Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SARปีการศึกษา2564

SARปีการศึกษา2564

Published by ภรรณนรรณ, 2022-07-01 02:01:46

Description: SAR ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 1

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 2 คำนำ โรงเรียนบ้านท่าอาจได้ดําเนินการตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 มาตรา 9(3) ได้กําหนดการจัดระบบโครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักที่สําคัญ ข้อหน่ึง คือ มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และให้โรงเรียนจัดทํารายงานประจําปีเสนอต่อ หน่วยงานต้นสังกัด เปิดเผยต่อสาธารณชนนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ตอ่ ไปน้นั ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านท่าอาจได้จัดการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาข้ันพื้นฐานตามกฎกระทรวง และถือว่าการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เป็นส่วน หน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดําเนินการอย่างต่อเน่ือง มีการจัดทํา โครงการ กิจกรรม และแผนการ ปฏิบัติงานประจําปีของโรงเรียนให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้น พน้ื ฐานดังกล่าว การจัดทํารายงานฉบับนี้ได้รับความร่วมมือจากบุคลากรทุกฝ่ายขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ โรงเรียนมุ่งหวังว่าจะได้รับความร่วมมือจากบุคลากรทุกท่านในการพัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐาน ต่อไป

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 3 สารบญั ตอนท่ี 1 บทสรุปสาหรบั ผู้บริหาร.....................................................................................................4 ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย.............................................................................................................4 ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน........................................................................................................6 ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน...................................................................................................................11 1. ข้อมูลท่วั ไปของสถานศึกษา ...................................................................................................11 2. ผลการทดสอบระดับชาติผู้เรยี น.............................................................................................18 สว่ นท่ี 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ...........................................................................30 ระดับการศึกษาปฐมวัย ............................................................................................................... 30 ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน..........................................................................................................32 ภาคผนวก .......................................................................................................................................41

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 4 สว่ นที่ 1 บทสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ าร ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา้ นทา่ อาจ ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั สรุปภาพรวมอยู่ในระดับ : ดี มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ระดบั คุณภาพ :ดี 1.ผลการดาเนินการ โรงเรียนบ้านท่าอาจ มุ่งพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการทั้งสี่ด้านสมกับวัย โดยได้รับการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านโครงการ/กิจกรรม การบูรณาการความรู้ผ่านการเล่นและการลงมือทํา ท้ังใน ห้องเรียนและนอกห้องเรียน ให้เด็กได้มีทักษะชีวิตช่วยเหลือตนเอง การแก้ไขปัญหา การคิดวิเคราะห์และ ความคิดสร้างสรรค์ในการเล่นและการเรียนรู้ของเด็กโดยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูในการจัด กิจกรรมหลักหกกิจกรรมประจําวันทําให้เด็ก เป็นผู้นําและผู้ตามที่ดี มีวินัย และมารยาทท่ีดี เปิดโอกาสให้เด็ก ไดเ้ ลอื กและปฏิบัติกจิ กรรมตามความสนใจ เพ่ือพัฒนาการของเด็กท่ีดีท้ังสี่ด้านเป็นไปตามลําดับและสมวัยของ เด็ก 2.แนวทางพัฒนาคุณภาพให้สงู ขึ้นกว่าเดมิ มกี ารสง่ เสรมิ การเรยี นรเู้ ด็กปฐมวยั โดยการจัดประสบการณด์ ว้ ยการบรู ณาการความรู้ผ่านการเลน่ และการ ลงมือทาํ มกี ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลายทสี่ ง่ เสริมพฒั นาการของเด็กท้ังสีด่ า้ นสง่ เสริมใหเ้ ด็กมี ความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาไดด้ ้วยตนเอง มีความคิดจินตนาการจากการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดบั คุณภาพ : ดี 1.ผลการดาเนนิ การ โรงเรียนบ้านท่าอาจใช้หลักสูตรปฐมวัยพุทธศักราช 2560 (ปรับปรุง 2562) โดบผ่านกระบวนการมี ส่วนร่วมของคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งต้ัง มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของ โรงเรียนโดยกําหนดกิจกรรมประชุมผู้เก่ียวข้องเพ่ือหาแนวทางจัดกิจกรรมการเรียนการสอ นและจัดกิจกรรม โครงการเสริมต่างๆเพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุตามตัวบ่งช้ี โดยดําเนินโครงการพัฒนาผู้เรียนปฐมวัยตามมาตรฐาน โครงการปฐมวัย และประสบการณ์การเรยี นรู้ท่สี ง่ เสริมให้เดก็ ไดป้ ระสบการณ์โดยตรง จากการเรียนผ่านการ เล่น โดยลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเองและการเรียนรู้รายกลุ่ม เพ่ือก่อให้เกิดความมีนํ้าใจ ความสามัคคี การ แบ่งปัน และการรอคอย จากโครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐานผู้เรียนระดับปฐมวัย กิจกรรมเรียนรู้สู่

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 5 โลกกว้าง ส่งผลให้โรงเรียนบ้านท่าอาจ ได้มีการจัดประสบการณ์ท่ีสร้างโอกาสให้กับเด็กปฐมวัยได้รับ ประสบการณ์ตรง 2.แนวทางพัฒนาคุณภาพให้สูงขึน้ กวา่ เดมิ ควรมีการดําเนินงานอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบมีการบันทึกผลการรายงานผลการดําเนินงานอยู่ ตลอด ควรมีการจัดต้ังกลุ่มเครือข่ายความร่วมมือของผู้ที่มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อส่งเสริม ความมัน่ คงและความเขม้ แข็งในการจัดการศึกษาต่อไปในทางทด่ี ี มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สาคญั ระดบั คณุ ภาพ : ดี 1.ผลการดาเนนิ งาน โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นพัฒนาการเด็กเหมาะสมตามวัย ผ่านเกณฑ์การประเมิน พัฒนาการตาวัตถุประสงค์ การเรียนการสอนที่กําหนดการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนําผล การประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็กในทางท่ีพัฒนาที่ดี โรงเรียนบ้านท่า อาจ มีกระบวนการ การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการจัด กจิ วตั รประจําวัน ด้วยเครื่องมอื และวิธีการทีห่ ลากหลาย เชน่ การสังเกต การสอบถาม การสํารวจ และการ วิเคราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก โดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม เพื่อได้นําผลการประเมินไปพัฒนาตามศักยภาพ ของเด็กและพัฒนาการ จัดประสบการณก์ ารเรยี นรูใ้ นชน้ั เรียนต่อไป 2.แนวทางพัฒนาคุณภาพให้สูงขน้ึ กวา่ เดมิ ควรมีการร่วมมือกันในการจัดรูปแบบการประเมินพัฒนาการเด็กให้สอดคล้องกับสภาพจริงและความ เหมาะสมกับเด็ก เพื่อจะได้นําผลการประเมินไปพัฒนาเด็กตามศักยภาพของเด็ก การจัดประสบการณ์โดยการ นําเอาความรู้ภูมปญั ญาในท้องถิน่ มาบรู ณาการในการจัดการเรยี นการสอนและการมสี ่วนร่วมให้มากขน้ึ สรุปผลการดาเนินงาน จุดเด่น จุดควรพัฒนา 1.โรงเรียนมีการจัดการเรยี นท่ีเน้นพัฒนาการเด็ก 1.กิจกรรมเสริมสร้างพฒั นาการทางดา้ นสติปัญญา ตามวัย ผา่ นเกณฑ์การประเมินพัฒนาการตา ของเด็กนกั เรียน ความมีระเบียบวินยั ความ วัตถปุ ระสงค์ การเรยี นการสอนทกี่ ําหนดการ รบั ผิดชอบ จัดกจิ กรรมเสริมบูรณาการในตาราง ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจริง และนําผล กิจกรรมให้นักเรียนมีสมาธิและการอยู่รว่ มกันให้มาก การประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงแก้ไขในการ ขน้ึ จดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก 2.เด็กได้รับการดูแลเอาใจใส่มีพัฒนาการทางด้าน 2.กจิ กรรมวชิ าการทจี่ ะต้องสง่ เสริมพัฒนาการเด็ก อารมณท์ ่ดี ี จากผู้ปกครองทําให้เด็กเม่ือเข้าเรียนจึงมี เช่น ความสามารถในการแก้ปัญหา ความมเี หตุและ ความพร้อมและโรงเรยี นมีการจดั กิจกรรมเสริมให้กับ ผล การสื่อสาร

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 6 เด็กได้เต็มศักยภาพ มีห้องเรียนและบรรยากาศที่ ส่งเสริมพัฒนาการ มีแหล่งเรียนรู้ในห้องเรียนและ นอกห้องเรียน เสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของ เดก็ ไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ ทิศทางการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านท่าอาจมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเน่ือง ส่งเสริมให้เด็กได้ลงมือทํากิจกรรม การมีส่วนร่วม สร้างความรับผิดชอบ การมีวินัย การสร้างสมาธิสติปัญญา การควบคุมตนเองในการอยู่ร่วมกัน และการ สอนโดยการบูรณาการในกิจกรรมประจําวันเช่น กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเล่นตามมุม กิจกรรมเกม การศึกษา

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 7 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนบ้านทา่ อาจ ระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน สรปุ ภาพรวมอยู่ในระดบั : ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ้ รียน ระดบั คุณภาพ : ดี 1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผ้เู รียน จากการพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการนกั เรยี นโรงเรียนบ้านท่าอาจ ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 6 นักเรียนโรงเรียนบ้านท่าอาจมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิด คํานวณอยูใ่ นระดบั ปานกลาง มคี วามสามารถในการวเิ คราะห์และคดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา อยใู่ นระดบั ปานกลาง มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรมและ มีความสามารถใน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อยู่ในระดับ ดี มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา และมคี วามรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติทีด่ ีต่ออาชพี อยู่ในระดับ ดีเลศิ โรงเรียนบ้านท่าอาจ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จําเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา โดย จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ส่งเสริมกระบวนการแสวงหาความรู้ การพัฒนากระบวนการคิด และการทํางาน ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้ เพื่อฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณในทุกรายวิชาเพื่อพัฒนา นักเรียนให้มคี วามรู้ความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาอย่างสมเหตุสมผล โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนรู้จักวางแผนการทํางาน คิดเป็นลําดับข้ัน ลงมือปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอน มีการ ตรวจสอบและปรับปรุงผลงานของตนเองอย่างมีระบบ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนอ่านออกและเขียนได้ จัด กระบวนการเรียนรู้ด้วยวิธีการ PBL โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มีแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ได้แก่ ห้องสมุด ห้อง คอมพิวเตอร์ แหล่งเรยี นรู้ภายนอกโรงเรียน ส่งเสริมให้นักเรียนท่ีมีความรู้ความสามารถในการประกวดแข่งขัน ซ่ึงนักเรียนโรงเรียนบ้านท่าอาจมีผลงานจากการได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ตัดต่อคลิปวีดีโอเข้า ประกวด ในโครงการกิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวัง และส่งเสริมสร้างสรรค์วันวาเลนไทน์ ประจําปี 2564 ภายใต้ มาตรการการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 แนวทางพัฒนาคุณภาพให้สูงขนึ้ กว่าเดิม โรงเรียนจัดทําโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึ กษาทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะการอ่าน เขียน ของนักเรียน การอ่านและเขียนคําพ้ืนฐาน ตามที่สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกําหนดในแตล่ ะชั้น 1.2 คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผเู้ รียน โรงเรยี นบา้ นท่าอาจ ใหค้ วามสําคญั ในการพัฒนาคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน เน้นนักเรียนเป็น คนดี จึงได้ดําเนินการพัฒนาด้วยวิธีการท่ีหลากหลายส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามค่า

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 8 เปา้ หมายท่กี ําหนด โดยจดั กระบวนการจัดการเรยี นการสอนตามมาตรฐานและตัวช้วี ัดของหลักสตู รสถานศึกษา ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมลูกเสือและยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาโรงเรียน พัฒนาวัด กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน สร้างทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีของต่อวิชาชีพ และ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงคท์ ่เี ป็นค่านยิ มท่ีดี ตามท่ีสถานศึกษากําหนด ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็น ไทย การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง และหลากหลายรวมท้ังสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม และจริยธรรม เคารพในระเบียบวินัยและกฎกติกาของโรงเรียน มี ค่านิยมและจติ สาํ นกึ ทดี่ ีตามท่ีโรงเรยี นบา้ นทา่ อาจได้กาํ หนดไว้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คุณภาพ : ดเี ลิศ โรงเรียนบา้ นทา่ อาจ มรี ะบบการบริหารงานทชี่ ัดเจน ครอบคลุมทุกภารกิจของโรงเรียน บุคลากรได้รับ การพัฒนาประสิทธิภาพในการทํางาน มีการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นของสถานศึกษา มีกิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษา และมีผลการดําเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย มีผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์และมีความสามารถเป็นส่วน ใหญ่ จงึ ทาํ ใหก้ ารบริหารจดั การดา้ นต่างๆ มีประสิทธิภาพ ทําให้การบริหารจัดการของโรงเรียนมีประสิทธิภาพ มมี าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาทส่ี อดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน โรงเรียนบ้านท่าอาจ จัดทําแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่สถานศึกษา กําหนด และดําเนินการตามแผน มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการ ดําเนินงาน และจดั ทํารายงานผลการประเมินตนเองประจําปี นําผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ สถานศกึ ษา หลักสตู รสถานศกึ ษามคี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ทอ้ งถ่ิน มีการนิเทศภายใน กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ และนําผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสมํ่าเสมอ จัดรายวิชาเพ่ิมเติมท่ีหลากหลายให้ผู้เรียน เลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีส่งเสริมและตอบสนอง ความต้องการตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ครูได้ปฏิบัติหน้าที่ตรงกับความรู้ ความสามารถหรือคุณวฒุ ทิ างการศึกษา ส่งผลใหง้ านมคี ุณภาพไดร้ ับการยอมรับจากผปู้ กครองและชุมชนในการ จัดการศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ นําผลที่ได้จากการรับ มอบหมายมาปรบั ใช้ พฒั นาโรงเรยี นจนส่งผลใหน้ ักเรียน ผปู้ กครอง และชุมชนเกิดความพึงพอใจในผลของการ บริหารการจัดการศึกษา ผู้บริหารให้คําแนะนํา คําปรึกษาทางด้านวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาอย่าง เตม็ ศกั ยภาพและเตม็ เวลา ห้องเรยี น ห้องปฏิบัตกิ าร อาคารเรียนมน่ั คง สะอาดและปลอดภัยมีส่ิงอํานวยความ สะดวกพอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดีสภาพแวดล้อมร่มร่ืน และมีแหล่งเรียนรู้สําหรับผู้เรียน จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน จัดห้องสมุดท่ีให้บริการสื่อที่เอ้ือให้ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและใช้ ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากร ของสถานศกึ ษา

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 9 แนวทางพัฒนาคณุ ภาพให้สูงขน้ึ กว่าเดิม ส่งเสรมิ ให้คณะครูทุกคนอบรมพัฒนาครบตามชัว่ โมงตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการท่กี .ค.ศ.กําหนด มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ ระดับคุณภาพ : ดเี ลิศ การดําเนินงานพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ส่งผลให้ผู้เรียนผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนําไปใช้ในชีวิตประจําวันได้ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงส่ือการเรียนรู้ท่ี หลากหลายจากหอ้ งสมุดโรงเรียน หอ้ งคอมพวิ เตอรโ์ รงเรยี น การได้ฝึกทักษะพัฒนางานอาชีพจากการประดิษฐ์ ต้นไม้หยก ซง่ึ เปน็ นวตั กรรมของโรงเรียน โรงเรียนบ้านท่าอาจได้จัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร สถานศึกษา สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีการบริหาร จัดการชั้นเรียนเชิงบวกสร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดี ครูมีความตั้งใจ มุ่งม่ันในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้ นกั เรียนไดเ้ รียนรู้ โดยการคดิ ได้ปฏบิ ตั จิ ริง มกี ารให้วธิ ีการ และแหล่งเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย นักเรียนมีส่วนร่วมใน การจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ครูมีการใช้ส่ือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับนักเรียน มี การนําชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ และการศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนท้องถิ่น อย่างเป็นรูปธรรม และต่อเนอ่ื ง ครูรจู้ ักผู้เรียนเปน็ รายบุคคล จากการดําเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพ่ือพัฒนา ให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ รวมท้ังร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนําผลที่ได้มาให้ข้อมูล ย้อนกลับ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูมีการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ได้ ปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดของสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถไปจัด กิจกรรมได้จริง และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ จัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐาน และตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและ ปฏิบัติจริง มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวกสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี ส่งเสริมให้ครูตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนําผลมาพัฒนาผู้เรียน มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่าง เป็นระบบ ผู้บริหารและครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตามกระบวนการ PLC นํามาขับเคล่ือนพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยนวัตกรรม Active Learning ตามกระบวนการ PLC อย่างต่อเน่ือง ครมู ีการพฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอน โดยการจัดทําวิจัยในช้ันเรียนในแต่ละวิชา เพ่ือแก้ไขปัญหาของนักเรียน แนวทางพัฒนาคุณภาพใหส้ งู ขนึ้ กวา่ เดิม โรงเรียนจัดทําโครงการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถตามกระบวนการ PLCโดยใช้ นวตั กรรม Active Learning เข้ามาขบั เคลอื่ นให้นกั เรียนมีคุณภาพ รอ้ ยละ 100 จากบุคลากรทั้งหมด

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 10 สรุปผลการดาเนินงาน จุดเด่น จุดควรพัฒนา 1.โรงเรยี นมกี ารใช้สอ่ื เทคโนโลยที ่ีหลากหลายและ 1.สอ่ื เครื่องมือ เพื่อชว่ ยอํานวยความสะดวกให้ผู้เรยี น เหมาะสมกบั กบั สถานการณ์ต่าง ๆ ให้นกั เรียนได้ มสี ่วนรว่ มในการเข้าถึงเทคโนโลยใี นชอ่ งทางตา่ ง ๆ เรยี นรู้เพือ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาท่ีมปี รสทิ ธภิ าพสงู สดุ มากข้นึ 2.โรงเรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะท่ี 2.กิจกรรมวชิ าการทจี่ ะต้องส่งเสรมิ ศกั ยภาพใหผ้ ้เู รียน จําเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดการเรียนการ มสี ่วนร่วมมากข้ึน กลา้ แสดงความสามารถ การใช้ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ส่งเสริมกระบวนการ เหตุผลในการแกป้ ัญหา เพื่อฝึกทักษะใหผ้ ู้เรยี นมี แสวงหาความรู้ การพัฒนากระบวนการคิด และการ ความคดิ อย่างเปน็ ระบบและสรา้ งสรรค์ ทํางาน ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้ เพ่ือฝึกทักษะการ คิดอย่างมีวิจารณญาณในทุกรายวิชาเพื่อพัฒนา นักเรียนให้มีความรู้ความสามารถในการคิดอย่างเป็น ระบบ คิดสรา้ งสรรค์ ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนบ้านท่าอาจมีการจัดกิจกรรมเพ่ือยกผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง โดยผ่านกระบวนการ จัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และมีการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษามีความ เหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถ่ิน มีการนิเทศภายใน กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ และนําผลไปปรับปรุงการ เรียนการสอนอยา่ งสม่ําเสมอเพือ่ ใหเ้ กดิ ศักยภาพสูงสดุ ต่อตวั ผเู้ รียน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 11 สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู พื้นฐาน 2.1 ข้อมลู ท่วั ไปของสถานศกึ ษา 2.1.1 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานศกึ ษา 1) ช่ือผ้บู ริหารโรงเรยี น นายกชิ สณพนธ์ เฉลิมวิสตุ มก์ ลุ โทรศพั ท์ 093-1971114 2) ชื่อสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านทา่ อาจ ตาํ บล ท่าสายลวด อาํ เภอ แม่สอด จงั หวัด ตาก รหัสไปรษณีย์ 63110 e-mail [email protected] website 3) แผนที่ (ใช้ Google map จาก สพป. ตาก เขต 2 ถึง ร.ร.) 4) ที่ตั้ง ประวตั ิสถานศึกษาโดยสังเขป โรงเรียนบา้ นท่าอาจ ไดจ้ ัดตัง้ ขึ้นเม่ือวนั ที่ 1 เดือน พฤษภาคม 2483 เป็นโรงเรียนบรรจคุ รู โดย นายอาํ เภอแมส่ อด ในคร้ังนั้น เริ่มจัดตั้ง มีประวตั สิ ังเขป ดงั น้ี ทีต่ ัง้ ตง้ั อยเู่ ลขที่ 166 หมทู่ ี่ 3ต.ทา่ สายลวด อ.แมส่ อด จ.ตาก มีพน้ื ท่ี 10 ไร่ 3 งาน 14 ตารางวา แปลงที่ 1 เอกสาร น.ส.3 เลม่ ที่ 20 หน้าท่ี 10 เนื้อที่ 7-3-73 ตก.274 การไดม้ า บรจิ าค ประเมินราคา 28,000 บาท

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 12 แปลงท่ี 2 เอกสารโฉลดเลขที่ 6014 เล่มที่ 01 หน้าที่ 14 เน้ือท่ี 2-3-41 6/10 ตก.288 ไดม้ าจากการจดั ซื้อ ราคา 28,000บาท อาณาเขต ทศิ เหนือ ทิศตะวนั ตก ติดกบั ท่ที ํากนิ ของราษฎร ทิศตะวนั ออก ทศิ ใต้ ตดิ ถนน ตวั อาคาร เรียน หนั หน้าส่ทู ศิ ใต้ การจัดการศึกษา เปดิ เรยี นคร้ังแรก ชนั้ ประถมปที ่ี 1 และ 2-4 ในปีถดั มา ปี 2516 เปิดเรยี นชั้น ประถม 5-6 ตามลําดบั ปี 2521 เปดิ เรยี นโดยใชห้ ลกั สูตร 2521 ซึง่ เปดิ เรียนชนั้ ประถมปที ี่ 1-6 ปัจจบุ นั จดั การเรียนการสอนโดยใชห้ ลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับ ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 ) เปิดทาํ การเรยี นการสอน ตง้ั แตช่ ้ันอนุบาล 1 ถงึ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 5) สภาพชมุ ชน เศรษฐกจิ และสงั คมของสถานศกึ ษา สภาพชุมชนโดยรอบบริเวณโรงเรยี นบา้ นทา่ อาจ เป็นลกั ษณะของชมุ ชนชายแดน ตดิ แมน่ า้ํ เมย สถานท่ใี กล้เคียงโดยรอบโรงเรยี นไดแ้ ก่ วดั คลังสินคา้ โรงงานอันไดแ้ ก่โรงงานทอ้ ปฟอรม์ อาชีพหลักของชุมชน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง และมีประชากรบางส่วนประกอบ อาชพี เกษตรกรรม ประชาชนส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาพุทธ ประเพณีท่ีสําคัญของท้องถิ่น คือ ประเพณีกวนข้าว หย่าฮู้ ประเพณีฉลองพระธาตุ ประเพณีปอยสา่ งลอง ประเพณวี ัฒนธรรมชนเผ่า(เครือไต) ผูป้ กครองสว่ นใหญ่เปน็ ต่างด้าว ไม่จบการศึกษา มีอาชีพหลัก คอื อาชีพรบั จ้าง คา้ ขาย เกษตรกรรม ส่วนใหญ่ ฐานะเศรษฐกจิ ปานกลางถงึ ขั้นต่ําโดยเฉลีย่ มีคนในครอบครวั 3- 5 คนต่อครอบครัว 2.1.2 วิสัยทศั น์/พนั ธกิจ/อตั ลกั ษณ์/เอกลกั ษณ์ วิสัยทศั น์ สร้างโอกาสทางการศึกษาเพื่อความมัน่ คง ดํารงคุณธรรม ก้าวนําสคู่ ณุ ภาพ ซึมซาบวัฒนธรรม น้อมนาํ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เคยี งข้างชมุ ชน อตั ลกั ษณ์ ความหลากหลายของภาษาและวัฒนธรรม เอกลกั ษณ์ การศกึ ษาเพ่ือความม่ันคง

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 13 2.1.3 โครงสรา้ งการบริหารของสถานศกึ ษา 2.1.4 ข้อมลู ขา้ ราชการและบุคลากรทางการศึกษา 3 ปียอ้ นหลัง ตารางที่ 1 แสดงจํานวนขา้ ราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา 3 ปีย้อนหลัง รายการ 2562 2563 2564 ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย หญิง 11 ผบู้ รหิ ารและรองผู้บรหิ าร 1 - 1 1 03 ระดบั ปฐมวัย 00 00 ข้าราชการครู 0203 01 อัตราจ้าง 0000 6 17 1- พนักงานราชการ 0000 -- -1 ครูพ่ีเลย้ี ง 0101 1- ระดบั ขั้นพ้นื ฐาน ขา้ ราชการครู 8 20 4 17 อัตราจ้าง 11- - พนกั งานราชการ ---- ธุรการโรงเรียน -1-1 นกั การภารโรง - -1-

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 14 2.1.5 ขอ้ มูลจานวนนักเรยี นแยกเป็นระดบั ช้ัน ตารางที่ 2 แสดงจํานวนนักเรียนแยกเปน็ ระดับช้นั จํานวนนกั เรยี นทง้ั หมด.................567..............คน แยกเป็นระดับชน้ั ดงั นี้ ชัน้ จานวน จานวนนักเรยี นทัง้ หมด จานวน หอ้ งเรียน ชาย หญิง รวม เด็กพเิ ศษ ชาย หญงิ ชน้ั อนุบาลปที ่ี 1 - --- -- 00 ชน้ั อนบุ าลปีที่ 2 4 63 45 108 00 00 ชน้ั อนุบาลปีที่ 3 2 22 22 44 00 00 รวม 6 85 67 152 00 20 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 3 56 67 123 00 00 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 2 38 27 65 20 -- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2 35 24 59 -- -- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2 30 32 64 -- -- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 2 28 25 53 -- -- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 2 28 23 51 -- รวม 13 302 265 567 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 - --- ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 - --- ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 - --- รวม - - - - ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - --- ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 - --- ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 - --- รวม - - - - ตารางที่ 3 แสดงอตั ราสว่ นจํานวนครตู ่อนักเรยี น ระดบั ชั้น จานวนครู จานวนนักเรียน อตั ราส่วน ระดับปฐมวยั 1 30 1:30 40 1:40 ระดับข้นั พ้ืนฐาน 1 - - ระดับมธั ยม -

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 15 2.1.6 ขอ้ มูลผูเ้ รียนและร้อยละผสู้ าเร็จการศึกษา (เทียบกบั แรกเข้า) ตารางท่ี 4 แสดงข้อมลู ผู้เรียนและรอ้ ยละผู้สําเร็จการศึกษา ระดบั ชน้ั แรกเขา้ ผู้สาเร็จการศึกษา รอ้ ยละ ผ้สู าเรจ็ การศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 51 51 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 - - 100 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 - - - - 2.1.7 ข้อมลู หลักสูตรทีจ่ ดั การเรียนการสอน ตารางที่ 5 แสดงโครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา กลุม่ สาระการเรยี นรู้ / กิจกรรม เวลาเรียน ( ช่ัวโมง / ปี ) ระดับประถมศึกษา  กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ประวัติศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ การงานอาชีพ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ รวมเวลาเรียน ( พ้ืนฐาน ) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐  รายวิชาเพ่ิมเติม ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ วทิ ยาการคาํ นวณ รวมเวลาเรยี น ( เพิ่มเติม ) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐  กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กิจกรรมนกั เรียน กิจกรรมลูกเสือ / ยุวกาชาด ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ รวมกเจิวชกลมุ รานรเมุมรเียพนอ่ื กสจิ ังคกมรรแมละพสัฒาธนาารผณเู้ ปรียระนโยชน์ ๑๔๑๒๐๐๐ ๑๔๑๒๐๐๐ ๑๑๔๒๐๐๐ ๑๔๑๒๐๐๐ ๑๔๑๒๐๐๐ ๑๔๑๒๐๐๐ รวมเวลาเรยี นทั้งหมด ๑,๐๐๐ ช่ัวโมง / ปี

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 16 โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านทา่ อาจ จํานวนช่ัวโมงท่ีจัดให้นักเรียนระดับประถมศึกษา ( ป.๑ - ป.๓ ) เรียนท้ังปี เท่ากับ ๑,๐๐๐ ช่ัวโมง ระดับช้ันประถมศึกษา ( ป.๔ - ป.๖ ) เท่ากับ ๑,๐๐๐ ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ / จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนที่ ตอ้ งการเนน้ เป็นพเิ ศษ คอื กลมุ่ สาระการเรียนรู้ทักษะภาษาไทย คณิตศาสตร์ เพ่ือพัฒนาการอ่านออก เขียนได้ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คิดวเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ที่ดี มีประโยชน์ มีความสนใจใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น โดยจัดการเรียนการสอนและวดั ผลประเมนิ ผลเป็นรายปี 2.1.8 จานวนวันทเ่ี ปดิ เรยี นจริง ตารางท่ี 6 แสดงจํานวนวนั ท่ีเปดิ เรียนจริง ระดบั ชน้ั ระยะเวลาเปดิ ภาคเรียน จานวนวันเรียน จานวนวนั ปิดภาคเรยี น มถิ ุนายน 2564 ถึง 100 วนั ภาคเรียนที่ 1/2564 ภาคเรียนที่ 1/2564 ตุลาคม 2564 104 วนั พฤศจิกายน 2564 ถงึ 204 วนั ภาคเรยี นที่ 2/2564 ภาคเรยี นท่ี 2/2564 มนี าคม 2565 สรุปเวลาเรยี นตลอดปี 2.1.9 ข้อมลู อาคารสถานที่ จานวนห้อง 4 ตารางที่ 7 แสดงขอ้ มลู อาคารสถานที่ 13 อาคารสถานที่ 5 22 ห้องเรยี นระดบั ปฐมวยั ห้องเรยี นระดบั ขัน้ พ้นื ฐาน หอ้ งปฏิบัติการ รวม

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 17 2.1.10 ขอ้ มลู แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา/ภูมิปัญญาท้องถนิ่ 1) จาํ นวนนักเรยี นท่ใี ช้แหล่งเรยี นรภู้ ายใน/ภายนอกโรงเรยี น ปีการศึกษา 2564 ตารางท่ี 8 แสดงจาํ นวนนักเรียนท่ีใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ภายใน/ภายนอกโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2564 แหล่งเรยี นรู้ จานวนนกั เรยี น รอ้ ยละ วัดท่าอาจ 172 44.68 วดั คอกชา้ งเผือก 172 44.68 สํานกั สงฆเ์ มยโค้ง 172 44.68 พทุ ธสถานมหาวงศด์ ํา 172 44.68 หอ้ งสมุด 385 100 ห้องคอมพวิ เตอร์ 205 100 หอ้ งวิทยาศาสตร์ 385 46.75 ห้องเรียนอัจฉริยะ 66 17.14 2) จาํ นวนนกั เรียนที่ใช้ภมู ิปัญญาท้องถิน่ กิจกรรม จานวนนักเรยี น ตารางที่ 9 แสดงจาํ นวนนักเรียนทีใ่ ชภ้ ูมิปญั ญาท้องถิน่ ภูมิปญั ญาท้องถิน่ 2.1.11 ข้อมูลด้านงบประมาณ ตารางที่ 10 แสดงข้อมูลด้านงบประมาณ รายรับ จานวน/บาท เงนิ งบประมาณ งบจัดการเรียนการสอน 170,063.00 เครื่องแบบนกั เรียน 528,104.00 อุปกรณก์ ารเรียน 193,620.00 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 157,544.00 ปจั จยั พน้ื ฐานยากจน 186,500.00 งบบุคลากร 190,785.00 เงนิ นอกงบประมาณ (อาหารกลางวนั ) 1,627,459.00 เงินอืน่ ๆ (ระบุ) - รวมรายรับ 3,054,075.00

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 18 2.2 ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผูเ้ รียน 2.2.1 ผลพัฒนาการของนักเรียนระดับชั้นอนบุ าล ดงั นี้ 1) ผลพัฒนาการของนกั เรยี นระดับชัน้ อนุบาล 1 ตารางที่ 11 ผลพัฒนาการของนักเรียนระดับช้นั อนุบาล 1 พัฒนาดา้ น ปี 2562 นกั เรียน .......... คน ปี 2563 นกั เรียน .......... คน ปี 2564 นักเรียน ....... คน ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ (3) (2) (1) (3) (2) (1) (3) (2) (1) จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน ้รอยละ จานวน จานวน จานวน ้รอยละ ้รอยละ จานวน จานวน จานวน จานวน ้รอยละ ้รอยละ จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน ้รอยละ จานวน ้รอยละ ้รอยละ ้รอยละ จานวน จานวน ้รอยละ รา่ งกาย อารมณ์ สังคม สตปิ ัญญา รวมเฉลี่ย ทั้งหมด จากตารางแสดงผลพัฒนาการของนักเรยี นระดบั ชั้น อนบุ าล 1 พบว่า ............................................................................................................................. ................................................. 2) ผลพฒั นาการของนกั เรยี นระดับชัน้ อนบุ าล 2 ตารางท่ี 12 ผลพฒั นาการของนกั เรียนระดบั ช้นั อนบุ าล 2 ปี 2562 นักเรยี น ....67...... คน ปี 2563 นกั เรยี น .....40..... คน ปี 2564 นักเรียน ...108.... คน พฒั นา ดี พอใช้ ปรบั ปรุง(1) ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ (1) ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ (1) (3) (2) (3) (2) (3) (2) ดา้ น ้รอยละ จานวน จานวน จานวน ้รอยละ รา่ งกาย 63 94.0 4 5.9 0 0 38 95 2 5 0 0 106 98.14 2 1.85 0 0 อารมณ์ 62 92.5 5 7.4 0 0 37 92.5 3 7.5 0 0 103 95.37 5 4.62 0 0 สังคม 65 97.0 2 2.9 0 0 38 95 2 5 0 0 101 93.51 7 6.48 0 0 สติปัญญา 56 83.5 11 16.4 0 0 35 87.5 5 12.5 0 0 96 88.88 12 11.11 0 0 รวมเฉล่ีย 60 89.5 7 10.4 0 0 38 95 2 5 0 0 100 92.59 8 7.40 0 0 ท้งั หมด จากตารางแสดงผลพัฒนาการของนักเรยี นระดับช้ัน อนบุ าล 2 พบว่า เดก็ นักเรยี นระดบั ชัน้ อนบุ าล 2 มี พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาอย่ใู นระดบั ดี

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 19 3) ผลพัฒนาการของนักเรยี นระดบั ชน้ั อนบุ าล 3 ตารางที่ 13 ผลพฒั นาการของนกั เรียนระดบั ชัน้ อนบุ าล 3 ปี 2562 นกั เรยี น ....53...... คน ปี 2563 นกั เรียน ....56...... คน ปี 2564 นักเรียน ...44.... คน พฒั นา ดี พอใช้ ปรบั ปรุง(1) ดี พอใช้ ปรับปรงุ (1) ดี พอใช้ ปรับปรุง(1) (3) (2) (3) (2) (3) (2) ด้าน จานวน ้รอยละ จานวน จานวน ้รอยละ จานวน จานวน ้รอยละ จานวน จานวน ้รอยละ จานวน จานวน ้รอยละ จานวน จานวน ้รอยละ จานวน รา่ งกาย 48 90.5 5 9.4 0 0 53 94.6 3 5.3 0 0 39 86.63 5 11.36 0 0 อารมณ์ 50 94.3 3 5.6 0 0 54 96.4 2 3.5 0 0 41 93.18 3 6.81 0 0 สงั คม 50 94.3 3 5.6 0 0 50 89.2 6 10.7 0 0 40 90.90 4 9.09 0 0 สตปิ ัญญา 41 77.3 12 22.6 0 0 45 80.3 11 19.6 0 0 36 81.81 8 18.18 0 0 รวมเฉล่ีย 50 94.3 3 5.6 0 0 50 89.2 6 10.7 0 0 39 88.63 5 11.36 0 0 ทง้ั หมด จากตารางแสดงผลพฒั นาการของนักเรียนระดบั ชนั้ อนุบาล 3 พบว่า เดก็ นักเรียนระดบั ช้ันอนบุ าล 3 มี พฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญาอยใู่ นระดับ ดี 2.2.2 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นระดับโรงเรยี น 1) รอ้ ยละของผูเ้ รียนท่ีมผี ลการเรยี นระดับดขี นึ้ ไป แตล่ ะรายวชิ าระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ตารางที่ 14 ร้อยละของผเู้ รียนที่มีผลการเรยี นระดับดขี ึ้นไป ปกี ารศกึ ษา 2562 สาระการเรียนรู้ จานวน ป.1 ระดบั คณุ ภาพดขี ้นึ ไป (คน) ป.6 รวม รอ้ ยละ นักเรยี น (110คน) (64คน) 1. ภาษาไทย ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 143 30.36 2. คณติ ศาสตร์ 471 49 (87คน) (66คน) (60คน) (82คน) 24 118 25.05 3. วทิ ยาศาสตร์ 471 43 17 122 25.90 4. สังคมศึกษา 471 52 24 11 17 18 13 175 37.15 5. ประวตั ศิ าสตร์ 471 47 24 10 4 20 49 207 43.95 6. สุข-พลศึกษา 471 41 18 13 7 19 47 260 55.20 7. ศลิ ปะ 471 71 26 18 9 26 47 279 59.24 8. การงานอาชีพ 471 51 27 24 24 44 45 345 73.25 9. ภาษาต่างประเทศ 471 79 70 12 25 35 41 79 16.77 471 9 39 35 46 63 13 รวมจานวน 63 64 43 55 40.55 (คน/ รอ้ ยละ) 19 11 9 18 471 32 35 23 20 43 38 191

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 20 ตารางท่ี 15 ร้อยละของผ้เู รียนที่มีผลการเรียนระดับดีข้นึ ไป ปีการศึกษา 2563 สาระการเรียนรู้ จานวน ระดบั คุณภาพดขี น้ึ ไป (คน) รวม ร้อยละ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 นักเรียน ( 73 คน) ( 71 คน) (66คน) (55คน) (51คน) (70คน) 1. ภาษาไทย 386 31 23 13 20 13 27 127 32.90 2. คณติ ศาสตร์ 386 35 31 14 19 14 28 141 36.52 3. วทิ ยาศาสตร์ 386 36 30 15 12 17 23 133 34.45 4. สังคมศกึ ษา 386 27 15 16 19 14 22 113 29.27 5. ประวตั ิศาสตร์ 386 11 24 12 20 18 40 125 32.38 6. สขุ -พลศกึ ษา 386 51 37 55 34 50 66 298 75.90 7. ศลิ ปะ 386 53 52 48 30 29 51 263 68.13 8. การงานอาชีพ 386 54 61 39 43 40 53 290 75.12 9. ภาษาตา่ งประเทศ 386 27 14 14 1 11 26 93 24.09 รวมจานวน 386 46 44 34 34 46 53 257 66.58 (คน/ รอ้ ยละ) ตารางที่ 16 ร้อยละของผเู้ รียนทมี่ ีผลการเรียนระดับดขี ึ้นไป ปกี ารศึกษา 2564 จานวน ระดบั คุณภาพดขี ึ้นไป (คน) สาระการเรยี นรู้ นกั เรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 รวม รอ้ ยละ (121คน) (65คน) (59คน) (63คน) (53คน) (51คน) 1. ภาษาไทย 413 45 32 32 6 14 14 143 35 2. คณิตศาสตร์ 413 52 47 28 11 14 11 163 39 3. วทิ ยาศาสตร์ 413 55 29 31 5 16 16 152 37 4. สังคมศกึ ษา 413 61 35 31 3 10 8 148 36 5. ประวตั ศิ าสตร์ 413 65 35 29 4 10 5 148 36 6. สขุ -พลศกึ ษา 413 106 65 41 43 42 50 347 84 7. ศลิ ปะ 413 58 65 34 50 31 26 264 64 8. การงานอาชีพ 413 91 65 40 53 36 32 317 77 9. ภาษาตา่ งประเทศ 413 63 29 29 19 28 21 189 46 รวมจานวน 413 66 45 33 22 22 20 208 50 (คน/ รอ้ ยละ)

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 21 2.2.3 ผลการทดสอบระดบั ชาติของผู้เรยี น 1) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถด้านการอา่ น (Reading Test : RT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 – 2564 ตารางที่ 20 ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถด้านการอ่าน (Reading Test : RT) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ สมรรถนะ ปี 2562 ปี 2563 ผลตา่ ง ปี 2563 ปี 2564 ผลตา่ ง (+/-) (+/-) การอ่านออกเสยี ง 21.57 33.56 +11.99 33.56 14.15 -19.41 การอ่านรูเ้ ร่ือง 35.65 42.49 +6.48 42.49 33.20 -9.29 รวม 2 สมรรถนะ 28.61 38.02 +9.41 38.02 23.67 -14.25 กราฟ แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถด้านการอา่ น (Reading Test : RT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562-2564 42.49 35.65 38.02 33.56 33.20 28.61 21.57 23.67 14.15 การอา่ นออกเสยี ง การอา่ นรู้เรื่อง รวม 2 สมรรถนะ ปี การศกึ ษา 2562 ปี การศกึ ษา 2563 ปี การศกึ ษา 2564 สมรรถนะ จากตารางแสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่าน (Reading Test : RT) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 - 2564 พบว่านักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่านมีคะแนนรวมทั้ง 2 สมรรถนะเฉลี่ยร้อยละ 23.67 มีระดับ คุณภาพ ปรับปรุง เม่ือพิจารณาเป็นรายสมรรถนะ พบว่าสมรรถนะการอ่านออกเสียงร้อยละ 14.15 มีระดับ คุณภาพ ปรับปรุง สมรรถนะการอ่านรู้เร่ืองร้อยละ 33.20 มีระดับคุณภาพพอใช้ เมื่อเปรียบเทียบผลการ ประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 สํานักงานเขตพื้นท่ี

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 22 การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 พบว่า คะแนนรวมการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนท้ัง ในภาพรวมและรายสมรรถนะมีคะแนนการประเมินระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ 2) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รียนระดับชาติ NT ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่3 ปกี ารศึกษา 2562 – 2564 ตารางท่ี 21 แสดงผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรยี นระดับชาติ NT ชน้ั ประถมศึกษา ปีท่ี 3 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ สมรรถนะ ปี 2562 ปี 2563 ผลตา่ ง ปี 2563 ปี 2564 ผลต่าง (+/-) (+/-) ความสามารถด้านภาษา 33.93 32.05 -1.88 32.05 35.45 +3.40 ความสามารถด้านคาํ นวณ 31.32 34.89 +3.57 34.89 27.17 -7.72 ความสามารถด้านเหตุผล 30.57 รวมคะแนนเฉลีย่ 3 ด้าน 31.94 33.47 +1.53 33.47 31.31 -2.16 กราฟ แสดงการเปรียบเทียบผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของ ผเู้ รยี นระดบั ชาติ (NT) ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562-2564 35.45 34.89 32.05 27.17 23.88 25.44 ดา้ นภาษา ด้านคํานวณ ด้านเหตุผล ปีการศึกษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 23 จากตารางแสดงการเปรยี บเทยี บผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผ้เู รยี น ระดบั ชาติ (NT) ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2562-2564 พบว่าคะแนนเฉล่ียวิชาความสามารถด้านภาษาร้อยละ 25.44 ระดับคุณภาพปรับปรุง คะแนนเฉลี่ย วิชาความสามารถด้านคํานวณ ร้อยละ 23.88 ระดับคุณภาพปรับปรุง คะแนนรวมร้อยละ 24.66 ผลการ ประเมินการทดสอบความสามารถปี 2564 คะแนนรวมการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของ ผูเ้ รยี นระดบั คณุ ภาพปรับปรุง 3) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2562-2564 ตารางท่ี 22 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 สมรรถนะ ปี 2562 คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ ปี 2564 ปี 2563 ภาษาไทย 39.05 37.84 32.61 คณิตศาสตร์ 23.92 20.27 29.13 วทิ ยาศาสตร์ 28.97 31.24 28.56 ภาษาอังกฤษ 26.67 30.09 28.26 รวมคะแนนเฉลี่ยทง้ั หมด 29.65 29.86 29.64 กราฟ แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2562-2564

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 24 จากตารางแสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2564 พบว่าจากตารางแสดงการเปรยี บเทียบผลการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2562 – 2564 พบวา่ คะแนนเฉลย่ี วิชาภาษาไทย อยู่ในระกบั พอใช้ คะแนนเฉลยี่ วชิ าภาษาองั กฤษ อยู่ในระกบั พอใช้ คะแนน เฉลีย่ วชิ าคณติ ศาสตร์ อยใู่ นระกบั พอใช้ คะแนนเฉลี่ยวชิ าวทิ ยาศาสตร์ อยใู่ นระกับพอใช้ คะแนนรวมท้ัง 4 วิชาในระดับคุณภาพพอใช้ 2.2.4 ขอ้ มูลผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ปีการศกึ ษา 2564 ตารางที่ 25 ตารางแสดงข้อมลู ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ปกี ารศึกษา 2564 จานวน จานวนนกั เรียนตามระดับคณุ ภาพ ระดับชัน้ นักเรยี น (คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์) ทั้งหมด ดเี ย่ยี ม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน ประถมศึกษาปีที่ 1 121 77 40 0 4 ประถมศึกษาปที ี่ 2 65 7 56 2 0 ประถมศึกษาปที ่ี 3 59 38 17 2 2 ประถมศึกษาปที ี่ 4 64 25 29 4 6 ประถมศกึ ษาปีที่ 5 53 12 36 0 5 ประถมศึกษาปที ี่ 6 51 22 26 3 0 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 -- - - - มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 -- - - - มัธยมศึกษาปที ่ี 3 -- - - - มัธยมศึกษาปีที่ 4 -- - - - มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 -- - - - มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 -- - - - รวม 413 181 204 11 17 เฉลี่ยรอ้ ยละ 44 49 3 4

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 25 2.2.5 ข้อมลู ผลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน ปกี ารศึกษา 2564 ตารางท่ี 26 ตารางแสดงขอ้ มลู ผลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ปกี ารศึกษา 2564 จานวน จานวนนกั เรียนตามระดบั คณุ ภาพ ระดบั ช้ัน นักเรยี น (การอา่ นคิด วเิ คราะห์ และเขียน) ทงั้ หมด ดเี ยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น ประถมศึกษาปที ี่ 1 121 37 63 15 6 ประถมศึกษาปีท่ี 2 65 16 36 8 5 ประถมศึกษาปีท่ี 3 59 23 31 0 5 ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 64 12 31 13 8 ประถมศึกษาปีที่ 5 53 10 33 5 5 ประถมศึกษาปีที่ 6 51 4 28 19 0 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 -- - - - มัธยมศึกษาปีท่ี 2 -- - - - มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 -- - - - มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 -- - - - มัธยมศึกษาปีที่ 5 -- - - - มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 -- - - - รวม 413 102 222 60 29 เฉลยี่ รอ้ ยละ 25 54 15 7

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 26 2.2.6 ขอ้ มูลผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ปีการศึกษา 2564 ตารางท่ี 27 ตารางแสดงขอ้ มูลผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ปกี ารศึกษา 2564 จานวน จานวนนกั เรยี นตามระดบั คณุ ภาพ ระดับชน้ั นักเรียน (กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น) ท้ังหมด ผ่าน ไม่ผ่าน ประถมศึกษาปีท่ี 1 121 115 6 ประถมศึกษาปที ี่ 2 65 60 5 ประถมศึกษาปที ี่ 3 59 54 5 ประถมศึกษาปที ่ี 4 64 56 8 ประถมศึกษาปที ี่ 5 53 48 5 ประถมศึกษาปที ่ี 6 51 51 0 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 -- - มธั ยมศึกษาปีที่ 2 -- - มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 -- - มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 -- - มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 -- - มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 -- - รวม 413 384 29 เฉลยี่ ร้อยละ 92.97 7.02

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 27 2.3 ผลการประเมนิ ภายนอก ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี (พ.ศ.2559-2563) 2.3.1 ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ตารางที่ 28 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดบั การศึกษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานที่ 3 คุณภาพของเด็ก ชือ่ โรงเรียน กระบวนการบรหิ ารและ การจดั ประสบการณท์ ่ี การจัดการ เน้นเดก็ เป็นสาคัญ บ้านทา่ อาจ ดี ดี ดี 2.3.2 ระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ตารางที่ 29 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชือ่ โรงเรียน มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานท่ี 2 มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพของผเู้ รียน กระบวนการบริหารและ กระบวนการจัดการ เรียนการสอนทเ่ี นน้ การจดั การ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ บา้ นทา่ อาจ ดี ดี ดี

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 28 ส่วนที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 3.1 ระดบั การศึกษาปฐมวยั ระดับคณุ ภาพ ดี มาตรฐาน ดี มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ ดี มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทเ่ี นน้ เด็กเป็นสาคญั มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ระดับคณุ ภาพ: …………ด…ี ………. 1. ผลการดาเนินงาน (เขยี นเปน็ ความเรยี ง 1.1-1.5) 1.1 เป้าหมาย โรงเรยี นบ้านทา่ อาจ มุ่งพฒั นาให้ผูเ้ รียนมีพัฒนาการทั้งสด่ี า้ นของเด็กสมตามวัยและไดร้ ับการจัด ประสบการณ์ดา้ นการเรยี นการสอนท่ดี สี ง่ เสรมิ การบูรณาการ ความรูท้ ้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรยี น มี ทักษะชีวิตช่วยเหลือคนเองได้ เป็นผ้นู ําและผู้ตามทด่ี ี มวี นิ ัย และมารยาททด่ี ี เปดิ โอกาสให้เด็กไดเ้ ลือกและ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามความสนใจโดยการเรียนผ่านการเล่น เพอื่ พฒั นาการทง้ั สี่ดา้ นคือดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คมและสติปัญญาเป็นไปตามความเหมาะสม 1.ดา้ นรา่ งกาย : เดก็ ปฐมวยั มีรา่ งกายทแี่ ข็งแรงสมบรู ณ์ มีกระบวนการเคล่ือนไหวร่างกายที่ คลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว แข็งแรง เหมาะสมตามวัย 2. ด้านอารมณ์ จติ ใจ : เดก็ ปฐมวัยมีอารมณร์ ่าเริงแจม่ ใส สนุกสนาน สามารถควบคุมอารมณข์ อง ตนเองไดแ้ ละกล้าแสดงออกได้เหมาะสมตามวัย 3. ดา้ นสังคม : เด็กปฐมวยั สามารถชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสังคม สามารถอยู่รว่ มกัน กบั ผ้อู ่นื ได้อย่างมีความสุข มีการเรียนรู้การปรบั เปลย่ี นความคดิ และการยอมรบั ความคิดเหน็ ของผู้อนื่ ในสงั คม 4. ด้านสติปัญญา : เดก็ ปฐมวยั สามารถสอ่ื สารใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจได้ มที ักษะการคดิ พื้นฐาน และกระบวนการแสวงหาความรู้ สนใจในสงิ่ ทอ่ี ยู่รอบตัว ซักถามเพื่อหาคําตอบ มีความคิดและจินตนาการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 29 1.2 กระบวนการพฒั นา โรงเรียนบ้านท่าอาจใช้หลักสูตรปฐมวัยพุทธศักราช 2560 (ปรับปรุง 2562) โดบผ่าน กระบวนการมสี ว่ นร่วมของคณะกรรมการทไ่ี ดร้ บั การแต่งตง้ั มคี วามสอดคล้องกับเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธ กิจของโรงเรียนโดยกําหนดกิจกรรมประชุมผู้เกี่ยวข้องเพ่ือหาแนวทางจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและจัด กิจกรรมเสริมต่างๆเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุตามตัวบ่งช้ี โดยดําเนินโครงการพัฒนาผู้เรียนปฐมวัยตามมาตรฐาน โครงการปฐมโดยมีกิจกรรมต่อไปน้ี โครงการกิจกรรมอาหารกลางวันท่ีมีคุณค่าครบห้าหมู่ กิจกรรมส่งเสริม การตรวจสุขภาพร่างกายจากเจ้าหน้าที่อนามัย กิจกรรมดื่มนมอาหารเสริม(นมโรงเรียน) ทุกวัน กิจกรรมออก กําลงั กายดว้ ยกจิ กรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมกลางแจ้ง การเล่นตามมุมประสบการณ์ กิจกรรม ตามตารางกิจกรรมประจําวัน การเล่นกลางแจ้ง กิจกรรสรรสร้างจินตนาการใช้กล้ามเน้ือมือในการทํา กิจกรรม เช่น วาดภาพ เกมตัวต่อ สื่อทุกชนิด การป้ันดินน้ํามัน การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนา ทางด้านรา่ งกายทแ่ี ขง็ แรง การนอนกลางวนั เปน็ เวลาอยา่ งเพียงพอ จัดห้องนํ้าห้องส้วมที่สะอาด เหมาะสําหรับ เด็กปฐมวัย การล้างหน้าแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน การสร้างโอกาสให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง การเรียนปนเล่น และปฏิบัติอย่างมีความสุข โรงเรียนบ้านท่าอาจ ได้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ เด็กได้ประสบการณโ์ ดยตรง จากการเรียนผ่านการเล่น โดยลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเองและการเรียนรู้รายกลุ่ม เพื่อก่อให้เกิดความมีน้ําใจ ความสามัคคี การแบ่งปัน และการรอคอย เพื่อส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้ อยา่ งมีความสุข จากโครงการสง่ เสรมิ ศักยภาพทกั ษะพื้นฐานของผูเ้ รยี นระดับปฐมวยั กจิ กรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง ส่งผลให้โรงเรียนบ้านท่าอาจ ไดม้ กี ารจัดประสบการณ์ที่สร้างโอกาสให้เด็กได้ประสบการณ์ตรงและปฏิบัติอย่าง มีความสขุ จัดบรรยากาศที่เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ใช้ส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย ได้จัดบรรยากาศในช้ัน เรียนท่ีส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ช้ันเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจ มี ความเอ้ือเผื่อเผ่ือแต่ต่อกันและกัน ซึ่งเป็นแรงจูงใจภายนอกที่กระตุ้นให้ผู้เรียนรักการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน และปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใหแ้ กเ่ ดก็ นกั เรียน นอกจากน้โี รงเรียนบ้านท่าอาจยังมีห้องเรียนที่มีบรรยากาศ แจ่มใส กวา้ งขวางพอเหมาะ มีมมุ ส่งเสรมิ ประสบการณ์การเรยี นรู้ มีการตกแต่งห้องเรียนให้สดใส และมี สื่อการเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน จากโครงการส่งเสริมศักยภาพทักษะพ้ืนฐาน ผู้เรียนระดับปฐมวัย กิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์น้อย ส่งผลให้โรงเรียนท่าอาจ ได้มีการจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ใช้ส่อื และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั วัย

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 30 1.3 ผลการดาเนนิ งาน เดก็ นกั เรยี นมพี ฒั นาการท้งั สี่ด้านเหมาะสมกับวัย ผ่านเกณฑก์ ารประเมินพัฒนาการ ตามวตั ถปุ ระสงค์ การเรียนการสอนทก่ี ําหนดการประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนาํ ผลการ ประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรับปรงุ แก้ไขในการจดั ประสบการณ์และพฒั นาเด็ก โรงเรยี นบา้ นท่าอาจ มี กระบวนการ การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการจดั กิจวตั รประจาํ วนั ดว้ ยเครือ่ งมือและวิธีการท่หี ลากหลาย เช่น การสงั เกต การสอบถาม การสาํ รวจ และการวิเคราะหผ์ ลพฒั นาการของเด็ก โดยให้ผ้ปู กครองมีสว่ นรว่ ม เพอ่ื ไดน้ าํ ผลการประเมินไปพฒั นา ตามศักยภาพของเด็กและพัฒนาการ จัดประสบการณก์ ารเรียนรใู้ นช้นั เรยี น จากโครงการสง่ เสริม ศกั ยภาพทกั ษะพื้นฐานผ้เู รียนระดบั ปฐมวัย กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย 1.4 การวางแผนปรบั ปรงุ แก้ไข โรงเรียนบ้านท่าอาจได้กําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุ ตามตัวบ่งชี้ โครงการพัฒนาผู้เรียนปฐมวัยตามมาตรฐาน โครงการบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อย และกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยมีกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้เด็กปฏิบัติกิจวัตร ประจําวันและช่วยเหลือตนเองได้ ฝึกฝนระเบียบวินัย รู้จักเก็บของเข้าที่ให้ถูกต้อง เหมาะสมในท่ีที่ จัดไว้ให้ เช่น เก็บของใช้ส่วนตัว ของเล่น อุปกรณ์และจานใส่อาหารฝึกฝนพัฒนากล้ามเน้ือมือ ใส่ รองเทา้ แตง่ ตัว เข้าห้องน้ํา ห้องส้วมด้วยตนเอง การจัดกิจกรรมในห้องเรียนผ่านการเล่นและทํางาน กลุ่ม การทดลองทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมเป็นกลุ่มและการจัดกิจกรรมกลุ่มใหญ่ทั้งระดับปฐมวัย เช่นการละเล่นพื้นบ้าน กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ กิจกรรมวันแม่ กิจกรรมวันไหว้ครู และการศึกษานอกสถานท่ี สร้างข้อตกลงในการปฏิบัติตนในห้องเรียนร่วมกันจัดเวรรับผิดชอบดูแล การจัดเก็บอุปกรณ์ให้เป็นระเบียบ ให้รู้จักการอยู่ร่วมกัน ร่วมกับผู้อ่ืน ผ่านกิจกรรมการรักษ์ สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและทีบ่ า้ นของตนเอง จัดที่ท้ิงขยะไว้ในและนอกห้องเรียนให้กับเด็ก โครงการ อาหารกลางวัน จดั ทําเพอ่ื ใหเ้ ดก็ ปฐมวัยได้รับประทานอาหารครบห้าหมู่และรับประทานอาหารได้ด้วย ตนเองอย่างเหมาะสมตามวัย 1.5 การเผยแพรผ่ ลการดาเนินงานต่อสาธารณะชน มีการดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนระดับปฐมวัย และการมีส่วนร่วมของ ผู้ปกครองกับโรงเรียน ผู้ปกครองกับครู ในกิจกรรมการจัดประชุมผู้ปกครองประจําภาคเรียน เพ่ือรายงานการ เรยี นการสอนและพฒั นาการของเดก็ แกผ่ ู้ปกครองในแตล่ ะเทอม

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 31 2. หลกั ฐาน/รอ่ งรอย/เอกสารสนับสนนุ มกี ารจดั ทาํ หลักสตู รสถานศึกษาระดบั ปฐมวัย มแี ผนการจัดประสบการณ์ มีแบบบันทกึ พัฒนาการเด็ก แบบบันทึกน้าํ หนกั ส่วนสงู ใบงานหลังการสอนแต่ละกิจกรรม 3. จุดเด่น เด็กมกี ารเจริญเติบโตตามวยั มนี ้ําหนกั สว่ นสูงเปน็ ไปตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลือ่ นไหวตามวยั มี อารมณร์ ่าเรงิ แจ่มใส สามารถทาํ งานรว่ มกบั ผู้อ่ืนได้อยา่ งมีความสขุ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี ่านิยมอนั พึงประสงค์ มีคา่ นิยมความเป็นไทย 4. จุดเดน่ จุดทค่ี วรพัฒนา กิจกรรมเสริมสรา้ งพัฒนาการด้านสติปัญญา ความคิดรวบยอด การแกป้ ัญหา การส่ือสารการ ตอบคําถาม ความมรี ะเบียบวนิ ยั ความรบั ผิดชอบ การมนี ้ําใจ การแบ่งปัน การกลา่ วคําขอบคุณ การขอโทษ การสวัสดี สิง่ ตา่ งๆเหล่าน้ีเดก็ ควรได้รับการเรียนรู้และสง่ เสริมพัฒนาต่อไป 5. ข้อเสนอแนะ กจิ กรรมเสริมสรา้ งพัฒนาการของเด็กปฐมวัยจะต้องได้รับการพฒั นาอย่างต่อเน่ือง 6. วธิ ีปฏบิ ัติทีด่ ี/นวตั กรรม (ถา้ ม)ี มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดับคุณภาพ: ………ด…ี …………. 1. ผลการดาเนินงาน 1.1 การวางแผนการดาเนนิ งาน โรงเรยี นบา้ นทา่ อาจมีหลักสตู รสถานศกึ ษาท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัยและผบู้ ริหารมี ความเข้าใจปรชั ญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวยั ผูบ้ ริหารมีวิสยั ทศั น์ ภาวะผู้นาํ และความคิด ริเรมิ่ ท่ีเนน้ การพัฒนาเด็กปฐมวัยผูบ้ รหิ ารใช้หลักการบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วมและใช้ข้อมลู การประเมิน ผลการวิจยั เป็นฐานคิดทั้งดา้ นวชิ าการและการจดั การผ้บู ริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้ บรรลเุ ปา้ หมายตามแผนพฒั นาคุณภาพสถานศึกษาผบู้ ริหารส่งเสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรให้มี ประสิทธภิ าพผู้บรหิ ารใหค้ าํ แนะนํา คาํ ปรึกษาทางวชิ าการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาปฐมวัยเตม็ ศักยภาพและเต็มเวลาเดก็ ผูป้ กครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจดั การศึกษาปฐมวัย

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 32 1.2 การนาแผนปฏบิ ตั ิการไปใช้ ผ้บู ริหารมีการดําเนนิ การและจดั กิจกรรมเสริมต่างๆ เพื่อใหบ้ รรลุตวั บ่งชี้ของมาตรฐาน โดย ดาํ เนนิ กิจกรรม ดังต่อไปน้ี การพฒั นาตนเองเพื่อการพฒั นาสถานศกึ ษา เชน่ การเข้ารว่ มประชุมประจําเดือนกับ สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาตาก เขต 2 ทกุ ครงั้ รว่ มประชุมสมั มนากับหนว่ ยงานต้นสังกัดและหนว่ ยงานอื่น ๆ นําความรมู้ าพัฒนาการปฐมวัย การพัฒนาระบบการบริหารสถานศกึ ษาเพ่ือรองรับการประเมินภายนอก โดย ออกคําสงั่ ให้ครรู บั ผิดชอบงานพัฒนาผ้เู รยี นแต่ละด้านและเปน็ ผูน้ ํากลุ่มในการชว่ ยเหลอื พฒั นาโรงเรยี นในกลุ่ม ในการรองรับการประเมนิ ภายนอก มีการนิเทศให้คําปรึกษา ประชมุ อยา่ งต่อเนื่อง และจัดสรรงบประมาณเพ่ือ เด็กปฐมวัย 1.3 ผลการดาเนนิ งาน ผู้บรหิ ารเขา้ ใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยผูบ้ รหิ ารมีวิสยั ทศั น์ ภาวะผนู้ ํา และความคิดรเิ รมิ่ ทเ่ี นน้ การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ผ้บู รหิ ารใชห้ ลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใชข้ ้อมลู การ ประเมินผลการวิจยั เปน็ ฐานคิดทงั้ ด้านวิชาการและการจัดการผู้บรหิ ารสามารถบรหิ ารจดั การการศึกษาใหบ้ รรลุ เป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาผู้บริหารสง่ เสรมิ และพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสทิ ธิภาพ ผูบ้ ริหารใหค้ ําแนะนํา คําปรกึ ษาทางวชิ าการและเอาใจใสก่ ารจดั การศึกษาปฐมวยั เตม็ ศกั ยภาพและเต็มเวลา เด็ก ผูป้ กครอง และชมุ ชนพงึ พอใจผลการบริหารจัดการศกึ ษาปฐมวัย 1.4 การวางแผนการปรบั ปรงุ แก้ไข ผู้บริหารรับผิดชอบในการจัดบุคลากรให้ตรงสาขาวิชา มาให้เพียงพอ จัดทําโครงการ เพ่ือจัดหางบประมาณ จัดทําปฏิทิน ตารางการนิเทศติดตามการสอนของครูและมอบหมายผู้รับผิดชอบ จัดทํา โครงการพัฒนาผู้ปกครองและติดตามการอบรมเลี้ยงดูเด็กให้ถูกต้อง จัดกิจกรรมการเย่ียมบ้านเด็ก อย่าง ต่อเนือ่ ง 1.5 นาเสนอให้ผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสียรบั ทราบ ประสานงานกบั ตน้ สงั กัดและหนว่ ยงานรับผดิ ชอบในการจัดบคุ ลากรมาให้เพียงพอ จัดทํา โครงการเพอ่ื จดั หางบประมาณในการพฒั นาโรงเรียน 2. หลักฐาน/ร่องรอย/เอกสารสนบั สนุน มโี ครงการ มกี ารบันทึกการประชมุ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 33 3. จุดเด่น มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการกําหนดการจัดทําแผนพัฒนา คุณภาพ มีห้องเรียนที่เอ้ือต่อพัฒนาการเด็ก มีส่ือเทคโนโลยี มีหลักสูตรปฐมวัยท่ีสอดคล้องกับความต้องการ พัฒนาการเด็ก มีแหล่งเรียนรู้ท่ีพอเพียง ครูมีประสบการณ์ในการจัดการสอนและสามารถจัดประสบการณ์ ให้กับพฒั นาการเด็ก 4. จดุ ควรพัฒนา สถานศึกษายังขาดครปู ระจําการที่เปน็ ข้าราชการครู และการติดตามนิเทศการจัดกิจกรรมการสอน ของครู การจัดประสบการณ์และกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งพฒั นาการเดก็ ยังขาดความตอ่ เนื่อง 5. ข้อเสนอแนะ ในการบริหารจัดการควรมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่อง เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการของเด็กปฐมวัยจะได้ เปน็ ไปอย่างต่อเนอื่ งในทางท่ีดี 6. วิธีปฏบิ ัติทีด่ /ี นวตั กรรม (ถา้ มี) มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเปน็ สาคัญ ระดบั คุณภาพ: ………ดี……………. 1. ผลการดาเนินงาน (เขยี นเป็นความเรียง 1.1-1.5) 1.1 ครมู กี ารวางแผนการสอนครบทุกรายวิชา โรงเรียนบา้ นทา่ อาจมจี ดั การศึกษาระดบั ปฐมวัยและมีการจัดประสบการณ์ ตามหลักสตู ร การศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ โดยปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมกบั เดก็ และสภาพท้องถิ่น มีการกาหนด เป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวยั ให้มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา ได้อย่าง สมบรู ณ์ เป็นคนดี มีวินยั สานกึ ในความเปน็ ไทย และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศไทยในอนาคต อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและได้มาตรฐาน ตามจดุ หมาย 1.2 นาแผนการสอนไปใช/้ ใชส้ ือ่ -แหลง่ เรยี นรปู้ ระกอบการเรยี นการสอน การจัดประสบการณ์สาหรับเดก็ ปฐมวยั เปน็ การจัดกิจกรรมในลักษณะการบูรณาการผา่ น การเล่น การลงมือกระทาจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลายโดยผา่ นกจิ กรรมหรือส่ือการเรียนท่ี หลากหลายโดยครเู ป็นคนจดั กิจกรรม ใหเ้ ด็กเกดิ ความรู้ ทักษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม รวมทงั้ เกดิ การพฒั นา ทกั ษะทงั้ ส่ีดา้ น ร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสตปิ ญั ญา ไม่จดั เปน็ รายวชิ า โดยมหี ลกั การและแนวทางการ จดั ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับเดก็ ในแต่ละวยั

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 34 1.3 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ (เคร่ืองมอื ในการประเมินผ้เู รยี น) การประเมินพัฒนาการเด็กเป็นการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และ สตปิ ญั ญาของเดก็ โดยถือเป็นกระบวนการต่อเนื่อง และเป็นสว่ นหนงึ่ ของกิจกรรมปกติ ที่จัดให้เด็กในแต่ละวัน ผลทไ่ี ด้จากการสังเกตพัฒนาการเด็ก ต้องนามาจดั ทาสารนิทัศนห์ รอื จัดทาข้อมูลหลกั ฐานหรือเอกสารอย่าง เป็นระบบ ด้วยการรวบรวมผลงานสาหรับเด็กเป็นรายบุคคล ที่สามารถบอกเร่ืองราวหรือประสบการณ์ท่ีเด็ก ได้รับ ว่าเด็กเกิดการเรียนรู้และมีความก้าวหน้าเพียงใด ทั้งน้ี ให้นาข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการเด็กมา พิจารณา ปรับปรุงวางแผนการจัดกิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รับการพัฒนาตามจุดหมาย อย่าง ตอ่ เนื่อง 1.4 การวางแผนการปรับปรงุ แกไ้ ข (นาผลการดาเนินงานมาประเมนิ เพ่ือปรับปรงุ แกไ้ ข) การพฒั นาคุณภาพเดก็ โดยถือว่าเด็กมีความสาคัญที่สุด ต้องนาผลการประเมินพัฒนาการของ เดก็ แตล่ ะคนมาแก้ไขปรบั ปรงุ ในทางท่ีดีและจัดกิจกรรมเสริมให้กับเด็ก กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริม ให้เดก็ สามารถพฒั นาตนตามธรรมชาติ สอดคล้องกบั พัฒนาการและเตม็ ตามศักยภาพ ผู้สอนจึงมีบทบาทสาคัญ ยิง่ ในการวางแผนการปรับปรงุ แกไ้ ขเด็ก 1.5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC) /เผยแพรผ่ ลงานการดาเนนิ งาน มีการจัดต้งั เครือขา่ ยในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ครูผู้สอนและพ่อแม่หรือผู้ปกครองต้องส่ือสาร กนั อยู่ตลอดเพ่ือใหม้ คี วามเขา้ ใจตรงกนั เกยี่ วกบั ตัวเด็ก ชมุ ชนมีบทบาทในการมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา โดยให้มีการประสานความร่วมมือเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ และพร้อมร่วมมือกันในการจัด การศกึ ษาใหก้ บั เด็กอยา่ งต่อเนื่อง 2. หลักฐาน/รอ่ งรอย/เอกสารสนบั สนุน หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบบนั ทกึ พฒั นาการตา่ งๆ 3. จดุ เด่น (ใหด้ ูจากแผนพัฒนาการศึกษา/swott) ครูได้จดั ประสบการณต์ ามตารางกจิ กรรมประจําวัน ดว้ ยความสนใจและรบั ผดิ ชอบ โดยสร้าง บรรยากาศใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ตรงจากกิจกรรมการเรยี นการสอน ครูสอนโดยใชส้ ่ือเทคโนโลยี 4. จุดควรพัฒนา (ข้อมูลทจ่ี ะวางแผนการต้ังค่าเปา้ หมายในปีต่อไป) พัฒนาครูในเรือ่ งการวัดและการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริง จัดทําแผน การนเิ ทศ ตดิ ตาม การประเมนิ ผเู้ รยี น การสง่ เสริมการวิจัยในชน้ั เรยี น การติดตามเยยี่ มบ้านนกั เรียน 5. ขอ้ เสนอแนะ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 35 การประเมนิ ผลพัฒนาการเด็กต้องมีความต่อเน่ืองและมีวิธีการทีห่ ลากหลายและการมี สว่ นรว่ มของผปู้ กครอง ผลการประเมินท่ีได้มาต้องนํามาปรับปรุงพฒั นาเด็กต่อไป 6. วธิ ีปฏิบัติท่ีดี/นวตั กรรม (ถ้ามี)

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 36 3.2 ระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ระดับคณุ ภาพ ดี มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผ้เู รียน ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บริหาร สถานศึกษา ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี น เปน็ สาคัญ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู้ รียน ระดบั คณุ ภาพ: ดี 1. ผลการดาเนนิ งาน โรงเรียนบ้านท่าอาจ มีการกําหนดค่าเป้าหมายคุณภาพของผู้เรียนตามบริบทของโรงเรียน มี กระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียนและ เป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรมีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนโดยมีการ จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิด พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการนําเทคนิควิธีสอนให้ตรงตาม ศักยภาพผู้เรียน ใช้ส่ือเทคโนโลยีที่หลากหลายในการจัดการเรียนการสอน จัดแหล่งเรียนรู้ท้ังในและนอก โรงเรียนทเ่ี หมาะสมกบั ผู้เรียน มีกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนให้เป็นไปตาม เกณฑ์ท่ีสถานศึกษากําหนด การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ Active Learning การบูรณาการในการ เรียนรู้วันสําคัญต่าง ๆและมีการพัฒนาความสามารถในการอ่าน การเขียน และการส่ือสารผ่านการจัดทํา กิจกรรมต่าง ๆ เช่นกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การเขียน และกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาทักษะด้านการคิดคํานวณ นอกจากน้ียังเน้นการพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา ผ่านกิจกรรมท่ีหลากหลาย เช่นกิจกรรมการเรียนการสอนเทคโนโลยีสารสนเทศที่ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติผ่านประสบการณ์จริงเพื่อก่อให้เกิดทักษะในการเรียนรู้เช่ือมโยงสู่การใช้ทักษะ ในการทาํ งานพ้ืนฐานชวี ติ ของผูเ้ รียน เชน่ โครงการส่งเสรมิ ลกั ษณะอันพึงประสงค์เพือ่ พฒั นาคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของผู้เรียนในทุกด้าน เพ่ือให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของไทย โครงการ ประชาธิปไตยเพื่อปลูกฝังคุณลักษณะความเป็นผู้นํา ความเป็นประชาธิปไตย ความรับผิดชอบ ความมีวินัย มี ภาวะผู้นําและมีจิตอาสา และกิจกรรม Big Cleaning Day เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เสริมสร้างความสัมพันธ์ อันดีระหว่างกัน และเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างแ ละ หลากหลาย เกิดเจตคติท่ีดีต่อการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข นอกจากนี้ยังได้จัดทําโครงการส่งเสริมสุข

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 37 ภาวะและสุนทรียภาพนักเรียนของนักเรียน จัดให้มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นประจําทุกปีการศึกษา เพอื่ คัดกรองสรุปผลและช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และ ค่านิยมเป็นรายบุคคล นอกจากนี้ยังปลูกฝังในความภูมิในในท้องถ่ินและ ความเป็นไทยซ่ึงเป็นการเรียนรู้ใน บรบิ ทของโรงเรยี น และชุมชน โรงเรียนบ้านทา่ อาจมีการเผยแพร่กิจกรรมต่างๆ และผลการดําเนนิ งานต่อสาธารณะชนทั้งทางเฟซบุ๊ค https://www.facebook.com/profile.php?id=100009573880663 จดหมายขา่ วโรงเรยี น และเวบ็ ไชต์ ของโรงเรยี น http://www.thaaadschool.com/ 2. หลักฐาน/รอ่ งรอย/เอกสารสนับสนุน 1. กจิ กรรมแนะแนว 2. รายงานผลการประเมินการอ่านออกเขียนได้ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-6 3. รายงานผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรยี น (RT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 4. รายงานผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) ในระดับชัน้ ประถมศกึ ษา ปีที่ 3 5. รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 6. รายงานผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผ้เู รียนระดับชาติ (NT) ในระดับช้ัน ป. 3 7. สมดุ รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนรายบุคคล (ปพ.6) 8. แบบบันทกึ ผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น (ปพ.5) 9. รายงานผลบันทึกนา้ํ หนกั -ส่วนสงู ปีการศึกษา 2564 10. รปู ภาพกิจกรรม 3. จดุ เดน่ ผู้เรียนมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ดี ี มนี ํ้าหนกั ส่วนสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ปลอดจากปญั หาทางเพศ ยาเสพตดิ และสิง่ มอมเมา เข้ารว่ มกิจกรรมทง้ั ในและนอกหลกั สูตรด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศลิ ปแ์ ละนันทนาการ เป็นลูกทีด่ ีของพอ่ แม่ผปู้ กครอง กตัญญู สร้างความสุข ความสบายใจ ให้พอ่ แม่ชว่ ยทํากจิ ธุรการงาน สบื ทอด รกั ษาวงศ์สกลุ ประพฤตติ นใหเ้ หมาะสมกบั ความเป็นลูกทด่ี ี เป็นนักเรียนทีด่ ีของโรงเรยี น ไมข่ าดเรยี น มาสาย และออกจากการศึกษากลางคนั ไม่มปี ัญหาด้าน ปกครอง สุภาพ นอบน้อม โอบออ้ มอารี ช่วยเหลือผอู้ น่ื ซื่อสัตยส์ ุจรติ ดูแลรกั ษาสถานที่และสิ่งของ ทัง้ สว่ นรวมและส่วนตวั อยู่อย่างพอเพียง รักชาติ ศาสน์กษัตรยิ ์ และรกั ความเป็นไทย ยึดมน่ั ในวถิ ีชีวติ และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข มกี ารบําเพญ็ ประโยชน์ต่อสังคม ทาํ กิจกรรมบาํ เพ็ญประโยชนต์ อ่ สงั คมท้ังในและนอกสถานศึกษา ค้นควา้ หาความรู้ จากการอา่ นและใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ มีการบันทึกการเรียนรอู้ ยา่ งสมาํ่ เสมอจากการอา่ น อยา่ ง

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 38 นอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 1 คร้ัง เรียนรูผ้ ่านประสบการณ์ตรงรว่ มกับผู้อ่นื ท้ังในและนอกสถานศึกษา จากการดู การฟงั การลงมือปฏบิ ัติ การทศั นศึกษา มีความสามารถดา้ นการคดิ มีความสามารถในการคดิ สรา้ งสรรค์ มีวิจารณญาณและคดิ เป็นระบบ ทนี่ ําไปสู่การสรา้ งองค์ความรหู้ รอื สารสนเทศเพ่ือการ ตัดสินใจและแกป้ ญั หาของตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม ผเู้ รียนมีความสามารถในการปรับตวั เขา้ กบั สงั คมมีความสามารถในการใช้ชีวติ มคี วามสามารถในการแก้ปญั หาและความขัดแยง้ ต่างๆอย่าง เหมาะสม ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา ศิลปะ ผล การพฒั นาให้บรรลุตามปรัชญา ปณธิ าน พันธกิจและวัตถุประสงคก์ ารจดั ต้งั สถานศึกษา ผลการ ดาํ เนินงานโครงการพิเศษเพ่อื ส่งเสริม 4. จดุ ควรพัฒนา 1. นักเรียนมีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสาร และการคิดคํานวณตามค่า เป้าหมายมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษากําหนด 2. นักเรียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหาตามค่าเปา้ หมายมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษากาํ หนด 3. นักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษาตามค่าเปา้ หมายมาตรฐาน การศึกษาของสถานศกึ ษากําหนด 5. ข้อเสนอแนะ 1. สถานศึกษาควรวเิ คราะห์ศกั ยภาพผู้เรยี น 2. จดั กิจกรรมให้เหมาะสมกบั ผเู้ รียน 3. ประเมินผลเพ่ือทราบ/ดูพฒั นาการของแต่ละคน 4. นาํ ผลการประเมินมาหาวธิ ีพัฒนาใหเ้ หมาะสมกับความสามารถของนักเรยี นอยา่ งต่อเนื่อง 5. ให้กาํ ลงั ใจ เสริมแรงนักเรียนที่สามารถปฏบิ ตั ิกจิ กรรมได้ดีตามสภาพ 6. วิธปี ฏบิ ัติทดี่ /ี นวตั กรรม (ถ้ามี) 1. โรงเรียนจดั ทาํ โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเพื่อยกระดบั คุณภาพการศึกษาทุก กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทีเ่ น้นทักษะการอา่ น เขียน ของนักเรียน การอ่านและเขยี นคาํ พ้ืนฐาน ตามท่ีสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานกําหนดในแต่ละชัน้ 3. การจัดกจิ กรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 39 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บริหารสถานศกึ ษา ระดบั คุณภาพ: ดเี ลิศ 1. ผลการดาเนนิ งาน โรงเรยี นบ้านท่าอาจ สงั กัดสาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตากเขต 2 มีการกําหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ มาตรฐานและยุทธศาสตร์ของโรงเรียนเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียน ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากร มีการอบรมเพ่ือพัฒนาตนเอง โดยให้ครูวางแผนในการ พัฒนาตนเองตาม ID Plan และมีช่ัวโมงในการพัฒนาครบตามเกณฑ์ ท่ี กคศ. กําหนด รวมท้ังร่วมกับชุมชน หน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งในท้องถ่ิน จดั การอบรมเพื่อพัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ที กั ษะตามนโยบายของสถานศึกษา มีการระดมแนวความคิดและดุลยพินิจของบุคคลภายในโรงเรียน โดย \"การร่วมคิด ร่วมทํา\" เพ่ือสร้าง ความรู้สึกของการมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กร โดยเน้นให้ ทุกคนความรู้สึกของความเป็นเจ้าของ จัด สภาพแวดล้อมทางวิชาการ การจัดบรรยากาศการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียน ตลอดจนการ จัดบริการเพ่ือส่งเสริม สนับสนุนทางวิชาการต่าง ๆ ท่ีจะทําให้นักเรียนได้รับความรู้ ประสบการณ์ให้มากที่สุด ภายใต้บรรยากาศที่มีชีวิตชีวา แจ่มใส น่าเรียนรู้ สอนสนุก เรียนสนุก ครูรักเด็ก เด็กรักครู รักเพื่อน จัด สภาพแวดล้อมทางการบริหารการจัดการ โดยได้มีการกําหนดนโยบายให้บุคลากรในโรงเรียนมีส่วนร่วม มีการ นาํ ข้อมลู จากการสาํ รวจสภาพปัจจุบันมากําหนดเป็นนโยบายในการแก้ปัญหาและพัฒนางานของโรงเรียน การ มอบหมายงานหรือการส่ังการ ก็เป็นไปตามสายการบังคับบัญชา แจ่มชัด เหมาะสมกับความสามารถ ไม่เกิน กําลัง มอบหมายงานแล้วติดตาม ดูแล ช่วยเหลือและมีการสอบถาม ถามไถ่ดูแลความเหน็ดเหนื่อย ยกย่อง ชมเชย มีการสร้างขวัญกําลังใจ โดยมีผู้บริหารเป็นผู้กํากับติดตามให้คําแนะนําช่วยเหลือรับฟังความคิดเห็น ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท้ังนักเรียน ผู้ปกครองตลอดจนคณะกรรมการสถานศึกษาและให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจผู้บริหารนําผลการดําเนินงานที่ผ่านมาและผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ มาเป็นแนวทางในการ ดําเนนิ งานจดั ระบบสารสนเทศเพ่ือพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน คือ ระบบการเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนและระบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มีการดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงาน และสรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน 2. หลกั ฐาน/ร่องรอย/เอกสารสนับสนนุ 1) แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปี 2) แผนพฒั นาการศึกษา 3) รายงานผลการปฏิบัติงาน 4) รายงานผลการดําเนินการตามโครงการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 5) รายงานผลการประชุมผู้ปกครองนักเรยี น

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 40 6) รายงานผลการประชุมคณะกรรมการเครือขา่ ยผูป้ กครองนักเรยี น 7) รายงานผลการอบรมของบคุ ลากรในสถานศกึ ษา 8) หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านทา่ อาจ 9) หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 10) หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ 11) หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 12) หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 13) หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพละศึกษา 14) หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ 15) หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 16) หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 17) รายงานการพฒั นาอบรมของครู 18) ID Plan 19) SAR ครู 20) เกยี รตบิ ตั ร/รปู ภาพ 3. จดุ เด่น ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ตามบทบาทหน้าท่ีของผู้บริหารสถานศึกษาประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน บรรยากาศและสภาพแวดล้อมความย่ังยืนและต่อเน่ืองของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ ความเปน็ เลิศทส่ี อดคล้องกบั แนวทางปฏริ ูปการศึกษา 4. จดุ ควรพัฒนา 1) จัดตง้ั สมาคมศษิ ย์เกา่ และการระดมทรัพยากร เพื่อเป็นการเพมิ่ เครือขา่ ยและสร้างความ เขม้ แข็งใหอ้ งค์กรและเพ่ือนํามาซ่งึ การพฒั นาโรงเรียนและแหล่งเรยี นรู้ท้ังภายในและนอก โรงเรียน 2) จดั ทาํ แผนพฒั นาผูเ้ รยี นตามหลักสตู รแกนกลาง 3) จัดทาํ แผนยกระดับผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนทุกกลุ่มสาระ 4) จัดกจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรยี นรู้กับโรงเรียนเครือขา่ ย 5) ครทู ุกคนมแี ผนพฒั นาตนเองรายบคุ คล ID Plan

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 41 6) ครูทุกคนอบรมพัฒนาครบตามชัว่ โมงตามหลกั เกณฑ์และวิธีการท่ีก.ค.ศ.กาํ หนด 7) สรา้ งชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพภายในสถานศึกษา (PLC) 8) ปรบั ปรุงภูมทิ ัศน์ภายในบรเิ วณโรงเรยี น สรา้ งน้ําตกใหเ้ ปน็ ที่พกั ผ่อนและจัดกิจกรรมเรียนรู้ ปรับพ้ืนทใี่ ห้สะอาด ปลูกตน้ ไม้ ปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนใหเ้ ป็นแหลง่ เรียนรู้ท่ี เอ้ือต่อการจัดการศึกษา 9) โรงเรียนมีโครงการพฒั นาเทคโนโลยีและสารสนเทศ เพื่อพัฒนาระบบเนต็ เวิร์ค และการ สืบคน้ ข้อมลู ของนักเรียนโรงเรยี นบา้ นท่าอาจ มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การจัดการเรยี นการสอนท่ีดยี งิ่ ข้ึน 5. ข้อเสนอแนะ 1) สถานศึกษาควรตดิ ตามการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ของครูและสง่ เสรมิ การวิจยั และพัฒนาการ เรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2) สรา้ งเครือข่ายความร่วมมือของผ้มู ีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรยี นให้มีความ เขม้ แข็ง มสี ว่ นรว่ มรับผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัด การศึกษา 3) เปดิ โอกาสให้ผ้ปู กครองได้มีสว่ นร่วมในการเสนอความคิดเหน็ ในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา ผ้เู รียน 4) สร้างเครอื ข่ายความร่วมมือของผูม้ ีสว่ นเกี่ยวข้องในการจดั การศึกษาของโรงเรียนให้มีความ เขม้ แข็ง 5) สภาพอาคารเรยี นห้องเรยี นและระบบสาธารณูปโภคในโรงเรียนบางส่วน มกี ารใช้งานมานาน และมีการใชง้ านอยู่ตลอดเวลาจึงมีการชารุด จงึ ยากต่อการซ่อมบารงุ ในทนั ทีและงบประมาณ ยังมีไมเ่ พียงพอจึงมีการปรบั งบลดงบประมาณบ้างในแต่ละปีการศกึ ษาและใชจ้ า่ ยอยา่ ง ประหยัด ภาพกิจกรรม การบรหิ ารงานอาคารสถานที่ การบรหิ ารงานอาคารสถานท่ีของ โรงเรยี นบา้ นทา่ อาจเก่ียวกับการให้ บรกิ าร ดา้ นอาคารสถานที่ วสั ดุอปุ กรณ์ ส่งิ อานวยความ สะดวกประจาอาคาร การให้บรกิ าร ด้านสาธารณปู โภคและ ส่ิงแวดลอ้ ม ตลอดจนสามารถ พัฒนาสง่ิ แวดลอ้ มใหส้ วยงาม สามารถใหบ้ รกิ ารแก่คณะครู นกั เรยี น บคุ ลากรทางการศึกษา และผูท้ ่มี าติดตอ่ ราชการกับโรงเรยี น 6) นักเรียนบางส่วนยังขาดคุณธรรมที่สาคญั ที่ต้องมีการพฒั นา คอื ความรับผดิ ชอบ เนื่องจากผล การจดั การเรยี นการสอน การประเมนิ ผลการเรียนและการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ปรากฏวา่ ผเู้ รยี น บางคนยังขาดความรับผิดชอบ ขาดเรียนบอ่ ย ไมเ่ ข้ารว่ มกิจกรรม ซึง่ สถานศกึ ษาตอ้ งหา

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 42 แนวทางในการบรหิ ารจัดการเพ่อื เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของผ้เู รียนใหเ้ กิดความรับผดิ ชอบมาก ขน้ึ มแี ผนพัฒนาเพ่อื ให้ได้มาตรฐานทีส่ ูงขนึ้ สร้างความเข้าใจในเรื่องความสาคัญของการศกึ ษา รวมถงึ ด้านคุณธรรมในเร่อื งความรับผิดชอบมกี ารกากบั ตดิ ตาม ดแู ลและแนะนานกั เรียน โดย รว่ มมอื กันทกุ ฝ่าย 6. วธิ ีปฏิบัตทิ ดี่ ี/นวัตกรรม (ถา้ ม)ี 1) โรงเรียนดาเนินการกาหนดนโยบาย จดั ทาแผนพฒั นาตามตามหลกั สตู รแกนกลาง มีการกาหนดผูร้ บั ผิดชอบในการดาเนินงานตามแผนพฒั นาสถานศกึ ษาอย่างชัดเจน 2) ดาเนินการส่งเสริมและสนับสนุนทรัพยากรและสิ่งอานวยความสะดวกท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนา 3) สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดล้อมและการบริการ มโี ครงสร้างสาระการเรียนรู้ แผนการสอนมีการ สอนทห่ี ลากหลายเพ่ือพัฒนาคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ 4) มีการนาสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและสรา้ งสรรค์นวัตกรรม/โครงการ/กจิ กรรม ทเ่ี หมาะสมกับ บรบิ ทของสถานศึกษา 5) มรี ะบบกลไกและแผนการกากับติดตามประเมนิ ผลที่ชัดเจน พร้อมรายงานผลการติดตาม ประเมินผลและการนาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการพัฒนาและปรบั ปรุงคุณภาพสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ระดับคุณภาพ: ดีเลิศ 1. ผลการดาเนินงาน โรงเรียนบ้านท่าอาจดําเนินการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนันผู้เรียนเป็น สําคัญ ครูมีการวางแผนการสอนครบทุกรายวิชา นําแผนการสอน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดย มุ่งเนน้ การพฒั นาผเู้ รยี นให้สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ของโรงเรียน ส่งผลให้กระบวนการจัดการเรียนการ สอนท่เี น้นผ้เู รียนเปน็ สําคญั อย่ใู นระดบั ดเี ลิศ โดยส่งเสริมครใู ห้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สําคัญแบบ Active Learning ด้วยเทคนิควิธีท่ีหลากหลาย การเรียนรู้แบบใช้เกม การเรียนรู้แบบ แผนผังความคิด (Concept Mapping) การจัดการเรียนรู้แนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) เพ่ือ พัฒนากระบวนการคิด ปฏิบัติจริง และสามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ การ พัฒนาและใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ดว้ ยเคร่ืองมอื และวิธีการท่สี อดคล้องกับตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ของ หลกั สตู รสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี เพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนการสอน การผลิตสื่อการเรียนการสอน และการวิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริม ให้ครใู ช้สอ่ื การเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลายทงั้ ส่ือสิ่งพมิ พ์และสื่อมลั ติมเี ดีย เอกสารประกอบกาเรียนรู้

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 43 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้วยการจัดทําส่ือ มัลติมีเดีย และจัดกิจกรรมการรู้โดยใช้ภูมิปัญญาและแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน ส่งเสริมให้ครูประจําช้ัน และครูผู้สอนทุกคน บริหารชั้นเรียนด้วยการสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline) โดยการ เสริมแรง มอบรางวลั ยกยอ่ ง ชมเซย มีการสรา้ งวินัยในการเรียนเชิงบวกด้วย หมั่นให้กําลังใจนักเรียน เมอื่ นักเรยี นทําดตี ้องกลา่ วชน่ื ชม ต้องชมทกุ คร้ัง โดยพยายามให้การชม เกดิ ขึน้ บอ่ ยกว่า การตักเตือน เลือกถ่ายทอดความรัก มากกว่าการใช้ความรุนแรงใช้การส่ือสารโดยตรงกับนักเรียน สบตานักเรียน และสอื่ สารทันทีที่นักเรียนแสดงพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ ครูไม่แสดงอารมณ์โกรธ หรือควบคุมอารมณ์ ให้มีอารมณน์ ้อยท่ีสุด ไม่ตําหนิเยาะเย้ย ถากถาง ประชดประชัน เปรียบเทียบ ควบคุมอารมณ์ของตน ใหเ้ สมอตนั เสมอปลาย ม่ันคง แสดงออกท้ังร่างกายและคําพูด ให้อย่างไม่มีเงื่อนไข สร้างบรรยากาศท่ี อบอุ่นมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก เพ่ือสร้างการจูงใจผู้เรียนให้รักการเรียนรู้และเรียนรู้อย่างมีความสุข ครู ตรวจสอบและประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยการวัตผลประเมินผลตามสภาพจริง ด้วย เคร่ืองมือที่มีประสิทธิภาพ โดยจัดทําข้อสอบจากการวางแผนการสร้างแบบทดสอบ ใช้วิธีการวัดผล ประเมนิ ผลที่หลากหลาย ด้วยการสังเกต สอบถาม การประเมินผลงาน ช้ินงานและนําผลการประเมิน มาพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน การทําวิจัยในชั้นเรียน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานท่กี ําหนด ครูมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดว้ ยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC การ นิเทศช้ันเรียน และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ของครูทุกคน โดย จดั ตาราง PLC ในระดบั ช้นั เรยี น และสรา้ งสอ่ื นวตั กรรม 2. หลกั ฐาน/รอ่ งรอย/เอกสารสนับสนนุ 1. แผนการจดั การเรียนรู้ 2. สถิตกิ ารใช้ห้องสมดุ 3. สถิติการใชห้ อ้ งคอมพวิ เตอร์ 4. แฟม้ แหล่งเรยี นร้ภู ายในและภายนอกโรงเรยี น 5. รายงานผลโครงการการทัศนศึกษา 6. รายงานผลโครงการพัฒนาห้องเรยี นคุณภาพสู่มาตรฐาน 7. สมดุ นิเทศภายในสถานศกึ ษาเพอื่ การพฒั นารปู แบบการเรียนการสอน 8. แบบบนั ทึกผลการพฒั นา 9. แบบรายงานการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นรายบคุ คล 10. แบบรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านของครู (SAR) 11. ระเบียนสะสม

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 44 12. รายงานผลการดําเนินการตามโครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อพฒั นา คณุ ภาพผู้เรยี นดว้ ยการฝึกทกั ษะ Active Learning ตามกระบวนการ PLC 13. รายงานผลกระบวนการวจิ ยั ในช้ันเรียน เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้ 14. ภาพถ่ายกจิ กรรมต่างๆของโรงเรียนและภาพถา่ ยการพัฒนาบุคลากรของโรงเรียน 3. จดุ เดน่ ประสิทธิผลการดําเนินการของสถานศึกษา มีการให้ความรู้และอบรมครูอย่างน้อยปีละ 1-2 ครั้ง หรือครไู ปอบรมพัฒนาตนเองอย่างนอ้ ยปลี ะ 1-2 ครั้ง มีการประเมินแผนพัฒนาการเรียนรู้ของครู ทุกคนอย่างสมํ่าเสมออย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 คร้ัง มีการประเมินการจัดการเรียนการสอนของ ครูทุกคนอย่างสม่ําเสมออย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง มีการประเมินแบบวัด แบบทดสอบ ของ ครทู ุกคน ทุกภาคการศึกษา มกี ารนาํ ผลประเมินจากข้อ 1-4 ไปพัฒนาครูแต่ละคนอย่างเป็นระบบ กะ บวนการจัดการเรียนรู้ของครู กําหนดเป้าหมายท่ีต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน ด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการท่ีเป็นความคิดรวบยอด วิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายบุคคล แล้วนําข้อมูลมาใช้ในการวาง แผนการจัดการเรียนรู้ไปสู่เป้าหมาย จัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้และใช้สื่อให้เหมาะสมกับ กิจกรรม นําเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอน วิเคราะห์ผลการประเมิน และนํามาใชใ้ นการพัฒนาผู้เรียน 4. จุดควรพฒั นา 1. เสรมิ ความรู้ให้นักเรียนและสง่ เสรมิ การนําความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจาํ วนั 2. เสริมกจิ กรรมทีฝ่ ึกใหผ้ ู้เรียนกลา้ แสดงออก แสดงความคดิ เหน็ สรปุ องค์ความรู้ นําเสนอผลงาน และนาํ ไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาํ วัน 3. ควรนําภูมิปัญญาท้องถ่ินให้เข้ามามสี ว่ นร่วมในการจดั กิจกรรมให้นกั เรยี นไดเ้ รยี นรู้ 4. ควรมีการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการบรหิ ารจัดการช้นั เรียนทุกห้องเรยี น 5. ควรมกี ารอบรมพฒั นาบคุ ลากรใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั โปรแกรมการวดั ผล ประเมนิ ผลอย่างต่อเนื่อง 6. ควรมีการตรวจสอบการวัดผลและประเมินผลในแตร่ ะดบั ชัน้ เรยี น 7. การสรา้ งเครือข่ายสงั คมแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี อย่างสร้างสรรค์ 5. ข้อเสนอแนะ ครจู ดั กิจกรรมโดยนําภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยที ่เี หมาะสมมาประยุกต์ในการจดั การเรยี น การสอนบา้ ง ประเมินความก้าวหนา้ ของนักเรียนดว้ ยวิธีท่ีหลากหลายนาํ ผลมาวเิ คราะห์ ปรับการเรียน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 45 การสอน จัดสอนเสรมิ สอนซ่อม จนทราบปญั หาทแี่ น่ชัดจงึ นํามาศกึ ษา ค้นคว้า วจิ ัยเพ่อื พฒั นาสือ่ และ กระบวนการเรียนรู้ท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สําคัญ 6. วิธปี ฏิบตั ทิ ่ดี /ี นวัตกรรม (ถ้าม)ี 1. ครูทุกคนจดั ทํานวตั กรรมส่อื การเรยี นการสอนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรตู้ ามมาตรฐาน ตัวชี้วดั 2. โรงเรยี นจัดทาํ โครงการพฒั นาบุคลากรใหม้ ีความรู้ ความสามารถตามกระบวนการ PLC โดยใช้นวตั กรรม Active Learning เข้ามาขบั เคลื่อนใหน้ ักเรียนมคี ุณภาพ ร้อยละ 100 จากบุคลากรท้ังหมด

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 46 ภาคผนวก - คาสงั่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดาเนินงานการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา (SAR) - ประกาศคา่ เป้าหมาย - ประกาศมาตรฐาน - การประชุมเห็นชอบของกรรมการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 47 คาส่ังโรงเรียนบา้ นทา่ อาจ ท่ี ๓๘๗ / ๒๕๖4 เรื่อง แต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ งานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาปกี ารศกึ ษา 2564 ................................................................................................ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ กาหนดให้มีระบบการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา อันนาไปสู่การกาหนดให้มีมาตรฐานการศึกษาข้ัน พ้ืนฐานข้ึน ประกอบกับได้มีการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 และ กระทรวงศึกษาธิการมีการประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษา และให้ถือว่างานประกันคุณภาพภายในเป็นส่วน หนึ่งของกระบวนการบริหาร ที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง เพื่อพัฒนาคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐาน โรงเรียนบ้านท่าอาจได้ดาเนินการประกันคุณภาพคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง ดังน้ันเพ่ือให้การ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล อาศัยอานาจตามความใน มาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๗ แห่ง พระราชบัญญัติข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็น ผู้บังคับบัญชาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงมีคาสั่งคณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพ ภายในสถานศกึ ษาปกี ารศกึ ษา 2564 ดังต่อไปน้ี ๑ .คณะกรรมการฝา่ ยอานวยการ มีหนา้ ท่ี ใหค้ าปรึกษาและอานวยความสะดวกในการทางาน ประกอบดว้ ย นายกชิ สณพนธ์ เฉลิมวสิ ตุ มก์ ุล ผอู้ านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ นางสาววรากร ทองทวี รองผู้อานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ นายอดุลย์ แย้มมี ครู คศ.๒ กรรมการ นางสุภาพร จอมประเสริฐ ครู คศ.๓ กรรมการ นางสาวภุมรนิ ทร์ ฉิมพาลี ครู คศ.๒ กรรมการและเลขานุการ หนา้ ที่ ๑. อานวยการและจดั การใหม้ ีระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในโรงเรยี น ตามพระราชบัญญตั ิ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแ่ี ก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ จานวน 3 มาตรฐาน 13 ตัวช้วี ดั ๒. จดั ทาสรุปรายงานประเมนิ ตนเอง ปกี ารศึกษา 2561 เสนอต่อหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง ๓. จัดเตรยี มสถานศึกษา บุคลากร ครู ผ้ปู กครอง นักเรยี นและชุมชนเพ่อื เตรยี มรับการประเมิน

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 48 คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ๒. คณะกรรมการกากบั มาตรฐานดา้ นคุณภาพผู้เรยี น มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน ตวั บ่งช้ีท่ี ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รยี นคณะกรรมการ ประกอบดว้ ย นางสาวกณกิ าร์ ปรือปรงั ครู คศ.๒ ประธานกรรมการ นางปราวดี เชตรี ครู คศ.๑ กรรมการ นางสาวมะลิวัลย์ วงษ์กาวนิ ครู คศ.๑ กรรมการ นายพีรดนย์ ปาคาวงั ครู คศ.๑ กรรมการ นางสาวศภุ ณลิญญ์ ทบั โต ครผู ชู้ ่วย กรรมการ ตัวบ่งช้ที ่ี ๑.2 ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รยี นคณะกรรมการ ประกอบดว้ ย นางสาวมัลลิกา กาไหลท่ อง ครู คศ.๑ ประธานกรรมการ นางสาวสารณิ ี จแู วน ครู คศ.๑ กรรมการ หนา้ ที่ ๑. ควบคมุ กากบั การดาเนนิ งานตามระบบประกันคณุ ภาพการศึกษามาตรฐานที่ 1 ๒. ประเมนิ ตนเองในการปรบั ปรุงพัฒนาเป็นระยะๆ ๓. จดั เตรียมข้อมูล เอกสารรายงานใหเ้ ปน็ ระบบครบถว้ นทุกตัวบ่งชี้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2.๑ มเี ป้าหมายวิสยั ทศั น์และพันธกิจทส่ี ถานศกึ ษากาหนดชัดเจนคณะกรรมการ ประกอบด้วย นางสาววรากร ทองทวี รองผอู้ านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ นางสาววารณุ ี มาสขุ ธุรการโรงเรยี น กรรมการ ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาคณะกรรมการ ประกอบด้วย นายอดลุ ย์ แยม้ มี ครู คศ.2 ประธานกรรมการ นางธญั ลักษณ์ กาวนิ า ครู คศ.๒ กรรมการ ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.3 ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการที่เน้นคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและทกุ กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการ ประกอบด้วย

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 49 นางสุภาพร จอมประเสริฐ ครู คศ.๓ ประธานกรรมการ นายปรวิ รรต คาวรรณ ครูคศ.๑ กรรมการ ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.4 พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย นางสาวภมุ รินทร์ ฉิมพาลี ครู คศ.๒ กรรมการ ตวั บ่งชีท้ ี่ 2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย นายอศิ ยม เครือคาแดง ครู คศ.๓ ประธานกรรมการ นายดนัย พนั ธพ์ นมไพร ครู คศ.๑ กรรมการ นายอาทติ ย์ มาน้อย ครูอัตราจ้าง กรรมการ ตวั บ่งชีท้ ี่ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้ คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย นางสาวจรี ัชญ์ คฤหะมาน ครู คศ.๒ กรรมการ หนา้ ที่ ๑. ควบคุม กากับ การดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการศึกษามาตรฐานท่ี 2 ๒. ประเมนิ ตนเองในการปรับปรุงพฒั นาเป็นระยะๆ ๓. จัดเตรียมข้อมลู เอกสารรายงานให้เป็นระบบครบถ้วนทกุ ตัวบง่ ชี้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ตวั บง่ ช้ที ี่ 3.๑ จดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตได้ คณะกรรมการ ประกอบด้วย นางชนกิ านต์ ลว่ี ัฒนายงิ่ ยง ครู คศ.๒ กรรมการ ตัวบ่งชท้ี ี่ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย นายวรปรัชญ์ อินต๊ะสุข ครู คศ.๒ กรรมการ ตัวบง่ ช้ีที่ 3.3 มีการบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวกคณะกรรมการ ประกอบดว้ ย นางพจนีย์ สทิ ธิกัน ครู คศ.2 กรรมการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report) 50 ตวั บ่งช้ที ี่ 3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รียน คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย นางสาวจิราภรณ์ เมอื งง้า ครู คศ.๒ กรรมการ ตวั บง่ ช้ีที่ 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจดั การ เรยี น คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย นางบังอร คชเถือ่ น ครู คศ.๒ กรรมการ หน้าที่ ๑. ควบคุม กากับ การดาเนินงานตามระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษามาตรฐานท่ี 3 ๒. ประเมินตนเองในการปรับปรุงพฒั นาเปน็ ระยะๆ ๓. จดั เตรียมข้อมูล เอกสารรายงานใหเ้ ปน็ ระบบครบถ้วนทกุ ตัวบ่งช้ี ขอให้ผูท้ ่ไี ด้รับการแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่โดยเคร่งครัดให้แล้วเสร็จ ตามกาลเวลาท่ีกาหนด หากพบว่า มีปญั หาอุปสรรคใด ใหป้ รกึ ษาฝา่ ยอานวยการโดยเรว็ เพือ่ ชว่ ยกนั แกไ้ ขปัญหาโดยเรง่ ด่วน ท้ังน้ี ตง้ั แตว่ นั ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖4 เป็นตน้ ไป สัง่ ณ วนั ท่ี 2 ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖4 ลงชอ่ื (นายกิชสณพนธ์ เฉลมิ วสิ ุตมก์ ลุ ) ผ้อู านวยการโรงเรียนบา้ นทา่ อาจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook