Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กัมพูชา-cambodia

กัมพูชา-cambodia

Published by E-book Library กศน.ตำบลสำโรง, 2019-04-25 00:51:59

Description: กัมพูชา-cambodia

Search

Read the Text Version

การคมนาคมทางน� กัมพูชามีท่าเรือนานาชาติที่สำ�คัญ 3 แห่ง คือ ท่าเรือนานาชาติ สหี นวุ ลิ ล์ ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ ทา่ เรอื น� ลกึ ทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ และทนั สมยั ทสี่ ดุ โดยทา่ เรอื แหง่ นอ้ี ยใู่ นจงั หวดั พระสหี นทุ างตอนใตข้ องประเทศหา่ งจากกรงุ พนมเปญ 226 กิโลเมตร (ทางหลวงหมายเลข 4) ท่าเรือนานาชาติพนมเปญ ซ่ึงอยู่ลึกเข้ามาจากปากแม่น�โขงบริเวณชายฝั่งทะเลจีนใต้ของประเทศ เวยี ดนามประมาณ 330 กโิ ลเมตร โดยเปน็ ทา่ เรอื ทไี่ มส่ ามารถรองรบั เรอื เดนิ สมทุ รขนาดใหญไ่ ด้ และทา่ เรอื เอกชนชอื่ ทา่ เรอื ออกญามอง (Oknha Mong Port) ซ่ึงต้ังอยู่ติดอ่าวไทยในเขตจังหวัดเกาะกงเหนือขึ้นมาจาก ทา่ เรอื สหี นวุ ลิ ลป์ ระมาณ 40 กโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 180 กโิ ลเมตรจาก กรุงพนมเปญ ระบบสาธารณปู โภคพ้นื ฐาน เช่น ระบบประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ และอินเทอร์เน็ต กัมพูชา มีระบบไฟฟ้าและประปาที่ได้มาตรฐานในการใช้อุปโภคทั่วไปและ การใชใ้ นอตุ สาหกรรม มีผู้ให้บริการโทรศัพท์พ้นื ฐาน 3 ราย ผ้ใู หบ้ ริการ โทรศัพท์เคล่ือนท่ี 6 ราย ในส่วนของระบบอินเทอร์เน็ตของกัมพูชานั้น มโี ครงสรา้ งพนื้ ฐานทางอนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ อยา่ งดี เพราะไดร้ บั การสนบั สนนุ เงินทุนเพ่ือพัฒนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยรัฐบาลเยอรมันและ JBIC (Japan Bank for International Cooperation) โดยการวางสายไฟเบอร์ ออฟติก (Optical Fiber) จากปอยเปต (ติดชายแดนไทย) ไปจนถึง บาเว็ท (ติดชายแดนเวียดนาม) แต่ท้ังนี้อัตราค่าบริการอินเทอร์เน็ต ยังคอ่ นขา้ งสงู จากการสำ�รวจพบว่า ในปี พ.ศ. 2551 มีให้บรกิ าร 9 ราย ผใู้ ชง้ านอินเทอร์เนต็ ในกัมพูชาประมาณ 15,950 ราย [23] 50

1.1.9 ระบบสาธารณสขุ หลงั จากเปน็ อสิ ระในปี พ.ศ. 2496 ระบบสขุ ภาพในประเทศกมั พชู า มพี ฒั นาการทตี่ อ่ เนอ่ื งมาหลายชว่ งเวลา แตอ่ าจกลา่ วไดว้ า่ ประเทศกมั พชู า ได้เริ่มต้นปฏิรูประบบสาธารณสุขอย่างเป็นรูปธรรมในปี พ.ศ. 2534 ภายใตโ้ ครงการสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหร้ ะบบสาธารณสขุ (Strengthening Health Systems Project) โดยมีองค์การอนามัยโลก (WHO) เป็น แม่งานหลัก เริ่มต้นโครงการระยะแรกในปี พ.ศ. 2534 – 2537 ระยะ ทสี่ องในช่วงปี พ.ศ. 2538 – 2540 และระยะทสี่ ามในช่วงปี พ.ศ. 2541 – 2543 ภายใต้โครงการดังกล่าวได้วางแผนการให้มีสถานบริการทาง การแพทย์ (Clinic) ประจ�ำ ทกุ ต�ำ บล และมโี รงพยาบาลประจ�ำ ตวั อ�ำ เภอ แตป่ ญั หาของการด�ำ เนนิ โครงการในชว่ งแรกๆ คอื บคุ ลากรทางการแพทย์ ขาดทักษะด้านวิชาชีพ ขณะท่ีอุปกรณ์ทางการแพทย์ ยารักษาโรค และ เคร่ืองมอื ในการผ่าตดั ฉกุ เฉินกม็ คี วามขาดแคลน เมอ่ื มกี ารรณรงคป์ ฏริ ปู ระบบสาธารณสขุ รฐั บาลกมั พชู ากไ็ ดจ้ ดั ตงั้ กระทรวงสาธารณสุข (MOH) ข้ึนในปี พ.ศ. 2536 และเร่ิมจัดท�ำ ระบบ โครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นสาธารณสขุ ของประเทศภายใตแ้ ผนสขุ ภาพปี พ.ศ. 2536 โดยกระทรวงสาธารณสขุ กัมพูชาได้รบั การสนบั สนนุ จากองค์การ อนามยั โลกในการจดั ตงั้ เครอื ขา่ ยศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ และโรงพยาบาล ตามหวั เมอื ง มพี น้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบครอบคลมุ ประชากร 100,000 ถงึ 200,000 คน อย่างไรก็ตาม ประชาชนกัมพูชาส่วนใหญ่ยังคงนิยมการรักษา ตามคติความเชื่อแบบดั้งเดิม และใช้ยาแผนโบราณ โดยมีครูเขมร พ่อหมอหรือแมห่ มอ เปน็ ผทู้ �ำ หน้าทีร่ กั ษาโรค[26] ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกัมพูชา 51

ส่วนในปัจจุบันมีจุดมุ่งหมายตามแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ของประเทศ ปี พ.ศ. 2551 – 2558 (The Health Sector Strategic Plan 2008 – 2015) คอื การพฒั นาบรกิ ารสขุ ภาพดา้ นงบประมาณและ บุคลากร เพ่ือประชาชนกัมพูชาจะได้รับบริการด้านสุขภาพอย่างท่ัวถึง และเป็นธรรมตามแผนสุขภาพเชิงกลยุทธ์ที่มุ่งเน้น 3 โปรแกรมสุขภาพ ไดแ้ ก่ ภาวะเจรญิ พนั ธ์ุ มารดาและทารกแรกเกดิ รวมถงึ สขุ ภาพเด็กและ โรคติดต่อ โดยรัฐบาลกัมพูชากำ�หนดกรอบยุทธศาสตร์ค่าใช้จ่าย ด้านสุขภาพ พ.ศ. 2551 – 2558 (The Strategic Framework for Health Financing 2008 – 2015) ไว้ เพอ่ื ขจดั อปุ สรรคทางการเงนิ และ ด้านอ่ืนๆ ในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ เพื่อเป็นเค้าโครงสำ�หรับ การสรา้ งหลกั ประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ ใหแ้ กป่ ระชาชนในระยะยาวตอ่ ไป[57] นอกจากนนั้ รฐั บาลกมั พชู ายงั ไดจ้ ดั ท�ำ แผนพฒั นาสขุ ภาพแรงงาน พ.ศ. 2549 – 2558 (The Health Workforce Development Plan 2006 – 2015) โดยแผนฯ ดังกล่าวใหค้ วามส�ำ คญั กับการรกั ษาพยาบาล ของผใู้ ชแ้ รงงานและการสรา้ งหลกั ประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ โดยทภี่ ารกจิ หลักของกระทรวงสาธารณสุขกัมพูชา ปัจจุบันคือการดูแลด้านสุขภาพ รอบด้านและสร้างเสริมสุขภาวะที่ดี และให้ประชาชนได้รับบริการ ด้านสาธารณสุขอย่างทั่วถึงและเป็นธรรมด้วยบริการที่มีคุณภาพ เพ่อื สขุ ภาพและความเป็นอยู่ท่ดี ีข้ึนของประชาชนชาวกัมพูชา สรุปสถานบริการทางการแพทย์ในกัมพูชา ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. หนว่ ยปฎบิ ัตกิ ารประจ�ำ ตำ�บล (Operational District – OD) เป็นสถานบริการทางการแพทย์ท่ีให้บริการประชาชนในระดับตำ�บล มีจ�ำ นวนท้งั สนิ้ 77 แหง่ ทัว่ ประเทศ 52

2. โรงพยาบาลชมุ ชน (Referral Hospital) มขี อบเขตความรบั ผดิ ชอบ ครอบคลุมประชากรประมาณ 100,000 - 200,000 คน มีจำ�นวนทง้ั สน้ิ 74 แหง่ ทว่ั ประเทศ 3. ศูนย์อนามัย (Health Center) มีขอบเขตความรับผิดชอบ ครอบคลุมประมาณ 8,000 - 12,000 คน มีจำ�นวนทั้งสิ้น 957 แห่ง ทว่ั ประเทศ 4. สถานีอนามัย (Health Post) มีจำ�นวน 95 แห่งทั่วประเทศ 1.1.10 ระบบการศึกษา ระบบการศกึ ษาของประเทศกัมพชู าในปัจจบุ ัน ระบบการศึกษาของประเทศกัมพูชา ประกอบด้วย การศึกษา ในระดับอนุบาล ซึ่งจะเร่ิมรับนักเรียนเข้าศึกษาตั้งแต่อายุ 3 – 5 ปี แตก่ ารศกึ ษาในระดบั นพ้ี บวา่ มเี ฉพาะบางพน้ื ทเี่ ทา่ นนั้ การศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษาจ�ำ นวน 6 ปี (เทยี บเทา่ Grade 1 – 6) การศกึ ษาในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น (เทียบเท่า Grade 7 – 9) และการศึกษาระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (เทยี บเทา่ Grade 10 – 12) ในสมยั กอ่ นหลงั จาก สำ�เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้สำ�เร็จการศึกษาจะต้อง สอบเข้ามหาวิทยาลัยโดยใช้ข้อสอบเข้าท่ีแต่ละมหาวิทยาลัยจัดข้ึนเอง แตใ่ นปจั จบุ นั จะมกี ารสอบมาตรฐานเพอื่ รบั ใบประกาศนยี บตั รทเ่ี รยี กวา่ “Bac Dup” ซึ่งได้นำ�มาใช้เป็นระบบกลางในการเข้าศึกษาต่อ ในมหาวทิ ยาลัย ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกมั พูชา 53

นอกจากนย้ี งั มกี ารศกึ ษานอกระบบส�ำ หรบั ผใู้ หญ่ ซง่ึ เนน้ การเรยี น การสอนเพื่อให้อ่านออกเขียนได้ ระบบการศึกษาของกัมพูชาจะเน้น การอ่านออกเขียนได้ขั้นพ้ืนฐาน เนื่องจากโรงเรียนโดยส่วนใหญ่ มักขาดแคลนอุปกรณ์และส่ือการเรียนการสอน ยกตัวอย่างเช่น ในบางชน้ั เรยี น นกั เรยี นไมม่ หี นงั สอื สมดุ จด หรอื แมแ้ ตป่ ากกาในการเรยี น ดังนั้นวิธีการเรียนการสอนที่นิยมมากที่สุดของกัมพูชา จึงเป็นแบบ “Chalk and Talk” หรือการเขียนบนกระดานแลว้ สอนแก่ผู้เรียนเลย ในดา้ นการจดั การศกึ ษาโดยภาคเอกชนพบวา่ เรม่ิ ไดร้ บั ความนยิ ม เพ่ิมมากข้ึนต้ังแต่ปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา สถานศึกษาเอกชนสามารถ พบได้ทั่วไปในทุกระดับการศึกษาโดยเฉพาะระดับมัธยมศึกษาข้ึนไป แต่ด้วยการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของสถานศึกษาเอกชนในระยะเวลา ที่ผ่านมา ทำ�ให้เป็นการยากสำ�หรับรัฐบาลในการเข้าไปตรวจสอบเพื่อ สร้างมาตรฐานของโรงเรียนเอกชนต่างๆ ให้เป็นที่ยอมรับในระบบ การศึกษากัมพชู า แนวทางพฒั นาการศึกษาของกัมพชู า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 1 (พ.ศ. 2539 – 2543) ของกมั พชู าไดก้ �ำ หนดแนวทางกวา้ งๆ ในเชงิ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และเป้าหมายการพัฒนาการศึกษาไว้ 3 ประการ คือ การให้ประชาชน ได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมโดยทั่วกัน การยกระดับคุณภาพ ดา้ นการศกึ ษา และการปรบั ปรงุ การวางแผนบรหิ ารจดั การดา้ นการศกึ ษา ให้เข้มแข็งมากขึ้น โดยมีแผนการลงทุนด้านการศึกษารองรับในช่วงปี พ.ศ.2538 – 2543 จากการปรึกษาหารือกับองค์การระหว่างประเทศ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในระดบั หนง่ึ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ท่ี 2 54

(พ.ศ. 2544 – 2548) เป็นการสานต่อแนวทางการพัฒนาการศึกษา ทเี่ นน้ ถงึ ระดบั แผนปฏบิ ตั มิ ากขน้ึ แผนยทุ ธศาสตรร์ ะดบั ชาตใิ นการขยาย โอกาสทางการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพอยา่ งทวั่ ถงึ ประกอบดว้ ย แผนระยะสนั้ พ.ศ. 2544 – 2545 แผนระยะปานกลาง พ.ศ. 2547 – 2551 และ แผนระยะยาว พ.ศ. 2546 – 2558ทั้งน้ีท่ีผ่านมากัมพูชาได้มีการจัดทำ� แผนยุทธศาสตร์ทางการศึกษา พ.ศ. 2547 – 2551 (Educational Strategic Plan 2004 – 2008) หรือท่ีเรียกโดยย่อว่า ESP 2004/08 แผนยุทธศาสตร์ทางการศึกษาดังกล่าวมีเป้าหมายระยะยาวในการทำ� ใหเ้ ดก็ และเยาวชนชาวกมั พชู าทกุ คนไดร้ บั โอกาสทางการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ อยา่ งทั่วถงึ ทุกระดับ สถานะทางเศรษฐกจิ ทุกเพศ ทุกพน้ื ที่ ทกุ เช้ือชาติ แมแ้ ตผ่ พู้ กิ ารทางรา่ งกาย เพอ่ื ใหส้ อดรบั กบั รฐั ธรรมนญู ของประเทศ และ ความผูกพันที่รัฐบาลมีต่อสัญญาท่ีทำ�กับสหประชาชาติในเรื่องสิทธิเด็ก (U.N. Convention on the Rights of the Child) • แผนระยะยาว พ.ศ. 2546 – 2558 และแผนระยะกลาง พ.ศ. 2547 – 2551 เป็นการปรับปรุงจากแผนระยะส้ัน พ.ศ. 2544 – 2545 ประกอบกับแผนยุทธศาสตร์ในการลดภาวะความยากจน (Poverty Reduction Strategic Plan: PRSP) เม่ือปี พ.ศ. 2545 เป็นฐาน โดยให้สอดรับกับแนวโน้มการเปล่ยี นแปลงทางประชากรและเศรษฐกิจ ระดับมหภาคในช่วง 10 – 15 ปีข้างหน้าของกัมพูชา ร่วมกับแนวทาง การประชุมการศึกษาโลก (World Education Forum) และเป้าหมาย การพัฒนาในสหัสวรรษ 2000 (Millennium Development Goals) ซง่ึ เนน้ การศึกษาส�ำ หรบั ทกุ คน (Education for All) ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 55

• แผนระยะยาว พ.ศ. 2546 – 2558 ได้กำ�หนดให้กัมพูชาบรรลุ เป้าหมายดังต่อไปนภี้ ายในปี พ.ศ. 2558 อนั ได้แก่ 1) การเข้ารบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐานเพมิ่ สงู ขึน้ เปน็ 3.8 ลา้ นคน 2) การเพิ่มชั่วโมงการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาและ มัธยมศกึ ษา 3) การเพ่มิ ห้องเรียนและสถานท่เี รยี นในพ้ืนท่ขี าดแคลน 4) การเพิ่มปริมาณและคุณภาพครูและการฝึกหัดครู โดยเน้น สำ�หรับระดับมัธยมศึกษามากขึ้นปีละประมาณ 10,000 คน ด้วยอัตรา เงินเดอื นเพิ่มสูงขึ้นรอ้ ยละ 3 – 5 ต่อป[ี13][33] ท่มี า: http://www.dlfeschool.in.th 56

1.1.11 ระบบกฏหมาย วิวัฒนาการของกฎหมายและระบบงานยตุ ิธรรมในประเทศกมั พูชา กฎหมายในประเทศกัมพูชาเป็นผลพวงมาจากประวัติศาสตร์ อันยาวนานในเร่ืองอิทธิพลทางศาสนาและการเมือง ในอดีตประเทศ กมั พชู าใชร้ ะบบกฎหมายซง่ึ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากจารตี ประเพณขี องศาสนา พทุ ธและลทั ธขิ อม ตอ่ มาภายหลงั ระบบกฎหมายดงั กลา่ วไดถ้ กู เปลยี่ นแปลง ไปเป็นระบบกฎหมายแบบประมวลกฎหมาย (Civil Law) หรือระบบ กฎหมายลายลักษณ์อักษรตามแบบของประเทศฝร่ังเศส ซ่ึงเป็น ผ้คู รอบครองอาณานิคมของประเทศกัมพูชาในขณะน้นั หลังจากได้รับ อิสรภาพจากประเทศฝรั่งเศส ระบบกฎหมายของประเทศกัมพูชา ไดต้ กอยภู่ ายใตอ้ ทิ ธพิ ลของพรรคคอมมวิ นสิ ต์ (The Communist Party of Kampuchea – CPK) ในชว่ งปี พ.ศ. 2518 – 2522 พรรค CPK (เขมรแดง) ได้ทำ�การล้มล้างระบบและสถาบันกฎหมายทั้งหมดของประเทศ และ เปลี่ยนไปใช้ระบบกฎหมายแบบเผด็จการแทน นอกจากน้ี พรรค CPK ยังได้ทำ�การกวาดล้างและประหารชีวิตนักกฎหมายและผู้ทรงคุณวุฒิ ในสาขากฎหมายให้หมดไปจากประเทศกัมพูชา ก่อให้เกิดสภาวะ ทางกฎหมายที่เรียกว่า “สูญญากาศทางกฎหมาย (Legal Vacuum)” นอกจากนนั้ ยงั มรี ายงานวา่ ในชว่ งเวลาดงั กลา่ วมนี กั กฎหมายเหลอื อยใู่ น ประเทศกัมพูชาเพียง 10 คน ในจำ�นวนน้ันประกอบด้วยผู้พิพากษา 5 ทา่ น ภายหลังจากปี พ.ศ. 2522 ประเทศเวียดนามได้เข้ามามีอิทธิพล ในประเทศกมั พชู าและกอ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงระบบกฎหมายอกี ครง้ั โดยใชต้ น้ แบบจากระบบกฎหมายเวยี ดนาม ตอ่ มาในภายหลงั สหประชาชาติ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 57

ไดย้ น่ื มอื เขา้ ชว่ ยเหลอื ประเทศกมั พชู าในชว่ งปี พ.ศ. 2534 – 2536 โดย จัดต้ังองค์การบริหารช่ัวคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา (UNTAC) The United Nations Transnational Authority in Cambodia เพ่ือเข้ามาปฏิรูประบบกฎหมาย ซึ่งรวมไปถึงการออกกฎหมายใหม่ อกี หลายฉบบั รวมถงึ รฐั ธรรมนญู ประเทศกมั พชู าในปี พ.ศ. 2536 กฎหมาย กมั พชู าปจั จบุ นั จงึ เปน็ การผสมผสานระหวา่ งจารตี ประเพณขี องประเทศ กัมพูชาระบบกฎหมายฝรั่งเศส และระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Common Law) ซงึ่ เกดิ ขนึ้ จากการทป่ี ระเทศตะวนั ตกหลายๆ ประเทศ เขา้ มาบรู ณะระบบกฎหมายของประเทศกมั พชู าหลงั สงครามในประเทศสงบ ปัจจุบันระบบกฎหมายของกัมพูชา กฎหมายแพ่งมีลักษณะ ผสมผสานกบั ขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลจากฝรง่ั เศสทไ่ี ดจ้ ากองคก์ ารบรหิ าร ชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา (UNTAC) พระราชกฤษฎีกา พระราชบัญญัติ ได้รับอิทธิพลจากกฎหมายลัทธิคอมมิวนิสต์และโดย ได้รับอทิ ธพิ ลจากกฎหมายจารีตประเพณี (Common Law) เพ่มิ ข้ึน กฎหมายระหว่างประเทศ ถือว่าเป็นบ่อเกิดของกฎหมายกัมพูชา ตามค�ำ ตดั สนิ ของสภารฐั ธรรมนญู (Constitutional Council) ตามมาตรา 26 ของรัฐธรรมนูญกัมพูชา สนธิสัญญาระหว่างประเทศทั้งหมด สามารถ ถอื ไดว้ า่ เปน็ กฎหมายกมั พชู าเมอื่ ผา่ นความเหน็ ชอบจากสภาผแู้ ทนราษฎร (National Assembly) วฒุ สิ ภา (Senate) และผา่ นการลงพระปรมาภไิ ธย และการอนมุ ตั จิ ากพระมหากษตั รยิ ์ (SignatureandRatificationbytheKing) ถึงแม้กฎหมายระหว่างประเทศโดยท่ัวไปจะถือว่าเป็นกฎหมาย กัมพูชาก็ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากรัฐบาลและพระมหากษัตริย์ แต่สำ�หรับเร่ืองสิทธิมนุษยชนในมาตรา 31 ของรัฐธรรมนูญกัมพูชา 58

ไดใ้ หก้ ารรบั รองหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนตามทปี่ รากฏในกฎบตั รสหประชาชาติ (United Nations Charter) ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration on Human Rights) และสนธิสัญญาอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องกับสิทธิมนุษยชน สิทธิสตรี และสิทธิเด็ก เข้ามามีผลเป็น กฎหมายภายในประเทศกมั พูชาโดยทนั ท[ี47] ระบบศาล ณ ปจั จบุ นั ระบบศาลของประเทศกมั พชู าประกอบไปดว้ ยศาลฎกี า (Supreme Court) ศาลอุทธรณ์ (Appellate Court) ศาลจังหวัด (Provincial/Municipal Courts) ศาลทหาร (Military Court) และศาล ท่ีมีชื่อว่า “Extraordinary Chambers in the Courts of Cambodia (ECCC)” ซง่ึ ตงั้ ขน้ึ เพอื่ พจิ ารณาคดอี าชญากรรมรา้ ยแรงทเ่ี กดิ ขนึ้ ระหวา่ ง สงครามภายใตร้ ะบอบเขมรแดง ศาลฎีกา จะพิจารณาข้อกฎหมายในคดีท่ีคู่ความฎีกาข้ึนมาจาก ศาลอุทธรณ์ ในศาลฎีกามีการจำ�แนกแผนกเป็นแผนกแพ่งและสังคม (Civil and Social Chamber) และแผนกอาญา (Penal Chamber) โดยที่แผนกแพ่งและสังคมจะพิจารณาคดีแพ่งและพาณิชย์ กฎหมาย ครอบครัว คดีแรงงานและคดีปกครอง ส่วนแผนกอาญาจะพิจารณาคดี อาญาเพยี งอย่างเดียว ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกัมพูชา 59

ศาลอุทธรณ์ จะพิจารณาบรรดาคดีทั้งปวงที่อุทธรณ์ขึ้นมาจาก ศาลช้ันต้น (ซึ่งรวมถึงศาลทหารด้วย) ศาลอุทธรณ์พิจารณาคดีความทั้ง ในข้อกฎหมายและข้อเท็จจริง ศาลชั้นต้น ประกอบด้วย ศาลจังหวัด (Provincial Court) ศาลทหาร (Military Court) ซงึ่ ศาลจงั หวดั จะประกอบไปดว้ ยศาลจงั หวดั แผนกแพ่ง และศาลจังหวัดแผนกอาญา ศาลทหารมีเขตอำ�นาจศาล เหนือคดีที่เป็นความผิดทางทหารเท่านั้น ซ่ึงเกี่ยวข้องกับกฎระเบียบ ของกองก�ำ ลงั ทางทหารหรอื การกอ่ ความเสยี หายแกท่ รพั ยส์ นิ ทางทหาร นอกจากน้ีในประเทศกัมพูชายงั ไมม่ ีการจดั ต้ังศาลแพง่ และศาลแรงงาน สภารัฐธรรมนูญ (Constitutional Council) มีหน้าที่สนับสนุน ให้ประชาชนเคารพสิทธิในรัฐธรรมนูญ ตีความรัฐธรรมนูญและ กฎหมายอนื่ ๆทผี่ า่ นสภาผแู้ ทนราษฎร นอกจากนยี้ งั มหี นา้ ทรี่ บั ขอ้ พพิ าท และออกคำ�ตัดสินในข้อพิพาทท่ีเก่ียวกับการเลือกต้ังวุฒิสมาชิกและ การเลือกสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร สภาสูงแหง่ ผมู้ ีอ�ำ นาจทางการปกครอง (Supreme Council of Magistracy – SCM) เป็นหน่วยงานเพื่อธำ�รงไว้ซ่ึงอิสรภาพและ การดำ�เนินงานอย่างถูกต้องของตุลาการในประเทศกัมพูชา หน้าท่ีหลัก ของหนว่ ยงานน้ี คอื น�ำ เสนอเรอ่ื งทลู เกลา้ ฯพระมหากษตั รยิ เ์ พอ่ื ทจ่ี ะแตง่ ตง้ั โยกย้าย ปลด หรือเล่ือนตำ�แหน่งแก่ข้าราชการตุลาการในทุกชั้นศาล และลงโทษทางวินยั แก่ตลุ าการท่กี ระท�ำ ความผิด[11] 60

ภาพที่ 8 Extraordinary Chambers in the Courts of Cambodia (ECCC) ทมี่ า: http://www2.manager.co.th 1.1.12 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งไทยกับกมั พูชา ไทยสถาปนาความสมั พนั ธท์ างการทตู กบั กมั พชู ามาตงั้ แตว่ นั ท่ี 19 ธนั วาคม พ.ศ. 2493 ทั้งสองประเทศมีประวตั ศิ าสตร์ วฒั นธรรม ศาสนา และรูปแบบการดำ�รงชีวิตของประชาชนที่คล้ายคลึงกัน มีความสัมพันธ์ ในระดับประชาชน โดยเฉพาะประชาชนบริเวณแนวชายแดนท่ีใกล้ชิด และมีการแลกเปล่ยี นทางการค้าปริมาณมาก ไทยและกัมพูชามีความร่วมมือกันในหลายด้าน เช่น มีคณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคีไทย–กัมพูชา (Joint Commission on Bilateral Cooperation – JC) ซง่ึ เปน็ เวทสี �ำ หรบั การเจรจาและตกลงเกย่ี วกบั ความรว่ มมอื ในทกุ ๆ ดา้ น ทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 61

สังคม วัฒนธรรม การศึกษา การท่องเที่ยว ฯลฯ โดยได้มีการประชุม คร้ังแรกเมื่อปี พ.ศ. 2538 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา และ คร้ังล่าสุดคือการประชุม JC ครั้งที่ 7 ณ เมืองเสียมราฐ เมื่อวันที่ 3 – 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ท้งั นี้ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม JC ครง้ั ท่ี 8 ในปี พ.ศ. 2555 นอกจากน้ี ยงั มกี ลไกความรว่ มมอื ดา้ นการทหารสองประเทศ โดยตง้ั คณะกรรมการทว่ั ไปชายแดนไทย–กมั พชู า (General Border Committee – GBC) ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของทั้งสองประเทศ เป็นประธานและคณะกรรมการชายแดนส่วนภูมิภาคไทย–กัมพูชา (Regional Border Committee – RBC) ซง่ึ มแี มท่ พั ทหารแตล่ ะภมู ภิ าค ของทั้งสองฝ่ายเป็นประธาน ในด้านการค้าร่วมระหว่างไทยกัมพูชาปี พ.ศ. 2554 มีมูลค่า 93,152.09 ล้านบาท (3,081.35 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) เพ่ิมข้ึนจากระยะ เดียวกันของปี พ.ศ. 2553 ร้อยละ 14.82 จำ�แนกเป็นมูลค่าการส่งออก 87,779.7 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นร้อยละ 18.2 มูลค่าการนำ�เข้า 5,372.39 ล้านบาท สลนิ ดคลา้ งสรง่้ออยอลกะท2สี่ 1�ำ ค.8ญั โขดอยงไไททยยไไดป้เกปมั รพียชูบาดไุลดกแ้ ากร่คน้า�้ำ ม8นั 2ส,4�ำ 0เร7จ็ .3รปู1 ลา้ นบาท น� ตาลทราย มอเตอรแ์ ละเครอ่ื งก�ำ เนดิ ไฟฟา้ เครอื่ งดมื่ เครอ่ื งส�ำ อาง สบู่ และผลติ ภณั ฑร์ กั ษาผวิ ปนู ซเี มนต์ ผลติ ภณั ฑย์ าง เคมภี ณั ฑ์ เครอ่ื งจกั รกล และส่วนประกอบของเคร่อื งจักรกล เหล็ก เหล็กกล้า ส่วนสินค้านำ�เข้า ท่ีสำ�คัญจากกัมพูชา ได้แก่ เหล็ก เหล็กกล้า ผลิตภัณฑ์โลหะอ่ืนๆ เศษโลหะ ผลิตภัณฑ์ผักผลไม้ และของปรุงแต่งท่ีทำ�จากผักผลไม้ เสอ้ื ผา้ ส�ำ เรจ็ รปู พชื และผลติ ภณั ฑจ์ ากพชื เยอ่ื กระดาษและเศษกระดาษ ไม้ซุง ไม้แปรรูปและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์โลหะ เคร่ืองจักรไฟฟ้าและ สว่ นประกอบ และผลิตภัณฑย์ าสบู 62

การค้าชายแดนปี พ.ศ. 2554 มีมูลค่า 70,518.17 ล้านบาท เพมิ่ ขนึ้ จากปี พ.ศ. 2553 รอ้ ยละ 27.25 เปน็ มลู คา่ การสง่ ออก 65,606.11 ลา้ นบาท เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ 28.36 และมลู คา่ การน�ำ เขา้ 4,912.06 ลา้ นบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.13 ซึ่งไทยได้เปรียบดุลการค้าชายแดน 60,694.05 ลา้ นบาท ทง้ั น้ี สนิ คา้ สง่ ออกทส่ี �ำ คญั ไดแ้ ก่ มอเตอรแ์ ละเครอ่ื งก�ำ เนดิ ไฟฟา้ น�ตาลทราย ยางสำ�หรับยานพาหนะ เคร่ืองสำ�อาง เครื่องหอมและสบู่ เคร่ืองยนต์สันดาปภายในแบบลูกสูบและส่วนประกอบ เคร่ืองด่ืม ที่ไม่มีแอลกอฮอล์ ผ้าผืนและด้าย รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครอ่ื งจกั รกลและสว่ นประกอบอน่ื ๆ และเครอ่ื งดม่ื ทม่ี แี อลกอฮอล์ สนิ คา้ น�ำ เขา้ ทสี่ �ำ คญั ไดแ้ ก่ เหลก็ ผกั และของปรงุ แตง่ จากผกั อลมู เิ นยี มและผลติ ภณั ฑ์ ทองแดงและผลิตภัณฑ์ เศษกระดาษ เส้ือผ้าสำ�เร็จรูป พืชน�มันและ ผลิตภัณฑ์ ธัญพืช ผลิตภัณฑ์ไม้อ่ืนๆ และเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ที่ทำ�ด้วย โลหะสามญั การคา้ ชายแดนไทย–กมั พชู า ที่มา: http://www.mcot.net ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 63

ส่วนในด้านการลงทุนนับตั้งแต่รัฐบาลกัมพูชาได้มีกฎหมาย การลงทนุ เมอื่ วนั ที่ 5 สงิ หาคม พ.ศ. 2537 จนถงึ ปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทย เป็นผู้ลงทุนอันดับที่ 6 มีจำ�นวนเงินลงทุน 218 ล้านดอลลาร์สหรัฐ รองจากมาเลเซีย จีน ไต้หวัน เวียดนาม และเกาหลีใต้ ในปี พ.ศ. 2551 ไทยมโี ครงการทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทนุ กมั พชู า (Cambodian Investment Board: CIB) จำ�นวน 4 โครงการ เปน็ เงินลงทนุ มลู คา่ 30.67 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ได้แก่ การผลิตออ้ ยและ น� ตาลของกลมุ่ บรษิ ทั ไทยเบฟเวอเรจ ธรุ กจิ ภาคการขนสง่ เพอ่ื สรา้ งทา่ เรอื โดยบรษิ ทั ในกลมุ่ บรษิ ทั น� ตาลขอนแกน่ ของไทย และการลงทนุ ของกลมุ่ โรงพยาบาลกรงุ เทพเกยี่ วกบั โรงพยาบาลนานาชาตใิ นนามบรษิ ทั Phnom Penh Medical Service จำ�กัด สำ�หรับปี พ.ศ. 2552 ไทยลงทุนเป็น อนั ดบั ท่ี 6 มจี �ำ นวน 5 โครงการ เงนิ ลงทนุ มลู คา่ 15.5 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั มากเปน็ อนั ดบั ที่ 2 ของเงนิ ลงทนุ ทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั ทิ งั้ หมด รองจากจนี ไดแ้ ก่ อุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำ�เร็จรูป 1 โครงการ อุตสาหกรรมแปรรูป สนิ คา้ เกษตร 3 โครงการ และอตุ สาหกรรมผลติ รองเทา้ 1 โครงการ ในปี พ.ศ. 2553 ไทยมีมูลค่าการลงทุนเป็นอันดับท่ี 6 โครงการท่ไี ด้รับอนุมัติ มีจำ�นวน 1 โครงการ เป็นการลงทุนในอุตสาหกรรมผลิตเส้ือผ้าแปรรูป และในปี พ.ศ. 2554 ไม่มีโครงการลงทนุ ใหมๆ่ จากประเทศไทย ในด้านการท่องเที่ยว นักท่องเท่ียวไทยเดินทางไปท่องเท่ียว ในกัมพูชาระหว่างเดือนมกราคมถึงตุลาคม พ.ศ. 2554 มีจำ�นวนมาก เป็นอันดับ 7 โดยมีจำ�นวนนักท่องเท่ียว 91,343 คน รองจากเวียดนาม เกาหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา สปป.ลาว ซึ่งมีจำ�นวนลดลง จากชว่ งเดยี วกนั ของปี พ.ศ. 2553 รอ้ ยละ 26.45 ขณะเดยี วกนั นกั ทอ่ งเทย่ี ว กัมพูชาได้เดินทางเข้ามาท่องเท่ียวในไทยเม่ือปี พ.ศ. 2554 จำ�นวน 64

252,705 คน ซ่ึงเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2553 ร้อยละ 72.76 โดยมีจำ�นวน 146,274 คน นอกจากน้ี ไทยและกมั พชู ามกี ารตกลงรว่ มภายใตก้ รอบความรว่ มมอื ทางการค้าและการลงทุน คือ กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อริ วด–ี เจา้ พระยา–แมโ่ ขง (ACMECS) โดยไดม้ กี ารด�ำ เนนิ โครงการทวภิ าคี ที่มีโครงการร่วมในสาขาการอำ�นวยความสะดวกทางด้านการค้าและ การลงทนุ จ�ำ นวนทง้ั สนิ้ 18 โครงการ เชน่ การศกึ ษาการจดั ตงั้ ตลาดกลาง เพ่ือค้าส่งและส่งออกในกัมพูชา การจัดงานแสดงสินค้า ความตกลง การอ�ำ นวยความสะดวกทางการคา้ โดยใหบ้ รกิ ารเบด็ เสรจ็ ทด่ี า่ นชายแดน ไทย–กัมพูชา เปน็ ต้น ท่มี า: http://www.manager.co.th/ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกมั พูชา 65

นอกจากน้ี จากยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ACMECS ยงั มแี ผนปฏบิ ตั กิ ารอน่ื ๆ อาทิ โครงการ Contract Farming โดยจงั หวดั นำ�ร่องในการจัดทำ� Contract Farming ได้แก่ จันทบุรี–พระตะบอง/ ไพลนิ และยงั มโี ครงการเมอื งคแู่ ฝด (Sister Cities) ซง่ึ เปน็ การด�ำ เนนิ งาน เพื่อพัฒนาพ้ืนที่ระหว่างไทยกับเพ่ือนบ้านให้เป็นเมืองเช่ือมโยงระหว่าง กนั เปน็ รากฐานการผลติ ดา้ นอตุ สาหกรรม การคา้ การทอ่ งเทย่ี ว สนบั สนนุ การย้ายฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมจากไทยไปสู่ประเทศเพื่อนบ้าน สำ�หรับกรอบความร่วมมือ GMS (Greater Mekong Subregion) ไทย กบั กมั พชู าไดด้ �ำ เนนิ โครงการรว่ มกนั ไดแ้ ก่ การพฒั นาแนวพน้ื ทเ่ี ศรษฐกจิ ตอนใต้ (Southern Economic Corridor) เช่ือมโยงไทย กัมพูชา และ เวยี ดนาม การอ�ำ นวยความสะดวกการผา่ นแดนของคนและสนิ คา้ ระหวา่ ง ไทย–กัมพูชา ส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูป Package Tour โดยจะเน้น ตามแนวพน้ื ทเ่ี ศรษฐกจิ ตลอดจนการด�ำ เนนิ การ GMS Single Visa เพอื่ อำ�นวยความสะดวกแกน่ กั ทอ่ งเทยี่ ว ทงั้ นี้ จะเหน็ ไดว้ า่ มลู คา่ การคา้ ของการสง่ ออกสนิ คา้ จากไทยไปยงั กมั พชู ามมี ลู คา่ สงู กวา่ มลู คา่ การน�ำ เขา้ สนิ คา้ ของไทย ซงึ่ การสง่ ออกสนิ คา้ จากไทยไปยังกัมพูชาส่วนใหญ่จะใช้การขนส่งทางถนนเป็นหลัก ทำ�ให้ ภาครฐั ทง้ั ไทยและกมั พชู าไดใ้ หก้ ารสนบั สนนุ การขนสง่ ทางถนนเปน็ อยา่ งมาก เมอื่ เทยี บกบั การพฒั นาการขนสง่ รปู แบบอน่ื โดยมแี นวคดิ ทวี่ า่ ระบบถนน เปน็ บรกิ ารขนสง่ พน้ื ฐานทใี่ หค้ วามสะดวก รวดเรว็ และเปน็ การขนสง่ ให้ ถึงจุดหมายปลายทางโดยตรง อีกทั้งการขนส่งทางถนนเป็นระบบที่มี ประสิทธิภาพสงู สุดสำ�หรบั การขนสง่ ในช่วงส้ันๆ 66

GMS Single Visa ที่มา: http://ewt.prd.go.th อย่างไรก็ดี จากกรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำ�นวย ความสะดวกในการขนสง่ ขา้ มแดน (ASEAN Frame Work Agreement for The Facilitation of Inter-State Transport) และความตกลง วา่ ดว้ ยการขนสง่ ขา้ มพรมแดนในอนภุ มู ภิ าคลมุ่ แมน่ � โขง (Great Mekong Subregion Cross-Border Transport Agreement) ทำ�ให้ภาครัฐ ทง้ั ไทยและกมั พชู าไดป้ ระสานงานและรว่ มมอื กนั ในการลดอปุ สรรคตา่ งๆ และลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการขนสง่ สนิ คา้ ผา่ นเสน้ ทางผา่ นแดน และใหค้ วามส�ำ คญั อยา่ งจรงิ จงั ในการท�ำ งานรว่ มกบั สมาคมทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การขนสง่ ทางถนน แกไ้ ขปญั หาเรอ่ื งรถวง่ิ เทย่ี วเปลา่ เพอ่ื ลดตน้ ทนุ การขนสง่ สนิ คา้ [17][26] ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกมั พชู า 67

การขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคล่มุ แมน่ �โขง ทม่ี า: http://www.oknation.net 1.2 ประวตั แิ ละข้อมูลรัฐบาลโดยยอ่ การปกครองของประเทศกัมพูชาได้รับอิทธิพลจากตะวันตก มีการปกครองเป็นรูปแบบรัฐเดียว โดยอำ�นาจอธิปไตยแบ่งออกเป็น 3 ฝา่ ยไดแ้ ก่ ฝา่ ยบรหิ าร ฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั ิ และฝา่ ยตลุ าการ ซงึ่ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้ ฝา่ ยบรหิ าร มนี ายกรฐั มนตรเี ปน็ หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ าร ซง่ึ นายกรฐั มนตรจี ะตอ้ งมาจาก กระบวนการเลือกตั้งและเป็นพรรคที่ได้รับเสียงข้างมากในการจัดตั้ง รฐั บาล โดยคณะรฐั มนตรขี องกมั พชู าทหี่ นงั สอื พมิ พ์ Global Times [44a] รายงานวา่ มขี นาดใหญถ่ ึง 244 ต�ำ แหน่ง ประกอบด้วย 68

- นายกรัฐมนตรี 1 ต�ำ แหน่ง (Prime Minister) - รองนายกรัฐมนตรี 9 ตำ�แหน่ง (Deputy Prime Ministers) - รัฐมนตรอี าวุโส 15 ต�ำ แหนง่ (Senior Ministers) - รัฐมนตรีประจำ�สำ�นักนายกรัฐมนตรี 13 ตำ�แหน่ง (Ministers attached to the Prime Minister) - รฐั มนตรีประจำ�กระทรวง 27 ต�ำ แหนง่ (Ministers) - รัฐมนตรีของรฐั 179 ต�ำ แหน่ง (Secretaries of States) ฝา่ ยนิตบิ ัญญัติ ระบบรฐั สภาของกมั พชู าเปน็ ลกั ษณะแบบสภาคู่ (Bicameral) โดย มีรายละเอยี ดดังน้ี 1. สภาผแู้ ทนราษฎร หรอื ทเี่ รยี กวา่ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ (The National Assembly; Radhsaphes) หรอื สภาลา่ ง ประกอบดว้ ย สมาชกิ 123 คน มาจากการเลือกตั้งโดยระบบสัดส่วนตามบัญชีรายชื่อ ทพี่ รรคการเมอื งเสนอ มีวาระการด�ำ รงต�ำ แหน่งคราวละ 5 ปี สมาชิกรัฐสภากัมพูชาชุดปัจจุบันมาจากการเลือกต้ังวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 มจี �ำ นวน 123 คน มาจากพรรคประชาชนกมั พชู า (CPP) จ�ำ นวน 68 คน และพรรคกู้ชาตกิ มั พูชา (CNRP) ของนายสม รงั สี (SRP) จำ�นวน 55 คน ประธานสภาแห่งชาติ คือ สมเด็จเฮง สัมริน (Samdech Heng Samrin) อายุ 79 ปี เปน็ ประธานรฐั สภาสมยั ที่ 5 2. วุฒิสภา (Senate; Protsaphea) หรือสภาสูง ประกอบด้วย สมาชิก 61 คน มาจากการเลือกต้งั (กษัตรยิ ์ทรงแตง่ ต้งั 2 คน) ท�ำ หนา้ ที่ กลัน่ กรองกฎหมาย ดำ�รงตำ�แหนง่ คราวละ 6 ปี มกี ารประชุมสมยั สามญั ปีละ 2 ครงั้ สมยั ประชุมหนง่ึ ๆ มีระยะเวลาอย่างน้อย 3 เดอื น ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 69

สมาชกิ วฒุ สิ ภาชดุ ปจั จบุ นั มาจากการเลอื กตงั้ วนั ท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 มีจำ�นวน 57 คน มาจากพรรคประชาชนกัมพูชา (CPP) จ�ำ นวน 46 คน และพรรคสม รงั สี (SRP) จ�ำ นวน 11 คน ประธานวฒุ สิ ภา คือ สมเด็จเจีย ซิม (Samdech Chea Sim) ซึ่งจะทำ�หน้าที่ประมุข ของรฐั ดว้ ย หากกษัตริย์ไมป่ ระทับอยใู่ นประเทศขณะน้ัน[42] ฝ่ายตลุ าการ ฝ่ายตุลาการจะเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายตุลาการของกัมพูชา ประกอบด้วย สภาตุลาการสูงสุด (Supreme Council of The Magistracy) ซึ่งต้ังขึ้นตามรัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) โดยมีศาลสูงและศาลยุติธรรม (Supreme Court and Lower Court) เป็นผใู้ ช้อ�ำ นาจตลุ าการ 70

2 วสิ ยั ทัศน์ เป้าหมาย และยทุ ธศาสตร์ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 71

กมั พชู ายงั ถกู จดั อยใู่ นกลมุ่ ประเทศดอ้ ยพฒั นาทม่ี คี วามยากจนมาก ประเทศหน่ึง ดังนั้น รัฐบาลกัมพูชาจึงให้ความสำ�คัญอย่างสูงสุดต่อ การกำ�หนดยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เพ่ือมุ่งขจัดความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของ ประชาชนโดยเฉพาะในพน้ื ทช่ี นบทใหด้ ขี น้ึ ปจั จบุ นั รฐั บาลกมั พชู าด�ำ เนนิ การ บริหารประเทศตาม 1) โปรแกรมการฟ้ืนฟูและพัฒนาแห่งชาติ (The National Programme to Rehabilitate and Develop Cambodia : NPRD) 2) แผนพัฒนายุทธศาสตร์แห่งชาติ (National Strategic Development Plan: NSDP) 3) แผนยทุ ธศาสตรล์ ดความยากจนแหง่ ชาติ (National Poverty Reduction Strategy: NPRS) 4) เปา้ หมายการพฒั นาแหง่ สหสั วรรษของกมั พชู า (Cambodia’s Millennium Development Goals: CMDGs) ซึ่งล้วนแล้วแต่มี จุดมุ่งหมายให้กัมพูชาก้าวเดินไปสู่การพัฒนาและความเจริญก้าวหน้าที่ ม่ันคงและยั่งยืน 2.1 วิสยั ทศั น์ วิสัยทัศน์ของประเทศกัมพูชาปรากฏในโปรแกรมการฟื้นฟูและ พัฒนาแห่งชาติ (TheNational Programme to Rehabilitate and Develop Cambodia – NPRD) ซ่ึงได้จดั ท�ำ ไวต้ ั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) เรียกได้ว่าเป็นวาระแห่งชาติของกัมพูชา โดยมีวัตถุประสงค์ เพอ่ื เรง่ รดั การแกไ้ ขปญั หาดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมทก่ี มั พชู าก�ำ ลงั เผชญิ อยู่ และการพฒั นาศักยภาพของกัมพูชา ได้แก่ 72

1) การสง่ เสริมการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ 2) การสง่ เสรมิ การสรา้ งงาน 3) การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการของรัฐบาล เพื่อประกัน ความเทา่ เทยี มกันและความเปน็ ธรรมในสงั คม 4) การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและความสามารถของรฐั บาลในการด�ำ เนนิ โครงการปฏิรูปในทุกสาขา เพ่ือลดความยากจนและบรรลุเป้าหมาย ของการพัฒนาท่ียัง่ ยนื รฐั บาลปจั จุบัน ซึ่งน�ำ โดย สมเดจ็ ฮนุ เซน นายกรัฐมนตรี ไดแ้ ถลง นโยบายเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013) และประกาศใช้ ยุทธศาสตร์สี่เหล่ียม (จัตุโกณ) ซึ่งประกอบด้วย 4 เป้าหมายหลักคือ เพื่อการเจริญเติบโต การจ้างงาน ความเสมอภาค และประสิทธิภาพ ในกมั พชู า (“Rectangular Strategy” for Growth, Employment, Equity and Efficiency in Cambodia) 2.2 เปา้ หมาย ในแผนพัฒนายุทธศาสตร์แห่งชาติ (National Strategic Development Plan: NSDP) ไดร้ ะบคุ วามส�ำ คญั ของยทุ ธศาสตรส์ เี่ หลยี่ ม ได้แก่ การมุ่งพัฒนาประเทศเพ่ือต่อยอดจากยุทธศาสตร์สามเหล่ียม (ตรีโกณ หรือ Triangular Strategy) ซ่ึงเป็นหลักพื้นฐาน การด�ำ เนนิ งานของรฐั บาล โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ 9 ประการ ได้แก่ [52] (1) การขจัดความยากจนและหิวโหย (2) การจัดระบบการศกึ ษาข้ันตน้ 9 ปี (3) การสง่ เสริมความเท่าเทยี มกนั ทางเพศ (4) การลดอัตราการตายของทารก ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 73

(5) การปรับปรงุ ระบบสาธารณสขุ (6) การต่อสู้กบั โรคตดิ ต่อรา้ ยแรง (HIV/AIDS มาลาเรีย ฯลฯ) (7) การปกป้องสิง่ แวดล้อม (8) การสรา้ งหนุ้ สว่ นระหวา่ งประเทศเพอ่ื การพฒั นา (9) การเก็บกู้ทุ่นระเบิดและการช่วยเหลอื ผเู้ คราะหร์ ้าย ทั้งนี้ เพ่ือเป็นพ้ืนฐานของการดำ�เนินนโยบายด้านเศรษฐกิจ โดย มงุ่ พัฒนาและน�ำ ประเทศไปส่กู ารเตบิ โต การจ้างงาน ความเทา่ เทยี มกนั และความมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั เกอื้ กลู ตอ่ การปฏริ ปู ทางการเมอื ง และ ความรว่ มมอื กันอย่างเปน็ ระบบระหว่างพรรครว่ มรัฐบาล สว่ นเปา้ หมายหลกั ทค่ี ณะรฐั บาลกมั พชู า ซง่ึ น�ำ โดย นายกรฐั มนตรี สมเดจ็ ฮนุ เซน ไดป้ ระกาศยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นาประเทศ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ยุทธศาสตร์สามเหล่ียม (Rectangular Strategy) ไว้เม่ือเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013) ประกอบด้วย 4 เปา้ หมายหลัก คอื 1) คงไวซ้ ง่ึ อตั ราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ เฉลย่ี รอ้ ยละ 7 ตอ่ ปี 2) สร้างงานใหก้ ับประชาชน 3) ขจดั ปญั หาความยากจนร้อยละ 1 ตอ่ ปี 4) เพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการทำ�งานของทกุ ภาคสว่ น 2.3 ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ส่ีเหล่ียม (Triangular Strategy) ประกอบด้วย 3 โครงสร้างสำ�คญั ไดแ้ ก่ 1. ยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) โดยมุ่งเน้น การปฏิรูป 4 ประการ ได้แก่ 74

1) การตอ่ ตา้ นการฉ้อราษฎรบ์ ังหลวง 2) การปฏิรูปกฎหมายและการศาล 3) การบริหารสาธารณะ 4) การปฏริ ปู กองทพั โดยเฉพาะการลดจ�ำ นวนก�ำ ลงั พลและ เพิ่มประสทิ ธภิ าพของบคุ ลากรและอาวธุ ยุทโธปกรณ์ 2. สรา้ งเสรมิ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ อ�ำ นวยตอ่ การพฒั นาประเทศ ไดแ้ ก่ 1) ความสงบเรยี บรอ้ ย เสถยี รภาพทางการเมอื ง และระเบยี บ ทางสงั คม 2) การสร้างหุ้นส่วนด้านการพัฒนา ซึ่งรวมถึงภาคเอกชน ประเทศผู้บริจาค และประชาชน 3) การพัฒนาดา้ นเศรษฐกจิ และการคลัง 4) การบูรณาการกัมพชู าเข้าสรู่ ะดับภูมภิ าคและระดับโลก 3. ยทุ ธศาสตรส์ เ่ี หลยี่ มยงั ไดใ้ หค้ วามส�ำ คญั ตอ่ การพฒั นาประเทศ ใน 4 สาขาหลัก ไดแ้ ก่ 1) การเกษตร 2) การพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน 3) การพัฒนาภาคเอกชนและสนับสนุนการสรา้ งงาน 4) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะด้านการศึกษา และสาธารณสขุ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 75

ยทุ ธศาสตรก์ ารลดความยากจนของรฐั บาลกัมพูชา ไดแ้ ก่  การเสรมิ สรา้ งความสงบเรยี บรอ้ ย เสถยี รภาพ และจดั ระเบยี บ ทางสงั คม โดยใชม้ าตรการสนบั สนนุ กฎเกณฑแ์ ละความถกู ตอ้ งชอบธรรม ตามกฎหมาย การเคารพในสิทธิมนุษยชนและความเป็นประชาธิปไตย เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมทางการเมืองและความมั่นคง ให้นำ�ไปสู่ การพฒั นาทยี่ งั่ ยืนในระยะยาว  การรักษาอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนประมาณ ร้อยละ 5 – 7 ตอ่ ปี  การสง่ เสรมิ การกระจายผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ทเ่ี ทา่ เทยี มกนั ระหว่างคนรวยกับคนจน ระหว่างเมืองกับชนบท และระหว่างชายกับ หญิง  การพัฒนาการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ จากสงิ่ แวดลอ้ มท่ียง่ั ยนื ปัจจบุ ันกัมพูชาก�ำ หนดแผนพัฒนาเศรษฐกจิ ไว้ 8 ประการ ไดแ้ ก่ (1) การฟน้ื ฟรู ะบบชลประทานเพ่อื การเกษตร (2) การพัฒนาการส่อื สารโทรคมนาคม (3) การสร้างเขอ่ื นไฟฟา้ พลงั น� (4) การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ (5) การสร้างอตุ สาหกรรมเพอ่ื การสง่ ออก (6) การพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว (7) การสำ�รวจและใชท้ รพั ยากรแร่อยา่ งยง่ั ยืน และ (8) การพัฒนาการค้า[53] 76

3 ประวตั ิความเป็นมา ของระบบราชการ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 77

กัมพูชาเป็นอาณาจักรที่ย่ิงใหญ่มีวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ท่ีมี ความเป็นมายาวนาน จนกระท่ังเมื่อประมาณคริสตวรรษที่ 14 จนถึง พ.ศ. 2407(ค.ศ. 1864) ที่กัมพูชาต้องกลายเป็นเพียงรัฐในอารักขาของ ฝร่งั เศสและนบั จากจดุ เรม่ิ ต้นของการท่ีกัมพูชาตกอย่ภู ายใตอ้ ำ�นาจของ ฝร่ังเศส ทำ�ให้ฝร่ังเศสได้เริ่มดำ�เนินนโยบายปฏิรูปโครงสร้างของระบบ การเมือง เศรษฐกจิ และสังคมในกัมพชู าอย่างกวา้ งขวาง 3.1 กัมพูชาภายใตก้ ารปกครองของฝรัง่ เศส (พ.ศ. 2406 – 2496) ฝรง่ั เศสไดม้ บี ทบาททางการเมอื งการปกครอง รวมถงึ เขา้ แทรกแซง กจิ การภายในของกมั พชู า ไดแ้ ก่ การแตง่ ตง้ั ขา้ หลวงฝรง่ั เศส และขา้ ราชการ ชาวกัมพูชาที่นิยมฝรั่งเศสให้บริหารราชการตามเมืองใหญ่ๆ พร้อมกับ ประกาศยกเลิกระบบทาส ทำ�การปฏิรูประบบจัดเก็บภาษีอากร และ ท�ำ การถา่ ยโอนสทิ ธกิ ารถอื ครองทด่ี นิ จากครวั ขนุ นาง มาสู่มือประชาชน ซึ่งทำ�ลายฐานอำ�นาจทางการเมืองและเศรษฐกิจของชนช้ันผู้ปกครอง ชาวกัมพูชาที่ตั้งอยู่บนระบบการควบคุมกำ�ลังแรงงาน มีการเก็บภาษี อากรจากผลผลติ ทางการเกษตรของประชาชน การเขา้ ไปมบี ทบาทส�ำ คญั ในระบบราชการของฝรัง่ เศส ทำ�ใหเ้ กดิ การผกู ขาดทางการค้า กอบโกย ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ท�ำ ใหป้ ระชาชนกมั พชู าไมพ่ อใจ ซง่ึ ในระหวา่ ง การแผข่ ยายอทิ ธพิ ลของฝรง่ั เศสในกมั พชู านเ้ี อง ไดเ้ กดิ ขบวนการชาตนิ ยิ ม เกดิ ขน้ึ อยา่ งชัดเจนในชว่ งทศวรรษ 1930 – 1950 (พ.ศ. 2473 - 2493) มีการถามถึงความชอบธรรมของฝรัง่ เศสในการปกครองกมั พูชา 78

ภาพที่ 9 พระบาทสมเดจ็ พระนโรดม สีหนุ 3.2 กัมพูชาภายใตก้ ารปกครองของสมเดจ็ สหี นุ (พ.ศ. 2496 – 2513) ไม่ปรากฏว่ามีพัฒนาการของระบบราชการกัมพูชาในช่วงระยะ เวลานี้ เนอื่ งจากเปน็ ชว่ งทกี่ มั พชู าเรมิ่ ทบทวนจดุ ยนื เกยี่ วกบั การเรยี กรอ้ ง เอกราช และการผลกั ดนั ใหม้ กี ารเปลย่ี นแปลงสงั คมกมั พชู าจากปญั ญาชน ชาวกัมพูชาจำ�นวนหนึ่ง โดยในปลายปี พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เป็น ช่วงเวลาที่ฝร่ังเศสกำ�ลังพัวพันกับการทำ�สงครามเวียดนามและ เปน็ ฝา่ ยเสยี เปรยี บในสงครามเวยี ดนามทเี่ ดยี นเบยี นฟู กษตั รยิ ส์ หี นจุ งึ ได้ เป็นผู้นำ�ในการเรียกร้องเอกราชจากฝร่ังเศส และในที่สุดกัมพูชาได้รับ เอกราชอย่างสมบูรณ์ตามข้อตกลงในสนธิสัญญาเจนีวา (The Geneva Accords of 1954) พร้อมกบั สปป.ลาวและเวียดนาม ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 79

แตห่ ลงั จากกมั พชู าเปน็ เอกราชจากอาณานคิ มและเกดิ ความสงบ ชวั่ คราวกต็ อ้ งกลบั เขา้ สวู่ งั วนแหง่ สงครามอกี ครงั้ เมอื่ เจา้ สหี นไุ ดท้ รงสละ ราชสมบตั เิ พอื่ ด�ำ เนนิ งานทางการเมอื งอยา่ งเตม็ ที่ และไดต้ ดั ความสมั พนั ธ์ ทางการทูตกับสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) หันไปให้ ความร่วมมือกับเวียดนามเหนือประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและ เวียดนามใต้ในสงครามเวียดนาม (The Vietnam War) การดำ�เนิน นโยบายต่างประเทศท่ีเป็นพันธมิตรกับคอมมิวนิสต์เวียดนามเหนือ และจีนท�ำ ใหเ้ ศรษฐกิจของกัมพชู าย� แย่ลงไปอีก กษตั รยิ ส์ หี นเุ รมิ่ สญู เสยี คะแนนนยิ มทางการเมอื งเพราะไมส่ ามารถ แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ รวมไปถึงการปฏิเสธความช่วยเหลือทางการเงิน จากสหรัฐอเมริกา สร้างความไม่พอใจให้กับกลุ่มการเมืองฝ่ายอนุรักษ์ นยิ มภายใต้การนำ�ของนายพลลอน นอล (Lon Nol) ผ้บู ญั ชาการทหาร เปน็ เหตใุ หน้ ายพลลอน นอล ใชโ้ อกาสนที้ �ำ การรฐั ประหารโคน่ ลม้ อ�ำ นาจ ของสมเดจ็ สหี นแุ ละปลดออกจากต�ำ แหนง่ ประมขุ แหง่ กมั พชู าในวนั ที่ 18 มนี าคม พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) โดยสหรฐั อเมริกาไดร้ ่วมเปน็ พนั ธมิตร สำ�คัญในการทำ�รัฐประหาร และได้แต่งต้ังนายพลลอน นอล ขึ้นเป็น นายกรัฐมนตรีของรฐั บาลกู้ชาติในปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) 3.3 กัมพชู าภายใต้การปกครองของนายพลลอน นอล (พ.ศ. 2513 – 2518) เกิดมีปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวงของรัฐบาลอย่างมาก หลงั จาก การท�ำ รฐั ประหารยดึ อ�ำ นาจของนายพลลอน นอล ซง่ึ ไดท้ �ำ การเปลย่ี นชอ่ื ประเทศจากราชอาณาจักรกัมพูชา เป็น “สาธารณรัฐเขมร” 80

ขณะท่ีสมเด็จสีหนุได้ประกาศจัดต้ังรัฐบาลสหภาพแห่งชาติกัมพูชา (Royal Government of National Union of Kampuchea) ทก่ี รงุ ปกั กง่ิ พร้อมกับร่วมมือกับฝ่ายคอมมิวนิสต์กัมพูชาทำ�การต่อสู้กับรัฐบาล นายพล ลอน นอล ซง่ึ มสี หรฐั อเมรกิ าใหก้ ารสนบั สนนุ และสหรฐั อเมรกิ า ก็ใช้กัมพูชาเป็นพ้ืนที่ในการท�ำ สงครามต่อต้านฝ่ายคอมมิวนิสต์ ในขณะ เดยี วกนั การท�ำ รฐั ประหารโดยกลมุ่ การเมอื งฝา่ ยอนรุ กั ษน์ ยิ มกเ็ ปน็ ปจั จยั สำ�คัญที่ส่งเสริมให้ขบวนการคอมมิวนิสต์กัมพูชา หรือท่ีต่อมารู้จักกัน ในช่ือ “เขมรแดง” (Khmer Rouge) สามารถเติบโตข้ึนอย่างรวดเร็ว การปะทะกันโดยตรงระหว่างกองกำ�ลังของสาธาณรัฐกัมพูชา และ เวยี ดนามเหนือเกิดข้นึ เปน็ ครั้งแรกในวนั ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) ผลการสรู้ บระหวา่ งทงั้ สองฝา่ ยทเ่ี กดิ ขนึ้ ในชว่ งระหวา่ งปี พ.ศ. 2513 – 2514 (ค.ศ.1970 – 1971) สร้างความเสียหายให้แก่ฝ่ายรัฐบาล สาธารณรัฐเขมรอย่างมาก ประกอบกับสถานการณ์ภายในประเทศนั้น มีปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวงของรัฐบาลสาธารณรัฐเขมร ท่ีสุด กลมุ่ เขมรแดงเคลอ่ื นก�ำ ลงั เขา้ ยดึ กรงุ พนมเปญไดส้ �ำ เรจ็ ในวนั ท่ี 17 เมษายน พ.ศ.2518 (ค.ศ. 1975) และจัดต้ังรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตย (Democratic Kampuchea)ขน้ึ ปกครองประเทศ โดยมเี ปา้ หมายส�ำ คญั อยทู่ ก่ี ารสรา้ งสงั คมใหมท่ ป่ี ราศจากการกดขข่ี ดู รดี การเอารดั เอาเปรยี บ และความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกัมพูชา 81

ภาพที่ 10 นายพลลอน นอล อดีตนายกรัฐมนตรีกมั พชู า ท่ีมา: http://th.wikipedia.org/wiki 3.4 กมั พชู าภายใตก้ ารปกครองของพอลพต (พ.ศ.2518 – 2521) อ�ำ นาจรฐั ทง้ั หมดอยภู่ ายใตก้ ารก�ำ กบั ของ “องคก์ าร” องคก์ ารเปน็ สายการปกครองของรัฐบาลเขมรแดงภายใต้การนำ�ของนายพอล พต ซงึ่ ยึดอ�ำ นาจในกัมพชู าไวท้ ัง้ หมด และไดน้ ำ�ระบบคอมมวิ นิสต์ เขา้ มาใช้ ในกัมพูชา โดยมีพรรคคอมมิวนิสตเ์ ป็นแกนกลางในการบรหิ ารประเทศ พร้อมทง้ั เปลี่ยนช่อื ประเทศใหม่เปน็ “กมั พูชาประชาธิปไตย” และยอม ใหส้ มเดจ็ สหี นดุ �ำ รงต�ำ แหนง่ ประมขุ ของประเทศแคใ่ นนามเทา่ นน้ั นบั วา่ อำ�นาจรัฐท้ังหมดอยู่ภายใต้การกำ�กับของ “องค์การ” ซ่ึงเป็นองค์การ 82

ปกครองของรัฐบาลที่มีอำ�นาจท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และตุลาการ โดยท�ำ การยกเลกิ สถาบนั และรปู แบบของกจิ กรรมทางการเมอื ง เศรษฐกจิ และสังคมที่มีอยู่เดิมท้ังหมด กล่าวได้ว่าองค์การในทุกระดับช้ัน มสี ทิ ธอิ �ำ นาจการตดั สนิ ใจในทกุ เรอื่ งและทกุ กจิ การของรฐั ในชว่ งเวลาน้ี รัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยเป็นรัฐบาลท่ีไม่มีกฎหมายสำ�หรับปกครอง สงั คม ภาพที่ 11 นายพอล พต อดีตผูน้ ำ�เขมรแดง ที่มา: http://www.manager.co.th ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 83

3.5 กมั พชู าภายใตก้ ารยึดครองของเวยี ดนาม (พ.ศ. 2522 – 2534) ภายใต้ความหวาดระแวงของกัมพูชาต่อท่าทีของเวียดนาม ทำ�ให้ กัมพูชาหันไปเพิ่มพูนความสัมพันธ์ทางการทูตที่ใกล้ชิดกับจีน ซ่ึงได้ สร้างความหวาดระแวงแก่เวียดนามเป็นอย่างมาก ส่งผลให้เวียดนาม ตดั สนิ ใจรกุ กมั พชู าครง้ั ใหญ่ โดยเกดิ ขน้ึ ในปลายเดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) และในวนั ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) เวยี ดนาม กส็ ามารถยดึ ครองกรงุ พนมเปญไดส้ �ำ เรจ็ เวยี ดนามจดั ตงั้ รฐั บาลสาธารณรฐั ประชาชนกัมพูเจีย (People’s Republic of Kampuchean: PKK) ขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) โดยมีนายเฮง สัมริน ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นประธานสภาแห่งรัฐ นายฮุน เซน ขึ้นดำ�รงตำ�แหน่ง เป็นนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985) สำ�หรับด้านการปกครองประเทศสมัยรัฐบาลนายเฮง สัมริน ท่ีมี เวยี ดนามหนนุ หลงั รฐั บาลไดป้ ระกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู ใหม่ โดยไดร้ บั อนมุ ตั ิ จากสภาแหง่ ชาตเิ มอ่ื เดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) ทง้ั นร้ี ฐั บาล เฮง สัมริน ประสบปัญหาการขาดแคลนบุคลากรเนื่องจากประชาชน กมั พชู าทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถจ�ำ นวนมากเสยี ชวี ติ หนอี อกนอกประเทศ และรงั เกยี จรฐั บาลทม่ี เี วยี ดนามเปน็ ผอู้ ปุ ถมั ภก์ ม็ ไี มน่ อ้ ย แมร้ ฐั บาลฮนุ เซน จะพยายามชกั จงู ใหผ้ ทู้ อี่ พยพหลบหนอี อกนอกประเทศกลบั เขา้ มาปฏบิ ตั ิ หน้าท่ีในหน่วยงานราชการ ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขให้หมดไป และ นั่นเปิดทางให้เวียดนามจัดส่งท่ีปรึกษาจำ�นวนมากเข้าไป “ช่วยเหลือ” การบรหิ ารกจิ การของหน่วยราชการทกุ ระดับ 84

ภาพที่ 12 นายเฮง สัมริน ท่ีมา: http://botkwamdee.blogspot.com ภาพที่ 13 สมเดจ็ อัครมหาเสนาบดีเดโช ฮนุ เซนนายกรัฐมนตรีคนปัจจบุ ัน ทม่ี า: http://jadsee62.wordpress.com ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 85

3.6 กัมพชู าในความอุปถัมภข์ องสหประชาชาติ (พ.ศ. 2534 – 2536) คณะมนตรีความม่ันคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council) ได้ชุบชีวิตกัมพูชาให้ฟ้ืนคืนชีพอีกคร้ัง เม่ือ สงครามกลางเมืองส้ินสุดลงอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) พรอ้ มกบั การลงนามในขอ้ ตกลงสนั ตภิ าพทกี่ รงุ ปารสี (Paris Peace Agreement) อันได้ปูทางไปสู่การเข้ามาของ UNTAC โดยข้อตกลง สันติภาพฯ ได้มีการจัดทำ�ข้อเสนอแนะให้ทำ�การฟื้นฟูประเทศกัมพูชา ไปพร้อมๆ กับการสรา้ งชาตขิ ึ้นใหม่อกี ครั้งหน่ึง อีกทัง้ ยังเป็นแผนแมบ่ ท ในการเขา้ มาขององคก์ ารระหวา่ งประเทศในการจดั การเลอื กตง้ั ระดบั ชาติ ขึ้นในกัมพูชา โดยในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) กัมพูชา ได้จัดให้มีการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตยข้ึนภายใต้การกำ�กับดูแลของ สหประชาชาติ ซง่ึ เปน็ การเลอื กตง้ั ครง้ั แรกทมี่ พี รรคการเมอื งหลายพรรค สมคั รเขา้ รบั เลอื กตงั้ โดยมพี รรคการเมอื งเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ถงึ 20 พรรค แต่พรรคการเมืองท่ีโดดเด่น คือ พรรคประชาชนกัมพูชา (CPP) นำ�โดย สมเด็จฮนุ เซน พรรคฟุนซนิ เปก (FUNCINPEC) น�ำ โดยเจา้ รณฤทธ์ิ ภายใต้รัฐบาลผสมระหว่างพรรคประชาชนกัมพูชา (CPP) และ พรรคฟุนซินเปค (FUNCINPEC) ได้ดำ�เนินการเร่งปฏิรูประบบราชการ เนอ่ื งจากกลมุ่ ประเทศผใู้ หค้ วามชว่ ยเหลอื (Consultative Group: CG) แก่กัมพูชาได้ตั้งเง่ือนไขให้รัฐบาลกัมพูชาต้องปฏิรูประบบงานบริหาร ราชการ ระเบียบการคลัง ระบบภาษี กองทัพ กรมตำ�รวจ กฎหมาย การกระจายอ�ำ นาจและการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติเพอ่ื เปน็ การแลกเปลย่ี น ความชว่ ยเหลอื โดยมจี ดุ ประสงคเ์ พอ่ื ใหเ้ กดิ ธรรมาภบิ าล มคี วามโปรง่ ใส 86

ในการตรวจสอบการท�ำ งานของรัฐบาล และเพอ่ื แกไ้ ขปญั หาคอรัปชั่น ที่มอี ยู่มากในกัมพูชาให้หมดไป โดยภายหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในกัมพูชาในปี พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) ประเทศกัมพูชามีรัฐบาลใหม่ท่ีมีความพยายามใน การยกระดับฟ้ืนฟูประเทศ และประกาศให้คำ�ม่ันสัญญาต่อนานาชาติ ท่ีให้ความช่วยเหลือต่อกัมพูชาในการพัฒนาประเทศว่ารัฐบาลกัมพูชา ยังคงมีเจตนาเดินหน้าในการปฏิรูปการบริหารประเทศ และยังมี ความจำ�เปน็ ทจี่ ะรบั ความชว่ ยเหลอื จากนานาประเทศ ปัญหาการพฒั นาระบบราชการกัมพูชา ปัจจัยทางการเมืองท่ีเกิดท่ามกลางสภาวะสงครามกลางเมือง มายาวนานเกือบ 3 ทศวรรษ ได้ทำ�ให้กัมพูชาไม่สามารถพัฒนาระบบ ราชการได้ และยังคงต้องพึ่งพาการพัฒนาเศรษฐกิจจากองค์การด้าน การเงนิ ระหวา่ งประเทศ รวมถงึ การขาดแคลนทรพั ยากรบคุ คลทมี่ คี ณุ ภาพ แม้ว่ารัฐบาลและองค์การระหว่างประเทศได้เข้ามาช่วยเหลือฟ้นื ฟูโดย ตลอดนับแต่สงครามภายในได้ยุติลงเมื่อปี พ.ศ. 2534 แต่ยังไม่ ประสบผลส�ำ เรจ็ และถอื วา่ กมั พชู าเปน็ ประเทศพฒั นานอ้ ยทสี่ ดุ รายจา่ ย ประจ�ำ และรายจา่ ยดา้ นการลงทนุ คดิ เปน็ สดั สว่ นรอ้ ยละ 59.8 และ 38.2 ของรายจ่ายรวมตามลำ�ดับ รายจ่ายประจำ�ที่สำ�คัญคือ การปฏิรูป ระบบราชการ การปลดทหาร และการเลือกต้ัง เป็นต้น แม้เกิดแนวคิด การกระจายอ�ำ นาจเกดิ ขนึ้ มาจากหลกั ธรรมาภบิ าล (Good Governance) เนอ่ื งจากรฐั บาลมคี วามเชอ่ื วา่ การกระจายอ�ำ นาจเปน็ การปกครอง ท่รี ัฐสามารถถา่ ยโอนอ�ำ นาจการบงั คบั บญั ชา และมอบหมายความรบั ผดิ ชอบ ในกิจการบางอย่างให้ท้องถ่ินดำ�เนินการจัดการภายในเอง โดยมี ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกัมพชู า 87

จุดมุ่งหมายสำ�คัญเพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีส่วนร่วม และรับผิดชอบร่วมกันในการดูแลกิจการท้องถิ่นของตนเอง แต่ใน ทางปฎิบัติแม้ว่าการปฏิรูประบบราชการ การกระจายอำ�นาจ จะด�ำ เนนิ ไป แตก่ ป็ รากฏสง่ิ ทา้ ทายทส่ี วนทางกบั กระบวนการปฏริ ปู ดว้ ย เชน่ กนั มกี ารแทรกแซงจากฝา่ ยการเมอื งบางกลมุ่ ไมว่ า่ จะเปน็ การก�ำ หนด ตัวคนในด้านโครงสร้างกฎหมายหรือกำ�หนดกฎเกณฑ์ในกระบวนการ กระจาย รวมไปถึงการขม่ ขู่คุกคามทางการเมือง ในชว่ งเปดิ ประเทศหรอื ประมาณปี พ.ศ. 2533 ขา้ ราชการระดบั สงู ทง้ั สว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าค สว่ นใหญไ่ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั จากพรรคการเมอื ง โดยมวี าระตามการตดั สนิ ใจของผบู้ รหิ ารพรรคการเมอื ง ซงึ่ เปน็ ผบู้ รหิ าร ประเทศ นักการเมือง และข้าราชการระดับสูงกลุ่มน้ีต่างมีรายได้มา จากการใหเ้ ชา่ บา้ นและทดี่ นิ ซงึ่ ไดร้ บั จดั สรรขณะด�ำ รงต�ำ แหนง่ ผบู้ รหิ าร ประเทศ และรายรับที่ได้รับการอำ�นวยความสะดวกในเร่ืองกฎระเบียบ ของรัฐ รวมถึงเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศในโครงการพัฒนาต่างๆ ทย่ี งั มปี ญั หาคอรปั ชนั่ อยมู่ ากในกมั พชู า ซงึ่ ทางธนาคารโลกไดร้ ายงานวา่ การทุจรติ ในหนา้ ทข่ี องบคุ คลในรฐั บาลมอี ย่างกว้างขวางและแพรห่ ลาย ภาคธุรกิจเอกชนส่วนใหญ่ยอมรับว่าจำ�เป็นต้องจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่ ของรฐั บาลเพยี งแค่ท�ำ หนา้ ทตี่ ามปกติ และต้องจ่ายสนิ บนถงึ รอ้ ยละ 85 ของรายจา่ ยนอกระบบ หรอื ตงั้ แตร่ อ้ ยละ 5 – 6 ของรายรบั จากการขาย และเพ่ิมข้ึนตามขนาดของธุรกิจซ่ึงถือเป็นรายการใหญ่ของต้นทุน การผลติ โดยทว่ั ไปแลว้ เงนิ รายจา่ ยทไ่ี มเ่ ปน็ ทางการน้ี ถอื เปน็ คา่ ตอบแทน ให้เจ้าหน้าท่ีเพื่อให้ได้บริการท่ีรวดเร็วขึ้น แต่ในกัมพูชาการติดต่อ ขอรับบริการจากเจ้าหน้าท่รี ัฐบาลต้องจ่ายเงินประเภทน้ี คลา้ ยกบั เปน็ ค่าธรรมเนียมตามปกติ เพยี งแต่เงนิ ท่ีจา่ ยไปไม่ได้น�ำ สง่ เข้ารฐั 88

4 ภาพรวมของ ระบบราชการ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกมั พูชา 89

4.1 รัฐบาล นโยบายรัฐบาล และนโยบายการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน รฐั บาลกมั พชู าในปจั จบุ นั ภายใตก้ ารปกครองของ ฯพณฯ ฮนุ เซน นายกรัฐมนตรีปจั จบุ ันมนี โยบาย ดังน้ี นโยบายรฐั บาล จากการทร่ี ฐั บาลกมั พชู าไดด้ �ำ เนนิ การตามแผนพฒั นายทุ ธศาสตร์ แห่งชาติ (National Strategic Development Plan: NSDP) ในปี พ.ศ. 2549 – 2553 ตามยทุ ธศาสตรล์ ดความยากจนแหง่ ชาติ (National Poverty Reduction Strategy: NPRS) รวมทง้ั เปา้ หมายการพฒั นาแหง่ สหัสวรรษของกัมพูชา (Cambodia’s Millennium Development Goals: CMDGs) ซ่ึงล้วนเป็นยุทธศาสตร์หลักท่ีรัฐบาลกัมพูชาใช้เป็น แนวทางในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ โดยมจี ดุ มงุ่ หมาย ให้กัมพูชาเดินหน้าไปสู่การพัฒนาและความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคง และย่ังยืน และใช้เป็นพ้ืนฐานในการแก้ไขปัญหาสำ�คัญในการพัฒนา ประเทศ 4 ด้าน คอื 1. ด้านการเกษตร 2. ด้านการพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐาน 3. ดา้ นการพฒั นาภาคเอกชนเพอ่ื การสร้างงาน 4. ด้านการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ ทีร่ วมถึงดา้ นการ ศกึ ษาและสาธารณสขุ แมท้ ง้ั สด่ี า้ นทก่ี ลา่ วขา้ งตน้ เปน็ ปจั จยั ทผ่ี ลกั ดนั สงั คมกมั พชู าใหไ้ ปขา้ งหนา้ แต่สังคมกัมพูชายังต้องอาศัยปัจจัยภายนอกมาช่วยเสริมกระตุ้น 90

อย่างนโยบายการค้าตามแบบเสรีโดยอาศัยกลไกตลาดเพื่อเปิดโอกาส ใหแ้ ขง่ ขนั ไดอ้ ยา่ งเสรี และเปน็ การระดมทนุ จากตา่ งประเทศใหม้ าลงทนุ ในประเทศ นโยบายวนั นขี้ องประเทศกมั พชู าคอื ชว่ ยชแี้ นะแนวนโยบาย ดา้ นการคา้ แกน่ กั ธรุ กจิ ภายในและชาวตา่ งชาตใิ หป้ ระกอบธรุ กจิ สอดคลอ้ ง กบั ทศิ ทางนโยบาย และตามกฎหมายของประเทศ มกี ารปรบั ปรงุ การบงั คบั ใช้ กฎหมายธุรกิจการค้า กฎหมายตราสารหน้ีและการชำ�ระเงิน กฎหมาย หลักทรัพย์ กฎหมายความปลอดภัยด้านธุรกรรมการเงิน ปรับปรุงและ แกไ้ ขขน้ั ตอนศลุ กากรการปกปอ้ งทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา เชน่ กฎหมายสทิ ธบิ ตั ร กฎหมายเครอื่ งหมายการคา้ และกฎหมายลขิ สิทธ์ิ เปน็ ต้น[54] เพอ่ื สรา้ งความนา่ เชอ่ื ถอื และสง่ เสรมิ บรรยากาศการคา้ การลงทนุ และทศิ ทางใหมข่ องประเทศ นายกรฐั มนตรฮี นุ เซน ไดแ้ ถลงถงึ ยทุ ธศาสตร์ การพัฒนาพาณิชยกรรมของกัมพูชา ปี พ.ศ. 2557 – 2561 ซ่ึงถือเป็น แผนยุทธศาสตร์ฉบบั ที่ 3 โดยมเี ป้าหมายหลักเพ่อื แสวงหาความร่วมมอื ของทกุ ฝา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ งทงั้ ภาครฐั และเอกชน รวมถงึ คคู่ า้ ตา่ งประเทศเพอื่ พัฒนาและเพิ่มความมั่นคงด้านการค้า โดยมุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานทางเศรษฐกิจและการค้าของประเทศ เพื่อขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ให้รุดหน้า พัฒนาการส่งออกให้มีคุณภาพมากข้ึน เพ่ือให้กัมพูชาได้รับ ผลประโยชนด์ า้ นเศรษฐกจิ และการคา้ มากทสี่ ดุ ถอื เปน็ แผนยทุ ธศาสตร์ ทีแ่ ตกตา่ งจากแผนเดิม นน่ั คือมงุ่ ด�ำ เนินวธิ กี ารต่างๆ ใหป้ ระเทศกมั พชู า ได้รับผลประโยชน์จากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกประชาคมอาเซียนและ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับมาตรการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของรัฐบาล อย่างเต็มรปู แบบในอนาคต ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รกมั พชู า 91

นอกจากน้ีประเทศกัมพูชายังมีแนวทางในการปฏิรูปและ พฒั นาศกั ยภาพการแขง่ ขนั ภายใน 5 ปขี า้ งหนา้ (Cambodia The Next Five Year- Reform and Competitiveness in an Integrated Region) เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั การรวมตวั กนั เปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น และ สามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสภาพแวดล้อม ทางธรุ กจิ การคา้ การลงทนุ การสง่ เสรมิ ธรรมาภบิ าล และหลกั นติ ธิ รรม การเพ่ิมโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการต่างๆ ได้มากข้ึน การพัฒนาคุณภาพและให้โอกาสด้านการศึกษาแก่เยาวชนกัมพูชา เพอ่ื สรา้ งบคุ ลากรทม่ี ศี กั ยภาพและสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาด[12] รัฐบาลกมั พูชาเตรียมสร้างโรงกลน่ั แหง่ แรกของประเทศ ทมี่ า: http://news.voicetv.co.th 92

ประเด็นสำ�คัญในการปฏิรูปและพัฒนาประเทศของรัฐบาล กมั พูชาเพือ่ เตรียมความพร้อมเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน รฐั บาลกมั พชู าใหค้ วามส�ำ คญั อยา่ งมากในการปฏริ ปู ประเทศ เพอื่ เสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันของกัมพูชาท้ังในระดับภูมิภาคและ เวทโี ลก โดยไดก้ �ำ หนดประเดน็ หลกั ในการปฏริ ปู ซง่ึ มคี วามเชอ่ื มโยงกนั ไว้ 4 ประเดน็ ประกอบด้วย ประเด็นแรก คือ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซ่ึงประกอบด้วย การเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาและสาธารณสุข การพัฒนาและ ปรบั ปรุงคณุ ภาพ รวมถงึ ระบบการใหบ้ ริการการศกึ ษา ประเด็นที่สอง คือ การพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ เส้นทางการขนส่ง แหล่งพลังงาน ระบบการสื่อสาร รวมถึง การอ�ำ นวยความสะดวกทางการคา้ เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและลดตน้ ทนุ ในการท�ำ ธุรกจิ ประเด็นที่สาม คือ การสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้าเกษตร เพ่ือ ขจดั ปัญหาความยากจน และเพิ่มรายได้ใหก้ ับประเทศและเกษตรกร ประเด็นทส่ี ี่ คือ การพฒั นาระบบกฎหมาย ได้แก่ การเสริมสร้าง ธรรมาภิบาล ปรับปรุงกฎหมาย ปรับปรุงระบบการจัดเก็บภาษี เพม่ิ ประสิทธภิ าพของบรกิ ารสาธารณะ เพื่อเสริมสรา้ งบรรยากาศทดี่ ใี น การลงทุน[32] ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกมั พูชา 93

แนวทางในการพฒั นาทรัพยากรบคุ คล รัฐบาลให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาการศึกษาเป็นอย่างมาก มกี ารสง่ เสรมิ และก�ำ หนดใหก้ ารศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษาเปน็ การศกึ ษา ภาคบังคับท่ัวประเทศ มีแผนที่จะพัฒนาคุณภาพด้านสาธารณสุข การดูแลสุขภาพของเด็กและเยาวชนเพื่อสนับสนุนความพร้อมใน การเข้าศึกษา รวมถึงส่งเสริมการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย และระดบั อาชีวศกึ ษา ท้งั เร่ืองจำ�นวนและ คุณภาพของสถานศึกษาและบุคลากร เพื่อแก้ไขปัญหาความต้องการ ท่ไี มส่ อดคล้องกนั ระหว่างภาคธุรกิจและภาคการศกึ ษา ปัจจุบันกัมพูชามีแต่บุคลากรท่ีจบการศึกษาทางด้านบริหารธุรกิจ ท�ำ ใหข้ าดแคลนแรงงานมฝี มี อื ทจ่ี บการศกึ ษาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมจำ�นวนมากในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจาก ทศั นคตขิ องเยาวชนทต่ี อ้ งการเรยี นจบดา้ นบรหิ ารธรุ กจิ การจดั การหรอื บญั ชี เพอ่ื มาท�ำ งานในส�ำ นกั งานมากกวา่ ทจ่ี ะจบดา้ นวศิ วกรรม แลว้ ตอ้ ง ไปท�ำ งานนอกสถานที่ ประกอบกบั การจดั การเรยี นการสอนดา้ นวศิ วกรรม หรือวิทยาศาสตร์มีต้นทุนที่สูงและได้กำ�ไรน้อย จึงทำ�ให้มีสถาบันที่มี คุณภาพเปิดสอนในสาขาเหล่านี้จ�ำ นวนนอ้ ย[31] 94

4.2 จ�ำ นวน และรายช่อื กระทรวงพร้อมที่ตดิ ต่อ การบริหารราชการส่วนกลางของกัมพูชา ประกอบด้วย ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี กระทรวงหลกั 26 กระทรวง และ 2 ส�ำ นกั งานอสิ ระ เทียบเท่ากระทรวง กระทรวง ขอ้ มลู ตดิ ตอ่ ทอี่ ยู่ : 41 Russian Federation Blvd.Phnom Penh โทรศัพท์ : (+855) 12 804 442 ส�ำ นกั นายกรัฐมนตรี โทรสาร : (+855) 12 880 624 Office of the Council of Ministers เวบ็ ไซต์ : www.ocm.gov.kh อเี มล : [email protected] ทอ่ี ยู่ : Russian Blvd. Corner Street 175, Khan 7 Makara, Phnom Penh. กระทรวงกลาโหม โทรศัพท์ : (+855) 23 883274 Ministry of National Defense เว็บไซต์ : www.mod.gov.kh อีเมล : [email protected] ทอ่ี ยู่ : 275 Norodom Blvd., Phnom Penh โทรศพั ท์ : (+855) 23 721 905 กระทรวงมหาดไทย เวบ็ ไซต์ : www.interior.gov.kh Ministry of Interior อเี มล : [email protected] ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรกัมพูชา 95

กระทรวง ข้อมูลติดต่อ กระทรวงกจิ การรฐั สภาและการตรวจสอบ ทอี่ ยู่ : Jawaharlal Nehru (street Ministry of Parliamentary Affairs and 215), Phnom Penh โทรศัพท์ : (+855) 23 884 261 Inspection โทรสาร : (+855) 23 884 264 เวบ็ ไซต์ : www.mnasrl.gov.kh กระทรวงศาสนาและพธิ ีปฏบิ ตั ิ Ministry of Religious and Cults อเี มล : [email protected] กระทรวงการต่างประเทศและ ทอ่ี ยู่ : PreahSisowathQuay,cornerof ความรว่ มมือระหว่างประเทศ Ministry of Foreign Affairs and St. 240, Phnom Penh International Cooperation โทรศัพท์ : (+855) 23 725 099 โทรสาร : (+855) 23 210 194 เว็บไซต์ : www.morac.gov.kh อีเมล : [email protected] ท่ีอยู่ : 3, Samdech Hun Sen Street, Sangkat Tonle Bassac, Khan Chamcar Mon, Phnom Penh. โทรศพั ท์ : (+855) 23 214 441 โทรสาร : (+855) 23 216 144 เวบ็ ไซต์ : www.mfaic.gov.kh อเี มล : [email protected] 96

กระทรวง ข้อมูลตดิ ตอ่ กระทรวงเศรษฐกิจและการคลัง ทอี่ ยู่ : 60, Daunpenh Distric, Ministry of Economy and Finance Street 92, corner Street of Preah Ang Doung and กระทรวงการวางแผน Preah Kosamak Ministry of Planning โทรศัพท์ : (+855) 23 217 645 กระทรวงสาธารณสขุ (+855) 23 725 747 Ministry of Health โทรสาร : (+855) 23 246 041 เวบ็ ไซต์ : www.mef.gov.kh อเี มล : [email protected] ท่ีอยู่ : 386 Monivong Blvd, Phnom Penh โทรศพั ท์ : (+855) 23 218895 เวบ็ ไซต์ : www.mop.gov.kh อเี มล์ : [email protected]. ทอ่ี ยู่ : 151-153, Kampuchea Krom (Street 128), Phnom Penh โทรศพั ท์ : (+855) 23 881 404-9 โทรสาร : (+855) 23 366 186 เว็บไซต์ : www.moh.gov.kh อเี มล : [email protected] ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรกัมพชู า 97

กระทรวง ขอ้ มลู ตดิ ต่อ กระทรวงข่าวสาร ทอ่ี ยู่ : 62, Preah Monivong Blvd., Ministry of Information Sangkat Sras Chork, Khan Daun Penh, Phnom Penh กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เยาวชนและกฬี า โทรศัพท์ : (+855) 23 724 159 Ministry of Education Youth โทรสาร : (+855) 23 724 275 and Sports เว็บไซต์ : www.information.gov.kh อีเมล : [email protected] กระทรวงอตุ สาหกรรม เหมอื งแร่ ทีอ่ ยู่ : 80, Norodom Blvd. และพลังงาน Phnom Penh, Ministry of Industry Mines โทรศพั ท์ : (+855) 23 210 134 and Energy เว็บไซต์ : www.moeys.gov.kh อีเมล : [email protected] ท่อี ยู่ : 79-89, Pasteur Street (51), Sangkat Phsar Thmey 3, Khan Daun Penh, Phnom Penh โทรศัพท์ : (+855) 23 219 574 โทรสาร : (+855) 23 219 584 เวบ็ ไซต์ : www.mme.gov.kh อีเมล : [email protected] 98

กระทรวง ขอ้ มลู ติดต่อ กระทรวงพาณิชย์ ท่ีอยู่ : 20 A-B, Norodom Blvd, Ministry of Commerce Daunpenh, Phnom Penh กระทรวงกิจการสตรี โทรศัพท์ : (+855) 23 221 526 Ministry of Women Affairs (+855) 23 725 585 กระทรวงเกษตร ป่าไม้และประมง โทรสาร : (+855) 23 427 359 Ministry of Agriculture เวบ็ ไซต์ : www.moc.gov.kh อีเมล : [email protected] ท่ีอยู่ : 3, Preah Norodom Blvd (41), Phnom Penh โทรศพั ท์ : (+855) 23 430 636 โทรสาร : (+855) 23 428 695 เว็บไซต์ : www.mwva.gov.kh อเี มล : [email protected] ท่ีอยู่ : 200, Norodom Blvd, Phnom Penh โทรศัพท์ : (+855) 23 211 352-2 โทรสาร : (+855) 23 217 320 เว็บไซต์ : www.maff.gov.kh อีเมล : [email protected] ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รกมั พูชา 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook