Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กัมพูชา-cambodia

กัมพูชา-cambodia

Published by E-book Library กศน.ตำบลสำโรง, 2019-04-25 00:51:59

Description: กัมพูชา-cambodia

Search

Read the Text Version

7.2 กฎหมายแรงงาน กมั พูชามีประชากรประมาณ 15 ลา้ นคน ผลติ ภณั ฑ์มวลรวม ภายในประเทศเทา่ กบั 13.16 พนั ลา้ นดอลลารส์ หรฐั (พ.ศ. 2554) รายได้ ประชาชาตติ อ่ หวั เทา่ กบั 911.73ดอลลารส์ หรฐั (พ.ศ.2554)การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.7 (พ.ศ. 2554) ทง้ั น้ี กมั พชู ามกี �ำ ลงั แรงงาน ประมาณ 9 ลา้ นคน และมอี ตั ราการวา่ งงานประมาณรอ้ ยละ 0.4[5] ด้านกฎระเบียบและขั้นตอนการนำ�เข้าแรงงานของกัมพูชา พบวา่ การจ้างงานในกัมพูชาอยู่ภายใต้การกำ�กับดูแลของกฎหมาย แรงงานปี พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) บงั คับใชโ้ ดยกระทรวงการสังคม แรงงานการฝึกอบรมและฟื้นฟเู ยาวชน (Ministry of Social Affairs, Labor, Vocational Training and Youth Rehabilitation: Mo- SALVY) กฎหมายฉบับน้ีปรบั ปรงุ มาจากฉบบั ปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) โดยมีจุดมุ่งหมายทำ�ให้แรงงานในประเทศกัมพูชามีคุณภาพชีวิตที่ดี มคี วามปลอดภยั ในการท�ำ งาน รวมทง้ั ยงั ปกปอ้ งแรงงานสตรจี �ำ นวนมาก ไมใ่ ห้ถกู เอาเปรียบและล่วงละเมดิ ทางเพศ ทั้งเน้นสร้างความเข้มแข็ง ด้านอำ�นาจต่อรองให้กับสหภาพแรงงาน ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากลและมาตรฐานของประเทศท่ีสมควรได้รับสิทธิพิเศษ ทางการคา้ (Most-Favored Nation Treatment: MFN) นายจ้างต้องจดทะเบียนการจ้างแรงงานกับ MoSALVY ภายใน 30 วัน นบั ต้ังแต่ประกอบกจิ การ และตอ้ งรายงานทกุ คร้งั ทีม่ ี การเปลี่ยนแปลง ท้งั น้ี ชาวต่างชาตทิ เ่ี ข้ามาท�ำ งานในกัมพูชาต้องไดร้ ับ ใบอนุญาตทำ�งาน (Work Permit) สว่ นชาวกมั พชู าต้องมสี มุดคู่มือ 150

การจ้างงานที่จดทะเบียนกับ MoSALVY ซึ่งนักลงทุนต่างชาติ จะไม่ถูกจำ�กัดสิทธิการจ้างงานในกัมพูชา ในทางตรงกันข้าม แม้กฎหมายได้กำ�หนดข้อจำ�กัดในการจ้างแรงงานท่ีเป็นต่างชาติ แต่กฎหมายแรงงานของกัมพูชาค่อนข้างอนุโลมในทางปฏิบัติ เน่ืองจากกัมพูชามีความต้องการแรงงานท่มี ีทักษะและประสบการณ์ จากต่างประเทศเป็นจ�ำ นวนมาก 7.2.1 แรงงานตา่ งชาติ กฎหมายการลงทุนอนุญาตให้จ้างแรงงานต่างชาติ พร้อมครอบครัวได้แต่แรงงานเหล่าน้ีต้องมาจากสาขาธุรกิจและทักษะ ที่ไมม่ ีในกมั พชู า หรือเปน็ ท่ีต้องการในกมั พชู าเท่านน้ั แรงงานตา่ งชาติ ท่ีจะได้รับอนญุ าตให้ว่าจ้างได้ต้องมีคณุ สมบัตดิ ังน้ี (1) มีหนังสือประจำ�ตัวแรงงาน และได้รับใบอนุญาตทำ�งาน จากกระทรวงแรงงานกมั พชู า (2) เดินทางเข้ามาในกัมพูชาอย่างถูกต้องตามกฎหมาย (3) มีสิทธิในการพำ�นักอยู่ในกัมพูชา (4) มีหนังสือเดินทางที่มีอายุครอบคลุมการจ้างงาน (5) มีชื่อเสียงและพฤติกรรมที่ดี (6) สุขภาพร่างกายเหมาะสมกับงาน (7) ไม่เป็นโรคติดต่อ ค่าอากรสำ�หรับสมุดการจ้างงานและบัตรการจ้างงานของ ชาวต่างชาติที่เข้ามาทำ�งานในกัมพูชาโดยมีกำ�หนดระยะเวลา อัตรา ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกมั พูชา 151

100 ดอลล่าร์สหรัฐต่อปี ส่วนผู้ที่พักอาศัยเป็นการถาวร อัตรา 50 ดอลล่าร์สหรัฐต่อปี โดยกำ�หนดให้ชำ�ระก่อนวันที่ 31 มีนาคมของ แต่ละปี (ตามประกาศเลขที่ 302/9 ลงวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2540 ของกระทรวงกิจการสังคมแรงงานและทหารผ่านศึก) การทำ�สมุดการจ้างงานและบัตรการจ้างงานของชาวต่างชาติ ที่ทำ�งานในกัมพูชาที่มีกำ�หนดระยะเวลา ต้องมีเอกสารดังนี้ (1) แบบฟอร์มขอทำ�สมุดการจ้างงานและบัตรการจ้างงาน ซึ่งติดอากร 1,000 เรียล (2) สำ�เนาหนังสือเดินทาง (3) ใบอนุญาตให้พำ�นักอาศัยอย่างถูกต้อง ซึ่งออกโดย กระทรวงมหาดไทย (4) หนังสือรับรองสุขภาพจากกรมแพทย์แรงงาน (5) ค่าอากร 100 ดอลลาร์สหรัฐ (6) รูปถ่าย ขนาด 4 x 6 ซม. จำ�นวน 4 ใบ สำ�หรับชาวต่างชาติท่ีเข้ามาทำ�งานต้องชำ�ระค่าอากร สมุดการจ้างงานและบัตรการจ้างงานภายในเดือนมีนาคมของแต่ละปี ผู้ที่ไม่ชำ�ระค่าอากรตามระยะเวลาที่กำ�หนดจะถูกปรับเพิ่มตามจำ�นวน ปที ่ไี มไ่ ดช้ ำ�ระ (ตามประกาศเลขที่ 520 ลงวนั ท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2540 ของกระทรวงแรงงานและการฝกึ อบรมอาชีวศกึ ษา) ห้ามเจ้าของโรงงานหรือผู้ประกอบการจ้างแรงงานต่างด้าว ที่ไม่มีสมุดการจ้างงานและบัตรการจ้างงาน และห้ามจ้างแรงงาน ชาวต่างชาติเกินกว่าร้อยละ 10 ของจำ�นวนแรงงานชาวกัมพูชาใน แต่ละสถานประกอบการ โดยจำ�นวนสงู สดุ ร้อยละ 10 นี้ สามารถจา้ ง 152

แรงงานต่างชาติไดใ้ นสดั สว่ นดังน้ี (1) เจ้าหน้าที่ทำ�งานในสำ�นักงานไม่เกินร้อยละ 3 (2) ผู้เชี่ยวชาญไม่เกินร้อยละ 6 (3) คนงานที่ไม่มีความชำ�นาญไม่เกินร้อยละ 1 ในกรณีที่ต้องจ้างเจ้าหน้าที่ หรือผู้เชี่ยวชาญชาวต่างชาติ เกินกว่าจำ�นวนที่กำ�หนดโดยไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เจ้าของโรงงาน หรือผู้ประกอบการ ต้องทำ�หนังสือขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร ต่อกระทรวงกิจการสังคมแรงงานและทหารผา่ นศกึ สัญญาจ้างแรงงานชาวต่างชาติทุกคนต้องจัดทำ�ข้ึนเป็น ลายลกั ษณอ์ ักษร พร้อมระบเุ งอื่ นไขของอาชพี และเหตผุ ลอนื่ ๆ ท่จี �ำ เปน็ ใหช้ ัดเจน (ตามประกาศเลขท่ี 185 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 ของกระทรวงกิจการสังคมแรงงานและทหารผ่านศึก) ผ้วู ่าจา้ งตอ้ ง เตรียมเอกสารเก่ยี วกับลูกจ้างเพือ่ ขอวีซ่าท�ำ งานใหก้ บั ลูกจา้ ง กฎหมาย กัมพูชาไม่จำ�กัดจำ�นวนลูกจ้างชาวต่างชาติท่ีบริษัทสามารถว่าจ้างได้ โดยเฉพาะในระดับบริหาร อย่างไรก็ตาม กฎหมายกำ�หนดเพดาน การจ้างแรงงานชาวตา่ งชาตไิ ว้ไม่เกนิ ร้อยละ 10 ของจ�ำ นวนแรงงาน ทัง้ หมดของสัญญาการจา้ งงาน 7.2.2 สัญญาการจา้ งงาน การจ้างแรงงานที่เป็นชาวกัมพูชา อาจทำ�เป็นสัญญาว่าจ้าง ท่เี ปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรหรอื สัญญาปากเปลา่ กไ็ ด้ แตก่ ารจา้ งแรงงานที่ เป็นชาวต่างชาติจะต้องมีสัญญาการจ้างงานที่ชัดเจน สัญญาการจ้าง ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกมั พชู า 153

งานทีก่ �ำ หนดเวลาเกิน 2 ปี ใหถ้ อื วา่ เป็นสญั ญาจา้ งถาวร ระยะเวลา ในการทดลองงานไม่ควรเกิน 1 เดือน สำ�หรับแรงงานที่ไม่มีทักษะ ไม่เกิน 2 เดอื นสำ�หรบั แรงงานท่มี ีความเชย่ี วชาญเฉพาะ และไมเ่ กิน 3 เดอื นสำ�หรับแรงงานทั่วไป การจ้างงานท่ีไม่จำ�กัดระยะเวลาจะต้องจัดทำ�ข้อตกลงท่ีเป็น ลายลักษณ์อักษรระหว่างลกู จา้ งและนายจา้ ง นายจา้ งมีสทิ ธบิ อกเลกิ สัญญาจ้างตามที่กฎหมายกำ�หนดไว้ ซึ่งลูกจ้างที่ถูกบอกเลิกการจ้าง โดยไม่มีการแจ้งล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร มีสิทธิในการเรียกร้อง ค่าชดเชยและค่าเสียหายต่างๆ ตามที่กฎหมายกำ�หนด ยกเว้นกรณี ลูกจ้างถูกไล่ออกเนื่องจากกระทำ�ความผิดตามที่กำ�หนดไว้ใน ขอ้ ก�ำ หนดและระเบียบภายในของบริษทั เอกสารที่ต้องจัดเตรียมสำ�หรับขอใบอนุญาตทำ�งานที่ออกให้ แก่แรงงานต่างด้าว มี 2 ประเภท 1) ใบอนญุ าตท�ำ งานชว่ั คราว ซง่ึ จะออกใหแ้ กล่ กู จา้ งทม่ี คี ณุ สมบตั ดิ งั น้ี (1) เป็นผู้เชี่ยวชาญหรือมีตำ�แหน่งในระดับบริหาร (2) เป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิคหรือวิชาการพิเศษ (3) เป็นแรงงานที่มีทักษะและความเชี่ยวชาญ (4) เป็นแรงงานประเภทการบริการ 154

เอกสารที่ใช้ในการยื่นขอใบอนุญาตทำ�งานชั่วคราว (1) แบบคำ�ขออนุญาต 3 ชุด (2) หนังสือเดินทางพร้อมวีซ่า หรือเอกสารอื่นๆ (3) รูปถ่าย 3 ใบ ขนาด 4 x 6 ซม. ถ่ายหน้าตรง ไม่สวมแว่น และหมวก (4) ใบรับรองสุขภาพจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญของประเทศ ถิ่นฐานหรือประเทศที่ทำ�สัญญาว่าจ้าง (5) ใบรับรองสิทธิการประกันภัยที่ออกให้โดยนายจ้างหรือ บริษัทประกันภัย (6) ค่าธรรมเนียม (7) ใบอนุญาตทำ�งานที่มีอายุไม่เกินกว่าที่วีซ่ากำ�หนดไว้ 2) ใบอนุญาตทำ�งานระยะยาว ซึ่งจะออกให้กับลูกจ้างที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ (1) เป็นผู้อพยพชาวต่างชาติที่ได้รับสิทธิรับรองโดย กระทรวงมหาดไทย (2) นักลงทุนชาวต่างชาติ คู่สมรส และบุคคลที่ได้รับสิทธิโดย สภาฝ่ายการพัฒนาประเทศ เอกสารที่ใช้ในการยื่นขอใบอนุญาตทำ�งานระยะยาว (1) สำ�เนาเอกสารของผู้ลงทุนหรือผู้อพยพ (2) หนังสือเดินทางพร้อมวีซ่าหรือเอกสารอื่นๆ (3) รูปถ่าย 3 ใบ ขนาด 4 x 6 ซม. ถ่ายหน้าตรง ไม่สวมแว่น และหมวก ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 155

(4) ใบรับรองสถานะทางการเงินจากธนาคารในประเทศ กัมพูชา (5) ค่าธรรมเนียม 7.2.3 แรงงานและสหภาพแรงงาน กฎหมายแรงงานปี พ.ศ. 2540 ให้สิทธิแก่แรงงานในการก่อตั้ง และรวมตัวกันเป็นสหภาพแรงงาน ซึ่งผู้ว่าจ้างไม่มีสิทธิปฏิเสธ การจ้างแรงงานที่เป็นสมาชิกสหภาพได้ ลูกจ้างและผู้ว่าจ้างสามารถ เลือกบุคคลทเ่ี ปน็ กลางขนึ้ มาเปน็ ผปู้ ระสานหรอื เชอ่ื มโยงในองค์การได้ กฎหมายกำ�หนดให้แรงงานมีสิทธิ์ในการนัดหยุดงาน โดยจะ ต้องเป็นผลมาจากการลงประชามติของสมาชิกในสหภาพแรงงานน้ันๆ ซึง่ ก่อนการนดั หยุดงานใดๆ สหภาพแรงงานจะต้องแจ้งให้นายจา้ งและ กระทรวงแรงงานทราบล่วงหน้าก่อนอยา่ งนอ้ ย 7 วนั การนัดหยุดงาน ตอ้ งเปน็ ไปดว้ ยความสงบ โดยตอ้ งไมข่ ดั ขวางการท�ำ งานของพนกั งานอน่ื ๆ ท่ีไมไ่ ดเ้ ข้ารว่ มการนัดหยุดงาน 7.2.4 คา่ จา้ ง ก ลมุ่ อตุ สปารหะกเทรรศมกสัมง่ิ พทูชอาทไม่ีมกี่มาีกรากร�ำ กหำ�นหดนคดา่ อจัตา้ งรขาน้ัคต่า�ำ่จท้า่ีง4ข5ั้นตด่ำ�อลยลกาเรวส์ ้นหใรนฐั ต่อเดือน (ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ปรบั เปน็ 51 ดอลลา่ รส์ หรฐั ต่อเดือนสำ�หรับระยะฝึกงานและ 50 ดอลล่าห์สหรัฐต่อเดือน 156

เมือ่ ผ่านการฝึกงาน) และนับตั้งแตเ่ ดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 กป็ รบั เพม่ิ เป็น 80 – 90 ดอลลารส์ หรฐั แต่ปัจจุบนั รายได้ต่อหวั อยทู่ ี่ 110 ดอลลาร์สหรฐั การกำ�หนดคา่ จ้างขนั้ ต� ในอตุ สาหกรรมอนื่ ๆ ให้เป็นไป ในแนวทางทส่ี นบั สนนุ การครองชพี ประจ�ำ วนั และตอ้ งเปน็ ไปเพอ่ื เหตผุ ล ทางมนุษยธรรม โดยทั่วไปอัตราค่าจ้างในกัมพูชากำ�หนดในสกุลเงิน ดอลลาร์สหรัฐ ดังนี้ ตารางที่ 7 อัตราคา่ จา้ งในกัมพูชา 50-60 100-150 150-300 800-1,000 ทีม่ า: สำ�นักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการลงทุน[23] ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 157

อยา่ งไรกต็ าม จากสถติ ขิ อง National Institute of Statistics Cambodia’s Socio-Economic Survey for 2010 พบวา่ รายได้ เฉลย่ี ของชาวกมั พูชาอยู่ท่ี 750 ดอลลารส์ หรัฐต่อป ี 7.2.5 ข้อกำ�หนดเกี่ยวกบั สวัสดกิ ารแรงงาน กฎหมายแรงงานได้กำ�หนดเงื่อนไข และผลประโยชน์ใน การจ้างงานต่างๆ เช่น การจ่ายค่าทดแทนชั่วโมงในการทำ�งาน การลางาน การลาคลอด วันหยุด กฎระเบียบการจา้ งแรงงานเดก็ และ สตรี เปน็ ตน้ ชวั่ โมงในการทำ�งานสูงสดุ ตอ้ งไม่เกนิ 8 ชั่วโมงต่อวนั หรอื 48 ช่วั โมงตอ่ สปั ดาห์ โดยใหม้ ีการจ่ายค่าล่วงเวลาการท�ำ งานปกติอยู่ ระหว่าง 1.3 ถงึ 2 เท่าของอตั ราคา่ จา้ งปกติ สว่ นวนั หยุดจา่ ย 2 เท่า และวันหยุดนกั ขตั ฤกษ์จ่าย 3 เท่า กฎหมายก�ำ หนดให้ลูกจา้ งมีสิทธลิ์ าหยดุ ประจำ�ปีได้ปลี ะ 18 วนั เพมิ่ ขน้ึ ปลี ะ 1 วัน หลงั การจา้ งงานครบ 3 ปีขึ้นไป การลาคลอดอนญุ าต ให้ลกู จา้ งท่ีท�ำ งาน 1 ปีขึน้ ไป สามารถลาคลอดได้ 90 วนั โดยไดร้ บั ค่า จา้ งคร่ึงหน่ึงของเงินเดอื น การลาป่วยสามารถลาได้ 30 วนั ต่อปี การลา ในกรณีอื่นๆ สามารถลาได้ไมเ่ กนิ 7 วันตอ่ ปี ซึง่ จำ�นวนนสี้ ามารถน�ำ ไป หักออกจากจ�ำ นวนวนั ลาประจำ�ปไี ด้ การจา่ ยคา่ ชดเชยต้องจ่ายดงั นี้ 1) หากเปน็ สญั ญาจา้ งระบชุ ว่ งเวลาตอ้ งจา่ ยคา่ ชดเชยรอ้ ยละ 5 ของรายไดส้ ะสมตลอดอายุสัญญา 158

2) หากเปน็ สญั ญาจ้างท่ีไมไ่ ด้ระบชุ ว่ งเวลา ตอ้ งจา่ ยดังนี้ (1) อายงุ าน 6 เดอื น ถึง 1 ปี จ่ายค่าจา้ ง 7 วนั พร้อม คา่ สวสั ดกิ าร โดยค�ำ นวนจากคา่ จา้ งพรอ้ มสวสั ดกิ ารเฉลย่ี ในปนี น้ั (2) อายงุ าน 1 ปขี ้ึนไป จ่ายคา่ จา้ ง 15 วัน พร้อม ค่าสวัสดิการโดยการคำ�นวนจากค่าจ้างพร้อมสวัสดิการ เฉลี่ยในแต่ละปี โดยค่าชดเชยรวมแล้วต้องไม่เกิน คา่ จา้ ง 6 เดือน บรษิ ัททม่ี ีการจา้ งงานเป็นหญิงมากกวา่ 100 คนขน้ึ ไป จะตอ้ ง จัดหาสถานที่รับเลี้ยงและดูแลเด็ก หากไม่มีสถานที่รับเลี้ยงดังกล่าว นายจา้ งจะตอ้ งจา่ ยค่าจา้ งรับเลย้ี งเด็กใหแ้ กล่ กู จ้าง 7.2.6 ความปลอดภยั ในการท�ำ งาน นายจ้างต้องปฏิบัติตามกฎข้อบังคับของกระทรวงแรงงาน กมั พูชาเก่ยี วกบั ความปลอดภัยในทที่ �ำ งาน การเจ็บปว่ ย หรอื อบุ ัติเหตุ ใดๆ ท่เี กิดขน้ึ จากการท�ำ งาน นายจ้างจะตอ้ งเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบคา่ ใชจ้ ่าย ในการรักษา ยกเวน้ อบุ ัติเหตนุ ั้นๆ เกดิ จากความประมาทของลูกจ้างเอง นายจ้างต้องรายงานอุบัติเหตุที่เกิดในท่ีทำ�งานให้กระทรวงแรงงานฯ ทราบ เพ่อื ร่วมกันหาทางแก้ไข ปรับปรงุ หากอบุ ัติเหตุเปน็ ผลใหล้ กู จา้ ง ตอ้ งหยดุ งานเปน็ เวลาเกนิ 4 วนั ให้มสี ทิ ธิในการรับค่าจา้ งตามปกติ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 159

และหากหยุดงานเกนิ 4 วัน แตไ่ มเ่ กนิ 20 วัน ให้ลูกจา้ งนั้นมสี ทิ ธิ รบั คา่ ชดเชยรายวนั เพม่ิ เตมิ (ค�ำ นวนจากคา่ จา้ งเฉลย่ี รายวนั ) หากอบุ ตั เิ หตุ ทำ�ให้ลูกจ้างได้รับอันตรายสาหัส และต้องหยุดงานเกิน 20 วันขึ้นไป ใ ห้ ท า ย า ท ห รื อ ผู้ รั บ ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ลู ก จ้ า ง ไ ด้ รั บ เ งิ น ช ด เ ช ย ตามกฎหมายก�ำ หนด ซง่ึ กฎหมายกมั พชู าใหอ้ �ำ นาจศาลพจิ ารณาวา่ นายจา้ ง ควรจา่ ยเทา่ ไร หรอื ลกู จา้ งสมควรจะไดร้ บั เงนิ ชดเชยเทา่ ไร โดยพิจารณา จากสาเหตขุ องอบุ ตั เิ หตเุ ปน็ หลกั 7.2.7 การแก้ปญั หาข้อพพิ าททีเ่ กดิ จากการจา้ งงาน ปัญหาข้อพิพาทระหว่างนายจ้างและลูกจ้างในเบื้องต้น ควร ได้รับการไกล่เกลี่ยโดยผู้ตรวจการจ้างงานระดับท้องถิ่นหรือจังหวัด ห า ก พ บ ว่ า ผ ล ก า ร ไ ก ล่ เ ก ลี่ ย ล้ ม เ ห ล ว ใ ห้ นำ � เ ข้ า สู่ ก ร ะ บ ว น ก า ร พจิ ารณาของศาล หากข้อพิพาทเป็นการพิพาทระหว่างนายจ้างกับ สหภาพแรงงานหรือลูกจ้างทั้งหมด และหากไมม่ กี ระบวนการไกล่เกลยี่ ทร่ี ะบไุ วใ้ นสญั ญาจา้ งงาน ใหน้ ายจา้ งรายงานผตู้ รวจการจา้ งงานระดบั ทอ้ งถน่ิ หรอื จงั หวัดทราบภายใน 48 ชว่ั โมง เพอ่ื กระทรวงแรงงานฯ จะได้แต่งตัง้ ผู้แทนดำ�เนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภายใน 15 วัน หากไม่สามารถ ไกลเ่ กลย่ี ได้ กระทรวงแรงงานฯ จะเสนออนุญาโตตุลาการพจิ ารณาใน ขนั้ ตอนต่อไปภายใน 15 วัน หลงั ทราบผลการไกล่เกลี่ย ซ่งึ กระบวนการ ทางอนญุ าโตตลุ าการไม่มคี า่ ใชจ้ ่ายใดๆ ทงั้ สนิ้ ปัจจบุ ันกมั พชู ายงั ไม่มศี าลแรงงานดงั น้ันกระบวนการไกล่เกลย่ี ข้อพิพาทจากการจ้างงานทุกระดับจึงเกิดขึ้นที่ศาลแขวงหรือ ศาลจงั หวดั เป็นส่วนใหญ่ 160

7.3 กฎหมายเขา้ เมอื ง 7.3.1 วีซา่ ผู้ถือหนังสือเดินทางไทยได้รับการยกเว้นไม่ต้องใช้วีซ่า เขา้ ประเทศกมั พชู า และสามารถอยู่ในกัมพูชาโดยไม่ต้องมีวีซ่าได้ ไม่เกิน 14 วนั [39] สำ�หรบั ผ้ทู ่ตี อ้ งการอยูเ่ กนิ เวลาดงั กลา่ ว สามารถตดิ ตอ่ ขอทำ�วีซา่ ได้ท่ี สถานทูตกัมพชู า เลขท่ี 518/4 ซอยรามคำ�แหง 39 ถนน ประชาอทุ ิศโทรศัพท์02-957-5851-2เวลาย่ืนเอกสาร09.00–11.00น. เวลารับเอกสาร 15.00 – 16.00 น. เอกสารทีใ่ ช้ในการย่ืนขอวซี า่ 1) หนังสอื เดนิ ทางตัวจรงิ ทม่ี ีอายุเหลือไมน่ อ้ ยกว่า 6 เดือน และมหี น้าวา่ งอย่างนอ้ ย 3 หนา้ พรอ้ มหนังสือเดินทาง เล่มเดมิ (ถ้าม)ี 2) รปู ถ่ายสีหรือขาวด�ำ ขนาด 1 นิ้ว จ�ำ นวน 2 ใบ 3) สำ�เนาบตั รประชาชน 4) แบบฟอร์มวีซ่ากรอกขอ้ มูลครบถ้วนและเซน็ ช่ือ 2 ชดุ 5) ใบจองตั๋วเครอื่ งบิน 6) ใบจองโรงแรม/ที่พัก 7) ใช้เวลาท�ำ การปกติ 3 วนั กรณีดว่ น 1 วนั 8) สามารถยน่ื ขอวซี ่าทอ่ งเทย่ี วไดท้ ขี่ าเข้าสนามบินกัมพชู าได้ (โปรดเตรียมรูปถา่ ยสีหรือขาวด�ำ ขนาด 1 นว้ิ จำ�นวน 2 ใบ) 9) สามารถออกเป็น Electronic Visa ได้ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกัมพูชา 161

10) หนังสือเดินทางข้าราชการเล่มสีน�เงินไม่ต้องทำ�วีซ่า สามารถอยไู่ ด้ 30 วัน หรอื 60 วนั ขน้ึ อย่กู ับส�ำ นักตรวจคน เข้าเมอื งประเทศกัมพูชา 7.3.2 การเดินทางเข้า-ออกประเทศกมั พชู า 7.3.2.1 ส�ำ หรับคนทว่ั ไป ตอ้ งมหี นงั สอื เดนิ ทางพรอ้ มวซี า่ แสดงจงึ จะเขา้ ประเทศกมั พชู าได้ โดยสามารถขอวีซ่าจากสถานทูตกัมพูชาในประเทศต่างๆ กอ่ นออก เดินทาง หรือจะขอที่ด่านพรมแดนก่อนเข้าประเทศกัมพูชาที่เรียกวา่ Visa on Arrival ทั้งนี้ วีซ่าประเภทท่องเที่ยว (Tourist Visa) คิดค่าธรรมเนียม 20 เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ และอยู่ได้ 30 วัน กรณี การข้ามแดนบริเวณชายแดนไทย–กัมพูชาที่จุดผ่านแดนถาวรสามารถ ใช้ได้ทั้งหนังสือเดินทางหรือบัตรผ่านแดน (เฉพาะคนในพื้นที่) ส่วนที่ จดุ ผ่อนปรนสามารถใชไ้ ดเ้ ฉพาะบตั รผ่านแดนเท่านัน้ 7.3.2.2 สำ�หรบั ผูป้ ระกอบธุรกจิ ในฐานะบคุ คลธรรมดา ตอ้ งมีหนังสือเดินทางพรอ้ มวซี ่าประเภทธรุ กจิ (Business Visa) โดยสามารถขอวีซ่าจากสถานทูตกัมพูชาในประเทศต่างๆ ก่อนออก เดินทางเสียค่าธรรมเนียม 25 ดอลลาร์สหรัฐ เมื่อเดินทางเข้าประเทศ กมั พชู าใหน้ �ำ ไปประกอบการขอวซี า่ ประเภทผอู้ ยอู่ าศยั (Multiple Visa) ขยายระยะเวลาพ�ำ นกั ในประเทศกมั พชู าเปน็ รายปี คดิ คา่ ธรรมเนยี มปลี ะ 285 เหรยี ญสหรัฐ 162

7.3.2.3 ส�ำ หรบั ข้าราชการ ใช้เฉพาะหนังสือเดินทางโดยไม่ต้องมีวีซ่าประกอบการเดินทาง เขา้ ประเทศกมั พูชา 7.3.3 ศลุ กากร เชน่ เดียวกับประเทศส่วนใหญ่ในภมู ิภาคน้ี นักท่องเที่ยวจำ�เป็น ต้องกรอกข้อมูลในบัตรขาเข้าก่อนเดินทางเข้าประเทศกัมพูชา ไมว่ า่ จะเป็นที่สนามบินนานาชาติอังกอร์ หรือจุดตรวจคนเข้าเมือง และ ดา่ นศลุ กากรในประเทศ ในแบบฟอรม์ จะถามค�ำ ถามตา่ งๆ เกย่ี วกบั สถานะ และวัตถุประสงค์ของการเดินทางเข้าประเทศ รวมถงึ การแจง้ ส�ำ แดง รายการสิ่งของที่ผิดกฎหมายใดๆ หรอื เงนิ สดท่ีนำ�ตดิ ตวั เกนิ จ�ำ นวนท่ี ก�ำ หนดไวท้ ้ังในสกลุ เรียลหรือสกลุ เงินอืน่ ๆ สิ่งผิดกฎหมายในประเทศกัมพูชาเป็นไปตามรูปแบบท่ีคล้ายกับ ประเทศอน่ื ๆ ได้แก่ ยาเสพติดซง่ึ รวมถงึ กัญชาเปน็ สิง่ ผิดกฎหมาย เชน่ เดียวกับอาวุธปนื และสอื่ ลามกตา่ งๆ อนญุ าตใหน้ ำ�เข้าแอลกอฮอล์ 1 ลติ ร บุหรี่ 200 มวน (หรือซิการ์ 50 มวน) หรอื ยาสบู ไม่เกิน 250 กรมั กรณุ างดเวน้ การพยายามลักลอบ น�ำ ชิน้ ส่วนใดๆ ของนครวัดออกนอกประเทศ หรือจัดซื้อส่งิ ของวตั ถใุ ดๆ ทสี่ ืบไดว้ า่ เปน็ ส่วนหน่ึงหรือนำ�มาจากนครวดั เน่ืองจากศุลกากรกมั พูชา มคี วามเข้มงวดเกย่ี วกับรายการสิ่งของดังกล่าวมาก และบางประเทศ รวมถึงสหรัฐอเมริกาได้ผ่านร่างกฎหมายเพ่ือสกัดและไม่อนุญาตให้ นำ�เข้าและส่งออกวัตถุโบราณท่ีลักลอบจากนครวัดต้ังแต่ชิ้นส่วน ดังกล่าวได้รบั ความนิยมเพม่ิ มากขึน้ ในทศวรรษท่ผี า่ นมา ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 163

7.4 กฎหมายเกีย่ วกบั การลงทุน กัมพูชาในปัจจุบันได้มีนโยบายการเปิดประเทศและ พยายามสร้างภาพลักษณ์ รวมทั้งสาธารณูปโภคต่างๆ อาทิ สะพาน ถนน ท่าเรือน�ลึก โรงแรม เป็นต้น เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้กับ นักลงทุนจากต่างประเทศ รวมถึงการดึงดูดนักลงทุนต่างชาติให้ เข้ามาลงทุน ทั้งนี้เพื่อสร้างรายได้และความอยู่ดีกินดีให้แก่ประชาชน ของตนเอง หลงั จากท่ีอยู่ในภาวะสงครามมาเป็นระยะเวลาอนั ยาวนาน ท้ังน้ีรัฐบาลกัมพูชาค่อนข้างให้ความสำ�คัญกับการลงทุนภายใน ประเทศเปน็ อย่างมาก จะเห็นไดจ้ ากนโยบายสง่ เสริมการลงทนุ ตา่ งๆ เช่น การใหส้ ิทธิประโยชนแ์ ก่นกั ลงทนุ ในการโอนเงนิ ตราต่างประเทศ ไดอ้ ยา่ งเสรี การใหส้ ทิ ธเิ ปน็ เจา้ ของสนิ ทรพั ยต์ า่ งๆ ยกเวน้ แตก่ ารเปน็ เจา้ ของ กรรมสิทธิท์ ด่ี นิ แต่กย็ ังมสี ิทธใิ นการเชา่ พ้ืนที่น้ันๆ ไดน้ านถงึ 99 ปี รวมทั้งอนุญาตให้เป็นเจ้าของกิจการได้ร้อยละ 100 ในกิจการ 164

บางประเภท ในส่วนของกฎหมาย ทางรัฐบาลกัมพชู ายงั ได้เร่งปรบั ปรุง กฎต่างๆ ใหม้ คี วามโปรง่ ใส และลดขน้ั ตอนในการขอใบอนญุ าตต่างๆ เพอ่ื อำ�นวยความสะดวกให้มากขึน้ กฎหมายการลงทุน กฎหมายการลงทุนกัมพูชากำ�หนดให้สภาเพ่ือการพัฒนา กัมพูชา (The Council for the Development of Cambodia – CDC) ซึ่งมีนายกรฐั มนตรี สมเด็จฮนุ เซน เป็นประธาน ประกอบกบั รัฐมนตรเี ศรษฐกิจและผแู้ ทนหนว่ ยงานอกี 34 แหง่ เป็นคณะกรรมการ มีหน้าที่หลัก 2 ดา้ น ดา้ นแรก คือ การพิจารณาประสานความชว่ ยเหลือ กับรัฐบาลต่างชาติ องค์การระหว่างประเทศ NGOs ในการฟน้ื ฟูบรู ณะ ประเทศในลกั ษณะรัฐตอ่ รัฐ กบั อีกด้านหน่งึ คอื การพจิ ารณากิจรรม การลงทุนท้งั หมดของประเทศ โดยเฉพาะการสง่ เสริมการลงทนุ ของ ภาคเอกชน ซ่ึงมีคณะกรรมการสง่ เสริมการลงทุน (The Cambodian Investment Board – CIB) ท�ำ หนา้ ทก่ี ลน่ั กรองขอ้ เสนอขอรบั การสง่ เสรมิ การลงทุนของเอกชน (The Investment Proposal) เพื่อใหน้ กั ลงทนุ ทราบผลการพจิ ารณาลงทุนทีร่ วดเร็ว กฎหมาย กำ�หนดให้สภาเพ่ือการพัฒนากัมพูชาเป็นหน่วยงานบริการท่ีให้ บรกิ ารแบบจดุ เดยี วเบ็ดเสรจ็ (One Stop Service) ทส่ี ามารถตอบ รับหรือปฏิเสธการให้การส่งเสริมภายใน 3 วันทำ�การ นับตั้งแต่ยื่น เอกสารที่สมบูรณ์ ซึ่งเมื่อสภาเพื่อการพัฒนากัมพูชาตอบรับ การสง่ เสรมิ ฯ จะออกเอกสารใบรบั รองเงอ่ื นไขการลงทะเบยี น (Con- ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 165

dition Registration Certificate) ให้แกผ่ ูข้ อเปน็ หลักฐานใช้ติดต่อ กบั หน่วยงานราชการทเ่ี ก่ียวข้องกับการขออนุญาต ซึ่งหนว่ ยงานต่างๆ ดงั กลา่ ว จะต้องดำ�เนนิ การแล้วเสรจ็ ภายใน 28 วันทำ�การ จะมีเอกสาร ลงทะเบยี นข้ันสุดทา้ ย (Final Registration) ใหก้ ับผู้ขอ โดยถอื วนั ที่ ออกเอกสารเปน็ วันเรม่ิ ตน้ การใหก้ ารสง่ เสรมิ ฯ [4] ขอ้ มลู ท่ีจำ�เปน็ ดา้ นการลงทนุ ในกัมพูชา  ขนั้ ตอนการขอจัดตง้ั บริษทั ในกรณีที่การลงทุนโดยชาวต่างชาติ ร้อยละ 100 ผู้ลงทุน สามารถขอจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท โดยขอจดทะเบียนกับกระทรวง พาณิชยข์ องกมั พชู า ซ่งึ มีขั้นตอนในการขอจดั ตัง้ ดงั น้ี 1) ผู้ลงทุนต้องยื่นขออนุมัติยินยอมขอจัดตั้งกิจการ และ ได้รับการยินยอมเข้าครอบครองสถานประกอบการจากศาลากลาง (City Hall) หรอื จงั หวัดในทอ้ งถิน่ ทต่ี อ้ งการตง้ั กิจการ 2) ผู้ลงทุนต้องยื่นวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งบริษัทกับ กระทรวงพาณิชย์ โดยเอกสารท่ยี ื่นต้องเป็นภาษาเขมร ซึ่งผู้ลงทุนอาจ กระทำ�การเองหรือให้ตวั แทนดำ�เนินการใหก้ ไ็ ด้ 3) ผู้ลงทุนจะได้รับเลขประจาตัวผู้เสียภาษี และถือว่ามี ความพร้อมจะประกอบธุรกิจได้ 4) ผู้ลงทุนต้องยื่นจดทะเบียนการจ้างงานกับกระทรวงสังคม และแรงงานการฝึกอบรมเขตฟืน้ ฟเู ยาวชน 166

หนว่ ยงานสง่ เสริมการลงทุนของประเทศกมั พูชา หน่วยงานส่งเสริมการลงทุนของประเทศกัมพูชา คือ สภา เพอ่ื การพัฒนากัมพูชา (The Council for the Development of Cambodia: CDC) มีหน้าท่พี ิจารณาอนุมตั ิส่งเสริมโครงการลงทุน ทัง้ หมดในประเทศ โดยเฉพาะการลงทุนของภาคเอกชน ทัง้ น้ี กฎหมาย กัมพูชากำ�หนดให้สภาเพ่ือการพัฒนากัมพูชาเป็นท่ีให้บริการแบบ จุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ที่ตอบรับหรือปฏิเสธ การลงทุน และดำ�เนินการออกใบรับรองการจดทะเบียนเพื่อให้ การลงทุนเริม่ ดำ�เนินการได้ โดยมหี นว่ ยงานในสงั กัด คือ คณะกรรมการ สง่ เสรมิ การลงทนุ ของกมั พชู า (Cambodian Investment Board: CIB)[55] สถานท่ีตดิ ตอ่ : Government Palace, Sisowath Qauy, Wat Phnom, Phnom Penh, Cambodia โทรศัพท์: (855) 23 981 156 โทรสาร: (855) 23 428 426, 23 428 953-4 อีเมล: [email protected] เว็บไซต์ : www.cdc-crdb.gov.kh/ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกมั พชู า 167

กฎระเบยี บการลงทุนท่สี �ำ คัญ ผู้ลงทุนชาวต่างชาติในกัมพูชาสามารถเลือกลงทุนได้ตาม รูปแบบการลงทุนของผู้ลงทุน การถือหุ้นของชาวต่างชาติในกัมพูชามี 4 แบบ คอื 1) การถอื หุ้นของชาวต่างชาติทง้ั สน้ิ ร้อยละ 100 ซ่งึ บรษิ ัท ที่จดทะเบียนต้องมีเงินทุนจดทะเบียนขั้นต่า1,000ดอลลาร์สหรัฐแต่ สำ�หรับกิจการบางประเภท เช่น ธนาคารพาณิชย์ต้องมีทุนจดทะเบยี น ไม่ต�กว่า 13 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และบริษัทประกันภัยต้องมี ทุนจดทะเบียนไมต่ �กวา่ 7 ลา้ นดอลลาร์สหรฐั หลงั จากย่ืนจดทะเบยี น จดั ตง้ั บรษิ ทั แลว้ บรษิ ทั ตอ้ งยนื่ รายงานทกุ เดอื น แมจ้ ะไมไ่ ดป้ ระกอบการ นอกจากนี้บริษัทจะต้องจดทะเบียนการจ้างแรงงานกับกระทรวง แรงงานและการฝึกอบรมอาชีวศึกษา ภายใน 30 วันนับแต่ ประกอบกิจการ และต้องรายงานทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งชาว ต่างชาตทิ ่ีเข้ามาท�ำ งานในกัมพูชาตอ้ งไดร้ ับใบอนญุ าตท�ำ งาน (Work Permit) ด้วย 2) การรว่ มทุน (Joint Venture: JV) ซ่งึ หมายถึง กิจการรว่ มทุน ที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ ซึ่งการร่วมลงทุนนี้ไม่จำ�กัดสัญชาติ และจะเป็น การลงทุนร่วมกับภาครัฐหรือภาคเอกชนก็ได้ แต่ต้องมีบุคคลสัญชาติ กัมพูชาร่วมถือทุนร้อยละ 51 ข้นึ ไป โดยการรว่ มทุนในลักษณะ JV นี้ สามารถนำ�ท่ดี นิ เครอ่ื งจกั รกล อปุ กรณ์ และสนิ ทรัพย์อนื่ ๆ มาประเมิน เป็นทนุ ของโครงการได้ 168

3) Build–Operator–Transfer (BOT) ซ่งึ หมายถึง กจิ การ ทไ่ี ดร้ บั สมั ปทานจากรฐั ในการลงทนุ บรหิ ารจดั การ และเกบ็ ผลประโยชน์ จากการดำ�เนินการด้านสาธารณูปโภค โดยระยะเวลาสูงสุดครั้งละ ไมเ่ กิน 30 ปี ซง่ึ สามารถขยายเวลาไดต้ ามเง่อื นไขและขอ้ กำ�หนดใน สัญญาสัมปทาน และส่งมอบสาธารณูปโภคทงั้ หมดในสภาพดใี ห้กบั รฐั หรอื หนว่ ยงานทีใ่ หส้ ัญญา โดยไมค่ ิดมูลคา่ ในวันสนิ้ สุดสัญญา 4) สัญญาความรว่ มมอื ทางธรุ กจิ (Business Cooperation Contract: BCC) หมายถงึ การลงทุนที่นักลงทุนในกัมพูชาได้สัญญา ดำ�เนินกิจการกับหน่วยงานภาครัฐของกัมพูชา และตกลงจะแบง่ ปัน ผลกำ�ไรระหว่างกัน โดยไมก่ ่อตัง้ นิตบิ คุ คลข้นึ ใหม่ ภาพท่ี 17 สาย 48(R–10) ถนนสายเศรษฐกจิ การคา้ ไทย–กมั พชู า ที่มา: http://www.manager.co.th ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 169

แหลง่ ข้อมลู สนับสนนุ การลงทุนในกมั พชู า การแสวงหาข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนในกัมพูชาน้ัน ผู้สนใจสามารถค้นคว้าข้อมูลได้จากหลายแหล่ง ทง้ั ในสว่ นทจ่ี ัดทำ� ขึ้นโดยหน่วยงานของรัฐบาลไทยและหน่วยงานของรัฐบาลต่างประเทศ ส�ำ หรบั หน่วยงานของไทยน้ัน ไดแ้ ก่ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทนุ (BOI) ธนาคารเพอ่ื การส่งออกและนำ�เข้าแห่งประเทศไทย (Exim Bank) ธนาคารแหง่ ประเทศไทย (BOT) หน่วยงานในสังกดั กระทรวงพาณชิ ย์ กระทรวงอตุ สาหกรรม และกระทรวงตา่ งประเทศ เป็นตน้ นอกจากน้ี ยังสามารถสอบถามขอ้ มูลจากหอการค้าจังหวดั ทม่ี ี พื้นที่ติดต่อกับกัมพูชาได้ เพราะการค้าการลงทุนของนักธุรกิจไทย ส่วนหน่งึ เปน็ การค้าการลงทุนทเี่ กิดข้นึ บริเวณชายแดนไทย–กมั พูชา[55] สำ�หรับการเข้าไปลงทุนในกัมพูชาที่เป็นการลงทุน ของรัฐวิสาหกิจหรือบริษัทขนาดใหญ่ โดยทั่วไปจะเป็นการติดต่อและ เจรจากันระดับภาครัฐโดยตรง แต่ในธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สง่ิ ท่ตี อ้ งคำ�นงึ ถึงก็คอื การหาประสบการณจ์ ากนักธรุ กจิ ทเ่ี ข้าไปลงทุน เพราะจะทำ�ให้ได้ข้อมูลรอบด้านเพื่อนำ�มาประกอบการตัดสินใจ โดยเริ่มต้นจากการแสวงหาเครือข่ายผ่านสมาคมนักธุรกิจไทยท่ีลงทุน อยู่ในกัมพูชา ในส่วนของการค้าการลงทุนในพื้นที่ชายแดนติดกับ กัมพชู า แหล่งขอ้ มูลของหอการคา้ จงั หวัดต่างๆ ท่ีมพี ืน้ ที่ตดิ กับชายแดน และพ่อค้าที่ทำ�การค้าการลงทุนในบริเวณดังกล่าวถือเป็นแหล่งข้อมูล ข่าวสารที่สำ�คัญ เพราะจะทำ�ให้ทราบถึงสภาพการค้าการลงทุนที่ เปน็ จรงิ เพราะบุคคลเหล่าน้มี สี ว่ นสัมผัสโดยตรง ซึ่งขอ้ มูลบางส่วนท่ี ได้รับอาจแสดงให้เห็นถึงลักษณะการค้าการลงทุนที่ค่อนข้างแตกต่าง จากหลักปฏบิ ตั กิ ันโดยท่ัวไป 170

สำ�หรับตัวอย่างองค์การระหว่างประเทศท่ีเก่ียวข้องกับการส่ง เสริมการลงทนุ เช่น องค์การส่งเสรมิ การค้าต่างประเทศของญป่ี นุ่ (Ja- pan External Trade Organization: JETRO) ซง่ึ เปน็ องค์การทด่ี แู ล เรื่องการสง่ เสรมิ การลงทนุ อย่างครบวงจร ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 171

การถือครองทด่ี นิ กัมพูชาเพ่งิ ประกาศใช้กฎหมายการถือครองท่ดี ินเม่อื ไม่นานมาน้ี ดังนั้น นักลงทนุ ตา่ งชาติตอ้ งศกึ ษาและทำ�ความเขา้ ใจใหถ้ ถ่ี ว้ นเกย่ี วกบั การถอื ครองหรอื ความเปน็ เจา้ ของทด่ี นิ กอ่ นการเชา่ ท�ำ ธรุ กจิ ทด่ี นิ บางแหง่ อาจเปดิ โอกาสใหม้ กี ารถือครองได้รอ้ ยละร้อย ในขณะบางแหง่ อาจให้ ครอบครองเพื่อการทำ�กินหรือใช้ประโยชน์ชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งรัฐอาจ ยดึ ครองเมือ่ ใดก็ได้ ดงั น้ันการทำ�ความเขา้ ใจในเรือ่ งสทิ ธกิ ารถอื ครอง ท่ีดนิ แปลงนนั้ ๆ จึงเป็นสงิ่ ทคี่ วรท�ำ เพอ่ื รักษาผลประโยชนใ์ นการลงทุน การปฏริ ปู กฎหมายกรรมสทิ ธ์ทิ ี่ดนิ  การเปน็ เจ้าของกรรมสิทธ์ิที่ดิน รัฐบาลกัมพูชารับรองสิทธิของแต่ละบุคคลในการใช้ที่ดินโดย การออกใบรบั รองการใชแ้ ละพัฒนาที่ดิน (Certificate of Land Use and Procession)ซึ่งเทียบเทา่ กับการมชี ื่อเป็นเจ้าของท่ีดินและ ทรพั ยส์ นิ ทอ่ี ยบู่ นทด่ี นิ ดงั กลา่ ว อยา่ งไรกต็ าม แมว้ า่ ใบรบั รองแสดงความ เปน็ เจา้ ของทอ่ี อกอยา่ งเปน็ ทางการจะยงั มใี ชอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั แตม่ เี จา้ ของ ทด่ี นิ นอ้ ยรายทไ่ี ดร้ บั ใบรบั รองดงั กลา่ ว ดงั นน้ั นกั ลงทนุ จงึ ควรตรวจสอบ ก่อนเข้าไปลงทุนว่าเจ้าของท่ีดินมีเอกสารแสดงความเป็นเจ้าของที่ยัง ใช้ได้อยู่ และได้ลงทะเบียนไว้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกัมพูชาแล้ว สทิ ธปิ ระโยชน์ของนกั ลงทุนตา่ งชาตทิ ีจ่ ะไดร้ บั แบ่งเปน็ เงอื่ นไขดงั น้ี 172

• หากเป็นสัญญาเช่าที่ดินระยะยาวจะไม่มีข้อจำ�กัดด้านระยะ เวลาในการเช่า • หากเป็นสัญญาเช่าท่ีดินระยะสั้นท่ีมีการกำ�หนดเวลาใน การเช่าไว้ สามารถต่ออายุใหมไ่ ด้ นอกจากน้ี กฎหมายการลงทนุ ฉบบั ใหม่ ยงั อนญุ าตใหน้ กั ลงทนุ สามารถใชท้ ด่ี นิ เปน็ หลกั ประกนั ในการจดจ�ำ นอง รวมทง้ั สามารถโอนสทิ ธ์ิ ในอสังหาริมทรัพย์และทรัพย์สินส่วนบุคคลท่ีปลูกสร้างบนท่ีดินแปลง ดงั กลา่ วได้อีกด้วย แต่ตอ้ งไมเ่ กนิ ก�ำ หนดเวลาในสญั ญาเช่าทดี่ ิน  ปญั หา อปุ สรรคและขอ้ ควรระวงั ในการลงทนุ ในกมั พชู าจาก การรายงานเกี่ยวกับปัจจัยท่ีเป็นปัญหาในการประกอบธุรกิจในกัมพูชา ระหว่างปพี .ศ.2551 – 2553 ของ World Economic Forum Report โดยดูจาก 15 ปจั จัยทีจ่ ะส่งผลต่อการประกอบธรุ กิจและไดเ้ รียงลำ�ดบั ปญั หาของปจั จยั ทท่ี �ำ การศกึ ษาโดยใหล้ �ำ ดบั 1 แสดงถงึ ปจั จยั ทม่ี ปี ญั หามาก ที่สุดและลำ�ดับ 15 แสดงถึงปัจจัยที่มีปัญหาน้อยที่สุดพบว่าปัจจัยที่ เป็นปัญหาต่อการประกอบธุรกิจในกัมพูชามากท่ีสุดคือปัญหา การคอรัปช่ันรองลงมาคือปัญหาระบบราชการท่ีไม่มีประสิทธิภาพ แรงงานมกี ารศึกษาไมเ่ พยี งพอและความไม่พร้อมของโครงสร้างพน้ื ฐาน ในขณะที่ปัจจัยท่ีมีปัญหาน้อยที่สุดคือความไม่มีเสถียรภาพของ รัฐบาลรองลงมาคอื ปัญหาอาชญากรรมและขโมย การควบคุมเงนิ ตรา ต่างประเทศดังแสดงรายละเอียดในตารางท่ี 8 ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 173

ตารางท่ี 8 ปัจจยั ที่เปน็ ปญั หาตอ่ การประกอบธุรกจิ ในกัมพชู า 174

ท่มี า: Wold Economic Forum Report อ้างองิ จากคู่มอื การค้าและการลงทุนราชอาณาจักร กัมพชู า. หอการคา้ ไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย. 2554 ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกมั พูชา 175

การไดร้ บั สิทธิพิเศษดา้ นภาษศี ุลกากร กมั พชู าเปน็ ประเทศทไ่ี ดร้ บั สทิ ธพิ เิ ศษดา้ นภาษศี ลุ กากร (General Special Preferences: GSP)จากกลุม่ ประเทศที่พัฒนาแลว้ เน่อื งจาก กัมพูชาเป็นประเทศท่ีมีระดับการพัฒนาต�มากตามบัญชีขององค์การ สหประชาชาติทำ�ให้สินค้าท่ีส่งออกจากกัมพูชาจะได้รับสิทธิประโยชน์ ทั้งด้านโควต้านำ�เข้าและภาษีนำ�เข้าในอัตราพิเศษจากประเทศผู้ซ้ือโดย เฉพาะญี่ปุ่นยุโรปและอเมริกาซึ่งเป็นประเทศคู่ค้ากับกัมพูชาจึงเป็น การเพ่ิมความสามารถการแข่งขันในตลาดโลกแก่สินค้าที่ส่งออกจาก กัมพชู า ทำ�ใหผ้ ูป้ ระกอบการและนักลงทุนต่างชาติที่เลง็ เห็นประโยชน์ ในการเข้ามาทำ�การผลิตหรือทำ�การประกอบโดยเฉพาะตัดเย็บเส้ือผ้า 176

AEC กับแนวทางในการปฏิรปู ระบบภาษีเพื่อคงไวซ้ ึ่งความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศกัมพชู า การรวมตัวเปน็ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ.2558 จะ ทำ�ให้รัฐบาลมีรายได้จากภาษีศุลกากรลดลงจะส่งผลกระทบอย่างมาก ต่อประเทศกัมพูชาเน่ืองจากในปัจจุบันประเทศกัมพูชาพึ่งพารายได้ จากภาษศี ุลกากรมากกวา่ ภาษีท่ัวไป (Customs > Tax) ต่างจาก ประเทศอ่ืนๆในอาเซียนเชน่ ไทย เวยี ดนาม และสปป.ลาว ซึง่ มรี ายได้ จากภาษีทั่วไปมากกว่าภาษีศลุ กากร (Tax > Customs) ดังนั้นกัมพูชาจึงต้องเร่งปฏิรูปนโยบายการบริหารจัดการและ กฎหมายเกีย่ วกบั ภาษีโดยมีวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั 4 ประการ ไดแ้ ก่ 1) มีประสิทธภิ าพ 2) ยุตธิ รรม 3) โปรง่ ใสและ 4) ได้รับความเชือ่ มน่ั จากสาธารณชน โดยปัจจุบันรัฐบาลกำ�ลังดำ�เนินการแก้ไขและปรับปรุงกฎหมาย เก่ียวกับภาษีหลายข้อเพ่ือเป็นการดึงดูดการลงทุนจากทั้งในและ ต่างประเทศรวมถึงเป็นการเพ่ิมรายได้ให้กับรัฐบาลไปพร้อมๆกันโดยมี แนวทางดังนี้ 1) ปรับปรุงกฎหมายเพ่ือลดจำ�นวนผู้ประกอบการที่อยู่ ในระบบภาษแี บบเหมาจา่ ย (Estimated Regime) โดยก�ำ หนดใหผ้ เู้ สยี ภาษี ในระบบนี้ต้องมีรายได้ไม่เกิน 100 ล้านเรียล (KHR) ต่อปีจากเดิม ที่ก�ำ หนดไว้ 500 ลา้ นเรยี ล (KHR) โดยผู้ท่ีมรี ายไดม้ ากกว่าทีก่ �ำ หนด จะตอ้ งเข้าสูร่ ะบบประเมินภาษตี ามจรงิ (Real Regime) ซึง่ จะท�ำ ให้ รัฐบาลจดั เก็บภาษไี ดม้ ากข้ึน ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 177

2) ร่างกฎหมายเพิ่มเติมสำ�หรับการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาเช่นภาษจี ากเงนิ ก้ทู ่ไี มม่ ดี อกเบ้ยี (Interest Free Loan Tax) ภาษหี กั ณ ท่จี า่ ย 3) ปรับปรุงกฎหมายภาษีเกี่ยวกับธุรกิจที่แสวงหาประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น� มนั ก๊าซธรรมชาติ และเหมอื งแร่ 4) ร่างกฎหมายเก่ียวกับการจัดเก็บภาษีจากสัญญาเช่า การเงนิ ซ่ึงกำ�ลงั อยูใ่ นกระบวนการรับฟังความเห็นจากภาคเอกชน เพอื่ เสนอใหก้ ระทรวงเศรษฐกจิ และการคลังอนมุ ตั ใิ ช้ในล�ำ ดับตอ่ ไป 5) ร่างอนุสัญญาภาษีซ้อนเพื่อเจรจาตกลงกับประเทศ ทีส่ �ำ คัญ 6) นำ�หลักการเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงราคาขององค์การ เพ่ือความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา(OECD)มาบังคับใช้เป็น กฎหมาย 7) ก�ำ หนดใหผ้ ู้ประกอบการทีม่ ีรายไดม้ ากกวา่ 100 ลา้ น เรยี ล (KHR) ตอ้ งเข้าระบบ VAT จากเดิมทกี่ �ำ หนดใหม้ รี ายไดม้ ากกว่า 500 ลา้ นเรียล 8) จดั ให้มกี ารคืนภาษีมูลคา่ เพมิ่ (VATRefund)ใหแ้ ก่ผสู้ ่งออก รายบุคคลรวมถงึ นักทอ่ งเทย่ี วที่สนามบนิ และด่านศุลกากรตา่ งๆ 9) พิจารณาแก้ไขอัตราภาษีสรรพสามิตรวมถึงให้เก็บภาษี ต่อหนว่ ย (Specific Tax) แทนการเกบ็ ภาษตี ่อมูลคา่ (Ad Valorem Tax) 178

10) บังคับใช้แสตมป์กับผลิตภัณฑ์ท่ีอยู่ภายใต้ระบบภาษี สรรพสามติ อย่างจริงจัง เพอ่ื ป้องกนั การปลอมแปลงซ่ึงทำ�ใหร้ ัฐสญู เสีย รายได้ 11) พิจารณาแก้ไขภาษีธุรกิจประกันโดยเฉพาะประกันชีวิต ซึ่งมีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากประกันภัยดังน้ันการจัดเก็บภาษี ในอตั ราร้อยละ 5 ของเบยี้ ประกนั อาจสูงเกินไป ทั้งนี้จะมกี ารศกึ ษา และปรับลดให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมเพ่ือดึงดูดให้มีการเข้ามาลงทุน เพ่มิ ขึน้ 12) พิจารณามาตรการส่งเสริมการลงทุนที่มีอยู่โดยจะปรับลด หรือยกเลิกสิทธิพิเศษท่ีให้แก่ธุรกิจที่ไม่มีความจำ�เป็นต่อประเทศและ ปรับเพ่ิมสทิ ธิพิเศษใหแ้ ก่ธุรกิจทตี่ ้องการให้มีการลงทนุ เช่น การเกษตร และการแปรรูปอาหาร เป็นตน้ นอกจากการปฏิรูปพิจารณาแก้ไขกฎหมายเก่ียวกับภาษีแล้ว รัฐบาลยังมีความพยายามท่ีจะปรับปรุงการให้บริการด้านภาษีของ เจา้ หน้าที่และหนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ งโดยมแี นวทางดงั น้ี 1) ส่งเสริมให้เจ้าหน้าท่ีด้านภาษีมีใจรักการบริการ เพือ่ สรา้ งความสมั พันธท์ ่ีดรี ะหว่างผเู้ สียภาษแี ละผจู้ ัดเกบ็ ภาษี 2) เปิดบริการศูนย์บริการข้อมูล (Call Center) เพื่อ ตอบคำ�ถามเกยี่ วกับภาษีใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการ 3) จัดทำ�ระบบสารสนเทศ(IT)เพื่อความรวดเร็วใน การให้บรกิ ารและการตรวจสอบ 4) เพิ่มช่องทางแก่ผู้เสียภาษีให้สามารถชำ�ระภาษีผ่าน ทางธนาคารได้โดยเบ้ืองต้นได้ทำ�บันทึกช่วยจำ�กับธนาคารCana- ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกัมพูชา 179

180

8 ลกั ษณะเดน่ ของระบบราชการ ที่น่าเรยี นรู้ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 181

8.1 ปัญหาการคอรปั ชั่น จากการศึกษาระบบราชการของราชอาณาจักรกัมพูชาพบ ว่าหน่วยงานด้านการลงทุนให้ความเห็นที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ว่ากัมพูชาถือเป็นประเทศหนึ่งที่น่าลงทุน แต่ยังมีข้อเสียที่มีการทุจริต ในวงราชการค่อนข้างมาก โดยจีรนันท์ วงษ์มงคล อัครราชทูตที่ ปรกึ ษา (ฝา่ ยการพาณิชย์) ส�ำ นกั งานสง่ เสริมการคา้ ระหวา่ งประเทศ ณ กรงุ พนมเปญประเทศกมั พชู า[8]ไดก้ ลา่ วถงึ ขอ้ เสยี การลงทนุ ในกมั พชู า ไวใ้ นปีพ.ศ.2553ว่า“มีความไม่โปรง่ ใสของขั้นตอนและระบบราชการ” ซึง่ ตรงกบั สำ�นักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงพนมเปญ[24] ท่ีกลา่ วไว้ในปี พ.ศ.2547 ว่า “ปัญหาคอรัปชัน่ และความไม่โปร่งใสใน ระบบราชการเป็นภาระต้นทุนที่เพิ่มขึ้น”ตรงกันกับสำ�นักงานส่งเสริม การลงทนุ แห่งประเทศไทย (Thailand Board Investment) ท่ีได้ วเิ คราะห์ศักยภาพดา้ นการลงทุนวา่ จุดออ่ นข้อท่ี 17 ของกัมพูชาคือ ระบบราชการกัมพูชามีการคอรัปช่ันสูง[25]นอกจากนี้ยังมีการศึกษาถึง การคอรัปช่ันในประเทศกัมพูชาของ VathanakSinaNeangท่ีกลา่ วถึง การคอรัปชน่ั ในกมั พชู าไว[้49] ดงั นี้ คอรปั ชน่ั เกดิ ไดห้ ลากหลายรปู แบบทง้ั การใหส้ นิ บน การเลน่ พรรค เลน่ พวกการหลีกเลย่ี งภาษี ฯลฯ โดยการทจุ ริตนน้ั จะเกดิ จากปัจจยั ดงั น้ี 1) ปัจจัยด้านการเมืองระดับการคอรัปช่ันข้ึนอยู่กับ ความเขม้ แขง็ ของสังคม อสิ ระของส่ือมวลชนในบรบิ ทของกมั พูชาจาก ความจรงิ ทว่ี า่ รฐั บาลเกดิ ขน้ึ และไดร้ บั อทิ ธพิ ลทางการเมอื งเพอ่ื เปา้ หมาย และกลยทุ ธ์ทางการเมอื ง โดยรฐั บาลมีบทบาทโดดเด่นในการรับและ 182

การใช้จา่ ยทรพั ยากรของพวกตน บางคร้งั วงจรการทุจรติ ดูเหมอื นว่าจะ ปรากฏตวั ขึ้นเปน็ คร้ังคราวและกลายเป็นระบบ 2) ปจั จยั ทางกฎหมายและจรยิ ธรรมปจั จัยสำ�คัญท่เี ชือ่ มโยง กับการทุจริตคือคุณภาพระบบกฎหมายของประเทศเพื่อการดำ�รงอยู่ ของกฎหมายต่อต้านการทุจริตที่มีประสิทธิภาพและความสามารถ ในการบังคับใช้กฎหมาย การคอรัปชั่นยังเกี่ยวกับสถานที่ที่มีคุณค่า ทางจริยธรรมท่ีถูกละเลยโดยผู้ท่ีกระทำ�การทุจริตละเลยศักด์ิศรีและทำ� ตามความเหน็ แกต่ วั ของตน 3) ปัจจัยระบบราชการ ในการออกกฎการแทรกแซงและ กฎระเบยี บราชการในระบบเศรษฐกิจ ทำ�ใหเ้ กดิ การทจุ รติ ทม่ี ีแนวโน้ม จะสูงขึ้น จากการที่ภาครัฐเรียกเก็บเงินจำ�นวนมากจากกฎระเบียบ ที่เอื้อต่อเจ้าหน้าที่รัฐในการหาประโยชน์ส่วนตัว ในขณะที่การเพิ่มขึ้น หรือลดลงของความรบั ผดิ ชอบอาจก่อใหเ้ กดิ การคอรัปชัน่ 4) ปัจจัยด้านผลตอบแทนจากการท่ีเจ้าหน้าที่รัฐมีรายได้อยู่ ในระดบั ต� หรอื แตกต่างจากค่าจ้างของภาคเอกชนคอ่ นขา้ งมาก ท�ำ ให้ ข้าราชการเกดิ การคอรปั ชัน่ ได้ 5) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจการคอรปั ชั่นมแี นวโน้วจะเพ่มิ มากขึ้น จากการทีร่ ัฐสรา้ งเศรษฐกจิ แบบผกู ขาด จะเห็นได้ว่าจากการศึกษาดังกล่าวระบบราชการภายใน ราชอาณาจักรกัมพูชายังมีการคอรัปช่ันอยู่ค่อนข้างสูงจากปัจจัย สนับสนุนที่หลากหลาย ถือเป็นอีกหนึ่งจุดเด่นของระบบราชการ ราชอาณาจกั รกมั พชู าโดยในปจั จบุ นั รฐั บาลกมั พชู ามนี โยบายปราบปราม การทจุ รติ อย่างจรงิ จังมากยง่ิ ขน้ึ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 183

8.2 การปฏริ ูปการบริหารประเทศของกมั พชู า ประเทศกัมพูชาแบ่งโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน ออกเปน็ 2 สว่ น คือส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค โดยโครงสร้างส่วนกลาง แบง่ ออกเปน็ กระทรวงและส�ำ นักงานอิสระ (เทียบเท่ากระทรวง) และ โครงสร้างส่วนภูมิภาค หรือโครงสร้างการปกครองส่วนท้องถิ่น (สภาต�ำ บล) ตามแนวคดิ การกระจายอำ�นาจส่วนทอ้ งถิน่ ไดแ้ ก่ จังหวดั / กรุง (Khea/Krong) อำ�เภอ/เขต (Srok/Kran) ตำ�บล/แขวง (Com- mune/Sangkat) และหม่บู ้าน (Phom) โดยในแตล่ ะสภาตำ�บลจะมี เลขานุการสภาตำ�บล (Clerk) (คล้ายกับปลัดองค์การบริหาร ส่วนตำ�บลในประเทศไทย) ซ่ึงไดร้ บั การแตง่ ตัง้ จากกระทวงมหาดไทย (MOI) ใหท้ �ำ หน้าที่บริหารงานตามกรอบของกระทรวงมหาดไทย ดงั น้นั ข้าราชการพลเรอื นส่วนใหญ่จึงอยใู่ นสว่ นภมู ภิ าค ปัจจุบันรัฐบาลกัมพูชาได้เร่งดำ�เนินการปฏิรูปการบริหาร ประเทศตามคำ�แนะนำ�ของ UNDP และ EU ตามโครงการการแบง่ สรร อำ�นาจและการกระจายอำ�นาจ (Decentralization and Decon- centralization: D&D) และโครงการประชาธิปไตยและการกระจาย อ�ำ นาจสูท่ ้องถ่ิน (The Democratic and Decentralized Local Governance: DDLG) คือรัฐที่มีธรรมาภิบาล มีการใช้อำ�นาจ ตามหลักกฎหมายผ่านสถาบันทางการเมืองและองค์การต่างๆ เพอ่ื ใหม้ คี วามโปรง่ ใสและสามารถตรวจสอบไดโ้ ดยประชาชน ซง่ึ ไดม้ กี าร กำ�หนดแนวทางในการสร้างธรรมาภิบาลและการพัฒนาท่ียั่งยืนออก เป็น 5 ด้านได้แก่ 1.การปฏิรูปด้านการคลัง 2.การปฏิรูประบบ 184

การบริหารประเทศและกองกำ�ลังทหารและตำ�รวจ 3.การปฏริ ูป การกระจายอำ�นาจ 4.การปฏิรูปกฎหมายและระบบยุติธรรมและ 5.การบรู ณาการกับภมู ภิ าคอาเซยี น เน่ืองจากเร่ิมมีการเรียกร้องของกลุ่มประชาสังคมใน ทอ้ งถน่ิ และรฐั บาลกมั พชู าเองกป็ ระสบปญั หาดา้ นการเงนิ ขาดแคลน งบประมาณในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ท�ำ ใหต้ อ้ งอาศยั ความชว่ ยเหลอื จากตา่ งประเทศ (Aid Dependent) ในการฟืน้ ฟแู ละพฒั นาประเทศ เป็นอยา่ งมาก โดยกลมุ่ ประเทศผู้ให้ความชว่ ยเหลือลว้ นแล้วแต่กดดัน มีเงื่อนไขในการให้ความช่วยเหลือแก่กัมพูชาว่ารัฐบาลจะต้องแก้ไข ปัญหาการคอรัปชั่น ทำ�การปฏิรูปประเทศเพิ่มการตรวจสอบและ โปร่งใสและหากไม่สามารถปรับปรุงการเมืองไม่สามารถแก้ไขปัญหา เศรษฐกิจและลดปัญหาคอรัปชั่นได้ ประเทศผู้ให้การสนับสนุนและ องค์การเอกชนตา่ งๆ ก็จะระงับเงนิ ช่วยเหลือแก่กมั พูชา ปัญหาดังกล่าวก็เป็นผลสืบเน่ืองมาจากการท่ีกัมพูชามีสถาบัน ทางการเมอื งการบรหิ ารทอ่ี อ่ นแอและมกี ลไกตา่ งๆ ทม่ี ขี ดี จ�ำ กดั ในดา้ น ความรบั ผดิ ชอบ ซง่ึ เปน็ มรดกตกทอดมาจากประวตั ศิ าสตรข์ องกมั พชู าเอง และนำ�มาซึ่งการคอรัปชั่นในระดับสูง ถึงแม้ว่าการวัดปริมาณ การคอรัปชั่นจะเป็นสิ่งที่ยาก แต่ก็มีข้อมูลที่ระบุว่าการคอรัปชั่น เ ป็ น อุ ป ส ร ร ค ท่ี สำ � คั ญ ย่ิ ง ต่ อ ก า ร เ ติ บ โ ต ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ นื่ อ ง จ า ก การคอรัปชั่นเป็นสิ่งที่ปรากฏทั่วไปตามบ้านเรือน ห้างร้านบริษัท หน่วยงานราชการ องค์การพฒั นาเอกชนและในสถาบันการศกึ ษาของ กมั พชู า ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 185

บรรณานุกรม [1] กรมส่งเสรมิ การสง่ ออก กระทรวงพาณิชย.์ 2554. คู่มอื การคา้ และการลงทนุ ราชอาณาจักรกัมพูชา. กรงุ เทพฯ: สำ�นกั ข่าวพาณิชย์ กรมส่งเสรมิ การสง่ ออก [2] กระทรวงกลาโหม. ประวตั ิศาสตร์ไทย. ค้นวันที่ 29 กมุ ภาพนั ธ์.2557 จาก http://www1.mod.go.th/heritage/nation/neighbour/ cambodia2.htm [3] กระทรวงการต่างประเทศ. 2556. ราชอาณาจักรกมั พชู า. ค้นวนั ท่ี29 กมุ ภาพันธ์ .2557 จาก http://www.mfa.go.th/main/th/world/70/10277-html [4] กรมเจรจาการค้าระหวา่ งประเทศ กระทรวงพาณิชย์. 2554. ประเทศกมั พชู า. ค้นวันที่ 2 กุมภาพนั ธ์ 2557 จาก http://www.dft.go.th 186

[5] กระทรวงแรงงาน. (ม.ป.ป.). กฎระเบียบและข้ันตอนการนำ�เข้าแรงงานของประเทศในกลุ่ม อาเซียน. ในโครงการเตรียมการรองรับการเคลื่อนย้ายของ แรงงานส่กู ารเป็นประชาคมอาเซียน, กฎระเบยี บและขน้ั ตอน การน�ำ เขา้ แรงงานของประเทศในกลมุ่ อาเซยี น (หนา้ 7-1). กรุงเทพฯ: ศูนย์บรกิ ารวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. คน้ วนั ท่ี 25 มนี าคม 2557 จาก http://www.mol.go.th/sites/default/files/ downloads/pdf/11.bththii_7_kdraebiiyb.pdf [6] กองบรรณาธิการฝา่ ยวชิ าการ สำ�นักพมิ พ์ศรีปญั ญา. 2556. อาเซยี น เรยี นลดั 10 = 1. 2556. กรงุ เทพฯ: สามลดาการพมิ พ.์ [7] โกสมุ ภ์ สายจนั ทร,์ เศกสนิ ศรวี ฒั นานกุ ลู กจิ และอดุ ม เกดิ พบิ ลู ย.์ 2550.กมั พชู า ประชาธปิ ไตย ความยากจน ธรรมาภบิ าล เชยี งใหม่ : โชตนาพร้นิ ท์. [8] จรี นันท์ วงษม์ งคล. 2553. โอกาสของ SME ไทยในกัมพชู า. ค้นวนั ที่ 25 มนี าคม 2557 จาก http://www.asia.tu.ac.th/ieas/SMEs/paper230352/ Cambodia/Cambodia_Presentation1.pdf ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกัมพูชา 187

[9] ฝา่ ยวิชาการหนงั สอื เดก็ และเยาวชน. 2555. Welcome to ASEAN เรยี นรูเ้ พอ่ื นบ้านอาเซยี น. กรงุ เทพฯ: ซีเอ็ดยูเคช่ัน จำ�กัด มหาชน. [10] พนิ สดุ า วงศ์อนนั ต.์ 2556. ระบบการปกครองทอ้ งถิ่นของราชอาณาจักร กมั พูชา. กรุงเทพฯ: สถาบนั พระปกเกลา้ . [11] รัชดา ธราภาค. 2555. ราชอาณาจักรกัมพูชา หนังสอื ชดุ ประชาคม อาเซยี น. กรุงเทพฯ: สถาพรบุคส์ จำ�กดั . [12] ผ้จู ัดการออนไลน์. 2555. (3 เมษายน 2555). กมั พชู าตง้ั เปา้ ลดชอ่ งวา่ งการพฒั นาระหวา่ งนง่ั ประธานอาเซยี น. ค้นวนั ที่ 7 กมุ ภาพันธ์ 2557 จากhttp://manager.co.th/ IndoChina/ViewNews.aspx?NewsID [13] พชั ราวลยั วงศ์บุญสิน. 2553. แนวทางพฒั นาทางการศกึ ษาของกมั พชู า .ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา มนษุ ย์และการย้ายถิ่น วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . ค้นวันท่ี 10 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 จาก http://www.thaiworld.org/th/include/answer_ search.php?question_id=948 188

[14] ศานติ ภกั ดคี �ำ . 2556. 100 เรือ่ งนา่ รใู้ นกัมพชู า. กรุงเทพฯ: อมรินทรพ์ ปรนิ้ ติ้ง แอนดพ์ ับลชิ ชิ่ง. [15] ศนู ยอ์ นิ โดจนี ศกึ ษา. วทิ ยาลยั การบรหิ ารรฐั กจิ มหาวทิ ยาลยั บรู พา. ม.ป.ป. ขอ้ มลู พน้ื ฐานราชอาณาจกั รกมั พชู า. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 3. ม.ป.ท. [16] ศนู ย์ศึกษาความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. 2556. ประเทศราชอาณาจกั รกมั พูชากัมพชู า. คน้ วนั ท่ี 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 จากhttp://www.apecthai.org/ apec/th/profile1.php [17] สถานเอกอคั รราชทตู ณ กรงุ พนมเปญ. 2555. ขอ้ มูลประเทศกมั พชู า. ค้นวันท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2557 จาก http://www.thaiembassy.org/phnompenh/th/ thai-people [18] สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงพนมเปญ. 2555. ความสัมพนั ธร์ ะหว่างไทยกบั ราชอาณาจักรกัมพชู า. ค้นวันท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 จาก http://www.thaiembassy.org/phnompenh/th/ thai-people ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 189

[19] สถานีวทิ ยเุ วยี ตนาม. 2556. (23 กนั ยายน) สมเด็จ ฮนุ เซนไดร้ บั การแตง่ ตัง้ ใหด้ �ำ รงตำ�แหน่งนายกรฐั มนตรี กัมพชู าสมยั ท่ี 5ค้นวนั ท่ี 5 กมุ ภาพันธ์ 2557 จาก http://vovworld.vn/th- [20] สมาคมอุตสาหกรรมเครอื่ งนุ่งห่มไทย. 2555. ข้อมลู การลงทุนใน CLMV. คน้ วนั ที่ 25 มนี าคม 2557 จาก http://www.thaigarment.org/file/CLMV_TGMA.pdf [21] สำ�นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทุน. 2556. คมู่ อื การประกอบธุรกิจราชอาณาจักรกัมพูชา. ค้นวันท่ี 29 กมุ ภาพันธ.์ 2557 จากhttp://toi.boi.go.th/ bpanel/upload/country_content_pdf/2013/07/ _Investment%20Manual-Cambodia.pdf [22] ส�ำ นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทนุ . 2552. Country Profile ประเทศกัมพูชา. คน้ วนั ท่ี 20 กุมภาพนั ธ์ 2557 จาก http://www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/ 2010_cambodia/2010_cam_6_0-1.html 190

[23] ส�ำ นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. 2555. ดัชนแี ละคู่มือการลงทนุ ราชอาณาจักรกัมพูชา. โครงการสง่ เสรมิ การลงทนุ ไทยในกมั พชู า สปป.สปป.ลาวเมยี นมาร์ เวียดนาม. สถาบนั เอเชียศึกษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ค้นวนั ท่ี 25 มนี าคม 2557 จากhttp://www.boi.go.th/ upload/Cambodia_manual_57977.pdf [24] ส�ำ นักงานสง่ เสรมิ การค้าในตา่ งประเทศ. 2547. ขอ้ มูลประเทศกมั พูชา. [25] ส�ำ นักงานส่งเสริมการลงทุน. ม.ป.ป.การวเิ คราะหศ์ ักยภาพ ดา้ นการลงทนุ ประเทศกมั พชู า.ค้นวันที่ 28 4 2557 จาก http://www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/ 2010_cambodia/2010_cam_7_2.html [25a] สำ�นักงานสง่ เสรมิ การลงทุน ม.ป.ป. เมืองสำ�คัญและพืน้ ที่ ท่มี ีศกั ยภาพในการลงทนุ คน้ วนั ที่ 28 4 2557 จาก http://www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/2010_ cambodia/2010_cam_4_6.html ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 191

[26] ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (สสว.). แผนทก่ี ารตลาดอาเซยี นสำ�หรบั เอสเอ็มอีไทย.สภาพทางสงั คม ของกมั พูชา. ค้นวนั ท่ี 29 กุมภาพันธ์ 2557 จาก http://122.155.9.68/talad/index.php/cambodia/ overview-kh/social [27] ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (สสว.). 2555. คมู่ ือการค้าและการลงทุนในประเทศกมั พชู า. ค้นวนั ท่ี 29 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 จาก http://www.smeasean.com/country_info.php?id=6 &group=1ASME SEM Regional Gateway [28] ส�ำ นักอาเซยี น กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณชิ ย์.2551. ข้อมูลพน้ื ฐานราชอาณาจักรกัมพูชา. ค้นวันท่ี 29 กุมภาพนั ธ์ 2557 จาก http://www.aseanthailand.org/cambodia_Info.pdf [29] ส�ำ นกั อาเซียน กรมเจรจาการคา้ ระหว่างประเทศ. 2551. ขอ้ มลู พน้ื ฐานราชอาณาจักรกมั พูชา. ค้นวันท่ี 28 กุมภาพนั ธ์ 2557 จาก http://www.aseanthailand.org/cambodia_Info.pdf 192

[30] ส�ำ นักอาเซยี น กรมเจรจาการคา้ ระหว่างประเทศ. 2555. ขอ้ มลู พนื้ ฐานประเทศกัมพูชา. คน้ วนั ที่ 2 กุมภาพนั ธ์ 2557 จาก http://www.dtn.go.th/index.php?option=com_ content&view=article&id=6818%3A2011-07-22-08-14 [31] สรุ เชษฐ์ มณีพงษ.์ 2557. สรุปการประชมุ 2014 Cambodia Outlook Conference. ศนู ยพ์ ฒั นาการคา้ และธรุ กจิ ไทยในประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น. ส�ำ นักงานสง่ เสรมิ การค้าระหว่างประเทศ ณ กรงุ พนมเปญ. [32] สรุ ิชัย หวันแก้ว และคณะ. 2548. อาเซียน : สิง่ ทา้ ทายใหมแ่ ละกปรับตวั . กรุงเทพฯ : สถาบนั เอเชยี ศึกษา จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. [33] หอการคา้ ไทยและสภาหอการค้าแหง่ ประเทศไทย. 2554. คู่มอื การคา้ และการลงทุนราชอาณาจักรกัมพูชา. ม.ป.ท. [34] องคค์ วามรปู้ ระคมอาเซยี น. 2555. ยทุ ธวิธกี มั พูชา-มาเลเซีย ใน AEC. ค้นวันท่ี 7 กมุ ภาพันธ์ 2557 จาก http://www.thai-aec.com/771#ixzz31UhC0v4K ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 193

[35] เอกอัครราชทูตไทย ณ กรงุ พนมเปญ. 2555. ราชอาณาจักรกัมพชู า. ค้นวนั ที่ 29 กมุ ภาพันธ์ .2557 จาก http://www.thaiembassy.org/phnompenh/th/ thai-people [36] อดุ ม เกดิ พบิ ูลย์. 2551. กมั พชู ายคุ ใหม่ วาระเศรษฐกิจ และการเมือง. เชยี งใหม่: โชตนาพร้นิ ท.์ [37] A Comparative Study of ASEAN Civil Service. 2012 Retrieved March 1, 2014 from http://unpan1.un.org/intradoc/groups/public/ documents/eropa/unpan016238.pdf [38] ASEAN. 2557. ดอกไมป้ ระจ�ำ ชาตขิ องประเทศสมาชกิ อาเซยี น. คน้ วนั ที่29 กุมภาพันธ์ .2557 จาก http://www.nwvoc.ac.th/asean/Asean_Flower.html [39] ASEAN SME Regional Gateway. โครงการพฒั นาความร่วมมือเพอ่ื สง่ เสริมวสิ าหกจิ ขนาดกลาง และขนาดยอ่ ม. ค้นวนั ท่ี 25 มีนาคม 2557 จาก http://www.smeasean.com/country_info.php?id=6 &group=4http://www.mosalvy.gov.kh/Ministry of Social Affairs, Labor, VocationalTraining and Youth Rehabilitation: MoSALVY, 194

[40] Cambodia, C. f..Policy on Capacity Development in the Cambodian Civil Service.Retrieved March 28, 2014 from http://www.cdc-crdb.gov.kh/evaluation/ documents/phase2_documents/CapacityDevelopment Policy_June_07_draft.pdf. [41] Central Intelligence Agency. 2013. The World Factbook Retrieved February 14, 2014 from http:s://www.cia.gov/index.html [42] Chiefs of State and Cabinet Members of Foreign Governments. (Update 19 Mar 2014). Retrieved March 1, 2014 from http://www.cia.gov/library/publications/ wourld-leader-1/CB.html. [43] Cooperation, M. o..Name List of the Leaders of the Ministry of Foreign Affairs and International Cooperation (2013-2018). Retrieved March 26, 2014 from http://www.mfaic.gov.kh/Products/2534-name- list-of-the-leaders-of-the-ministry-of-foreign-affairs-and- international-cooperation-2013-2018.aspx ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 195

[44] Council for Administrative Reform. 2010. Handbook for Civil Servants. Retrieved June 14, 2013, from http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc =s&frm=1&source=web&cd=1&cad=rja&ved=0CCoQFjA A&url=http:%3A%2F%2Fagidata.org%2Fpam%2FLegislation. axd%2FCambodia(2010)-Civil-Servant [44a] Global Times (2013). Backgrounder: List of Cambodia’s new cabinet (2013-2018) Retrieved September 15, 2014 from http://www.globaltimes.cn/content/813937.shtml [45] Government, T. R. 2000 (Aprit 27). ANUKRET on the General Principles of Procedures for Management of Civil Servants. Retrieved from http://www.bigpond.com.kh/Council_of_Jurists/ a00-Anukret/ANK00... [46] IMD World Competitiveness Center.2013. IMD World Competitiveness Yearbook. 196

Retrieved March 10, 2014 from http://www.imd.org/news/World-Competitive ness-2013.cfm [47] International Cooperation Study Center (ICSC). Thammasat University. ประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา. ค้นวันที่ 10 กุมภาพนั ธ์ 2557 จาก http://www.apecthai.org/apec/th/profile1.php? continentid=2&country=k3#การเมอื งการปกครอง [48] Jurists, C. o. 1997. THE GENERAL PRINCIPLES OF OR GANIZATION OF THE STATE CIVIL SERVICE.King of Cambodia. [49] Neang, V. S. (n.d.). CORRUPTION: THE CASE IN CAMBODIA. Retrieved March 28, 2014 from http://www.unafei.or.jp/english/pdf/PDF_ ThirdGGSeminar/Third_GGSeminar_P80-86.pdf [50] Planning, R. G. 2014. Guidelines for formulating National Strategic Development Plan (NSDP) 2014-2018. King of Cambodia. ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกัมพูชา 197

[51] Royal Government of Cambodia Council for Administrative Reform.2010. Handbook for Civil Servants. Retrieved March 28, 2014 from http://www.cambosastra.org/cambodian-civil-ser vants-handbook/ [52] Royal Government of Cambodia. 2010. National Strategic Development Plan Update 2009-2013. [53] Royal Government of Cambodia .2013. Rectangular Strategy for Growth, Employment Equity and Efficiency Phase III. Retrieved February 14, 2014, from http://cnv.org.kh/en/wp- content/uploads/2013 /10/26sep13_rectangular-strategy_phaseIII.pdf [54] Royal Government of Cambodia Ministry of Planning. 2014. Guidelines for formulating National Strategic Development Plan (NSDP) 2014-2018.Retrieved February 14, 2014, from http://www.mop.gov.kh/ Home/NSDP/NSDP20142018/tabid/216/Default.aspx 198

[55] Thailand Board of Investment. 2010. สภาพการลงทนุ ในกัมพูชา. คน้ วันท่ี 28 กรกฎาคม 2557 จาก http://www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/2010_ cambodia/2010_cam_4_3.html [56] United Nations. 2004. Civil Service Systems In The ASEAN Region. A Comparative Perspective. Public Administration Network- NEW YORK. Eastern Regional Organization For Public Administration. [57] United Nations Department of Economic and Social Affairs. 2012. World Population Prospects : the2012 Revision Population Division, PopulationEstimates and Projections Section (13 June 2013).Retrieved March 11, 2014 from http://esa.un.org/wpp/documentation/ publications.htm [58] WHO and Ministry of Health. 2012. Health Service Delivery Proflie Cambodia 2012. Retrieved March 1, 2014 from http://www.wpro.who.int/health_ services/service_delivery_profile_cambodia.pdf ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกัมพูชา 199


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook