เหช่ มเรอื

เหช่ มเรือ ลิว่ ลอยมาพาผันผยอง รอ้ งโหเ่ ห่โอ้เหม่ า กาพย์ เพยี งพิมานผา่ นเมฆา เรอื ครฑุ ยุดนาคหว้ิ หลงั คาแดงแย่งมงั กร พลพายกรายพายทอง สรมุขมขุ สด่ี า้ น มา่ นกรองทองรจนา

เหช่ มเรอื

เหช่ มเรอื กาพย์ สมรรถชัยไกรกราบแกว้ แสงแวววบั จับสาคร เรียบเรยี งเคยี งค่จู ร ด่ังรอ่ นฟา้ มาแดนดนิ สวุ รรณหงสท์ รงพหู่ อ้ ย งามชดชอ้ ยลอยหลงั สินธ์ุ เพียงหงส์ทรงพรหมมนิ ทร์ ลินลาศเลอ่ื นเตือนตาชม

เหช่ มเรอื

เหช่ มเรือ รวดเร็วจรงิ ย่ิงอย่างลม ห่มท้ายเย่นิ เดินคู่กัน กาพย์ ดูดงั เปน็ เห็นขบขัน เรอื ชัยไวว่องวงิ่ คัน่ สองคู่ดยู ิง่ ยง เสียงเส้าเรา้ ระดม คชสีหท์ ผี าดเผ่น ราชสีหท์ ่ียนื ยนั

เห่ชมเรอื กาพย์ เรือม้าหนา้ มุ่งน้า แลน่ เฉ่ือยฉ่้าล้าระหง เพียงมา้ อาชาทรง องค์พระพายผายผันผยอง เรอื สงิ หว์ ่ิงเผ่นโผน โจนตามคลื่นฝืนฝา่ ฟอง ดยู ิง่ สิงหล์ า้ พอง เปน็ แถวทอ่ งลอ่ งตามกนั

เห่ชมเรือ กาพย์ นาคาหนา้ ดงั เป็น ดเู ขมน้ เหน็ ขบขัน มงั กรถอนพายพัน ทนั แข่งหน้าวาสกุ รี เลียงผาง่าเทา้ โผน เพยี งโจนไปในวารี นาวาหนา้ อนิ ทรี มีปกี เหมอื นเล่ือนลอยโพยม

เหช่ มเรือ กาพย์ ดนตรมี ่อี งึ อล ก้องกาหลพลแห่โหม โหฮ่ กึ ครกึ ครน้ื โครม โสมนัสชน่ื รื่นเริงพล กรธี าหม่นู าเวศ จากนคเรศโดยสาชล เหมห่นื ชน่ื กระมล ยลมัจฉาสารพันมี

ความหมายเหช่ มเรอื กระบวน •เรือกระบวนพยุหยาตรา มีทั้งเรือพระท่ีนั่ง เรือพระบรมวงศานุ วงศ์ เรอื ขนุ นางขา้ ราชการ •* เรือครุฑจบั นาค (ครุฑยดุ นาค) หรอื เรือไกรสรมขุ เรอื ศรีสมรรถ ชัย เรือสุพรรณหงส์ เรือชัย เรือคชสีห์ เรือม้า เรือสิงห์ เรือนาค วาสกุ รี เรอื มงั กร เรอื เลยี งผา เรอื อินทรี

เห่ชมปลา คลงึ กนั แจ่มหนา้ โคลง พิศวาส พศิ พรรณปลาว่ายเคล้า ชวดเคลา้ คลงึ ชม ถวลิ สุดาดวงจนั ทร์ มัตสยาย่อมพวั พนั ควร ฤ พรากน้องช้า

เหช่ มปลา คิดถงึ เจ้าเศร้าอารมณ์ สมสาใจไมพ่ าไป พศิ พรรณปลาว่ายเคล้า เจ้างามพร้งิ ยง่ิ นวลปลา มตั สยายงั รชู้ ม ไมง่ ามเทา่ เจ้าเบอื นชาย นวลจันทร์เปน็ นวลจริง คางเบือนเบอื นหนา้ มา

เหช่ มปลา ไม่เหมือนน้องหม่ ตาดพราย ด่ังสายสวาทคลาดจากสม เพยี นทองงามด่งั ทอง อนั แก้มนอ้ งชา้ เพราะชม กระแหแหหา่ งชาย เหมือนทุกข์พท่ี ่ีจากนาง แกม้ ช้าช้าใครต้อง ปลาทุกทุกข์อกตรม

เหช่ มปลา ขาวพรายชว่ งสสี า้ อาง งามเรอื งเร่อื เนอ้ื สองสี น้าเงินคือเงนิ ยวง เคล้ากนั อย่ดู งู ามดี ไมเทียบเปรียบโฉมนาง เหน็ ปลาเคลา้ เศร้าใจจร ปลากรายวา่ ยเคียงคู่ แต่นางห่างเหนิ พ่ี

เหช่ มปลา หางไกเ่ คลา้ ไม่มหี งอน ผมประบา่ อ่าเอย่ี มไร หางไกว่ า่ ยแหวกวา่ ย ว่ายเวียนวนปนกันไป คดิ อนงคอ์ งค์เอวอร ไมเ่ ห็นเจา้ เศรา้ บ่ วาย ปลาสร้อยลอยล่องชล เหมอื นสร้อยทรงทรามวัย

เหช่ มปลา เนือ้ น้องฤาออ่ นทั้งกาย ไม่วายนกึ ตรึกตึงทรวง เนอ้ื อ่อนอ่อนแตช่ ื่อ เล่ือมแหลมกวา่ ปลาทั้งปวง ใครต้องขอ้ งจติ ชาย ดแู หลมล้าขา้ เพราคม ปลาเสอื เหลือท่ีตา เหมือนตาสดุ าดวง

เหช่ มปลา เห็นคล้ายคล้ายนา่ เชยชม สนิทเคล้าเจ้าเอวบาง แมลงภู่คูเ่ คยี งวา่ ย คิดสุดาอ่าองค์นาง คดิ ความยามเม่อื สม เส้นเกศสลวยรวยกล่ินหอม หวีเกศเพศช่ือปลา หวเี กล้าเจ้าสระสาง

เหช่ มปลา ชะวาดแอบแปบปนปลอม จอมสวาทนาฏบงั อร ชะแวงแฝงฝ่งั แนบ ว่ายแหวกมาในสาคร เหมอื นพ่ีแอบแนบถนอม มาด้วยพจี่ ะดีใจ พศิ ดหู มู่มจั ฉา คะนงึ นชุ สดุ สายสมร

เห่ชมไม้ มพี รรณ กลิน่ เกลี้ยง โคลง ชูช่อ เรือชายชมมิ่งไม้ กลนิ่ เนื้อนวลนาง รมิ ท่าสาครคันธ์ เพล็ดดอกออกแกมกัน หอมห่ืนรน่ื รสเพ้ียง

เห่ชมไม้ ริมท่าไสวหลากหลายพรรณ ส่งกล่นิ เกลย้ี งเพียงกล่นิ สมร กาพย์ บานแสลม้ แย้มเกสร เรอื ชายชมมง่ิ ไม้ แยม้ โอษฐ์ย้มิ พริม้ พรายงาม เพลด็ ดอกออกแกมกัน ชมดวงพวงนางแย้ม คิดความยามบังอร

เหช่ มไม้ คลก่ี ลบี เหลืองเรอื งอรา่ ม ผวิ เหลอื งกวา่ จาปาทอง จาปาหนาแนน่ เนอื่ ง ระยา้ ย้อยหอ้ ยพวงกรอง คดิ คะนงึ ถงึ นงราม เจา้ แขวนไวใ้ หเ้ รียมชม ประยงค์ทรงพวงห้อย เหมอื นอบุ ะนวลละออง

เหช่ มไม้ พิกลุ แกมแซมสุกรม เหมอื นกลนิ่ นอ้ งตอ้ งตดิ ใจ พดุ จบี กลีบแสลม้ บานเกลอ่ื นกลาดดาษดาไป หอมชวยรวยตามลม วางให้พีข่ ้างที่นอน สาวหยดุ พทุ ธชาด นึกน้องกรองมาลยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook