Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.แบบรายงานการประเมินตนเอง SAR 2563

1.แบบรายงานการประเมินตนเอง SAR 2563

Published by ศราวุฒิ โชคเหมาะ, 2021-05-06 05:40:45

Description: 1.แบบรายงานการประเมินตนเอง SAR 2563

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมนิ ตนเอง ของสถานศกึ ษา (Self Assessment Report) ระดบั การศึกษาปฐมวัยและข้ันพน้ื ฐาน ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ SAR โรงเรียนบานโนนบากมติ รภาพท8่ี 3 อำเภอบญุ ฑริก จังหวดั อบุ ลราชธานี รายงานผลการประเมนิ ตสนำเอนงัก(SงelาfนAsเsขesตsmพeื้นntทRกี่epาoรrtศ:ึกSAษR)าปปก ราระศถกึ ษมาศ2ึก56ษ3าอบุ ลราชธานกี เขต ๕

คำนำ รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 256๓ ฉบบั นี้ โรงเรียนบานโนนบากมิตรภาพที่๘๓ ไดจดั ทำข้ึนตามกฎกระทรวงวา ดวย การประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ขอ 3 ทีร่ ะบุใหสถานศึกษาแตละแหงจดั ใหมรี ะบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา โดยการ กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ใหเปน ไปตามมาตรฐานการศึกษาแตละระดับ และประเภท การศกึ ษาทีร่ ฐั มนตรวี าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด พรอมทงั้ จดั ทำแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของ สถานศกึ ษาท่ีมุงคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดำเนินการตามแผนท่ีกำหนดไวจ ัดใหม กี ารประเมนิ ผล และ ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาติดตามผลการดำเนินการ เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาใหมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา และจัดสงรายงานผลการประเมินตนเองใหแ กห นว ยงานตน สงั กัดหรือหนวยงานท่กี ำกับ ดูแลสถานศกึ ษาเปนประจำทุกป รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 256๓ ฉบับนี้ ประกอบดวยสวนสำคัญ คือ บทสรุปของผูบริหารสถานศึกษา การใหความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน สวนที่ 1 ขอมูลพนื้ ฐาน สว นที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สว นท่ี 3 สรุปผล การประเมินและแนวทางการพฒั นา และสวนที่ 4 ภาคผนวก โรงเรียนบานโนนบากมิตรภาพที่๘๓ ขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินงานและผูเกี่ยวของทุกฝาย ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนที่มีสวนรวมในการจัดทำเอกสารรายงานฉบับนี้ และหวังวาจะเปนประโยชน ตอการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปถัดไป และเปนฐานขอมูลในการกำหนดนโยบายการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และของเขตพื้นที่การศึกษา ตลอดจนเพื่อประโยชนในการรองรับ การประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) ตอ ไป โรงเรยี นบา นโนนบากมติ รภาพท๘ี่ ๓ เมษายน 256๔ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 2563 ข

สารบัญ เรื่อง หนา คำนำ .....................................................................................................................................ก สารบญั ..................................................................................................................................ข บทสรุป ของผูบริหารสถานศึกษา...........................................................................................ค การใหความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน.................................................ง สวนท่ี 1 ขอมูลพ้นื ฐาน..........................................................................................................1 1.1. ขอ มลู ทัว่ ไป ....................................................................................................................1 1.2. ขอ มลู ครแู ละบุคลากร ....................................................................................................1 1.3. ขอมูลนกั เรยี น................................................................................................................3 1.4. ผลการประเมนิ พัฒนาการตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ..............................................4 1.5. ผลการประเมินตามหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน..........................................................5 1.6. ผลการประเมินความสามารถดา นการอานของผเู รยี น (RT) ...........................................9 1.7. ผลการการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผูเรยี นระดับชาติ (NT) ............................ 12 1.8. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ...................................... 15 1.9. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดบั การศึกษาปฐมวยั ............................. 17 1.10. ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ..................... 18 สว นท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา................................................................... 20 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ...................................... 20 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน................................. 27 สวนท่ี 3 สรุปผลการประเมินและแนวทางการพัฒนา .......................................................... 33 สว นท่ี 4 ภาคผนวก............................................................................................................. 36 คณะผจู ดั ทำ.................................................................................................................................52 รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 ค

บทสรปุ ของผูบ ริหารสถานศึกษา โรงเรยี นบา นโนนบากมติ รภาพที่๘๓ ตง้ั อยูท่บี า นอุดรเจริญ หมูที่ 6 ตำบลบัวงาม อำเภอบณุ ฑรกิ จังหวดั อุบลราชธานี สังกัดนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต 5 จดั การเรียนการสอนตง้ั แต ระดบั ชั้นอนุบาล 1 ถึงมธั ยมศึกษาปท่ี ๓ มีนกั เรยี นชัน้ อนุบาล 1-3 จำนวน.66คน ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 1-6 จำนวน.175.คนชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 1-๓ จำนวน.93..คน รวมทั้งหมด334คน (ขอมูล ณ 10 มิถุนายน 2563) จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาทงั้ หมด 20 คน มีผูอำนวยการโรงเรยี น 1 คน เปน ขา ราชการครู 15 คน พนกั งานราชการ 1 คน ครูอัตราจา ง 1 คน เจาหนาท่ธี ุรการ 1 คน ลูกจางประจำ 1 .คน จดั ทำรายงานผลการ ประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 256๓ เสนอตอ หนวยงานตนสงั กัดและ หนวยงานอื่น ๆ ผลการประเมินตนเองในภาพรวมอยใู นระดบั ดเี ลิศ ซึง่ มีผลการดำเนนิ งานระดับปฐมวัยและ ระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ดังตอ ไปนี้ ระดับปฐมวัย ผลการประเมินตนเองในภาพรวมอยใู นระดับคณุ ภาพดีเลศิ มีผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก อยูในระดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ โรงเรียนบา นโนนบากมิตรภาพท่ี83 มีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย สงเสริมใหเ ด็กมีพฒั นาการ ดา นรางกาย แขง็ แรง มสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได โรงเรียนจดั ใหเดก็ ไดรับประทานอาหาร ที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลใหเด็กดื่มนมเปนประจำทุกวันอยาง สม่ำเสมอ มีการชั่งน้ำหนัก วัดสวนสูง ภาคเรียนละ 2 ครั้ง มีกิจกรรมหนาเสาธงกอนเขาเรียนทุกวัน จัดหา อุปกรณ ซอมแซมสนามเด็กเลนใหมคี วามปลอดภัย สะดวก พรอมใชงานอยูตลอดเวลา ไมมีจุดที่เปนอันตราย มี กฎ กตกิ า ขอตกลงในการดแู ลตนเองใหป ลอดภัย หลกี เลี่ยงจากอันตราย มกี ารจดั บอรดใหความรแู กเด็กเกี่ยวกับ โรคติดตอในชุมชน โรคติดตอจากการอยูรวมกัน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นไดในชีวิตประจำวัน มีการรณรงคตอตานยา เสพติด มีการจัดกิจกรรมสขุ ภาพดีมีสุขเพื่อสง เสริมพัฒนาการดานรางกายใหกับเดก็ และไดรับความรวมมือจาก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตำบลบัวงาม ในการดูแลสงเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก นอกจากนี้ยังมีการ สงเสริมใหเ ดก็ ไดเ ลนกฬี าตามความสามารถ สนบั สนุนใหเขา รวมการแขงขันกีฬาในระดบั กลุมเครือขาย มีการจัด กิจกรรมพัฒนาผูเ รยี นศกึ ษาแหลง เรยี นรูเพ่ือสงเสริมใหเด็กมีพฒั นาการดา นสังคม ชว ยเหลือตนเอง เปนสมาชิกที่ ดีของสังคม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผูใหญ มีมารยาทที่ดี ยิ้ม ไหว ทักทาย ชวยเหลือตนเองในการ ปฏบิ ัติกิจวตั รประจำวัน สามารถรับประทานอาหารดวยตนเองและมีมารยาทในการรับประทานอาหาร รูจักดูแล รักษาความสะอาด ทั้งภายในและนอกหองเรียน โดยการจัดกิจกรรมแบงเขตพื้นที่รับผิดชอบ รูจักชวยเหลือ แบงปนเพ่ือนในหองเรียน ทำงานรว มกับเพื่อนๆ ได โดยการใชกิจกรรมกลุมในการจัดประสบการณ โรงเรียนได สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการดานสติปญญา สื่อสารได มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรูได โดยการเขา รวมโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอยแหงประเทศไทย ทำใหเด็กไดฝกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต ความคิด สรางสรรค รูจักแกปญหา ทำใหใหเด็กมีความสนใจเรียนรูส ่ิงตาง ๆ รอบตัว กลาซักถามเพื่อคนหาคำตอบ มีการ สงเสริมสนับสนุนใหเด็กเขารวมกิจกรรมการแขงขันทักษะทางวิชาการในระดับตาง ๆ มีการสรางสรรคผลงาน ดานศิลปะโดยการวาดภาพระบายสี การตัด ฉีก ตัด ปะ สงเสรมิ ใหเด็กไดเสนอผลงานดวยภาษาที่เหมาะสมตาม วัย จัดกจิ กรรมการเรียนรนู อกหองเรียนเพ่ือใหเด็กไดปฏิสัมพันธก ับบุคคลภายนอก เรยี นรูนอกสถานที่ แกปญหา ในสถานการณจ ริง รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 ง

มาตรฐานท่ี ๒ ดา นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ อยูในระดับคุณภาพ ดเี ลศิ การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนบานโนนบากมิตรภาพที่83 ไดมีการกำหนดเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจของสถานศึกษาไวอยางชัดเจน มีองคประกอบที่สำคัญเพื่อที่จะขับเคลื่อนการศึกษาระดับปฐมวัย ไดแ ก การพัฒนาวิชาการท่ีเนนคณุ ภาพผูเ รยี นรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ไดม ีการพฒั นาหลักสูตร การศกึ ษาปฐมวัยใหสอดคลองกับบรบิ ทของทองถน่ิ พิจารณาจากวยั ของเดก็ ประสบการณข องเดก็ โดย เปน หลักสูตรทีม่ งุ พฒั นาเด็กทกุ ดาน ท้งั ดา นรา งกาย อารมณจ ิตใจ สังคม และสตปิ ญ ญา เพือ่ ใหผ เู รยี น มีความสุขในการเรียนรู มีการพัฒนาครูและบุคลากรใหมีศักยภาพ สำหรับดานระบบกลไก การเสริมสราง ความตระหนักรบั รู และความเขา ใจการจดั การศึกษาปฐมวยั โดยใหผมู สี ว นรว มทุกฝายไดม บี ทบาทในการ มีสว นรว มการจดั การศกึ ษา โดยใหมกี ารประสานความรวมมือเพื่อรวมกนั พัฒนาผเู รียนตามศกั ยภาพ โรงเรียนบานโนนบากมิตรภาพที่83 ไดจัดสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเปนซึ่งเอื้อประโยชน และอำนวยความ สะดวกตอการพัฒนาเดก็ ทั้งดานรางกาย อารมณและจิตใจ สังคม และสติปญญา คือ จัดสภาพแวดลอมทาง กายภาพที่เอื้อตอการเรียนรูอยางมีคุณภาพและจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ เพื่อการจัดการเรียนรู เชน จัดใหมีระบบอินเตอรเน็ตเพื่อใหเด็กไดศึกษาหาขอมูลทางโลกออนไลน จัดใหมี อปุ กรณ ของเลน ของใช เคร่ืองนอน เคร่ืองอำนวยความสะดวกตาง ๆ ใหพ อเพียงกับเด็ก มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท่ีเนน เด็กเปนสำคญั อยูในระดับคุณภาพ ดเี ลิศ จัดการศึกษาปฐมวัยมุงเนน ความสำคัญของการพัฒนาการในทกุ ๆ ดาน ทั้งทางดานรา งกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา มีความรู คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเปนการจัด ประสบการณการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ เพื่อสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางเปนสุข ภายใตคำวา เกง ดี มีสุข ประสบการณในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู แบบเรียนผานเลน เพื่อใหเด็กไดประสบการณตรง เกิด การเรียนรูและมีการพัฒนาทั้งทางดานรางกาย อารมณจิตใจ สังคม และสติปญญา ซึ่งสามารถยืดหยุนได ความเหมาะสมและสอดคลองกับหลักสตู รปฐมวัย ทง้ั ในหอ งเรียนและนอกหองเรียน มีการใชส ื่อและเทคโนโลยี ท่เี หมาะสมกับวัย จดั ประสบการณการเรียนรูท่ีครอบคลุมพัฒนาการในทุก ๆ ดา นใหเหมาะสมกับวัย ดังน้ี ดาน รางกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางรางกาย เด็กเคลื่อนไหวอยางเหมาะสมตามจินตนาการเพื่อใหรางกายทุกสว น ทั้งกลามเนื้อมัดใหญมัดเล็กใหทำงานอยางมีประสิทธิภาพดานอารมณ จิตใจ เด็กมีพัฒนาการดานอารมณ ความรูส ึกไดอยางเหมาะสม รจู ักยบั ยง้ั ชงั่ ใจ รจู ักการรอคอย กลา แสดงออก ชวยเหลือแบง ปน มีความรับผิดชอบ ดานสังคม เด็กชวยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได มีวินัยในตนเอง เลนรวมกับผูอื่นได มีสัมมา คารวะตอผูใหญดานสติปญญา มีความคิดรวมยอด รูจักการแกปญหา สื่อสารและมีทักษะความคิดพื้นฐาน แสวงหาความรไู ดอยางเหมาะสมตามวัย จัดประสบการณการเรียนรูที่สงเสริมใหเด็กไดประสบการณโดยตรง จากการเรียนผานการเลน โดยลงมือปฏิบัติจริงดวยตนเองและการเรียนรูรายกลุม เพื่อกอใหเกิดความมีน้ำใจ ความสามคั คี การแบงปน และการรอคอย เพอ่ื สงผลใหเด็กเกิดการเรียนรูไดอยางมีความสุข จัดบรรยากาศใน ชั้นเรยี นทสี่ ง เสริมความสนใจใหแกผเู รียน ช้ันเรยี นมีบรรยากาศเต็มไปดวยความอบอนุ ความเห็นอกเหน็ ใจ มีความเอื้อเผื่อเผื่อแตตอกันและกัน ซึ่งเปนแรงจูงใจภายนอกที่กระตุนใหผูเรียนรักการอยูรวมกันในชั้นเรียน และปลูกฝง คณุ ธรรม จริยธรรม ใหแ กเ ด็กนักเรียน หอ งเรยี นมบี รรยากาศ แจมใส กวา งขวางพอเหมาะ มีมุมสงเสริมประสบการณการเรียนรู มีการตกแตงหองเรียนใหสดใส และมีสื่อการเรียนรูที่เอื้อตอการจัด ประสบการณการเรียนการสอน การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณการเรียนรู และการจัดกิจวัตรประจำวัน ดวยเครอื่ งมือและวิธีการท่ีหลากหลาย เชน การสงั เกต การสอบถาม การสำรวจ และการวิเคราะหผ ลพัฒนาการของเดก็ โดยใหผ ปู กครองมีสวนรว ม เพ่อื ไดนำผลการประเมนิ ไปพฒั นาศักยภาพ ของเด็กและพฒั นาการจดั ประสบการณการเรียนรใู นชั้นเรยี นเพ่ือพฒั นาครูอยางเพยี งพอและท่วั ถงึ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 2563 จ

มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณท่ี สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณที่สอดคลองกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย มกี ารประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ตดิ ตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผล การประเมินตนเองประจำป มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝายมีสวน รวม พรอมท้งั รายงานผลการประเมนิ ตนเองใหหนวยงานตน สังกัดอยางตอเนือ่ ง ระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ผลการประเมินตนเองในภาพรวมอยใู นระดับคณุ ภาพดีเลศิ มผี ลการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษา ดังน้ี มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รยี น อยใู นระดับคุณภาพ ดีเลิศ โรงเรียนบานโนนบากมิตรภาพที่83 มีกระบวนการพัฒนาผูเรียนดวยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการ เรียนรูใหเปนไปตามศักยภาพของผูเรียน และเปนไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรมีการออกแบบการ จัดการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียนโดยมีการจัดการเรียนเรียนรูท้ังรูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบรวมมือกันเรียนรู แบบใชกระบวนการคิด กระบวนการใชปญหาเปนหลักและเนนเรื่องการอานออกของ ผูเรียนเปนเรื่องสำคัญที่สุดโดยมุงพัฒนาใหผูเรียนทุกคนอานออกและเขียนไดตั้งแตระดับชั้น ป. 1 พัฒนาครูทุก คนใหม คี วามสามารถในการนำเทคนิควธิ ีสอนใหตรงตามศักยภาพผูเรียน ใชส ือ่ เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการ สอน มีแหลงเรียนรูและแหลงสืบคนขอมูล ไดแกหองสมุด หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร,หองปฏิบัติการ คอมพิวเตอร จึงสงผลใหผูเรียนอานหนังสือออกและอานคลอง รวมทั้งสามารถเขียนเพื่อการสื่อสารไดทุกคน สามารถใชเทคโนโลยีในการแสวงหาความรูไดดวยตนเอง สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น ผูเรียนมีสุขภาพรางกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ำหนักสวนสูงตามเกณฑ มีระเบียบวินัยจนเปน เอกลักษณของสถานศกึ ษาเปน ท่ยี อมรบั ของชมุ ชนโดยรอบในเร่ืองความมวี นิ ัย เคารพกฎกตกิ ามารยาทของสังคม มาตรฐานที่ ๒ ดา นกระบวนการบริหารและการจัดการ อยใู นระดบั คุณภาพ ดีเลิศ โรงเรียนไดดำเนินการวิเคราะหสภาพปญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผานมา โดยการศึกษาขอมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุม ระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนรวมกันกำหนดเปาหมาย ปรับวิสัยทัศน กำหนดพันธ กิจ กลยุทธ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัด การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำป ใหสอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูป การศึกษา พรอมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผูรับผิดชอบ ดำเนินการพัฒนาตาม แผนงานเพอื่ ใหบรรลเุ ปา หมายทก่ี ำหนดไว มกี ารดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และ สรปุ ผลการดำเนินงาน มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นนผูเรียนเปน สำคญั อยูในระดับคุณภาพ ดีเลศิ โรงเรียนบานโนนบากมิตรภาพที่83 ดำเนินการสงเสริมใหครูจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปน สำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอยางหลากหลาย ไดแก งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาสูประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล มีการบูรณาการภาระงาน ชิ้นงาน โดยทุก ระดับชัน้ จดั ทำหนวยบูรณาการอาเซยี น เศรษฐกิจพอเพียง ปรบั โครงสรางรายวชิ า หนว ยการเรียนรูลดเวลาเรียน รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 ฉ

เพิ่มเวลารู สัดสวนคะแนนแตละหนวย กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคที่สอดคลองกับหนวยการเรียนรู สนับสนุนใหครูจดั การเรียนการสอนที่สรางโอกาสใหนกั เรียนทุกคนมีสวนรวม ไดลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู ไดดว ยตนเอง จัดการเรียนการสอนทเี่ นน ทักษะการคดิ เชน จดั การเรยี นรูดว ยโครงงาน ครมู กี ารมอบหมายหนาที่ ใหนักเรียนจัดปายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ตาง ๆทั้งภายในหองเรียนและนอกหองเรียน ครูใชสื่อการ เรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปญญาทองถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการ สอนท่ใี ช ครผู ูสอนรวมกนั แลกเปล่ียนความรแู ละประสบการณ (PLC) เปนชุมชนแหง การเรียนรูทางวิชาชีพและ นำไปปรบั ปรงุ /พัฒนาการจัดการเรยี นรู รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 ช

การใหค วามเหน็ ชอบ รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 ของโรงเรยี นบา นโนนบากมิตรภาพท่ี 83 ...................................................................................... ท่ีประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานโรงเรยี นบานโนนบากมติ รภาพท่ี 83.คร้ังที่๒/2564 เมื่อวันท่ี ๕ เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564 ไดพ ิจารณารายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 ของโรงเรยี นบา นโนนบากมิตรภาพท่ี 83แลว เหน็ ชอบใหด ำเนินการนำรายงานสง หนว ยงานตนสงั กัดและนำเผยแพรตอสาธารณชนได (ลงชื่อ) ........................................................ ( นายวทิ ยา นนทศ ิริ ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน โรงเรยี นบา นโนนบากมติ รภาพที่ 83 รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 ซ

สวนที่ 1 ขอมลู พ้นื ฐาน 1.1 ขอมูลท่วั ไป ชื่อโรงเรยี น บา นโนนบากมติ รภาพที๘่ ๓ ท่อี ยู สงั กดั บานอดุ รเจริญ หมู 6 ตำบลบัวงาม อำเภอบุณฑริก จังหวดั อบุ ลราชธานี 34230 โทรศพั ท โทรสาร สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอุบลราชธานี เขต 5 เปด สอนระดบั ชน้ั 063-4452587 E-mail : [email protected] - อนุบาลปที่ 1 ถงึ ระดบั ช้ัน มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 1.2 ขอมูลบุคลากรของสถานศึกษา 1) จำนวนบคุ ลากร บคุ ลากร ผบู รหิ าร ครูผสู อน พนักงาน ครู เจาหนาท่ี รวมท้ังหมด 15 ราชการ อัตราจาง อ่ืนๆ 20 ปก ารศกึ ษา 2563 1 2 1 1 2) วุฒิการศกึ ษาสงู สุดของบุคลากร 0.00% 5.00% 0.00% 0.00% 0.00% ปรญิ ญาเอก ปรญิ ญาโท 35.00% ปรญิ ญาตรี ประกาศนยี บตั รบณั ฑิต 60.00% ปวส. ปวช. ต่าํ กวา ปวช. รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 1

3) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน สาขาวชิ า จำนวน ภาระงานสอนเฉลยี่ ของครู 1 คน (คน) ในแตละสาขาวิชา (ชม./สัปดาห) 1. บรหิ ารการศึกษา 2. คณติ ศาสตร 1 5 3. วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 20 4. ภาษาไทย 2 23 5. ภาษาอังกฤษ 0 0 6. สังคมศกึ ษา 1 20 7. การงานอาชีพ 2 21 8. ศิลปะ 2 21 9. ปฐมวัย 2 20 10.จติ วทิ ยาและการแนะแนว 5 20 2 20 รวม 18 รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 2

1.3 ขอมลู นกั เรียน (ขอ มูล ณ 10 มิถุนายน 2563) จำนวนนกั เรียนปก ารศึกษา 2563 รวมท้ังสน้ิ 334 คน จำนวนนักเรียน ระดับชนั้ เรียน จำนวน รวม เฉลี่ยตอ หอ งเรยี น ชาย หญิง 0 หอง 00 30 0 อนุบาล 1 0 12 18 36 30 18 18 66 18 อนุบาล 2 1 30 36 32 23 9 33 16 อนุบาล 3 2 17 16 32 17 18 14 25 32 รวม 1 12 13 24 25 ชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 2 12 12 29 24 16 13 15 ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 2 2 175 98 77 35 35 ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 3 1 21 14 31 31 17 14 27 27 ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 4 1 16 11 93 54 39 ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 1 334 182 152 ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 6 2 รวม 9 มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 1 มธั ยมศึกษาปท่ี 2 1 มัธยมศึกษาปที่ 3 1 มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 3 รวมท้ังหมด 13 เปรยี บเทยี บขอ มูลจาํ นวนนกั เรียนปก ารศกึ ษา 2561 - 2563 200 176 174 175 150 81 88 93 2560 2561 100 71 74 66 2563 50 0 ประถม ม.ตน ปฐมวัย รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 3

1.4 ผลการประเมินพัฒนาการตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั นกั เรยี นชั้นอนบุ าลปท ี่ 3 ท่ีเขารับการประเมนิ จำนวน 36 คน พัฒนาการ ผลการประเมินของเดก็ ตามระดับคุณภาพ ดี พอใช ปรบั ปรุง ดา นรา งกาย จำนวน รอยละ จำนวน รอ ยละ จำนวน รอ ยละ ดานอารมณและจิตใจ 36 100.00 0 0.00 0 0.00 ดานสติปญ ญา ดานสังคม 36 100.00 0 0.00 0 0.00 29 80.56 7 19.44 0 0.00 36 100.00 0 0.00 0 0.00 รอ ยละของผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ช้ันอนบุ าล 3 ปก ารศกึ ษา 2563 100.00 ดานรา งกาย ดา นอารมณ ดาน ดานสังคม 9800..0000 และจติ ใจ สติปญญา 70.00 100.00 80.56 100.00 60.00 19.44 0.00 50.00 0.00 0.00 4300..0000 0.00 0.00 20.00 100..0000 ดี 100.00 พอใช 0.00 ปรบั ปรุง 0.00 รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 4

1.5 ผลการประเมนิ ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (ขอมลู ณ 9 เมษายน 2564) 1) ขอ มูลผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนระดบั สถานศึกษา (ขอ มูล ณ 9 เมษายน 2564) รอ ยละของนกั เรยี นทม่ี ผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นแตล ะรายวชิ าในระดับ 3 ขึ้นไป จําแนกตามระดับชัน้ ปก ารศกึ ษา 2563 140.00 120.00 100.00 80.00 60.00 40.00 20.00 0.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ภาษาไทย 50.00 81.82 54.55 50.00 52.00 65.52 65.71 23.33 46.15 คณิตศาสตร 65.63 54.55 45.45 30.77 36.00 58.62 34.29 40.00 15.38 วิทยาศาสตร 78.13 51.52 54.55 42.31 12.00 24.14 22.86 13.33 15.38 วทิ ยาการคํานวณ 90.63 69.70 45.45 57.69 64.00 82.76 40.00 36.67 73.08 สงั คมศึกษาฯ 50.00 20.78 27.50 30.00 28.85 29.00 25.87 42.86 30.33 ประวตั ิศาสตร 52.00 24.44 25.67 28.00 23.08 27.47 18.26 17.14 8.67 สุขศกึ ษาฯ 62.00 40.33 23.83 44.00 48.08 39.68 24.35 72.86 19.50 ศิลปะ ดนตรี 14.00 35.44 38.50 50.00 30.77 18.32 18.26 38.57 21.67 การงานฯ 62.00 35.44 22.00 40.00 42.31 30.53 19.78 55.71 21.67 ภาษาอังกฤษ 16.00 7.33 27.50 12.00 3.85 7.63 19.78 42.86 8.67 เพมิ่ เตมิ เสรมิ ทักษะภาษาไทย 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 60.00 36.67 46.15 เพิ่มเติมวทิ ยความสวยงาม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 38.04 60.00 10.83 เพ่มิ เตมิ หนา ท่ีพลเมือง 47.24 47.67 0.00 58.50 47.22 39.24 81.67 62.50 117.00 เพิ่มเตมิ การงาน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 126.88 105.00 71.50 เพมิ่ เติมองั กฤษส่ือสาร 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 35.00 21.82 2.74 รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 5

2) ผลประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค ปก ารศกึ ษา 2563 รอ ยละของนกั เรียนทีม่ ีผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค จําแนกตามระดบั คุณภาพ ปก ารศึกษา 2563 รวมทั้งสน้ิ ม.3 ม.2 ม.1 ป.6 ป.5 ป.4 ป.3 ป.2 ป.1 0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 120.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวมทั้งส้ิน ดีเ่ ยย่ี ม 75.00 84.85 84.85 65.38 60.00 100.00 68.57 60.00 76.92 75.46 ดี 25.00 15.15 15.15 34.62 40.00 0.00 31.43 33.33 23.08 23.79 ผาน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 6.67 0.00 0.74 ไมผาน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 6

3) ผลการประเมินการอานคิดวิเคราะหและเขียน ปก ารศกึ ษา 2563 รอ ยละของนักเรียนทมี่ ีผลการประเมินการอา น คดิ วิเคราะหแ ละเขียน จาํ แนกตามระดบั คณุ ภาพ ปก ารศกึ ษา 2563 รวมทั้งสิ้น ม.3 ม.2 ม.1 ป.6 ป.5 ป.4 ป.3 ป.2 ป.1 0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 120.00 140.00 160.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม ทง้ั สน้ิ ดี่เยีย่ ม 75.00 81.82 84.85 65.38 60.00 100.00 42.86 50.00 61.54 69.14 ดี 75.00 12.12 15.15 34.62 40.00 0.00 42.86 33.33 26.92 31.23 ผาน 0.00 6.06 0.00 0.00 0.00 0.00 14.29 16.67 11.54 5.58 ไมผ าน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 7

4) ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น 5 ดา น ปก ารศกึ ษา 2563 ผลการประเมนิ สมรรถนะสําคัญของผเู รียน 5 ดาน ปการศกึ ษา 2563 ํจานวนนักเ ีรยน (คน) 300 250 200 การคิด การแกปญ หา การใชท ักษะ การใช 150 ชีวิต เทคโนโลยี 100 50 269 269 269 269 0000 0 การสือ่ สาร ผาน 269 ไมผ าน 0 5) ผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน ปก ารศึกษา 2563 รอยละของผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น ปก ารศกึ ษา 2563 100.00 80.00 60.00 40.00 20.00 0.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม ทง้ั สน้ิ ผา น 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 ไมผ า น 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 8

1.6 ผลการประเมินความสามารถดา นการอานของผูเ รยี น (Reading Test : RT) 1) ผลการประเมนิ ความสามารถดานการอานของผูเรียน (RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 1 ปการศกึ ษา 2563 คะแนนเฉล่ียรอยละผลการประเมนิ ความสามารถดา นการอานของผูเรียน (RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 1 ปการศกึ ษา 2563 80.00 การอา นออกเสยี ง การอานรเู ร่ือง รวม 2 สมรรถนะ 70.00 53.00 72.86 62.93 60.00 71.37 70.63 71.02 50.00 74.14 71.86 73.02 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 ระดบั โรงเรยี น ระดบั เขตพื้นที่ ระดับประเทศ คะแนนเฉลี่ยรอ ยละของจํานวนนักเรยี นทมี่ ีผลการประเมินความสามารถ ดานการอานของผเู รียน (RT) ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 1 ปการศกึ ษา 2563 จําแนกตามระดับคณุ ภาพ 60.00 53.33 50.00 40.00 30.00 30.00 40.00 30.00 การอานออกเสยี ง 30.00 26.66 การอานรูเรื่อง 20.00 30.00 20.00 รวม 2 สมรรถนะ 23.33 16.66 10.00 0.00 0.000.00 ดมี าก ดี พอใช ปรับปรุง รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 9

2) ผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรยี น (RT) ปก ารศกึ ษา 2562 – 2563 2.1) เปรยี บเทียบผลการประเมินความสามารถดานการอา นของผูเ รียน (RT) ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 1 รอยละและผลตางระหวา งปการศกึ ษา 2562 – 2563 สมรรถนะ ปก ารศึกษา ปก ารศกึ ษา รอยละของผลตาง 2562 2563 ระวางปก ารศกึ ษา การอา นออกเสียง การอา นรเู ร่ือง 68.79 53.00 -15.79 76.96 72.86 -4.10 เฉลยี่ 2 สมรรถนะ 73.15 62.93 -10.22 2.2) เปรียบเทยี บผลการประเมนิ ความสามารถดานการอานของผูเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 และรอยละของผลตางระหวา งปการศึกษา 2562 - 2563 จำแนกตามรอยละของระดับคุณภาพ ผลประเมนิ การอานออกเสียง ปรับปรุง 20.00 0.00 พอใช 26.66 20.68 ดี 23.33 37.93 ดมี าก 30.00 41.37 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 รอยละของจํานวนนักเรียน ป 2563 รอ ยละของจาํ นวนนกั เรยี น ป 2562 รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 2563 10

ผลประเมินการอา นรเู รือ่ ง ปรับปรงุ 0.00 0.00 พอใช 3.44 16.66 ดี 30.00 31.03 ดมี าก 53.33 65.51 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 รอ ยละของจาํ นวนนกั เรยี น ป 2563 รอ ยละของจาํ นวนนักเรยี น ป 2562 ผลการประเมินรวมท้งั 2 สมรรถนะ ปรับปรงุ 0.00 0.00 พอใช 10.34 30.00 ดี 40.00 44.82 ดีมาก 30.00 44.82 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 รอ ยละของจาํ นวนนกั เรียน ป 2563 รอ ยละของจาํ นวนนักเรยี น ป 2562 รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 2563 11

1.7 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผูเ รยี นระดบั ชาติ (National Test : NT) 1) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผูเรยี นระดับชาติ (NT) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 3 ปก ารศกึ ษา 2563 คะแนนเฉล่ียรอยละผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเรียนระดับชาติ ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 3 ปก ารศึกษา 2563 3445305050.....0000000000 112250055.....0000000000 0.00 ความสามารถดาน คณิตศาสตร ความสามารถดานภาษาไทย เฉลี่ยทงั้ 2 ดา น ระดับโรงเรียน 32.65 39.76 24.14 ระดบั เขตพน้ื ท่ี 37.04 43.07 26.70 ระดับประเทศ 40.47 47.46 29.31 คะแนนเฉล่ียรอยละของจํานวนนกั เรียนทม่ี ีผลการประเมินการทดสอบความสามารถ พืน้ ฐานของผูเรียนระดับชาติ (NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 3 ปก ารศกึ ษา 2563 จาํ แนกตามระดบั คณุ ภาพ 100 90 80 70 60 50.0406.1454.83 ดานคณิตศาสตร (Mathematics) 50 ดานภาษาไทย (Thai Language) เฉลยี่ ๒ ดาน 40 35.7310.7371.03 30 20 14.297.6910.34 15.3183.79 10 0.00 0 ดี พอใช ปรับปรงุ ดมี าก รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 12

2) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเ รียนระดบั ชาติ ปการศกึ ษา 2562 - 2563 2.1) เปรียบเทยี บผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผูเรยี นระดบั ชาติ (NT) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 3 และรอยละของผลตางระหวางปการศึกษา 2562 – 2563 ความสามารถ ปก ารศึกษา ปก ารศกึ ษา รอ ยละของผลตา ง 2562 2563 ระวา งปก ารศึกษา ดา นภาษาไทย (Thai Language) 34.12 39.76 ดา นคณิตศาสตร (Mathematics) 5.64 33.25 32.65 -0.60 เฉลย่ี 2 ดาน 2.52 33.69 36.21 เปรยี บเทียบผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผูเ รยี น ระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศกึ ษา 2562 - 2563 100 90 80 70 60 2563 2562 50 32.65 33.25 39.76 34.12 36.21 33.69 40 30 20 10 0 ดานภาษาไทย เฉลี่ยทง้ั 2 ดา น ดานคณิตศาสตร รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 13

2.2) เปรยี บเทยี บผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู รยี นระดบั ชาติ (NT) และรอยละของผลตางระหวางปก ารศึกษา 2562 - 2563 จำแนกตามรอ ยละของระดบั คณุ ภาพ ความสามารถดานคํานวณ (Numeracy) ปรบั ปรงุ 34.37 40.00 พอใช 50.00 34.37 ดี 10.00 31.25 ดีมาก 0.00 0.00 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 รอ ยละของจํานวนนักเรยี น ป 2563 รอ ยละของจํานวนนกั เรียน ป 2562 ความสามารถดา นภาษา (Literracy) ปรับปรุง 40.62 50.00 พอใช 46.87 30.00 ดี 9.37 15.00 ดีมาก 3.21 5.00 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 รอยละของจาํ นวนนักเรยี น ป 2563 รอ ยละของจาํ นวนนกั เรยี น ป 2562 รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 14

1.8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) 1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2563 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน(O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6 60.00 50.00 คะแนนเฉล่ีย 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร คะแนนรวมเฉลยี่ 56.20 43.55 29.99 38.78 42.13 ระดบั ประเทศ 54.96 38.87 28.59 37.64 40.02 ระดบั สังกดั สพฐ. 50.02 32.66 25.86 34.85 35.85 ระดับเขตพ้ืนที่ 51.85 31.85 26.09 36.49 36.57 ระดับโรงเรยี น ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 3 60.00 50.00 คะแนนเฉล่ีย 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร คะแนนรวมเฉลย่ี 54.29 34.38 25.46 29.89 36.01 ระดบั ประเทศ 55.18 34.14 25.82 30.17 36.33 ระดับสังกดั สพฐ. 48.50 27.40 20.37 27.42 30.92 ระดับเขตพน้ื ท่ี 46.11 27.50 22.00 25.38 30.25 ระดับโรงเรียน รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 15

2) เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2562 – 2563 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน ปก ารศกึ ษา 2562 - 2563 ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 คะแนนเฉล่ีย 60.00 50.00 40.00 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร คะแนนรวม 30.00 เฉล่ีย 20.00 42.32 26.80 26.60 29.06 31.20 10.00 51.85 31.85 26.09 36.49 36.57 0.00 9.53 5.05 -0.51 7.43 -10.00 5.38 2562 2563 ผลการพัฒนา ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพืน้ ฐาน ปก ารศกึ ษา 2562 - 2563 ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 3 คะแนนเฉล่ีย 60.00 50.00 40.00 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร คะแนนรวม 30.00 เฉลีย่ 20.00 47.89 26.33 19.11 28.61 30.49 10.00 46.11 27.50 22.00 25.38 30.25 0.00 -1.78 1.17 2.89 -3.23 -10.00 -0.24 2562 2563 ผลการพฒั นา รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 16

1.9. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับปฐมวยั ปก ารศกึ ษา 2563 มาตรฐาน ระดบั แปลผล คณุ ภาพ ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก ดีเลิศ 4 1.1 มีพัฒนาการดานรา งกาย แข็งแรง มีสุขนิสยั ท่ีดีและดูแลความปลอดภัยของ 4 ดเี ลศิ ตนเองได ดีเลศิ ดีเลศิ 1.2 มีพฒั นาการดานอารมร จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณได 4 1.3 มีพัฒนาการดา นสังคม ชวยเหลือตนเอง และเปน สมาชิกท่ดี ขี องสงั คม 4 ดีเลิศ 4 ดเี ลิศ 1.4 มพี ฒั นาการดานสติปญ ญา ส่อื สารได มีทกั ษะการคดิ พน้ื ฐานและแสวงหา ดเี ลศิ ความรไู ด ดเี ลศิ ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 4 ดเี ลิศ 2.1 มหี ลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการท้ัง 4 ดาน สอดคลองกบั บรบิ ทของทองถน่ิ 4 2.2 จดั ครูใหเพียงพอกับชนั้ เรียน 4 ดีเลศิ 2.3 สงเสริมใหครูมีความเชี่ยวชาญดานการจัดประสบการณ 4 ดเี ลิศ 2.4 จัดสภาพแวดลอ มและส่ือเพ่ือการเรยี นรู อยา งปลอดภัยและพยี งพอ 4 ดเี ลศิ 4 ดีเลศิ 2.5 ใหบ ริการสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และสอ่ื การเรียนรเู พือ่ สนบั สนนุ การจัด ดีเลิศ ประสบการณ ดเี ลศิ 2.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพท่ีเปด โอกาสใหผ ูเกยี่ วของทุกฝายมสี ว นรว ม 4 ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณทเ่ี นน เด็กเปนสำคญั 4 4 17 3.1 จัดประสบการณทส่ี งเสรมิ ใหเ ด็กมพี ัฒนาการทุกดานอยา งสมดุลเต็ม ศักยภาพ 4 3.2 สรางโอกาสใหเ ดก็ ไดรบั ประสบการณตรง เลน และปฏบิ ตั อิ ยา งมีความสุข 4 3.3 จดั บรรยากาศทีเ่ อื้อตอการเรียนรู ใชส ือ่ และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับวยั 4 3.4 ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพฒั นาการเด็ก ไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณและพฒั นาเดก็ สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศกึ ษา 4 หมายเหตุ : การแปลผลระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม 4.50– 5.00 อยูใ นระดบั ดีเลศิ 3.50– 4.49 อยใู นระดบั ดี 2.50– 3.49 อยูในระดบั ปานกลาง 1.50– 2.49 อยใู นระดับ กำลงั พัฒนา ต่ำกวา 1.50 อยูใ นระดบั รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563

1.10. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปก ารศกึ ษา 2563 มาตรฐาน ระดบั แปลผล คุณภาพ ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ ดีเลิศ 4 1.1 มีพฒั นาการดานรางกาย แข็งแรง มีสขุ นิสัยที่ดีและดแู ลความปลอดภัยของ 4 ดีเลศิ ตนเองได ดีเลศิ 4 ดเี ลิศ 1.2 มพี ฒั นาการดานอารมร จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณได 4 1.3 มีพัฒนาการดานสงั คม ชวยเหลือตนเอง และเปนสมาชิกที่ดีของสงั คม 4 ดีเลศิ ดีเลิศ 1.4 มีพฒั นาการดา นสติปญ ญา สือ่ สารได มีทักษะการคดิ พ้นื ฐานและแสวงหา 4 ดีเลิศ ความรูได 4 ดีเลิศ 4 ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 4 ดีเลศิ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทัง้ 4 ดา น สอดคลองกับบรบิ ทของทองถน่ิ 4 2.2 จดั ครใู หเ พยี งพอกับช้ันเรียน 4 ดีเลิศ 2.3 สงเสริมใหครูมีความเชี่ยวชาญดา นการจดั ประสบการณ ดีเลศิ 2.4 จดั สภาพแวดลอ มและสือ่ เพ่ือการเรยี นรู อยางปลอดภยั และพยี งพอ 4 ดเี ลศิ 4 2.5 ใหบรกิ ารสื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และสอื่ การเรียนรเู พื่อสนบั สนุนการจดั 4 ดีเลศิ ประสบการณ ดีเลศิ 4 ดเี ลศิ 2.6 มีระบบบรหิ ารคุณภาพท่ีเปด โอกาสใหผ ูเก่ียวขอ งทุกฝา ยมสี ว นรว ม 4 มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท เี่ นน เด็กเปน สำคัญ 4 ดเี ลศิ 3.1 จดั ประสบการณท สี่ งเสรมิ ใหเดก็ มีพัฒนาการทุกดานอยา งสมดลุ เต็ม 4 ศกั ยภาพ 3.2 สรางโอกาสใหเ ด็กไดรับประสบการณตรง เลน และปฏิบัติอยางมีความสุข 3.3 จดั บรรยากาศท่เี อ้ือตอ การเรยี นรู ใชสื่อและเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกับวัย 3.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมนิ พฒั นาการเด็ก ไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณและพัฒนาเด็ก สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา 1.10.ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปก ารศกึ ษา 2562 รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 18

มาตรฐาน ระดบั แปลผล คณุ ภาพ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเรียน ดเี ลิศ 1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเ รียน 4 ดีเลศิ 1.2 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข องผูเรียน 4 ดเี ลิศ 4 ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 4 ดีเลิศ 2.1 มเี ปา หมาย วสิ ยั ทศั น และพนั ธกจิ ทสี่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน 4 ดีเลิศ 2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 4 2.3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการที่เนนคุณภาพของผูเรยี นรอบดาน ตามหลักสตู ร 4 ดเี ลศิ ดีเลศิ สถานศึกษาและทุกกลมุ เปาหมาย 4 4 ดเี ลศิ 2.4 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม ีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี 2.5 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอือ้ ตอ การจดั การเรียนรูอยางมี 4 ดเี ลิศ คุณภาพ ดีเลศิ 4 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการ 4 ดีเลิศ จดั การเรียนรู ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นนผูเ รยี นเปนสำคัญ 4 ดเี ลิศ 4 ดเี ลิศ 3.1 จัดการเรียนรูผ านกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริง และสามารถนำไป 4 ประยุกตใ ชใ นชวี ติ ได 4 ดีเลศิ 3.2 ใชส ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง เรยี นรูที่เอื้อตอ การเรยี นรู 4 3.3 มกี ารบริหารจัดการชัน้ เรยี นเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผูเรียนอยา งเปน ระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเ รยี น 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหข อมูลสะทอ นกลบั เพอ่ื พัฒนาและปรบั ปรุง การจัดการเรยี นรู สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา หมายเหตุ : การแปลผลระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม 4.50– 5.00 อยูใ นระดบั ดีเลศิ 3.50– 4.49 อยใู นระดับ ดี 2.50– 3.49 อยใู นระดับ ปานกลาง 1.50– 2.49 อยใู นระดบั กำลงั พฒั นา ต่ำกวา 1.50 อยูในระดับ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 19

สวนท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา (ระดับปฐมวัย) มาตรฐาน ระดบั คุณภาพ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ดีเลศิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท ี่เนน เด็กเปน สำคญั ดเี ลศิ สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 1. ระดบั คุณภาพ : ดีเลศิ 2. วิธีการ ขอมูล หลกั ฐาน เอกสาร สนับสนุนผลการประเมนิ 2.1 วธิ กี ารพัฒนา โรงเรียนบานโนนบากมิตรภาพที่83มีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการดาน รางกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได โรงเรียนจัดใหเด็กไดรับประทานอาหารที่สะอาด ถกู สุขลกั ษณะ ปรมิ าณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลใหเ ด็กดมื่ นมเปน ประจำทุกวนั อยางสมำ่ เสมอ มกี ารชั่งนำ้ หนกั วัดสวนสูง ภาคเรียนละ ๒ ครั้ง มีกิจกรรมออกกำลังกายหนาเสาธงกอนเขาเรียนทุกวัน จัดหา อุปกรณ ซอมแซมสนาม เด็กเลนใหมีความปลอดภัย สะดวก พรอมใชงานอยูตลอดเวลา ไมมีจุดที่เปนอันตราย มีกฎ กติกา ขอตกลงในการดูแล ตนเองใหป ลอดภัย หลกี เลยี่ งจากอนั ตราย มกี ารจดั บอรดใหความรูแกเด็กเกีย่ วกบั โรคติดตอในชมุ ชน โรคตดิ ตอจากการ อยูรวมกัน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นไดในชีวิตประจำวัน มีการรณรงคตอตานยาเสพติด มีการจัดกิจกรรมสุขภาพดีมีสุขเพื่อ สงเสริมพัฒนาการดานรางกายใหกับเด็ก และไดรับความรวมมือจากโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตำบลหนองเม็ก ใน การดแู ลสงเสรมิ สขุ ภาพอนามยั ของเดก็ นอกจากนีย้ งั มกี ารสงเสริมใหเด็กไดเ ลน กฬี าตามความสามารถ สนับสนุนใหเขา รวมการแขงขันกีฬาในระดับกลุมเครือขาย มีการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนศึกษาแหลงเรียนรูเพื่อสงเสริมใหเด็กมี พฒั นาการดานสงั คม ชวยเหลอื ตนเอง เปน สมาชกิ ทดี่ ีของสังคม มวี นิ ยั ในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผูใ หญ มีมารยาทท่ีดี ยิ้ม ไหว ทักทาย ชวยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติกิจวตั รประจำวัน สามารถรับประทานอาหารดว ยตนเองและมมี ารยาทใน การรับประทานอาหาร รูจักดูแลรักษาความสะอาด ทั้งภายในและนอกหองเรียน โดยการจัดกิจกรรมแบงเขตพื้นที่ รับผิดชอบ รูจักชวยเหลือ แบงปนเพื่อนในหองเรียน ทำงานรวมกับเพื่อนๆ ได โดยการใชกิจกรรมกลุมในการจัด ประสบการณ การเรียนรู รูจักเก็บของเลน สิ่งของเครื่องใช ของตน และของสวนรวม ปลูกฝงใหนักเรียนรูจักประเพณี วัฒนธรรม ดว ยกจิ กรรมอนุรกั ษว ัฒนธรรมไทย รูจักทดแทนบุญคณุ พอ แม ครู โดยจัดกจิ กรรมวนั สำคญั ของชาติ กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เชนพอ วันแม วันไหวครู วันเขาพรรษา สงเสริมพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ปลูกฝงใหเด็กมีความซื่อสัตยสุจริต ไมเอาสิ่งของของผูอื่นมาเปนของตน มีความอดทน มีความมั่นใจ กลาพูด กลา แสดงออก ยม้ิ แยมแจม ใส มกี ารจดั กิจกรรมทางดานศลิ ปะ ดนตรี ใหน กั เรยี นไดว าดภาพ ระบายสี เพอื่ สรางจินตนาการ และมีอารมณผองใส ใหเด็กไดทำกจิ กรรมดว ยความสนุกสนาน มีปฏิสมั พันธทีด่ ีกบั เพอื่ น ทง้ั ในและนอกหอ งเรียน โดยครู รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 2563 20

ไดดำเนินการจดั ประสบการณการเรยี นการสอนตามแผนการจัดประสบการณการเรียนรู และมีการจัดกิจกรรมรอ ง เลน เตน อาน ใหเด็กไดแสดงออกตามศักยภาพของตน โรงเรียนไดสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการดานสติปญญา สื่อสารได มี ทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรูได โดยการเขารวมโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอยแหงประเทศไทย ทำให เด็กไดฝกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต ความคิดสรางสรรค รูจักแกปญหา ทำใหใหเด็กมีความสนใจเรียนรูสิ่งตางๆ รอบตัว กลาซักถามเพื่อคนหาคำตอบ มีการสงเสริมสนับสนุนใหเด็กเขารวมกิจกรรมการแขงขันทักษะทางวิชาการใน ระดับตางๆ มีการสรางสรรคผลงานดานศิลปะโดยการวาดภาพระบายสี การตัด ฉีก ตัด ปะ สงเสริมใหเด็กไดเสนอ ผลงานดวยภาษาที่เหมาะสมตามวัย จัดกิจกรรมการเรียนรูนอกหองเรียนเพื่อใหเด็กไดปฏิสัมพันธกับบุคคลภายนอก เรยี นรูนอกสถานท่ี แกปญหาในสถานการณจรงิ 2.2 ขอ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ สนับสนนุ ผลการประเมนิ - รายงาน สรปุ โครงการ/กิจกรรม - เดก็ มพี ัฒนาการดา นรา งกาย แขง็ แรง มสี ุขนิสัยท่ี ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได รอยละ 100 - เกยี รตบิ ตั ร/เหรียญรางวัลจากการแขงขนั ระดับเขตพื้นที่การศกึ ษา - เดก็ มพี ฒั นาการดา นอารมณ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณได รอยละ 100 สงั เกตไดจ าก การกลาพูด กลา แสดงออก รูจักเขา แถว รอคิว ในการรับประทานอาหาร รจู ักหนา ทร่ี บั ผิดชอบ ตามท่ีไดร บั มอบหมายทั้งในและนอกหองเรียน ตามเขตพื้นทรี่ ับผิดชอบ ราเริง แจม ใส - เด็กมีพัฒนาดานสังคม ชว ยเหลือตนเอง และเปนสมาชกิ ที่ดีของสังคม ไดร อ ยละ 100 สงั เกตไดจ าก การชวยเหลือตนเองในการปฏิบตั กิ จิ วัตรประจำวัน รจู ักเก็บสงิ่ ของเครอื่ งใช ทั้งของสว นตวั และสว นรวม รูจกั ย้ิม ทกั ทาย อยูเ ปนนิจ อยรู วมกบั ผอู ่ืนไดอยางมีความสุข - เดก็ มพี ัฒนาการดา นสติปญ ญา สือ่ สารได มีทกั ษะการคดิ พ้นื ฐาน และแสวงหาความรไู ด คดิ เปน รอ ยละ 100 3. จุดเดน จดุ ทต่ี อ งพัฒนา และแผนพัฒนาเพอื่ ใหมคี ุณภาพที่สูงข้ึน 3.1 จดุ เดน เด็กมีรา งกายเติบโตตามวยั มีนำ้ หนักสว นสูงตามเกณฑ มีทักษะการเคล่ือนไหวตามวัย สามารถ ดูแลสุขภาพและหลกี เล่ยี งตอสภาวะที่เสย่ี งตออบุ ตั ิเหตุ ภัย และส่งิ เสพติด มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม คานิยมท่ีพงึ ประสงค มจี ิตสำนึกในการอนุรักษและพฒั นาสงิ่ แวดลอม ทำงานรว มกับผอู ืน่ ไดอยางมีความสขุ มอี ารมณแ จมใส รา เริง สนุกสนาน รว มกิจกรรมอยูใ นสังคมไดอยา งมคี วามสุข มสี ตปิ ญ ญาเรียนรูไดตามกิจกรรมประจำวันอยางดี 3.2จดุ ที่ตอ งพัฒนา -ดานการมีความคดิ รวบยอด การแกปญหาที่เกิดจากการอาน -การทำกจิ กรรมเสรมิ สติปญ ญาใหเ หมาะสมตามวัย -การพฒั นา ปลกู ฝง ในเร่ืองสุขนสิ ัยท่ีดี เชน การลางมือกอนรับประทานอาหาร ลา งมือกอนออก จากหอ งน้ำ หองสว ม และการเลือกรบั ประทานอาหารทม่ี ีประโยชน ใหเ ปน นิสยั -การยืนตรงเมื่อไดย ินเพลงชาติ -การใชคำพูดขอบคุณ ขอโทษ -การใชว าจาสุภาพเหมาะสมกับวยั 3.3 แผนงาน/แนวทางพฒั นาคุณภาพใหด ีขึน้ กวาเดิม (อยางนอย 1 ระดับ) 1) กิจกรรมสง เสริมศักยภาพผูเรยี นระดับปฐมวยั 2) กจิ กรรมสงเสริสมรรถภาพและสนุ ทรียภาพผูเรยี น 3) กจิ กรรมสนบั สนุนใหเดก็ มีความคิดรวบยอดเก่ียวกบั สิง่ ตา ง ๆ ท่เี กิดจากประสบการณการ เรยี นรู รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 21

4) กจิ กรรมหนูนอ ยสุขภาพดีมีสขุ 5) กิจกรรมสง เสริมคานิยมหลัก 12 ประการ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. ระดับคณุ ภาพ : ดีเลศิ 2. วธิ ีการ ขอมูล หลักฐาน เอกสาร สนับสนุนผลการประเมิน 2.1 วธิ กี ารพฒั นา การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนบานโนนบากมิตรภาพที่83ไดมีการกำหนดเปาหมาย วิสยั ทัศน และพนั ธกิจของสถานศึกษาไวอยางชัดเจน มอี งคประกอบท่สี ำคญั เพ่ือท่ีจะขับเคลื่อนการศึกษาระดับ ปฐมวยั ไดแ ก การพัฒนาวิชาการทเ่ี นนคุณภาพผูเรยี นรอบดา นตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ไดมีการพัฒนา หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยใหสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณของเด็ก โดยเปนหลักสูตรที่มุงพัฒนาเด็กทุกดาน ทั้งดานรางกาย อารมณจิตใจ สังคม และสติปญญา เพื่อใหผูเรียนมี ความสขุ ในการเรยี นรู มกี ารพัฒนาครูและบุคลากรใหมีศักยภาพ สำหรบั ดานระบบกลไก การเสริมสรางความ ตระหนักรับรู และความเขาใจการจดั การศกึ ษาปฐมวยั โดยใหผ ูมีสวนรวมทุกฝายไดม ีบทบาทในการมีสวนรว ม การจดั การศกึ ษา โดยใหมกี ารประสานความรวมมือเพือ่ รว มกันพฒั นาผเู รยี นตามศกั ยภาพ โรงเรียนบานโนนบากมิตรภาพที่83 ไดจัดสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเปนซึ่งเอื้อประโยชน และ อำนวยความสะดวกตอการพัฒนาเด็ก ทั้งดานรางกาย อารมณและจิตใจ สังคม และสติปญญา คือ จัด สภาพแวดลอมทางกายภาพที่เอื้อตอการเรียนรูอยางมีคณุ ภาพและจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการเพื่อการจัดการเรียนรู เชน จัดใหมีหองคอมพิวเตอรเพื่อใหเด็กไดศึกษาหาขอมูลทางโลก ออนไลน จัดใหมีอุปกรณ ของเลน ของใช เครื่องนอน เครื่องอำนวยความสะดวกตาง ๆ ใหพอเพียงกับเด็ก โดยจัดใหเ หมาะสม สะอาด ปลอดภยั ใหมีมุมหนังสอื ที่จำเปน ตอพัฒนาการของเดก็ ใหเ พียงพอและเหมาะสม กับวัย จัดใหมีเครื่องเลนสนาม เครื่องเลนน้ำ เลนทราย ที่เหมาะสมปลอดภัย จัดใหมีพื้นที่สำหรับแปรงฟน ลางมือ ทำความสะอาดรางกาย หองนาหองสวม พรอมอุปกรณที่จำเปนและเหมาะสมกับเด็ก มีหลักสูตร ปฐมวัยที่ยืดหยุนและสอดคลองกับหลักสูตรสถานศึกษาเปนรูปแบบการจัดประสบการณที่กอใหเกิดการเตรียม ความพรอม เนนการเรียนรูผานการเลนและการลงมือปฏิบัติดวยตนเอง สอดคลองกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชมุ ชน และทองถ่ินจัดครูท่เี หมาะสมกบั การจดั ประสบการณก ารเรยี นรู คอื มีครูประจำการที่จบการศกึ ษาปฐมวัย และมีครูพี่เลี้ยงที่ผานการอบรมทางดานการดูแลเด็กปฐมวัย สงบุคลากรเขารับการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อยางตอเนื่องrพัฒนาคุณภาพครูดานการศึกษาปฐมวัยอยางตอเนื่อง ซึ่งสงผลใหครูดา นการศกึ ษาปฐมวัยทุกคน ลวนมีความรูความสามารถในการวิเคราะหและออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัด ประสบการณและการประเมินพัฒนาการเด็กเปนรายบุคคล มีประสบการณในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธที่ดีกับเด็กและผูปกครองมีการจัดสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอก หองเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัยของผูเรียน สงเสริมใหเกิดการเรียนรูทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุม มีมุม ประสบการณและสื่อการเรียนรูที่หลากหลายที่ไดจากธรรมชาติหรือสื่อในชุมชน มุงเนนใหเกิดการเรียนรู แบบเรียนปนเลนมีความสุขในการเรียนรู มีสื่อเทคโนโลยีใชในการสืบเสาะหาความรู มีการจัดสิ่งอำนวยความ สะดวกใหบริการดานสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณเพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณเพื่อพัฒนาครูอยาง เพียงพอและทั่วถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอตั ลกั ษณทส่ี ถานศกึ ษากำหนด มกี ารจัดทำแผนการจัดประสบการณที่สอดคลองกับมาตรฐานตามหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 22

รายงานผลการประเมินตนเองประจำป มีการนำผลการประเมินไปปรับปรงุ พัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา โดยทุก ฝา ยมีสว นรว ม พรอมทัง้ รายงานผลการประเมนิ ตนเองใหห นว ยงานตน สังกดั อยางตอ เน่ือง 2.2 ขอ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ สนับสนุนผลการประเมิน -แผนปฏบิ ัติการ หลักสูตร -หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั - รายงานผลการเขา รวมอบรมพฒั นาของครแู ละบคุ ลากร - กิจกรรมการพัฒนาสภาพแวดลอ มทางกายภาพใหเ อ้อื ตอการเรยี นรู - กิจกรรมเรียนรสู ูโลกกวาง - กจิ กรรมจดั หา/จดั ทำเคร่อื งเลน สนาม - แผนการจดั ประสบการณท่สี อดคลอ งกบั มาตรฐานตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั - รายงานผลการประเมนิ ตนเองประจำป 3. จุดเดน จุดที่ตองพัฒนา และแผนพฒั นาเพอื่ ใหมีคณุ ภาพท่ีสงู ขึ้น 3.1 จุดเดน - มีหลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการท้ัง4 ดา นสอดคลอ งกับบรบิ ทของโรงเรียนและทองถ่ิน -การจดั สงิ่ อำนวยความสะดวกใหบรกิ ารดา นส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ อปุ กรณเ พื่อสนบั สนนุ การจดั ประสบการณ -ครไู ดรบั การพัฒนาดานวชิ าชีพ 3.2 จุดท่ตี องพัฒนา - จัดครูใหเ พยี งพอตอช้ันเรียน - สงเสรมิ ใหค รมู ีความเชยี่ วชาญดา นการจดั ประสบการณ - จดั สภาพแวดลอมและส่ือเพือ่ การเรียนรู อยา งปลอดภัย และพอเพียง - กำหนดแผนการพัฒนาครอู ยา งชัดเจน 3.3 แผนงาน/แนวทางพฒั นาคุณภาพใหดีข้ึนกวา เดมิ (อยา งนอย 1 ระดับ) 1) กิจกรรมสงเสริมศักยภาพผเู รยี นระดับปฐมวัย 2) กิจกรรมจัดทำแผนปฏิบัตกิ าร มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท่เี นนเด็กเปน สำคญั 1. ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลศิ 2. วิธกี าร ขอมลู หลกั ฐาน เอกสาร สนบั สนุนผลการประเมนิ 2.1 วธิ ีการพัฒนา การจัดการศึกษาปฐมวยั มุงเนนความสำคญั ของการพัฒนาการในทกุ ๆ ดาน ท้งั ทางดานรา งกาย อารมณจติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา มีความรู คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเปน การ จัดประสบการณการเรียนรูที่เนนผเู รียนเปนสำคญั เพือ่ สามารถอยรู ว มกบั ผอู ่ืนไดอยางเปน สขุ ภายใตคำวา เกง ดี มีสขุ ประสบการณใ นรูปแบบบูรณาการการเรียนรู แบบเรยี นผา นเลน เพ่อื ใหเ ด็กไดป ระสบการณต รง เกดิ การ เรียนรแู ละมีการพฒั นาท้งั ทางดา นรา งกาย อารมณจ ิตใจ สังคม และสติปญญา ซง่ึ สามารถยืดหยุนไดค วาม เหมาะสมและสอดคลอ งกบั หลักสตู รปฐมวัย ทัง้ ในหองเรียนและนอกหอ งเรียน มีการใชส อื่ และเทคโนโลยที ี่ เหมาะสมกับวยั จัดประสบการณก ารเรียนรทู ่คี รอบคลมุ พฒั นาการในทุก ๆ ดา นใหเหมาะสมกับวยั ดงั นี้ ดาน รา งกาย พฒั นาการเคลื่อนไหวทางรา งกาย เด็กเคลื่อนไหวอยา งเหมาะสมตามจนิ ตนาการเพอื่ ใหรางกายทกุ สว น ท้งั กลามเน้ือมัดใหญม ัดเล็กใหทำงานอยางมปี ระสิทธภิ าพดานอารมณ จติ ใจ เด็กมีพัฒนาการดานอารมณ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 2563 23

ความรสู ึกไดอยา งเหมาะสม รูจกั ยบั ย้งั ช่งั ใจ รูจักการรอคอย กลา แสดงออก ชวยเหลอื แบง ปน มคี วามรับผิดชอบ ดานสงั คม เด็กชว ยเหลอื ตัวเองในการปฏิบตั ิกิจวัตรประจำวันได มีวนิ ยั ในตนเอง เลนรว มกับผอู ่ืนได มีสมั มา คารวะตอผูใหญด า นสติปญ ญา มคี วามคดิ รว มยอด รูจักการแกป ญ หา ส่ือสารและมีทกั ษะความคดิ พ้ืนฐาน แสวงหาความรูไ ดอยา งเหมาะสมตามวยั จดั ประสบการณก ารเรยี นรูที่สง เสริมใหเดก็ ไดประสบการณโ ดยตรง จากการเรยี นผานการเลน โดยลงมือปฏบิ ตั จิ ริงดว ยตนเองและการเรียนรรู ายกลมุ เพือ่ กอ ใหเ กดิ ความมนี ้ำใจ ความสามคั คี การแบงปน และการรอคอย เพ่ือสง ผลใหเ ดก็ เกดิ การเรยี นรไู ดอยางมีความสขุ จดั บรรยากาศในชั้น เรียนท่สี ง เสริมความสนใจใหแกผเู รียน ช้นั เรยี นมบี รรยากาศเตม็ ไปดว ยความอบอนุ ความเหน็ อกเห็นใจ มี ความเอ้ือเผือ่ เผ่ือแตต อกนั และกัน ซึง่ เปน แรงจงู ใจภายนอกทก่ี ระตนุ ใหผูเรยี นรักการอยูรว มกนั ในชั้นเรยี น และ ปลกู ฝง คุณธรรม จรยิ ธรรม ใหแ กเดก็ นักเรียน หองเรยี นมบี รรยากาศ แจมใส กวางขวางพอเหมาะ มมี ุมสงเสริมประสบการณก ารเรยี นรู มกี าร ตกแตง หองเรียนใหส ดใส และมสี ่ือการเรียนรูท่เี อื้อตอการจดั ประสบการณก ารเรยี นการสอน การประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ปฐมวยั จากการจดั ประสบการณการเรียนรู และการจัดกจิ วัตรประจำวัน ดว ยเคร่อื งมือและ วิธกี ารท่หี ลากหลาย เชน การสงั เกต การสอบถาม การสำรวจ และการวิเคราะหผ ลพัฒนาการของเด็ก โดยให ผปู กครองมีสว นรวม เพ่อื ไดนำผลการประเมินไปพฒั นาศกั ยภาพของเดก็ และพัฒนาการจัดประสบการณการ เรยี นรูในชัน้ เรียนเพื่อพฒั นาครอู ยางเพียงพอและทว่ั ถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาท่ี สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั และอตั ลกั ษณท ่ีสถานศกึ ษากำหนด มกี ารจดั ทำแผนการจัด ประสบการณท่ีสอดคลองกับมาตรฐานตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย มกี ารประเมินผลตรวจสอบคณุ ภาพ ภายในสถานศึกษา ตดิ ตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมนิ ตนเองประจำป มีการนำผลการ ประเมนิ ไปปรับปรุงพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา โดยทกุ ฝา ยมีสวนรว ม พรอ มทัง้ รายงานผลการประเมนิ ตนเองให หนวยงานตน สงั กดั อยา งตอเนื่อง 2.2 ขอ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ สนับสนุนผลการประเมนิ - มมุ ประสบการณ - แบบบันทกึ การพัฒนาการของเด็ก - รายงานผลการประเมนิ ตนเอง - บรรยากาศ หอ งเรียนแจมใส มมี มุ สงเสริมประสบการณการเรยี นรู - การจัดกิจวัตรประจำวัน 3. จดุ เดน จดุ ท่ีควรพฒั นา และแผนการพฒั นาคณุ ภาพใหสงู ข้ึน 3.1 จดุ เดน -เดก็ มพี ฒั นาการการอยา งสมดลุ -เดก็ เรียนรู จากการเลนและปฏิบัติกจิ กรรม -มบี รรยากาศ สภาพหองเรียนเออ้ื ตอการเรียนรู -ประเมินผลเดก็ ดว ยวิธีการหลากหลาย 3.2 จุดทตี่ อ งพัฒนา - จัดอุปกรณส่ือการเรยี นการสอนทหี่ ลากหลาย -พฒั นาเครอ่ื งเลนสนามและระบบสาธารณปู โภค -จัดกจิ กรรมสงเสริมเด็กเรยี นรูการอยรู วมกัน รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 24

3.3 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคณุ ภาพใหด ขี ึน้ กวา เดมิ (อยา งนอย 1 ระดับ) 1) กิจกรรมปรบั ปรงุ หลกั สูตรปฐมวัย 2) กจิ กรรมพัฒนาแหลงเรียนรูภายในโรงเรยี น 3) กิจกรรมพัฒนาเคร่ืองเลน และสนามเด็กเลน 4) กิจกรรมสง เสริมศักยภาพผูเ รยี นระดบั ปฐมวัย 5) กจิ กรรมสงเสรมิ สุขภาพและสนุ ทรียภาพผูเรยี น 6) กิจกรรมสง เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมและคา นยิ มท่ีพึงประสงค 7) กิจกรรมสบื สานวัฒนธรรมประเพณที องถนิ่ และวันสำคัญ รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 25

สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวม (ระดบั ปฐมวยั ) ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยใู นระดับ ดีเลศิ (บรรยายสรุปผลในภาพรวม) ดานคุณภาพของเด็กเด็กมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมีทักษะในการใชกลามเนื้อใหญ – เล็กใช ประสาทสัมผัสทั้งหาไดเหมาะสมกับวัยรักการเรียนรูมีความชื่นชมในศิลปะดนตรีและการเคลื่อนไหวดาน กระบวนการบริหารและจัดการจัดใหครูมเี พียงพอกบั ช้ันเรยี นจัดสภาพแวดลอมและส่ือการเรียนรูและจัดใหมีส่ือ เทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นรูสนับสนุนการจดั ประสบการณม ีหลกั สูตรสถานศึกษาการจัดประสบการณท่ีเนนเด็กเปน สำคัญจัดประสบการณที่สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการทุกดานอยางสมดุลสรางโอกาสใหเ ด็กไดรับประสบการณตรง เลนอยางมีความสุขมีการจัดบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรูครูไดรับการอบรมในวิชาที่สอนอยางตอเนื่องใชภูมิ ปญญาแหลงเรียนรูในชุมชนในการจัดประสบการณการเรียนรูครูผูปกครองมีความสัมพันธที่ดีชุมชนเห็น ความสำคัญและเรม่ิ มบี ทบาทในการแสดงความคิดเหน็ ชมุ ชนใหความรว มมือเขารว มกิจกรรมและสนบั สนุนปจจัย ในการพัฒนาสถานศกึ ษาเปน อยา งดี จุดที่ควรพัฒนาควรสงเสริมการรักการอานและใฝรูในเรื่องรอบตัวตามวัยจัดกิจกรรมใหเด็กไดทดลอง วิธีการใหมๆในการทาสิ่งตางๆใหเด็กมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งตางๆที่เกิดจากการเรียนรูจนสามารถ แกป ญหาไดเ หมาะสมตามวัยจดั กิจกรรมใหเดก็ ปฐมวัยเขารว มตามความเหมาะสมของเดก็ ใหมากข้นึ เพื่อสรางอัต ลักษณใ หเ กิดกบั เดก็ ปฐมวัยจนเกิดการยอมรับจากชุมชนและทองถน่ิ รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 26

ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา (ระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน) มาตรฐาน ระดบั คุณภาพ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรยี น ดเี ลศิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน ผูเรยี นเปนสำคญั ดีเลิศ ดีเลิศ สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รียน 1. ระดบั คุณภาพ : ดเี ลศิ 2. วิธีการ ขอมลู หลกั ฐาน เอกสาร สนับสนนุ ผลการประเมิน 2.1 วิธกี ารพัฒนา สงเสริมใหครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอยาง หลากหลาย ไดแก งานหลักสตู ร มกี ารประชุมปฏบิ ตั ิการเพ่อื ปรับปรุงหลกั สูตรสถานศกึ ษาตามมาตรฐาน การเรยี นรูและตัวชี้วัดฯ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) เพื่อใหค รูใชเปนกรอบในการจดั การเรียนการสอนการพัฒนา ผูเรยี นสงเสรมิ สนับสนุนใหผเู รียนบรรลุตามเปาหมายทว่ี า “การจัดการศึกษาตองเปนไปเพ่ือพฒั นาคนไทยใหเปน มนษุ ยท ่ีสมบูรณ ท้ังรา งกาย จิตใจ สติปญ ญา ความรู และคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และวฒั นธรรม ในการดำรง ชีวิตสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสขุ ซึ่งสอดคลองกบั จุดมุง หมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ที่ไดม งุ พัฒนาใหผ ูเ รยี นเปนคนดี มีปญญา มีความสุข ดงั น้ันโรงเรียนบานโนนบาก มติ รภาพท่ี 83 จึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาดานคุณภาพผูเ รียน จำนวน 2 ดาน ไดแก 1) ดา นผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน และ 2) ดานคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมุงเนนให นักเรียนมคี วามสามารถในการอา น การเขยี น การส่ือสาร การคดิ คำนวณ รวมทัง้ การมผี ลสมั ฤทธิ์ทาง การเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา มคี วามสามารถในการวิเคราะห คดิ อยางมีวิจารณญาณ มคี วามสามารถใน การสรางนวัตกรรมการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศการส่ือสารและการมีความรูทักษะพ้นื ฐานเจตคติทดี่ ตี องานอาชีพ สำหรับดานคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน มุงเนนใหผูเรียนมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด และมีสุขภาวะทางรางกายและสังคมความภมู ิใจในทองถิน่ และความเปนไทยการยอมรับท่ีจะ อยูรว มกนั บนความแตกตางและหลากหลาย ในดานผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการผูเรียนสามารถอานออกและอานคลองตามมาตรฐานการ อานในแตละระดับชั้นผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนสูงกวาระดับเขตในบางรายวิชาและไมผานเกณฑในบาง กลุมสาระการเรียนรูนักเรียนสามารถเขียนสื่อสารไดดีรูจักการวางแผนสามารถทำงานรวมกับผูอื่นไดดีตามหลกั ประชาธิปไตยสามารถสืบคนขอมูลหรือแสวงหาความรูจากสื่อเทคโนโลยีไดดวยตนเองรวมทั้งสามารถวิเคราะห จำแนกแยกแยะไดวาสิ่งไหนดีสำคัญจำเปนรวมทั้งรูเทาทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วผูเรียนมี ความรแู ละตระหนกั ถึงโทษและพษิ ภัยของสิ่งเสพติดตางๆเลอื กรบั ประทานอาหารทส่ี ะอาดและมปี ระโยชน รักการออกกำลังกายนกั เรยี นทุกคนสามารถเลนกีฬาไดอ ยางนอยคนละประเภทยอมรับในกฎกติกาของกลุมของ สถานศึกษาของสังคมมที ัศนคติทด่ี ีตอ อาชพี สุจรติ นักเรียนมีทักษะอาชีพและมรี ายไดร ะหวา งเรียน รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 27

2.2 ขอ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ สนบั สนนุ ผลการประเมิน ประเดน็ ภาพความสาเรจ็ ดา นคณุ ภาพผเู รยี นทสี่ นับสนนุ ผลการประเมินตนเองไดแก 1)โครงการพฒั นาการอา นการเขียนภาษาไทยกิจกรรมพฒั นาการอานออกเขียนไดกิจกรรมอาน คลองเขยี นคลอ ง 2)โครงการสง เสรมิ สุขภาพและสนุ ทรียภาพผูเรยี นกิจกรรมสุขกายสบายชวี ีกจิ กรรมสายใยรัก ครอบครัวอบอนุ กจิ กรรมสงเสริมความเปนเลศิ ดานดนตรศี ิลปะ 3)โครงการสงเสรมิ คุณธรรมจริยธรรมและคา นิยมทพี่ ึงประสงคก ิจกรรมออมทรัพยก จิ กรรม สหกรณในโรงเรียนกจิ กรรมโรงเรียนวถิ พี ุทธกจิ กรรมสงเสริมคา นิยมหลกั 12 ประการ 4)โครงการสง เสรมิ ศักยภาพผูเรยี นเพื่อยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกจิ กรรมแขง ขนั ทกั ษะ ทางวิชาการติวสอบNT ,O-NET กิจกรรมศึกษาจากแหลงเรียนรูภ ายนอกกจิ กรรมคา ยวิชาการ 3. จดุ เดน จุดท่ีควรพฒั นา และแผนการพัฒนาคณุ ภาพใหส ูงข้ึน 3.1 จดุ เดน สถานศึกษามีการวิเคราะหผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นและไดกำหนดเปน เปา หมายทางการเรียน โดยใชขอ มูลฐาน 3 ปยอนหลังเปนเปาหมายคุณภาพนักเรยี นใหพฒั นาสงู ขึน้ จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนเนน การปฏิบตั ิเนน ทกั ษะในการอานการเขยี นและการคิดคำนวณสงเสรมิ ผูเรียนใหพ ัฒนาเต็มศักยภาพมกี ารจัดแหลง เรยี นรภู ายในไดอ ยา งเหมาะสมมีส่อื ดา นเทคโนโลยที ที่ ันสมัยผเู รียนมีสุขภาพกายสุขภาพจติ ดีกลาแสดงออกและ สามารถอยูร วมกับผอู น่ื อยา งมีความสุข 3.2 จดุ ทต่ี อ งพัฒนา การจดั กจิ กรรมท่มี ุงเนน ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ยงั ขาดการปฏบิ ัติท่ตี อเน่ืองจรงิ จังการยกระดับ ผลสัมฤทธิแ์ ตล ะกลุมสาระประสบผลสาเรจ็ ในระดบั หนง่ึ นักเรียนสวนใหญย ังตองไดร ับการพฒั นาตอไปผลสัมฤทธ์ิ ระดบั ชาติของนกั เรียนมีแนวโนมเปลย่ี นแปลงพัฒนาขึ้นโดยรวมแตไมผานเกณฑใ นบางกลุมสาระการเรียนรูจงึ ตอ งมงุ เนนพัฒนาตอไปจดั กจิ กรรมดานการอานการเขียนคำนวณใหกับนักเรยี นเรยี นรวมเปรยี บเทียบ ความกา วหนา และการพัฒนาของนักเรยี นเปนรายบุคคล 3.3 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคณุ ภาพใหด ีขนึ้ กวาเดมิ (อยางนอ ย 1 ระดับ) 1) พัฒนาใหนักเรยี นมที ักษะในการอานการเขยี นการสอื่ สารและการคิดคำนวณเปนไปตาม เกณฑทีโ่ รงเรียนกำหนดในแตระดับช้ัน 2) พฒั นาใหนกั เรยี นมคี วามสามารถในการคิดจำแนกแยกแยะใครครวญไตรตรองพจิ ารณา อยางรอบคอบโดยใชเหตุผลประกอบการตัดสนิ ใจมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและแกปญหาอยางมี เหตผุ ล 3) พัฒนาใหนักเรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรูไ ดทง้ั ดว ยตนเองและการทำงานเปน ทีมเชื่อมโยงองคความรูและประสบการณมาใชในการสรา งสรรคส ิ่งใหมๆ 4) พัฒนาใหน ักเรยี นมคี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเพอ่ื พัฒนา ตนเองและสังคมในดา นการเรียนรกู ารส่ือสารการทำงานอยางสรางสรรคและมีคุณธรรม 5) พฒั นาใหนกั เรยี นมคี วามกาวหนาในการเรียนรตู ามหลักสูตรสถานศกึ ษาจากพน้ื ฐานเดมิ ใน ดา นความรูค วามเขาใจทักษะกระบวนการตางๆรวมทง้ั 6) พฒั นาใหนกั เรยี นมคี วามกาวหนา ในผลการทดสอบระดับชาติมีความรทู ักษะพ้นื ฐานในการ จดั การเจตคติทีด่ พี รอมทจ่ี ะศึกษาตอในระดบั ชน้ั ท่สี ูงข้ึนมีพฤติกรรมเปน ผูท ี่มีคุณธรรมจริยธรรมเคารพในกฎ กติกา 7) พฒั นาใหนักเรยี นมคี า นยิ มและจิตสำนึกตามทีส่ ถานศึกษามีความภมู ิใจในทองถ่ินเห็นคุณคา รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 2563 28

ของความเปนไทยมีสว นรว มในการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทง้ั ภมู ปิ ญญาไทย 8) พฒั นาใหน กั เรยี นมีการรักษาสขุ ภาพกายสขุ ภาพจติ อารมณแ ละสังคมแสดงออกอยา ง เหมาะสมในแตละชว งวยั มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. ระดบั คุณภาพ : ดี 2. วธิ ีการ ขอมลู หลกั ฐาน เอกสาร สนับสนนุ ผลการประเมนิ 2.1 วิธกี ารพัฒนา โรงเรียนไดดำเนินการวิเคราะหสภาพปญหาผลการจัดการศกึ ษาท่ีผา นมาโดยการศกึ ษาขอมลู สารสนเทศ จากผลการนิเทศติดตามประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาและจัดประชุมระดมความ คิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนรวมกันกำหนดเปาหมายปรับวิสัยทัศนกำหนดพันธกิจกลยุทธใน การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพผูเรยี นมีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพจดั การศึกษาแผนปฏิบัติ การประจำป ใหสอดคลองกับสภาพปญหาความตองการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาพรอมท้ังจัดหา ทรัพยากรจัดสรรงบประมาณมอบหมายงานใหผูร ับผิดชอบดำเนินการพัฒนาตามแผนงานเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย ที่กำหนดไวม ีการดำเนนิ การนเิ ทศกำกบั ตดิ ตามประเมนิ ผลการดำเนินงาน 1 สถานศึกษามีการกำหนดเปาหมายวิสัยทัศนและพันธกิจสอดคลองกับสภาพปญหาความ ตองการพัฒนาของสถานศึกษานโยบายการปฏิรูปการศึกษาความตองการของชุมชนทองถิ่นและสอดคลองกับ แนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ 2 แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาแผนปฏิบตั กิ ารประจำป สอดคลอ งกับการพัฒนาผูเ รียน ทุกกลุมเปาหมายมีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีความรูความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตำแหนง ขอมลู สารสนเทศมีความถูกตองครบถว นทันสมยั นาไปประยุกตใชไดดำเนินการอยางเปนระบบและมีกิจกรรมจัด สภาพแวดลอมทางกายภาพและสงั คมท่ีกระตนุ ผเู รียนใหใฝเรยี นรู 3 สถานศกึ ษามกี ารปรับแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาแผนปฏบิ ัติการประจำป ให สอดคลองกับสภาพปญหาความตองการพัฒนาและนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผูมีสวนไดเสียมีสวนรวมใน การพฒั นาและรวมรบั ผิดชอบ 4 ผเู กีย่ วของทุกฝายและเครือขา ยการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษามีสวนรว มในการรว มวางแผน พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและรบั ทราบรบั ผิดชอบตอผลการจัดการศกึ ษา 5 สถานศึกษามกี ารนเิ ทศกำกับ ติดตามและประเมินผลการบริหารและการจดั การศึกษาท่ี เหมาะสมเปนระบบและตอเน่อื งเปดโอกาสใหผ เู กยี่ วขอ งมสี วนรวมในการจดั การศกึ ษา 6 สถานศึกษามรี ูปแบบการบริหารและการจดั การเชิงระบบโดยทุกฝายมสี วนรว มยดึ หลกั ธรร มาภบิ าลและแนวคดิ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยมุงพฒั นาผูเรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 7 สถานศกึ ษามีการระดมทรัพยากรเพ่ือการพฒั นาคุณภาพการศึกษาจากเครือขา ยอปุ ถัมภ สงผลใหสถานศึกษามสี อื่ และแหลง เรยี นรทู ่ีมคี ณุ ภาพรายงานประจำป โรงเรียนบานโนนบากมิตรภาพท่8ี 3 2.2 ขอมลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ ท่สี นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง ประเดน็ ภาพความสาเรจ็ ดานกระบวนการบริหารและการจัดการไดแกโรงเรยี นมีเปาหมาย วิสัยทัศนและพันธกิจที่โรงเรียนกำหนดชัดเจนสอดคลองกับบริบทของโรงเรียนความตองการของชุมชนมีระบบ การบริหารจัดการคุณภาพอยางเปนระบบวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยนาแผนไปปฏิบัติติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและปรบั ปรุงพฒั นางานอยางตอเน่ืองมีการบริหารอัตรากาลังทรัพยากรทางการศกึ ษาและ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 29

ระบบดแู ลชวยเหลือนกั เรียนมีการนิเทศภายในนาขอมูลมาใชในการพัฒนาบุคลากรและผเู ก่ียวของทุกฝายมีสวน ในการวางแผนปรับปรุงพัฒนาและรว มกันรับผดิ ชอบตอการจัดการศกึ ษามีการบริหารจัดการเกยี่ วกับงานวิชาการ รวมถึงการจัดการเรียนการสอนของกลุมเรียนรวมดวยมีการสงเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรตรงตาม ความตองการและจัดใหมีชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพมาใชในการพัฒนางานและการเรียนรูของผูเรียนจัด สภาพแวดลอมทางกายภาพภายในและภายนอกหองเรียนและสภาพแวดลอมทางสังคมที่เอื้อตอการจัดการ เรยี นรูของผูเรยี นทม่ี คี ณุ ภาพมคี วามปลอดภยั จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและ การจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียนพัฒนาบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศมี หองปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอรเพ่อื ใชในการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรูอ ยางเหมาะสม 3. จดุ เดน จดุ ที่ควรพฒั นา และแผนการพฒั นาคุณภาพใหสูงขน้ึ 3.1 จุดเดน โรงเรยี นมีเปาหมายวิสัยทัศนพันธกิจทก่ี ำหนดไวช ดั เจนสอดคลอ งกบั บรบิ ทของโรงเรียนตาม ความตองการของชุมชนวัตถุประสงคของแผนการจัดการศึกษาของชาตนิ โยบายของรัฐบาลและตน สงั กัดทนั ตอ การเปลยี่ นแปลงของสังคมพัฒนางานวิชาการเนน คณุ ภาพผูเรียนรอบดา นตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและสงเสริม สนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรใหม คี วามเชี่ยวชาญตรงตามความตองการใหเปนชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชพี มา ใชใ นการพฒั นางานและการเรียนรขู องผูเ รียน 3.2 จดุ ท่ีตอ งพัฒนา โรงเรยี นควรจดั ใหม อี าคารและหองปฏิบตั ิการท่ีเพียงพอและเหมาะสมตอการจดั การเรียนรู มีการนเิ ทศตดิ ตามทชี่ ัดเจน 3.3 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคุณภาพใหด ีขน้ึ กวาเดมิ (อยางนอย 1 ระดับ) 1) มีโครงการการบรหิ ารจัดการเกี่ยวกบั งานวชิ าการการพัฒนาหลักสูตร 2) กิจกรรมเสริมหลักสตู รทเ่ี นน คุณภาพผูเรยี นรอบดาน 3) โครงการจัดการเรียนการสอนนกั เรียนเรียนรวม 4) โครงการพัฒนาครูพัฒนาครูสูค รมู ืออาชีพ 5) โครงการจดั สภาพแวดลอ มใหเ ปน แหลง เรยี นรู มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน ผเู รียนเปน สำคัญ 1. ระดับคณุ ภาพ : ดี 2. วิธกี าร ขอ มูล หลกั ฐาน เอกสาร สนบั สนุนผลการประเมนิ 2.1 วิธกี ารพัฒนา โรงเรียนดำเนินการสงเสริมใหครูจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสาคัญโดยการ ดำเนินงาน/กิจกรรมอยางหลากหลายไดแกงานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาสูประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากลมีการใชสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหลงเรียนรูในการจัด กระบวนการเรียนการสอนมีการบริหารจดั การชนั้ เรยี นเชงิ บวกมีการตรวจสอบและประเมนิ ผูเรยี นอยา งมีระบบมี การแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรูและนำผลมาพัฒนา ผูเรียนบูรณาการอาเซียนเศรษฐกิจพอเพียงปรับโครงสรางรายวิชาหนวยการเรียนรูลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารูจัด สวนคะแนนแตล ะหนว ยกำหนดคุณลกั ษณะอันพึงประสงคท ีส่ อดคลองกบั หนวยการเรียนรูส นับสนุนใหครูจัดการ เรียนการสอนที่สรางโอกาสใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมไดลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรูไดดวยตนเองจัดการ เรยี นการสอนที่เนน ทักษะการคดิ เชนการจดั การเรยี นรทู ี่เนน กระบวนการคิดวเิ คราะหแ ละปฏิบตั ิจรงิ รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 30

2.2 ขอ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ ที่สนับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง ประเด็นภาพความสาเรจ็ ดานกระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รยี นเปน สาคญั ท่ี สนับสนุนผลการประเมินตนเองไดแกหลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมกิจกรรมชุมนุมใหนักเรียน เลือกตามความถนัดและความสนใจผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงการบันทึกการใชส่ือเทคโนโลยีและแหลง เรียนรเู อกสารการตรวจสอบและประเมินผเู รยี นอยา งเปนระบบและนำผลมาพัฒนาผูเ รยี นมีการบริหารจัดการชั้น เรียนเชิงบวกโดยครูมีวิจัยชั้นเรียนและนำผลไปแกไขปญหาจริงครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูลสะทอน กลบั เพื่อพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู 3. จุดเดน จุดท่ีควรพัฒนา และแผนการพัฒนาคุณภาพใหสูงขึน้ 3.1 จดุ เดน ครูมคี วามตั้งใจมงุ มั่นในการพัฒนาการสอนโดยจัดกิจกรรมใหน กั เรียนไดเรยี นรูท ี่เนน ทักษะ กระบวนการคดิ ไดป ฏิบตั จิ ริงมีการใหวิธกี ารและแหลงเรยี นรทู ห่ี ลากหลายใหน ักเรียนแสวงหาความรจู ากสอ่ื เทคโนโลยดี ว ยตนเองอยางตอเน่ืองนกั เรียนมสี ว นรว มในการจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ มท่เี อื้อตอการเรยี นรู 3.2 จดุ ท่ตี อ งพัฒนา ควรนำภมู ิปญ ญาทองถ่นิ ใหเขามามสี วนรว มในการจดั กจิ กรรมใหน ักเรยี นไดเรียนรูแ ละ การใหขอมูลยอ นกลับแกนกั เรียนทันทเี พ่ือนกั เรยี นนำไปใชพัฒนาตนเอง 3.3 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคณุ ภาพใหด ขี น้ึ กวาเดมิ (อยา งนอย 1 ระดับ) 1) โครงการปรับปรงุ หลกั สตู รสถานศกึ ษา 2) โครงการจดั การเรียนรูแบบโครงงาน 3) โครงการพัฒนาการใชส่อื เทคโนโลยีสูหองเรยี น 4) โครงการสง เสรมิ ใหครจู ัดทำแผนการจัดการเรียนรแู ละนาไปใชจ รงิ 5) กจิ กรรมสำหรับนักเรยี นที่ตองการความชวยเหลอื เปนพิเศษ/นกั เรียนเรียนรวมใหน กั เรยี นมี ความรูสงู ขึน้ ตามระดับช้ัน รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 31

สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม (ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน) ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยใู นระดับ ดเี ลศิ (บรรยายสรปุ ผลในภาพรวม) จากผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรมตางๆสงผลใหสถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประสบผลสาเร็จตามทีต่ ัง้ เปาหมายไวในแตละมาตรฐานจากผลการประเมินสรุปวาไดระดับยอดเย่ียมทั้งนี้เพราะ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเรยี นอยใู นระดับดเี ลิศมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการอยูในระดับ ดีมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรยี นเปนสาคัญอยูในระดับดีทัง้ นีส้ ถานศึกษามีการจัด กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยางหลากหลายที่เปนไปตามปญหาและความตองการพัฒนาตามสภาพของ ผเู รียนสอดคลอ งกบั จดุ เนน ของสถานศึกษาและสภาพของชุมชนทองถน่ิ จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของผูเรียนอยู ในระดับดีเลิศพัฒนาการของคาเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติสูงขึ้นผูเรียนมีความสามารถในการอานและเขียน การสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษความสามารถในการคิดคำนวณการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารไดดีและมีความประพฤติดานคุณธรรมจริยธรรมคานิยมและคุณลักษณะตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนดปรากฏ อยางชัดเจนดังทีป่ รากฏผลประเมนิ ในมาตรฐานที่ 2 ในดานกระบวนการบริหารจดั การของผูบริหารสถานศึกษา มีผลประเมินในรายมาตรฐานอยูในระดับดีเลิศสถานศึกษามีการวางแผนออกแบบกิจกรรมและดำเนินงานตาม แผนที่เกิดจากการมีสวนรวมใชผลการประเมินและการดำเนินงานที่ผานมาเปนฐานในการพัฒนาและสอดคลอง กับเปาหมายการพัฒนาตรวจสอบผลการดำเนินงานและการปรับปรุงแกไขงานใหดีขึ้นอยางตอเนื่องครูจัด กระบวนการเรยี นการสอนท่ีเนน ผเู รียนเปน สาคญั มผี ลประเมินอยูในระดับดวี ิเคราะหออกแบบและจัดการเรียนรู ที่เปนไปตามความตองการของหลักสูตรและบริบทของสถานศึกษาพัฒนากิจกรรมการเรียนรูใชสื่อการเรียนรู ติดตามตรวจสอบและชวยเหลือนักเรียนเพือ่ พัฒนาและแกปญ หารายบุคคลและการประเมินผลจากสภาพจริงใน ทุกขั้นตอนสถานศึกษาดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในอยางเปนขั้นตอนจนเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลจนมีผลประเมินอยูในระดับดีเย่ียมโดยสถานศึกษาใหค วามสาคัญกับผูเกี่ยวขอ งทุก ฝายเพื่อเกิดความรวมมอื ในการวางระบบและดำเนินงานประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาเปนอยางดีและผู มีสวนเกย่ี วของมีความมัน่ ใจตอ ระบบการบรหิ ารและการจดั การของสถานศึกษาในระดบั สงู รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 32

สว นท่ี 3 สรปุ ผลการประเมนิ และแนวทางการพัฒนา ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเปนขอมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษา จะตองนำไป วิเคราะห สังเคราะหเพื่อสรุปนำไปสูการเชื่อมโยงหรือสะทอนภาพความสำเร็จ กับแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา (3-5 ป) และนำไปใชในการวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังน้ัน จากผลการดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเดน จุดควรพัฒนา ของแตล ะมาตรฐาน พรอมทั้งแผนงาน/แนวทางการพฒั นาเพื่อใหไดคณุ ภาพทส่ี ูงขึน้ ในอนาคต ดังน้ี ระดบั ปฐมวัย ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ จุดเดน จุดควรพัฒนา ดา นคณุ ภาพของเดก็ ดานคุณภาพของเด็ก เดก็ มรี างกายเติบโตตามวัย มีน้ำหนักสวนสูงตาม -ดา นการมีความคิดรวบยอด การแกป ญหาท่ีเกิดจาก เกณฑ มที ักษะการเคล่ือนไหวตามวยั สามารถดแู ล การอาน สุขภาพและหลีกเลี่ยงตอ สภาวะที่เสยี่ งตออบุ ตั เิ หตุ -การทำกิจกรรมเสริมสติปญญาใหเหมาะสมตามวยั ภยั และสิ่งเสพติด มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม คา นิยมทีพ่ งึ -การพัฒนา ปลกู ฝงในเรอ่ื งสุขนสิ ัยที่ดี เชน การลาง ประสงค มีจิตสำนึกในการอนุรักษแ ละพัฒนา มอื กอนรับประทานอาหาร ลา งมือกอนออกจาก สิ่งแวดลอม ทำงานรวมกับผูอื่นไดอยางมคี วามสุข มี หองนำ้ หอ งสว ม และการเลือกรับประทานอาหารท่ี อารมณแจมใส ราเริง สนุกสนาน รว มกจิ กรรมอยใู น มปี ระโยชน ใหเ ปน นิสยั สงั คมไดอยางมคี วามสุข มีสติปญ ญาเรยี นรูไดตาม -การยืนตรงเมื่อไดย นิ เพลงชาติ กิจกรรมประจำวันอยางดี -การใชคำพูดขอบคุณ ขอโทษ -การใชว าจาสภุ าพเหมาะสมกับวยั ดานกระบวนการบริหารและการจัดการ ดานกระบวนการบริหารและการจัดการ - มหี ลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการทั้ง ๔ ดาน - สงเสรมิ ใหครูมีความเชยี่ วชาญดา นการจัด สอดคลอ งกบั บริบทของทองถิ่น ประสบการณ - การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกใหบ รกิ ารดา นส่ือ - จัดสภาพแวดลอ มและส่ือเพื่อการเรยี นรู อยาง เทคโนโลยีสารสนเทศ อปุ กรณเ พ่ือสนบั สนุนการจดั ปลอดภัย และพอเพยี ง ประสบการณ ครไู ดรบั การพัฒนาดานวชิ าชพี - กำหนดแผนการพฒั นาครูอยางชดั เจน ดานการจดั ประสบการณท่ีเนนเดก็ เปน สำคญั ดานการจดั ประสบการณที่เนนเดก็ เปนสำคัญ -เด็กมีพฒั นาการการอยางสมดลุ -จดั อปุ กรณส่ือการเรียนการสอนท่หี ลากหลาย -เดก็ เรยี นรู จากการเลนและปฏิบัตกิ จิ กรรม -พฒั นาเคร่ืองเลนสนามและระบบสาธารณูปโภค -มีบรรยากาศ สภาพหองเรียนเอือ้ ตอการเรยี นรู -จดั กิจกรรมสง เสริมเด็กเรียนรูการอยรู วมกนั -ประเมินผลเด็กดวยวธิ กี ารหลากหลาย รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 33

แผนงาน/แนวทางการพัฒนาเพ่อื ใหไ ดค ณุ ภาพท่ีสงู ข้ึน ๑. การจัดกจิ กรรมการเรียนรูทเี่ นน การพฒั นาผเู รยี นเปน รายบุคคลใหช ดั เจนขนึ้ ๒. การสง เสริมใหครเู ห็นความสำคัญของการจัดการเรยี นรูโดยเนนผเู รยี นเปนสำคญั การจัดทำการวจิ ัย ในชัน้ เรยี นเพ่อื พฒั นาผูเรียนใหสามารถเรยี นรไู ดเ ต็มศักยภาพ ๓. กาพัฒนาบคุ ลากรโดยสง เขา รับการอบรม แลกเปล่ียนเรยี นรูในงานทีไ่ ดร บั มอบหมาย ตดิ ตามผล การนำไปใชแ ละผลที่เกิดกบั ผูเรยี นอยางตอเน่อื ง ๔. การพัฒนาสถานศึกษาใหเปนสงั คมแหงการเรียนรูข องชมุ ชน ระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานระดบั คุณภาพ : ดี จุดเดน จุดควรพฒั นา ดา นคุณภาพของผเู รียน ดานคณุ ภาพของผูเรยี น -ผเู รยี นอา นหนงั สอื ออกและอานคลอ ง รวมทงั้ -ผเู รยี นในระดับชน้ั ป.๑ – ป.๓ ยงั ตอ งเรง พฒั นาดาน สามารถเขียนเพื่อการสอ่ื สารไดทุกคน สามารถใช การนำเสนอ การอภปิ รายและแลกเปลี่ยนเรยี นรูอยา ง เทคโนโลยีในการแสวงหาความรูไดดวยตนเอง สง ผล สมเหตสุ มผล และตองพัฒนาทกั ษะการแกป ญหาตาม ใหผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี นท่ีสูงขนึ้ สถานการณไดอยา งเหมาะสมผเู รียนในระดับช้ัน ม.๑ -ผูเ รียนมีสขุ ภาพรางกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทาง – ม.๓ ยังตอ งไดร ับการสงเสริมในดา นทัศนคติที่ดีตอ กายและนำ้ หนักสวนสูงตามเกณฑ มีระเบียบวนิ ยั จน ความเปน ไทยไมหลงใหลกับคานิยมตา งชาติ จนเกิด เปนเอกลักษณของสถานศึกษาเปน ทีย่ อมรับของ การลอกเลียนแบบ ทำใหล มื วัฒนธรรมอนั ดีงามของ ชุมชนโดยรอบในเร่อื งความมีวนิ ัย เคารพกฎกติกา ไทย มารยาทของสงั คม ดานกระบวนการบริหารและการจดั การ ดา นกระบวนการบริหารและการจดั การ -โรงเรยี นมกี ารบรหิ ารและการจดั การอยางเปน -เปด โอกาสใหผ ปู กครองไดมีสวนรวมในการเสนอ ระบบ ความคิดเหน็ ในการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาผเู รยี น -โรงเรียนไดใ ชเ ทคนคิ การประชมุ ท่ีหลากหลายวธิ ี -สรา งเครือขายความรวมมือของผูมสี วนเก่ียวของในการ จัดการศึกษาของโรงเรียนใหม ีความเขม แข็งมสี วนรว ม รบั ผดิ ชอบตอผลการจดั การศึกษา และการขบั เคล่ือน คุณภาพการจดั การศกึ ษา รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 34

แผนงาน/แนวทางการพัฒนาเพ่อื ใหไดค ุณภาพท่ีสูงขึ้น ๑. การจดั กิจกรรมการเรียนรูทเ่ี นนการพฒั นาผูเรยี นเปนรายบุคคลใหชัดเจนข้ึน ๒. การสงเสรมิ ใหครเู ห็นความสำคญั ของการจัดการเรียนรูโดยเนนผูเ รียนเปนสำคญั การจดั ทำการวจิ ัย ในช้ันเรยี นเพื่อพัฒนาผเู รียนใหสามารถเรียนรไู ดเตม็ ศักยภาพ ๓. กาพัฒนาบุคลากรโดยสงเขา รบั การอบรม แลกเปล่ยี นเรยี นรูในงานท่ไี ดรับมอบหมาย ติดตามผล การนำไปใชแ ละผลท่ีเกิดกบั ผูเรยี นอยา งตอเนอื่ ง ๔. การพฒั นาสถานศึกษาใหเปนสังคมแหง การเรยี นรขู องชมุ ชน รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 35

สว นท่ี 4 ภาคผนวก 1. ประกาศ เรื่อง การใชและกำหนดคา เปา หมายมาตรฐานการศึกษา ปการศึกษา 2563 (มถิ นุ ายน ๒๕๖๓) 2. ประกาศ เรอ่ื ง แตงตั้งคณะกรรมการประเมิน ตดิ ตาม และตรวจสอบผลการดำเนนิ งาน การประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ปก ารศึกษา 2563 3. คำส่งั แตงตัง้ ผรู ับผดิ ชอบงานการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ปการศึกษา 2563 (หลงั จากประกาศใชม าตรฐานการศกึ ษา กรกฎาคม ๒๕๖๓) 4. คำสัง่ แตง ตง้ั คณะจดั ทำรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 (ส้นิ ปการศึกษา ๒๕๖๓ เมษายน ๒๕๖๔) 5. ภาพกจิ กรรมดีเดน เกียรติบตั ร (ไมเ กิน 5 หนา ) รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศกึ ษา 2563 36

ประกาศโรงเรยี นบา นโนนบากมติ รภาพท่ี๘๓ เรอ่ื งการใชมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดบั ปฐมวัยและระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาพ.ศ. ๒๕๖3 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารเรอื่ งใหใชม าตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานและ ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานศูนยก ารศึกษาพเิ ศษ ฉบับลงวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖1 ----------------------------------------------------------- โดยที่มีประกาศใชกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษาพ.ศ. ๒๕๖๑นโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษา ในทศวรรษท่ีสองท่ีกาหนดเปาหมายและยุทธศาสตรในการพฒั นาคณุ ภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกับมนี โยบายใหป ฏริ ูประบบการประเมนิ และการประกันคุณภาพภายในและภายนอกของทุกระดับกอน จะมีการประเมินคุณภาพในรอบตอ ไปจำเปน ตองปรับปรงุ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานใหส อดคลองกันจงึ ให ยกเลกิ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเรือ่ งใหใชมาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัยเพือ่ การประกนั คุณภาพภายใน สถานศกึ ษาลง วนั ที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื งใหใ ชมาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพ่อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาลง วันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ และประกาศ กระทรวงศึกษาธิการเรือ่ งใหใ ชม าตรฐานการศึกษาศนู ยการศึกษาพิเศษ เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาลง วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง ชาติพ.ศ.๒๕๔๒และที่แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท๒ี่ ) พ.ศ. ๒๕๔๕มาตรา๙ (๓) ไดกาหนดการจดั ระบบโครงสรางและกระบวนการจัดการศึกษาใหยึดหลักทส่ี าคญั ขอ หน่ึงคอื มกี ารกาหนด มาตรฐานการศึกษาและจดั ระบบประกันคุณภาพการศึกษาทกุ ระดับและประเภทการศึกษาโดยมาตรา๓๑ให กระทรวงมีอานาจหนา ทีก่ ากับดูแลการศึกษาทกุ ระดับและทุกประเภทกาหนดนโยบายแผนและมาตรฐาน การศึกษาและมาตรา๔๘ใหหนวยงานตน สังกดั และสถานศึกษาจดั ใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถ ือวาการประกนั คณุ ภาพภายในเปนสวนหนึ่งของการบริหารการศกึ ษาท่ีตองดำเนินการอยางตอเนื่องโดย มีการจดั ทำรายงานประจำปเ สนอตอหนวยงานตน สงั กัดหนวยงานทเี่ กย่ี วของและเปด เผยตอสาธารณชน เพ่ือ นำไปสูก ารพฒั นาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและเพ่ือรองรับการประกันคณุ ภาพภายนอก ฉะน้นั อาศยั อำนาจตามความในมาตรา๙(๓) มาตรามาตรา๔๘แหง พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา๕ มาตรา ๓๑ แหง พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่งึ แกไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง ชาติ (ฉบับท่๒ี ) พ.ศ. ๒๕๔๕ประกอบกับมตคิ ณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานใน การประชมุ ครัง้ ที่ ๒ เม่ือวันที่ ๑๗ สงิ หาคม ๒๕๖๑ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ืองใหใชม าตรฐาน การศึกษาระดับปฐมวัยระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานและระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานศนู ยการศกึ ษาพิเศษฉบบั ลงวนั ท่ี ๖สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการโรงเรยี นบานโนนบากมติ รภาพท๘ี่ ๓ จึงปรับมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาระดับปฐมวยั และระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานโดยความเหน็ ชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐานและการมีสวนรว มของผูเกีย่ วขอ งทง้ั บุคลากรทุกคนในโรงเรยี นผูปกครอง และประชาชนในชุมชนใหเหมาะสมและสอดคลองกนั เพ่ือนาไปสูก ารพฒั นาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาการ ประเมนิ คุณภาพภายในและเพื่อรองรับการประเมนิ คุณภาพภายนอกโรงเรียนบา นโนนบากมติ รภาพท๘่ี ๓ จึง รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 37

ประกาศใชม าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวัยและระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐานตามเอกสารแนบทาย ประกาศนีเ้ พื่อเปนเปา หมายในการพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยและระดบั การศึกษาข้ัน พืน้ ฐานและการประเมินคุณภาพภายใน ประกาศ ณ วันท่ี 19 มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖3 (นายคำผล ถึงแสง) ผอู ำนวยการโรงเรยี นบา นโนนบากมิตรภาพที๘่ ๓ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 38

มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั แนบทายประกาศโรงเรยี นบานโนนบากมติ รภาพที่83 เรือ่ ง การใชม าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวยั และระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖3 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง ใหใ ชม าตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย ระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ฉบับลงวนั ท่ี ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ----------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖3 มจี ำนวน ๓ มาตรฐาน ไดแก มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท่เี นน เด็กเปนสำคัญ แตละมาตรฐานมีรายละเอยี ดดงั น้ี มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเด็ก ๑.๑ มีพฒั นาการดานรางกาย แข็งแรง มีสุขนิสยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได ๑.๒ มีพฒั นาการดานอารมณ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณได ๑.๓ มีพัฒนาการดานสงั คม ชว ยเหลอื ตนเอง และเปนสมาชิกที่ดีของสังคม ๑.๔ มีพัฒนาการดา นสตปิ ญ ญา สื่อสารได มีทักษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหาความรูไ ด มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๒.๑ มีหลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการทัง้ ๔ ดา น สอดคลอ งกบั บรบิ ทของทองถิน่ ๒.๒ จดั ครใู หเ พียงพอกับช้ันเรียน ๒.๓ สง เสริมใหครูมีความเช่ียวชาญดานการจดั ประสบการณ ๒.๔ จดั สภาพแวดลอ มและสื่อเพื่อการเรยี นรู อยา งปลอดภยั และเพยี งพอ ๒.๕ ใหบริการสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรยี นรูเพ่อื สนบั สนนุ การจัดประสบการณ ๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปดโอกาสใหผเู กย่ี วของทกุ ฝายมีสว นรวม มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท ่ีเนน เดก็ เปนสำคญั ๓.๑ จดั ประสบการณท ่ีสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการทุกดา นอยางสมดุลเต็มศกั ยภาพ ๓.๒ สรา งโอกาสใหเด็กไดรับประสบการณตรง เลน และปฏบิ ตั ิอยา งมีความสุข ๓.๓ จดั บรรยากาศทีเอื้อตอการเรยี นรใู ชส ่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั วัย ๓.๔ ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณแ ละพัฒนาเด็ก รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศึกษา 2563 39

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน แนบทายประกาศโรงเรียนบา นโนนบากมติ รภาพที๘่ ๓ เรื่อง การใชมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖3 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง ใหใชม าตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ฉบบั ลงวันท่ี ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ----------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ.๒๕๖3 มีจำนวน ๓ มาตรฐาน ไดแก มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผูเ รียน ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเ รียน ๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคของผเู รยี น มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน ผูเรียนเปนสำคัญ แตละมาตรฐานมีรายละเอียดดงั น้ี มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผูเรียน ๑.๑ ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผเู รียน ๑) มีความสามารถในการอาน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ๒) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห คิดอยางมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ น ความคดิ เห็น และแกป ญหา ๓) มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม ๔) มคี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๕) มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ๖) มคี วามรู ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติที่ดีตอ งานอาชีพ 7) คาเฉลีย่ ผลการทดสอบระดับชาติของผูเรยี น ๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคของผูเรยี น ๑) การมคี ณุ ลักษณะและคา นิยมท่ีดตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด ๒) ความภูมใิ จในทองถ่นิ และความเปนไทย ๓) การยอมรับทจี่ ะอยรู วมกันบนความแตกตา งและหลากหลาย ๔) สขุ ภาวะทางรางกาย และจติ สงั คม มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๒.๑ มเี ปาหมายวสิ ยั ทศั น และพนั ธกจิ ทสี่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน ๒.๒ มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ๒.๓ ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการ ทีเ่ นน คณุ ภาพผเู รยี นรอบดานตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา และทุกกลุมเปาหมาย ๒.๔ พัฒนาครู และบคุ ลากรใหม ีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี ๒.๕ จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพ และสงั คมท่ีเออื้ ตอ การจัดการเรียนรูอยางมีคุณภาพ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 2563 40

๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือสนับสนนุ การบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นนผูเรยี นเปน สำคัญ ๓.๑ จัดการเรยี นรผู า นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนำไปประยุกตใชใ นชีวติ ได ๓.๒ ใชส ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรยี นรทู ี่เอื้อตอการเรยี นรู ๓.๓ มกี ารบรหิ ารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก ๓.๔ ตรวจสอบ และประเมนิ ผเู รยี นอยางเปน ระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเ รยี น ๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู และใหข อมูลสะทอ นกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปก ารศกึ ษา 2563 41

ประกาศโรงเรยี นบานโนนบากมิตรภาพที่ ๘๓ เรอ่ื ง กำหนดคาเปา หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั และระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน เพอ่ื การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ------------------------------------------------- โดยทมี่ ปี ระกาศใชกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวธิ ีการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๕๓ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองท่ีกำหนดเปา หมายและยทุ ธศาสตรใ นการพัฒนาคุณภาพคนไทย และการศกึ ษาไทยในอนาคต นโยบายปฏริ ปู ระบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา ประกาศ คณะกรรมการการประกนั คุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน เร่ืองกำหนดหลักเกณฑและแนวปฏิบัติ เกีย่ วกบั การประกันคณุ ภาพภายในระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประกอบกับประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการเร่ือง ใหใชม าตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพอื่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ โรงเรยี นบา นโนนบากมิตรภาพท่ี83 และปรบั มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน จากการมสี วนรว มของผูเ กี่ยวของ ทง้ั บุคลากรทุกคนในโรงเรยี น ผูป กครอง และประชาชน ชุมชนให เหมาะสมและสอดคลองกัน เพ่อื นำไปสูก ารพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน การ ประเมินคุณภาพภายในและรองรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานในการประชมุ ครั้งที่ ๓/๒๕๖3 เม่อื วันท่ี ๑9 มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๖3 เพอื่ ใหการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบานโนนบากมิตรภาพท่๘ี ๓มีคุณภาพและมาตรฐานจงึ กำหนดคา เปาหมายการพฒั นาคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐานตาม เอกสารแนบทายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันท่ี ๑9 มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๖3 (นายคำผล ถึงแสง) ผูอ ำนวยการโรงเรียนบานโนนบากมติ รภาพที่๘๓ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 2563 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook