Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กัมพูชา-cambodia

กัมพูชา-cambodia

Published by E-book Library กศน.ตำบลสำโรง, 2019-04-25 00:51:59

Description: กัมพูชา-cambodia

Search

Read the Text Version

กระทรวง ขอ้ มลู ติดต่อ กระทรวงวฒั นธรรมและวิจิตรศิลป์ ที่อยู่ : 227 Preah Norodom Blvd. Ministry of Culture and Fine Arts Sangkat Phsar Kandal, Phnom Penh กระทรวงสิ่งแวดลอ้ ม โทรศัพท์ : (+855) 23 217 647 Ministry of Environment โทรสาร : (+855) 23 218 146 เว็บไซต์ : www.mcfa.gov.kh กระทรวงพฒั นาชนบท อเี มล : [email protected] Ministry of Rural Development ทอ่ี ยู่ : 48, Street 274, Sihanouk Blvd, Phnom Penh โทรศัพท์ : (+855) 23 427 894 โทรสาร : (+855) 23 427 844 เวบ็ ไซต์ : www.moe.gov.kh อเี มล : [email protected] ทอ่ี ยู่ : Confederation de la Russie Blvd (110), Corner of Tchecoslovaquie (St. 169), Ground Floor, Phnom Penh โทรศพั ท์ : (+855) 23 884 639 โทรสาร : (+855) 23 462 135 เวบ็ ไซต์ : www.mrd.gov.kh อีเมล : [email protected] 100

กระทรวง ขอ้ มลู ติดต่อ กระทรวงแรงงานและการฝกึ อบรม ทอ่ี ยู่ : 3, Russian Federation Blvd., อาชีวศึกษา Khan Toul Kok.Phnom Penh โทรศัพท์ : (+855) 23 819 679 Ministry of Labor and เว็บไซต์ : www.mlvt.gov.kh Vocational Training อเี มล : [email protected] ทอ่ี ยู่ : 13 Preah Monivong Blvd, กระทรวงไปรษณยี แ์ ละโทรคมนาคม Phnom Penh Ministry of Post and โทรศพั ท์ : (+855) 23 462 510 Telecommunications เว็บไซต์ : www.mptc.gov.kh อเี มล : [email protected] ทอ่ี ยู่ : 13 Preah Monivong Blvd, Phnom Penh โทรศพั ท์ : (+855) 23 462 510 เวบ็ ไซต์ : www.mptc.gov.kh อีเมล : [email protected] ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกัมพูชา 101

กระทรวง ข้อมลู ตดิ ต่อ กระทรวงกิจการสังคมเพอื่ ทหารผา่ นศึก ทอ่ี ยู่ : 788B, Preah Monivong Blvd และฟนื้ ฟเู ยาวชน (93), Phnom Penh Ministry of Social Affairs Veteran โทรศัพท์ : (+855) 23 726 085 and Youth Rehabilitation โทรสาร : (+855) 23 365 469 เวบ็ ไซต์ : www.mosalvy.gov.kh กระทรวงโยธาธกิ ารและการขนส่ง อีเมล : [email protected] Ministry of Public Works and Transport ท่อี ยู่ : 106, Norodom Blvd โทรศพั ท์ : (+855) 23 427 845 กระทรวงการทอ่ งเท่ยี ว โทรสาร : (+855) 23 214 907 Ministry of Tourism เวบ็ ไซต์ : www.mpwt.gov.kh อีเมล : [email protected] ท่ีอยู่ : 3, Preah Monivong Blvd โทรศพั ท์ : (+855) 23 427 130 โทรสาร : (+855) 23 220 704 เว็บไซต์ : www.mot.gov.kh อเี มล : [email protected] 102

กระทรวง ขอ้ มลู ติดตอ่ กระทรวงการจดั การทีด่ นิ ท่อี ยู่ : 771-773, Preah Monivong วางแผนชนบทและก่อสร้าง Blvd Ministry of Land Management , Urban Planning And Construction โทรศัพท์ : (+855) 23 217 031 โทรสาร : (+855) 23 217 027 เว็บไซต์ : www.mlmupc.gov.kh อีเมล : [email protected] กระทรวงทรัพยากรน�และอุตุนยิ มวทิ ยา ทอ่ี ยู่ : 364, Preah Norodom Blvd Ministry of Water Resources (41), Phnom Penh and Meteorology โทรศัพท์ : (+855) 23 216 670 เว็บไซต์ : www.mowram.gov.kh อีเมล : [email protected] กระทรวงยุติธรรม ทอ่ี ยู่ : 69, Preah Monivong Blvd., Ministry of Justice Sangkat Srah Chak, Khan Daun Penh, Phnom Penh โทรศัพท์ : (+855) 23 722 054 โทรสาร : (+855) 23 725 626 เว็บไซต์ : www.moj.gov.kh อเี มล : [email protected] ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 103

กระทรวง ข้อมลู ตดิ ต่อ ส�ำ นกั งานข้าราชการพลเรอื น ที่อยู่ : Lum (St.), corner of Sorla Secretariat of Public Service (St. 2004), Kork Chambak Village, Phnom Penh สำ�นกั งานการบินพลเรอื น Secretariat of Civil Aviation โทรศพั ท์ : (+855) 23 212 318 เวบ็ ไซต์ : www.sspf.gov.kh อเี มล : [email protected] ทีอ่ ยู่ : 62 Preah Norodom Blvd., Phnom Penh. โทรศพั ท์ : (855-23) 211 019 โทรสาร : (855-23) 211 019 เวบ็ ไซต์ : www.civilaviation.gov.kh 104

4.3 จำ�นวนข้าราชการทั่วประเทศ พร้อมคุณลักษณะ หลกั หรอื คุณลกั ษณะหลักในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน 4.3.1 จ�ำ นวนข้าราชการทัว่ ประเทศ ตามระเบยี บขา้ ราชการของกมั พูชา (The Common Statute of Civil Servants) แบ่งประเภทขา้ ราชการกมั พูชาเป็นข้าราชการ ที่ประจำ�อยู่ส่วนกลางและข้าราชการที่ประจำ�อยู่ในส่วนภูมิภาค โดย ข้าราชการพลเรือนท้ังหมดของกัมพูชาจะอยู่ภายใต้การบริหารงานของ ส�ำ นกั เลขาธกิ ารข้าราชการพลเรือน (The State Secretariat for Civil Service: SSCS)ท้ังนี้ไม่รวมข้าราชการทหาร ตำ�รวจ ผู้พิพากษา และ ข้าราชการพลเรือนท่ที �ำ งานดา้ นตุลาการ ขา้ ราชการกมั พชู าทั่วประเทศมจี �ำ นวน (Population of civil servants) ทงั้ สิ้น 184,055 คน (2012)[55] 4.3.2 คุณลักษณะหลกั ของข้าราชการ ข้าราชการพลเรือนกัมพูชามีหน้าท่ีต้องปฏิบัติตามกฎหมาย และนโยบายของรัฐบาลประเทศกมั พชู า (Royal Government of Cambodia: RGC) ท่ีไดป้ ระกาศ โดยกัมพูชาถือวา่ การปฏริ ปู ระบบ ข้าราชการพลเรือนเป็นเรื่องสำ�คัญท่ีจะต้องทำ�ให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของการปฏิรูป นั่นคือเพื่อให้ได้ข้าราชการที่มีคุณลักษณะสำ�คัญ คือ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกัมพูชา 105

\"การให้บริการประชาชนทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ\" (Serving people better) เป็นข้าราชการผใู้ ห้บรกิ ารประชาชนดว้ ยความโปร่งใส ตอบสนอง และ มีประสทิ ธภิ าพมากข้นึ อาจกลา่ วไดว้ า่ ข้าราชการพลเรือนกมั พชู า ต้องเป็นท้ังผู้ให้บริการที่มีประสิทธิภาพของการบริการสาธารณะและ หุ้นสว่ นการพฒั นาทเี่ ชื่อถอื ได้ น่ันคอื ต้อง • ตรวจสอบการเขา้ ถึงบรกิ าร • เน้นความต้องการท่ีแทจ้ ริงของผู้บรโิ ภคทใี่ หบ้ รกิ าร • ให้บริการทจ่ี �ำ เปน็ • ให้ความโปร่งใสและความรับผิดชอบสำ�หรับการส่งมอบ บริการ • คุณภาพประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลของการให้บรกิ ารและ การพัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการเป็นความพยายามที่ รัฐบาลกัมพูชาจะเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการสำ�หรับการพัฒนา อย่างยงั่ ยืน และการลดปัญหาความยากจน โดยมีเปา้ หมายทสี่ �ำ คัญใน การพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพของการให้บริการในภาครัฐของ ชาวกัมพูชา คือ 1. ปรับเปลยี่ นทัศนคติและพฤติกรรมของขา้ ราชการทีละน้อย 2. สง่ เสริมความเปน็ ผู้นำ�และการบริหารงาน 3. พฒั นาองค์ความรู้ ข่าวสาร และการส่ือสาร 4. พัฒนาความสามารถ (ทักษะ) 5. เสริมสรา้ งองค์การ กระบวนการ และการปฏิบัติ เพอ่ื การ ใชค้ วามสามารถอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 106

4.3.3 คุณลักษณะหลักของข้าราชการในการเข้าสู่ประชาคม อาเซยี น ภารกจิ  ฝกึ อบรมขา้ ราชการใหม้ คี ณุ ภาพ มคี วามรบั ผดิ ชอบในหนา้ ทส่ี งู รู้จักใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมใหม่ๆ และเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยใี ห้ทันกับโลกาภวิ ตั น์  จัดโปรแกรมพัฒนาความสามารถข้าราชการผ่านรูปแบบ การฝกึ อบรม การสมั มนา การประชุม การศึกษาทางไกล การฝกึ อบรม ภาคปฏบิ ตั ิ การดูงาน หรอื การแลกเปลี่ยนข้อมูล  รวบรวมขอ้ มูลทัง้ หมด (กฎ ระเบยี บ และวธิ กี ารปฏิบัตทิ ่ดี ี ท่ีสดุ และประสบการณจ์ ากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั่วโลก) เพอ่ื รเิ ริม่ สร้าง ข้าราชการแบบใหมๆ่ ขน้ึ [40] ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 107

108

5 ยทุ ธศาสตร์ และภารกิจของแต่ละ กระทรวงและหน่วยงานหลกั ท่ีรับผิดชอบ งานท่เี ก่ยี วกบั ASEAN ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 109

5.1 ยุทธศาสตร์ และภารกิจของแต่ละกระทรวง จากแผนพัฒนายุทธศาสตร์แห่งชาติ พ.ศ. 2557 – 2561 (National Strategic Development Plan: NSDP) 2014 – 2018)[50] ได้กำ�หนดวัตถุประสงค์หลักที่สำ�คัญของแผนพัฒนา โดยยงั ไม่ได้ แยกความรบั ผดิ ชอบตามรายกระทรวง เนอื่ งจากแผนยงั อยู่ในข้นั ตอน การดำ�เนินการตามวตั ถุประสงคห์ ลกั ของแผนพฒั นาฯ จะเน้นในเร่อื ง ดงั กลา่ วดังนี้ 5.1.1 การสร้างสภาพแวดลอ้ มท่กี ่อใหเ้ กดิ การพัฒนาข้นั พน้ื ฐานท่ีครอบคลมุ รัฐบาลกัมพูชามีจุดมุ่งหมายท่ีจะสร้างความสงบสุขและ ความมน่ั คงทางการเมอื งใหเ้ กดิ ธรรมาภบิ าล ส่งเสริมการกระจายอ�ำ นาจ และความเจริญ ปรับปรุงธรรมาภิบาลด้านเศรษฐกจิ และความรว่ มมอื ระหว่างภาครฐั และเอกชน (PPP) เพื่อสร้างปัจจัยที่เอ้อื ตอ่ การพฒั นา ขัน้ พื้นฐานอย่างกวา้ งขวางและครอบคลมุ 110

5.1.2 การสรา้ งความเชอ่ื มน่ั วา่ จะเกดิ สมดลุ ในเศรษฐกจิ มหภาค การรักษาสามส่ิงท่ีสำ�คัญในการรักษาสมดุลทางเศรษฐกิจ การคา้ งบประมาณ และเงินเฟ้อ • เพมิ่ รายได้อย่างนอ้ ยร้อยละ 18 ของ GDP โดยในปี 2558 จะลดงบประมาณ และการขาดดลุ การคลงั • เพิ่มการส่งออกเพื่อลดการขาดดุลการค้า และเพื่อให้ เกิดสมดุลดงั กลา่ ว • รักษาอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในระดบั ที่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 5 • นำ�นโยบายการคลังที่มีประสิทธิภาพและนโยบายการเงิน มาใชเ้ พ่อื ควบคมุ เศรษฐกจิ ให้ดขี ้ึน • นำ�แนวทางสำ�คัญในการปฏิรูปท่กี ล่าวถึงในกรอบการปฏิรูป การบริหารจดั การการคลัง (PFMR Framework) มาใช้ นโยบายการเงินและการสง่ เสรมิ การใช้เงนิ เรียล 1) เนื่องจากร้อยละ 90 ของเงินทั้งหมดที่หมุนเวียนใช้ กันอยู่ภายในกัมพูชาเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐแทนท่ีจะเป็นเงินเรียล ประสิทธิภาพของนโยบายการเงินในการรักษาเสถียรภาพด้านราคา ในเศรษฐกจิ ระดับมหภาคจึงมีขอ้ จำ�กัด 2) นโยบายการเงินและการสร้างโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีสนับสนุน ด้านการตลาดให้เป็นเคร่ืองมือหลักในการส่งเสริมการใช้สกุลเงินของ ประเทศ และลดการใช้เงินดอลลาร์สหรัฐในระยะยาว ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 111

3) ปัจจุบันเน่ืองจากมีการใช้เงินดอลลาร์สหรัฐกันอย่างมาก ในเศรษฐกจิ กมั พชู า สง่ิ ทเ่ี จา้ หนา้ ทร่ี ฐั ท�ำ ได้ คอื เขา้ แทรกแซงตลาดแลกเปลย่ี น เงนิ ตราตา่ งประเทศ และปรมิ าณเงนิ ทนุ ส�ำ รองทธ่ี นาคารตา่ งๆ ก�ำ หนดไว้ 4) เท่าที่เป็นมาเจ้าหน้าท่ีได้ดำ�เนินมาตรการบางอย่าง เพอ่ื สง่ เสรมิ การใชเ้ งนิ เรยี ล บางอยา่ งกไ็ ดผ้ ล บางอยา่ งกไ็ มไ่ ดผ้ ล การสง่ เสรมิ การใช้เงินเรียลเป็นนโยบายระยะกลางของธนาคารแห่งประเทศ กมั พูชา (NBC) และรวมอยู่ในยุทธศาสตร์พัฒนาภาคการเงิน (FSDS) พ.ศ. 2554 – 2563 5.1.3 การพัฒนาภาคเศรษฐกจิ การส่งเสริมการเจริญเติบโตท่ีกว้างขวางและครอบคลุม ตอ้ งก�ำ หนดวตั ถปุ ระสงคใ์ นหกเรอ่ื งส�ำ คญั เพอ่ื ใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ • การส่งเสริมความทันสมัยและความหลากหลาย ของการเกษตรและการเพม่ิ อตั ราผลตอบแทน (ทง้ั ขา้ ว พชื รวมพชื สวน และยาง) การปฏริ ปู ทด่ี นิ แบบเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน สง่ เสรมิ การพฒั นาปศสุ ตั ว์ และภาคการประมงทางทะเลในเชิงพาณิชย์ (ในภาคส่วนทมี่ ขี นาดเล็ก) กอ่ ตง้ั สมาคมเกษตรกรส�ำ หรบั ใชน้ � รว่ มกนั ผลประโยชนด์ า้ นการตลาดฯลฯ • ส่งเสริมการเจริญเติบโตของภาคเอกชนในอุตสาหกรรม ท่ีหลากหลายการสร้างความทันสมัยและพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม 112

• สร้างความเข้มแข็งแก่ภาคการธนาคารและการเงิน เพ่ือให้เงินทุนกระจายไปสู่การเงินในเมืองเล็กและห่างไกลจากตัวเมือง ไดม้ ากขน้ึ • สามารถก่อให้เกิดวิวัฒนาการของตลาดแรงงานท่ีมี ความสามารถในการแข่งขันและโปร่งใส และการเหนี่ยวนำ�ให้เกิด กระบวนการสร้างงานซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่า • ลงทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ (การขนสง่ ไฟฟา้ ชลประทาน เทคโนโลยีสารสนเทศ และอน่ื ๆ) • ส่งเสรมิ การท่องเทย่ี ว หมายเหตุ: แต่ละภาคส่วนเหล่านี้ จะต้องเน้นการส่งออกขนาด ใหญ่เนื่องจากการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเป็นส่ิงจำ�เป็น สำ�หรับสรา้ งสมดุลทางการคา้ การเจริญเตบิ โตท่ีครอบคลุม เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมามีการเสนอกันมากขึ้นว่าการเติบโต ควรจะเปน็ การเตบิ โตแบบครอบคลมุ จะใหค้ วามหมายค�ำ วา่ 'ครอบคลมุ ' ได้ ต้องเข้าใจบริบทในประเทศกัมพูชา คำ�ว่าครอบคลุมหมายถึงการกระจายไปสู่ส่วนภูมิภาค และ เป็นการเจริญเติบโตในวงกว้าง ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กดิ การจา้ งงานอยา่ งทส่ี �ำ คญั ซ่งึ จะท�ำ ให้แรงงานไดร้ บั ค่าจ้างทม่ี กี �ำ ไรดี ซึง่ ไมใ่ ช่เรอ่ื งส�ำ คัญนักว่าจะ มงี านมาใหท้ ำ� หรือตอ้ งยา้ ยถิ่นฐานเพอ่ื ไปท�ำ งาน ส่งิ เดยี วทส่ี �ำ คญั กค็ ือ มีงานที่เหมาะสมเกิดขึ้นหรือไม่ นอกจากนี้ยังหมายถึงว่ามีการริเริ่ม สรา้ งผปู้ ระกอบการธรุ กจิ ดว้ ยการสรา้ งธรุ กจิ ใหมแ่ ละดกี วา่ เดมิ และสร้าง ธรรมาภิบาล ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 113

การสร้างสภาพแวดล้อมสำ�หรับเศรษฐกิจแบบเปิดที่มี ความสมดุลต้องกำ�หนดวัตถุประสงค์ในสี่เรื่องกว้างๆ ทีส่ �ำ คญั เพอ่ื ให้ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ • เพิ่มการส่งออกโดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าว ผลิตภัณฑ์เกษตร และผลติ ภณั ฑ์เกย่ี วกบั วศิ วกรรมด้านแสง • น�ำ กัมพูชาออกจากสถานะ “ประเทศดอ้ ยพัฒนา” ใหเ้ ป็น “เศรษฐกจิ ทเ่ี กิดขนึ้ ใหม”่ • สรา้ งความเขม้ แขง็ แกร่ ะบบการคา้ แบบเปดิ ผา่ น การเปดิ เสรกี ารคา้ • การวางนโยบายการค้าภายในกรอบของการรวมกลุ่ม ในระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยมุ่งเน้นไปที่ส่วนที่สำ�คัญ เช่น ข้อตกลงการลงทุน มาตรการอำ�นวยความสะดวกทางการค้า และ การปฏิรปู กฎหมาย 5.1.4 การพฒั นาความรูแ้ ละการประยกุ ตใ์ ช้วิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี เป็นความพยายามในการนำ�เทคโนโลยีท่ีทันสมัยเข้ามาด้วย วิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้กัมพูชาก้าวไปสู่การแบ่งงานในระดับ ภูมิภาคและระดับสากล หวั ใจสำ�คญั คือ การนำ�ทกั ษะทีย่ ่งั ยืนเข้ามา พฒั นาให้ดี 114

5.1.5 ความยากจน และความไม่เทา่ เทยี มกัน • ลดความยากจนอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 1 ตอ่ ปี และสง่ เสรมิ โภชนาการ • ท�ำ ใหค้ วามไม่เสมอภาคแคบลง ประชากรในส่วนท่มี รี ายได้ น้อยสุดร้อยละ 20 มีคา่ ใช้จ่ายในการบรโิ ภคอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ10 ของ การบรโิ ภค • ใหค้ วามสำ�คญั กบั เรื่องความไมเ่ สมอภาคในดา้ นตา่ งๆ อาทิ ภูมภิ าค เพศ อายุ การศกึ ษา สุขภาพ โอกาส และอน่ื ๆ • จัดต้ังเครอื ขา่ ยความปลอดภยั 5.1.6 การศึกษา สุขภาพ น� และสขุ อนามยั • กำ�หนดเป้าหมายเชิงปริมาณท่ีเป็นจริงสำ�หรับท้ังชายและ หญงิ ในแต่ละระดบั การศึกษา • การปรบั ปรงุ คุณภาพในระดับตา่ งๆ ของการศกึ ษา • สร้างความเขม้ แข็งแกฐ่ านทุนมนุษย์ และเพมิ่ ความสามารถ ด้านเทคโนโลยีและผู้ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะด้านสารสนเทศ และ การน�ำ เทคโนโลยไี ปประยกุ ตใ์ ชท้ างการเกษตรและอตุ สาหกรรมทท่ี นั สมยั • ลงทุนในสุขภาพและโภชนาการเพ่ือเสริมสร้างทุนมนุษย์ (เขา้ ถงึ วงจรชีวติ ) • ประชากรทกุ คนจะต้องไดร้ บั น� ดื่มทสี่ ะอาด • สง่ เสรมิ นโยบายดา้ นประชากรอยา่ งจรงิ จงั รวมถงึ การยา้ ยถน่ิ ฐาน เพ่ือใหม้ ัน่ ใจได้ว่าประชากรมสี ขุ ภาพดีและมงี านท�ำ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 115

• พบเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษของกัมพูชา (CMDGs) ซึ่งมเี ป้าหมายดงั น้ี 1. กำ�จัดความยากจนและความหิวโหย 2. ประสบความส�ำ เร็จในการจัดการศึกษาระดับพื้นฐาน 3. ส่งเสรมิ ให้มคี วามเท่าเทยี มทางเพศและยกบทบาทสตรี 4. ลดจำ�นวนการเสยี ชวี ติ ของเดก็ 5. ปรับปรงุ สขุ ภาพมารดา 6. ต่อสู้กบั ภัยทเ่ี กดิ จากโรคเอดส์ มาเลเรีย และโรคอืน่ ๆ 7. สรา้ งส่งิ แวดล้อมอยา่ งย่ังยนื 8. ก้าวไปกับห่นุ้ ส่วนนานาชาติเพื่อการพัฒนา 9. การเก็บทุ่นระเบิดจากสงครามและชว่ ยเหยอ่ื ผู้เคราะห์ร้าย จะเห็นได้ว่าเป้าหมาย 1 – 7 มีเป้าหมายที่เด่นชัดแต่เป้าหมาย ที่ 8 และ 9 ไมม่ ีเปา้ หมายทแ่ี ทจ้ รงิ แตย่ งั จะตอ้ งดำ�เนินการ 5.1.7 พฒั นาสงั คมและวฒั นธรรม • เพื่อรกั ษาและส่งเสรมิ มรดกทางวฒั นธรรมกมั พชู า • เพื่อส่งเสริมบทบาทของศาสนาในการรักษาความสามัคคี ในสังคม ท่มี า: http://www.internationalmedicalrelief.org 116

5.1.8 สิ่งแวดลอ้ ม ในการจัดการสิง่ แวดล้อม การดำ�เนินตามยุทธศาสตรก์ ารเตบิ โต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมนั้นเป็นเรื่องสำ�คัญอย่างยิ่ง องค์ประกอบ ของการดำ�เนินตามยุทธศาสตร์ดังกล่าว ได้แก่ การรักษาป่าไม้และ การจัดการท่ดี ินในลักษณะท่สี ามารถช่วยบรรเทาความยากจนได้เช่นกัน การใช้อปุ กรณ์และวิถีชวี ติ ทป่ี ระหยัดพลงั งานการส่งเสริมการทอ่ งเทีย่ ว ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และการริเริ่มโครงการอื่นๆ มีการขยาย พ้นื ทปี่ ่าไม้เป็นรอ้ ยละ60ของพน้ื ท่ีรวมท้ังรักษาสภาพแวดลอ้ มให้ย่ังยืน เนือ่ งจากกมั พชู ามเี ปา้ หมายต้องการได้รับความเช่อื ถอื ในการคา้ คารบ์ อนไดออกไซด์ 5.1.9 ประเดน็ ท่ีเกี่ยวกบั หลกั การพ้นื ฐานของมนษุ ย์ รัฐบาลกัมพูชาได้ระบุประเด็นที่เกี่ยวกับหลักการพ้ืนฐาน ของมนุษย์เอาไวอ้ ย่างน้อย 4 ประเด็น ไดแ้ ก่ เพศ สง่ิ แวดลอ้ มและ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการภัยพิบัติ และการจัดการ การคลงั และได้มีความพยายามทำ�ให้ประเด็นเหล่านี้เป็นเรื่องหลักที่ ทกุ ภาคสว่ นต้องคำ�นึงถึง นอกจากนี้ โภชนาการก็เปน็ อกี ประเดน็ หน่งึ แมว้ ่าจะไม่สามารถให้ความสำ�คัญแก่กจิ กรรมทุกอยา่ งได้ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 117

การเปล่ยี นแปลงทางสภาพภมู อิ ากาศ จากยทุ ธศาสตรส์ ่เี หลีย่ มผืนผา้ ท่ี 3 นโยบายแหง่ ชาติ และ แผนพัฒนายุทธศาสตร์ด้านการพฒั นาทีเ่ ปน็ มิตรต่อส่งิ แวดลอ้ มปี พ.ศ. 2557 – 2573 ทน่ี ายกรฐั มนตรกี �ำ หนดขน้ึ เมอ่ื ไมน่ านมาน้ี กระทรวงตา่ งๆ จำ�เปน็ ต้องหาใหพ้ บวา่ ความเสย่ี งจากกจิ กรรมของตนท่กี อ่ ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศมีอะไรบ้าง และมีมาตรการที่จะจัดการ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ และใชโ้ อกาสใหม่ๆ ที่เกดิ ขนึ้ ในกระทรวงของตนให้เป็นประโยชน์ โดยขอให้แตล่ ะกระทรวง พิจารณาสง่ิ ตอ่ ไปน้ี ก. ความเสย่ี งตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางภมู อิ ากาศมอี ะไรบา้ ง และ มโี อกาสท้งั ในระยะส้นั และระยะยาว อะไรบา้ งทค่ี วรไดร้ บั การพจิ ารณา ในการวางแผนทำ�กจิ กรรมในกระทรวงของตนและในการลงทนุ ข. ต้องลงมือทำ�กิจกรรมอะไรอย่างจริงจังต่อเนื่องบ้างเพื่อ จัดการกับการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ (อาทิ นโยบาย เคร่ืองมอื การวางแผน โครงการ และการวิจัยน�ำ ร่อง) ค. ต้องใช้ขอ้ มูลและพฒั นาความสามารถอะไร เพือ่ ทำ�ใหแ้ ตล่ ะ กระทรวงเร่งตอบสนองตอ่ การเปลยี่ นแปลงทางภูมิอากาศ ง. ในการจัดการความเสี่ยงทางภูมิอากาศ กระทรวงอนื่ ๆ ตอ้ งชว่ ยสนบั สนุนอะไรบา้ ง เชน่ การประเมนิ ความเส่ยี งทางภูมิอากาศ รว่ มกนั และการรว่ มกนั ออกแบบนโยบายทจ่ี ะตอบสนองตอ่ ความเสย่ี ง ฯลฯ จ. มีความเสี่ยงจากภัยพิบัติอะไรและสามารถใช้มาตรการ บรรเทาและลดความเสย่ี งอะไรบ้าง 118

แผนงานเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ด้านการเปล่ียนแปลงทางภูมิอากาศ (CCSP) เปน็ สว่ นท่ีส�ำ คัญตอ่ เร่ืองเหล่าน้ี การลดการท�ำ เหมอื ง ดินแดนส่วนใหญ่ในกัมพูชาที่ทำ�เหมืองได้รับผลกระทบจาก การทำ�ลายสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีการรายงานความคืบหน้าเกี่ยวกับ สถานการณ์ในปี พ.ศ. 2556 โดยใชผ้ ลการคน้ คว้าวจิ ยั เกยี่ วกบั พืน้ ที่ ที่ได้รับการปนเปื้อนจากเหมือง ซึ่งพื้นที่แห่งนี้เป็นที่แห่งแรกๆ ทีป่ ระเทศมคี วามมุ่งม่ันจะทำ�ความสะอาด การตดิ ตามและการประเมินผล สำ�หรับการเสริมสร้างความเข้มแข็งในระบบการติดตามและ ประเมินผลนั้น ได้เริ่มจากจุดเริ่มต้นเล็กๆ และมีความพยายามที่จะ หาตัวชี้วัดให้มากขึ้นเพื่อใช้ในการประเมินผล เช่น การเจริญเตบิ โต แบบครอบคลุมธรรมาภิบาลที่ดีขึ้น เพอื่ ตรวจสอบการตอบสนองต่อ นโยบาย ความโปร่งใสและความนา่ เช่อื ถอื และส่งิ ทคี่ ล้ายกนั เพ่อื สร้าง ฐานขอ้ มูลทางเศรษฐกจิ ของกัมพชู าใหเ้ ขม้ แข็ง ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกัมพูชา 119

5.2 หนว่ ยงานหลักทีร่ ับผิดชอบงานที่เก่ียวกบั ASEAN กมั พชู าเปน็ อีกประเทศหน่ีงในกล่มุ ASEAN ท่ีเพ่ิงเข้ามาเป็น สมาชิกในลำ�ดบั หลัง โดยมีกรมอาเซยี น (Department of ASEAN) กระทรวงต่างประเทศและความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ (Ministry of Foreign Affairs and International Cooperation) เปน็ ผู้รับผิดชอบ ในการประสานงาน ในปี พ.ศ. 2557 – 2561 (ค.ศ. 2013 - 2018) มเี จา้ หน้าท่ี รบั ผิดชอบในการประสานงาน[43] ดงั น้ี • Director General of ASEAN H.E. Mr. NONG SAKAL • Deputy Director General Mr. OUK SOPHOIN Mr. HENG SOPHALL • Deputy Director Mr. YOUNG CHANSOPHEA Mr. CHHAY SONGHENG Mr. MOM RAVIN ซงึ่ สามารถติดต่อกับกรมอาเซยี นท่หี มายเลขโทรศัพท์ 023-215-541 ตอ่ 1212 Director General of ASEAN ตอ่ 1216 Deputy Director General ต่อ 1205 และ Deputy Director ตอ่ 1209) 120

6 ระบบการพัฒนาข้าราชการ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 121

6.1 ภาพรวมของการพัฒนาขา้ ราชการ การพัฒนาความสามารถที่มีประสิทธิภาพของข้าราชการ พลเรือนกมั พูชา ตอ้ งวางรากฐานของหลกั การสำ�คัญที่จะเป็นเง่ือนไข แห่งความสำ�เร็จ ต้องขับเคลื่อนความต้องการและทำ�ให้เป็นไปได้ เพื่อตอบสนองสิ่งที่ควรจะทำ� ความเร่งด่วนต้องเกิดจากข้าราชการ พลเรอื นเองและการตอบสนองตอ่ ปจั จยั ภายนอกและผมู้ บี ทบาทเหลา่ นน้ั ระบบการประเมินการบริหารทรัพยากรมนุษย์ต้องได้รับการอธิบายว่า ตัดสินจากคำ�บรรยายลักษณะงาน การบริหารทรัพยากรมนุษย์และ ความสามารถในงานที่เกี่ยวข้อง แต่ละกระทรวงต้องรับผิดชอบ การพัฒนาความสามารถที่กล่าวถึงขอบเขตทั่วไปในกระทรวง และ ส่งเสริมการบริหารความสามารถ ให้มีประสิทธิภาพและหลีกเลี่ยง ความสญู เสยี โดยประเดน็ ท่จี ะช่วยเสริมการพัฒนาขา้ ราชการพลเรือน ให้มีประสิทธภิ าพ คอื [40] 6.1.1 การพฒั นาความสามารถต้องเสริมสรา้ งคณุ คา่ หลกั ของข้าราชการพลเรือน สะท้อนให้เห็นถึงวิสัยทัศน์ คุณค่าสำ�คัญแห่งการให้บริการ ฝา่ ยพลเรอื น เชน่ การจูงใจ ความจงรกั ภักดี ความเป็นมืออาชีพ และ การให้บริการ เสริมสร้างการมีจริยธรรมในการให้บริการแก่ประชากร กัมพูชาทั้งในแง่ของทัศนคติและพฤติกรรม ขา้ ราชการพลเรือนตอ้ ง กระทำ�ตนเป็นตวั อยา่ งทด่ี ีมีความสามารถและกระทำ�ตามพันธะสญั ญา มีความรว่ มมอื ระหวา่ งกระทรวงตามวัฒนธรรมองคก์ าร และทีมงานใน 122

แงข่ องความเปน็ หนุ้ สว่ นการสรา้ งงานและการท�ำ งานรว่ มกนั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความนา่ เช่ือถอื และตอบสนองตอ่ ข้าราชการพลเรือน 6.1.2 การพฒั นาความสามารถอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ต้องค�ำ นึงถงึ ความต้องการท่สี ำ�คญั การม่งุ เนน้ ทส่ี มรรถนะหลัก (Core Competency) ของกระทรวงและหน่วยงานทั้งหมด การปฏบิ ตั ิ การท่สี ำ�คญั ของแผนพัฒนายุทธศาสตร์แห่งชาติ (National Strategic Development Plan: NSDP) และยุทธศาสตร์สี่เหล่ียม (Rectangular Strategy) นอกจากนี้ กระทรวงและหน่วยงานต้องสามารถจำ�แนก และอธิบายความเร่งด่วนในงานของตนเองได้ โดยระบบประเมินผล การบริหารทรพั ยากรมนุษย์จะสร้างความส�ำ เรจ็ ในขน้ั ตน้ ซง่ึ มีส่วนใน กลไกการประสานงานและตรวจสอบกจิ กรรม 6.1.3 ความเปน็ เจ้าของและภาวะผูน้ ำ� “ในความเป็นกมั พชู า” จะเปน็ ดัชนีขนั้ พ้นื ฐานแหง่ ความส�ำ เรจ็ ตอ้ งก�ำ หนดกลยทุ ธ์ในการพฒั นาความสามารถ และโครงการน�ำ เสนอ โดยชาวกมั พชู าเพ่อื ชาวกัมพูชา ไดแ้ ก่ การเชญิ ผชู้ �ำ นาญงานในท้องถ่ิน มาแสดงถึงการปฏบิ ตั ิงานทแ่ี ท้จรงิ เพ่ือใหเ้ หน็ ตัวอยา่ งทเี่ กี่ยวขอ้ งกับ บริบทหรือสภาพแวดล้อมของชาวกัมพูชามากขึ้น เห็นความเร่งด่วน ในการใช้ภาษาเขมรในการฝึกอบรม ได้แก่ การอบรมคอมพิวเตอร์ เร่ืองนี้จะสร้างประสบการณ์ในการสร้างขีดความสามารถของภาครัฐ และเศรษฐกิจ รวมถึงการออกแบบและปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกัมพูชา 123

เหมาะสมกบั การพฒั นาชาวกมั พชู า และใชป้ ระโยชนจ์ ากทป่ี รกึ ษาแหง่ ชาติ ในการออกแบบโครงการรวมทง้ั เปน็ การสรา้ งทกั ษะและสนบั สนนุ การพฒั นา งานตามวิชาชีพ เรื่องนี้เกี่ยวกับความเหมาะสมของการชำ�นาญการใน ท้องถิ่นกับผู้มีความชำ�นาญภายนอก ครูชาวกัมพูชาควรให้คุณค่า และบทบาทผชู้ �ำ นาญการตา่ งประเทศเทา่ ๆกนั ใชป้ ระโยชนแ์ ละคณุ คา่ จาก ผใู้ หก้ ารอบรมในท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ เชน่ การศึกษา การอบรม และการวิจัย นโยบายสถาบัน มหาวิทยาลัย และภาคเอกชน ทมี่ า: http://click.senate.go.th/?p=4446 124

6.1.4 การพัฒนาศกั ยภาพต้องมงุ่ ไปทก่ี ารเสริมสร้าง สภาพแวดลอ้ มการทำ�งาน เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหผ้ ทู้ จ่ี ะพฒั นาและปรบั ปรงุ ความสามารถไดใ้ ชป้ ระโยชน์ อยา่ งเตม็ ท่ี ซง่ึ จะชว่ ยใหแ้ ตล่ ะกระทรวงหรอื หนว่ ยงาน กลายเปน็ องคก์ าร แห่งการเรียนรู้ และสนับสนุนให้เกิดนิสัยการเรียนรู้เป็นประจำ� รับรู้ถึง การเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมใหม่ๆ เช่นเดียวกับการเรียนรู้ร่วมกัน และการปรับปรุงท่ีเกี่ยวข้องกับการสื่อสารภายในทั้งที่เป็นทางการและ ไม่เปน็ ทางการ 6.2 วิธีพฒั นาข้าราชการ ในการประชุมเร่ืองทรัพยากรมนุษย์ในระบบข้าราชการพลเรือน ของกลมุ่ ประเทศอาเซยี น ทก่ี รงุ เทพมหานคร เมอ่ื วนั ท่ี 18 – 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2548 ประเทศกัมพูชาให้มุมมองที่แตกต่างของการบริหาร ผลการปฏิบัติงาน และมุ่งเน้นที่การพัฒนาคนเก่ง (Talent) ใน ขา้ ราชการพลเรอื น โดยขา้ ราชการพลเรอื นกมั พชู าเชอ่ื วา่ ผลการปฏบิ ตั งิ าน สว่ นบคุ คลสามารถเพม่ิ ความรแู้ ละพฒั นาทกั ษะ โดยระบจุ ดุ แขง็ ทต่ี อ้ งการ พัฒนาเป็นกลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลระยะยาว เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง ความสามารถของข้าราชการพลเรือน ซึ่งความสามารถนี้ มุ่งเน้น วิธีการสร้างด้วยโปรแกรมการฝึกอบรมพัฒนาสำ�หรับสองกลุ่ม คอื กลมุ่ ผสู้ �ำ เรจ็ การศกึ ษาทม่ี ศี กั ยภาพ และกลมุ่ ผนู้ �ำ รวมทง้ั ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ทม่ี อี ยใู่ นข้าราชการพลเรือน โดยโปรแกรมการพฒั นาจะส่งไปทสี่ ถาบัน ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกมั พูชา 125

การศึกษาต่างๆ รวมถึงโรงเรียนการบริหารแห่งรัฐ สถาบันฝึกอบรม ของกระทรวงและหนว่ ยงานในมหาวทิ ยาลยั โดยผา่ นวธิ กี ารเรยี นรตู้ า่ งๆ ซ่ึงโปรแกรมการฝึกอบรมที่เข้มข้นเหล่านี้มีเงื่อนไขการเข้าร่วมท่ียาก และมุ่งสู่การเพ่ิมขีดความสามารถในการทำ�งานของข้าราชการที่เข้า รว่ ม[40] 6.2.1 โปรแกรมการพฒั นาขดี ความสามารถของขา้ ราชการพลเรอื น การพัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการพลเรือน มวี ัตถุประสงค์หลัก เพื่อสร้างศักยภาพให้แก่สามกลุ่มเป้าหมายหลกั คือ ผู้บริหารระดับสูง นักบริหาร และผู้เชี่ยวชาญ ด้วยโปรแกรม การพฒั นาตอ่ ไปน[้ี40] 6.2.1.1 โปรแกรมการบริหารขน้ั สูง (Advanced Executive Program: AEP) สำ�หรบั กลุ่มผบู้ ริหารระดบั สงู โปรแกรมนเ้ีรม่ิ เมอ่ื ปลายปี พ.ศ. 2548 โดยออกแบบส�ำ หรบั ขา้ ราชการ ระดบั สงู ซง่ึ มบี ทบาทส�ำ คญั ในการแนะน�ำ และการจดั การการเปลย่ี นแปลง ในพน้ื ทป่ี ฏริ ปู ทส่ี �ำ คญั และบรรลผุ ลส�ำ เรจ็ เปน็ ทน่ี า่ พอใจในการใหบ้ รกิ าร ภายใตน้ โยบายใหม่ สมาชกิ ของกลมุ่ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู จะถกู มอบแนวทาง เชิงกลยุทธ์และความเป็นผู้นำ�เพื่อให้บรรลุผลสำ�เร็จและถูกคาดหวัง เพอื่ เข้าร่วมในโปรแกรมนี้ ซึ่งจดั สัมมนาประมาณ 1 หรือ 2 วัน โดยเลือกหัวข้อที่กำ�ลังได้รับความนิยมอยู่ในขณะนั้น โปรแกรมมี 126

การเช่ือมโยงอย่างเข้มแข็งกับกิจกรรมและโครงการปฏิรูปของรัฐบาล โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ มงุ่ เนน้ ทก่ี ารพฒั นาความเปน็ ผนู้ �ำ และทกั ษะการบรหิ าร จัดการของกลุ่มนี้เพื่อปรับปรุงโอกาสของความสำ�เร็จกับกิจกรรม การปฏิรูปการคัดเลือกจำ�นวนสมาชิกรัฐสภาที่จะมีส่วนเข้าร่วม โปรแกรมนี้ ประกอบด้วย การสัมมนาผู้บริหารระดับสูง และจัดหา การสมั มนาระดบั สงู ในระดับการเมืองของรัฐบาล การสัมมนาจะจัดเป็นประจำ�ทุกปี ประมาณ 5 ถึง 10 ครัง้ สำ�หรบั ผู้เข้าร่วม 30 – 40 คน โดยเครือข่าย การเรียนรูก้ ารพฒั นาท่ัวโลก (The Global Development Learning Network: GDLN) เป็นผจู้ ดั หากจิ กรรมสมั มนาเหล่าน้ี นอกจากนี้ ยงั จัดโปรแกรมระยะสัน้ และด�ำ เนนิ การจัดหลกั สูตรเองอีกด้วย ผู้ท่ีได้รับการเสนอช่ือเข้าร่วมจะต้องสอดคล้องกับหัวข้อสัมมนา และมีส่วนร่วม เช่นเดียวกับความต้องการของหน่วยงานและ ความพรอ้ มตามเวลาทก่ี �ำ หนดผเู้ ขา้ รว่ มโปรแกรมน้ี จะถกู คาดหวงั ทจ่ี ะ มีบทบาทการตัดสินใจในหน่วยงานราชการที่อยู่ ท้งั ระดบั อธบิ ดี รองอธิบดี เลขาธกิ ารใหญ่ รองเลขาธกิ ารใหญ่ ทีป่ รึกษาคณะรัฐมนตรี ทป่ี รกึ ษาสำ�นักนายกรัฐมนตรี ทป่ี รึกษานายกรฐั มนตรี ปลดั กระทรวง เลขาธกิ ารรัฐ และรฐั มนตรี ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 127

6.2.1.2 โปรแกรมการพฒั นาการบริหารจัดการ (Management Development Program: MDP) ส�ำ หรบั กลมุ่ นกั บรหิ าร โปรแกรมเรม่ิ อยา่ งเปน็ ทางการเมอ่ื ตน้ ปี พ.ศ. 2548 โดยถกู ออกแบบ ส�ำ หรบั เจา้ หนา้ ทท่ี ม่ี สี ว่ นรว่ มในการด�ำ เนนิ งานประจ�ำ ของการปฏริ ปู ของรฐั บาล รวมถึงโครงการ และบุคคลผู้ที่ต้องการเพิ่มทักษะการบริหารจัดการ เพื่อให้การสนับสนุนสำ�หรับการปฏิรูปในอนาคต โปรแกรมนี้ ถูกวางแผนเพื่อช่วยพัฒนาการบริหารที่มีประสิทธิภาพในภารกิจสำ�คัญ ของขา้ ราชการพลเรอื นกมั พชู า และสนบั สนนุ แผนการด�ำ เนนิ งานทางเศรษฐกจิ ที่เป็นรูปธรรมและการปฏิรูปภาครัฐ และปรับปรุงการส่งมอบบริการ ทด่ี ขี น้ึ โปรแกรมเชื่อมโยงกับการริเริ่มกลุ่มภารกิจสำ�คัญของรัฐบาล (Priority Mission Group: PMG) โดยผู้เข้าร่วมกลุ่มภารกิจสำ�คัญ ของรฐั บาล ถกู สง่ เสรมิ ใหม้ สี ว่ นรว่ มในโปรแกรมการพฒั นาการบรหิ ารจดั การ ซง่ึ ประกอบดว้ ยหลกั สตู รปกติ (เรยี นนอกเวลาราชการ) และการประชมุ เชิงปฏิบัติการตามโอกาสที่เหมาะสม โดยมีจำ�นวนผู้เข้าร่วมโปรแกรม 400 คน ใชร้ ะยะเวลามากกวา่ 2 ปี การฝกึ อบรมถกู จดั เปน็ “ทมี ” ประมาณ 20 คน (มีทั้งหมด 20 ทีม) การคัดเลือกผู้เข้าร่วมโปรแกรมจะขึ้นอยู่กับ ภารกิจที่ชัดเจนของผู้สมัคร และประเด็นการบริหารจัดการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กบั กจิ กรรมการปฏริ ปู การปรบั ปรงุ การบรหิ ารจดั การสว่ นบคุ คล ทักษะ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพรบั รองความเหมาะสมและความพรอ้ มในระดบั ทต่ี อ้ งการ ตามผบู้ รหิ ารหนว่ ยงานในโปรแกรมน้ี ไดร้ ะบคุ วามตอ้ งการฝกึ อบรมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง อยา่ งชดั เจน โดยผสู้ มคั รตอ้ งระบขุ อ้ มลู สว่ นบคุ คลรว่ มดว้ ย คอื 128

1) การมีส่วนร่วมในการวางแผนและกำ�กับดูแลการใช้ทรัพยากร รวมไปถงึ การจดั เตรยี มงบประมาณ 2) กจิ กรรมการด�ำ เนนิ งาน 3) การตง้ั วตั ถปุ ระสงคก์ ารท�ำ งานและตรวจสอบความคบื หนา้ การ จดั ตารางการท�ำ งานและโปรแกรม 4) การจดั สมดลุ ความตอ้ งการทข่ี ดั แยง้ ในทท่ี �ำ งาน 5) การจัดการบุคลากรและประเด็นปัญหาในสถานที่ทำ�งาน การแก้ปัญหาความขัดแย้งในสถานที่ทำ�งาน การจัดกิจกรรม ทีมการสื่อสารไปยังบุคลากร การเปน็ ตวั แทนและรายงานความรบั ผดิ ชอบ และกจิ กรรมการตดิ ตามและประเมนิ ผลผเู้ ขา้ รว่ มกลมุ่ ภารกจิ ส�ำ คญั ภายใต้ การปฏิรูปการบริหารภาครัฐ ผเู้ ขา้ รว่ มกลมุ่ ภารกจิ จงึ ควรจบอนุปริญญาหรือปริญญาตรีขึ้นไป ในสาขาเศษฐศาสตร์ การเงนิ รฐั ประศาสนศาสตร์ กฎหมาย การบรหิ ารจดั การ และสาขาอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 6.2.1.3 โปรแกรมการพฒั นาผเู้ชย่ี วชาญ (Professional Development Program: PDP) สำ�หรับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ โปรแกรมน้ีถูกออกแบบสำ�หรับเจ้าหน้าท่ีระดับต�กว่าผู้บริหาร ซ่ึงทำ�งานในส่วนงานเฉพาะทางและรับผิดชอบในการเตรียมนโยบาย และการดำ�เนินงานในกิจกรรมการปฏิรูปภายใต้การแนะนำ�ของ นกั บรหิ ารระดบั สงู โปรแกรมนเ้ี รม่ิ ขน้ึ เมอ่ื ตน้ ปี พ.ศ. 2548 มจี ดุ ประสงค์ เพ่ือช่วยให้ผู้เช่ียวชาญระดับต้นท่ีมีศักยภาพจะเป็นผู้สร้างนโยบาย ในอนาคต และพัฒนาทักษะด้านการคิดเชิงกลยุทธ์ที่พัฒนา ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 129

เชน่ เดยี วกบั ความสามารถในการวเิ คราะห์ และการตรวจสอบอยา่ งแมน่ ย�ำ ในการพจิ ารณาประเดน็ นโยบายสง่ิ ส�ำ คญั อนั ดบั แรกคอื การพฒั นาและยกระดบั ทกั ษะการก�ำ หนดนโยบายผา่ นหลกั สตู รปกติ (เรยี นนอกเวลาราชการ) และ การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารตามโอกาสทเ่ี หมาะสมและเกย่ี วขอ้ งกบั โปรแกรม โดยมีจำ�นวนผู้เข้าร่วมโปรแกรม 100 คน แต่ละกลุ่มมี 15 – 20 คน ใชร้ ะยะเวลามากกว่า 2 ปี การคัดเลือกขึ้นอยู่กับภารกิจที่ชัดเจนกับ ความจ�ำ เปน็ ในการพฒั นานโยบายหนว่ ยงาน และปจั จยั สว่ นบคุ คล ซง่ึ เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั อนั ดบั แรกของโปรแกรม จากผลการประเมินของผู้เข้าร่วมการศึกษาโครงสร้างและ ประสบการณท์ างวชิ าชพี ในหนว่ ยงานราชการนน้ั เปน็ ทน่ี า่ พอใจ พรอ้ มกับ คุณสมบัติส่วนบุคคลท่ีระบุขอบเขตเพ่ือความก้าวหน้าท่ีมีศักยภาพ ในราชการพลเรอื นกมั พชู า ผเู้ ขา้ รว่ มโปรแกรมนค้ี อื ผเู้ ชย่ี วชาญระดบั ตน้ มีประสบการณ์การทำ�งานในหน่วยงานราชการ สำ�เร็จการศึกษา โปรแกรม Ecole Royale d’Administation: ERA และสถาบนั เศรษฐกจิ และการเงิน (Economics and Finance Institute: EFI) ทั้งส�ำ เรจ็ การศกึ ษาจากสถาบนั ตา่ งประเทศ(เชน่ ปรญิ ญาโท หรอื การศกึ ษา ทส่ี งู กวา่ ปรญิ ญาตร)ี หากคณุ สมบตั ติ รงตามเงอ่ื นไขเหลา่ น้ี กจ็ ะไดร้ บั การ พจิ ารณาเปน็ พเิ ศษมากกวา่ ผสู้ มคั รทไ่ี มม่ ขี อ้ มลู สว่ นบคุ คลตามทก่ี ลา่ วมา 130

6.3 หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบดา้ นการพฒั นาขา้ ราชการ นโยบายการพฒั นาขดี ความสามารถของขา้ ราชการพลเรอื นกมั พชู า ได้มีการกำ�หนดความเร่งด่วนอย่างชัดเจนเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน ด�ำ รงความยตุ ธิ รรมในสงั คม และลดความยากจน ผา่ นการปรบั ปรงุ และ ใชย้ ทุ ธศาสตรส์ เ่ี หลย่ี มตามแผนพฒั นายทุ ธศาสตรแ์ หง่ ชาติ (National Strategic Development Plan: NSDP) เปา้ หมายการพฒั นาแหง่ สหสั วรรษของกมั พชู า (Cambodia’s Millennium Development Goals:CMDGs)และแผน2ของการปฏบิ ตั กิ ารก�ำ กบั ดแู ล (Governance Action Plan II) ซง่ึ ความส�ำ เรจ็ จะขน้ึ อยกู่ บั ขดี ความสามารถของสถาบนั รฐั ในการออกแบบและด�ำ เนนิ การตามโครงการตา่ งๆโดยการปฏริ ปู ระบบ ราชการเปน็ เรอ่ื งส�ำ คญั และจะตอ้ งท�ำ ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องการปฏริ ปู คอื การให้บริการประชาชนที่ดีขึ้นด้วยการเปลี่ยนข้าราชการพลเรือน เป็นผู้ให้บริการที่มีประสิทธิภาพของการบริการสาธารณะและหุ้นส่วน การพฒั นาทเ่ี ชอ่ื ถอื ได[้40] ความพยายามอย่างมากในการปฏิรูปไปส่คู วามเจริญร่งุ เรืองและ ความสขุ ของประเทศตลอดจนประชาชน ขึน้ อย่กู บั การด�ำ เนินการของ ขา้ ราชการพลเรอื นแหง่ ราชอาณาจกั รกมั พชู า โดยวตั ถปุ ระสงคข์ องรฐั บาล คือ การเปลี่ยนแปลงข้าราชการเป็นผู้ให้บริการที่มีประสิทธิภาพของ ประชาชน โดยการให้บริการด้วยความโปร่งใส ตอบสนอง และ มีประสิทธิภาพมากขึน้ ด้วยการเสรมิ สร้างแรงจงู ใจ ความจงรักภกั ดี ความเปน็ มอื อาชพี และวฒั นธรรมการบรกิ ารของขา้ ราชการ ซง่ึ จะมี ผลในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการท�ำ งานและความรบั ผดิ ชอบของขา้ ราชการ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 131

พลเรือน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่สำ�คัญที่สุดของ “การให้บริการ ประชาชนท่มี ีประสทิ ธิภาพ” (Serving People Better) ดังนั้น หนง่ึ ใน ขั้นตอนท่ีสำ�คัญทสี่ ดุ คือ ความรู้และความเข้าใจพืน้ ฐานทางกฎหมาย ของข้าราชการพลเรือน ซ่ึงเปน็ พน้ื ฐานสำ�หรับการสง่ เสริมความโปรง่ ใส ความรับผิดชอบ ความมีประสทิ ธิภาพ การตอบสนอง และการปกครอง ด้วยกฎหมายนอกจากนี้ ข้าราชการพลเรือนแต่ละคนมีหน้าที่ต้อง ปฏบิ ตั ิตามกฎหมายและนโยบายของรฐั บาลประเทศกมั พชู า (Royal Government of Cambodia: RGC) ท่ไี ดป้ ระกาศไว้ [51] หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการพัฒนาข้าราชการพลเรือนกัมพูชา คอื โรงเรยี นการบรหิ ารแหง่ รฐั (Royal School of Administration: RSA) โดยมีบทบาทในการรับสมคั ร ฝึกอบรม และพฒั นาข้าราชการทีม่ ี ความตง้ั ใจรบั ใชป้ ระเทศชาติ โดยผูส้ ำ�เร็จการศกึ ษาไม่ตอ้ งสอบแขง่ ขัน เหมือนการสอบเข้าโรงเรยี น โปรแกรมการฝึกอบรมของโรงเรียนการบริหารแห่งรัฐ จะแบ่ง ออกเปน็ สองประเภทหลกั คอื โปรแกรมการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งและโปรแกรม การฝกึ อบรมแรกเขา้ โปรแกรมการศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง จะกลา่ วถงึ ขา้ ราชการพลเรอื น ที่ประจำ�การอยภู่ ายใต้กลมุ่ A และ B มวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือยกระดบั ความรู้ ในส่วนของรัฐประศาสนศาสตร์ หรือการบริหารราชการ โดย เงื่อนไขของหลักสูตรจะมีการกำ�หนดเป็นประจำ�ทุกปีจากสำ�นักงาน คณะรัฐมนตรี (Office of The Council of Ministers) ผู้สมคั รจะถกู คัดเลือกโดยกระทรวงหรอื สถาบนั 132

โปรแกรมการฝึกอบรมแรกเริ่ม จะกล่าวถึงนักเรียนที่มีอายุและ การศึกษาอยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ ซึ่งเป็นผู้ที่ต้องการเป็นข้าราชการ พลเรือนในระดับกลาง (Kramkars) หรือระดับสูง ผู้สมัครจะเป็น ข้าราชการทันทีที่ผ่านการตรวจสอบการเข้า และเซ็นสัญญาก่อนที่ จะถูกแต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรี ในกรณีที่ผู้สมัครประสบความสำ�เร็จ ได้เข้าเป็นข้าราชการพลเรือนแล้ว จะต้องปฏิบัติหน้าที่เป็นระยะเวลา อยา่ งน้อย 7 ปี นับจากวนั แตง่ ตง้ั จากกระทรวงหรอื สถาบันน้นั ๆ[51] นอกจากน้ยี งั มีสภาเพอื่ การปฏิรปู การบริหาร (Council for Administrative Reform - CAR) ทมี่ ีวัตถุประสงคโ์ ดยรวมของ รฐั บาลกมั พชู า (the Royal Government of Cambodia - RGC)[51] ในการพัฒนาข้าราชการพลเรือนเป็นผู้ให้บริการที่มีประสิทธิภาพ ของภาครัฐบริการโดยการบริการสาธารณะที่โปร่งใสมากข้ึน การตอบสนองที่ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพ เสริมสร้างแรงจูงใจด้วย ความจงรักภักดีอย่างเป็นมืออาชีพของข้าราชการท่ีมีวัฒนธรรมใน การให้บริการ ซึ่งจะส่งผลในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานและ ความรับผิดชอบของข้าราชการพลเรือนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายหลัก ของการ “ใหบ้ รกิ ารประชาชนทดี่ ีขึน้ ” ซึ่งมรี ายละเอียดย่อย ดังภาพ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 133

ภาพที่ 14 เปา้ หมายหลกั ของขา้ ราชการกัมพชู า ท่มี า: Handbook For Civil Servants, 2010[51] จากภาพ จะเห็นไดว้ ่าข้าราชการกมั พชู ามีเปา้ หมายหลกั คอื “การให้บรกิ ารประชาชนท่ีดที ่สี ุด (To Serve People Better)” โดยมี รายละเอียดในการสนบั สนนุ เพอ่ื ใหไ้ ด้บรกิ ารทีด่ ีทสี่ ุด ดงั น้ี “การให้บริการประชาชนท่ีดกี ว่า การบริการสาธารณะจะกลาย เปน็ ความโปร่งใสมากขึน้ จากการตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพของ ข้าราชการผา่ นการส่งเสริมคุณค่าด้านแรงจงู ใจ ความซอ่ื สตั ย์ ความเปน็ มืออาชพี และวฒั นธรรมการให้บรกิ าร” 134

7 กฎหมายส�ำ คญั ทีค่ วรรู้ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 135

7.1 กฎระเบยี บขา้ ราชการ จากหนังสือคู่มือสำ�หรับข้าราชการกัมพูชาที่มีการตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2554 ได้มกี ารกล่าวถงึ ล�ำ ดับขั้นของบรรทัดฐานในกัมพูชาไวว้ า่ มถี ึง 7 ระดับ ประกอบด้วย  ระดับสูงสดุ คอื รฐั ธรรมนญู (Constitution)  ลำ�ดับทสี่ อง คอื อนุสัญญาระหวา่ งประเทศ (Interna- tional conventions)  ล�ำ ดบั ที่สาม คือ กฎหมาย (Kram - Law)  ล�ำ ดับที่ส่ี คอื พระราชกฤษฎกี า (Kret - Royal Decree)  ล�ำ ดับที่ห้า คอื กฤษฎกี าย่อย (Anukret - Sub-decree)  ล�ำ ดบั ที่หก คือ ประกาศ (Prakas - Decision)  ล�ำ ดบั ท่ีเจ็ด คอื หนงั สอื เวียน (Sarachor - Circular) ดงั ภาพน้ี 136

Constitution International conventions Kram (law) Kret (Royal Decree) Anukret (Sub-decree) Prakas (Decision) Sarachor (Cricular) ภาพท่ี 15 The hierarchy of norms in Cambodia ที่มา: Handbook For Civil Servants, 2010[51] 7.1.1 หลักทัว่ ไปของข้าราชการพลเรอื นปี พ.ศ. 2540[48] บทท่ี 1 ข้อก�ำ หนดท่วั ไป ขา้ ราชการควรถกู จดั แบง่ ออกเปน็ กลมุ่ ๆ ในหนว่ ยงานขา้ ราชการ พลเรอื น ซง่ึ ถกู แบง่ โดยละเอยี ดโดยใชห้ ลกั การจดั ระดบั (Grade) เปน็ ตวั ตดั สนิ หนว่ ยงานเหลา่ น้ี และจะถกู จดั ล�ำ ดบั เปน็ หมวดหมู่ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 137

บทที่ 2 หมวดตา่ งๆ หนว่ ยงานจะถกู จัดอันดับเป็น 4 หมวด ได้แก่ A B C และ D โดยอ้างองิ จากขอ้ ก�ำ หนดการศกึ ษาข้นั ต�ตามกฎของรฐั บญั ญัติ หมวด A มีขอบเขตหน้าที่รับผิดชอบในการปฎิบัติตามคำ�ส่ัง ของผู้บังคับบัญชา ตรวจสอบ ศึกษา และให้ค�ำ ปรกึ ษา โดยขา้ ราชการ ที่อยู่ในหมวด A ต้องมีการศึกษาขั้นต�ระดับปริญาตรีเป็นต้นไป ซ่งึ ในบางกฎของรฐั บัญญัตกิ �ำ หนดการศกึ ษาขนั้ ต� ระดับปรญิ าโท หมวด B มีขอบเขตหน้าท่ีรับผิดชอบในการเตรียมงาน ด้านต่างๆ ภายใต้คำ�สั่งจากผู้บังคับบัญชา โดยข้าราชการที่อยู่ใน หมวด B ต้องมกี ารศกึ ษาขั้นต�ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ขัน้ สงู หมวด C มีขอบเขตหน้าที่รับผิดชอบเป็นเลขานุการ และ งานธุรการที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางต่างๆ โดยผทู้ ่อี ยใู่ น หมวด C น้ันต้องมีระดับการศึกษาขน้ั ต� ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย หมวด D มีขอบเขตหน้าท่ีรับผิดชอบในงานธุรการข้ันต้น และไม่มีการกำ�หนดการศึกษาขั้นต�ในการเข้าทำ�งานในหมวดนี้ ผทู้ ตี่ อ้ งการจะเขา้ รบั ราชการในหมวด A B และ C ตอ้ งเป็นผู้สำ�เรจ็ การ ศกึ ษาตามข้อก�ำ หนดการเขา้ รับราชการพลเรอื นซึ่งมีผลบงั คบั ใช้ณวนั ท่ี เอกสารนไ้ี ดท้ ำ�การตีพิมพ์ (21 พฤจิกายน 2540) ข้าราชการที่ทำ�งานอยู่ก่อนแล้วจะต้องถูกจัดกลุ่มใหม่ใน หนว่ ยงานราชการรปู แบบใหม่ โดยมคี ณะกรรมการทแ่ี ตง่ ตง้ั โดย Anukret (กฤษฎกี ายอ่ ย คอื กฎหมายทฝ่ี า่ ยบรหิ ารออกโดยอาศยั มตคิ ณะรฐั มนตรี และลงนามโดยนายกรฐั มนตรี เปน็ การออกกฎหมายตามกฎหมายฉบบั แม่ เชน่ รัฐธรรมนูญหรือฉบับซึ่งเทียบได้กับพระราชกฤษฎีกาหรือ 138

กฎหมายกระทรวงของไทย) รวมทั้งต้องเสนอต่อรัฐบาลถึงเหตุผลที่ ด�ำ เนินการจัดกล่มุ ใหมข่ องขา้ ราชการดว้ ย ตารางที่ 3 รปู แบบการแบ่งขนั้ ต�ำ แหนง่ ของราชการในกมั พูชา ทีม่ า: Handbook For Civil Servants, 2010[51] ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกมั พูชา 139

บทที่ 3 หน่วยงานราชการพลเรอื น ในหน่ึงหน่วยงานราชการจะต้องประกอบด้วยข้าราชการท่ี จบการศึกษาในระดับเดียวกันและมีความรู้เฉพาะทางเดียวกัน รวมไป ถึงประสบการณ์ทำ�งานท่ีเหมอื นกนั ดว้ ย หน่วยงานราชการพลเรือนจะถูกจัดตั้งโดยรัฐบัญญัตินั้นๆ ซึ่งมี รัฐมนตรแี ละเลขานกุ ารของหนว่ ยงานเปน็ ผสู้ ่ังการ แล้วน�ำ ส่งเอกสาร สง่ั การไปยงั ส�ำ นกั ราชกจิ โดยมสี ภานติ ศิ าสตรแ์ ละคณะกรรมการบรหิ าร ปฏริ ปู เปน็ ผใู้ หค้ �ำ แนะน�ำ รัฐบัญญัตินั้นๆ ต้องสร้างหน่วยงานเพื่อบริหารจัดการใน การจัดการตำ�แหน่งหน้าที่ต่างๆ ให้แก่ข้าราชการ ซึ่งกำ�หนดโดย บทบญั ญตั ขิ องกฎหมายทว่ั ไปของขา้ ราชการพลเรอื น ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1) เสนอหนว่ ยงานราชการให้แก่รัฐมนตรี 2) จ�ำ แนกหน่วยงานราชการออกเปน็ หนว่ ยๆ 3) ก�ำ หนดภารกจิ ของหนว่ ยงาน 4) ก�ำ หนดต�ำ แหน่งใหแ้ ก่ขา้ ราชการของหน่วยงาน 5) กำ�หนดการศึกษาขั้นต�ของบุคคลท่ีต้องการเข้าทำ�งานและ ขนั้ ตอนการปฎบิ ตั ใิ นการสอบแข่งขันท้งั ในและนอกองค์การ 6) ก�ำ หนดอายเุ กษยี ณ 7) ก�ำ หนดโครงสรา้ งของหนว่ ยงาน โดยโครงสรา้ งจะถกู แบง่ ออก เป็นระดบั (Grade) และขอบเขตหนา้ ทขี่ องแต่ละต�ำ แหนง่ จะถูกแบง่ ตามแตล่ ะระดับ 8) กำ�หนดขนั้ ตอนและระดบั ในการเล่ือนตำ�แหน่ง กฤษฎีกาย่อยจะประเมินเน้ือหาของแต่ละรัฐบัญญัติรวมไปถึงวิธีการที่ จะแตง่ ต้ังหน่วยงานตา่ งๆ 140

ตารางท่ี 4 รปู แบบการแบง่ ล�ำ ดบั ต�ำ แหนง่ ราชการตามหนว่ ยงาน ท่มี า: Handbook For Civil Servants, 2010(51) ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 141

บทท่ี 4 ระดับ (Grade)  ระดับ (Grade) คือ การจัดอันดับของหน่วยงาน ซ่งึ แตล่ ะหน่วยงานจะถูกจดั ล�ำ ดับออกเปน็ 3 ระดบั มีอ�ำ นาจหน้าที่ รับผดิ ชอบตามแต่ละระดับ  ข้าราชการที่ถูกบรรจุเข้าทำ�งานในระยะเริ่มต้น จะถกู จดั อันดับอยรู่ ะดบั แรกของหนว่ ยงาน  ขา้ ราชการจะถกู เลอ่ื นขน้ั ตามล�ำ ดบั ซง่ึ เปน็ ไปตามขอ้ ก�ำ หนด บทบญั ญตั ิฎหมายทว่ั ไปของขา้ ราชการพลเรือนหนว่ ยงานน้นั ๆ  การเล่ือนขนั้ ไปยังระดบั 2 และ 3 มีไวเ้ ฉพาะข้าราชการ ทม่ี ผี ลงานดเี ดน่ เทา่ นั้น โดยการเล่ือนขัน้ ไปยงั ระดบั 2 และ 3 จะเกิด ข้นึ ก็ตอ่ เมื่อตำ�แหน่งในระดบั 2 และ 3 วา่ งลง และข้าราชการทจ่ี ะถกู เลื่อนขนั้ นน้ั ต้องมชี ื่ออยู่ในบัญชีรายชอื่ ของการเลื่อนขั้น โดยผา่ น การฝกึ จากโรงเรยี นการบรหิ ารของรฐั (Royal School of Administra- tion) หรอื สถานศกึ ษาทเ่ี ปน็ ทร่ี จู้ กั ของรฐั บญั ญตั ิ หรอื จากการสอบแขง่ ขนั  ข้าราชการที่จะสามารถเลื่อนขั้นเป็นระดับ 2 ไดน้ นั้ ตอ้ งมีผลงานตาม 4 ลำ�ดับขั้นในระดับท่ี 1 ก่อน  ข้าราชการที่จะสามารถเลื่อนขั้นเป็นระดับ 3 ไดน้ น้ั ตอ้ งมีผลงานตาม 4 ลำ�ดบั ขัน้ ในระดับที่ 2 กอ่ น  การเล่ือนระดับท่ีสูงข้ึนจะส่งเสริมสิทธิและอำ�นาจหน้าที่ ของข้าราชการตามระดับที่กำ�หนดโดยรัฐบัญญัตินั้นๆ  แนวทางสำ�หรับการเปล่ยี นตำ�แหน่งของข้าราชการปัจจุบัน ไปยังระบบปฏิรูปใหม่นั้น เป็นไปตามบทบัญญัติการเปลี่ยนแปลง ตามกฤษฎกี ายอ่ ย 142

บทที่ 5 ขน้ั  ระดบั จะถกู แบ่งออกเป็นขั้นๆ ซ่งึ แตล่ ะขนั้ กจ็ ะแบง่ ตามขั้น ของเงนิ เดอื น  ระดบั 3 จะถกู แบง่ ออกเปน็ 14 ขนั้ ระดับ 2 แบง่ ออก เป็น 10 ขั้น และระดับ 1 แบง่ ออกเป็น 6 ขัน้  ข้าราชการจะถูกเลื่อนหนึ่งขั้นทุก 2 ปี เนื่องด้วย ระบบอาวุโสได้มาจากผลงาน ความสามารถ ความยากของหนา้ ท่ี ความรับผิดชอบ หรืออำ�นาจหน้าที่ของบางตำ�แหน่ง ซง่ึ รฐั บญั ญตั นิ น้ั สามารถก�ำ หนดขา้ ราชการทอ่ี าจมสี ทิ ธไิ ดร้ บั โอกาสในการเลอ่ื นต�ำ แหนง่ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกมั พชู า 143

ตารางท่ี 5 รปู แบบการเล่ือนตำ�แหน่งในระบบราชการกมั พูชา ท่ีมา: Handbook For Civil Servants, 2010(51) 144

บทที่ 6 บทบญั ญัตสิ ุดทา้ ย  นายกรฐั มนตรที ่ี 1 และ 2 จะดแู ลการน�ำ ไปปฎบิ ตั ขิ องราชกจิ น้ี  ราชกจิ นม้ี อี �ำ นาจใช้ ณ วนั ลงนาม 7.1.2 หลกั การท่วั ไปของวธิ ีดแู ลขา้ ราชการพลเรอื น [45] บทท่ี 1 วธิ ีการให้บรกิ าร และการบริหารการเงินของข้าราชการ มาตรา 1 การบริหารและจัดการการเงนิ ของข้าราชการ รวมทงั้ การเปล่ียนแปลงการบริหารและสถานะที่จะได้รับการดำ�เนินการผ่าน ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ มาตรา 2 ฝา่ ยบคุ ลากรทบ่ี รหิ ารโดยสว่ นกลางจะรา่ งกฎระเบยี บ ที่แยกออกสำ�หรับการจัดการบริหารของข้าราชการพลเรือน รวมท้งั รา่ งพระราชกฤษฏกี า ร่างกฎเกณฑย์ ่อย โดยใช้มาตรฐานทางเทคโนโลยี สารสนเทศระบุหมายเลขประจำ�ตัวข้าราชการพลเรือน ส�ำ หรบั เวลา การทำ�งานของระบบการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแ้ ยกกฎระเบียบที่ตีพิมพ์อื่นๆ ออกจากเอกสารท่ถี กู ตอ้ งตามกฎหมาย โดยใหถ้ ือว่าเอกสารนอกเหนอื จากเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นโมฆะ มาตรา 3 ความถูกต้องในการดูแลกฎระเบียบท่ีแยกออก ในรูปแบบของประกาศจะถูกตรวจสอบโดยสำ�นักงานเลขาธิการของรัฐ สำ�หรับการให้บริการสาธารณะและความถูกต้องของงบประมาณจะ ได้รับการตรวจสอบโดยผู้ควบคุมทางการเงิน และการอนุมัติวีซ่า ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกัมพูชา 145

สำ�หรับสถาบันการศึกษาจะต้องได้รับการรับรองจากการลงนามหรือ ลายเซน็ ผอู้ �ำ นวยการฝา่ ยทด่ี แู ลเรอ่ื งกฎระเบยี บดงั กลา่ วความถกู ตอ้ งของ การบรหิ ารรา่ งขอ้ บงั คบั ของพระราชกฤษฎกี ายอ่ ย และพระราชกฤษฎกี า จะถูกตรวจสอบโดยเลขาธิการรัฐ สำ�หรับการให้บริการสาธารณะ และความถูกต้องของงบประมาณจะได้รับการตรวจสอบโดยผู้ควบคุม ทางการเงินและการอนุมัติวีซ่า และความเห็นชอบทั้งหมดของ คณะรฐั มนตรีจะถูกบนั ทึกไวใ้ นบริบท บทที่ 2 การจา่ ยเงนิ เดอื นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรา 4 เงินเดือนและค่าตอบแทนท่ีจ่ายให้แก่ข้าราชการ พลเรือนจะไดร้ ับผ่านการตัดสนิ ของพนกั งานบญั ชี กระทรวงการคลงั โดยคำ�สั่งใดๆ ก่อนการชำ�ระเงิน จะได้รับโดยผ่านวิธีการทางระบบ คอมพิวเตอร์ของศูนย์กลางที่ดูแลระบบการจัดการภายใต้การควบคุม ของกระทรวงการคลังที่ทำ�หน้าที่เป็นพนักงานบัญชีสาธารณะ บญั ชี ดังกล่าวจะมีการตรวจสอบกระแสของเงินเดือนตามตัวอักษรที่ได้รับ การรบั รอง หลังจากเตรยี มความพรอ้ มของเงนิ เดือน เงนิ เดอื นจะ ถูกส่งไปยังแผนกของบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องในแต่ละใบสำ�คัญแสดง สทิ ธิ กระทรวงการคลังจะรบั ทำ�หน้าท่จี ดั งาน (Ordonnateur) หรือ กรรมการสถาบันในเวลาเดียวกันกับการจ่ายเงินเดือนและการอนุมัติ วีซ่าของการควบคุมทางการเงิน การชำ�ระเงินจะได้รับผ่านตัวแทน การช�ำ ระเงนิ ภายใต้การก�ำ กบั ดูแลของกระทรวงการคลัง 146

ตารางท่ี 6 ตารางการจ่ายเงนิ เดือนข้ันต�ของขา้ ราชการกัมพชู าตามลำ�ดบั ขน้ั ที่มา: Handbook For Civil Servants, 2010(51) มาตรา 5 ก ร ะ ท ร ว ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร ค ลั ง แ ห่ ง รั ฐ เพ่ือการบริการสาธารณะจะกำ�หนดหลักการและรายละเอียด คำ�แนะนำ�สำ�หรับการประยุกต์ใช้พระราชกฤษฎีกาย่อย และขน้ั ตอน สำ�หรับการประยุกต์ใช้กฎระเบียบท่ีแยกออกสำ�หรับการจัดการตาม ล�ำ ดบั ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 147

ภาพที่ 16 แผนภาพการจา่ ยเงนิ เดอื นข้นั ต�แกข่ ้าราชการตามล�ำ ดบั ต�ำ แหนง่ ท่มี า: Handbook For Civil Servants, 2010(51) บทที่ 3 มาตรการเฉพาะกิจ มาตรา 6 หลังจากเสร็จสิ้นการสำ�รวจสำ�มะโนประชากร ขา้ ราชการพลเรอื นทุกกระทรวง สถาบนั การศึกษาจังหวัดและเทศบาล จะต้องใช้บัญชเี งนิ เดอื นใหม่ มาตรา 7 กระทรวงหรือสถาบันการศึกษาที่ใช้บัญชีเงินเดือน ใหม่ตามระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การขอวซี ่าจะได้รบั การอนมุ ัติ จากสำ�นักเลขาธิการรัฐเพื่อการบริการสาธารณะท่ีมีการเปล่ียนแปลง ของสถานะการบริหารหรือการเปล่ียนแปลงรายเดือนของสถานะแห่ง ข้าราชการพลเรือน เลขาธิการรัฐจะต้องรายงานสถานะข้างต้นแก่ คณะรัฐมนตรี 148

มาตรา 8 ในช่วงระยะเวลาการเปล่ียนผ่านในการใช้ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศท่ไี ม่ได้รบั ขอ้ สรปุ การใชร้ ะบบเอกสารในปจั จุบัน จะยงั คงอยใู่ นบงั คบั มาตรา 9 พระราชกฤษฎกี ายอ่ ยนี้ใหย้ กเลิกและแทนท่ีพระราช กฤษฎีกายอ่ ยฉบบั 20/ANK/BK ของวันท่ี 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 เก่ียวกับหลักการท่ัวไปของวิธีการในการบริหารจัดการข้าราชการ พลเรือน บทบญั ญตั ิใดๆ ที่ขดั ตอ่ พระราชกฤษฎกี ายอ่ ยนีใ้ ห้ถอื วา่ ยกเลกิ มาตรา 10 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงในความดูแลของ คณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องและเลขาธิการแห่งรัฐ จะมีอำ�นาจใช้ พระราชกฤษฎกี าย่อยฉบับนี้นับจากวันที่ลงนาม ทมี่ า: http://www.cambosastra.org ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกมั พูชา 149


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook