Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ER_ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย (กรมศิลปากร)

ER_ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย (กรมศิลปากร)

Published by Thanarat Sa-Ard-Iam, 2023-07-30 15:24:02

Description: ER_ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย (กรมศิลปากร)

Search

Read the Text Version

ขา้ วยาคู โดย นางสาวฉตั ราภรน์ จนิ ดาเดช

200 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ข้าวยาค*ู ข้าวยาคูเป็นอาหารชนิดหนึ่ง มีมาแต่โบราณ ท�ำจากข้าว ท่ีก�ำลังออกรวงอ่อนเป็นน�้ำนม ต�ำท้ังรวงให้เมล็ดข้าวแตกออกเป็นน�้ำ น�ำไปกวนจนสุก มีลักษณะอ่อนนุ่มคล้ายแป้งเปียก มีกล่ินหอม ปรงุ ใหม้ รี สหวานดว้ ยน�้ำตาลทราย ขา้ วยาคนู ยิ มท�ำในการทำ� บญุ เดอื น ๑๐ หรอื เทศกาลสารท ข้าวยาคูมีมาแต่โบราณก่อนสมัยพุทธกาล แต่เดิม เปน็ ศาสนกจิ ของศาสนาพราหมณ์ ภายหลงั พทุ ธศาสนกิ ชนไดน้ ำ� มาปฏบิ ตั ิ เปน็ ประเพณดี ว้ ยโดยปรบั ใหเ้ ขา้ กบั เรอ่ื งราวทางพทุ ธศาสนา เกย่ี วกบั เรอื่ ง ข้าวยาคูนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีพระบรม ราชาธิบายไว้ในพระราชนิพนธ์เรื่องพระราชพิธีสิบสองเดือน ความว่า เรอ่ื งขา้ วยาคมู กี ลา่ วถงึ ในคมั ภรี ธ์ รรมบท และในคมั ภรี ม์ โนรถบรุ ณี ซง่ึ เปน็ คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ตอนที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง บุรพชาติของพระอัญญาโกณฑัญญะ ว่า ในคร้ังพระพุทธเจ้า ผู้มีนามว่า วิปัสสี อุบัติข้ึนในโลก พระอัญญาโกณฑัญญะซ่ึงเสวยชาติเป็นกุฎุมพี ชื่อ จลุ กาฬ ไดบ้ �ำเพญ็ กุศลด้วยคัพภสาลที าน โดยการน�ำขา้ วสาลที กี่ �ำลงั ตง้ั ทอ้ งออกรวงออ่ นเปน็ นำ้� นมตม้ กบั นำ้� นมสดเนยใสนำ้� ผงึ้ และนำ้� ตาลกรวด ถวายพระพุทธวิปัสสี แล้วอธิษฐานขอให้การท�ำทานนี้เป็นเหตุให้ได้ * บทความจากหนังสือนามานุกรมขนบประเพณีไทย หมวด ประเพณีราษฎร์ เล่ม ๒ (ประเพณี เทศกาล และวันส�ำคัญทางพุทธศาสนา) พ.ศ. ๒๕๕๐

ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 201 บรรลธุ รรมกอ่ นผอู้ นื่ จากนนั้ จลุ กาฬกก็ ลบั ไปยงั ทนี่ าของตน ปรากฏเปน็ เหตุ อัศจรรย์ คือ ข้าวสาลีในนาท่ีเก็บรวงไปแล้ว กลับออกรวงสมบูรณ์ ข้ึนมาอีก จนสามารถน�ำไปท�ำบุญในวาระต่าง ๆ ได้อีก รวม ๙ ครั้ง ด้วยอานิสงส์นี้ ส่งผลให้จุลกาฬได้เกิดเป็นพราหมณ์โกณฑัญญะ ในสมัยพระสมณโคดม และได้บรรลุธรรมอันวิเศษส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์ กอ่ นชนทง้ั ปวงดงั ทไ่ี ดอ้ ธษิ ฐานไว้ ซงึ่ จากเรอื่ งอานสิ งสแ์ หง่ การถวายขา้ วยาคู ดังกล่าวจงึ เปน็ เหตุใหม้ ีการท�ำบุญถวายขา้ วยาคูแก่พระภิกษสุ งฆ์สบื มา การทำ� ขา้ วยาคนู ยิ มทำ� กนั ในชว่ งเดอื น ๑๐ หรอื เทศกาลสารท มีการท�ำมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยและมีการฟื้นฟูครั้งใหญ่ในรัชกาลพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช คร้ันในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้งดเว้นการกวนข้าวทิพย์ คงไว้แต่ท�ำข้าวยาคูเสมอมา ถึงรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้มีการฟื้นฟูการกวนข้าวทิพย์ อีกครงั้ และได้เพ่ิมพิธที างพทุ ธศาสนาเข้ามาด้วย เร่ืองเหตุที่มาแห่งการท�ำข้าวยาคูในช่วงเดือน ๑๐ หรือ เทศกาลสารทน้ี พระยาอนมุ านราชธนไดอ้ ธบิ ายไวใ้ นหนงั สอื เรอื่ งประเพณี เก่ียวกับเทศกาลตรุษ - สารท ว่า สืบเน่ืองมาแต่คติความเช่ืออินเดีย เกย่ี วกบั เรอื่ ง “ผลแรกได”้ โดยสมยั โบราณมคี วามเชอ่ื วา่ เมอื่ การเกบ็ เกย่ี ว ได้ผลเป็นครั้งแรกไม่ว่าจะเป็นพืชผลใดก็ตาม จะต้องน�ำส่ิงนั้นมาสังเวย บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นับถือเสียก่อน เพราะถือว่าเป็นผู้บันดาลให้พืชพรรณ ธัญญาหารงอกงาม ในอินเดียเมื่อถึงฤดูสารทหรือฤดูใบไม้ร่วงซ่ึงตกอยู่ ในราวปลายเดือน ๑๐ ทางจนั ทรคติของไทย ขา้ วสาลีทเ่ี พาะปลกู ไว้กำ� ลัง ออกรวงออ่ นเปน็ นำ้� นม ผคู้ นจะพากนั เกบ็ เกย่ี วผลแรกไดน้ มี้ าปรงุ แตง่ พเิ ศษ เป็นข้าวปายาสหรือมธุปายาสและข้าวยาคูเลี้ยงดูพราหมณ์เพื่อให้เป็น

202 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย สิริมงคลแก่ข้าวในนา และเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษท่ีล่วงลับ ไปแลว้ ต่อมาเมื่อพระพทุ ธศาสนาเกิดข้ึน ในคราวทเี่ คยทาํ บุญตามฤดูกาล ใหแ้ กพ่ ราหมณ์ พทุ ธศาสนกิ ชนกจ็ ะจดั ทาํ อาหารจากผลแรกไดน้ น้ั ปรงุ แตง่ เป็นพิเศษถวายพระสงฆ์เหมือนท่ีเคยทําแก่พราหมณ์และน�ำไปเซ่นไหว้ อทุ ิศสว่ นกศุ ลบรรพบุรษุ ตามความเชื่อเดมิ กาญจนา นาคสกุล ได้อธิบายถึงวิธีการท�ำข้าวยาคูไว้ ดังน้ี น�ำข้าวที่ก�ำลังออกรวงอ่อนเป็นน�้ำนมมาต�ำทั้งรวงให้เมล็ดข้าวแตกออก จะได้น�้ำข้าวเป็นน้�ำสีขาวขุ่น เติมน้�ำแล้วกรองน�้ำข้าว ออกจากเปลือก และกาก น�ำไปต้งั ไฟออ่ น ๆ กวนจนข้าวสกุ มลี ักษณะเป็นแป้งเปียกนุ่ม ๆ ปรุงรสหวานด้วยน้�ำตาลทราย และอาจปรุงแต่งด้วยเนื้อมะพร้าวอ่อน ด้วยก็ได้ ลักษณะของข้าวยาคูเม่ือเสร็จแล้ว จะมีความอ่อนนุ่มและ มีกลิ่นหอม เนื่องจากข้าวยาคูท�ำจากข้าวที่เกี่ยวมาใหม่ ๆ และยังเป็น ข้าวท่ีอ่อนอยู่ ปัจจุบันน้ีข้าวยาคูเป็นอาหารที่หารับประทานได้ไม่ง่ายนัก นยิ มทำ� ในการท�ำบญุ เดอื น ๑๐ หรือเทศกาลสารท อย่างไรก็ตาม การท�ำข้าวยาคูในบางท้องถิ่นอาจมีส่วนผสม แตกตา่ งกนั ไปบา้ งตามสภาพทอ้ งถนิ่ หรอื ฤดกู าลของพชื ผล และคตคิ วามเชอื่ แต่ยังคงมีข้าวที่ก�ำลังออกรวงอ่อนเป็นน้�ำนมเป็นเคร่ืองปรุงส�ำคัญ เช่น ทางภาคใต้ มีประเพณีกวนมธุปายาสยาคู ซ่ึงนิยมเรียกท่ัวไปว่า \"ยาคู\" หรอื “ยาโค” แตเ่ ดมิ มกั ทำ� ในเดือน ๑๐ บ้าง เดอื น ๖ บา้ ง โดยยึดเอา ระยะที่ข้าวแตกรวงผลิเป็นเมล็ดเป็นน�้ำนม แต่ปัจจุบันนิยมท�ำในวันขึ้น ๑๓ - ๑๔ ค่�ำ เดือน ๓ ตอ่ เนอื่ งกบั วนั มาฆบูชา โดยมกั ใชว้ ดั เปน็ สถานท่ี ประกอบพธิ ี ส�ำหรบั การท�ำขา้ วยาคูของทางใตน้ น้ั มีส่วนผสมหลายอยา่ ง ตามแต่ประชาชนจะช่วยกันน�ำมารวมกันตามศรัทธา เช่น น�้ำนมข้าว (ได้จากข้าวท่ีก�ำลังออกรวงอ่อนเป็นน�้ำนมต�ำทั้งเมล็ดค้ันเอาน�้ำ

ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 203 เปน็ เครอื่ งปรงุ สำ� คญั ทส่ี ดุ ) ทเุ รยี น นม ขนนุ องนุ่ นำ�้ ตาลทราย แปง้ ขา้ วเหนยี ว กะทิ พรกิ ไทย พรกิ ไทยออ่ น ลกู กระวาน กานพลู ฯลฯ วธิ กี ารกวนขา้ วยาคู เมอ่ื คนั้ ไดน้ ำ�้ นมขา้ วแลว้ กน็ ำ� เครอ่ื งปรงุ อนื่ ๆ ผสมลงไปคลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั น�ำไปกวนในกระทะท่ีต้ังไฟเตรียมไว้ กวนจนหนืดตามความต้องการ จึงตักแบ่งส่วนหนึ่งไปถวายพระที่วัด ท่ีเหลือน�ำไปแจกญาติมิตรและ ผู้ทมี่ าร่วมพิธี ในขนั้ ตอนการกวนข้าวยาคู บางแหง่ ใชผ้ ูห้ ญงิ พราหมณห์ รอื เชอ้ื พระวงศผ์ หู้ ญงิ ซงึ่ เปน็ พรหมจารเี ปน็ ผกู้ วน และมกี ารสวดพระพทุ ธมนต์ ไปจนจบ แล้วจึงให้บุคคลอื่นเข้าไปกวนได้ คล้ายการกวนข้าวทิพย์หรือ ข้าวมธุปายาสของทางภาคกลาง อน่งึ ตามพระวนิ ัยปิฎกกล่าววา่ การถวายขา้ วยาคูซงึ่ ถอื ว่า เปน็ เภสชั แกพ่ ระภกิ ษสุ งฆ์ มคี ณุ ๑๐ อยา่ ง คอื ผใู้ หข้ า้ วยาคชู อ่ื วา่ ใหอ้ ายุ ๑ ใหว้ รรณะ ๑ ให้สุข ๑ ใหก้ �ำลัง ๑ ให้ปฏภิ าณ ๑ ข้าวยาคูทด่ี ่ืมแลว้ ก�ำจดั ความหวิ ๑ บรรเทาความกระหาย ๑ ท�ำลมให้เดินคล่อง ๑ ล้างล�ำไส้ ๑ ยอ่ ยอาหารใหมท่ เ่ี หลอื อยู่ ๑ การถวายขา้ วยาคจู ะยงั อานสิ งสแ์ กผ่ ถู้ วายนน้ั เปน็ ผู้มีความสุขย่งั ยืน มีความงามอันเพริศพริ้งในมนษุ ย์ จะเห็นได้ว่าการท�ำข้าวยาคูถือเป็นงานใหญ่ต้องอาศัย ความร่วมมือของคนในชุมชนอย่างมาก เป็นการแสดงพลังสามัคคี และพลังความศรัทธาต่อพุทธศาสนาของชุมชน ถือได้ว่ามีส่วนช่วยท�ำให้ เกดิ ความสมคั รสมานสามคั คใี นทอ้ งถน่ิ อกี ทงั้ ชว่ ยสบื สานพระพทุ ธศาสนา ใหธ้ �ำรงอยู่ต่อไป

204 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย บรรณานกุ รม กรมศิลปากร. ค�ำให้การชาวกรุงเก่า ค�ำให้การขุนหลวงหาวัด และ พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ. พระนคร: คลงั วทิ ยา, ๒๕๒๐. . นางนพมาศหรอื ตำ� รบั ทา้ วศรจี ฬุ าลกั ษณ.์ กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ อสั สมั ชญั , ๒๕๓๐. (พมิ พเ์ ปน็ อนสุ รณใ์ นงานพระราชทานเพลงิ ศพ นางศรีบุรินทร์ (เย้ือน รัตนไชย) ณ ฌาปนสถานกองทัพอากาศ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร วันที่ ๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐). . อกั ขรานุกรมประวัติศาสตร์ อกั ษร ข. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ ยไู นเต็ดโปรดกั ช่ัน, ๒๕๒๗. กรมศลิ ปากร. กองวรรณคดแี ละประวตั ศิ าสตร.์ ศลิ ปวฒั นธรรมไทย เลม่ ท่ี ๓ ขนบประเพณีและวัฒนธรรม กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พิฆเณศ, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นท่ีระลึกเนื่องในโอกาส สมโภชกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕). จ. เปรียญ (นามแฝง). ประเพณีและพิธีมงคลของไทย. กรุงเทพฯ: อำ� นวยสาสน์ , ๒๕๒๒. จนั ทร์ ไพจติ ร. ประมวลพธิ มี งคลของไทย. กรงุ เทพฯ: วฒั นาพานชิ , ๒๕๒๐. (บริษทั สำ� นกั พมิ พ์วฒั นาพานชิ จำ� กัด พิมพ์เป็นอนสุ รณ์เน่ืองใน พิธีถวายศาลาจงพิพัฒนสุข ณ วัดเทพธิดาราม ส�ำราญราษฎร์ กรุงเทพมหานคร วันพฤหสั บดที ี่ ๑๓ มกราคม ๒๕๒๐). จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชพิธีสิบสองเดือน. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑๔. กรงุ เทพฯ: บรรณาคาร, ๒๕๒๒.

ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 205 ดิเรก พรตตะเสน และพทิ ยา บษุ รารตั น์. “ยาค.ู ” สารานุกรมวฒั นธรรม ภาคใต้. ๗ (๒๕๒๙) : ๒๙๕๗ - ๒๙๕๙. เบญจมาศ พลอินทร์. วรรณคดขี นบประเพณี พระราชพธิ ีสบิ สองเดือน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, ๒๕๒๓. ปรมานุชิตชิโนรส, กรมสมเด็จพระ. พระปฐมสมโพธิกถา. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์การศาสนา, ๒๕๐๕. ประพันธ์ กุลวินิจฉัย. รวมบทความ เทศกาลประเพณีไทย ๑๒ เดือน ตามแนวพระราชพธิ สี บิ สองเดอื นของลน้ เกลา้ ฯ ร. ๕. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๖. ประยุทธ สิทธิพันธ์. พระราชพิธีและประเพณีชาวบ้าน. กรุงเทพฯ: ปริทัศนศ์ าสตร,์ ๒๕๒๒. สมปราชญ์ อมั มะพนั ธ.์ ประเพณแี ละพธิ กี รรมในวรรณคดไี ทย. กรงุ เทพฯ: โอ.เอส. พร้นิ ต้งิ เฮ้าส,์ ๒๕๓๖. เสฐียรโกเศศ (นามแฝง). “กระยาสารท.” สารานุกรมไทย ฉบับ ราชบัณฑติ ยสถาน. ๑ (๒๔๙๘ - ๒๔๙๙): ๓๓๘ - ๓๔๘. อนุมานราชธน, พระยา. งานนิพนธ์ชุดสมบูรณ์ของศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน หมวดขนบธรรมเนียมประเพณี เล่ม ๕ ประเพณีเกี่ยวกับเทศกาลตรุษ - สารท. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ คุรสุ ภาลาดพร้าว, ๒๕๓๒. (กรมศิลปากร องคก์ ารค้าของคุรสุ ภา และมูลนิธิเสฐียรโกเศศ - นาคะประทีป จัดพิมพ์เน่ืองในวาระ ครบรอบ ๑๐๐ ปี ศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน). อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ. ประเพณีไทยฉบับพระมหาราชครูฯ. พระนคร: โรงพมิ พป์ ระจักษ์วิทยา, ๒๕๑๐.



สารท โดย นางสาวฉัตราภรน์ จินดาเดช

208 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย สารท* สารท เป็นเทศกาลท�ำบุญกลางปีของไทย ตรงกับวันแรม ๑๕ คำ�่ เดอื น ๑๐ หรอื วนั สนิ้ เดอื น ๑๐ ดว้ ยวา่ แตก่ อ่ นถอื เอาวนั สงกรานต์ ซงึ่ อยใู่ นชว่ งเดอื นเมษายน หรอื เดอื น ๕ เปน็ วนั ขน้ึ ปใี หม่ ดงั นนั้ ชว่ งเดอื น ๑๐ จึงตกราวกลางปีพอดี การท�ำบุญในเทศกาลสารทนี้ เป็นการท�ำบุญ เพอื่ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหแ้ กบ่ รรพบรุ ษุ ทล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ และเพอ่ื ใหเ้ ปน็ สริ มิ งคล แก่พืชผลหรือข้าวในนาท่ีก�ำลังออกรวงอ่อนตามคติความเช่ือ ซ่ึงรับ อิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์ ในปัจจุบันนี้ยังคงถือปฏิบัติสืบต่อกันมา เปน็ ประเพณปี ระจ�ำปี พระยาอนุมานราชธน กล่าวถึงเหตุที่มาแห่งการท�ำบุญ ในเทศกาลสารท หรอื ชว่ งสน้ิ เดอื น ๑๐ ของไทยไวใ้ นหนงั สอื เรอื่ ง ประเพณี เกี่ยวกับเทศกาลตรุษ - สารท ว่า สืบเน่ืองมาแต่คติความเชื่อเก่ียวกับ เร่ือง “ผลแรกได้” อันมีต้นเค้าแบบอย่างจากฝ่ายข้างผู้นับถือศาสนา พราหมณ์ในอินเดีย กล่าวคือในอินเดีย เมื่อถึงฤดูสารทหรือฤดูใบไม้ร่วง ซ่ึงตกอยใู่ นราวปลายเดือน ๑๐ ขา้ วสาลีท่เี พาะปลกู ไว้กำ� ลงั ออกรวงออ่ น เป็นน้�ำนม ผู้คนจะพากันเก็บเก่ียวผลแรกได้นี้มาปรุงแต่งพิเศษเป็น ขา้ วปายาสหรอื มธปุ ายาสและยาคู เลยี้ งดพู ราหมณ์ ซงึ่ ถอื กนั วา่ เปน็ บคุ คล พเิ ศษเสมอดว้ ยเทวดา เพ่อื ใหเ้ ปน็ สริ มิ งคลแกข่ า้ วในนา และเมอ่ื พราหมณ์ * บทความจากหนังสือนามานุกรมขนบประเพณีไทย หมวด ประเพณีราษฎร์ เล่ม ๒ (ประเพณี เทศกาล และวันส�ำคัญทางพุทธศาสนา) พ.ศ. ๒๕๕๐

ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 209 กินเล้ียงแล้วก็จะท�ำพิธีอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ท่ีล่วงลับไปแล้ว โดยเจ้าภาพ เปน็ ผหู้ ลง่ั นำ้� เรยี กวา่ “ตรรปณะ” ทำ� นองเดยี วกบั การกรวดนำ้� ตอ่ เนอื่ งกนั ไปตามประเพณีนิยม การท�ำพิธีอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วนี้ เรียกว่า “ศราทธ์” ซ่งึ ออกเสยี งเหมือนกับคำ� ว่า “สารท” ทเ่ี ป็นช่ือฤดูกาล มาชั้นหลังผู้ที่เคยนับถือศาสนาพราหมณ์แล้วกลับมานับถือ พระพุทธศาสนา เมื่อถึงคราวที่เคยทําบุญตามฤดูกาลให้แก่พราหมณ์ก็ จดั ทาํ ถวายพระสงฆ์เหมอื นทเี่ คยทาํ แก่พราหมณ์ ถอื กนั วา่ การทําบุญด้วย ของแรกไดเ้ ปน็ ผลานสิ งสอ์ ยา่ งยงิ่ และเมอื่ ทาํ บญุ แลว้ กม็ กั จะกรวดนำ�้ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลให้บรรพบุรุษซึ่งลว่ งลบั ไปแลว้ การท�ำบุญในเทศกาลสารทนี้ ในต�ำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ กล่าวว่า มีมาแต่ครั้งสมัยสุโขทัย โดยในครั้งน้ันเรียกว่า “พิธีภัทรบท” เปน็ พธิ ที มี่ ลี กั ษณะ “พทุ ธไสยศาสตรเ์ จอื กนั โดยโบราณราช” และทำ� ตอ่ เนอ่ื ง จากพิธีลอยบาปของข้างฝ่ายพราหมณ์ โดยพิธีทางฝ่ายพุทธศาสนานั้น มีการท�ำข้าวมธุปายาสและยาคูถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ เล้ียงพราหมณ์ และท�ำธงผ้าเป็นเคร่ืองบูชาพระรัตนตรัยบ้าง บูชาพระสถูปเจดีย์บ้าง เสรจ็ แลว้ กท็ ำ� พธิ อี ทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหแ้ กผ่ ทู้ ลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ ตอ่ มาในสมยั อยธุ ยา แม้ว่าจะมีหลักฐานกล่าวว่า ในเดือน ๑๐ มีการท�ำพิธีภัทรบท แต่ไม่พบ รายละเอียดชัดเจน ล่วงถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดให้มีการกวนข้าวทิพย์ขึ้น ซงึ่ คงมตี น้ เคา้ มาจากขา้ วมธปุ ายาสและยาคู แตม่ ลี กั ษณะกรรมวธิ ี การปรงุ ตลอดจนรสชาตเิ ปน็ อยา่ งสำ� หรบั คนไทยกนิ อรอ่ ย และตอ้ งใชส้ าวพรหมจารี เป็นผู้กวนข้าวทิพย์ ในปัจจุบันนี้ การท�ำบุญในเทศกาลสารทหรือวัน สนิ้ เดอื น ๑๐ ยงั คงถอื เปน็ ประเพณปี ฏบิ ตั สิ บื ตอ่ กนั มา อาจแตกตา่ งกนั บา้ ง ตามความเช่ือของแตล่ ะทอ้ งถนิ่

210 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวถึงการท�ำบุญเทศกาลสารท พอสรปุ ไดว้ า่ เมอื่ ใกลว้ นั สารท ชาวบา้ นจะนยิ มทำ� ขนม เรยี กวา่ “กระยาสารท” สำ� หรบั ท�ำบุญในวันสารท ท�ำด้วยข้าวตอก ขา้ วเมา่ ถั่ว งา และมะพรา้ ว กวนกับน�้ำตาลให้เหนียวกรอบเกาะกันเป็นปึก ซ่ึงการท�ำกระยาสารทนี้ คงจะเน่ืองมาจากข้าวปายาสหรือมธุปายาสและยาคู ท�ำนองเดียวกับ ข้าวทิพย์ ครน้ั ถึงวนั สารทหรือวันสน้ิ เดือน ๑๐ ชาวบา้ นจะน�ำเอาอาหาร พรอ้ มกระยาสารทและกลว้ ยไขไ่ ปตกั บาตรทวี่ ดั เสรจ็ แลว้ กจ็ ะกรวดนำ้� อทุ ศิ สว่ นกุศลแกบ่ รรพบุรุษผลู้ ่วงลับไปแลว้ ถอื กนั ว่าหากไมไ่ ด้ทำ� บญุ ตกั บาตร กระยาสารท ผีปูย่ า่ ตายายจะไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นอด ๆ อยาก ๆ เท่ากับ ลกู หลานขาดกตเวทติ าคุณตอ่ บุพการี ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การท�ำบุญในเทศกาลสารท เรียกว่า “บุญข้าวสาก” ถือเป็นหน่ึงในฮีตสิบสอง จะท�ำในช่วงกลาง เดอื น ๑๐ บญุ ข้าวสาก หมายถงึ ขา้ วสลาก หรือสลากภตั เปน็ การทำ� บญุ อุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้วเช่นเดียวกับการท�ำบุญข้าว ประดบั ดนิ ทที่ ำ� ในชว่ งสน้ิ เดอื น ๙ เพยี งแตใ่ ชว้ ธิ เี ขยี นหมายเลขสำ� หรบั ของ ถวายของแต่ละคนแล้วทำ� สลากถวายใหพ้ ระภิกษุสามเณรจบั ถา้ จับสลาก ถกู ชอื่ คนใด คนนนั้ กน็ ำ� ของทำ� บญุ ของตนไปถวายพระภกิ ษสุ ามเณรรปู นน้ั สว่ นอาหารทท่ี ำ� ขนึ้ เปน็ พเิ ศษเพอ่ื ทำ� บญุ ในโอกาสน้ี ทำ� ดว้ ยขา้ วเมา่ ขา้ วพอง ข้าวตอกคลุกเข้ากัน ผสมกับน้�ำตาล น้�ำอ้อย ถ่ัว งา มะพร้าวคล้าย ๆ กระยาสารทของภาคกลาง นอกจากพิธีสงฆ์แล้ว ชาวบ้านยังมีการแจก ขา้ วสาก โดยเอาอาหารคาวหวาน หมากพลู บหุ รี่ อยา่ งละเลก็ อยา่ งละนอ้ ย หอ่ ดว้ ยใบตอง นำ� ไปวางตามพน้ื ดนิ ใตโ้ คนตน้ ไม้ หรอื แขวนหอ้ ยไวก้ บั กง่ิ ไม้ ตามทางแยกสามแพร่งหรือสี่แพร่งหรือในบริเวณวัด เพื่ออุทิศให้เปรต หรือญาติมิตรท่ีล่วงลับไปแล้ว หลังจากน้ันสักพักชาวบ้านจะไปรับของ

ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 211 เหลา่ นน้ั คนื ทท่ี ำ� ใหส้ นกุ คอื จะพากนั ไปหลาย ๆ คนและไปแยง่ กนั เรยี กวา่ “แยง่ เปรต” หรอื “ยาดขา้ วสาก” เม่ือแยง่ ไดแ้ ลว้ ก็จะน�ำไปวางตามไรน่ า เพ่ือเล้ียง “ผีตาแฮก” ด้วยเช่ือกันว่าจะเสริมความอุดมสมบูรณ์ของข้าว ในนา หรือหากน�ำไปให้ทารกกนิ ทารกกจ็ ะแขง็ แรงสมบูรณ์ ส่วนการท�ำบุญในเทศกาลสารททางภาคใต้ มีคติความเชื่อ ว่าในบรรดาญาติพ่ีน้องที่ล่วงลับไปแล้ว จะมีผู้มีบาปกรรมต้องได้รับโทษ เป็นเปรตอยู่ในอบายภูมิ ปีหน่ึง ๆ ยมบาลก็จะปล่อยให้กลับมาเยี่ยม ลูกหลานเพ่ือรับส่วนกุศลปีละครั้ง ในวันบุญสารท คือ ในวันแรม ๑ ค�่ำ เดอื น ๑๐ และเมอ่ื ถงึ วนั แรม ๑๕ คำ่� เดอื น ๑๐ กต็ อ้ งกลบั ไปรบั โทษตามเดมิ บรรดาผเี ปรตเหลา่ นี้ หากไมม่ ใี ครทำ� บญุ ให้ ตอนเดนิ ทางกลบั กจ็ ะอดอยาก และก็จะสาปแช่งลูกหลานในตระกูลท่ีเพิกเฉยไม่ท�ำบุญให้ ดังน้ัน จึงเกิด มีการท�ำบุญเพ่ืออุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว โดยจะมีการท�ำบุญ เล้ยี งต้อนรับครั้งหนง่ึ ในวนั แรม ๑ ค�่ำ และท�ำบุญเลีย้ งส่งอกี คร้ังหนงึ่ ใน วนั แรม ๑๕ คำ�่ ในการทำ� บญุ นน้ั กอ่ นจะถงึ วนั ทำ� บญุ มกี ารจดั เตรยี มหมฺ รฺ บั (อา่ นวา่ หมบั หมายถงึ สำ� รบั ) ในหมฺ รฺ บั จะมอี าหารตา่ ง ๆ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ อาหารแหง้ พรอ้ มขนม ๕ อยา่ ง ทถี่ อื วา่ จะขาดไมไ่ ด้ คอื ขนมพอง หมายถงึ จะให้เป็นแพฟ่องล่องลอยพาบรรพชนล่วงข้ามสังสารวัฏ ขนมลาให้เป็น แพรพรรณเครอ่ื งนงุ่ หม่ ขนมกงหรอื บางทกี ใ็ ชข้ นมไขป่ ลาใหเ้ ปน็ เครอื่ งประดบั ขนมบา้ ใหบ้ รรพชนใชเ้ ปน็ ลกู สะบา้ สำ� หรบั เลน่ รบั สงกรานต์ และ ขนมดซี ำ� ใหเ้ ป็นเบี้ยไวใ้ ชส้ อย สำ� รับดงั กล่าวนี้ มกั ตกแตง่ เป็นรปู แบบต่าง ๆ ตามท่ี เห็นว่าสวยงาม แตต่ อ้ งมียอดสงู แหลมไวเ้ สมอ การถวายหฺมฺรับหรอื สำ� รับ แด่พระสงฆ์มักใช้วิธีจับสลากท�ำนองเดียวกับสลากภัต โดยเม่ือถึงวันแรม ๑๕ ค�่ำ จะมีพิธียกหฺมฺรับตายาย คือ การน�ำอาหารไปไว้ตามใต้ต้นไม้ หรือก�ำแพงวัดส�ำหรับผีไม่มีญาติ เม่ือพระสวดบังสุกุลอุทิศส่วนกุศลเสร็จ

212 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย เด็ก ๆ หรอื ผูใ้ หญ่กจ็ ะวง่ิ กรูไปแย่งชงิ อาหารในหฺมฺรับท่วี างไว้ ด้วยเชื่อวา่ อาหารเหล่านี้กินแล้วได้กุศลแรง พิธีน้ีเรียกว่า “ชิงเปรต” ซึ่งต่อมาได้มี การจดั เปน็ แถวรอรบั เพอ่ื ความเรยี บรอ้ ยและไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ การทะเลาะววิ าท เนื่องจากการแย่งชงิ อน่งึ นอกจากการท�ำบุญในเทศกาลสารททางภาคใต้ จะเปน็ การทำ� บญุ เพอื่ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลไปใหเ้ ปรตชนแลว้ พระยาอนมุ านราชธน อธิบายว่ายังเป็นการท�ำบุญตามคติความเช่ือ เรื่อง “ผลแรกได้” อกี ประการหนงึ่ ดว้ ย คอื หากผลไมต้ น้ ใดกำ� ลงั ออกผลในชว่ งเทศกาลสารท ชาวบ้านมักจะน�ำผ้าหรือกาบหมากหุ้มล�ำต้นไว้ ท�ำเครื่องหมายแสดงว่า ผลไมท้ ต่ี ้นน้จี ะเกบ็ ไวท้ ำ� บญุ ในวนั สารท กล่าวได้ว่าแม้การท�ำบุญในเทศกาลสารทของไทยอาจ แตกต่างกันบ้างตามแต่ละท้องถิ่น แต่ก็มีจุดประสงค์ท�ำนองเดียวกัน คือเป็นเร่ืองการท�ำบุญเนื่องจาก “ผลแรกได้” เพื่อให้เกิดความเป็น สริ มิ งคลแกพ่ ชื ผลนนั้ และเพอ่ื อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหแ้ กญ่ าตมิ ติ รทลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ นับว่าการท�ำบุญในเทศกาลสารทเป็นประเพณีที่ดีงามประเพณีหนึ่ง ของไทย ทแ่ี สดงถงึ ความกตัญญูกตเวที อนั เป็นคุณธรรมสำ� คัญย่ิงทค่ี วรคา่ แกก่ ารถอื ปฏิบัติสืบตอ่ ไป

ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 213 บรรณานกุ รม กรมศิลปากร. ค�ำให้การชาวกรุงเก่า ค�ำให้การขุนหลวงหาวัด และ พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ. พระนคร: คลงั วทิ ยา, ๒๕๒๐. . นางนพมาศหรอื ตำ� รบั ทา้ วศรจี ฬุ าลกั ษณ.์ กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ อสั สมั ชญั , ๒๕๓๐. (พมิ พเ์ ปน็ อนสุ รณใ์ นงานพระราชทานเพลงิ ศพ นางศรีบุรินทร์ (เยื้อน รัตนไชย) ณ ฌาปนสถานกองทัพอากาศ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร วันท่ี ๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐). กรมศลิ ปากร. กองวรรณคดแี ละประวตั ศิ าสตร.์ ศลิ ปวฒั นธรรมไทย เลม่ ท่ี ๓ ขนบประเพณีและวัฒนธรรม กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พิฆเณศ, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาส สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๒๕). จ. เปรียญ (นามแฝง). ประเพณีและพิธีมงคลของไทย. กรุงเทพฯ: อำ� นวยสาส์น, ๒๕๒๒. จนั ทร์ ไพจติ ร. ประมวลพธิ มี งคลของไทย. กรงุ เทพฯ: วฒั นาพานชิ , ๒๕๒๐. (บริษัท สำ� นกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จำ� กดั พมิ พเ์ ปน็ อนสุ รณเ์ น่ืองใน พิธีถวายศาลาจงพิพัฒนสุข ณ วัดเทพธิดาราม ส�ำราญราษฎร์ กรุงเทพมหานคร วนั พฤหสั บดีที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๒๐).

214 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชพิธีสิบสองเดือน. พิมพ์ครั้งท่ี ๑๔. กรงุ เทพฯ: บรรณาคาร, ๒๕๒๒. เบญจมาศ พลอนิ ทร์. วรรณคดีขนบประเพณี พระราชพธิ ีสิบสองเดอื น. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร,์ ๒๕๒๓. ปรมานุชิตชิโนรส, กรมสมเด็จพระ. พระปฐมสมโพธิกถา. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พก์ ารศาสนา, ๒๕๐๕. ประพันธ์ กุลวินิจฉัย. รวมบทความ เทศกาลประเพณีไทย ๑๒ เดือน ตามแนวพระราชพธิ สี บิ สองเดอื น ของลน้ เกลา้ ฯ ร. ๕. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๖. ประยุทธ สิทธิพันธ์. พระราชพิธีและประเพณีชาวบ้าน. กรุงเทพฯ: ปรทิ ัศนศ์ าสตร์, ๒๕๒๒. สมปราชญ์ อมั มะพนั ธ.์ ประเพณแี ละพธิ กี รรมในวรรณคดไี ทย. กรงุ เทพฯ : โอ.เอส. พริ้นตง้ิ เฮ้าส,์ ๒๕๓๖. เสฐียรโกเศศ (นามแฝง). “กระยาสารท.” สารานุกรมไทย ฉบับ ราชบณั ฑติ ยสถาน. ๑ (๒๔๙๘ - ๒๔๙๙) : ๓๓๘ - ๓๔๘. อนุมานราชธน, พระยา. งานนิพนธ์ชุดสมบูรณ์ของ ศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน หมวดขนบธรรมเนียมประเพณี เล่ม ๕ ประเพณีเก่ียวกับเทศกาลตรุษ - สารท. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ คุรสุ ภาลาดพร้าว, ๒๕๓๒. (กรมศลิ ปากร องคก์ ารคา้ ของคุรสุ ภา และมูลนิธิเสฐียรโกเศศ - นาคะประทีป จัดพิมพ์เน่ืองในวาระ ครบรอบ ๑๐๐ ปี ศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน).

ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 215 อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ. ประเพณีไทยฉบับพระมหาราชครูฯ. พระนคร: โรงพิมพป์ ระจกั ษว์ ทิ ยา, ๒๕๑๐.



ลงแขก โดย นางสาวฉัตราภรน์ จินดาเดช

218 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย ลงแขก* ลงแขกเปน็ ประเพณที แี่ สดงถงึ การรว่ มแรงรว่ มใจเพอ่ื ชว่ ยเหลอื ท�ำกิจกรรมอย่างใดอย่างหน่ึงให้เสร็จอย่างรวดเร็วทันเวลา โดยไม่มี คา่ ตอบแทน สว่ นใหญผ่ เู้ ปน็ เจา้ ภาพมกั จะจดั เลยี้ งอาหารเปน็ การตอบแทน ผู้ที่มาช่วยเหลือท�ำกิจกรรมน้นั ๆ สังคมไทยในอดีตเป็นสังคมเกษตรกรรม การเพาะปลูก เป็นอาชพี หลกั ของคนในประเทศ แต่ไม่ว่าจะเป็นการท�ำไร่ ท�ำนา ทำ� สวน ลว้ นมคี วามสมั พนั ธก์ บั ระยะเวลาของฝนฟา้ จะตอ้ งเรง่ รบี ในการเพาะปลกู ปกั ดำ� เกบ็ เกยี่ ว ครอบครวั ใดมสี มาชกิ หรอื แรงงานจำ� นวนมากกจ็ ะทำ� ไดเ้ รว็ และทันเวลา หากครอบครัวใดมีสมาชิกหรือแรงงานน้อยก็จะท�ำส�ำเร็จ ได้ยาก ด้วยเหตุนี้เองเพ่ือเป็นการช่วยเหลือกันด้านแรงงาน จึงมี การลงแขกหรือการระดมแรงงานเกิดขึ้น โดยอาจจะระดมแรงงานจาก เครือญาติ กลุ่มเพ่ือนบ้าน ตลอดจนคนอื่นที่อยู่ในชุมชนเดียวกัน แล้วหมุนเวียนกันไปจากครอบครัวหน่ึงสู่อีกครอบครัวหนึ่ง ท�ำให้กิจการ งานนั้น ๆ ส�ำเร็จลุล่วงทันเวลาหรือฤดูกาล ท้ังนี้ ในการช่วยเหลือกัน ดา้ นแรงงานดงั กลา่ วจะไมม่ คี า่ ตอบแทน งานทตี่ อ้ งระดมแรงงานหรอื ลงแขก ช่วยเหลือกันนอกจากการท�ำนา ท�ำไร่แล้ว ยังมีการระดมแรงงาน * บทความจากหนังสือนามานุกรมขนบประเพณีไทย หมวด ประเพณีราษฎร์ เล่ม ๒ (ประเพณี เทศกาล และวันส�ำคัญทางพุทธศาสนา) พ.ศ. ๒๕๕๐

ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 219 ช่วยเหลือกัน สร้างบ้าน สร้างโบสถ์ ศาลาวัด ถนน บ่อน�้ำสระน้�ำ จดั งานบญุ เปน็ ตน้ การลงแขกท�ำงานใด ๆ เจ้าของงานต้องไปบอกญาติมิตร หรือเพื่อนบ้านให้ทราบว่าตนจะท�ำอะไรและขอแรงให้มาช่วยงาน ซ่ึงจะ ต้องการแรงงานมากน้อยเพียงใดก็บอกกล่าวไปตามจ�ำนวนท่ีต้องการ และนัดวันเวลาท่ีจะท�ำงาน เม่ือถึงเวลานัดหมาย บ้านที่ถูกขอแรงจะส่ง สมาชกิ ไปชว่ ยลงแขกทำ� งาน สว่ นฝา่ ยเจา้ ของงานกจ็ ะตระเตรยี มทำ� อาหาร คาวหวานเลี้ยงผู้ท่ีมาช่วยท�ำงานไว้ให้พร้อม ในระหว่างลงแขกท�ำงาน มกั มกี ารพดู จาหยอกลอ้ กนั มกี ารละเลน่ รอ้ งร�ำทำ� เพลงเพอ่ื ความสนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ เปน็ การสรา้ งบรรยากาศใหส้ นกุ สนานครน้ื เครงและผอ่ นคลาย ความเหน่ือยลา้ เวลาทำ� งาน เมือ่ ท�ำงานเสร็จแล้วกต็ า่ งแยกยา้ ยกันกลบั ไป ปัจจุบันการลงแขกซ่ึงเป็นประเพณีท่ีสืบทอดกันมาช้านาน ถือได้ว่ามีส่วนช่วยก่อให้เกิดความรักใคร่สามัคคีในหมู่คณะได้เป็นอย่างดี ในทางหนงึ่ และแสดงถงึ ความเออ้ื เฟอ้ื เผอื่ แผเ่ กอื้ กลู กนั ของคนในสงั คมไทย ยงั คงพบเหน็ อยบู่ า้ งในชนบทบางทอ้ งถน่ิ เทา่ นน้ั ไมพ่ บเหน็ ไดท้ วั่ ไปเหมอื น ในอดีต เน่อื งจากระบบเศรษฐกจิ เปลี่ยนแปลงไปถอื การตอบแทนแรงงาน ดว้ ยการว่าจา้ งเปน็ สำ� คัญ

220 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงมหาดไทย. วัฒนธรรม พัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณแ์ ละภมู ิปัญญา จังหวดั สระแกว้ . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๕. (คณะกรรมการ ฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตใุ นคณะกรรมการอำ� นวยการ จัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จัดพิมพ์ เนอ่ื งในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๔๒). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันไทยศึกษา. ข้าวกับวิถีชีวิตไทย. กรงุ เทพฯ: สำ� นักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาต,ิ ๒๕๓๖. สาร สาระทัศนานันท์. ฮีตสบิ สอง - คลองสบิ สี่. พิมพ์ครง้ั ท่ี ๔. ม.ป.ท.: ศูนย์ศิลปวฒั นธรรมวิทยาลยั ครูเลย, ๒๕๓๐.



222 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย พระราชพิธีจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ ในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ทงุ่ ส้มป่อย (กระทรวงอตุ สาหกรรมในปัจจบุ นั ) ถ่ายภาพเมอื่ วันที่ ๑ พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๔๗๓ ภาพจาก สำ� นักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศลิ ปากร ขบวนพระราชพธิ จี รดพระนงั คัลแรกนาขวญั

ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 223 พราหมณแ์ ละราชบณั ฑิตนำ� ขบวนพระราชพธิ จี รดพระนงั คัลแรกนาขวญั

224 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย มหาอ�ำมาตย์เอก เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ เป็นพระยาแรกนา

ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 225 ม.ร.ว. เลก็ บรรยงคเ์ สนา เปน็ เทพหี าบทอง (คุณเถา้ แก)่

226 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย เจ้าพระยาพลเทพก�ำลงั หว่านขา้ วในมณฑลพธิ ี

ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 227 เจา้ พระยาพลเทพก�ำลงั หวา่ นข้าวในมณฑลพิธี

228 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย การเส่ยี งทายของกิน ๗ อยา่ ง ที่ต้งั เลี้ยงพระโค

ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 229 ราษฎรก�ำลังเกบ็ เมล็ดข้าวเปลือกภายในมณฑลพธิ ี ภายหลังเสรจ็ ส้ินการพระราชพธิ ีจรดพระนังคัลแรกนาขวญั

230 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย พระราชพิธจี รดพระนังคัลแรกนาขวญั ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยหู่ วั ณ ท่งุ สม้ ปอ่ ย (กระทรวงอตุ สาหกรรมในปัจจบุ นั ) ถ่ายภาพเม่อื วนั ที่ ๒๒ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๔๗๔ ภาพจาก สำ� นักหอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ กรมศิลปากร สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ บรพิ ตั รสขุ มุ พนั ธ์ุ กรมพระนครสวรรคว์ รพนิ ติ เสด็จเป็นผู้แทนพระองค์ ในการพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ในการน้ี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระก�ำแพงเพชรอคั รโยธิน โดยเสด็จดว้ ย

ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 231 ขบวนแหพ่ ระยาแรกนาเดนิ ทางมาถงึ มณฑลพิธี

232 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ขบวนแห่พระยาแรกนาเดนิ ทางมาถงึ มณฑลพธิ ี

ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 233 เจ้าพนกั งานกราบทลู ถวายรายงานต่อผ้แู ทนพระองค์

234 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย เทพีค่หู าบทองและเทพคี ่หู าบเงนิ

ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 235 มหาอำ� มาตย์เอก เจ้าพระยาพชิ ัยญาติ (ดั่น บุนนาค) อธบิ ดศี าลฎีกา เปน็ พระยาแรกนา เจา้ พนักงานก�ำลงั แต่งกายพระยาแรกนา

236 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย เจ้าพระยาพชิ ยั ญาตถิ วายบังคมผู้แทนพระองค์ เพื่อปฏบิ ตั ิหน้าทพี่ ระยาแรกนา

ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 237 ขบวนพระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวัญ

238 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ขบวนพระราชพธิ ีจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั

ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 239 พราหมณแ์ ละราชบณั ฑิตนำ� ขบวนพระราชพธิ จี รดพระนงั คัลแรกนาขวญั

240 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย เจ้าพระยาพชิ ยั ญาติก�ำลงั หว่านขา้ วในมณฑลพธิ ี

ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 241 เจา้ พระยาพชิ ัยญาตกิ �ำลังหวา่ นข้าวในมณฑลพธิ ี

242 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย การเส่ยี งทายของกิน ๗ อยา่ ง ที่ต้งั เลี้ยงพระโค

ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 243 ราษฎรก�ำลังเกบ็ เมล็ดข้าวเปลือกภายในมณฑลพธิ ี ภายหลังเสรจ็ ส้ินการพระราชพธิ ีจรดพระนังคัลแรกนาขวญั

244 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย พระลักษมี เทวีองค์หน่ึงในศาสนาฮินดูที่อุบัติขึ้นพร้อมกับการกวน เกษียรสมุทรพร้อมกบั ของมงคลต่าง ๆ พระองคจ์ งึ เปน็ สัญลักษณ์ของความ อุดมสมบูรณ์ และมีภาคหน่ึงท่ีพระลักษมีถือหม้อน�้ำและรวงข้าวประทับ อยบู่ นดอกบวั และมอี ลุ กุ าหรอื นกฮกู เปน็ พาหนะ ซง่ึ ภาคดงั กลา่ วอยใู่ นฐานะ เทพแี หง่ ข้าวและอาจเปน็ ต้นก�ำเนดิ ของแม่โพสพ ประติมากรรมสัมฤทธ์ศิ ิลปะอยธุ ยา อายสุ มัยราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑ ปัจจุบันจดั แสดงทีพ่ ิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 245 พระแม่ธรณี เทวอี งคส์ �ำคัญต้งั แต่สมยั พระเวท พระองคท์ รงเป็นสญั ลักษณ์ ของแผ่นดิน ที่ให้ก�ำเนิดพืชพรรณธัญญาหารต่าง ๆ และมีบทบาทส�ำคัญ ตอ่ พทุ ธศาสนาในประเทศไทย ประติมากรรมสมั ฤทธศ์ิ ลิ ปะรัตนโกสินทร์ อายสุ มยั ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๒๕ ปจั จุบันจดั แสดงทีพ่ ิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร

246 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ภาพเหรียญศรีวัตสะสมัยทวารวดี เดิมท�ำเป็นสัญลักษณ์ของรูปคนหรือทารก ในครรภ์ อาจหมายถงึ ลูกของพระศรี ทอ่ี ยู่ของพระศรีหรอื สญั ลักษณ์แทนพระศรี ซงึ่ หมายถงึ ความอุดมสมบรู ณ์ ขุดพบท่ตี ำ� บลทับคล้อ อำ� เภอตะพานหิน จังหวัด พจิ ิตร หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล ประทานให้กรมศิลปากร เมื่อวันท่ี ๒๗ เมษายน พุทธศกั ราช ๒๔๙๘ ปัจจุบนั จัดแสดงท่พี ิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 247 พระแม่โพสพ หรือเทพีแห่งข้าวท่ีกลุ่มชนหลายวัฒนธรรมต่างให้ความเคารพ และมีช่ือเรียกต่างกันไป มักแสดงออกเป็นผู้หญิงรูปร่างงดงามถือรวงข้าว ในประเทศไทยนิยมท�ำยันต์รูปพระแม่โพสพคู่กับปลากรายและเต่า หรือ สัตวน์ �้ำตา่ ง ๆ ทีเ่ ปน็ สญั ลักษณ์ตวั แทนแหง่ ความอุดมสมบูรณ์ ประตมิ ากรรมแก้ว ไม่ระบอุ ายุสมยั ทรัพยส์ ินส่วนบุคคล

248 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย พระแม่โพสพ หรือเทพีแห่งข้าวที่กลุ่มชนหลายวัฒนธรรมต่างให้ความเคารพ และมีช่ือเรียกต่างกันไป มักแสดงออกเป็นผู้หญิงรูปร่างงดงามถือรวงข้าว ในประเทศไทยนยิ มทำ� ยนั ตร์ ปู พระแมโ่ พสพคกู่ บั ปลากรายและเตา่ หรอื สตั วน์ ำ�้ ตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ สัญลกั ษณต์ ัวแทนแห่งความอุดมสมบูรณ์ ประตมิ ากรรมแก้ว ไม่ระบุอายสุ มยั ทรพั ยส์ นิ สว่ นบคุ คล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook