ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 99 หากหมูป่ามากินข้าว ให้บนบานเจ้าที่ให้ช่วยคุ้มกันรักษา พร้อมกับให้บนบานว่า หลังจากเก็บเกี่ยวข้าวเรียบร้อยแล้วจะบวงสรวง เซน่ ไหวด้ ว้ ยสิ่งใดกใ็ หร้ ะบไุ ป หากหนปู ่ามากดั กนิ ขา้ ว ชาวนาจะบนบาน “ท้าวเจด็ หมนู ” ขอใหช้ ่วยยบั ยั้งหนปู ่าทมี่ ากดั กนิ ขา้ ว หากปลวกมากัดกินข้าว ชาวนาจะบนบาน “ท้าวเจ็ดคุก” ขอใหช้ ว่ ยยบั ย้ังไมใ่ หป้ ลวกมากัดกินขา้ วไร่ หากลิงป่ามากัดกินข้าว ชาวนากจ็ ะบนบาน “พระยาชมพู” ขอให้ช่วยยับยง้ั ลิงป่าที่มากดั กินข้าวไร่ หากช้างป่ามากินข้าวไร่ ไม่ว่าตัวเดียวหรือท้ังโขลงก็ตาม ชาวนาจะบนบาน “หมอเฒ่าเจ้าช้าง” แต่จะแก้บนแตกต่างออกไป คอื จะต้องบนให้กนิ ขา้ วตม้ ๑ หาม หลงั จากท่ีเกย่ี วขา้ วผ่านไปแล้ว (เม่อื ถึง เวลาแกบ้ น ชาวนาจะต้มขา้ วเพียงถว้ ยเดยี วแลว้ ช่วยกันหามไปแก้บน)
100 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย พระแม่โพสพ : ศูนยร์ วมความเชอื่ ความศรัทธา ของชาวนา ความเชื่อในเรื่องพระแม่โพสพนับว่าเป็นวัฒนธรรมร่วมกัน ของชาวนาในประเทศไทย ซึ่งปรากฏรูปแบบความเช่ือและพิธีกรรม ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั พระแมโ่ พสพในทกุ ทอ้ งทขี่ องประเทศไทย ทมี่ ที ง้ั ความเหมอื น และความแตกต่างในรายละเอียดกันออกไป ในที่น้ีจะขอกล่าวเฉพาะ ความเชอื่ และพิธกี รรมในพนื้ ที่ภาคใตเ้ ท่านน้ั ต�ำนานของแม่โพสพในส�ำนวนภาคใต้7 พบว่ามีหลายที่มา ด้วยกัน ต�ำนานแรกกล่าวว่าแม่โพสพเดิมเป็นเทพอัปสรชื่อว่า “โภควดี” เมอื่ สนิ้ บญุ แลว้ ไดอ้ ธษิ ฐานใหร้ า่ งกายกลายเปน็ แผน่ ดนิ กระดกู เปน็ ขุนเขา ขนเป็นหญ้า ผมเป็นไม้ชุมแสง เลือดและน้�ำตาเป็นผืนน�้ำ น้�ำนมจาก ถันข้างซ้ายเป็นข้าวเหนียว และน้�ำนมจากถันข้างขวาเป็นข้าวเจ้า น�้ำนม ของนางโภควดีนี้เองคือแม่โพสพวิญญาณแห่งข้าว แม่โพสพได้สร้าง ความอุดมสมบูรณ์มอบข้าวเป็นอาหารแก่มนุษย์สืบมา จนถึงสมัย พระกัสสปพุทธะ ผู้คนต่างพากันยกย่องพระกัสสปพุทธะจนลืมพระคุณ ของแม่โพสพ แม่โพสพเกิดความน้อยใจชวนพระเพ็ดหนูกรรณ (พระวษิ ณกุ รรม) หนไี ปอยทู่ เ่ี กาะกลางมหาสมทุ ร สง่ ผลใหข้ า้ วไมเ่ จรญิ งอกงาม ถงึ ออกรวงกล็ บี เสยี ทงั้ สน้ิ ผคู้ นตา่ งพากนั เดอื ดรอ้ น จนพระอนิ ทรบ์ ญั ชาให้ พระมาตลุ ไี ปเชญิ แมโ่ พสพกลบั มา แตน่ างไมย่ อมกลบั มา แตม่ อบขา้ วใหแ้ ก่ พระมาตลุ ีเอาไปปลูกขยายพันธ์ุตอ่ ไป รวมทั้งให้ท�ำขวญั ขา้ วทกุ ปี 7 อุดม หนูทอง, “แม่โพสพ,” สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ เลม่ ท่ี ๗ (๒๕๒๙): ๒๘๗๓ - ๒๘๗๔.
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 101 อีกต�ำนานกล่าวว่าเม่ือเทพธิดาองค์หน่ึงสิ้นอายุขัยแล้ว ปรารถนาจะให้ทานแก่มนุษย์ จึงได้เหาะลงมาตกเบื้องหน้าฤๅษีตาไฟ ดว้ ยญาณอนั แกก่ ลา้ ของฤๅษตี าไฟเมอื่ ลมื ตาเพง่ มองไปนางกส็ น้ิ ใจกลายเปน็ ธาตหุ นิ ฤๅษตี าไฟจงึ ไดเ้ ขา้ ญาณกไ็ ดร้ แู้ จง้ โดยตลอด จงึ ไดป้ ระพรมนำ้� มนต์ ไปท่ธี าตหุ นิ นัน้ นางกก็ ลายเป็นรวงขา้ ว ฤๅษตี าไฟจงึ ไดน้ ำ� เอาไปปลกู และ ใช้เป็นอาหารเลี้ยงมนุษยส์ ืบมา แมโ่ พสพมพี ่ีเล้ยี ง ๔ คน ช่อื วา่ นางสวุ รรณดารา นางจิตรา นางสุชาดา และนางสุธรรมาบ้าง หรือบางกระแสก็กล่าวว่าช่ือ นิลโพสี พระมาตุลี เพ็ดหนูกรรณ และนางไพสาลีบ้าง มีปลากรายเป็นพาหนะ ในห้วงสมุทร ขณะท่ีอยู่ในโลกมนุษย์จะเท่ียวไปตามบ้านเรือนของผู้คน และสามารถเปล่ียนรา่ งไดต้ ามใจปรารถนา เปน็ คนชรา เปน็ หญงิ สาวบ้าง แมก้ ระท่ังกลายเป็นกบเขยี ด ซ่งึ จะพบไดใ้ นนทิ านพื้นถ่นิ ต่าง ๆ มากมาย ชาวนาในภาคใต้เคารพยำ� เกรงพระแม่โพสพมาก จึงปรากฏ พิธีกรรมและความเช่ือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแม่โพสพไว้อย่างมากมาย ในท่นี จ้ี ะขอยกตวั อยา่ งมาพอสงั เขป ดงั น้ี พิธีรวบขวัญข้าว เป็นข้ันตอนหนึ่งของพิธีท�ำขวัญข้าว จะเรมิ่ ประกอบพธิ เี มอื่ ขา้ วในนาในไรส่ กุ พอทจี่ ะเกบ็ เกย่ี วไดแ้ ลว้ เจา้ ของนา จะไปหาหมอชาวบา้ นเพอื่ ดฤู กษย์ ามในการทำ� ขวญั ขา้ ว พรอ้ มกบั หมากพลู ๑ คำ� เพือ่ บูชาครูของหมอชาวบ้าน จากนัน้ เจา้ ของนาจะไปหาต้นไม้ใบไม้ ตามต�ำราผูกข้าวซึ่งมีอยู่ประมาณ ๓๐ ชนิด ตามก�ำลังท่ีจะหาได้ เช่น ต้นอ้อย ใบระก�ำ กิ่งไม้หว้า ก่ิงไม้ฝร่ัง ก่ิงไม้ก�ำช�ำ (มะหวด) ต้นน�้ำข้าว ตน้ หมอหลงั ออ่ น ตน้ พรมคด ตน้ รม่ ขา้ ว ตน้ หนงั ใหญ่ ตน้ หนงั เลก็ ตน้ ชมุ แสง ไม้แดง ต้นชุมเห็ดใหญ่ และต้นเท้ายายม่อม เป็นต้น เมื่อหามาได้แล้ว
102 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย ถงึ วนั รวบขวญั ขา้ วกเ็ ตรยี มถว้ ยขา้ วขวญั ใสข่ า้ วสกุ ถว่ั งา กลว้ ย ปลาสลาด ๑ ตวั ขนมแดง ขนมขาว อยา่ งละถว้ ย นอกจากน้ียังมธี ูปเทยี น หวายพน เชือกปอ ด้ายขาว ด้ายแดง และมีไม้ไผ่ทั้งล�ำยาวประมาณ ๑.๕๐ เมตร ด้านหน่ึงผ่าเป็นซ่ี ๆ ส�ำหรับใส่ถ้วยข้าวขวัญได้ น�ำไปมอบให้หมอท�ำพิธี ในนาขา้ วหรือไรข่ ้าวไร่พร้อมกับน้�ำ ๑ ขนั หมอขวญั จะเรม่ิ พธิ โี ดยรวบกอขา้ วเขา้ ดว้ ยกนั ประมาณ ๓ กอ มัดด้วยเชือกปอและเส้นด้าย เสร็จแล้วต้ังหมากพลู จุดธูปเทียนบูชา แลว้ ตง้ั นะโมขนึ้ สามจบ กลา่ วบทชมุ นมุ เทวดา กลา่ วบทเชญิ ขวญั จำ� แนกชอื่ เครอ่ื งบชู าและพชื พรรณทนี่ ำ� มาตามตำ� รา เสรจ็ แลว้ จงึ ผกู ขวญั ดว้ ยเสน้ ดา้ ย แล้วเริ่มเก่ียวข้าวให้พอสังเขปเป็นอันเสร็จพิธี จากน้ันเจ้าของนาจึงเร่ิม เก็บเกี่ยวได้ ในส่วนของขา้ วไร่ ชาวนาจะถอื ปฏบิ ัตอิ ย่างเคร่งครดั วา่ กอ่ น จะลงมือเก่ียวข้าวจะต้องท�ำพิธีรวบขวัญข้าวเสียก่อน ไม่เช่นนั้นจะท�ำให้ แมโ่ พสพตกใจจะเปน็ อนั ตรายทพี่ ชื ผล และมคี วามเชอ่ื วา่ เมอ่ื เรมิ่ เกบ็ เกยี่ ว แลว้ จะตอ้ งเกบ็ เกย่ี วตดิ ตอ่ กันทุกวนั หากมีการเว้นถอื ว่าขาดขวญั จะต้อง หาหมอมาทำ� การชกั ขวญั ใหมเ่ รยี กวา่ “แตง่ ขวญั ” และหากในชว่ งยงั เกยี่ วขา้ ว ไม่หมดมีใครเดินกินผักผลไม้บริเวณไร่ก็ดี มีสัตว์เข้ามากัดกินข้าวก็ดี ต้องหาหมอมาแต่งขวัญเชน่ เดียวกนั การรวบขวญั ขา้ วในไรข่ า้ วไร่ จะนง่ั รวบกอขา้ วประมาณ ๓ กอ มารวมกันไว้ ใช้ใบข้าวรวบกอข้าวเข้าด้วยกัน พร้อมกับร่ายคาถาว่า “โอมกระยวบ รวบแมก่ ไู ว้ อยา่ ใหแ้ มก่ ไู ปไหนได้ โอมมน่ั แมก่ มู น่ั โอมคงแม่ กคู ง คงแมค่ งอ”ึ แลว้ ควกั เอาดนิ มาอดั ไวก้ ลางกลมุ่ ขา้ วทผี่ กู มดั นน้ั พรอ้ มกบั รา่ ยคาถาวา่ “โอมแกกาย แกบังบายกายนางธรณี นางธรณีไหว ขวญั แมก่ ู อยา่ ไหว นางธรณคี ลา ขวัญแมก่ อู ย่าคลา ใครเรียกใครหาขวญั แมก่ ูอยา่ ไป
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 103 โอมมน่ั แมก่ ูม่นั โอมคงแมก่ ูคง คงแมค่ งอึ” เรยี กวา่ คาถาจบั ขวัญ จากนั้น จงึ เรม่ิ เกยี่ วขา้ ว ๓ รวง แตล่ ะรวงตอ้ งวา่ คาถา “โอมวดิ หวาย แมก่ บู ายหนา้ มา หันหลงั สู่ปา่ หันหน้าสู่แม”่ เมือ่ เก่ยี วขา้ วได้ครบ ๓ รวงแลว้ แยกขา้ วเปน็ สองแง่ แงห่ นงึ่ ปาไปตรงหนา้ อกี แงป่ าขา้ มหวั ไปขา้ งหลงั พรอ้ มกบั วา่ คาถา ดังน้ี “พทุ ธงั บงั ตาผหี ลวง เราไดร้ วง ผหี ลวงไดฟ้ าง”8 หลังจากเกบ็ เก่ยี ว ข้าวเสร็จแต่ละวันก่อนกลับบ้านต้องท�ำเหมือนกับตอนเร่ิมลงมือเก่ียวข้าว จนกวา่ จะเก่ยี วข้าวหมดไร่ เม่ือเก่ียวข้าวหมดไร่แล้ว จึงมาท�ำการเก่ียวขวัญข้าว ทร่ี วบขวญั ไว้ โดยเกยี่ วดว้ ย “แกะ”9 ใหไ้ ด้ ๓ เลยี ง10 โดยเรม่ิ เกย่ี วจากรมิ ขวญั เข้าไป แลว้ รวบรวมเคร่ืองขวญั กลับบา้ น แตเ่ คร่อื งขวัญจ�ำพวกใบไมก้ ่ิงไม้ จะน�ำกลับบ้านเฉพาะไม้พรมคด ขณะน�ำกลับบ้านก็จะว่าคาถา “ไปบ้าน ไปเรอื น สหู่ อ้ งท้องนา มะมาแม่กมู า อมุ าแมก่ ูมา อา คจั ฉายะ อา คัจฉาหิ มานีแ้ ม่กมู า” 8 สนิท พลเดช, “รวบขวัญข้าว,” สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ เล่มที่ ๘ (๒๕๒๙): ๓๐๐๔. 9 แกะ เป็นเครอื่ งมอื เกย่ี วขา้ วของภาคใต้ ในเขตจงั หวดั ชุมพรและ สุราษฎรธ์ านีเรียกวา่ มนั รปู ร่างคลา้ ย ๆ เรอื มีสว่ นประกอบส�ำคญั ๓ สว่ น คือ กระดานแกะ ตาแกะ และหลอดแกะหรือด้ามแกะ เมอ่ื จะใชแ้ กะเกี่ยวขา้ วชาวนา จะเอาแกะใส่เข้าในระหว่างน้ิวกลางกับนิ้วนาง ใช้น้ิวช้ีกับหัวแม่มือจับรวงข้าว เอามาทาบกับคมแกะ ใช้คมแกะตัดทคี่ อรวงข้าวแต่ละรวงไปจนหมด 10 เลยี งขา้ ว หรอื ขา้ วเลยี ง คอื ขา้ วรวงทใี่ ชแ้ กะเกยี่ วเอาแคค่ อรวง แลว้ นำ� มาผูกมดั รวมกันเป็นกำ� ๑ ก�ำ เรียกว่า ๑ เลยี ง ข้าว ๑ เลียงจะมีน�้ำหนกั ประมาณ ๒ กโิ ลกรัม
104 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย ปัจจุบันน้ีพิธีรวบขวัญข้าวแทบจะไม่มีชาวนาถือปฏิบัติ กันอีกต่อไป จะมีถือปฏิบัติอยู่เพียงสังเขปและลดทอนขั้นตอนออกไป เสียมาก พธิ ที ำ� ขวญั ขา้ ว เปน็ ขน้ั ตอนทชี่ าวนาภาคใตจ้ ะกระทำ� ตอ่ จาก พิธีรวบขวัญข้าว โดยจะเร่ิมท�ำพิธีท�ำขวัญข้าวหลังจากท่ีได้เก็บเกี่ยวและ ขนข้าวข้ึนยุ้งฉางเรียบร้อยแล้ว โดยมากนิยมท�ำพิธีกันในเดือน ๖ หรือ เดือน ๙ ถ้าเป็นข้างข้นึ ให้ใชว้ นั คี่ เช่น ขน้ึ ๗ ค่�ำ ๑๓ ค่�ำ เป็นต้น หากเปน็ ข้างแรมให้ใช้วันคู่ เช่น ๔ ค่�ำ ๑๒ ค่�ำ เป็นต้น โดยมากมักนิยมท�ำกัน ในวนั ธรรมสวนะ โดยเฉพาะอย่างย่ิงคนื วันเพ็ญ และตอ้ งไม่เลือกเอาวนั ท่ี ถูกกระ (วนั ทต่ี �ำราฤกษย์ ามระบวุ า่ ถา้ หวา่ น ปกั ด�ำ หรอื เกบ็ เกย่ี วในวนั นนั้ จะถูกผีกระสือกิน) บางแห่งก็นิยมท�ำพิธีในเวลานกชุมรัง (พลบค่�ำ) ในวนั องั คาร วนั พฤหสั บดี และวนั เสาร์ เวน้ วนั อาทติ ย์ วนั จนั ทร์ วนั พธุ วนั ศกุ ร์ วันพระ และวันทักษิณ (วันข้างขึ้นหรือข้างแรมที่เลขวันตรงกับเลขเดือน เชน่ เดอื น ๙ แรม ๙ คำ่� ) โดยหมอขวญั จะเตรยี มขนมขาว ขนมแดง ขนมโค ขา้ วเหนียว ขา้ วเจ้า กลว้ ย อ้อย ถว่ั งา กงุ้ ปลาสลาด บายศรี หมากพลู ๓ ค�ำ เทียน ๑ เล่ม แหวน ถ้วยใสข่ ้าวขวัญ สายสิญจน์ ลูกเดือย ดอกไม้ และธปู (หมอบางคนจะเพิม่ เอาเขาวัวจากวัวท่ีใช้ทำ� นาจนกระทั่งตายลง) ในการท�ำพิธีท�ำขวัญข้าว เริ่มด้วยหมอขวัญจะน�ำเอา เครื่องเซ่นต่าง ๆ วางบนยุ้งข้าว วงสายสิญจน์รอบบายศรีและเคร่ืองเซ่น ในพธิ ี แลว้ ประนมมอื ขนึ้ สวดบชู าพระรตั นตรยั ชมุ นมุ เทวดา แหลบ่ ททำ� ขวญั ซึ่งมีเนื้อหากล่าวถึงความเป็นมาของข้าว พันธุ์ข้าว พระคุณของแม่โพสพ แลว้ กลา่ วคาถาเชิญขวัญข้าว จบแล้วสวดชยนั โต เพ่อื อวยพรแก่แมโ่ พสพ แลว้ จงึ วา่ คาถาปดิ ประตหู นา้ ตา่ ง เพอื่ ใหแ้ มโ่ พสพอยปู่ ระจำ� ยงุ้ ขา้ ว เปน็ อนั เสร็จพิธี ส่วนถ้วยขวัญและข้าวขวัญให้เก็บไว้บนกองข้าวตลอดทั้งปีน้ัน
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 105 ห้ามเคลอ่ื นย้าย แตบ่ างตำ� รากว็ ่าให้เคลื่อนยา้ ยได้หลงั เสรจ็ พธิ ีแล้ว ๓ วนั ส�ำหรับบทท�ำขวัญข้าวในภาคใต้นั้นจะแต่งด้วยฉันทลักษณ์ ๓ แบบดว้ ยกนั คอื กาพย์ รา่ ย และกลอนเพลงบอก สำ� นวนท่ีเป็นกาพย์ และรา่ ยมกั จะเปน็ บททม่ี มี าแตเ่ ดมิ เปน็ ของเกา่ ทจ่ี ำ� สบื ตอ่ กนั มา สว่ นทเี่ ปน็ กลอนเพลงบอกนั้นมักจะเป็นกลอนด้นท่ีหมอขวัญซ่ึงเป็นเพลงบอก รอ้ งดน้ สดตามที่ อดุ ม หนทู อง11 กลา่ วไวว้ า่ “บททำ� ขวญั ขา้ วสำ� นวนกาพย์ หลาย ๆ สำ� นวน มขี อ้ ความพอ้ งกนั อยตู่ อนหนง่ึ นา่ จะเปน็ สำ� นวนเกา่ ของเดมิ แมภ้ ายหลงั หมอมากขนึ้ และแตง่ เสรมิ ขน้ึ แตข่ องเดมิ กไ็ มไ่ ดท้ ง้ิ เพยี งผดิ เพย้ี น ถ้อยค�ำกันไปบ้างก็ถือเป็นธรรมดา ส�ำหรับการสืบทอดด้วยการจ�ำเช่นน้ี” ซง่ึ มีเนอื้ ความที่พ้องกนั ของบททำ� ขวัญขา้ วทกุ สำ� นวนในภาคใต้ ดงั นี้ “วันน้ีวันดี เป็นศรีพระยาวัน ลูกจักท�ำขวัญ จัดสรรของดี แต่ล้วนข้าวของ แก้วแหวนเงินทอง หมากพลูบุหรี่ กล้วยอ้อยถ่ัวงา แตงกวามากมี ทุกสิ่งใส่ที่ แต่งไว้แม่เสวย อีกทั้งผลไม้ ลูกหามาไว้ ให้แม่ทรามเชย ชุมเห็ดชุมแสง ชมพู่แม่เอย ผลไม้ ยงั เหลย น้�ำขา้ วกำ� ชำ� อีกทัง้ เพาใหญ่ ด้ายแดงข้าวด�ำ กล้วยอ้อยพรมคด จัดหามาหมด ไม้หว้าไม้ก�ำ ย่านเคาประจำ� ราชภูมพิ ฤกษา ลกู แตง่ ไว้ถา้ มารดา ด�ำเนิน โอ้แม่โพสพ ลูกจักเคารพ เรียกแม่คิ้วเหิน แม่ทองรอ้ ยช่งั มาฟงั ลกู เชญิ ฟงั แลว้ ดำ� เนนิ เชิญมา แม่มา...”12 11 อุดม หนูทอง, “ทำ� ขวญั ขา้ ว,” สารานกุ รมวฒั นธรรมภาคใต้ เลม่ ท่ี ๔ (๒๕๒๙): ๑๕๔๑. 12 เรอ่ื งเดียวกนั , หนา้ เดิม.
106 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย ในที่น้ีผู้เขียนขอยกตัวอย่างบทท�ำขวัญข้าวเพื่อประกอบ การเรยี บเรยี งคร้งั นี้ ๒ ส�ำนวน ทีเ่ ป็นบทแพรห่ ลายมากในภาคใต้ ดงั นี้ ส�ำนวนท่ี ๑ ประนมกรชลุ ี ก้มเกลา้ ดุษฎี พร่งั พรจนั ทร์จบ ลูกจะขอท�ำขวญั พระแมโ่ พสพ พระทาสจี บ ท่ัวพื้นภวู ดล แมน่ ลี ยะภสู ี แม่โพชสาลี พระแม่โพสพ ลกู ยกกรไหว ้ ท่ัวแดนแผน่ ภพ ขวัญแม่อย่าหลบ อยูใ่ นคงคา เชิญเถิดแม่กู้มา มาสร้างกศุ ล ผลพระศาสนา หน่อพระพุทธา ธคิ ุณของเรา ทำ� ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ขวญั แมก่ มู้ าโปรด อยู่ในหลังเขา จิตตะสาคร ซ่อนกายหายเงา ปลาหลาดสำ� เภา รับแมก่ ู้ขึ้นมา โฉมแม่บงั อร มาแตน่ าดอน นาลึกนนั้ หนา ทัง้ นาก็ต่นื ขอเชญิ แม่กู้มา โปรดเกล้าตวั ขา้ อยา่ ใหโ้ หยเหียว อย่าตื่นตกใจ แกแ่ กะแก่เคยี ว อย่าจรเรเ่ ทยี่ ว ท้ิงสุกเสียหรา วันน้ีลูกแตง่ ข้าวหนมต้มแกง สรรพเครอื่ งนานา พรัง่ พรอ้ มส้นิ เสร็จ สำ� เร็จไวถ้ ้า พระภูมเิ ทวา มาเอาใจลง ลกู ทำ� ขวัญข้าว พระยานาคเทา้ มาชว่ ยบำ� บดั ถ้าขวัญอยู่ราก ข้นึ มาอย่างง อยเู่ มลด็ รวงทรง อยา่ มีลืมเลย มงคลเสร็จสรรพ ผา้ ขาวรองรับ หนอ่ ขวญั แมเ่ อย ขอเชิญแม่กู้มา อยูบ่ นเพงิ เขนย ขอลูกทรามเชย
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 107 เชิญมาแมก่ ้มู า หอมฟงุ้ ตลบ ขวัญแมอ่ ยจู่ บ ทวั่ แปดทศิ า อย่าช้าเพิงเพนิ เร่งดำ� เนินมา โปรดเกลา้ ตัวข้า อาคัจฉัยยะ อาคัจฉาหิ มาหนแิ มก่ มู้ า กสุ ลาธมั มา อกสุ ลาธัมมา อพั พะยากะตาธมั มา มาแมก่ ้มู ามามะ13 และอีกส�ำนวนท่ีจะขอยกตัวอย่าง เป็นบทท�ำขวัญที่มี การกล่าวถึงพันธุ์ข้าวพื้นเมืองในภาคใต้ สะท้อนให้เห็นแหล่งความรู้เร่ือง ข้าวได้อย่างน่าสนใจ ข้าวแต่ละพันธุ์จะมีลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะ กนั ออกไป ดังน้ี ส�ำนวนที่ ๒ แกล้งส่งขวัญมา นางหอมนางหงส์ เชิญแม่โฉมยง นางขาวจงกรม ข้ามโพดลกู ปลา ชอ่ ปริงชอ่ พรา้ ว เชญิ มาเถดิ เจา้ นางทองรวงรี แม่นลิ ภสู ี หนว่ ยเขอื นางปอง นางหอมประจำ� ไขม่ ดลิน้ คลาน จกุ เทยี นหอมดี ข้าวยี่รวงด�ำ นางหงสส์ ่งรส ชาวขา้ วยา่ นไทร ขาวประแจหอมหวาน ขา้ วชอ่ ไมไ้ ผ่ ขา้ วยอนคร รวงใหญบ่ ่หย่อน ดาวเรืองเล้าตาล ยงั ขา้ วนัน้ เหลย รวงแดงปรากฏ หนว่ ยแตงนา่ เชย รวงงามกระไรเหลย เชญิ มาแมเ่ อย เชญิ ข้าวยา่ นไทร รวงงามกระไร ขา้ วปากนกนแ้ี ล เทีย่ งแทง้ ามงอน 13 ปาน แก้วทองดี อ้างใน วิมล ด�ำศรี, วัฒนธรรมข้าวและ พลังอ�ำนาจชมุ ชนรอบทะเลสาบสงขลา, หนา้ ๘๙ - ๙๐.
108 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย รวงกองเปน็ ก้อน ขา้ วหลามคลองพนู ข้าวชอ่ ไขเ่ ป็ด ขา้ วรวงงามเสร็จ เกบ็ ไม้รู้เหอ้ื ง ข้าวภูเขาทอง เสดจ็ มานองเนือง เชิญมาอย่าเออ้ื ง ขา้ วโพดสาลี ข้าวตนี นกทงู กะรวงงามดี เชิญมาทง้ั นี้ ขา้ วแมงดาลาย ขา้ วทรายข้าวเล่า เชญิ มาเถิดเจา้ ท�ำขวัญให้สบาย ยังข้าวกำ� พฤกษ์ ลกู นกึ ไมว่ าย เชิญมาเล่าไซร ้ ดอกออ้ พลอยพฤกษ์ เชญิ ข้าวไม่ตาก สีแมง่ ามหลาก รวงมากจริงจริง มารบั เอาขา้ วขวญั สารพันทุกสิ่ง เชญิ มาให้สน้ิ ขา้ วหอมลูกปลา ข้าวหอมมหาชัย มาแลว้ อย่าไป เชญิ มาแม่มา ชอ่ ตอดอกค ู่ นางงามขา้ วหนัก อ่อนนักทัง้ คู่ มะลิซ้อนตัวผ ู้ ขา้ วยขี่ า้ วสาร ขา้ วงาชมุ พร นางงามสคี อน เชญิ มาอยา่ นาน สาวนอ้ ยสรอ้ ยทอง แถมหอ้ งคำ้� ฉาง ยายอชอ่ ไพร นางกองทองไหล ขา้ วไทรอองหน ี ขา้ วน่งั รวงร ี ขา้ วสีมายัง ทองปอยรอ้ ยช่งั เชิญมาแม่มา14 ในปัจจุบันบางท้องท่ีของภาคใต้ เช่นในเขตจังหวัดพัทลุง ชาวนาจะรวมตัวกันไปท�ำขวัญข้าวที่วัด เรียกว่า “ท�ำขวัญข้าวใหญ่” โดยวดั จดั ใหม้ กี องขา้ วเลยี งขน้ึ โดยชาวบา้ นนำ� ขา้ วเลยี งมาบรจิ าคใหท้ างวดั กองรวมกนั ไว้ เม่ือถงึ กำ� หนดวนั ที่จะท�ำพิธี (โดยมากมกั อยใู่ นชว่ งเทศกาล 14 อดุ ม หนูทอง, “ทำ� ขวัญข้าว,” สารานกุ รมวัฒนธรรมภาคใต้ เล่มท่ี ๔ (๒๕๒๙) : ๑๕๔๓.
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 109 สงกรานต)์ ชาวบา้ นแต่ละครวั เรอื นจะนำ� ข้าวเลยี งไปวดั อีกคนละ ๑ เลยี ง และเขียนช่ือก�ำกับไว้ ทางวัดจะน�ำข้าวเลียงทุกคนมารวมไว้และท�ำพิธี โดยมีข้ันตอนเหมือนพิธีท�ำขวัญข้าวทุกประการ เสร็จแล้วแต่ละคนจะน�ำ ข้าวเลยี งของตนกลบั ไปเกบ็ ไวบ้ นยงุ้ ขา้ วเป็นขา้ วขวญั เปน็ อันเสร็จพธิ ี ลาซัง : พิธีกรรมแสดงความกตัญญู ต่อเทพาอารกั ษ์ ชาวนาในภาคใตโ้ ดยเฉพาะในพน้ื ทส่ี ามจงั หวดั ภาคใต้ ไดแ้ ก่ จงั หวดั ปตั ตานี จงั หวดั ยะลา และจงั หวดั นราธวิ าส มปี ระเพณใี นการทำ� นา ท่ีเพ่ิมเติมเข้ามาแตกต่างจากชาวนาภาคใต้ส่วนใหญ่ ที่มักจะจบพิธีกรรม ในการท�ำนาแค่ท�ำพิธีท�ำขวัญข้าว แต่จะมีพิธีขอบคุณเจ้าที่นาท่ีเรียกว่า “พิธีลาซัง” ซ่ึงจะกระท�ำกันทั้งชาวไทยพุทธและชาวไทยมุสลิมโดยจะมี ช่ือเรียกแตกต่างกันออกไปบ้าง เช่น ในอ�ำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี เรยี กวา่ “ลาซงั ” แถบอำ� เภอตากใบ จงั หวดั นราธวิ าส เรยี กวา่ “ลม้ ซงั ” บา้ ง “กินขนมจีน” บ้าง “กินท้องข้าว” บ้าง ชาวไทยมุสลิมจะเรียกพิธีน้ีว่า “ปูยอมือแน” พธิ นี ชี้ าวนาจะมีความเชอ่ื ว่าถา้ ทำ� พธิ นี แ้ี ล้วจะทำ� ใหผ้ ลผลติ ขา้ วนาปใี นปถี ดั ไปจะเจรญิ งอกงาม เปน็ การแสดงความกตญั ญตู อ่ แมโ่ พสพ และเจ้าทน่ี า พิธีลาซังในเขตอ�ำเภอสายบุรีจะกระท�ำกันในเดือน ๖ วันค่ี จะเป็นข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้แล้วแต่ชาวบ้านจะตกลงกัน ขณะที่ใน อ�ำเภอตากใบ แต่ละหมู่บ้านจะท�ำไม่พร้อมกัน ข้ึนอยู่กับความพร้อมของ แตล่ ะหมู่บา้ น
110 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ประเพณลี าซงั ในอำ� เภอสายบรุ ี เรมิ่ จากชาวบา้ นจะน�ำซงั ขา้ ว ทเี่ กบ็ จากนาหลงั สดุ ๒ - ๓ ตน้ พรอ้ มดว้ ยขา้ วเหนยี ว ขา้ วเจา้ แกงเปด็ แกงไก่ ปลามีหัวมีหางอย่างละพอประมาณมายังสถานที่ประกอบพิธี จากน้ัน หมอชาวบา้ นจะเอาซงั ขา้ วมารวมกนั แลว้ แบง่ ซงั ออกเปน็ ๒ สว่ น สว่ นหนงึ่ ท�ำเป็นหุ่นผู้ชาย อีกส่วนท�ำเป็นหุ่นผู้หญิง หุ่นผู้หญิงจะต้องแต่งกายด้วย ผา้ ถงุ และสวมเสอื้ เกลา้ มวยผมมไี มก้ ลดั และตอ้ งทดั ดอกไมท้ ห่ี ขู องหนุ่ ดว้ ย ส่วนหุ่นผชู้ ายจะแต่งตวั หรือไม่กไ็ ด้ เรยี กหนุ่ ท้งั สองตัวนี้ว่า “ชุมพุก”15 เมอื่ ทำ� ชมุ พกุ เสรจ็ แลว้ ชาวบา้ นจะทำ� ศาลเพยี งตาขน้ึ เพอ่ื ใช้ เปน็ ท่ตี ้งั เครื่องเซ่นท่เี ตรยี มมา ศาลเพียงตานจ้ี ะต้องวางดอกมะพร้าวและ มะพรา้ วอ่อน ๑ ลูก น้�ำใสข่ นั และภาชนะท่จี ะใช้ใสส่ ิง่ ของอน่ื ๆ ที่จะใช้ เซน่ ไหวเ้ จา้ ทนี่ าและแมโ่ พสพ เสรจ็ แลว้ ชาวบา้ นจะปเู สอ่ื นำ� เอาเชย่ี นหมาก หมอน ธปู เทยี น และสำ� รบั กบั ขา้ วมาตง้ั บนเสอื่ นน้ั จากนน้ั นำ� ชมุ พกุ มาจดั ให้ นงั่ คกู่ นั บนเสอื่ ชมุ พกุ ผชู้ ายนงั่ ดา้ นขวา ชมุ พกุ ผหู้ ญงิ นง่ั ทางซา้ ย เพอ่ื จะทำ� พิธีแต่งงานและท�ำขวัญให้แก่ชุมพุก แล้วชาวบ้านก็จะมานั่งล้อมชุมพุก แลว้ หมอชาวบา้ นจะจุดธูปเทยี นบชู าพระ แล้วจงึ ว่าคาถาอญั เชญิ เจา้ ทน่ี า ไดแ้ ก่ “ตากระบตุ ร ยายกระบตั ร ตาสรี ดั ยายพทุ โธ”16 ใหม้ ารบั เครอ่ื งเซน่ แลว้ จงึ โปรยขา้ วสารและดอกไม้ใหช้ มุ พกุ ชาวบา้ นทรี่ ว่ มพิธกี ็จะเดนิ เทียน โบกควนั ใหช้ มุ พุกจนครบ ๓ รอบ แลว้ จงึ ช่วยกนั ป้อนข้าวและนำ้� แกช่ ุมพกุ เสร็จแล้วจึงน�ำอาหารท่ีเหลือใส่ภาชนะไปวางไว้บนศาลเพียงตา แลว้ จงึ กลบั มานง่ั รอบ ๆ ชมุ พกุ อกี ครงั้ หมอชาวบา้ นกจ็ ะวา่ คาถาถงึ เจา้ ทนี่ า 15 คร่ืน มณีโชติ และสถาพร ศรีสัจจัง, “ลาซัง,” สารานุกรม วฒั นธรรมภาคใต้ เล่มที่ ๘ (๒๕๒๙): ๓๑๖๑. 16 เรือ่ งเดยี วกัน, ๓๑๖๒.
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 111 และแมโ่ พสพ ขอใหก้ ารทำ� นาในปตี อ่ ไปไดผ้ ลดี ตน้ ขา้ วงอกงาม เปน็ อนั เสรจ็ พิธแี ตง่ งานให้ชุมพุก จากน้ันชาวบ้านจะจัดการอาบน้�ำ ประพรมน้�ำอบน�้ำหอม ทาแป้งให้แก่ชุมพุก แล้วจึงช่วยกันหามชุมพุกไปริมป่าใกล้กับนาท่ีท�ำพิธี (ปกติแล้วนาที่ใช้ประกอบพิธีมักจะอยู่ใกล้วัด) ช่วยกันตัดเชือกท่ีมัดเป็น ตัวชุมพุกให้ขาดเพื่อท�ำลายชุมพุก แล้วจึงโยนซังที่สร้างเป็นตัวชุมพุกน้ัน สทู่ ้องฟา้ เปน็ อันเสรจ็ พิธีลาซัง ประเพณีลาซังในอ�ำเภอตากใบ จะมีรายละเอียดของพิธี แตกตา่ งไปจากพนื้ ทอี่ ำ� เภอสายบรุ ี เรมิ่ จากกอ่ นวนั พธิ ลี าซงั ประมาณ ๓ วนั ชาวบา้ นจะตอ้ งเตรยี มการทำ� เสน้ ขนมจนี เรยี กวา่ แชแ่ ปง้ วนั รงุ่ ขน้ึ เปน็ วนั ที่ เรยี กวา่ “วนั ทม่ิ แปง้ ” (ตำ� แปง้ ) จะเปน็ วนั ทห่ี นมุ่ สาวในหมบู่ า้ นจะมาชว่ ยกนั ต�ำข้าวสารใหเ้ ป็นแป้ง เรียกว่า “ซอ” การท่ิมแปง้ จะทิม่ ด้วยครกไม้ ต้อง ท่มิ แปง้ ใหล้ ะเอยี ด เมอ่ื ไดแ้ ป้งตามที่ต้องการแลว้ กเ็ ตรยี มใบหมากสำ� หรับ หอ่ แปง้ ขนมจนี ตน้ ในวนั รงุ่ ขน้ึ ซง่ึ เปน็ วนั ที่ ๓ เรยี กวา่ “วนั เหยยี บขนมจนี ” โดยมากชาวบ้านมักจะรวมตัวกันไปช่วยทั้งครอบครัวจนกว่าจะแล้วเสร็จ โดยผชู้ ายจะเปน็ ฝา่ ยขดุ เตา หาฟนื นวดแปง้ บรรจกุ ระบอก และปน่ั ขนมจนี สว่ นผหู้ ญงิ จะชว่ ยตม้ แปง้ ตำ� แปง้ ขนมจนี ใหน้ มุ่ กอ่ นจะบรรจกุ ระบอก และ จบั เส้นขนมจนี เป็นจบั ๆ เมื่อเสร็จแล้วกจ็ ะเตรียมนำ้� แกง (นำ�้ ยา) ขนมจีน ส�ำหรับเลี้ยงพระวันในวันรุ่งขึ้น ซ่ึงเป็นวันท่ี ๔ คือวันประกอบพิธีลาซัง ในวันน้ีชาวบ้านจะจัดสถานที่หรือโรงฉันส�ำหรับพระขึ้น (อาจเป็นขน�ำ ปลายนา หรือเป็นปะร�ำกลางนาท่ีมีลานกว้างแล้วแต่สะดวก) จากนั้น ชาวบา้ นกจ็ ะนำ� ขนมจนี มาเลย้ี งพระทงั้ ชว่ งเชา้ และเพล เมอื่ เสรจ็ พธิ สี งฆแ์ ลว้ ในตอนบ่ายก็จะมีกจิ กรรมร่นื เริง เช่น ชักเย่อ ชนไกพ่ นนั กนั เป็นต้น
112 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย การจัดพิธีลาซงั ในอำ� เภอตากใบมกั จะจดั กนั ๓ วัน วันแรก จะเปน็ วันที่มกี ารท�ำบญุ เลี้ยงพระ ชาวนาท้ังไทยพทุ ธและมสุ ลิมจะมารว่ ม ชมุ นมุ กนั มาก สว่ นวนั ถดั ไปจะมแี ตน่ กั พนนั และชาวบา้ นในหมบู่ า้ นเทา่ นนั้ ปัจจุบันพิธีลาซังในท้องท่ีอ�ำเภอตากใบเปลี่ยนแปลงไปมาก ตามสภาพสังคม ส่วนใหญ่นิยมซื้อเส้นขนมจีนมาจากตลาดมาถวายพระ บางหมบู่ า้ นกจ็ ดั เปน็ งานประจำ� ปี มมี หรสพมาแสดง เชน่ ภาพยนตร์ โนรา หนังตะลุง หรือร�ำวงเวียนครก เป็นต้น และการพนันก็ต้องขออนุญาต จากทางราชการ ทำ� ใหภ้ าพรวมของพธิ ีลาซังจึงเปลย่ี นไปตามสภาพสังคม ทเี่ ปลย่ี นแปลงไป ประเพณปี ยู อมอื แนของชาวไทยมสุ ลมิ จะกระทำ� คลา้ ยคลงึ กนั กับชาวไทยพุทธ แตกต่างกันเฉพาะพิธีกรรม กล่าวคือเมื่อถึงวันพิธี ทกี่ ำ� หนดไวช้ าวบา้ นจะนำ� อาหาร ขา้ วเหนยี ว ขา้ วตม้ มารวมกนั ทก่ี ลางทงุ่ นา ทก่ี �ำหนด ท�ำพิธีลาซงั ข้าวและเชญิ โต๊ะครู โต๊ะอหิ มา่ ม โตะ๊ ปาเกอา่ นดอุ า ขอพรจากอลั ลอฮฺ เพอื่ ความเปน็ สริ มิ งคลกบั ชาวนาและขา้ วนาปใี นปถี ดั ไป เม่ือเสร็จพิธีแล้วก็จะเล้ียงอาหารและมอบเงินแก่โต๊ะครู โต๊ะอิหม่าม และโตะ๊ ปาเก เปน็ อนั เสรจ็ พธิ ี ตอนบ่ายจะมีการชนไก่ ชนววั กันกลางทงุ่ เช่นเดียวกบั ประเพณีลาซงั ของชาวไทยพุทธ นอกจากนี้ ชาวนาภาคใตบ้ างสว่ นยังมพี ิธี ไหว้เจ้าท่ีคอกวัว คอกควาย ซง่ึ เชอื่ วา่ เปน็ เทพผดู้ แู ลรกั ษาววั ควายเปน็ ประจำ� ทกุ ปี สบื เนอ่ื ง จากชาวนาภาคใต้นิยมใช้วัวไถนามากกว่าควาย ยกเว้นในพื้นท่ีจังหวัด ชมุ พรและสรุ าษฎรธ์ านที นี่ ยิ มใชค้ วายมากกวา่ ววั ถา้ ไถนาดว้ ยควายนน้ั จะ ใชค้ วายเพยี งตวั เดียว แต่ถา้ ใชว้ ัวไถนาจะตอ้ งใชว้ วั ๒ ตวั ต่อคันไถคนั หน่งึ ชาวนาภาคใต้จะถือว่าวัวควายท่ีใช้ไถนาน้ันมีบุญคุณต่อตนเอง จะดูแล
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 113 ววั ควายเปน็ พเิ ศษ ไมน่ �ำมาฆา่ เพอ่ื เอาเนอ้ื มารบั ประทาน โดยจะเลยี้ งไวจ้ น แก่ตายไปเอง แลว้ มกั จะน�ำหวั หรือเขามาไว้บนลอมขา้ ว (ย้งุ ข้าว) หรือเก็บ เอาไวส้ ำ� หรบั เป็นเครือ่ งประกอบพิธที �ำขวัญขา้ วตอ่ ไป และเมื่อเอ่ยถึงพิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวของชาวนาในภาคใต้ ในอดีตแล้ว ผู้เขียนเห็นว่าควรจะกล่าวถึงเคร่ืองมือเกี่ยวข้าวของชาวนา ภาคใตท้ ี่มีลกั ษณะที่แตกต่างไปจากภาคอน่ื ๆ ของประเทศ เพราะชาวนา ในพน้ื ทภี่ าคใตน้ ยิ มเกยี่ วขา้ วดว้ ย “แกะ” แมท้ ผี่ า่ นมารฐั บาลพยายามทจี่ ะ เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการใช้แกะเก่ียวข้าวของชาวนาภาคใต้ให้หันมา ใช้เคยี วอยหู่ ลายคร้ัง เชน่ ในครง้ั ทส่ี มเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา ด�ำรงราชานุภาพทรงด�ำรงต�ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และ ในพทุ ธศกั ราช ๒๕๐๔ แตช่ าวนาภาคใตก้ ย็ งั คงใชแ้ กะเกยี่ วขา้ วอยเู่ ชน่ เดมิ เหตุท่ีชาวนาภาคใต้นิยมใช้แกะเกี่ยวข้าวนั้น มีผู้เสนอ แนวความคดิ เอาไวห้ ลายทา่ น อาทิ วิมล ดำ� ศรี เสนอวา่ “การเกบ็ ขา้ วดว้ ยแกะสามารถเกบ็ ขา้ วไดเ้ กอื บ หมดทุกรวง และมีการตกหล่นน้อยที่สุด ไม่เปลือง เน้ือที่เก็บรักษาข้าว เพราะไม่มีฟางข้าวและใบข้าว เหมือนเกี่ยวด้วยเคียว สะดวกในการนวดข้าวและ เหมาะสมกบั วัฒนธรรมข้าวของภาคใต้ คือ พนั ธุข์ ้าว ท่ีชาวนาหยามในภาคใต้ปลูกน้ัน แตกต่างไปจาก สายพันธุ์ข้าวที่ปลูกในส่วนอื่น หรือในภาคอ่ืนของ ประเทศ หรอื ทปี่ ลกู กนั ในนาปรงั ภาคใต้ พนั ธน์ุ าหยามนี้ เมอ่ื ขา้ วสกุ และรวงขา้ วแก่ รวงจะกรอบ ถา้ จบั ตน้ ขา้ ว รวบแบบเก่ียวด้วยเคียว รวงข้าวจะหัก เมล็ดจะ
114 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย ร่วงหล่น คงได้แต่ฟางขา้ วมากกวา่ เมล็ด... ภูมปิ ญั ญา ในการเกบ็ ขา้ วดว้ ยแกะและผกู เปน็ เลยี งขา้ ว เหมาะแก่ การเก็บกันไว้ใช้นานข้ามปี เพราะคอรวงจะช่วย ผ่อนถ่ายความร้อนในเรือนข้าว ท�ำให้เมล็ดข้าวร้อน และงันช้าลง...”17 ส่วน เอกวิทย์ ณ ถลาง เห็นว่าวัฒนธรรมการใช้แกะ ของชาวนาภาคใต้นั้นสอดคล้องกับลักษณะกายภาพของภาคใต้ที่มีการ ปรบั ตวั และส่ังสมประสบการณม์ าอยา่ งยาวนาน “...ภาคใต้แตกต่างจากภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคอสี านอยปู่ ระการหนง่ึ คอื มฝี นตกชกุ ยาวนาน กวา่ ภาคอนื่ ๆ ในรอบปี ตน้ ขา้ วในทงุ่ นาภาคใตส้ ว่ นใหญ่ จงึ เปน็ พนั ธข์ุ า้ วตน้ สงู มากเพอื่ หนนี ำ�้ ...บรเิ วณทงุ่ หยาม และทงุ่ ปรงั ของนครศรธี รรมราช ซง่ึ เปน็ อาณาบรเิ วณ กว้างใหญ่ท่ีสุดส�ำหรับการท�ำนาในภาคใต้ พื้นที่ เช่นนั้น เม่ือถึงฤดูเก็บเก่ียวข้าวสุกเต็มท้องทุ่งแล้ว น้�ำในนาก็ยังคงมีระดับสูงอยู่ บางทีชาวนาต้อง พายเรือเก็บข้าว ในสภาพเช่นน้ีจะใช้เคียวเกี่ยวข้าว เหมือนภาคอ่ืน ๆ ไม่ได้ ชาวใต้แต่โบราณจึงคิด ประดิษฐ์แกะเกี่ยวข้าวขึ้นเพื่อเก็บเอาแต่เฉพาะ รวงข้าวเท่าน้ัน...”18 17 วิมล ด�ำศรี, วัฒนธรรมข้าวและพลังอ�ำนาจชุมชนรอบ ทะเลสาบ, หน้า ๖๙. 18 เรือ่ งเดยี วกัน, หน้าเดียวกัน.
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 115 การท�ำนาไม่เฉพาะแต่ภาคใต้ของประเทศไทย ล้วนแต่ได้ สะท้อนถึงภูมิปัญญาและคติความเช่ือต่าง ๆ ท่ีผ่านการส่ังสม สืบสอด และกลนั่ กรองจนกลายเปน็ วฒั นธรรมของสงั คม จารตี ประเพณที แ่ี สดงใหเ้ หน็ ถึงลักษณะรว่ มกันของคนไทยทม่ี ีความโอบอ้อมอารี ความเอ้อื เฟ้อื เผอื่ แผ่ การชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั รวมถงึ ความออ่ นนอ้ มถอ่ มตน และความกตญั ญู ต่อผู้มีพระคุณผ่านการแสดงออกมาตลอดช่วงขั้นตอนในการท�ำนา เชน่ ประเพณีลาซงั ประเพณีรวบขวญั ข้าว ประเพณีท�ำขวัญข้าว เปน็ ตน้ ที่แสดงออกต่อข้าวด้วยความส�ำนึกในคุณค่า รู้จักเก็บรักษา ล้วนแต่เป็น คุณค่าที่ถูกปลูกฝังจนกลายเป็นรากเหง้าและอัตลักษณ์เฉพาะตัวของคน ในสงั คมไทย แม้ปัจจุบันบริบทของสังคมชาวนาไทยจะเปลี่ยนแปลง ไปมากกต็ าม แตข่ า้ วกย็ งั เปน็ ปจั จยั สำ� คญั และมบี ทบาทตอ่ ชวี ติ ความเปน็ อยู่ ของคนในสังคมไทย การศึกษาท�ำความเข้าใจประเพณีการท�ำนาและ วัฒนธรรมท่ีเก่ียวข้องกับการท�ำนา ท�ำให้เรารับรู้และมองเห็นคุณค่า ของทรพั ยากรทางวฒั นธรรมทค่ี นรนุ่ กอ่ นไดร้ งั สรรคเ์ อาไว้ เพอื่ ใหว้ ฒั นธรรม อันเป็นรากฐานของสังคมยังคงมีบทบาทหน้าที่ และสามารถตอบสนอง ความต้องการขนั้ พืน้ ฐานของคนและสงั คมต่อไป
116 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย บรรณานุกรม กานดา ยานะวมิ ุติ. “แกะ : เครือ่ งมอื เกบ็ ขา้ ว.” สารานกุ รมวฒั นธรรม ภาคใต้ เลม่ ๑ (๒๕๒๙): ๒๗๐ - ๒๗๔. ครนื่ มณโี ชติ และคณะ. “เครอ่ื งหมายบอกเจตจำ� นง.” สารานกุ รมวฒั นธรรม ภาคใต้ เล่ม ๒ (๒๕๒๙): ๖๔๕ - ๖๔๖. ครน่ื มณโี ชติ และสธุ วิ งศ์ พงศไ์ พบลู ย.์ “เลยี งขา้ ว.” สารานกุ รมวฒั นธรรม ภาคใต้ เล่ม ๘ (๒๕๒๙): ๓๒๖๑ - ๓๒๖๓. คร่ืน มณีโชติ และสถาพร ศรีสัจจัง. “ลาซัง.” สารานุกรมวัฒนธรรม ภาคใต้ เล่ม ๘ (๒๕๒๙): ๓๑๖๑ - ๓๑๖๓. พทิ ยา บษุ รารตั น์. “การท�ำนาของชาวภาคใต.้ ” ใน ชวี ิตไทย ชุด สมบตั ิ ตายาย. กรงุ เทพฯ: สำ� นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต,ิ ๒๕๔๐. หนา้ ๑๓๓ - ๑๔๖. วิมล ดำ� ศรี. วัฒนธรรมขา้ วและพลังอ�ำนาจชมุ ชนรอบทะเลสาบสงขลา. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ัย, ๒๕๔๔. สนทิ พลเดช. “ทำ� ขา้ วไร.่ ” สารานกุ รมวฒั นธรรมภาคใต้ เลม่ ๔ (๒๕๒๙): ๑๕๔๔ - ๑๕๔๗. . “รวบขวัญข้าว.” สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ เล่ม ๘ (๒๕๒๙): ๓๐๐๓ - ๓๐๐๔. . “แรกนาขวัญ.” สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ เล่ม ๘ (๒๕๒๙): ๓๐๙๘ - ๓๐๙๙. สธุ วิ งศ์ พงศไ์ พบูลย.์ คติชาวบา้ นปักษใ์ ต้. พระนคร: กา้ วหน้า, ๒๕๑๒.
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 117 สธุ วิ งศ์ พงศไ์ พบลู ย.์ “ทำ� นา.” สารานกุ รมวฒั นธรรมภาคใต้ เลม่ ๔ (๒๕๒๙): ๑๕๔๗ - ๑๕๕๓. . “ไมข้ ม่ ขา้ ว.” สารานกุ รมวฒั นธรรมภาคใต้ เลม่ ๗ (๒๕๒๗): ๒๘๘๓ - ๒๘๘๔. อดุ ม หนทู อง. “เครอ่ื งไถ.” สารานกุ รมวฒั นธรรมภาคใต้ เลม่ ๒ (๒๕๒๙): ๕๕๐ - ๕๕๒. . “ท�ำขวัญข้าว.” สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ เล่ม ๔ (๒๕๒๙): ๑๕๔๑ - ๑๕๔๒. . “นำ�่ ขา้ ว.” สารานกุ รมวฒั นธรรมภาคใต้ เล่ม ๕ (๒๕๒๙): ๑๗๖๒ - ๑๗๖๓. เอกวทิ ย์ ณ ถลาง. ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นสภี่ มู ภิ าค : วถิ ชี วี ติ และกระบวนการ เรยี นรขู้ องชาวบา้ นไทย. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, ๒๕๔๐. . ภมู ิปัญญาทกั ษณิ . กรุงเทพฯ: อมรินทร์, ๒๕๔๔. เอี่ยม ทองดี. ขา้ ว วฒั นธรรมและการเปล่ยี นแปลง. กรงุ เทพฯ: มติชน, ๒๕๓๘. . วัฒนธรรมข้าว พิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวและการท�ำนา. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท. ๒๕๓๗. . “แมโ่ พสพ.” สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ เล่ม ๗ (๒๕๒๙): ๒๘๗๓ - ๒๘๗๔.
พระราชพิธพี ชื มงคล โดย นางจินตนา กระบวนแสง
120 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย พระราชพิธพี ชื มงคล* พระราชพิธีพืชมงคล คือ พระราชพิธีเสกเมล็ดพันธุ์ธัญพืช เพื่อความเป็นสิริมงคลและความอุดมสมบูรณ์ของพืชพรรณธัญญาหาร ของประเทศ เป็นพระราชพิธีเกี่ยวเนื่องกับพระราชพิธีจรดพระนังคัล แรกนาขวัญ ในสมัยโบราณ ชาติที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก เช่น จีน อินเดีย ฯลฯ เม่ือถึงฤดูท�ำนาจะต้องท�ำ “พิธีแรกนา” ก่อน ที่จะลงมือไถหว่านเหมือนกันแทบท้ังน้ัน ในประเทศไทยพิธีแรกนา เรม่ิ มีมาตัง้ แตส่ มัยสุโขทยั เมอื่ เข้าหน้าฝนพระมหากษตั รยิ ์หรอื ผู้นำ� ชมุ ชน ต้องเป็นผู้น�ำการเริ่มไถหว่านพืชผล เพ่ือเตือนให้พสกนิกรรู้ว่าฤดู การเพาะปลูกมาถึงแล้ว การพิธีระยะแรกคงจะท�ำอย่างเรียบง่าย ในระยะหลังต่อมาพราหมณ์เข้าไปมีบทบาทในการประกอบพิธี จึงได้น�ำ พธิ พี ราหมณ์เข้ามาเพิม่ ในพธิ ีดงั้ เดิมทำ� ให้พธิ ีการซับซอ้ นขึน้ พิธีแรกนาในสมัยสุโขทัย เรียกว่า “พระราชพิธีไพศาข จรดพระนงั คลั ” ถอื เปน็ พระราชพธิ สี ำ� คญั ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาพระราชพธิ ี ไพศาขจรดพระนังคัลน้ีมีก�ำหนดไว้ในกฎมณเฑียรบาล แต่เรียกกันเป็น สามัญวา่ “พระราชพิธแี รกนาขวญั ” พระมหากษตั ริยท์ รงมอบให้เสนาบดี เป็นผู้ปฏิบัติหน้าท่ีแทน เรียกว่า “พระยาแรกนา” ประกอบพระราชพิธี ตามแบบพธิ พี ราหมณต์ ลอดมา จนถงึ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เพิ่มพิธีสงฆ์เข้าไปด้วย * บทความจากหนังสือนามานุกรมขนบประเพณีไทย หมวด ประเพณีราษฎร์ เล่ม ๒ (ประเพณี เทศกาล และวันส�ำคัญทางพุทธศาสนา) พ.ศ. ๒๕๕๐
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 121 โดยประกอบพิธีสงฆ์ก่อนวันประกอบพระราชพิธีจรดพระนังคัล ๑ วัน เพ่ือเป็นสิริมงคลแก่พืชพรรณธัญญาหารที่จะน�ำไปใช้ในพระราชพิธี จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ และพระราชทานแก่เกษตรกรเรียกว่า “พระราชพิธีพืชมงคล” และได้น�ำพระราชพิธีท้ังสองมารวมกันเรียกว่า “พระราชพิธีพืชมงคล จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ” การพระราชพิธีน้ี ปฏิบตั กิ นั สบื มาจนถงึ พุทธศักราช ๒๔๗๙ จงึ ไดว้ า่ งเวน้ ไป ต่อมาในพุทธศักราช ๒๔๘๓ รัฐบาลซึ่งมีจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ฟื้นฟูพระราชพิธีพืชมงคลขึ้นมา อกี ครง้ั หนงึ่ สว่ นพระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั นน้ั พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูขึ้นใหม่ เม่อื พุทธศกั ราช ๒๕๐๓ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปรับปรุงแก้ไขพระราชพิธี ให้เหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน นอกจากน้ียังทรงให้รวมพระราชพิธี พืชมงคลเข้ามาไว้ด้วยกันตามท่ีได้เคยปฏิบัติมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ในระยะแรกทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหอ้ ธบิ ดี กรมการข้าวโดยตำ� แหน่ง ท�ำหนา้ ท่ีพระยาแรกนา ส่วนเทพีท้ัง ๔ คนนนั้ คัดเลือกจากภริยาข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายหลงั จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยต�ำแหน่งท�ำหน้าท่ีพระยาแรกนา และคัดเลือกข้าราชการพลเรือน หญงิ โสดในกระทรวงเกษตรและสหกรณต์ ง้ั แตร่ ะดบั ๔ ขนึ้ ไป จ�ำนวน ๔ คน ท�ำหน้าทนี่ างเทพผี ู้หาบพนั ธขุ์ า้ วสำ� หรับหว่านในพระราชพธิ ี การพระราชพธิ พี ชื มงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั กำ� หนด ท�ำในเดือนหกของทุกปี เน่ืองจากเป็นต้นฤดูฝน ส่วนวันที่ประกอบ พระราชพิธีน้ันขึ้นอยู่กับการค�ำนวณหาวันอุดมฤกษ์ของโหร ปัจจุบัน แบ่งการพระราชพิธอี อกเป็น ๒ วนั คอื
122 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย วนั แรก เปน็ การพระราชพธิ พี ชื มงคล เวลาบา่ ย พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปยงั พระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เพื่อประกอบพระราชพิธพี ืชมงคล ในพระอโุ บสถ เจา้ หนา้ ทเ่ี ชิญพระพทุ ธปฏิมาชัยวฒั น์รชั กาล ปัจจุบัน พระพุทธคันธารราษฎร์ของรัชกาลท่ี ๑ พระพุทธรูปปางสมาธิ ทรงภาวนาให้ต้นข้าวเกิดงอกงามรอบพุทธบัลลังก์ซ่ึงเป็นพระพุทธรูป ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชทรงสรา้ ง พระชยั นวโลหะ รชั กาลที่ ๔ พระชยั นวโลหะ รัชกาลที่ ๕ พระคนั ธารราษฎร์ขอฝนแบบจีน พระบัวเข็ม เทวรูปพระพลเทพ พระโคอุศุภราช ออกต้ังบนม้าหมู่ ในธรรมาสน์ศิลาหน้าฐานชุกชีพุทธบัลลังก์บุษบกพระพุทธมหามณี รัตนปฏิมากร ใต้ธรรมาสน์ศิลาต้ังกระบุงเงิน ๑ คู่ กระบุงทอง ๑ คู่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานขา้ วเปลอื กพนั ธด์ุ จี ากนาทดลอง สวนจิตรลดาให้บรรจุในกระบุงเหล่านี้ นอกจากนี้ยังมีถุงบรรจุเมล็ด พนั ธพ์ุ ชื ตา่ ง ๆ อาทิ ผกั กาด ถวั่ พนั ธต์ุ า่ ง ๆ ขา้ วโพด งา ฟกั แฟง แตง เผอื ก มนั ฝา้ ย ฯลฯ แลว้ วงดา้ ยสายสญิ จนจ์ ากพระพทุ ธรปู สำ� คญั โยงไปยงั ทพ่ี ระสงฆ์ เจริญพระพุทธมนต์ท่ีหน้าธรรมาสน์ศิลา ทอดเคร่ืองนมัสการ พุ่มพาน ดอกไม้ ธูปเทียนไว้พร้อม ก่อนเวลาเสด็จพระราชด�ำเนิน พระยาแรกนา แต่งกายเคร่ืองแบบเต็มยศประดับเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ พร้อมด้วย เทพีท้ัง ๔ แต่งกายชุดไทย ห่มสไบ ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มายังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม จุดธูปเทียนบูชาพระพุทธ มหามณรี ัตนปฏิมากรแลว้ ไปนงั่ ท่เี กา้ อเ้ี ฝา้ รอรบั เสดจ็ ฯ ตามล�ำดับ เม่ือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินถึง พระบรมมหาราชวงั แลว้ เสดจ็ เขา้ สพู่ ระอโุ บสถ ทรงจุดธปู เทียนท้ายทนี่ ัง่ บูชาพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร พระสัมพุทธพรรณี พระพุทธรูป
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 123 ฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระพุทธรูปฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และทรงจุดธูปเทยี นเครอ่ื งนมัสการหน้าธรรมาสนศ์ ลิ า ทรงกราบ ทรงรับ การถวายความเคารพของผู้ท่ีมาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท แล้วประทับ พระราชอาสน์ หลังจากน้ัน เจ้าหน้าท่ีกองศาสนูปถัมภ์ กรมการศาสนา อาราธนาศีล พระสงฆ์ราชาคณะถวายศีล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงศีลจบแล้ว เสด็จไปยังธรรมาสน์ศิลา ทรงพระสุหร่ายพระพุทธปฏิมา ชยั วฒั นป์ ระจ�ำรชั กาลปจั จบุ นั ตลอดจนพระพทุ ธรปู และเทวรปู สำ� คญั อื่น ท่ีต้ังไว้บนม้าหมู่ในธรรมาสน์ศิลา แล้วจึงทรงประพรมและโปรยดอกไม้ ลงบนพนั ธพ์ุ ชื ตา่ ง ๆ ทบ่ี รรจอุ ยใู่ นกระบงุ เงนิ กระบงุ ทอง ทรงถวายพวงมาลยั ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทูลเกล้าฯ ถวายแด่ พระพุทธรูปและเทวรูปทุกองค์ หลังจากนั้นทรงจุดธูปเทียนบูชา พระคนั ธารราษฎร์๒คู่พระคนั ธารราษฎรแ์ บบจนี ๑เลม่ ทรงตง้ั สตั ยาธษิ ฐาน ขอความอุดมสมบูรณ์ให้เกิดแก่พืชผลและการเกษตรของราชอาณาจักร แล้วประทับพระราชอาสน์ หัวหน้าพราหมณ์อ่านประกาศพระราชพิธี พืชมงคล ซ่ึงเป็นเรื่องเก่ียวกับการเกษตรกรรมที่มีปรากฏอยู่ใน พระพุทธศาสนา เช่น การขอฝน การไถนา และเรื่องเกี่ยวกับต�ำนาน พระคันธารราษฎร์ ฯลฯ ตอนท้ายสุดเปน็ การถวายพระพรชยั มงคล และ ขอให้อ�ำนาจสิ่งศักดิ์สิทธ์ิท้ังหลายดลบันดาลให้พืชพรรณธัญญาหาร ในพระราชอาณาจักรเจริญงอกงามและได้ผลอุดมสมบูรณ์ เม่ือหัวหน้า พราหมณ์อ่านประกาศพระราชพิธีพืชมงคลจบแล้ว พระสงฆ์ ๑๑ รูป เจริญพระพุทธมนต์คาถาพืชมงคล จบแล้วพระยาแรกนาเข้าไปคุกเข่า ถวายบังคมเฉพาะเบ้ืองพระพักตร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง หล่งั น้�ำสงั ขพ์ ระราชทานทีศ่ ีรษะ ทรงเจิมหน้าผาก พระราชทานใบมะตมู
124 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย พระยาแรกนารับมาทัดท่ีซอกหูขวา ต่อจากนั้นพระราชทานพระธ�ำมรงค์ นพเกา้ ส�ำหรับสวมท่ีนิว้ มือขา้ งขวา ๑ วง ซ้าย ๑ วง แล้วจึงพระราชทาน พระแสงปฏักท่ีจะใช้ถือในวันพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เสร็จแล้วพระยาแรกนาลุกข้ึนถวายค�ำนับ แล้วถอยกลับไปน่ังที่เดิม หลังจากน้ันเทพีท้ัง ๔ เข้าไป หมอบกราบรับพระราชทานน�้ำสังข์ เจิม และรบั พระราชทานใบมะตมู มาทดั ทซี่ อกหขู วาตามลำ� ดบั แลว้ ถวายคำ� นบั กลับไปนั่งท่ีเดิม ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน น�้ำสังข์ ทรงเจิม และพระราชทานใบมะตูมแก่พระยาแรกนาและเทพี ทั้ง ๔ นน้ั พระสงฆร์ าชาคณะเจริญชัยมงคลคาถาจนเสร็จพิธี ตอ่ จากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงประเคนถาด เครอื่ งจตปุ จั จยั ไทยธรรม มคี นโทบรรจนุ ำ�้ ฝนรวมอยดู่ ว้ ย ซงึ่ การจดั ภาชนะ บรรจนุ ำ้� ฝนถวายพระสงฆเ์ ปน็ พระราชดำ� รใิ นพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ใช้ถวายเฉพาะในพระราชพิธีพืชมงคลเท่านั้น และได้ถือเป็น ราชประเพณีสืบมาจนปัจจุบัน ต่อจากน้ันทรงหลั่งทักษิโณทก พระสงฆ์ ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก แล้วออกจากพระอุโบสถ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เสด็จไปทรงกราบท่ีหน้าเคร่ืองนมัสการ ทรงรับการถวาย ความเคารพของผทู้ ี่มาเฝา้ ฯ แลว้ เสดจ็ พระราชด�ำเนินกลับ หลงั จากนน้ั พราหมณไ์ ดอ้ ญั เชญิ เทวรปู สำ� คญั คอื พระพลเทพ พระโคอศุ ภุ ราช พรอ้ มทงั้ นำ� กระบงุ เงนิ กระบงุ ทองทบ่ี รรจพุ นั ธข์ุ า้ วเปลอื ก และเมล็ดพันธุ์พืชที่เข้าพิธีแล้วไปต้ังบนแท่นเบญจาในโรงพิธีพราหมณ์ ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ซ่ึงพราหมณ์ได้อัญเชิญเทวรูปส�ำคัญ คอื พระพรหม พระอิศวร พระอุมา และพระคเณศ จากเทวสถานโบสถ์ พราหมณ์พร้อมทั้งเครื่องพิธีมาตั้งไว้ก่อนแล้ว พราหมณ์ประกอบพิธี สวดบูชาพระเวทตลอดท้ังคืนนั้น อนึ่ง ข้าราชการท่ีมาเฝ้าทูลละออง ธุลีพระบาทในพระราชพธิ ีพืชมงคล แต่งกายครงึ่ ยศ
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 125 บรรณานกุ รม กรมศิลปากร. ศิลปวัฒนธรรมไทย เลม่ ๓ ขนบธรรมเนียมประเพณแี ละ วัฒนธรรมกรุงรตั นโกสนิ ทร์. กรุงเทพฯ : พิฆเณศ, ๒๕๑๔. จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชพิธีสิบสองเดือน. พระนคร : ศิลปาบรรณาคาร, ๒๕๐๓. ทวีวงศ์ถวัลยศักด์ิ, พลตรี หม่อม. พระราชพิธีประจ�ำปีในรัชกาลปัจจุบัน ใน ประเพณใี นพระราชสำ� นกั (บางเรอื่ ง). พระนคร : พระจนั ทร,์ ๒๕๑๔. (พิมพ์ฉลองพระคุณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรี หมอ่ มทววี งศถ์ วัลยศกั ดิ์ (ม.ร.ว.เฉลิมลาภ ทวีวงศ)์ ณ เมรุ หน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๔). ศรีพนม สงิ หท์ อง. พระราชพิธขี องกษตั ริย์ไทย (สมยั โบราณ - ปัจจุบัน). พระนคร : โอเดียนสโตร,์ ๒๕๑๕.
พระราชพิธี จรดพระนงั คลั แรกนาขวัญ โดย นางจนิ ตนา กระบวนแสง
128 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย พระราชพิธจี รดพระนังคลั แรกนาขวัญ* พระราชพิธีจรดพระนังคัล หรือที่เรียกเป็นสามัญว่า พระราชพิธีแรกนาขวัญ เป็นพระราชพิธีที่ท�ำข้ึนเพ่ือเป็นขวัญและ สิริมงคลต่อเกษตรกร มมี าแตส่ มยั สุโขทัยเปน็ ราชธานีเรยี กว่า พระราชพธิ ี ไพศาขจรดพระนงั คัล ถอื เป็นพระราชพธิ ีส�ำคญั ใ น ส มั ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า พ ร ะ ร า ช พิ ธี นี้ มี ก� ำ ห น ด ไ ว ้ ใ น กฎมณเฑียรบาล พระมหากษัตริย์ทรงมอบให้เสนาบดีเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่ แทนเรียกว่า พระยาแรกนา นอกจากนี้ยังพระราชทานภาษีอากร ท่ีเก็บได้ในวันแรกนานี้ เช่น ภาษีปากเรือ หรือภาษีอากรอื่นแก่พระยา แรกนาดว้ ย เรยี กภาษอี ากรทพ่ี ระราชทานแกพ่ ระยาแรกนานี้ วา่ “กำ� ตาก” และธรรมเนียมพระราชทานก�ำตากแก่พระยาแรกนาคงยกเลิกไปใน สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไดพ้ ระราชทานพระบรมราชาธบิ ายไวใ้ นหนงั สอื พระราชนพิ นธ์ พระราชพธิ ี สบิ สองเดือน ไวว้ า่ “ตามที่เข้าใจกันว่าในวันน้ันพระยาได้เป็น เจ้าแผ่นดนิ แทนวนั หนึ่ง ถงึ บา่ วไพร่จะไปเท่ียววิ่งราว แย่งชิงกลางตลาดย่ีสานก็ไม่มีความผิด เป็นโอกาส ทจี่ ะนงุ่ ได้ วนั หนงึ่ กน็ งุ่ ใหเ้ ตม็ มอื ฝา่ ยผทู้ ถ่ี กู แยง่ ชงิ นนั้ กเ็ ขา้ ใจเสยี วา่ ฟอ้ งรอ้ งไมไ่ ด้ ดว้ ยเปน็ เหมอื นวนั ปลอ่ ย * บทความจากหนังสือนามานุกรมขนบประเพณีไทย หมวด พระราชพธิ ีและรัฐพธิ ี พ.ศ. ๒๕๔๖
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 129 ผรู้ า้ ยวนั หนงึ่ ไมม่ ใี ครมาฟอ้ งรอ้ งวา่ กลา่ วเปน็ แตบ่ น่ กนั พมึ ๆ พ�ำ ๆ ไปตา่ ง ๆ จนเปน็ เร่ืองทสี่ �ำหรบั เอามา พูดเล่น ใครจะแย่งของจากผู้ใดก็เรียกว่าก�ำตากละ แต่ที่แท้ธรรมเนียมก�ำตากนี้ก็ได้เลิกเสียช้านาน หลายสบิ ปีมาแล้ว” ในสมัยโบราณใช้เจ้าพนักงานกรมนาเป็นผู้หาบข้าวพันธุ์ ส�ำหรับหว่านในพระราชพิธี ส่วนธรรมเนียมการมีนางเทพีหาบข้าวพันธุ์ ส�ำหรับพระยาแรกนาหว่านน้ัน มีข้ึนเม่ือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เพิ่มพระราชพิธีพืชมงคลเข้ามา และปฏิบตั ิเปน็ ธรรมเนยี มตราบจนทกุ วนั น้ี ปจั จบุ นั การพระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั ทำ� ตอ่ จาก พระราชพธิ พี ชื มงคล จงึ เรยี กรวมกนั วา่ “พระราชพธิ พี ชื มงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวัญ” มีข้ันตอนพระราชพธิ ีดงั น้ี หลังจากพระราชพิธีพืชมงคล แล้ววันรุ่งข้ึนเวลาเช้าตรู่ (การประกอบพระราชพธิ จี รดพระนังคลั แรกนาขวัญในเวลาเชา้ เนอ่ื งจาก เป็นช่วงเวลาที่แดดยังไม่กล้า สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตของเกษตรกรไทย ท่ีตื่นแต่เช้าตรู่ออกไปท�ำไร่นาก่อนพระอาทิตย์จะส่องแสงแรงกล้า หลังจากน้ันจึงกลับมายังท่ีพักเพื่อรับประทานอาหารและท�ำงานอื่นในร่ม เม่ือแดดอ่อนในตอนบ่ายจึงออกไปท�ำงานในไร่นาอีกคร้ังหน่ึง) พระยา แรกนาพร้อมด้วยเทพีท้ัง ๔ ไปแต่งตัวท่ีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระยาแรกนา สวมสนับเพลาชายปักดิ้นทอง ถุงเท้าขาว รองเท้าหุ้มส้น ไม่ผูกเชือกมีกรอบโลหะสีทองติดคล้ายโบ นุ่งผ้าเยียรบับชายพกพับจีบ ทับสนับเพลา ใช้เชือกสายแถบรัดเอว สวมเสื้อเยียรบับแขนยาวพ้ืนเขียว
130 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ลายทอง กระดุม ๕ เมด็ สวมสายสะพาย คาดเขม็ ขัดทองทับเสอ้ื สวมครุย ผา้ โปรง่ ปกั ดน้ิ ทอง ตดิ ตราปกั อกั ษรยอ่ จ.จ.จ. ประดบั เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ จุลจอมเกลา้ เทพี นุ่งผา้ เยยี รบับหรือผ้าไหมยกดอก จีบหน้านาง สวมเสื้อ ผา้ ไหมแขนยาวเขา้ รปู คาดเขม็ ขดั ทองทบั เสอื้ หม่ สไบปกั ทองแลง่ ประดบั เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ สวมถงุ นอ่ ง สวมรองเทา้ หนงั หมุ้ สน้ สที องปลายงอน เมื่อพระยาแรกนาและเทพีท้ัง ๔ แต่งตัวเสร็จแล้วจึงข้ึน กระบวนรถยนต์หลวงจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไปยังพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีข้าราชการชายระดับ ๖ - ๗ ขึ้นไป ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แต่งกายเครื่องแบบข้าราชการเต็มยศ เชิญเครื่องยศพระยาแรกนา (ประกอบด้วย พานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ จุลจอมเกล้า พานหมากทองค�ำลงยา มีเครื่องพร้อม คือ จอกหมาก จอกยาฝอย ซองพลู ตลับภู่ มีดเจียนหมากทองค�ำ กระโถนทองค�ำ ขอบสลัก กาน�้ำทองค�ำฝาทรงมัณฑ์พร้อมพานรอง และคนโทน้�ำทองค�ำ มีพานรอง) ข้ึนกระบวนรถยนต์หลวงไปด้วย เมื่อไปถึงพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระยาแรกนาพร้อมด้วยเทพีทั้ง ๔ เข้าไป ยังพระอุโบสถ จุดธูปเทียนนมัสการพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร แล้วไปถวายสักการะพระบรมรูปสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ที่ปราสาทพระเทพบิดร จากน้ันจึงขึ้นรถยนต์หลวงเป็นกระบวนออกจาก วัดพระศรรี ตั นศาสดารามไปยงั มณฑลพธิ ี ณ ท้องสนามหลวง เจ้าพนักงานจัดต้ังริ้วกระบวนพระยาแรกนาตามแบบ ประเพณโี บราณรอรับอยู่ เม่อื พระยาแรกนาลงจากรถยนต์หลวงแล้วสวม ลอมพอก เดนิ เขา้ ประจำ� ทใี่ นกระบวนยาตราไปยงั โรงพธิ พี ราหมณ์ ประโคม แตรสงั ข์ กลองชนะตลอดทาง มีร้วิ กระบวน ดังนี้
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 131 นำ� รว้ิ กลองชนะ ๑๐จ่าปี่ กลองชนะ ๑๐ แตรฝรั่ง ๕ แตรงอน ๕ แตรฝร่ัง ๕ แตรงอน ๕ กรรชิง สังข์ ๒ กรรชงิ พราหมณน์ ำ� ๒ เทพี พระยาแรกนา เทพี กรรชิง เชหิญวั เหคนร้าอ่ื พงยราศหพมรณะย์ ากรรชิง เทพี ร้ิวกระบวนพระยาแรกนา
132 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย การแต่งกายของคนในร้ิวกระบวนอิสริยยศของพระยา แรกนามดี งั น้ี น�ำริ้ว ๑ คน น่งุ ผ้าม่วงเชงิ เสอื้ นอกขาว หมวกทรง ประพาสดำ� จา่ ปี่ ๒ คน สวมกางเกงมสั รไู่ หมเหลอื ง เสอ้ื เขม้ ขาบ หมวกทรงประพาสโหมดเทศยอดเกย้ี ว กลองชนะ ๒ แถว แถวละ ๑๐ คน สวมเส้ือและกางเกงปัสตูแดง ปลาย แขน - ขา ขลิบขอบเหลือง หมวก กลีบล�ำดวนแดงขลิบเหลอื ง แตรฝรง่ั ๑๐ คน สวมกางเกงปัสตูแดง ปลายขาบ ขลบิ ขอบเหลอื ง เสอื้ ปสั ตแู ดง แขนบาน ขลิบปลายแขนด้วยลูกไม้กระจังสีทอง หมวกปสั ตแู ดงทรงกรวย ขลบิ ขอบดว้ ย แตรงอน ๑๐ คน ลูกไม้กระจงั สี ยอดหมวกสีขาว สังข์ ๒ คน พราหมณ์ พราหมณน์ ำ� ๒ คน เดนิ น�ำในกระบวนหนา้ กรรชงิ หนา้ กรรชิงหน้า ๒ คน สวมกางเกงมสั รรู่ ว้ิ ไหมสเี หลอื งพน้ื แดง เสื้อผ้ามัสรู่แขนยาว ขลิบปลายแขน ดว้ ยลูกไม้กระจงั สีทอง สวมหมวก กรรชงิ หลงั ๒ คน สีแดงขลิบแดงขลิบทองเหลอื ง คเู่ คียง ๒ ข้าง ข้างละ ๘ คน เป็นผู้เชิญเครื่องยศ พระยาแรกนา แตง่ กายดว้ ยเครอ่ื งแบบ ข้าราชการเต็มยศ
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 133 เมอื่ พระยาแรกนาเขา้ สโู่ รงพธิ พี ราหมณ์ หวั หนา้ พราหมณเ์ ชญิ พระยาแรกนาจุดธปู เทยี นบชู าเทวรูปทเ่ี ชญิ มาประดษิ ฐาน ณ แทน่ เบญจา ในมณฑลพิธี เสร็จแล้วไปน่ังพัก ณ ที่จัดไว้พร้อมด้วยเทพี และผู้เชิญ เครอื่ งประกอบยศหวั หนา้ พราหมณเ์ ขา้ ไปหลงั่ นำ�้ สงั ขท์ ม่ี อื และใหใ้ บมะตมู แกพ่ ระยาแรกนาและเทพที งั้ ๔ หลงั จากนน้ั พระยาแรกนาตง้ั สตั ยาธษิ ฐาน เสี่ยงทายหยิบผ้านุ่งจากโต๊ะเงินคลุมด้วยผ้าท่ีหัวหน้าพราหมณ์เชิญมาให้ โดยใช้มอื สอดเข้าไปแลว้ ดงึ ผ้าออกมา ๑ ผนื ผ้าท่อี ยใู่ นโต๊ะเงิน มี ๓ ขนาด คือ ขนาดยาว ๔ คืบ ๕ คืบ ๖ คืบ มคี ำ� ทำ� นาย ดังนี้ ผ้า ๔ คืบ พยากรณว์ า่ นำ้� จะมากสกั หนอ่ ย นาในทด่ี อนจะได้ ผลบรบิ รู ณด์ ี นาในทลี่ มุ่ อาจจะเสยี หายบา้ งไดผ้ ล ไมเ่ ต็มที่ ผ้า ๕ คืบ พยากรณ์ว่าน�้ำจะมีปริมาณพอดี ข้าวกล้าในนา จะได้ผลสมบูรณ์และผลาหาร มังสาหารจะอุดม สมบูรณด์ ี ผา้ ๖ คบื พยากรณว์ า่ น�้ำนอ้ ย นาในทล่ี มุ่ จะไดผ้ ลบรบิ รู ณด์ ี แตน่ าในทด่ี อนอาจจะเสยี หายบา้ ง ไดผ้ ลไมเ่ ตม็ ที่ เม่ือพระยาแรกนาเสี่ยงทายผ้านุ่งได้แล้วจะน�ำเข้าไปในห้อง และนงุ่ ผ้าทีเ่ ส่ยี งทายซอ้ นทับผา้ ท่ีนุง่ อยู่เดมิ แล้วออกมานงั่ ณ ที่เดิม เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนิน มาถงึ พลบั พลาทอ้ งสนามหลวง พระบรมวงศานวุ งศ์ องคมนตรี นายกรฐั มนตรี ประธานศาลฎีกา ประธานรัฐสภา รัฐมนตรี ข้าราชการทุกหมู่เหล่า คณะทูตานุทูต กลุ่มชาวนาเกษตรกรเฝ้าฯ รับเสด็จ วงดุริยางค์บรรเลง เพลงสรรเสริญพระบารมี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นประทับ บนพลับพลา
134 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย สว่ นทางโรงพธิ พี ราหมณจ์ ดั รวิ้ กระบวนพระยาแรกนายาตรา ส่ลู านแรกนา โดยตัง้ แถวกลองชนะอยหู่ น้าโรงพธิ ีพราหมณ์ ตามริ้วขบวน ดังนี้ สังข์ ๒ กรรชิง พราหมณ์น�ำ ๒ กรรชิง เทพี พระยาแรกนา เทพี กรรชงิ หัวหนา้ พราหมณ์ กรรชิง เชญิ เครอ่ื งยศพระยา เทพี ร้วิ กระบวนเข้าสู่ลานแรกนา
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 135 แถวท่ี ๑ ราชบัณฑิตถือพระเต้าเทวบิฐ (พระเต้าเทวบิฐ เป็นพระเต้าที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจา้ อยูห่ ัวทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหส้ รา้ งขึ้น เพื่อประพรมน้�ำพระพุทธมนต์บนพื้นดินในการ พระราชพธิ ีจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ) แถวท่ี ๒ พราหมณ์เป่าสังข์ ๒ คน ซ้าย - ขวา ตรงกลางคือ พราหมณ์เชิญพานพระพลเทพ และพระโค อุศภุ ราช แถวท่ี ๓ กรรเชิงหนา้ ๒ แถวที่ ๔ พระยาแรกนา แถวที่ ๕ กรรเชิงหลัง ๒ ตรงกลางคือหัวหน้าพราหมณ์ คอยรับพระแสงปฏกั แถวที่ ๖ เทพหี าบทอง แถวที่ ๗ เทพหี าบเงนิ เม่ือกระบวนพระยาแรกนายาตรามาถึงพลับพลาที่ประทับ พระยาแรกนาสง่ พระแสงปฏกั ใหห้ วั หนา้ พราหมณเ์ ชญิ ไวแ้ ลว้ พระยาแรกนา เขา้ ไปเฝา้ ฯ ณ ชานชน้ั ลดหนา้ พลบั พลาทป่ี ระทบั คกุ เขา่ ถวายบงั คม ๓ ครง้ั ถอยออกมารับพระแสงปฏักจากหัวหน้าพราหมณ์เดินเข้าสู่ลานแรกนา เจิมคันไถและพระโคท้งั ๒ ตัว ทีเ่ ทยี มแอกเตรียมไว้ ครั้นได้เวลาอันเป็นมงคลอุดมฤกษ์แล้ว โหรหลวงบูชา พระฤกษ์ และลนั่ ฆอ้ ง เจา้ พนกั งานพธิ ี ยำ�่ มโหระทกึ ประโคมแตรฝรง่ั ปพ่ี าทย์ ท�ำเพลงพร้อมกัน พระยาแรกนาจับหางคันไถมือหนึ่งถือพระแสงปฏัก
136 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย มือหน่ึง ราชบัณฑิตถือพระเต้าเทวบิฐพรมน้�ำพระพุทธมนต์ลงบนพื้นดิน นำ� พราหมณท์ เี่ ชญิ พานพระพลเทพและพระโคอศุ ภุ ราชเดนิ นำ� หนา้ พระโค พระยาแรกนาไถดะโดยขวาง ๓ รอบ แลว้ พระยาแรกนาไถกลบอกี ๓ รอบ เมื่อครบแต่ละรอบโหรหลวงล่ันฆ้องชัย เจ้าพนักงานประโคมแตรงอน แตรฝรัง่ ส่วนป่พี าทยแ์ ละมโหระทึก บรรเลงย�่ำพร้อมกนั ตลอดเวลาตัง้ แต่ พระยาแรกนาเริ่มลงมือไถนาจนเสร็จพิธี เมื่อหว่านและไถกลบเสร็จแล้ว พระยาแรกนารับพระแสงปฏักจากหัวหน้าพราหมณ์กลับเข้าสู่โรงพิธี พราหมณ์พร้อมดว้ ยเทพีและกระบวน โดยไมผ่ ่านหนา้ พลบั พลาทป่ี ระทบั ราชบณั ฑติ และพราหมณเ์ ชญิ พระเตา้ เทวบฐิ พานพระพลเทพพระโคอศุ ภุ ราช ขน้ึ ไวบ้ นแท่นเบญจาตามเดิม พนักงานผู้ดูแลพระโคปลดพระโคออกจาก แอกแลว้ จงู ไปยนื ทข่ี อบลานหนา้ พลบั พลาทปี่ ระทบั พราหมณถ์ อื ถาดบรรจุ กระทงของเล้ียงพระโค เพ่ือเส่ยี งทาย ๗ สงิ่ คือ ขา้ วเปลือก หญ้า นำ้� สรุ า ขา้ วโพด ถว่ั เขียวและงา จ�ำนวน ๒ ชดุ น�ำไปใหพ้ ระโคเลือกกิน เรยี กวา่ พระโคกินเล้ียง พระโคทั้งสองเลือกกินส่ิงใด พนักงานผู้ถือถาดจะแจ้งให้ โหรหลวงทราบเพือ่ พยากรณ์ ดังนี้ ถา้ พระโคกนิ ขา้ วเปลอื ก ขา้ วโพด พยากรณ์ว่า ธัญญาหาร ผลาหารจะบรบิ รู ณ์ดี ถา้ พระโคกนิ ถ่วั หรอื งา พยากรณ์ว่า ผลาหาร ภกั ษาหารจะอดุ มสมบรู ณด์ ี
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 137 ถา้ พระโคกินนำ�้ หรือหญ้า พยากรณว์ า่ นำ�้ จะบรบิ รู ณ์ ถ้าพระโคกนิ เหล้า พอสมควร พร้อมด้วย ธัญญาหาร ผลาหาร ภกั ษาหาร มงั สาหาร กจ็ ะ อดุ มสมบรู ณด์ ี พยากรณว์ า่ การคมนาคม จะสะดวกยิ่งขึ้น การค้า กับต่างประเทศจะดีขึ้น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ช า ติ จ ะ รงุ่ เรอื ง หลังจากนั้นโหรหลวงจะจดค�ำท�ำนายมอบให้รองปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพ่อื กราบบังคมทูลถวายรายงานต่อไป อน่ึง ในวันน้ีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ก�ำหนดให้ เป็นวันเกษตรกรแห่งชาติด้วย ดังน้ัน เม่ือรองปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณก์ ราบบงั คมทลู ถวายรายงานการเสย่ี งทายผา้ นงุ่ และพระโคกนิ เลยี้ ง เสร็จแล้ว ได้กราบบังคมทูลเบิกชาวนาผู้ชนะการประกวดผลผลิตข้าว แตล่ ะภาคเขา้ เฝา้ ฯ รบั พระราชทานรางวลั ตามลำ� ดบั จากนน้ั เบกิ เจา้ หนา้ ที่ ปฏิบัตงิ านสหกรณ์ดเี ดน่ เข้าเฝ้าฯ รบั พระราชทานโล่เกียรตคิ ณุ ดว้ ย หลังจากน้ันพระยาแรกนายาตรากระบวนอิสริยยศจาก โรงพธิ พี ราหมณผ์ า่ นพลบั พลาทปี่ ระทบั เมอื่ ถงึ หนา้ พลบั พลาพระยาแรกนา เขา้ ไปเฝา้ ฯ ถวายบงั คม ๓ ครงั้ ทชี่ นั้ ลดพลบั พลาท่ปี ระทบั แลว้ ถอยออกมา เข้ากระบวนต่อไป เม่ือผ่านพลับพลาที่ประทับไปแล้ว พระยาแรกนา และเทพีทั้ง ๔ ขึ้นรถยนต์หลวงเป็นกระบวนไปรอเฝ้าพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยู่หวั ณ แปลงนาทดลองในสวนจิตรลดา พระราชวงั ดุสติ
138 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย เมอ่ื กระบวนพระยาแรกนาออกจากสนามหลวงไปพอประมาณ แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินโดยรถยนต์ พระที่นั่งออกจากพลับพลาพิธีท้องสนามหลวงไปยังแปลงนาทดลอง ในสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต แล้วโปรดเกล้าฯ พระราชทานพันธุ์ข้าว ให้พระยาแรกนาหว่านในแปลงนาทดลอง ส�ำหรับน�ำไปใช้ในพระราชพิธี พืชมงคลจรดพระนงั คัลในปีตอ่ ไป
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 139 บรรณานกุ รม กรมศิลปากร. ศิลปวฒั นธรรมไทย เล่ม ๓ ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละ วัฒนธรรมกรงุ รัตนโกสินทร.์ กรงุ เทพฯ : พฆิ เณศ, ๒๕๑๔. จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชพิธีสิบสองเดือน. พระนคร : ศลิ ปาบรรณาคาร, ๒๕๐๓. ทววี งศถ์ วลั ยศกั ด,ิ์ พลตรี หมอ่ ม. พระราชพธิ ปี ระจำ� ปใี นรชั กาลปจั จบุ นั ใน ประเพณีในพระราชส�ำนัก (บางเร่ือง). พระนคร : พระจันทร์, ๒๕๑๔. (พิมพ์ฉลองพระคุณในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรี หม่อมทววี งศถ์ วัลยศักดิ์ (ม.ร.ว.เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) ณ เมรุ หน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๔). ศรีพนม สงิ หท์ อง. พระราชพิธขี องกษัตริย์ไทย (สมยั โบราณ - ปจั จบุ ัน). พระนคร : โอเดียนสโตร,์ ๒๕๑๕.
พระราชพธิ ีกวนข้าวมธปุ ายาส กวนขา้ วทิพย์ การท�ำข้าวยาคู โดย นางสาวฉตั ราภรน์ จนิ ดาเดช
142 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย พระราชพธิ ีกวนข้าวมธปุ ายาส กวนข้าวทิพย์ การท�ำข้าวยาค*ู พระราชพธิ กี วนขา้ วมธปุ ายาส กวนขา้ วทพิ ย์ การทำ� ขา้ วยาคู เป็นพระราชพิธีท่ีประกอบขึ้นเนื่องในพระราชพิธีสารท ในช่วงปลาย เดอื น ๑๐ การพระราชพธิ กี วนขา้ วมธปุ ายาส กวนขา้ วทพิ ย์ การทำ� ขา้ วยาคู เป็นการท�ำบุญตามความเช่ือเรื่อง “ผลแรกได้” ซึ่งมีต้นเค้ามาจากลัทธิ พราหมณ์ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเปน็ สริ มิ งคลแกพ่ ชื พรรณธญั ญาหารทเี่ พาะปลกู และเพ่ืออุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ปัจจุบันพระราชพิธี กวนข้าวมธปุ ายาส กวนขา้ วทิพย์ การทำ� ขา้ วยาคู ซง่ึ เปน็ พระราชพิธีหลวง ไดย้ กเลิกไปในคราวเดียวกบั การยกเลิกพระราชพธิ สี ารท ข้าวมธุปายาส ข้าวทิพย์ และข้าวยาคูเป็นอาหารท่ีท�ำขึ้น เนื่องในพิธีสารท มีมาแต่โบราณโดยในอินเดีย เมื่อถึงฤดูสารทหรือ ฤดูใบไมร้ ว่ ง ซึง่ จะตกอยูใ่ นราวปลายเดือน ๑๐ ทางจันทรคติ เปน็ เวลาที่ ข้าวสาลีในท้องนาออกรวงอ่อนเป็นน�้ำนม ผู้คนต่างพากันเก็บเก่ียว รวงข้าวสาลีอันเป็นผลแรกได้น้ีมาท�ำเป็นข้าวมธุปายาสและยาคู เล้ียงพราหมณ์ เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ข้าวในนาตลอดจนพืชพรรณท่ี เพาะปลูกและเพ่ืออทุ ิศสว่ นกศุ ลให้แกบ่ รรพบุรุษท่ีล่วงลบั ตอ่ มาภายหลัง ครั้นมีพระพุทธศาสนาขึ้นในอินเดีย ผู้ท่ีเคยนับถือลัทธิพราหมณ์แล้ว * บทความจากหนังสือนามานุกรมขนบประเพณีไทย หมวด พระราชพิธีและรัฐพิธี พ.ศ. ๒๕๔๖
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 143 เปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนา เม่ือถึงคราวที่เคยท�ำบุญตามฤดูกาล ให้แก่พราหมณ์ก็จัดท�ำถวายพระสงฆ์เหมือนท่ีเคยท�ำแก่พราหมณ์ด้วย เช่นเดียวกนั การกวนขา้ วมธปุ ายาส ข้าวทิพย์ และข้าวยาคู จึงมีขึน้ ในหมู่ ผนู้ บั ถอื พระพทุ ธศาสนาดว้ ย เกย่ี วกบั เรอื่ งนพ้ี ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวได้มีพระบรมราชาธิบายไว้ในพระราชนิพนธ์ เรื่องพระราชพิธี สิบสองเดือน ความว่า การกวนขา้ วมธุปายาสหรอื ขา้ วทพิ ยใ์ นพระราชพธิ ี สารท ไม่มีมูลเหตุที่มาปรากฏชัดในทางพระพุทธศาสนาเหมือนอย่าง การทำ� ข้าวยาคู พบเพียงร่องรอยของการทำ� ขา้ วมธปุ ายาสในพทุ ธประวตั ิ ตอนท่ีนางสุชาดาถวายข้าวมธุปายาสซึ่งหุงด้วยนมสดแด่สมเด็จ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้ากอ่ นจะตรัสรู้ แตก่ ็เป็นการท�ำในเดือน ๖ อกี ทัง้ เป็น การจรมใิ ชก่ ารประจำ� ปี และในมงคลทปี นกี ม็ นี ทิ านเรอ่ื งหนงึ่ กลา่ วถงึ เศรษฐี ข้ีเหนียวหุงข้าวมธุปายาสกินเอง ซ่ึงใช้ข้าวสารหุงด้วยน้�ำตาลและน�้ำนม ส่วนการท�ำข้าวยาคูน้ัน มีกล่าวไว้ชัดเจนในคัมภีร์ธรรมบทและคัมภีร์ มโนรถบุรณี ตอนที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงบุรพชาติของ พระอัญญาโกณฑัญญะ เม่ือครั้งที่เกิดเป็นกุฎุมพีชื่อ จุลกาฬ ได้บ�ำเพ็ญ กุศลด้วยคัพภสาลีทาน คือ ถวายข้าวสาลีที่ก�ำลังตั้งท้องออกรวงอ่อน เปน็ นำ้� นม ตม้ ดว้ ยนำ้� นมสด เจอื เนยใส นำ้� ผง้ึ นำ�้ ตาลกรวด เปน็ ตน้ แกเ่ หลา่ พระสงฆ์อนั มพี ระพทุ ธวปิ ัสสีเป็นประธาน และดว้ ยอานสิ งสน์ ้ี ตอ่ มาในยุค พระพุทธโคดม จุลกาฬซ่ึงมาอุบัติเป็นพระอัญญาโกณฑัญญะจึงได้บรรลุ ธรรมอันวิเศษส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์ก่อนชนทั้งปวงสมดังที่ได้อธิษฐานไว้ เมอ่ื ถวายคัพภสาลีทานน้ัน
144 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย การกวนขา้ วมธปุ ายาส ข้าวทิพย์ และยาคู มีขึน้ ในเมืองไทย เมื่อใดไม่ปรากฏ แต่จากหลักฐานเร่ืองนางนพมาศหรือต�ำรับ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ แสดงว่าในสมัยสุโขทัยมีการกวนข้าวมธุปายาสและ ข้าวยาคู เนื่องในพระราชพิธีสารท หรือที่คร้ังน้ันเรียกว่า “พระราชพิธี ภัทรบท” แล้ว โดยในส่วนพิธีซ่ึงเป็นของหลวงมีรายละเอียดเก่ียวกับ การกวนข้าวมธุปายาสและขา้ วยาคู ดงั นี้ ...ฝ่ายพระพุทธศาสน์ราชบุรุษชาวพนักงาน ก็ตกแต่งโรงราชพิธีในพระราชนิเวศน์ ตั้งก้อนเส้า เตาเพลิงและสัมภาระเครอ่ื งใชเ้ บ็ดเสร็จ นายนกั การ ละหานหลวง ก็เก็บเก่ียวครรภสาลีและรวงข้าว มาตากต�ำเป็นข้าวเม่าข้าวตอกส่งต่อมนเทียรบาล วังเวรเครื่อง นายพระโคก็รดน้�ำขีรารสมาส่ง ดุจเดียวกัน ครั้นถึงวันรับพระราชพิธีภัทรบท คือ วันข้ึน ๑๓ ค่�ำ เพลาเช้าเป็นวันธรรมดาฤกษ์ จ่ึง สมเด็จพระอัครชายา ท้ังสองพระองค์ทรงประดับ พระบวรอินทรีย์ด้วยเครื่องขัตติยอาภรณ์ เสด็จยัง โรงราชพิธีพร้อมด้วยประเทียบลูกขุน ทรงสถิต สุวรรณบัลลังก์ก้ันเศวตฉัตรเจ็ดชั้น ด�ำรัสสั่งให้ จ่าชาชาวเวรเคร่ืองทั้งมวลตกแต่งมธุปายาสปรุงปน ระคนเจือล้วนแต่ของโอชารสมีขัณฑสกรและน�้ำผ้ึง นำ้� ออ้ ยนำ้� ตาลทธนิ มสด เปน็ ตน้ ใสล่ งในภาชนะซงึ่ ตงั้ บนเตาเพลงิ จึ่งใหส้ าวสำ� อางกวนมธปุ ายาสเป็นฤกษ์ โดยสังเขป ชาวดุริยางค์ดนตรีก็ประโคมพิณพาทย์
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 145 ฆ้องกลองเป่าเล่นการมหรสพระเบงระบ�ำล้วนแต่ นารี คร้ันกวนมธุปายาสส�ำเร็จแล้วก็กวนข้าวยาคู เอาถ่ัวงาระคนปนครรภสาลีที่แย้มยอดเจือด้วย ขีรารสขัณฑสกรน้�ำตาลกรวด ให้โอชารสส�ำเร็จ เปน็ อนั ดี... ครั้นล่วงถึงสมัยอยุธยามีปรากฏในกฎมณเฑียรบาลและ ค�ำให้การชาวกรุงเก่าว่ามีพระราชพิธีภัทรบทในเดือน ๑๐ เช่นเดียวกับ ในสมยั สโุ ขทยั แตไ่ มม่ รี ายละเอยี ดเกย่ี วกบั การกวนขา้ วมธปุ ายาส ขา้ วทพิ ย์ และการท�ำข้าวยาคู ตอ่ มาในสมยั รตั นโกสนิ ทรก์ ย็ งั คงมกี ารประกอบพระราชพธิ นี ี้ สบื ทอดมาจากสมยั อยธุ ยา โดยในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราชได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการกวนข้าวทิพย์ข้ึน ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีพระบรมราชวินิจฉัย เก่ียวกับการกวนข้าวทิพย์ในสมัยรัตนโกสินทร์ไว้ในพระราชนิพนธ์เรื่อง พระราชพิธีสิบสองเดือน ความว่า แม้ในสมัยอยุธยาจะไม่มีหลักฐาน แน่ชัดที่กล่าวถึงการกวนข้าวทิพย์ แต่ก็น่าจะมีมาแต่ครั้งสมัยอยุธยา ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงโปรด ให้มีการกวนข้าวทิพย์เนื่องในพระราชพิธีสารทตลอดรัชกาล แต่กระน้ัน ขา้ วทพิ ยซ์ งึ่ มตี น้ เคา้ มาจากขา้ วมธปุ ายาสและขา้ วยาคกู ม็ ลี กั ษณะกรรมวธิ ี การปรุงตลอดจนรสชาติเปน็ อยา่ งสำ� หรบั คนไทยกนิ อร่อย เพยี งแต่ยืมชื่อ ของเกา่ มาใชเ้ ท่านัน้
146 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย ส่วนผู้ท�ำหน้าท่ีกวนข้าวทิพย์นั้น ตามประเพณีก�ำหนดว่า ต้องใช้สาวพรหมจารี แต่เดิมใช้นางพราหมณีท่ียังไม่มีสามี แต่ด้วยว่า เมืองไทยมีพราหมณ์น้อย จึงใช้ธิดาของเจ้านายซึ่งนับเป็นขัตติยชาติ เป็นผู้ท�ำหน้าท่ีกวนข้าวทิพย์แทน โดยเลือกที่ยังทรงพระเยาว์เป็น พรหมจารีตามนัยทางพระพุทธศาสนา และในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระเจ้าลกู เธอฝ่ายในทรงกวนขา้ วทิพย์ทง้ั ส้นิ การกวนข้าวทิพย์เน่ืองในพระราชพิธีสารทได้มีการเว้นไป ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและรัชกาล พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว คงมีแต่การท�ำข้าวยาคูเสมอมา การกวนข้าวทิพย์ได้รับการฟื้นฟูอีกคร้ังในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั หากแตม่ กี ารเปลยี่ นแปลงสว่ นผสมหลายประการ ทพ่ี อจะเหน็ ชดั เจน เชน่ ใชข้ นมปงั เปน็ สว่ นผสม ซง่ึ แตก่ อ่ นคงยงั ไมม่ ี ส�ำหรบั สาวพรหมจารีผู้ท�ำหน้าที่กวนข้าวทิพย์นั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมเจ้าธิดาเจ้านายต่างกรมท่ียังไม่ได้ตั้งกรม ต้ังแต่ท่ียังเยาว์จนถึง ที่เจริญวัยแล้วเป็นผู้ท�ำหน้าท่ีกวนข้าวทิพย์ ทั้งนี้เพราะพระเจ้าลูกเธอ ยังทรงเจริญพระชันษาไม่พอ ส่วนการแต่งกายของสาวพรหมจารีในวัน ประกอบพระราชพธิ กี วนข้าวทพิ ยน์ น้ั ยงั คงใหน้ ่งุ ขาวห่มขาวอย่างแต่กอ่ น แต่เปล่ียนจากนุ่งจีบมาเป็นนุ่งโจงกระเบนเพ่ือความเหมาะสม เน่ืองด้วย เจ้านายท่ีต้องทรงกวนข้าวทิพย์มักยังทรงพระเยาว์ไม่ค่อยรักษากิริยา ใหเ้ รยี บรอ้ ย คร้ันในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการประกอบพระราชพิธีอย่างเอิกเกริก ดังปรากฏในพระราชนิพนธ์ เรื่อง พระราชพิธีสิบสองเดือน ความว่า ส�ำหรับงานพระราชพิธีสารท
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 147 แบง่ เปน็ ๓ วัน เริ่มต้ังแตว่ นั แรม ๑๓ คำ�่ ถงึ วนั แรม ๑๕ คำ�่ เดือน ๑๐ โดยวันแรม ๑๕ ค�่ำน้ัน เป็นวันประกอบพระราชพิธีกวนข้าวทิพย์ ส่วนวนั ข้นึ ๑ ค�ำ่ เดอื น ๑๑ เป็นวันสดับปกรณ์กาลานกุ าล ในวันแรม ๑๕ คำ�่ เดือน ๑๐ ซง่ึ เป็นวนั ประกอบพระราชพธิ ี กวนขา้ วทพิ ย์ เวลาบา่ ย กอ่ นจะถงึ เวลากวนขา้ วทพิ ย์ สาวพรหมจารผี กู้ วน ข้าวทิพย์เป็นปฐมฤกษ์น้ัน นุ่งขาวห่มขาวฟังสวดมนต์ในฉากมีสายสิญจน์ โยงมงคลเหมือนอย่างเจ้านายโสกันต์ ทรงจุดธูปเทียนเคร่ืองนมัสการ แลว้ อาลกั ษณอ์ า่ นคำ� ประกาศพระราชพธิ เี หมอื นอยา่ งวนั แรก ๑๓ - ๑๔ คำ่� ทผี่ า่ นมา คำ� ประกาศนน้ั มเี ปน็ ใจความวา่ การกวนขา้ วทพิ ยน์ เี้ ปน็ พระราชพธิ ี ซึ่งเคยท�ำมาแต่โบราณ เป็นพระราชพิธีที่ท�ำข้ึนเพื่อจะให้เกิดความเป็น สริ มิ งคลและชว่ ยระงบั โรคภยั อนั ตรายตา่ ง ๆ แกบ่ รรดาพระบรมวงศานวุ งศ์ และขา้ ราชการในกรงุ เทพฯ ทไี่ ดร้ บั พระราชทาน สว่ นการถวายทานขา้ วยาคู ในเวลาทข่ี า้ วออกรวงเปน็ นำ้� นมนนั้ กเ็ พอื่ ปอ้ งกนั ขา้ วในนามใิ หเ้ ปน็ อนั ตราย ดังเช่นที่พระอัญญาโกณฑัญญะเมื่อคร้ังเป็นกุฎุมพีชื่อ จุลกาฬ ได้ถวาย ขา้ วยาคเู ปน็ ทาน ขา้ วในนากง็ อกงามบรบิ รู ณข์ น้ึ ดงั นน้ั จงึ โปรดใหน้ ำ� รวงขา้ ว ซ่ึงเป็นน้�ำนมมาจ่ายแจกให้พระบรมวงศานุวงศ์ท้ังฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ตลอดจนขา้ ราชการทำ� ขา้ วยาคู และโถฟกั เหลอื งเปน็ ภาชนะบรรจขุ า้ วยาคู ประดับตกแต่งให้งดงาม ถวายโดยเสด็จพระราชกุศลเล้ียงพระสงฆ์ ตลอดการพระราชพิธีท้ังสามวัน ขอให้พระสงฆ์ซึ่งจะสวดพุทธมนต์ ในการน้ี จงมีจิตม่ันด้วยเมตตายึดเอาคุณพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง ดว้ ยอำ� นาจพระรตั นตรยั ขอใหเ้ กดิ สวสั ดมิ งคลและระงบั โรคภยั แกผ่ ทู้ ไี่ ดร้ บั พระราชทานขา้ วทพิ ย์น้ี ขอให้เทพยดานำ� เอาสรุ ามฤตย์มาเจือโปรยปราย ในเอนกรสปายาสหรือข้าวทิพย์น้ี ให้คุ้มกันสรรพอันตรายทุกประการ และด้วยอ�ำนาจพระมหากรุณาธิคุณซึ่งมีแก่ปวงชน กับท้ังอ�ำนาจ
148 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย พระราชกุศลท่ีได้ทรงบ�ำเพ็ญในเวลานี้ ขอให้ทรงพระเจริญพระชนม์ ยืนนานปราศจากพระโรค เป็นท่ีเกรงขามแก่เหล่าศัตรู ขอให้ฝนตก พอเหมาะในเวลาที่ข้าวออกรวง และผลไม้ต่าง ๆ เม่ือถึงฤดูกาลขอให้ ออกผลบรบิ ูรณท์ ว่ั ทุกสง่ิ ทกุ อยา่ ง เมอื่ จบคำ� ประกาศแลว้ พระสงฆส์ วดมนต์ โดยวนั แรม ๑๕ คำ่� นี้ เป็นการสวดธรรมจักรกัปปวัตนสูตรและมหาสมัยสูตร และพระสงฆ์ ซ่ึงผลัดเปล่ียนกันเข้ามาประกอบการพระราชพิธีในวันน้ีเป็นคณะกลาง และคณะธรรมยุติกนิกาย คร้ันพระสงฆ์สวดมนต์จบแล้วถวายอดิเรก ถวายพระพรลา ต่อจากนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน น�้ำพระมหาสังข์ ใบมะตูม และทรงเจิมสาวพรหมจารีท้ังปวง เฉพาะ สาวพรหมจารที ไ่ี มไ่ ดเ้ ปน็ หมอ่ มเจา้ นนั้ พระราชทานนำ�้ ดว้ ยพระเตา้ เสรจ็ แลว้ ทา้ วนางน�ำออกไปทีโ่ รงพระราชพิธีในพระบรมมหาราชวัง ทโ่ี รงพระราชพธิ ีนี้ ก่อเป็นเตากระทะ ๑๐ เตา เรียงตามยาว เปน็ แถว สำ� หรบั กวนขา้ วทพิ ย์ ๘ เตา หวั ทา้ ย ๒ เตา สำ� หรบั กวนกระยาสารท เครื่องต้น ที่หน้าเตาทั้ง ๘ เตานั้น ตั้งม้าวางโต๊ะตะลุ่มถุงเครื่องที่จะกวน ขา้ งหลงั เตายกพนื้ ตำ่� กวา่ ปากกระทะเลก็ นอ้ ย เปน็ ทสี่ ำ� หรบั สาวพรหมจารี นง่ั กวน กระทะละ ๑ คู่ ตามเสาโรงพระราชพธิ แี ขวนหงิ้ ตง้ั เทวรปู มธี ปู เทยี น ดอกไม้บูชาตามทิศ ที่ต้นแถวต้ังเครื่องบูชาพานถมด้วยแก้วอย่าง เครื่องทองน้อยบูชาครูปัธยาย มีขวดน้�ำส้มนมเนยตั้งอยู่ที่นั้นด้วย ส่วนฟืนท่ีใช้ติดไฟน้ันใช้ไม้ชัยพฤกษ์และไม้พุทราตามความเช่ือว่า เปน็ ไมม้ งคล สำ� หรบั เชอ้ื ไฟกใ็ ชแ้ วน่ ซง่ึ เปน็ แกว้ หนาสอ่ งไฟจากดวงอาทติ ย์ ตามอย่างลัทธิอินเดียโบราณ ซึ่งถือกันว่าไฟที่ได้จากดวงอาทิตย์ เป็นไฟบริสุทธ์ิ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300