ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย กรมศลิ ปากร พิมพเ์ ผยแพร่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔
๏ เรยี มจากฤๅจบั เขา้ เตม็ คำ� หนึ่งเลย รนิ ซึ่งชลจานจ�ำ เน่ืองแค้น หยิบกับกระยาท�ำ คดิ แม่ คอยแม่ เหียนฤหายหอบแหน้น อกค้างคายคนื ฯ โคลงนิราศนรินทร์ โคลงนริ าศนรินทร์, พิมพ์ครงั้ ที่ ๔ กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร, ๒๕๑๒. พิมพเ์ ปน็ อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นางเพ็ญแข พิทักษ์มนูศาสตร์ ณ วัดมกุฏกษัตริยาราม วันที่ ๑๐ มนี าคม พุทธศกั ราช ๒๕๑๒, หนา้ ๑๑.
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย กรมศิลปากร พมิ พ์เผยแพร่ พุทธศักราช ๒๕๖๔
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย พมิ พค์ รัง้ ที่ ๑ พุทธศักราช ๒๕๖๔ จ�ำนวน ๑,๐๐๐ เลม่ ลิขสิทธข์ิ องกรมศิลปากร ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของสำ� นกั หอสมดุ แหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย. -- กรุงเทพฯ : ส�ำนกั วรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศลิ ปากร, ๒๕๖๔. ๒๘๖ หน้า. ๑. ขา้ ว -- แง่สังคม. ๒. การท�ำนา -- พธิ กี รรม. I. ช่อื เร่ือง. 390.09593 ISBN 987-616-283-576-6 ท่ีปรึกษา อธิบดกี รมศิลปากร นายประทีป เพ็งตะโก รองอธิบดกี รมศลิ ปากร นายอรุณศักดิ์ กง่ิ มณี รองอธบิ ดีกรมศลิ ปากร นายพนมบุตร จันทรโชติ รองอธบิ ดกี รมศลิ ปากร นายจารกึ วิไลแก้ว ผ้อู ำ� นวยการส�ำนักบริหารกลาง นางรัชนก โคจรานนท์ ผูอ้ ำ� นวยการสำ� นักวรรณกรรมและประวัตศิ าสตร์ นางสาวศกุ ลรตั น์ ธาราศกั ดิ์ ผู้อำ� นวยการกล่มุ จารีตประเพณี นางสาวฉตั ราภรน์ จินดาเดช ผ้ตู รวจพจิ ารณาต้นฉบับ นางสาวพมิ พพ์ รรณ ไพบูลย์หวงั เจริญ นักอกั ษรศาสตร์ทรงคณุ วฒุ ิ ผ้เู ชี่ยวชาญเฉพาะด้านอักษรศาสตร์ (ภาษา เอกสาร และหนังสือ) คณะบรรณาธกิ าร นายภวู นารถ สังข์เงิน นายชญานนิ นยุ้ สินธุ์ นายทตั พล พูลสุวรรณ นางสาวรงุ่ นภา สงวนศกั ดิ์ศร ี นางสาวกมลพรรณ บญุ สุทธิ์ นางสาวพลอยชมพู ยามะเพวนั ค้นควา้ เรียบเรียง นางสาวฉตั ราภรน์ จินดาเดช นายบัณฑิต ล่ิวชัยชาญ นายชญานิน น้ยุ สนิ ธุ์ นางจินตนา กระบวนแสง นายภวู นารถ สังขเ์ งนิ นางฤดรี ัตน์ กายราศ นางสาวพลอยชมพู ยามะเพวัน นายสถาพร ดงขุนทศ นางสาวกมลพรรณ บญุ สทุ ธ์ิ พมิ พ์ที่ บรษิ ัทอมรินทร์พรน้ิ ต้งิ แอนดพ์ บั ลิชช่งิ จ�ำกดั (มหาชน) ๓๗๖ ถนนชยั พฤกษ์ แขวงตลิง่ ชนั เขตตลิง่ ชัน กรงุ เทพฯ ๑๐๑๗๐ E-mail : [email protected]
คำ� นำ� ข้าว ถือเป็นธัญพืชหลักในการบริโภคของคนไทย มาอย่างยาวนาน ดังมีการค้นพบหลักฐานการบริโภคข้าวในดินแดน ประเทศไทยในปจั จบุ นั มาตง้ั แตย่ คุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ และไดห้ ยง่ั รากพฒั นา เร่ือยมาจนกลายเป็นวัฒนธรรมในวิถีชีวิตของคนไทยในทุกมิติ ซึ่งในมิติ การบรโิ ภค คนไทยเรารจู้ กั นำ� ขา้ วมาปรงุ แตง่ ใหเ้ ปน็ เมนอู าหารหลากหลาย ทง้ั คาวหวาน รวมถงึ การถนอมอาหารรปู แบบตา่ ง ๆ สว่ นในมติ กิ ารประพฤติ ปฏิบัติอยู่รวมกันในสังคม ข้าวมีบทบาทต่อการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ของผคู้ น การแสดงออกทางความคดิ ความเชอื่ หรอื การนบั ถอื ศาสนา ซง่ึ เปน็ เครอ่ื งยดึ เหนยี่ วจติ ใจ โดยมกั พบขา้ วเปน็ องคป์ ระกอบในฐานะธญั พชื ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ในรปู แบบขา้ วตอกขา้ วทพิ ย์ขา้ วยาคูหรอื เครอื่ งบตั รพลีเปน็ ตน้ หรอื ในฐานะ บุคลาธิษฐานเป็นเทพไท้เทวาอันศักด์ิสิทธ์ิและธัญพืชที่มีคุณูปการ ในการดำ� รงชวี ติ ดงั ทปี่ รากฏในวรรณคดมี ขุ ปาฐะและวรรณกรรมรว่ มสมยั จำ� นวนมากของประเทศไทย กรมศิลปากร โดยส�ำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ ในฐานะหน่วยงานทมี่ ีภารกจิ ในการศกึ ษา คน้ คว้า วจิ ยั อนุรกั ษ์ สบื ทอด และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของประเทศ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญ อย่างลึกซึ้งและกว้างขวางของวัฒนธรรมข้าวในมิติต่าง ๆ ของสังคมไทย จึงได้รวบรวมบทความทางวิชาการว่าด้วยวัฒนธรรมข้าวหลากหลายมิติ ในสงั คมไทยจากเอกสารประกอบการสมั มนาทางวชิ าการดา้ นประวตั ศิ าสตร์ และจารตี ประเพณี เรอ่ื ง “ขา้ ว : วถิ วี ฒั นธรรมอาเซยี น” ทน่ี กั อกั ษรศาสตร์ กลมุ่ จารตี ประเพณี ส�ำนกั วรรณกรรมและประวตั ิศาสตร์ ไดศ้ ึกษาค้นควา้ เรยี บเรยี งและนำ� เสนอในโอกาสดงั กลา่ ว ทงั้ นี้ กลมุ่ จารตี ประเพณพี จิ ารณา
เหน็ วา่ แมบ้ ทความจากเอกสารประกอบการสมั มนาฯ บางเรอ่ื งเคยปรากฏ ในหนังสือนามานุกรมขนบประเพณีไทย หมวดพระราชพิธีและรัฐพิธี และหมวดประเพณีราษฎร์ เล่ม ๒ (ประเพณี เทศกาล และวันส�ำคัญ ทางศาสนา) แล้ว หากแต่บทความล้วนมีเน้ือหาเป็นประโยชน์ต่อ การศึกษาค้นคว้าในเร่ืองวัฒนธรรมข้าวให้ละเอียดลึกซ้ึงและรอบด้าน ตลอดจนส่งเสริมงานวิชาการด้านขนบธรรมเนียมประเพณีและประเพณี ของไทยอย่างย่ังยืนต่อไป นอกจากนี้ยังได้น�ำเร่ืองการท�ำนา พระนิพนธ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร บทท�ำขวัญเข้า (ไม่ปรากฏ ผู้แต่ง) และบทท�ำขวัญนา ของพระยาไชยวิชิต (เผือก) ซ่ึงสมเด็จ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ทรงรวบรวมและจดั พมิ พ์ ไวใ้ นหนงั สอื ประชมุ เชญิ ขวญั เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๑ มาจดั ทำ� เปน็ ภาคผนวก รวมทงั้ นำ� บางสว่ นของโคลงนริ าศนรนิ ทรแ์ ละโคลงทวาทศมาสมาแทรกไว้ กอ่ นเข้าสเู่ รอื่ ง และหลังจบเร่อื ง ด้วยพิจารณาเหน็ ว่าบทประพนั ธด์ ังกล่าว มเี นอื้ หาเชอื่ มโยงกบั เรอื่ งขา้ วในวถิ วี ฒั นธรรมไทย และทรงคณุ คา่ ดา้ นภาษา และวรรณกรรม ควรค่าแก่การเผยแพร่สู่สาธารณชนในวงกว้าง เพ่ือเป็น การสบื ทอดและตอ่ อายเุ อกสารเก่าที่ทรงคุณค่าอีกทางหน่งึ กรมศิลปากร หวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือรวมบทความ วชิ าการเรอ่ื ง ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย จะอำ� นวยประโยชนเ์ พมิ่ พนู ความรู้ และสง่ เสรมิ ใหต้ ระหนกั ในความสำ� คญั และคณุ คา่ ของมรดกทางวฒั นธรรม ของชาติแกป่ ระชาชน นักเรยี น นักศกึ ษา และผทู้ ส่ี นใจโดยทวั่ กนั ส�ำนักวรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์ (นายประทีป เพ็งตะโก) มิถุนายน ๒๕๖๔ อธิบดกี รมศิลปากร
สารบญั หนา้ ข้าว : คำ� และความหมายทเ่ี รา (ไม่) รู้ ๙ ปริทศั นว์ ฒั นธรรมขา้ วสมยั โบราณ ๓๕ คติความเชอ่ื เกีย่ วกับข้าวและการท�ำนาปลูกขา้ ว ๕๑ เทวดาในนาข้าว ๗๑ ประเพณแี ละคตคิ วามเชอื่ เกย่ี วกับการทำ� นาในพน้ื ท่ภี าคใต้ ๘๗ พระราชพิธพี ืชมงคล พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ๑๑๙ พระราชพธิ ีกวนข้าวมธุปายาส กวนข้าวทิพย์ การท�ำข้าวยาค ู ๑๒๗ บญุ ขา้ วจ่ี ๑๔๑ ขอฝน ๑๕๕ บุญคณู ลาน ๑๖๓ บุญขา้ วสาก ๑๗๗ ข้าวทพิ ย์ ๑๘๓ ขา้ วยาคู ๑๙๑ สารท ๑๙๙ ลงแขก ๒๐๗ ภาคผนวก ๒๑๗ เรือ่ งทำ� นา ๒๕๓ (บท) ทำ� ขวญั เข้า ๒๕๕ (บท) ท�ำขวญั นา ๒๗๙ ๒๘๙
ขา้ ว : คำ� และความหมายทเ่ี รา (ไม)่ รู้ โดย นายบณั ฑิต ลว่ิ ชัยชาญ
10 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย ขา้ ว : ค�ำและความหมายทีเ่ รา (ไม่) รู้ การรจู้ กั เพาะปลกู และเลย้ี งสตั วเ์ ปน็ การเปลย่ี นแปลงวถิ ชี วี ติ ของผู้คนคร้ังส�ำคัญยิ่งในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ บริเวณท่ีราบลุ่ม รอบ ๆ ทะเลสาบนำ�้ จดื ดองตงิ ทางตอนใต้ของแมน่ ำ�้ แยงซีเกียง ในตอนใต้ ของประเทศจีนได้พบหลักฐานเกี่ยวกับข้าวที่เป็นอาหารของมนุษย์ มีอายุประมาณ ๘,๐๐๐ ปีมาแล้ว ถึงแม้ว่ายังไม่มีการวิเคราะห์ที่แน่ชัด ว่าข้าวที่พบเป็นข้าวป่า หรือข้าวปลูก แต่นักโบราณคดีจีนก็เชื่อว่า ขา้ วดงั กลา่ วเปน็ ขา้ วปลกู และมคี วามเปน็ ไปไดว้ า่ บรเิ วณนอ้ี าจเปน็ จดุ กำ� เนดิ ของการเริ่มเข้าสู่การเกษตรกรรม โดยกลุ่มชนซึ่งอาจจะเป็นบรรพบุรุษ ด้ังเดิมของมอญ เขมร และรวมถึงไทยดว้ ย1 ในประเทศไทยยังไม่พบหลักฐานท่ีแสดงถึงหัวเลี้ยวหัวต่อ ในการหาอาหารจากธรรมชาติสู่การเกษตรกรรม ถึงแม้ว่าได้พบเมล็ดพืช และพืชจ�ำพวกถ่ัวต่าง ๆ ที่แหล่งโบราณคดีถ้�ำผี จังหวัดแม่ฮ่องสอน อายเุ ก่าถึง ๗,๕๐๐ ปมี าแลว้ แตก่ ็นา่ จะเปน็ พืชปา่ ตามธรรมชาติมากกวา่ พืชที่มนุษย์ปลูก ส่วนท่ีแหล่งโบราณคดีถ�้ำปุงฮุง จังหวัดแม่ฮ่องสอน อายุประมาณ ๕,๐๐๐ - ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว พบหลักฐานเกี่ยวกับข้าว แตก่ ็เปน็ ข้าวป่าไม่ใช่ขา้ วปลูกตามทเี่ ช่อื กันมาแตเ่ ดิม2 1 ชาร์ลส ไฮแอม และรัชนี ทศรัตน์, สยามดึกด�ำบรรพ์ยุค ก่อนประวตั ศิ าสตรถ์ งึ สมยั สโุ ขทยั (กรุงเทพฯ : รเิ วอร์ บุค๊ ส์, ๒๕๔๒), หน้า ๗๓. 2 ดูรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ใน เรือ่ งเดียวกัน, หน้า ๓๐ - ๓๖.
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 11 ต่อมาเมื่อประมาณ ๔,๐๐๐ - ๓,๕๐๐ ปีมาแล้ว เป็นอยา่ งนอ้ ย3 ไดพ้ บหลักฐานทแ่ี สดงถงึ การเพาะปลูกขา้ วและเล้ียงสัตว์ เช่น แหล่งโบราณคดีโนนนกทา อ�ำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น4 พบแกลบขา้ วซงึ่ นำ� มาเปน็ สว่ นผสมของดนิ เหนยี วในการปน้ั ภาชนะดนิ เผา สัตวเ์ ลย้ี ง มีวัว หมู และสนุ ขั 5 แสดงนยั ว่าคนทแ่ี หลง่ โบราณคดโี นนนกทา ไดท้ ำ� การเพาะปลกู ขา้ วแลว้ และแหลง่ โบราณคดบี า้ นเชยี ง จงั หวดั อดุ รธานี ผคู้ นรจู้ กั เพาะปลกู ขา้ วและเลยี้ งสตั วต์ ง้ั แตเ่ มอื่ ประมาณ ๔,๓๐๐ - ๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว6 วิธีการเพาะปลูกข้าวในสมัยแรกน้ันอาจท�ำนาหว่านในลักษณะ นาเลอ่ื นลอยในพืน้ ทล่ี มุ่ น�้ำขัง ตอ่ มาเมอ่ื ราว ๒,๗๐๐ - ๒,๕๐๐ ปีมาแลว้ จงึ มกี ารปลกู ขา้ วแบบนาดำ� ทมี่ กี ารทำ� คนั นาทดนำ�้ และนา่ จะมกี ารใชค้ วาย ในการไถนาดว้ ย7 3 สุรพล นาถะพินธุ สันนิษฐานว่า ประชากรบางกลุ่มได้เริ่ม ท�ำการเพาะปลกู และเลีย้ งสัตว์บางชนดิ เช่น วัว หมู และไก่ ระหว่างไมน่ ้อยกว่า ๔,๕๐๐ - ๔,๐๐๐ ปมี าแลว้ ดรู ายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ใน สรุ พล นาถะพนิ ธ,ุ รากเหงา้ บรรพชนคนไทย : พัฒนาการทางวัฒนธรรมก่อนประวัติศาสตร์ (กรุงเทพฯ: มตชิ น, ๒๕๕๐), หน้า ๙๓ - ๙๔. 4 การก�ำหนดอายุของแหล่งโบราณคดีโนนนกทายังเป็นปัญหา ที่มีการถกเถียงกันอยู่ อย่างไรก็ตาม Bayard ผู้ขุดค้น เห็นว่ามีความเป็นไปได้ มากวา่ ในสมยั ตน้ ซึง่ พบแกลบข้าวนั้นมอี ายปุ ระมาณ ๕,๕๐๐ - ๔,๕๐๐ ปมี าแลว้ ดูรายละเอียดเพ่ิมเติม ใน สุรพล นาถะพินธุ, รากเหง้าบรรพชนคนไทย : พฒั นาการทางวฒั นธรรมกอ่ นประวัตศิ าสตร,์ หน้า ๕๘ - ๖๑. 5 ชาร์ลส ไฮแอม และรัชนี ทศรัตน์, สยามดึกด�ำบรรพ์ยุค ก่อนประวตั ิศาสตร์ถงึ สมยั สุโขทยั , หน้า ๘๓. 6 สุรพล นาถะพินธุ, รากเหง้าบรรพชนคนไทย : พัฒนาการ ทางวฒั นธรรมก่อนประวัติศาสตร์, หนา้ ๔๘. 7 เรื่องเดยี วกัน, หนา้ ๙๔.
12 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย นับเวลาอันยาวนานถึงประมาณ ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว ที่ผู้คน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้สั่งสมองค์ความรู้จนกลายเป็นภูมิปัญญา ในการเพาะปลกู ขา้ ว ซงึ่ เปน็ ลกั ษณะเดน่ จ�ำเพาะประการหนงึ่ ของภมู ภิ าคนี้ ท่ีด�ำรงชีวิตโดยอาศัยการกสิกรรมปลูกข้าวเป็นพืชส�ำคัญและบริโภคข้าว เปน็ อาหารหลกั 8 ขา้ วจงึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของวถิ ชี วี ติ ของกลมุ่ คนในวฒั นธรรม ต่าง ๆ ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ท้งั ประเพณี ความเช่ือ พธิ กี รรม รวมทงั้ ดา้ นภาษา ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากชอื่ เรยี กและคำ� ศพั ทท์ เี่ กยี่ วเนอื่ งกบั ขา้ ว ในกลุ่มคนต่าง ๆ ในดินแดนแห่งน้ี ที่มีเป็นจ�ำนวนมากและแตกต่างกัน ในแตล่ ะกลุ่มภาษา ร่องรอยของค�ำว่า “เข้า” หรือ “ข้าว” และค�ำศัพท์ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ขา้ วในภาษาไทย เปน็ หลกั ฐานสำ� คญั อยา่ งหนงึ่ ทอี่ าจจะทำ� ให้ เห็นถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมา จารีตประเพณี และการติดต่อ ทางวฒั นธรรมของผคู้ นในดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตไ้ ดไ้ มม่ ากกน็ อ้ ย บทความนี้เป็นแต่เพียงการน�ำเสนอข้อมูลเบ้ืองต้นเกี่ยวกับ ค�ำวา่ “เขา้ ” หรือ “ขา้ ว” ในภาษาไทย และค�ำศพั ทเ์ กย่ี วกับขา้ วในภาษา เขมรและภาษามอญ ซง่ึ อาจจะเปน็ ประโยชนส์ �ำหรบั ผทู้ ส่ี นใจศกึ ษาคน้ ควา้ ต่อไป 8 สุรยิ า รตั นกลุ , นานาภาษาในเอเชยี อาคเนย์ ภาคที่ ๑ ภาษา ตระกูลออสโตรเอเชียติก และตระกูลจีน - ทิเบต, พิมพ์ครั้งที่ ๔ (กรุงเทพฯ: สถาบันวจิ ยั ภาษาและวัฒนธรรมเพอื่ พัฒนาชนบท มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, ๒๕๓๑), หน้า ๔.
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 13 ความหมายของค�ำว่า “เข้า” และ “ข้าว” “...ไม้ล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Gramineae โดยเฉพาะชนดิ Oryza sativa L. เมลด็ เป็นอาหารหลัก มหี ลายพนั ธุ์ เช่น ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว...” เป็นนิยามความหมายของค�ำว่า “ข้าว” ซึ่งเป็น ที่รู้และเข้าใจกันดีในปัจจุบัน ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕9 ฉบบั พ.ศ. ๒๕๔๒10 และ ฉบบั พ.ศ. ๒๕๕๔11 ในสมัยโบราณน้ัน “ข้าว” เขียนว่า “เข้า” ซ่ึงจะกล่าว ในรายละเอยี ดตอ่ ไปขา้ งหนา้ และคำ� วา่ “เขา้ ” ยงั หมายถึง “ป”ี อกี ด้วย ดังปรากฏในศลิ าจารึกสมยั สุโขทัย เช่น ศลิ าจารึกสโุ ขทัย หลกั ที่ ๑ จารึก พ่อขุนรามคำ� แหง กลา่ วว่า “...เม่ือกูข้นึ ใหญไ่ ดส้ ิบเกา้ เข้า...”12 หมายถึง 9 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕, พิมพ์ครั้งที่ ๖ (กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์ อจท., ๒๕๓๙), หน้า ๑๔๒. 10 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (กรุงเทพฯ: นานมบี ุ๊คส์พับลเิ คช่ันส์, ๒๕๔๖), หน้า ๑๘๔. 11 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเน่ืองในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ (กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๖), หน้า ๑๙๑. 12 ศิลาจารึกสุโขทัย หลักท่ี ๑ จารึกพ่อขุนรามค�ำแหง, พิมพ์ครั้งที่ ๓ (กรุงเทพฯ: ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร), ๒๕๔๗, (คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในโอกาสท่ีวันพระบรมราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๔๗), หน้า ๑๘.
14 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย เม่ือกูอายุได้ ๑๙ ปี ซ่ึงสิบเก้าเข้าหมายความว่าย่างเข้าสิบเก้าป1ี 3 และ คำ� วา่ “เขา้ ” ทห่ี มายถงึ “ป”ี ปรากฏในกฎหมายตราสามดวง “พระไอยการ ลักษณภญาณ” วา่ “...เดก ๗ เขา้ เถ้า ๗๐..”14 หมายถึง “เด็กอายุ ๗ ปี และเฒา่ อายุ ๗๐ ป”ี ไม่สามารถใช้เปน็ พยานได้ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานยังคงรูปค�ำและนิยาม ความหมายดงั้ เดมิ ของคำ� ว่า “เขา้ ” ไวว้ า่ “เข้า ๒ (โบ) น. ขา้ ว ; ขวบป”ี ดังปรากฏในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓15 ฉบับ พ.ศ. ๒๕๒๕16 ฉบบั พ.ศ. ๒๕๔๒17 และ ฉบบั พ.ศ. ๒๕๕๔18 13 เร่อื งเดยี วกนั , หนา้ ๓๓. 14 “พระไอยการลักษณภญาณ,” ใน กฎหมายตราสามดวง ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม ๑ (กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๐), หนา้ ๖๐๑ และ ๖๒๕. 15 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓, พมิ พค์ ร้ังที่ ๑๐ (กรุงเทพฯ: โรงพมิ พศ์ ูนยก์ ารทหารราบ, ๒๕๑๓), หน้า ๒๑๓. 16 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕, หน้า ๑๕๕. 17 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, หน้า ๒๐๓. 18 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเน่ืองในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔, หน้า ๒๑๒.
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 15 ค�ำวา่ “ข้าว” ในภาษาไทย เขมร และมอญ ค�ำศัพท์เรียกข้าวที่แตกต่างกันในแต่ละภาษาเป็นหลักฐาน ยนื ยนั ไดอ้ ยา่ งหนงึ่ วา่ ขา้ วเปน็ พชื พน้ื เมอื งดง้ั เดมิ ในดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ออก เฉียงใต้ ในท่ีน้ีจะยกตัวอย่างให้เห็นค�ำว่าข้าวในภาษาไทย ภาษาเขมร และภาษามอญ คำ� ศัพท์ “ข้าว” ในภาษาไทย คำ� ศัพท์ท่มี คี �ำว่า “ขา้ ว” และมคี วามหมายเกย่ี วข้องกบั ขา้ ว ได้แก่ ข้าวกระยาทพิ ย์ ขา้ วกรู ข้าวกล้อง ขา้ วกล้า ข้าวกลาง ข้าวเกรียบ ข้าวเกรียบปากหมอ้ ข้าวเกรยี บออ่ น ข้าวเกา่ ข้าวแกง ข้าวโกบ ขา้ วขวัญ ข้าวของ ข้าวแขก ข้าวควบ ข้าวแคบ ข้าวงัน ข้าวจี่ ข้าวเจ้า ข้าวแจก ข้าวซ้อม ข้าวซอ้ มมือ ขา้ วซอย ขา้ วแดกงา ขา้ วแดง ขา้ วเมล็ดแดง ขา้ วตก ข้าวต้ม ข้าวต้มน้�ำวุ้น ข้าวต้มปัด ข้าวต้มลูกโยน ข้าวตอก ข้าวตอกต้ัง ขา้ วตอกแตก ข้าวตอ้ ง ขา้ วต้ัง ขา้ วตาก ขา้ วตู ขา้ วแตก ข้าวทพิ ย์ ขา้ วนก ขา้ วนาปรัง ข้าวนาปี ข้าวบาตร ข้าวบารเ์ ลย์ ขา้ วบณิ ฑ์ ขา้ วบหุ ร่ี ข้าวเบา ข้าวเบือ ข้าวประดับดิน ข้าวปลูก ข้าวปัด ข้าวป่า ข้าวปาด ข้าวปุ้น ข้าวผอก ขา้ วพระ ข้าวพอง ข้าวโพด ข้าวฟา่ ง ข้าวเภา ขา้ วมัน ขา้ วเม่า ข้าวเม่าทอด ข้าวยาคู ข้าวย�ำ ข้าวไรท์ ข้าวละมาน ข้าวสวย ข้าวสาก ข้าวสามเดือน ข้าวสาร ข้าวสาลี ข้าวสุก ข้าวเสียแม่ซื้อ ข้าวหมก ข้าวหมาก ข้าวหลามตดั ขา้ วหวั โขน ขา้ วเหนียว ขา้ วเหนยี วด�ำ ขา้ วใหม่ ข้าวโอ๊ต ข้าวฮาง19 19 ดูรายละเอียดและความหมาย ใน ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, หน้า ๑๘๔ - ๑๘๗.
16 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ค�ำศัพท์ท่ีมีค�ำว่า “ข้าว” แต่ไม่ได้มีส่วนเก่ียวข้องกับข้าว ไดแ้ ก่ขา้ วขา้ หรอื ขา้ วคา่ (วา่ นพระฉมิ )ขา้ วคำ� (การบรู ปา่ )ขา้ วตม้ (ความหมาย ท่ี ๒) หรอื หญา้ ขดั ใบยาว ขา้ วตอก (ความหมายที่ ๒) หรอื ตนี ตกุ๊ แก ขา้ วนก (ความหมายท่ี ๒ ชอื่ เรอื ชนดิ หนงึ่ ) ขา้ วมน่ิ (ขมน้ิ ) ขา้ วเมา่ (ความหมายท่ี ๒ ช่ือปลาชนิดหนึ่ง) ข้าวเย็นใต้ (ช่ือพันธุ์ไม้) ข้าวเย็นเหนือ (ช่ือพันธุ์ไม้) ข้าวสาร (ความหมายที่ ๒ ชือ่ ไมเ้ ถา) ข้าวใหม่ (ความหมายที่ ๒ ช่อื หนึ่ง ของดอกชมนาด) ข้าวใหม่น้อย (ชื่อไข้ชนิดหน่ึง) ข้าวใหม่ใหญ่ (ชื่อไข้ ชนดิ หนึง่ ) ข้าวอังกลุ 2ี 0 นอกจากน้ียังมีค�ำศัพท์ท่ีประกอบด้วยค�ำว่า “ข้าว” ในเอกสารโบราณ เช่น ขา้ วแฝ่ หรือขา้ วแฟ2่ 1 ซงึ่ หมายถึง กาแฟ สำ� นวนทเ่ี กยี่ วกบั ขา้ ว ไดแ้ ก่ ขา้ วกน้ บาตร ขา้ วยากหมากแพง ขา้ วเหลอื เกลอื อม่ิ ขา้ วใหมป่ ลามนั 22 อน่งึ ภาษาไทยอาหมเรยี ก “ข้าว” ว่า “เขา” (ข้าวสาร และ ข้าวสุก) และใช้ค�ำว่า “เขา” ประกอบเรียกค�ำนามท่ีมีข้าว เช่น เขากัก (ข้าวสไี มเ่ รียบ : ขา้ วกาก) เขากาว ( แกลบ, ร�ำ), เขาจิ (อาหารเตรียมจาก ขา้ วแหง้ : ข้าวจี)่ เขาตกิ (แผ่นขา้ วโพด : ข้าวแตก), เขาตนู (ขา้ วซึ่งไมห่ ัก 20 ดรู ายละเอยี ดและความหมาย ใน เรอื่ งเดียวกนั , หนา้ ๑๘๗ - ๑๘๘. 21 “ใหข้ า้ ราชการเพาะต้นกาแฟ,” ใน ประชุมหมายรบั สง่ั ภาค ๔ ตอนที่ ๒ สมัยกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจา้ อยู่หัว จ.ศ. ๑๒๐๓ - ๑๒๐๔ (กรุงเทพฯ: คณะกรรมการช�ำระประวัติศาสตร์ไทยและ จดั พมิ พเ์ อกสารทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี สำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตร,ี ๒๕๓๗), หน้า ๑๙๑. 22 ดูรายละเอียดและความหมาย ใน เรือ่ งเดียวกนั , หน้า ๑๘๔ - ๑๘๗.
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 17 ท่ีค้างอยู่บนตะแกรงร่อน), เขานูง (ข้าวนึ่ง), เขาปิง (-เปง-) (ขนมเค้ก), เขาปิตหิง (-เหง-) (ข้าวบาร์เลย์, ขา้ วหวตี แห้ง), เขาปนื (ขา้ วหกั : ขา้ วบ่ิน), เขามูน (ขนมพุดด้ิงข้าว : เทียบข้าวเหนียวมูน), เขาเมา (อาหารท�ำจาก ข้าวแห้ง : ข้าวเม่า), เขาโร (อาหารเตรียมจากข้าวแห้ง), เขาสัน (ข้าว (สาร))23 นอกจากนีย้ งั เรียกเครื่องเทศว่า เขาผิ อกี ด้วย24 คำ� ศัพท์ “ข้าว” ในภาษาเขมร25 ภาษาเขมรเป็นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติกสาขา เขมร ซ่ึงมีสมาชิกอยู่ ๒ ภาษา คือภาษาเขมรมาตรฐาน (หรือเขมรแบบ กรุงพนมเปญ) และภาษาเขมรเหนือที่ใช้กันในบริเวณภาคตะวันออก เฉยี งเหนอื ของไทย26 คำ� ศพั ทห์ ลกั ทเ่ี กย่ี วกบั ขา้ วในภาษาเขมร มดี งั นี้ ซเฺ รวิ ็ หมายถงึ ขา้ วเปลอื ก ออ็ ง-กอ หมายถงึ ขา้ วสาร และ บาย หมายถงึ ขา้ วสกุ คำ� ประสมทเ่ี กดิ จากคำ� วา่ ซเฺ รวิ ็ (ขา้ วเปลอื ก) ผสมกบั ค�ำอน่ื ๆ เชน่ ค�ำวา่ ซเฺ รวิ ็ (ข้าวเปลือก), ซฺเรวิ ็ คฺซาย (ขา้ วเจ้า), ซเฺ ริว็ ดอ็ ม - เนปิ (ข้าวเหนียว), ซฺเริว็ เพิม (ข้าวต้ังท้อง) ซฺเริว็ ปฺรัวะฮ (ข้าวนาหว่าน), ซฺเรวิ ็ ปรฺ ัง (ขา้ วนาปรัง), ซฺเรวิ ็ ซา - ลี (ขา้ วสาล)ี 23 ประเสรฐิ ณ นคร (แปล), พจนานกุ รมอาหม - ไทย (กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๔), หน้า ๒๐. 24 เร่ืองเดยี วกัน. 25 อัญชนา จิตสุทธิญาณ และศานติ ภักดีค�ำ, บรรณาธิการ, พจนานุกรมไทย - เขมร ฉบับคณะกรรมาธิการรว่ มไทย - กมั พูชา (กรงุ เทพฯ: กรมสารนเิ ทศ กระทรวงการตา่ งประเทศ, ๒๕๕๐), หนา้ ๒๑.; กาญจนา นาคสกลุ , พจนานกุ รมไทย - เขมร, พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒ (กรงุ เทพฯ: ส�ำนักพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๘), หนา้ ๑๑๐ - ๑๑๒. 26 สุริยา รตั นกลุ , นานาภาษาในเอเชยี อาคเนย์ ภาคท่ี ๑ ภาษา ตระกูลออสโตรเอเชยี และตระกูลจนี - ทิเบต, พิมพค์ รงั้ ท่ี ๔, หน้า ๑๓๒.
18 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย ค�ำประสมที่เกิดจากค�ำว่า อ็อง - กอ (ข้าวสาร) ผสมกับ ค�ำอื่น ๆ เชน่ ค�ำว่า อ็อง - กอ ซอ็ ม - โรวป์ (ข้าวกล้อง), ออ็ ง - กอ คฺซาย (ข้าวเจ้า), อ็อง - กอดอ็ ม - เนปิ (ข้าวเหนยี ว), ค�ำประสมท่ีเกิดจากค�ำว่า บาย (ข้าวสุก) ผสมกับค�ำอ่ืน ๆ เช่น ค�ำวา่ บาย ชา (ขา้ วผดั ), บาย ดอ็ ม - เนปิ (ข้าวเหนยี ว), บาย ลึง (ข้าวค่ัว), บายคฺซาย (ขา้ วเจ้า), บาย กฺดงั (ขา้ วตัง), บาย กฺเรยี มบาย หรอื กา - ตาก์ (ขา้ วตาก) จเฺ รยี ย (ข้าวเปียก), บาย ญี (ข้าวบด), บาย จอ็ ม - โฮ็ย (ขา้ วน่ึง), ตฺเรียป บาย (ขา้ วพอง), นอกจากนยี้ ังมีคำ� ศพั ทอ์ นื่ ๆ เกย่ี วกบั ข้าว เชน่ กรฺ ็อ - ลาน (ขา้ วหลาม), ซะ - โดว์ว ดม (ขา้ วต)ู , ซปฺ วึ (ขา้ วฟ่าง), ตฺรอ็ แป (ขา้ วหมาก), เลียจ (ข้าวตอก) บ็อ - บอ (ข้าวต้ม), บ็อ - บอ ชฺโมล (ข้าวยาค)ู , ออ็ ม - บก (ขา้ วเมา่ ) เป็นตน้ คำ� ศพั ท์ “ข้าว” ในภาษามอญ ภาษามอญเป็นภาษาในตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขา มอญ27 ค�ำศัพท์หลักเกี่ยวกับข้าวในภาษามอญ ได้แก่ กะโนนเฮา หมายถงึ ปลายข้าว, ข้าวสารทเ่ี มลด็ แตก28 โจง หมายถงึ เม็ดข้าวเปลือก ท่ีปนอยู่ในข้าวสาร29 ตอมเฮา หมายถึง ข้าวต้น (ข้าวสารท่ีเป็นตัว)30 ตะนอมโซ หมายถึง ต้นข้าว31 ปะลอญ หมายถึง ข้าวเหนียว32 27 เรอ่ื งเดยี วกัน, หนา้ ๑๑๐. 28 พจนานกุ รมมอญ - ไทย ฉบบั มอญสยาม (กรงุ เทพฯ: มตชิ น, ๒๕๔๘), หน้า ๓๓. 29 เรอ่ื งเดยี วกนั , หนา้ ๗๗. 30 เรอ่ื งเดยี วกนั , หน้า ๑๑๙. 31 เรอ่ื งเดียวกัน, หนา้ ๑๒๒. 32 เรื่องเดยี วกนั , หน้า ๑๖๐.
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 19 เปิง หมายถงึ ข้าวสกุ (อสี กุ อใี ส และขวา)33 เปิงคะรวั หมายถึง ข้าวสวย34 อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่าแต่ละกลุ่มชนจะมีชื่อเรียก “ข้าว” แตกต่างกันไป แต่พบว่ามีการยืมค�ำอีกภาษาหน่ึงที่เก่ียวกับข้าวมาใช้ ในอีกภาษาหน่ึง เช่น ในภาษาไทยมีค�ำศัพท์ “บายศรี” ซึ่งพจนานุกรม ล�ำดับแลแปลศัพท์ที่ใช้ในหนังสือไทย ร.ศ. ๑๑๐ ให้ความหมายว่า บาย, ข. เข้า (บายศรี, เข้าขวัญ)35 ย่อมแสดงถึงการติดต่อแลกเปลี่ยน ทางวฒั นธรรมระหวา่ งกัน คำ� ว่า “เข้า” และ “ข้าว” ในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ สมยั สุโขทัย จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยสุโขทัย ได้แก่ ศลิ าจารึกต่าง ๆ พบคำ� วา่ วา่ “เขา๋ ” หมายถงึ ขา้ ว แตไ่ มร่ ูว้ ่าออกเสยี ง อย่างไร เช่น ศิลาจารึกพ่อขนุ รามคำ� แหง พทุ ธศักราช ๑๘๓๕ อักษรไทย สุโขทัย ภาษาไทย ปรากฏค�ำว่า “ในน๋�ำ (มี) ปลาในนามีเข๋า...” อ่านว่า “...ในนำ�้ มีปลา ในนามีข้าว...”36 33 เร่อื งเดยี วกนั , หนา้ ๑๖๔. 34 เรื่องเดียวกัน, หนา้ ๑๖๕. 35 พจนานุกรม : ล�ำดับแลแปลศัพท์ท่ีใช้ในหนังสือไทย (พระนคร: ศกึ ษาพมิ พการ, ร.ศ. ๑๑๐ [๒๔๓๔]), หน้า ๒๗๐. 36 ประชมุ จารกึ ภาคท่ี ๘ จารกึ สโุ ขทยั (กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร, ๒๕๔๘), หน้า ๔๐.
20 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย จารึกหลักที่ ๓๑๙ จารึกเจดีย์พิหาร ประมาณพุทธศักราช ๑๘๕๐ - ๑๙๐๐ อกั ษรไทยสโุ ขทยั ภาษาไทย พบทเ่ี จดยี พ์ หิ าร ต�ำบลนาโปง่ อ�ำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์37 ปรากฏค�ำว่า “...หม๋เขาหม๋แกง...” อ่านวา่ “หม้อเข้าหม้อแกง”38 จารึกวัดพระยืน พุทธศักราช ๑๙๑๔ อักษรไทยสุโขทัย ภาษาบาลี - ไทย พบทว่ี ดั พระยนื อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ลำ� พนู 39 ปรากฏคำ� วา่ “...เขาตอกดอกไม..” อา่ นวา่ “...ขา้ วตอกดอกไม้...”40 จารกึ กฎหมายลกั ษณะโจร พุทธศักราช ๑๙๔๐ อักษรไทย สุโขทัย ภาษาไทย พบท่ีทางเลี้ยวเข้าวัดพระมหาธาตุและวัดสระศรี หลักกิโลเมตรที่ ๕๐ - ๕๑ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย41 ปรากฏค�ำว่า “...คโ่ มยตนกจ๋ บกั ไุ ดเ๋ ขา๋ ของ...” อา่ นวา่ “...ขโมยตนกจ็ บั กมุ ไดข้ า้ วของ...”42 สมยั อยุธยา จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยา ได้แก่ โองการแชง่ นำ้� มหาชาตคิ ำ� หลวง อนริ ทุ ธคำ� ฉนั ท์ และกฎหมายตราสามดวง พบคำ� วา่ “เขา้ ” หมายถงึ ขา้ ว แตไ่ มร่ วู้ า่ ออกเสยี งอยา่ งไร รายละเอยี ดดงั นี้ 37 เร่ืองเดียวกัน, หนา้ ๙. 38 เรอ่ื งเดียวกนั , หน้า ๑๑. 39 เร่ืองเดยี วกนั , หนา้ ๑๒๗. 40 เรือ่ งเดียวกัน, หน้า ๑๓๑. 41 เร่อื งเดียวกนั , หนา้ ๑๖๘. 42 เรือ่ งเดียวกัน, หน้า ๑๗๕.
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 21 โองการแชง่ นำ�้ (ประกาศแชง่ นำ�้ โคลงหา้ ) เปน็ วรรณกรรมสมยั อยุธยาตอนต้น ส�ำหรับใช้อ่านหรือสวดในพระราชพิธีถือน้�ำพิพัฒน์สัตยา หรือพระราชพิธีศรีสัจจปานกาล43 ดังค�ำว่า “...อย่ากินเข้าเพ่ือไฟ จนตาย...” หมายความว่า (ขอให้) กินข้าวไม่ได้ เพราะเม่ือกินข้าวไป ข้าวจะกลายเปน็ ไฟเผาจนตาย44 มหาชาติค�ำหลวงเป็นวรรณคดีสมัยอยุธยา สมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถโปรดให้ประชุมนักปราชญ์ ราชบัณฑิต และกวี แปลและแต่งเป็นส�ำนวนไทยเมื่อพุทธศักราช ๒๐๒๕ เป็นวรรณคดีท่ีใช้ สำ� นวนภาษารนุ่ เกา่ ถอ้ ยคำ� เปน็ ภาษาโบราณ45 พบคำ� วา่ “เขา้ ” หมายถงึ ขา้ ว เชน่ เข้าสต4ู 6 เข้าน้�ำ47 เขา้ ฝ้าง ขา้ วนก48 อนิรุทธคำ� ฉันท์ เป็นวรรณคดสี มัยอยธุ ยา แตไ่ มพ่ บหลักฐาน วา่ แตง่ ขน้ึ เมอื่ ใด พบคำ� วา่ “เขา้ ” หมายถงึ ขา้ ว เชน่ “รสเขา้ บกลำ้� แกลกลนื รสนำ้� หายหนื ครหวิ ครโหยโหยหา”49 43 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัย อยธุ ยา ลลิ ติ โองการแชง่ นำ�้ , พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒ (กรงุ เทพฯ: ราชบณั ฑติ ยสถาน, ๒๕๔๕), คำ� นำ� ในการพิมพ์ครงั้ ที่ ๑. 44 เรื่องเดียวกนั , หน้า ๖๑. 45 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัย อยุธยา มหาชาตคิ �ำหลวง (กรงุ เทพฯ: ราชบณั ฑติ ยสถาน, ๒๕๔๙), ค�ำน�ำ. 46 เรอ่ื งเดียวกนั , หนา้ ๙๑. 47 เร่อื งเดยี วกนั , หนา้ ๙๕. 48 เรอื่ งเดียวกัน, หน้า ๑๐๕. 49 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัย อยธุ ยา อนริ ทุ ธค�ำฉันท์ (กรุงเทพฯ: ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๕๐), หนา้ ๔๑.
22 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย กฎหมายตราสามดวงสะกดค�ำว่า “เข้า” ในความหมายว่า ขา้ ว50เชน่ “มอ่ เขา้ มอ่ แกง”51“เขา้ กลา้ ”“เขา้ มา้ น”“เขา้ รวง”“เขา้ ในนา”52 เปน็ ตน้ ซ่ึงเหมือนกบั การสะกดในจารึกสมยั สุโขทยั สมยั รัตนโกสนิ ทร์ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยรัตนโกสินทร์ เช่น จดหมายเหตตุ า่ ง ๆ พจนานกุ รมทจ่ี ดั ทำ� ขนึ้ ในสมยั รชั กาลที่ ๔ - ๕ และ กฎหมายตา่ ง ๆ พบคำ� วา่ “เขา้ ” หมายถงึ ขา้ ว แตไ่ มร่ วู้ า่ ออกเสยี งอยา่ งไร เชน่ จดหมายเหตรุ ัชกาลท่ี ๓ สะกดคำ� ว่า “ข้าว” ว่า “เขา้ ” เช่น เข้าเปลือก, เข้าสาร53 เข้าเนียว, เข้าเจ้า54 เข้าปลาอาหาร55 ฉางข้าว, ยงุ้ เขา้ 56 เปน็ ตน้ หนงั สอื สพั ะ พะจะนะ พาสา ไท ของ ชอง - บาตสิ ต์ ปาเลอกวั (Jean Baptiste Pallegoix) ซ่ึงเป็นผู้รวบรวมและเรียบเรียงเป็น พจนานุกรม ๔ ภาษา คือ ไทย ละติน ฝร่ังเศส องั กฤษ พิมพท์ ก่ี รุงปารสี 50 ก่องแก้ว วีระประจักษ์, “ลักษณะอักขรวิธีต้นฉบับหนังสือ กฎหมายตราสามดวง,” ใน กฎหมายตราสามดวง ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลม่ ๑ (กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑติ ยสถาน, ๒๕๕๐), หน้า ๓๑. 51 “ลักษณพีสูทด�ำน�้ำ ลักษณพีสูทลุยเพลิง,” ใน กฎหมาย ตราสามดวง ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม ๒ (กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๐), หนา้ ๘๑. 52 “พระอายการเบดเสรจ,” ใน เรอ่ื งเดยี วกนั , หนา้ ๔๓๐ - ๔๓๑. 53 จดหมายเหตุ รัชกาลที่ ๓ เล่ม ๒ (กรุงเทพฯ: กองหอสมุด แหง่ ชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๓๐), หน้า ๕๖ และ ๕๗. 54 จดหมายเหตรุ ัชกาลท่ี ๓ เลม่ ๓, หนา้ ๑๐๑. 55 เร่ืองเดียวกนั , หนา้ ๕๐, ๑๑๕ และ ๑๔๐. 56 เรื่องเดียวกนั , หนา้ ๑๓ - ๑๔, ๙๑ และ ๙๔.
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 23 เมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๗57 ไดร้ วบรวมคำ� ศพั ทต์ า่ ง ๆ ในภาษาไทยไว้ ใชค้ ำ� วา่ “เขา้ ” ในความหมายวา่ ขา้ ว ซง่ึ มคี ำ� ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ หงุ เขา้ กนิ เขา้ กบั เขา้ เขา้ เบา เข้าหนัก เข้าบิน ข้าวฟ่าง เข้าเปลือก เข้าโภช เข้าโภชสาลี เข้ากล้อง เข้าเจา้ เขา้ สตุ เขา้ ยาก เข้าพอง เข้าปกั ข้าวของ เขา้ เกรียบ เข้ามตปุ ายาศ เข้าหลาม เข้าละมาน เข้าเหนียว เข้าตัง เข้าตอก เข้าหมาก เข้าต้ม เข้าเปยี ก เขา้ สาร เข้าสวย58 หนงั สืออกั ขราภิธานศรับท์ Dictionary of the Siamese Language ดร. แดนบีช แบรดเลย์ เป็นผู้รวบรวมและจัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พุทธศกั ราช ๒๔๑๖ โดยอาจารย์ทดั ผรู้ ู้ชาวไทย คดั แปลและอธิบาย ได้ให้ ความหมายคำ� วา่ “เขา้ ” หมายถงึ ขา้ ว วา่ “เขา้ , คอื สง่ิ ของอยา่ งหนงึ่ เปนเมด็ , เกิดแต่ต้นเหมือนกอหญ้าท่ีทุ่งนา, ส�ำหรับเปนอาหารเลี้ยงชีวิตรคนแล สัตวทง้ั ปวง. อนึ่งความที่เข้าไปขา้ งในวา่ เข้าไปเขา้ ใน.”59 และมีคำ� ศัพท์ที่เก่ยี วขอ้ งกับ “เขา้ ” อกี ๓๐ คำ� ได้แก่ เข้าเกรียม เข้ากล้า เข้ากล้อง เข้าแขก เข้าจ้าว เข้าดิบ เข้าตู เข้าตอก เขา้ ตงั เขา้ ต้ม เข้านก เขา้ หนัก เข้าเหนยี ว เข้าเบา เข้าบณิ ฑ์ เขา้ เปลอื ก เขา้ เปยี ก เขา้ พอ้ ง เขา้ โพช เขา้ ฟา่ ง เขา้ ฟอ่ น เขา้ เมา่ เขา้ มะธปุ ายาศ เขา้ หมาก เขา้ มนั เข้าลีบ เขา้ สกุ เข้าละมาน เขา้ หลาม เข้าสาลี เขา้ สาน เข้าเสวย เข้าหางม้า60 57 ชอง - บาตสิ ต์ ปาเลอกัว, สัพะ พะจะนะ พาสา ไท, บุษบา ประภาสพงศ์ และคณะ, บรรณาธกิ าร (กรงุ เทพฯ: สถาบนั ภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๔๒), หนา้ (๑๓). 58 เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๘๐ - ๒๘๑. 59 หนงั สอื อกั ขราภธิ านศรบั ท์ DICTIONARY OF THE SIAMESE LANGUAGE (กรุงเทพฯ: โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพร้าว, ๒๕๑๔), หนา้ ๗๒. 60 เรื่องเดียวกนั , หน้า ๗๒ - ๗๓.
24 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย พจนานกุ รม ลำ� ดบั แลแปลศพั ทท์ ใี่ ชใ้ นหนงั สอื ไทย ร.ศ. ๑๑๐ ไดใ้ ห้ความหมายหนึง่ ของคำ� ว่า “เขา้ ” ไวว้ ่า หมายถงึ “....ต้นกอมปี ลอ้ ง ยาว ๆ ใบเรียวมีรวงหน่ึงหลายเมล็ด, ซึ่งเราได้อาไศรยเมล็ดเลี้ยง ชีวติ ...”61 กฎหมายในรัชกาลท่ี ๕ พบว่าใชค้ ำ� วา่ “เขา้ ” ในความหมาย ของข้าวในปัจจุบัน เช่น ในพระราชบัญญัติส�ำหรับผู้รักษาเมืองกรมการ และเสนาก�ำนันอ�ำเภอ ซ่ึงจะออกเดินประเมินนา62 ประกาศห้ามมิให้ ตกเข้าแก่ชาวนา63 ประกาศห้ามมิให้บรรทุกเข้าออกไปขายนอก พระราชอาณาเขตร64 และ ประกาศกรมนา65 เปน็ ตน้ กฎหมายรัชกาลที่ ๖ พบว่า ยังคงใช้ค�ำว่า “เข้า” ในความหมายของข้าวในปัจจุบัน เช่น ประกาศยกเว้นไม่เก็บเงินอากร ค่านา ศก ๑๒๘ ในเขตร์แขวงเมืองราชบุรที ที่ �ำไมไ่ ดผ้ ล66 ประกาศยกเวน้ ไม่ให้เก็บเงินอากรค่านาศก ๑๒๘ ในเขตร์แขวงมณฑลกรุงเก่า ที่ท�ำไม่ได้ผล67 ประกาศห้ามมิให้จ�ำหน่ายหรือพาเข้าในจังหวัดสุรินทร์ 61 พจนานุกรม : ล�ำดับแลแปลศัพท์ที่ใช้ในหนังสือไทย, หน้า ๕๖. 62 กฎหมายในรัชกาลที่ ๕ เลม่ ๑ (กรุงเทพฯ: อมรินทร์พร้ินต้ิง แอนดพ์ บั ลิชช่งิ จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๔๐), หน้า ๒๕๐. 63 กฎหมายในรัชกาลท่ี ๕ เลม่ ๒, หน้า ๔๘๖ และ ๔๘๗. 64 เรือ่ งเดยี วกนั , หนา้ ๕๐๐ - ๕๐๓. 65 กฎหมายในรัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓, หน้า ๑๐๑๓. 66 กฎหมายรัชกาลท่ี ๖ ร.ศ. ๑๒๙ - ๑๓๐ (กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทร์ พรน้ิ ตง้ิ แอนด์พบั ลิชช่ิง จ�ำกดั (มหาชน), ๒๕๕๒), หน้า ๘๔ - ๘๕. 67 เรือ่ งเดยี วกัน, หน้า ๘๖ - ๘๗.
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 25 แลจังหวัดขุขันธ์ออกไปต่างเมือง68 ประกาศห้ามมิให้จ�ำหนา่ ยหรอื พาเข้า ในอ�ำเภอชาณมุ าน อ�ำเภอเขมราฐ อ�ำเภอโขงเจยี ม อ�ำเภอพิบูลมงั ษาหาร ในจังหวัดอุบล ออกไปต่างเมือง69 ประกาศยกเว้นไม่เก็บเงินอากรค่านา จำ� นวน ศก ๑๒๘ ในตำ� บลจระเขใ้ หญ่ ตำ� บลทับนำ�้ ทอ้ งท่อี ำ� เภอบางปลา แขวงเมืองสุพรรณบุรี70 ประกาศยกเว้นไม่เก็บเงินค่านาแก่ราษฎร ซึ่งท�ำไมไ่ ดผ้ ล รวม ๒๗๘ ต�ำบล ในเขตร์แขวงมณฑลกรุงเก่าไวศ้ กหนึ่ง71 เป็นตน้ หนงั สือประชมุ เชญิ ขวญั ฉบบั พมิ พค์ รง้ั แรก เมือ่ พุทธศกั ราช ๒๔๖๑ ใช้ “เข้า” ในความหมายของขา้ ว ในปจั จบุ ัน เช่น ในบท “ทำ� ขวญั เข้า”72 และ “ท�ำขวัญนา” ต่อมาพบว่า ค�ำว่า “ข้าว” ยังคงสะกดว่า “เข้า” เช่น ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๘ วันที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๔73 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๙ วันท่ี ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๕74 68 เร่ืองเดียวกัน, หนา้ ๑๐๒ - ๑๐๓. 69 เรื่องเดยี วกัน, หน้า ๑๗๑. 70 เร่ืองเดียวกนั , หน้า ๒๕๖. 71 เรื่องเดียวกัน, หน้า ๗๙๘. 72 ประชมุ เชญิ ขวญั , พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๙ (กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั วรรณกรรม และประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๕๖), หน้า ๑๒๔ - ๑๒๖. 73 “จำ� นวนเข้าเปลือกซึ่งมาจากตำ� บลต่าง ๆ ขึ้นโรงสไี ฟทจ่ี ังหวดั พระนคร ปากลัด และสามเสน แยกออกเป็นชะนิดเข้าต่าง ๆ บอกราคาถัว เปน็ เกวยี น,” ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๔๘ (๖ ธันวาคม ๒๔๗๔) : ๓๕๕๕. 74 “จำ� นวนเข้าเปลือกซงึ่ มาจากตำ� บลตา่ ง ๆ ข้ึนโรงสีไฟที่จังหวดั พระนคร ปากลัด และสามเสน แยกออกเป็นชะนิดเข้าต่าง ๆ บอกราคาถัว เปน็ เกวยี น,” ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๔๙ (๒๙ พฤษภาคม ๒๔๗๕) : ๘๑๑ - ๘๑๒.
26 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๙ วันท่ี ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๕75 ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๕๐ วันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๖76 เป็นต้น จนกระทั่งพบว่า ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๐ วันท่ี ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ เป็นตน้ มา สะกดค�ำวา่ “ขา้ ว”77 อยา่ งท่ีใชก้ นั ในปัจจบุ นั ครั้นเมื่อราชบัณฑิตยสถานได้จัดท�ำพจนานุกรม ฉบับ ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓ จงึ ไดใ้ หน้ ยิ ามความหมายของคำ� วา่ “ขา้ ว” และ “เขา้ ” ไวด้ งั นี้ “ข้าว น. เมล็ดของพืชจ�ำพวกหญ้าที่ใช้เป็น อาหารส�ำคัญปลูกกัน ในประเทศร้อนโดยมาก (โบราณใช้ว่า เข้า) มีชนิดใหญ่สองชนิดคือ ข้าวเจ้า และข้าวเหนียว และข้าวสองชนิดน้ีเรียกชื่อ เรียกช่ือ ๆ ต่าง ๆ กัน ตามลักษณะ อีกมากมาย เช่น ข้าวปิ่นทอง ข้าวเหนียวกัญญา; เรียกผลไม้ท่ีมี 75 “จำ� นวนเข้าเปลอื กซึ่งมาจากต�ำบลต่าง ๆ ข้นึ โรงสีไฟท่ีจงั หวดั พระนคร ปากลัด และสามเสน แยกออกเป็นชะนิดเข้าต่าง ๆ บอกราคาถัว เปน็ เกวยี น,” ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๔๙ (๒๒ มกราคม ๒๔๗๕) : ๓๖๖๙. 76 “จำ� นวนเขา้ เปลือกซง่ึ มาจากตำ� บลต่าง ๆ ขนึ้ โรงสีไฟทจี่ ังหวัด พระนครและธนบุรี แยกออกเป็นชะนิดเข้าต่าง ๆ บอกราคาถัวเป็นเกวียน,” ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๕๐ (๒๓ กรกฎาคม ๒๔๗๖): ๑๑๔๗. 77 “จ�ำนวนข้าวเปลือกซ่งึ มาจากตำ� บลต่าง ๆ ขึน้ โรงสไี ฟทีจ่ งั หวัด พระนครและธนบุรี แยกออกเป็นชะนิดข้าวต่าง ๆ บอกราคาถัวเป็นเกวียน,” ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๕๐ (๓๐ กรกฎาคม ๒๔๗๖): ๑๒๑๘.
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 27 เนื้อนุ่มและเหนียวอย่างข้าวเหนียว เช่น มะไฟ ข้าวเหนยี ว มะตาดข้าวเหนยี ว...”78 “เขา้ ๒ (โบ) น. ข้าว ; ขวบป”ี 79 หลังจากราชบัณฑิตยสถานได้ปรับปรุงพจนานุกรม ฉบับ ราชบณั ฑิตยสถาน อีก ๓ คร้งั คือ ฉบบั พ.ศ. ๒๕๒๕, ฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ฉบบั พ.ศ. ๒๕๕๔ ราชบณั ฑติ ยสถานยงั คงความหมายของคำ� วา่ “เขา้ ” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓ ไว้เช่นเดิม สว่ นนยิ ามความหมายของคำ� วา่ “ขา้ ว” ไดป้ รบั ปรงุ ใหมใ่ นฉบบั พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยเพ่ิมช่ือวิทยาศาสตร์ลงไปในนิยามความหมายใหม่ และได้ใช้นิยาม ความหมายน้ตี อ่ มาในฉบบั พ.ศ. ๒๕๔๒ และ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๔ สรปุ ค�ำศัพท์เกี่ยวกับข้าวท่ีแตกต่างและหลากหลายท้ังในภาษา ไทย เขมร และมอญ แสดงให้เห็นว่าผู้คนในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใตร้ จู้ กั และคนุ้ เคยกับพชื ชนิดนม้ี ายาวนาน ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั หลักฐาน ทางโบราณคดีที่พบหลักฐานเกี่ยวกับข้าวในทางตอนใต้ของจีนมีอายุ ประมาณ ๘,๐๐๐ ปีมาแล้ว ส่วนในประเทศไทยอย่างน้อยเม่ือประมาณ ๔,๐๐๐ - ๓,๕๐๐ ปี ผู้คนในภูมิภาคนี้บริโภคข้าวเป็นอาหาร และรู้จัก เพาะปลกู ขา้ วมายาวนานหลายพันปี 78 พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานพ.ศ.๒๔๙๓,พมิ พค์ รงั้ ท่ี๑๐, หนา้ ๑๙๘. 79 เรื่องเดียวกัน, หนา้ ๒๑๓.
28 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย ร่องรอยของค�ำศัพท์ “บายศรี” ในภาษาไทย หมายถึง ข้าวขวญั หรือข้าวมงคล ซ่งึ คำ� วา่ “บาย” นั้นเป็นคำ� ภาษาเขมร หมายถงึ ข้าวสุก แสดงให้เห็นถึงการติดต่อแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมของผู้คน ในกลมุ่ คนทีใ่ ชภ้ าษาไทยและกลุ่มคนทใ่ี ช้ภาษาเขมรได้อยา่ งหนง่ึ ในสมัยสโุ ขทัย อยุธยา และรตั นโกสนิ ทร์ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๗๖ เขียนช่อื พชื ชนิดนีว้ า่ “เขา้ ” จนกระทั่งพบว่าอย่างช้าในราชกิจจา นุเบกษา เล่ม ๕๐ วันท่ี ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ เป็นต้นมาสะกด คำ� วา่ “ขา้ ว”80 อย่างทีใ่ ชก้ นั ในปัจจบุ นั สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ ทรงกล่าวถึงข้าวกะปดั ในชวา และกลา่ วถงึ การเปล่ียนเสยี ง กะ เปน็ ขา้ วไว้ อยา่ งนา่ สนใจวา่ “...ทตี่ ลาดมขี า้ วปดั ขาย เขาเรยี กวา่ กะปดั ทำ� เอาตน่ื เตน้ แล้วพวกเราทอ่ี ยู่ที่บนั ดุงบอกว่า ข้าวบุหรี ก็เรยี ก กะบลู ี คำ� เหล่านีเ้ ข้ามา ถงึ เมืองไทย กะ กลายเปน ขา้ ว เช่นเดียวกบั กับ กาแฟ กเ็ ปน ขา้ วแฝ.่ ..”81 80 “จำ� นวนข้าวเปลือกซึ่งมาจากตำ� บลต่าง ๆ ข้ึนโรงสไี ฟท่ีจงั หวัด พระนครและธนบุรี แยกออกเป็นชะนิดข้าวต่าง ๆ บอกราคาถัวเป็นเกวียน,” ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๕๐ (๓๐ กรกฎาคม ๒๔๗๖): ๑๒๑๘. 81 สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ,์ บนั ทกึ เร่อื งความรู้ตา่ ง ๆ เลม่ ๑, พิมพค์ ร้ังที่ ๓ (กรงุ เทพฯ: มูลนธิ ิเสฐียรโกเศศ - นาคะประทีป, ๒๕๕๒), หน้า ๑๙๕.
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 29 บรรณานุกรม กฎหมายตราสามดวง ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน เลม่ ๑ - ๒. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๕๐. กฎหมายในรัชกาลท่ี ๕ เล่ม ๑ - ๕. กรุงเทพฯ: อมรินทรพ์ ร้ินต้งิ แอนด์ พับลิชชิ่ง, ๒๕๔๐. (ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระราชทานเพลิงศพนายจิตติ ตงิ ศภทั ยิ ์ ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรหุ ลวงหนา้ พลบั พลาอศิ รยิ าภรณ์ วดั เทพศริ นิ ทราวาส วนั เสาร์ ท่ี ๒๓ สงิ หาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐). กฎหมายรชั กาลท่ี ๖ ร.ศ. ๑๒๙ - ๑๓๐. กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตงิ้ แอนด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๕๒. (ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหมอ่ มใหพ้ มิ พ์พระราชทานในงานพระราชทานเพลิงศพ นายศักดา โมกขมรรคกุล ป.จ., ม.ป.ช., ม.ว.ม. ณ เมรุหลวง หน้าพลบั พลาอิศรยิ าภรณ์ วดั เทพศิรินทราวาส วันอาทติ ย์ ที่ ๑๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๒). กาญจนา นาคสกลุ . พจนานกุ รมไทย - เขมร. พิมพค์ รัง้ ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: สำ� นักพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๔๘. จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ: กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๓๐. (รัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช จัดพิมพ์ทูลเกล้าฯ ถวายสนอง พระมหากรุณาธิคุณในมหามงคลเฉลิมพระเกียรติวันพระบรม ราชสมภพ ครบ ๒๐๐ ปี พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช ๒๕๓๐).
30 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย “จ�ำนวนข้าวเปลือกซ่ึงมาจากต�ำบลต่าง ๆ ข้ึนโรงสีไฟที่จังหวัดพระนคร และธนบรุ ี แยกออกเปน็ ชะนดิ ขา้ วตา่ ง ๆ บอกราคาถวั เปน็ เกวยี น.” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๐ (๓๐ กรกฎาคม ๒๔๗๖): ๑๒๑๘. “จ�ำนวนเข้าเปลือกซ่ึงมาจากต�ำบลต่าง ๆ ขึ้นโรงสีไฟท่ีจังหวัดพระนคร ปากลัด และสามเสน แยกออกเป็นชะนดิ เข้าต่าง ๆ บอกราคาถัว เป็นเกวียน.” ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๔๘ (๖ ธนั วาคม ๒๔๗๔): ๓๕๕๕. “จ�ำนวนเข้าเปลือกซ่ึงมาจากต�ำบลต่าง ๆ ขึ้นโรงสีไฟท่ีจังหวัดพระนคร ปากลัด และสามเสน แยกออกเป็นชะนิดเข้าต่าง ๆ บอกราคา ถัวเป็นเกวียน.” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๙ (๒๙ พฤษภาคม ๒๔๗๕): ๘๑๑ - ๘๑๒. “จ�ำนวนเข้าเปลือกซ่ึงมาจากต�ำบลต่าง ๆ ขึ้นโรงสีไฟที่จังหวัดพระนคร ปากลดั และสามเสน แยกออกเป็นชะนดิ เข้าตา่ ง ๆ บอกราคาถวั เป็นเกวยี น.” ราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ๔๙ (๒๒ มกราคม ๒๔๗๕): ๓๖๖๙. “จำ� นวนเขา้ เปลอื กซงึ่ มาจากตำ� บลตา่ ง ๆ ขนึ้ โรงสไี ฟทจี่ งั หวดั พระนครและ ธนบุรี แยกออกเป็นชะนิดเข้าต่าง ๆ บอกราคาถัวเป็นเกวียน.” ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๕๐ (๒๓ กรกฎาคม ๒๔๗๖): ๑๑๔๗. ชารล์ ส ไฮแอม และรชั นี ทศรตั น.์ สยามดกึ ดำ� บรรพย์ คุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ ถึงสมยั สโุ ขทยั . กรงุ เทพฯ: ริเวอรบ์ คุ๊ ส์, ๒๕๔๒.
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 31 นริศรานวุ ดั ติวงศ,์ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรมพระยา. บนั ทกึ เรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่ม ๑. พิมพ์คร้ังท่ี ๓. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ เสฐียรโกเศศ - นาคะประทปี , ๒๕๕๒. ประชุมจารกึ ภาคท่ี ๘ จารกึ สุโขทยั . กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๔๘. (คณะกรรมการอำ� นวยการจดั งานเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจัดพิมพ์เป็นท่ีระลึกในโอกาสวันพระบรม ราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี วนั ท่ี ๑๘ ตุลาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๗). ประชุมเชิญขวัญ. พิมพ์คร้ังที่ ๙. กรุงเทพฯ: ส�ำนักวรรณกรรมและ ประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๕๖. (จัดพิมพ์เผยแพร่เนื่องใน วันภาษาไทยแหง่ ชาต)ิ . ประชุมหมายรับสั่งภาค ๔ ตอนท่ี ๒ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาล พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา้ เจ้าอย่หู ัว จ.ศ. ๑๒๐๓ - ๑๒๐๔. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการช�ำระประวัติศาสตร์ไทยและจัดพิมพ์ เอกสารทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ส�ำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตร,ี ๒๕๓๗. ประเสรฐิ ณ นคร, ผแู้ ปล. พจนานกุ รมอาหม - ไทย. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๓๔. . อกั ษร ภาษา จารึก วรรณกรรม รวมบทนิพนธ์ “เสาหลกั ทางวชิ าการ” ของศาสตราจารย์ ดร.ประเสรฐิ ณ นคร. กรงุ เทพฯ: มติชน, ๒๕๔๙.
32 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ปรานี วงษ์เทศ, บรรณาธิการ. สังคมและวัฒนธรรมในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พเ์ รอื นแกว้ การพมิ พ,์ ๒๕๔๒. (ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยา สิรินธรจัดพิมพ์เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารเี สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทรงเปดิ ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยา สิรินธร วนั องั คาร ที่ ๙ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๒). ปาเลอกวั , ชอง - บาตสิ ต์. สัพะ พะจะนะ พาสา ไท. บุษบา ประภาสพงศ์ และคณะ, บรรณาธกิ าร. กรงุ เทพฯ: สถาบนั ภาษาไทย กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๒. พจนานกุ รมมอญ - ไทย ฉบบั มอญสยาม. กรุงเทพฯ: มตชิ น, ๒๕๔๘. พจนานุกรม : ล�ำดับแลแปลศัพท์ท่ีใช้ในหนังสือไทย. พระนคร: ศกึ ษาพิมพการ, ร.ศ. ๑๑๐ [๒๔๓๔]. ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓. พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๑๐. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ศูนย์การทหารราบ, ๒๕๑๓. . พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรงุ เทพฯ: นานมีบ๊คุ สพ์ บั ลเิ คชน่ั ส,์ ๒๕๔๖. . พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเน่ืองในโอกาส พระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๔. กรงุ เทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน, ๒๕๕๖. . พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยอยุธยา มหาชาติ ค�ำหลวง. กรงุ เทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน, ๒๕๔๙. . พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยอยุธยา ลิลิตโองการ แช่งน�้ำ. พิมพ์คร้ังที่ ๒. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๕.
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 33 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยอยุธยา อนริ ทุ ธคำ� ฉนั ท.์ กรงุ เทพฯ: ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๕๐. ศลิ าจารกึ สโุ ขทยั หลกั ที่๑จารกึ พอ่ ขนุ รามคำ� แหง.พมิ พค์ รง้ั ท่ี๓.กรงุ เทพฯ: ส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๔๗. (คณะกรรมการ อ�ำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในโอกาสท่ีวันพระบรมราชสมภพ ครบ ๒๐๐ ปี พุทธศกั ราช ๒๕๔๗). สรุ พล นาถะพนิ ธ.ุ รากเหงา้ บรรพชนคนไทย : พฒั นาการทางวฒั นธรรม กอ่ นประวัติศาสตร.์ กรุงเทพฯ: มติชน. ๒๕๕๐ สุริยา รัตนกุล. นานาภาษาในเอเชียอาคเนย์ ภาคท่ี ๑ ภาษาตระกูล ออสโตรเอเชยี ตกิ และตระกลู จนี - ทเิ บต. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๔. กรงุ เทพฯ: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพ่ือพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัย มหดิ ล, ๒๕๓๑. หนังสืออักขราภิธานศรับท์ DICTIONARY OF THE SIAMESE LANGUAGE. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้าว, ๒๕๑๔. อัญชนา จิตสุทธิญาณ และศานติ ภักดีค�ำ, บรรณาธิการ. พจนานุกรม ไทย - เขมร ฉบบั คณะกรรมาธกิ ารรว่ มไทย - กมั พชู า. กรงุ เทพฯ: กรมสารนเิ ทศ กระทรวงการต่างประเทศ, ๒๕๕๐.
ปรทิ ศั นว์ ฒั นธรรมขา้ วสมยั โบราณ โดย นายชญานนิ น้ยุ สินธ์ุ
36 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ปรทิ ศั นว์ ัฒนธรรมข้าวสมยั โบราณ ขา้ วเปน็ อาหารหลกั ในชวี ติ ประจ�ำวนั ของชาวไทยมาเปน็ เวลา ยาวนาน ทง้ั ยงั เปน็ พชื เศรษฐกจิ สำ� คญั ทป่ี ระเทศไทยสง่ ออกเปน็ ลำ� ดบั ตน้ ๆ ของโลก สรา้ งรายได้เข้าประเทศเป็นจ�ำนวนมหาศาล เปน็ อาชีพหลกั ของ คนจ�ำนวนเรือนล้าน รวมท้ังก่อให้เกิดอาชีพและการจ้างงานท่ีสืบเน่ือง อีกนับไมถ่ ว้ น ในทางวัฒนธรรม ข้าวเก่ียวข้องกับประเพณีและพิธีกรรม จำ� นวนมาก ทงั้ พระราชพธิ ี ประเพณหี ลวง และประเพณรี าษฎร์ ไมว่ า่ จะเปน็ แกน่ แกนของพระราชพิธหี รือเปน็ เคร่อื งประกอบพิธีต่าง ๆ ก็ตาม จงึ อาจ กล่าวได้ว่า ข้าวปรากฏอยใู่ นทกุ มิติของสังคมไทย ท้ังระดบั สังคมโดยรวม และปัจเจกบุคคล และมีความส�ำคัญทั้งในแง่สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม จากความส�ำคัญทั้งหมดดังกล่าว บทความน้ีจะส�ำรวจ ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมข้าวในดินแดนไทยต้ังแต่สมัยโบราณจนส้ินสุด ในสมยั ตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทรโ์ ดยสงั เขป กอ่ นทวี่ ฒั นธรรมขา้ วจะไดร้ บั อทิ ธพิ ล ของการผลิตเพื่อมุ่งผลทางการค้าเป็นหลัก เพื่อให้เห็นภาพรวมเกี่ยวกับ วัฒนธรรมข้าวอันยาวนานของไทยตามสมควร จากหลักฐานทางโบราณคดีเช่ือได้ว่า มนุษย์ที่อาศัยอยู่ใน ดินแดนท่ีเป็นประเทศไทยในปัจจุบันน้ี เร่ิมท�ำการเพาะปลูกตั้งแต่สมัย หินใหม่เป็นอย่างน้อย เช่น หลักฐานการพบพืชและธัญพืชหลายตระกูล จากการขุดค้นท่ีถ�้ำผี และถ�้ำปุงฮุง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งมีอายุราว ๓,๕๐๐ - ๓,๐๐๐ ปีก่อนคริสตกาล นอกจากน้ี หลักฐานทางโบราณคดี
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 37 ที่บ้านเชียงยังพบร่องรอยของแกลบข้าวท่ีผสมอยู่กับดินท่ีใช้ท�ำภาชนะ ดินเผา และร่องรอยแกลบข้าวที่ติดอยู่กับเคร่ืองมือเหล็กในชั้นดินล่างสุด ของแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงด้วย ซ่ึงก�ำหนดอายุได้ราว ๓,๕๐๐ - ๒,๐๐๐ ปกี ่อนคริสตกาล ทัง้ น้ี จากการขดุ ค้นทแี่ หลง่ โบราณคดโี นนนกทา จังหวัดขอนแก่น ได้พบแกลบข้าวท่ีมิใช่ข้าวป่า เป็นข้าวในตระกูล โอรซิ า ซาตวิ า (Oryza Sativa) ซึง่ พบทวั่ ไปในทวปี เอเชีย โดยการก�ำหนด อายุของแหล่งโบราณคดีโนนนกทาอยู่ที่ราว ๓,๐๐๐ ปีก่อนคริสตกาล1 อีกท้ังภาพเขียนสีที่ผาหมอนน้อย อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ซงึ่ มีอายไุ มน่ ้อยกว่า ๒,๐๐๐ ปี กเ็ ป็นหลกั ฐานแสดงการเพาะปลูกธัญพชื และแปลงพืชท่ีมีลักษณะคล้ายข้าว2 อน่ึง การรู้จักปลูกข้าวเพ่ือบริโภค ของผคู้ นในภมู ภิ าคนม้ี นี ยั สำ� คญั อยา่ งยงิ่ ของการกอ่ ตวั เปน็ สงั คมใหญต่ อ่ มา ในอีกทางหนึ่ง การคัดสรรข้าวป่าพันธุ์ต่าง ๆ เพ่ือน�ำมาปลูกนั้น ก็เป็น จุดเริ่มต้นท่ีส�ำคัญของวัฒนธรรมการปลูกข้าวของสังคมในภูมิภาคนี้และ สังคมโลกอีกดว้ ย หลงั จากชว่ งการเรมิ่ ปลกู ขา้ วในยคุ แรก กระบวนการปลกู ขา้ ว คงได้มีพัฒนาการมาอย่างต่อเน่ืองจากการปลูกแบบไร่เล่ือนลอย หรือนาหว่านท่ีไม่ต้องดูแลมากนัก ต่อมาน่าจะเป็นการปลูกข้าวในท่ีลุ่ม ใกล้แหล่งท่ีอยู่อาศัย จากการปล่อยให้ข้าวเจริญเติบโตเองก็มีการควบคุม กระบวนการตา่ ง ๆ มากขน้ึ เชน่ การสรา้ งคนั นาเพอ่ื เกบ็ กกั นำ�้ หรอื การขดุ ทอ่ 1 ธดิ า สาระยา, ประวตั ศิ าสตรช์ าวนาสยาม (กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทร,์ ๒๕๔๔), หน้า ๒๗ - ๒๘. 2 เยาวนุช เวศร์ภาดา และวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์, ข้าว... วัฒนธรรมแหง่ ชีวิต (กรงุ เทพฯ: แปลน โมทฟิ , ๒๕๔๑), หนา้ ๑๕.
38 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ชักน้�ำจากแหล่งน�้ำธรรมชาติใกล้เคียง ซ่ึงกระบวนการปลูกข้าวที่พัฒนา ขึ้นมากน้ีเองจะเป็นหนึ่งในปัจจัยท่ีส�ำคัญของการก่อเกิดชุมชนท่ีใหญ่ข้ึน จนกลายไปสรู่ ฐั โบราณในยคุ แรกในทสี่ ดุ ในแงน่ ้ีเราจงึ มกั พบวา่ ชมุ ชนโบราณ เกอื บทงั้ หมดในดนิ แดนไทยมกั กอ่ ตวั ในทล่ี มุ่ หรอื ไมก่ ใ็ กลแ้ หลง่ นำ้� ดงั พบวา่ แม้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงมีลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นที่ราบสูง ทวา่ แหล่งชุมชนโบราณก็จะอยู่ตามแอ่งสำ� คัญ ๒ แหง่ คือ แอ่งสกลนคร มีแม่น�้ำสงครามเป็นแม่น้�ำหลักคอยหล่อเล้ียง และแอ่งโคราช มีลุ่มแม่น�้ำ ชี - มูล เอ้ืออำ� นวยต่อการเกษตรกรรม หลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีท่ีจะบอกเล่า เรอื่ งราวในอดตี เกยี่ วกบั ขา้ วในดนิ แดนไทยเรม่ิ ปรากฏชดั ขน้ึ ในสมยั ทวารวดี ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๖ โดยพบการปลกู ข้าวเหนยี วเมล็ดป้อมและ เมล็ดใหญ่ ในขณะท่ีอาณาจักรศรีวิชัยทางใต้ของไทยซึ่งมีอายุสมัย คาบเกย่ี วกนั นน้ั พบวา่ นยิ มปลกู ขา้ วเหนยี วเมลด็ ปอ้ มและขา้ วเจา้ ในสมยั ที่ อาณาจักรขอมโบราณเรืองอ�ำนาจอยู่ในดินแดนไทย หรือที่มักเรียกกันว่า สมัยลพบุรีน้ันพบหลักฐานว่า ผู้คนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือนิยมปลูก ข้าวเหนียวเมล็ดป้อมและเมล็ดใหญ่รวมทั้งข้าวเจ้า ส่วนภาคกลาง มกั ปลกู ขา้ วเหนยี วเมลด็ ปอ้ มและปลกู ขา้ วเจา้ มากขน้ึ กวา่ ในสมยั ทวารวด3ี ในช่วงเวลาท่ีขอมเรืองอ�ำนาจดังกล่าว พบหลักฐานส�ำคัญเป็นจารึก อายรุ าวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๕ - ๑๖ ทเ่ี มอื งละโว้ มใี จความกลา่ ววา่ มกี ารสง่ สว่ ย เป็นข้าวเปลือกและข้าวสารจากเมืองทวารชลพิมานถวายแด่เทวสถาน4 3 ชนิ อย่ดู ,ี “ข้าวจากหลักฐานโบราณคดีในไทย,” ศิลปากร ๑๕, ๒ (กรกฎาคม ๒๕๑๔) : ๓๙ - ๔๕. 4 ธดิ า สาระยา, ประวตั ศิ าสตรช์ าวนาสยาม, หนา้ ๒๗ - ๒๘.
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 39 ซึ่งการส่งส่วยอุทิศแด่ศาสนาเช่นนี้อาจขยายความเข้าใจของเราต่อไป ถึงการกัลปนาที่มักพบบ่อยโดยเฉพาะในจารึกสมัยสุโขทัยที่ชนช้ันน�ำ ผู้มีบุญญาธิการ หรือผู้มีทรัพย์มักจะถวายที่ดิน ทรัพย์สินเงินทอง แรงงาน ฯลฯ ก่อสร้างวัดหรือพุทธสถาน ซึ่งเป็นหน่ึงในกระบวนการ วางพืน้ ฐานท่ที ำ� ให้สังคมดำ� รงอยู่อย่างเข้มแข็งต่อไป เมอื่ ตน้ พทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ อาณาจกั รลา้ นนาเรอื งอ�ำนาจขน้ึ โดยรวบรวมดนิ แดนแวน่ แควน้ ใหญน่ อ้ ยแถบภาคเหนอื ของไทยใหเ้ ปน็ หนง่ึ โดยพญามังราย มศี ูนย์กลางอยทู่ ่นี ครเชียงใหม่ ผู้คนชาวล้านนาต้ังรกราก หนาแนน่ ตามทร่ี าบลมุ่ หรอื แอง่ ดงั ทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ โดยแอง่ ทส่ี ำ� คญั ๒ แหง่ คือ แอ่งเชียงใหม่ - ล�ำพนู ซึ่งกินอาณาบริเวณกว้างขวางท่สี ดุ มแี มน่ ้�ำปงิ เปน็ แมน่ ำ�้ หลกั และแอง่ เชยี งราย ซง่ึ กนิ พน้ื ทบี่ รเิ วณจงั หวดั เชยี งราย - พะเยา ในปจั จบุ นั ดว้ ยสภาพทางภมู ศิ าสตรท์ แี่ ตกตา่ งจากภาคอน่ื ๆ ทรี่ าบซงึ่ มอี ยู่ ไมม่ าก พน้ื ทจี่ ำ� นวนมากเปน็ เทอื กเขาสงู ชนั ชาวลา้ นนาจงึ คดิ ระบบจดั การนำ้� ในการเพาะปลูกเฉพาะตัวข้ึนมา ได้แก่ ระบบเหมืองฝายเพื่อชะลอและ กักเก็บน้�ำไว้ใช้ในการเกษตรกรรม ดังปรากฏหลักฐานว่า พญามังราย สนับสนุนการสร้างและซ่อมแซมเหมืองฝายให้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กฎหมาย มงั รายศาสตร์ กำ� หนดโทษของผูส้ รา้ งความเสยี หายหรอื ท�ำลาย เหมืองฝายไว้ โดยต้องท�ำการซ่อมแซมและแต่งเครื่องบูชาให้ถูกต้อง เหมาะสม นอกจากน้ี ยังมีกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวกับสาธารณประโยชน์ ในการเกษตรกรรม อาทิ การรกุ ลอกล�ำเหมอื ง การจดั ระบบการจดั สรรน้�ำ เข้านา เป็นต้น5 นอกจากน้ี มีการส่งเสริมให้ประชาชนใช้ประโยชน์จาก 5 เยาวนุช เวศร์ภาดา และ วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์, ข้าว... วฒั นธรรมแหง่ ชีวติ , หนา้ ๑๕.
40 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ที่ดินโดยผู้มีความประสงค์สามารถบุกเบิกถากถางท่ีดินเพื่อท�ำนาได้ ตามก�ำลังความสามารถ โดยงดเว้นค่านา ค่าสวน ๓ ปี ดังความต่อไปน้ี “... ไพรอ่ ตุ สาหะสรา้ งปา่ คา นารา้ ง สวนรา้ ง ใหเ้ ปน็ นา เปน็ สวน เปน็ บา้ นเมอื ง ใหก้ นิ ขา้ วไปกอ่ น ๓ ปี ตอ่ จากนน้ั จงึ เกบ็ คา่ นา คา่ สวน เพอื่ ใหไ้ พรผ่ อู้ ตุ สาหะ สรา้ งเมอื ง เปน็ พลเมอื งดี ไดร้ บั ความสขุ สบาย...” จะเหน็ ไดว้ า่ กระบวนการ จดั การเกษตรกรรมโดยเฉพาะการปลกู ขา้ วซง่ึ เปน็ อาหารหลกั ในอาณาจกั ร ลา้ นนาสะทอ้ นถงึ ความสำ� คญั ของขา้ ว และผปู้ กครองในอาณาจกั รลา้ นนา กต็ ระหนกั ในความส�ำคัญดังกล่าวเปน็ อยา่ งดี หลักฐานท่ีส�ำคัญอีกช่วงหนึ่งที่แสดงถึงความสืบเน่ืองของ วัฒนธรรมขา้ วอย่ใู นสมัยอาณาจกั รสุโขทัย แม้การปลูกข้าวในสมยั สโุ ขทยั จะยังมิได้เฟื่องฟูขนาดเป็นการค้าขนาดใหญ่ แต่ประชาชนก็ปลูกข้าวกัน อยา่ งแพรห่ ลาย และรฐั กเ็ ขา้ มาใหก้ ารสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ขอ้ ความหลายตอน ในศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑ ระบถุ งึ ไรน่ าทพ่ี บเหน็ อยา่ งอดุ มสมบรู ณใ์ นเมอื งสโุ ขทยั และราษฎรสามารถแปลงป่าให้เป็นที่นาเรือกสวนได้ตามก�ำลังของตน โดยไดร้ บั การสนบั สนนุ จากผปู้ กครอง ดงั ในจารกึ วดั สรศกั ดก์ิ ร็ ะบเุ นอ้ื ความ ในทำ� นองดงั กลา่ ว ดงั นี้ “... นายสรศกั ด์ิ ขอปา่ สรา้ งเปน็ นา แกพ่ อ่ อยหู่ วั เจา้ ในตำ� บลบ้านสุกพอมนอ้ ย ทา่ นมีพระศาสนธว์ า่ ใหช้ กั ป่าใหบ้ รรจบนานัน้ ใหเ้ ปน็ พนั ไร่ ไวก้ บั พระอาราม ...” นอกจากน้ี การกลั ปนาทกี่ ลา่ วถงึ ขา้ งตน้ ก็เกิดขึ้นอยู่ทั่วไปโดยปรากฏหลักฐานในจารึกหลายหลัก โดยการกัลปนา นเ้ี อง เปน็ การสรา้ งพนื้ ฐานของสงั คมทเ่ี ขม้ แขง็ ผา่ นกรอบคดิ ทางพทุ ธศาสนา การอุทิศท่ีดิน แรงงาน และข้าวของทรัพย์สินต่าง ๆ ให้แก่วัดหรือเพื่อ สร้างวัดน้ันในทางหนึ่งเป็นการสร้างความเป็นปึกแผ่นให้กับอาณาจักร เปน็ อย่างยง่ิ
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 41 จากการที่เมืองสุโขทัยไม่ใช่เมืองท่ีตั้งบนพื้นที่ลุ่ม ดังน้ัน ผู้ปกครองสมัยสุโขทัยจึงจดั การชลประทานเพือ่ กกั เกบ็ นำ้� ไวใ้ ชใ้ นยามแลง้ และป้องกันความเสียหายจากอุทกภัยในฤดูน้�ำหลาก พ่อขุนรามค�ำแหง มหาราชได้ริเร่ิมท�ำท่อส่งน้�ำขนาดใหญ่ท�ำจากดินเผาเพื่อล�ำเลียงน�้ำ เข้าสู่นาในท่ีดอน หลักฐานจากจารึกบนฐานพระอิศวรเมืองก�ำแพงเพชร (หลักท่ี ๑๓) กล่าวว่า เจ้าเมืองขุดค้นพบท่อน้�ำท่ีพ่อขุนรามค�ำแหงสร้าง จากเมอื งกำ� แพงเพชรไปยงั เมอื งบางพาน โดยเมอื งบางพานนอี้ ยทู่ างเหนอื ของเมอื งกำ� แพงเพชรเปน็ ระยะทางราว ๑๖ กโิ ลเมตร6 ภายในเมอื งมกี ารสรา้ ง ตระพงั เพอื่ เกบ็ น้�ำไว้ใช้ประโยชนใ์ นการต่าง ๆ รวมทัง้ การเพาะปลูก ขา้ วไดท้ วีความสำ� คญั ต่ออาณาจกั รมากยิ่งขน้ึ ในสมยั อยุธยา สภาพภูมิศาสตร์ของอยุธยาซ่ึงเป็นท่ีราบลุ่มเอื้ออ�ำนวยต่อการปลูกข้าว อย่างย่ิง จากตัวเมืองอยุธยาท่ีเป็นลักษณะเกาะ มีแม่น้�ำใหญ่ไหลผ่าน ล้อมรอบ และพื้นท่ีนอกเกาะเมืองที่มีล�ำคลองสาขาผ่านเป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้มนี ำ้� ท่าบรบิ รู ณ์เพียงพอแกก่ ารกสกิ รรมเปน็ อยา่ งดี โดยเฉพาะตัง้ แต่ สมัยอยุธยาตอนกลางเป็นต้นมา เร่ิมมีชาวต่างชาติท้ังตะวันตกและ ตะวนั ออกเขา้ มาตดิ ตอ่ คา้ ขายแลกเปลย่ี นสนิ คา้ มากขน้ึ เรอ่ื ย ๆ ซงึ่ ขา้ วเปน็ หนงึ่ ในสนิ ค้าหลักทข่ี ึ้นชอ่ื ของอยุธยา แมก้ ารเพาะปลกู ในชว่ งดังกลา่ วจะยังไม่ เป็นแบบเกษตรกรรมขนาดใหญ่จากอิทธิพลของอ�ำนาจทุน แต่ข้าวของ อยุธยาก็ผลติ ไดม้ ากโดยเปรยี บกบั อาณาจกั รอื่น ๆ ในเวลาเดียวกนั ทงั้ นี้ ในสมัยอยุธยามีอาณาจักรใกล้เคียงที่เติบโตขึ้นมา และเร่งสร้างความ แขง็ แกร่งข้นึ เป็นคู่แข่ง การมพี ืชพรรณธัญญาหารไว้บรโิ ภคอยา่ งพอเพยี ง ยอ่ มเป็นหลกั ประกนั ความม่นั คงของอาณาจกั รด้วยอย่างแนน่ อน 6 ชัย เรืองศิลป์, ประวัติศาสตร์ไทยด้านเศรษฐกิจแต่โบราณ ถึง พ.ศ. ๒๓๙๙ (กรุงเทพฯ: ตน้ ออ้ , ๒๕๓๓), หนา้ ๕๙.
42 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย แม้อยุธยาจะมีข้อได้เปรียบตรงท่ีความอุดมสมบูรณ์ของ ตัวเองเป็นพนื้ ฐาน ทว่า เรากไ็ ด้ทราบวา่ กลไกในการจัดการข้าวท้ังระบบ พฒั นาขนึ้ กวา่ อาณาจกั รยคุ กอ่ น ๆ มาก (อยา่ งนอ้ ยกต็ ามทป่ี รากฏหลกั ฐาน) ตวั อยา่ งทช่ี ดั เจนคอื การกอ่ ตงั้ กรมนาเพอื่ จดั การ ควบคมุ ดแู ล และสง่ เสรมิ การท�ำนาโดยเฉพาะ แต่ละเมืองซ่ึงลงไปถึงระดับแขวงและอ�ำเภอจะมี เจา้ หนา้ ทกี่ รมนาประจำ� อย7ู่ เจา้ หนา้ ทจี่ ากกรมนาจะชว่ ยดแู ลการเพาะปลกู ข้าวของชาวนาให้เป็นไปด้วยดี ในอีกทางหนึ่ง เจ้าหน้าท่ีก็จะมีหน้าที่ เก็บอากรค่านาด้วย โดยในฤดูแล้งของทุกปี (มักเร่ิมตั้งแต่เดือนมกราคม เป็นต้นไป) กรมนาจะแต่งตั้งข้าหลวงไปส�ำรวจ เพ่ือคิดประเมินค่านา โดยเสนาท้องถิ่นและก�ำนันในท้องที่เป็นผู้ช่วย เจ้าของท่ีนาจะต้องเป็น ผู้ชี้เขต เมื่อท�ำการประเมินแล้ว ข้าหลวงจะมอบใบน�ำเสียอากรซึ่งแสดง เน้ือที่และจ�ำนวนเงินที่ตอ้ งช�ำระในคราวน้ัน8 แต่เดิมเมื่อยังไม่มีการรังวัดท่ีดินและออกโฉนดให้แก่ชาวนา การเกบ็ คา่ นาแบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภทคอื นาโคคู่ และ นาฟางลอย สำ� หรบั นาโคคู่ใช้การประเมินส�ำรวจวัวควายที่ใช้ท�ำนาว่ามีจ�ำนวนก่ีตัว โดยคน ในสมัยนั้นน่าจะเห็นพ้องกันว่า วัวควายจ�ำนวนเท่าใดสามารถใช้ท�ำนา ไดจ้ ำ� นวนเทา่ นนั้ เทา่ น้ี สว่ นนาฟางลอยมกั ใชป้ ระเมนิ นาในทด่ี อน ซง่ึ ชาวนา ท�ำนาเพียงบางพน้ื ทม่ี ไิ ดต้ ิดต่อกันเป็นผืนใหญ่ เจ้าหนา้ ทจ่ี ะส�ำรวจตอฟาง เพื่อประเมินพ้ืนท่ีเพาะปลูกที่แท้จริง แล้วค�ำนวณอากรค่านาจากพิกัด ทีต่ งั้ ไว9้ การเกบ็ อากรคา่ นาน้แี ตเ่ ดิมเกบ็ เปน็ “หางขา้ ว” หรอื ข้าวเปลือก 7 เรอื่ งเดียวกัน, หน้า ๑๐๖. 8 เรื่องเดียวกนั , หน้า ๑๐๗. 9 เรือ่ งเดียวกัน, หน้า ๑๐๖.
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 43 เข้าฉางหลวง กระทั่งในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเปล่ียนจากการ เก็บหางขา้ วเปน็ เงนิ แทน ในอตั ราไรล่ ะ ๒๕ สตางค1์ 0 ผู้ปกครองในสมัยอยุธยาให้การส่งเสริมการเกษตรกรรม อย่างเต็มท่ี มีการขุดคลองขึ้นใหม่หลายสายเพื่อการชลประทาน และ การขุดคลองน้ียังเกิดประโยชน์ในการขนถ่ายผลผลิต การคมนาคม และการก�ำกับดูแลของทางราชการอีกด้วย ในขณะเดียวกันก็ท�ำท�ำนบ และประตกู นั้ นำ้� ในแถบเมอื งสระบรุ ี กำ� แพงเพชร สโุ ขทยั เปน็ ตน้ เนอื่ งจาก พ้ืนที่เหล่านี้มีท่ีดอนอยู่มาก และจากจดหมายเหตุในสมัยอยุธยา ท�ำให้ เราทราบว่า แม้อาณาเขตที่ราบลุ่มแถบอยุธยาจะมีความอุดมสมบูรณ์ อย่างมากนั้น ทว่าในความเป็นจริง ชีวิตของชาวนาก็มิได้สุขสบายนัก เน่ืองจากหลักฐานประเภทพระราชพงศาวดาร เช่น พระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ให้ข้อมูลว่า บางปีน�้ำน้อย (พทุ ธศักราช ๒๑๑๔ - ๒๑๑๕) บางปนี �้ำมาก (พุทธศักราช ๒๑๑๗) บางปี ขา้ วแพง (พุทธศักราช ๒๑๓๒)11 ปหี นึ่งในรชั สมยั พระเจ้าอย่หู ัวบรมโกศ พบวา่ ฝนแลง้ ววั ควาย และราษฎรลม้ ตายเปน็ จำ� นวนมาก ซำ�้ ยงั มโี จรผรู้ า้ ย ชุกชุมด้วย ดังน้ัน เมื่อพิจารณาในรายละเอียดจะพบว่า ผู้ปกครอง และเกษตรกรสมัยอยุธยาก็ต้องจัดการกับความไม่แน่นอนของธรรมชาติ เป็นอย่างมากกว่าท่ีอยุธยาจะสร้างช่ือเสียงในการเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้�ำ ขึ้นมาได้ 10 เยาวนุช เวศร์ภาดา และวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์, ข้าว... วฒั นธรรมแห่งชีวิต, หน้า ๓๑. 11 พระราชพงศาวดารฯ ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ (กรงุ เทพฯ: แสงดาว, ๒๕๔๔), หนา้ ๒๙ และ ๓๓.
44 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ในเกาะเมืองอยุธยาปรากฏว่า มีการน�ำข้าวมาซื้อขาย แลกเปล่ียนกันมากแถบตะวันตกของเกาะเมือง ดังปรากฏหลักฐาน เป็นช่ือสถานท่ีต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการค้าข้าว เช่น สะพานขายข้าว คลองประตขู า้ วเปลอื ก คลองปากขา้ วสารหนา้ วดั ใหญช่ ยั มงคล คลองแกลบ ขา้ งวดั ลอดชอ่ ง เปน็ ตน้ 12 คำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรม กก็ ลา่ วถงึ กจิ กรรมการคา้ ขายข้าวทีด่ จู ะคึกคักมาก ดงั นี้ “...แถวนา่ วดั สมอ วดั ขนนุ วดั ขนาน สามวดั นนั้ ชาวเมืองอ่างทอง และ เมืองลพบุรี เมืองอินทร์ เมืองพรหม เมืองสิงห เมืองสรรค เมืองสุพรรณ เอาข้าวเปลือกบันทุกเรือใหญ่น้อยมาจอดขาย ทนี่ น่ั ...”13 ดังท่ีได้เกร่ินไปข้างต้น อาณาจักรอยุธยาสามารถดูแล และส่งเสริมให้ราษฎรท�ำนา จนมีผลผลิตเกินความต้องการบริโภค ในประเทศ อกี ทงั้ ขา้ วทผ่ี ลติ ไดก้ ม็ คี ณุ ภาพสงู ดงั นนั้ ขา้ วจงึ เปน็ สนิ คา้ สง่ ออก ท่ีส�ำคัญท่ีต่างประเทศนิยมมาส่ังซื้อ โดยประเทศท่ีมาซื้อข้าวจากอยุธยา กม็ ีท้งั ชาติตะวนั ตก เช่น ฝรั่งเศส ฮอลนั ดา และชาติตะวันออก เช่น จีน ญี่ปุ่น มะละกา ชวา เขมร เป็นตน้ ซึ่งถอื เปน็ ส่วนส�ำคญั ทท่ี �ำให้อาณาจกั ร อยธุ ยามีความมง่ั ค่งั และมน่ั คงทางเศรษฐกิจ 12 เยาวนุช เวศร์ภาดา และวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์, ข้าว... วฒั นธรรมแห่งชีวติ , หนา้ ๓๐. 13 ค�ำให้การขนุ หลวงวัดประดูท่ รงธรรม เอกสารจากหอหลวง, พิมพ์ครัง้ ท่ี ๒ (นนทบุรี: มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช, ๒๕๕๕), หน้า ๗ - ๘.
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 45 หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ ในพุทธศักราช ๒๓๑๐ สภาพบา้ นเมืองประสบความสั่นคลอน ข้าวยากหมากแพง ขวัญและจิตใจ ของราษฎรระส�่ำระสายเป็นอันมาก กล่าวกันว่า หากใครยังพอมีเงิน ก็จ�ำต้องซ้ือข้าวจากพ่อค้าต่างชาติ กระท่ังสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สามารถรวบรวมผคู้ นสถาปนาราชธานใี หมค่ อื กรงุ ธนบรุ ี ขน้ึ มาได้ กย็ งั ตอ้ ง เผชญิ กบั ความยากลำ� บากอยอู่ กี หลายปี หา้ ปแี รกของการตง้ั กรงุ ธนบรุ นี น้ั ยังหาแรงงานผู้คนท�ำนาไม่ได้ ข้าวปลาอาหารเข้าข้ันกันดาร ราคาข้าว ก็ถีบตัวแพงข้ึนหลายเท่าจากสมัยปลายอยุธยา ซ่ึงข้าวเปลือกราคา เกวียนละ ๕ ตำ� ลึง ขา้ วสารเกวยี นละ ๑๐ ตำ� ลึง แต่ในพทุ ธศกั ราช ๒๓๑๓ ราคาข้าวสารพุ่งขึ้นเป็นเกวียนละ ๓ ช่ัง (๒๐ ต�ำลึงเท่ากับ ๑ ชั่ง) จน สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ ตอ้ งซอ้ื ขา้ วพระราชทานเลยี้ งอาณาประชาราษฎร1์ 4 อยา่ งไรกด็ ี เมอื่ ทรงประคบั ประคองบา้ นเมอื งใหม้ เี สถยี รภาพ พอสมควรแล้วจากการปราบก๊กต่าง ๆ ท่ีต้ังตนขึ้นเป็นใหญ่ สมเด็จ พระเจ้าตากสินก็ทรงเกณฑ์ไพร่พลแรงงาน และโปรดเกล้าฯ ให้ขยาย พ้ืนท่ที �ำนา ทั้งโปรดฯ ให้บกุ เบกิ ท�ำนาใหท้ ้องทีอ่ ่นื ๆ เช่น ทุง่ กระทมุ่ แบน หนองบัวแขวงเมืองนครชัยศรี15 แปลงพ้ืนท่ีสวนแถบธนบุรีให้เป็นที่นา โดยตัดฟันต้นไม้ตามสวนนอกก�ำแพงพระนครท้ัง ๒ ฟาก ถมร่องสวน ให้เต็มราบ16 กระท่ังมีการส่งเสริมการท�ำนาปรังแต่ไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร ทั้งนี้ ควรกล่าวไว้ด้วยว่า อุปสรรคส�ำคัญในการส่งเสริมการเกษตรกรรม 14 พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), พมิ พค์ รั้งท่ี ๒ (กรุงเทพฯ: องค์การคา้ ของคุรุสภา, ๒๕๒๘), หน้า ๒๘ - ๒๙. 15 เร่อื งเดียวกนั , หน้า ๖๖. 16 ชัย เรืองศิลป์, ประวัติศาสตร์ไทยด้านเศรษฐกิจแต่โบราณ ถงึ พ.ศ. ๒๓๙๙, หน้า ๑๙๙.
46 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ในสมัยกรุงธนบุรีคือ ยังคงมีการรุกรานจากพม่าอยู่เป็นระยะ อย่างน้อย ก็ในช่วงครึ่งแรกของสมัยธนบุรี ทำ� ให้ต้องเกณฑแ์ รงงานหลายส่วนไปเป็น ไพร่พลในการสงคราม การรื้อฟื้นความอุดมสมบูรณ์ในการเกษตร จงึ เปน็ ไปอยา่ งยากล�ำบาก เมื่อย้ายเมืองหลวงข้ามฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยามาที่กรุงเทพ มหานคร พระมหากษัตริย์ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ก็ทรงส่งเสริม การเกษตรกรรมอย่างเต็มท่ี มีการบุกเบิกที่นาขนานใหญ่ แหล่งปลูกข้าว ทสี่ ำ� คญั คอื บรเิ วณทร่ี าบลมุ่ ภาคกลางแถบจงั หวดั ปทมุ ธานี อยธุ ยา นนทบรุ ี นครชัยศรี สพุ รรณบรุ ี อ่างทอง ชยั นาท สงิ หบ์ ุรี ซง่ึ มคี วามอุดมสมบูรณ์ จากแมน่ ำ้� เจา้ พระยาและลำ� นำ้� สายรองอกี จำ� นวนมาก ทส่ี ำ� คญั การศกึ สงคราม จากอาณาจกั รขา้ งเคยี งทส่ี งบและลดนอ้ ยลงไปเรอื่ ย ๆ กเ็ ปน็ ปจั จยั เกอ้ื หนนุ ใหผ้ ูค้ นลงหลกั ปักฐานกลบั สูเ่ รือกสวนไร่นาอีกครงั้ และความเขม้ แขง็ ของ วฒั นธรรมขา้ วดจู ะกลบั ฟน้ื คนื มาอกี คราหนง่ึ กระทง่ั บาทหลวงปาลเลกวั ซ์ ผ้อู าศยั ในเมอื งไทยคอ่ นข้างยาวนานถึงกบั กลา่ ววา่ “...ขา้ พเจา้ ไมท่ ราบวา่ ในโลกนย้ี งั จะมปี ระเทศ ใดบ้างที่มีความอุดมสมบูรณ์ย่ิงไปกว่าประเทศสยาม หรอื หาไม่ โคลนตมของแมน่ ำ�้ ไดท้ ำ� ใหผ้ นื แผน่ ดนิ อดุ ม ไปดว้ ยปยุ๋ อยทู่ กุ ปี โดยแทบจะไมต่ อ้ งบำ� รงุ ผนื ดนิ เลย ก็ได้ต้นข้าวกอใหญ่อันมีรสดีวิเศษ ซึ่งไม่เพียงแต่พอ เล้ียงประชาชนพลเมืองเท่าน้ัน ยังส่งออกไปขายยัง เมืองจีนและทอ่ี ่นื ๆ ได้อีกปีละไม่นอ้ ยกว่า ๑๕,๐๐๐ แก็งโต้ซ์ [๑ แกง็ โตซ้ เ์ ทา่ กบั ๑๐๐ กิโลกรมั ]...”17 17 ม. ปาลเลกวั ซ,์ เลา่ เรอ่ื งกรงุ สยาม, แปลโดย สนั ต์ ท. โกมลบตุ ร, พิมพ์ครัง้ ที่ ๔ (นนทบรุ :ี ศรปี ญั ญา, ๒๕๕๒), หนา้ ๓๓ - ๓๔.
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 47 ในตอนต้นของสมัยรัตนโกสินทร์ แม้จะมีการผลิตข้าว ไดม้ ากจนเกนิ ความตอ้ งการบรโิ ภคภายในประเทศ ทวา่ กลไกการผลติ ขา้ ว ยังมิได้พัฒนาไปถึงระดับการค้าในระบบตลาดท่ีมีการลงทุนจ�ำนวนมาก ซึ่งปรากฏการณ์น้ีจะเร่ิมอุบัติข้ึนเมื่อสยามลงนามท�ำสนธิสัญญาเบาว์ริง พุทธศักราช ๒๓๙๘ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นการเปิดฉากเศรษฐกิจภาคการเกษตรที่ขับเคลื่อนโดยอ�ำนาจทุน และตลาดอย่างแท้จริง และจะเขม้ ขน้ ขน้ึ เร่ือย ๆ สืบเนื่องมาจนปัจจบุ ัน
48 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย บรรณานุกรม คำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรม เอกสารจากหอหลวง. พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, ๒๕๕๕. จุลทัศน์ พยาฆรานนท์. “พระมหากษัตริย์กับการเกษตร.” ใน ข้าว กับวิถีชีวิตไทย. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ เรอื่ งวฒั นธรรมขา้ วในสงั คมไทย ณ หอประชมุ ใหญศ่ นู ยว์ ฒั นธรรม แห่งประเทศไทย วันที่ ๓๐ มีนาคม - ๑ เมษายน ๒๕๓๖. กรงุ เทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ, ๒๕๓๖, หนา้ ๑๖ - ๓๔. ชัย เรืองศิลป์. ประวัติศาสตร์ไทยด้านเศรษฐกิจแต่โบราณถึง พ.ศ. ๒๓๙๙. กรุงเทพฯ: ตน้ อ้อ, ๒๕๓๓. . ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยสมยั พ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๔๕๓ ดา้ นเศรษฐกจิ . พิมพค์ รัง้ ที่ ๓. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๔๑. ชิน อยู่ดี. “ข้าวจากหลักฐานโบราณคดีในไทย.” ศิลปากร ๑๕, ๒ (กรกฎาคม ๒๕๑๔) : ๓๙ - ๔๕. ธิดา สาระยา. ประวัตศิ าสตร์ชาวนาสยาม. กรงุ เทพฯ: อมรินทร์, ๒๕๔๔. ปาลเลกวั ซ,์ ม. เลา่ เรอ่ื งกรงุ สยาม. แปลโดย สนั ต์ ท. โกมลบตุ ร. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๔. นนทบรุ :ี ศรีปัญญา, ๒๕๕๒. พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต.ิ์ กรุงเทพฯ: แสงดาว, ๒๕๔๔.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300