Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

09

Published by jpornpen1969, 2017-01-27 05:34:13

Description: 09

Search

Read the Text Version

หนังสอื อา นนอกเวลา วชิ าประวตั ิศาสตรไทย ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรยี นรูส งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชุด พระมหากษัตรยิ ไ ทย ๙ รัชกาล เลมท่ี ๙ เร่ือง พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัว รชั กาลที่ ๙ สํานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน5802019L01m.indd 1 2/4/16 1:33 PM

หนงั สืออา นนอกเวลา วชิ าประวัตศิ าสตรไทย ระดับประถมศกึ ษากลุมสาระการเรยี นรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมชดุ พระมหากษตั รยิ ไ ทย ๙ รัชกาลเลม ที่ ๙เรือ่ ง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั รชั กาลท่ี ๙ลขิ สิทธ์ขิ องสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานผจู ดั พมิ พ กลมุ พฒั นาสอื่ การเรยี นรูสาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ถนนราชดาํ เนนิ นอก เขตดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร ๑๐๓๐๐โทรศพั ท ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๓๗ โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๒๖๐๒พมิ พครง้ั ที่ ๑ แจกสถานศึกษาและหนว ยงานทีเ่ กยี่ วขอ ง พ.ศ. ๒๕๕๘จาํ นวน ๓๒,๐๐๐ เลม ISBN : 978-616-395-633-0พมิ พครง้ั ท่หี นึง่ พ.ศ. ๒๕๕๙จํานวนพมิ พ ๓,๐๐๐ เลมISBN : 978-616-317-792-6จดั พิมพโดยองคก ารคาของ สกสค. พิมพทโ่ี รงพมิ พ สกสค. ลาดพราว๒๒๔๙ ถนนลาดพราว แขวงสะพานสองเขตวงั ทองหลาง กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๑๐โทรศพั ท ๐ ๒๕๓๘ ๓๐๒๒, ๐ ๒๕๑๔ ๔๐๓๓ โทรสาร ๐ ๒๕๓๙ ๓๒๑๕www.suksapan.or.th

คาํ นาํ เรอื่ ง พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั รชั กาลที่ ๙ เปน หนงั สอืเลม ที่ ๙ ในชดุ “พระมหากษตั รยิ ไ ทย ๙ รชั กาล”กรมวชิ าการ (เดมิ )กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดม อบหมายใหค ณะกรรมการจดั ทาํ หนงั สอือานภาษาไทยเก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริย สําหรับเด็กและเยาวชน จดั ทาํ และนายทองตอ กลว ยไม ณ อยธุ ยา เปน ผปู รบั ปรงุเนื้อหาและภาพประกอบ และจัดพิมพเปนหนังสืออานเพิ่มเติมระดบั ประถมศกึ ษา ตามหลกั สตู รประถมศกึ ษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑มีเน้ือหาเก่ียวกับพระมหากษัตริยและประวัติศาสตรไทยรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ คณะกรรมการจัดทําและคดั เลอื กหนงั สอื อา นนอกเวลาวชิ าประวตั ศิ าสตรไ ทยและหนา ที่พลเมือง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพิจารณาเห็นวาหนังสือเลมนี้มีแนวการเขียนในการนําเสนอเน้ือหาท่ีคํานึงถึงความเหมาะสมกบั วยั ความสามารถทางการอานและจิตวทิ ยาการเรียนรูของนักเรียนในระดับประถมศึกษา จึงไดประกาศใหเปนหนังสืออานนอกเวลา กลุมสถาบันพระมหากษัตริยและกลุมประวัติศาสตรไ ทย สาํ หรบั นักเรียนระดับประถมศึกษา ในการจัดพิมพครั้งน้ี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดมอบหมายใหนางสายไหม จบกลศึก ท่ีปรึกษาเกี่ยวกับงานดานเอกสารและหนังสือ สํานักพระราชวัง นางสาวพรรณงาม แยม บญุ เรอื ง ขา ราชการบาํ นาญ สาํ นกั งานคณะกรรมการ5802019L01m.indd 3 2/4/16 1:33 PM

การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และนางปราณี ปราบรปิ ู ขา ราชการบาํ นาญสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน เปน ผตู รวจเพม่ิ เตมิเน้ือหาและภาพประกอบใหเหมาะสมย่งิ ข้นึ โดยใชโครงสรา งเดิมที่ผทู รงคุณวฒุ ิไดเ รยี บเรยี งไว สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานหวงั เปน อยา งยง่ิ วาหนังสืออา นนอกเวลาเลมน้ี จะชวยใหเกดิ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นและสรางบรรยากาศในการจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตรไทยใหนาสนใจและบูรณาการคานิยมหลัก ๑๒ ประการไปพรอมกัน ขอขอบคุณคณะกรรมการจัดทําและคัดเลือกหนังสืออานนอกเวลาฯ และผูมีสวนเก่ียวของที่ไดรวมมือกันทําใหหนังสือสําเร็จลุลวงดวยดีมาณ โอกาสน้ี (นายกมล รอดคลาย) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ๑ ธันวาคม ๒๕๕๗5802019L01m.indd 4 2/4/16 1:33 PM

สารบญั หนาบทนาํ ๑๑. พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั ของชาวไทย ๗๒. พระราชกรณียกิจเพือ่ ชาตแิ ละประชาชน ๑๐๓. โครงการพัฒนาอันเนอ่ื งมาจากพระราชดําริ ๒๒๔. พระราชกรณยี กจิ ดา นการศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔๔๕. การบําบดั ทกุ ข บาํ รุงสขุ พระราชทานพร และ ๕๘ กาํ ลังใจ๖. นกั วิทยาศาสตรด ินเพ่ือมนุษยชาติ ๗๕๗. เหนอื เกลา ชาวไทย ๗๘5802019L01m.indd 5 2/4/16 1:33 PM

พระราชพิธบี รมราชาภิเษก พุทธศกั ราช ๒๔๙๓5802019L01m.indd 6 2/4/16 1:33 PM

บทนาํ เมื่อคนไทยไดรวมกันเปนปกแผนและสรางอาณาจักรสุโขทัยขึ้นใน พ.ศ ๑๘๐๐ นั้น ประชาชนมีพระพุทธศาสนาและพระมหากษัตริยเปนท่ีพ่ึงที่ยึดเหน่ียวทางจิตใจอยางม่ันคงทง้ั สองสถาบนั ดังกลา วธํารงอยูค บู านคูเ มอื งตลอดมา ทง้ั สมยั กรุงศรอี ยธุ ยา กรงุ ธนบรุ แี ละกรงุ รตั นโกสนิ ทร แตเ ดมิ พระมหากษตั รยิ ทรงมีภาระหนาท่ีในการปกครองประเทศ เมื่อมีขาศึกศัตรูมารุกราน จะทรงเปนผูนํากองทัพออกไปทําสงครามปองกันรักษาบา นเมอื ง ในยามสงบกท็ รงดแู ลทกุ ขส ขุ ของอาณาประชาราษฎรแ ละทาํ นุบํารงุ ประชาชนใหอยเู ยน็ เปนสุข บานเมอื งจึงเจรญิ รงุ เรอื งยงิ่ขึ้นสบื มา แมป ระเทศไทยจะมกี ารปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยมรี ฐั บาลเปน ฝา ยรบั ผดิ ชอบการบรหิ ารประเทศตง้ั แต พ.ศ. ๒๔๗๕เปน ตนมากต็ าม รชั กาลปจจบุ นั คอื พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช กย็ งั คงทรงปฏบิ ตั พิ ระราชภารกจิ เพอื่ ประเทศและเพ่ือประชาชนอยูตลอดเวลา นับแตเสด็จขึ้นครองราชย เมื่อพ.ศ. ๒๔๘๙ ตราบถงึ ปจ จุบัน เปนที่ประจักษวา ทรงคํานึงถึงประโยชนสุขของราษฎรเปนสําคัญ สวนใหญในปหนึ่งๆ เปนเวลาไมนอยกวา ๘ เดือนที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรม ๑5802019L01m.indd 1 2/4/16 1:33 PM

ราชินีนาถ พระราชโอรสและพระราชธิดา จะเสดจ็ ประทบั แรม ณ พระราชฐานในตา งจงั หวดั ภาคเหนอื ท่ีภพู งิ คราชนเิ วศน จังหวดั เชียงใหม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีภูพานราชนิเวศน จังหวัดสกลนคร ภาคใตที่ทักษิณราชนิเวศน จงั หวดั นราธวิ าส และภาคกลางทว่ี งั ไกลกงั วล อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ หรือ ทพ่ี ระราชวงั บางปะอนิ จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา พระองคไ ดเ สดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปทรงเยยี่ มเยยี น ประชาชนหมนุ เวยี นกนั ไป เพอ่ื ทรงตดิ ตามความ5802019L01m.indd 2 เสดจ็ พระราชดําเนินทรงเยี่ยมราษฎร ภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคใต และ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในถิ่นทุรกันดาร ๒ 2/4/16 1:33 PM

กาวหนาของโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ 2/4/16 1:33 PM โดยมุงหวังจะบําบัดทุกขบํารุงสุขใหแกประชาชนทั่ว ประเทศอยางทัดเทียมกัน ในการเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมราษฎร ไมวาจะเปนถิ่นทุรกันดารอยางไร แมในหมูบาน ท่ีพาหนะใดๆ เขาไมถึง ก็ทรงพระดําเนินขามเขา ขา มหว ยเขา ไปจนถงึ อยา งไมย อ ทอ เพอ่ื ทอดพระเนตร ความเปน อยแู ละความทกุ ขส ขุ ของราษฎรดว ยพระองคเ อง ทรงไตถ ามขา ราชการและราษฎรในทอ งทอี่ ยา งละเอยี ด จนทราบปญ หาความตอ งการพนื้ ฐานของประชาชน และ ทรงศกึ ษาปญ หานนั้ ๆ อยา งถถ่ี ว น แลว ทรงพระกรณุ า โปรดเกลาโปรดกระหมอมใหดําเนินการชวยเหลือ ทง้ั ในลกั ษณะการแกป ญ หาเฉพาะหนา และพระราชทาน พระราชดาํ รใิ หร ฐั บาลจดั ตง้ั คณะทาํ งานเพอื่ แกป ญ หา ระยะยาวดว ยมพี ระราชดาํ รวิ า การชว ยเหลอื ราษฎรใหไ ดผ ล ๓5802019L01m.indd 3

5802019L01m.indd 4 จะตอ งเปนการชว ยเหลอื เพอื่ ใหเ ขาชวยตวั เอง ไดตลอดไป ซ่ึงอยูในหลักของ “การพัฒนา อยางยั่งยืน” ดังมีโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ นับเนื่องถึง พ.ศ. ๒๕๕๗ มี จํานวนมากถึง ๔,๓๕๐ โครงการ จงึ ทรงไดรบั การถวายพระราชสมัญญาอยางหลากหลาย เชน พระมหากษตั ริยนกั พัฒนา กษัตริยเกษตร พระบดิ าแหงฝนหลวง เปน ตน “โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ร”ิ คือหัวใจของการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืน โดยเฉพาะการพัฒนาชนบท เพื่อยกระดับ ชีวิตความเปนอยูของประชาชนท่ียากไรในทุก พื้นที่ท่ัวประเทศใหสามารถพึ่งตนเองไดอยาง ย่ังยืน เนนการพัฒนาแหลงนํ้า การเกษตร สงิ่ แวดลอ มและการสง เสรมิ อาชพี ไปพรอ มๆ กนั กําหนดวิธีพัฒนาอยางครบวงจร เรียกวา “บริการรวมจุดเดียว” คือ “โครงการศูนย ศึกษาการพัฒนาตามพระราชดําริ” มีจํานวน ๖ ศูนยเพ่ือรองรับโครงการดังกลาว เปนการ พฒั นาหลายรูปแบบ ลักษณะคอยเปนคอ ยไป อยางเปนข้ันเปนตอนตามความพรอมของ แตละทองถ่ิน การดําเนินงานผานมาแลว ๔ 2/4/16 1:34 PM

เปน เวลายาวนาน จงึ สามารถสนองพระราชดาํ ริไดอยางมีประสิทธิภาพและสัมฤทธิผลอันสอดคลองกับแนวคิดของสหประชาชาติเรื่องการพัฒนาสงั คมชนบทและเกษตรกรไทยทาํ ใหต ระหนกั ไดว า พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วัมไิ ดท รงเปน องคพ ระประมขุ ของประเทศเทา นนั้ยังทรงเปน “ยอดแหงนกั ปราชญ” “ยอดแหงนักวิชาการ” ท่ไี มม ีใครทดั เทียมได พ.ศ. ๒๕๔๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วัทรงครองราชยครบ ๖๐ ป ทรงเปนพระมหา กษตั ริยพระองคเดียวในบรรดาพระมหา กษัตริยไทยท่ีผานมาแลวทุกกาลสมัย ที่ทรงครองราชยยาวนานท่ีสุด พระองคทรงพระอัจฉริยภาพลํ้าเลิศในสรรพศาสตรและศิลปะหลายสาขาน้ําพระราชหฤทัยเปยมดวยพระเมตตาและทรงหวงใยพสกนิกรอยา งมอิ าจประมาณได พระราชจรยิ วตั รดง่ั ดวงตะวนั ฉายแสงสอ งสวา งสพู น้ื ทท่ี กุ หนแหง ของประเทศ กลา วไดว า ไมม ที ใ่ี ดของผนื แผน ดนิ ไทยที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จพระราชดําเนินไปไมถึง ๕5802019L01m.indd 5 2/4/16 1:34 PM

หรอื ไมม ีใครรจู กั ประชาชนและประเทศไทยไดเ ทากบั พระองค พระราชกรณยี กจิ เพอื่ ประชาชนและเพอื่ ความเจรญิ รงุ เรอื งของประเทศอยา งมากมายมหาศาลน้ี จงึ ทรงเปน ศนู ยร วมใจไทยทงั้ ชาติตา งเทดิ ทนู พระองคว า เปน “พอ แหง แผน ดนิ ” และพรอ มใจกนั จดั งานถวายราชสกั การะอยา งยง่ิ ใหญใ นวนั คลา ยวนั พระบรมราชสมภพ ตรงกบัวนั ที่ ๕ ธนั วาคม เปน ประจาํ ทกุ ป เรยี กวา “วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา”และในมหามงคลทกุ ๆ โอกาส ประเทศไทยมีสถาบันพระมหากษัตริยเปนเสาหลักในการสรางความเปนปกแผนม่ันคงแกชาติและประชาชน ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงสรางสรรคพัฒนาประเทศใหอุดมสมบูรณอยางย่ังยืนทุกดาน ซ่ึงมิไดหลอเลี้ยงชีวิตความเปนอยูเฉพาะแตเพียงชาวไทยเทานั้น หากแตยังเกื้อกูลออกไปสูมวลมนุษยชาติอ่ืนๆ อีกดวย สมควรที่จะเผยแพรพระเกียรติคุณใหป ระชาชนโดยเฉพาะเยาวชนไทยไดท ราบ เพอ่ื เปน เครอ่ื งเตอื นใจใหเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทในหลักของการทรงงานเพอื่ พฒั นาประเทศ ตามกําลงั สติปญ ญาของแตละบุคคลสบื ไป ๖5802019L01m.indd 6 2/4/16 1:34 PM

๑. พระบาทสมเด็จพระเจาŒ อยหู‹ วั ของชาวไทย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จขึ้นครองราชยเปนพระมหากษัตริยในระบอบประชาธิปไตยเม่ือวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ทรงเปนพระมหากษัตริยในพระบรมราชจักรีวงศ รัชกาลที่ ๙ แหงกรุงรัตนโกสินทรขณะพระชนมพรรษา ๑๘ พรรษา เปนเวลาท่ีอยูในระหวางทรงศกึ ษา ณ ประเทศสวติ เซอรแ ลนด ครน้ั เมอื่ ทรงรบั ราชสมบตั แิ ลวจึงเสด็จพระราชดําเนินกลับไปทรงศึกษาตอ โดยทรงเลือกเรียนวชิ านติ ศิ าสตรแ ละรฐั ศาสตร วา ดว ยเรอื่ งกฎหมายและการปกครองระหวางท่ีมิไดประทับอยูในประเทศ มีคณะผูสําเร็จราชการแทนพระองคปฏิบัติพระราชภารกิจแทน เม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๓ เสด็จนิวัตประเทศไทย อภิเษกสมรสกับหมอมราชวงศสิริกิต์ิ กิติยากรและทรงสถาปนาเปนสมเด็จพระราชินี เมื่อวันท่ี ๒๘ เมษายนพ.ศ. ๒๔๙๓ เพ่ือความสมบูรณแหงพระมหากษัตริยตามโบราณราชประเพณี ทรงรับพระบรมราชาภิเษกเมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคมพ.ศ. ๒๔๙๓ เฉลมิ พระปรมาภไิ ธยวา “พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทรสยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร” ในการพระราชพิธีน้ัน ทรงมี ๗

พระปฐมบรมราชโองการ อนั เปน สจั ปฏญิ าณวา “เราจะครองแผน ดนิ โดยธรรม เพอื่ ประโยชนส ขุ แหง มหาชนชาวสยาม” แลว ทรงสถาปนาสมเดจ็ พระราชนิ ี เปน “สมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ ์ิ พระบรม ราชนิ ”ี เบอ้ื งตน พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั และสมเดจ็ พระนางเจา ฯพระบรมราชนิ ี ประทบั ณ พระท่ีนั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ตอ มาจงึ ไดม าประทบั ณ พระตาํ หนกั จติ รลดาเสดจ็ เลียบพระนครในมหามงคล รโหฐาน ในสวนจติ รลดา ทรงมพี ระราชโอรสและทรงครองสริ ิราชสมบตั คิ รบ ๒๕ ป พระราชธดิ ารวม ๔ พระองค ตามลาํ ดบั ดงั น้ี ในพระราชพธิ ีรชั ดาภเิ ษกพ.ศ. ๒๕๑๔ พ.ศ. ๒๔๙๔ สมเดจ็ พระเจา ลกู เธอ เจา ฟา อบุ ลรตั นราชกญั ญา สิรวิ ัฒนาพรรณวดี พ.ศ. ๒๔๙๕ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา ฟา มหาวชริ าลงกรณ สยามมกฎุ ราชกุมาร พ.ศ. ๒๔๙๘ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าเจา ฟา มหาจกั รสี ริ นิ ธร รฐั สมี าคณุ ากรปย ชาติ สยามบรมราชกมุ ารี พ.ศ. ๒๕๐๐ สมเดจ็ พระเจา ลกู เธอ เจา ฟา จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ- อัครราชกุมารี ๘5802019L01m.indd 8 2/4/16 1:34 PM

พระบรมฉายาลักษณ ทรงฉายพรอมกับ พระราชโอรสและพระราชธดิ าเมือ่ ยงั ทรงพระเยาว พระราชโอรส และพระราชธิดาทุกพระองค ลวนยึดมั่นในการบําเพ็ญประโยชนเพ่ือชาติบานเมืองและเพื่อประชาชนชาวไทย สนองพระราชปณธิ านพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ตง้ั แตทรงพระเยาว ไดต ามเสดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั เพอื่ ทรงงานทกุ วาระสมํา่ เสมอตราบปจจุบัน ๙5802019L01m.indd 9 2/4/16 1:34 PM

๒. พระราชกรณียกิจเพอ่ื ชาตแิ ละประชาชน ประเทศไทยเม่ือแรกท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จขึ้นครองราชยน้ันทองท่ีในภูมิภาคทั่วไปยังเปนถ่ินทุรกันดารไมเ จรญิ ดว ยถนนหนทางและตกึ รามบา นชอ งเชน ปจ จบุ นั ประชาชนสว นมากแรน แคน ยากจน ไมม อี าชพี เลย้ี งตวั ไมม กี ารศกึ ษา หา งไกลท้ังการแพทยและความรูเร่ืองสุขอนามัยพ้ืนฐาน ความยากจนอดอยากทําใหเกิดภัยจากนอกประเทศเปนลัทธิคอมมิวนิสตเขาแทรกซมึ คกุ คามบา นเมอื งอยรู ะยะหนง่ึ ภาพประวัติศาสตรส ญั ลักษณความผกู พันระหวา งพระมหากษัตรยิ แ ละประชาชน ๑๐

โปรดเกลาฯ ใหร าษฎรไดเ ขา เฝา ฯ อยางใกลช ดิ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเอาพระราชหฤทัยใสศึกษาสภาพความเปนอยูและการทํามาหากินของอาณาประชาราษฎรอยา งท่ัวถึงจริงจัง เรมิ่ จากการเสด็จพระราชดําเนนิไปทรงเย่ียมเยียนราษฎรท่ัวทุกภูมิภาค เพ่ือทอดพระเนตรสภาพความเปน อยทู แ่ี ทจ รงิ ของประชาชนทว่ั ประเทศ ซง่ึ สว นใหญคือ เกษตรกรท่ีทํานา ทําสวน ทําไร ทรงพบวา ปญ หาของคนไทยสวนใหญขณะน้ันคือ การขาดแคลนท่ีทํากิน การประสบภัยธรรมชาติ ความยากจน และสง่ิ ทก่ี ระทบอนั จะเปน ปญ หาสาํ คญั ของประเทศในเวลาตอ มา คือ การเพม่ิ จาํ นวนประชากรอยางรวดเรว็ของคนในชนบท ๑๑5802019L01m.indd 11 2/4/16 1:34 PM

ทรงรว มพจิ ารณาขอ มลู เกย่ี วกบั การปรบั ปรงุ พน้ื ทใ่ี หร าษฎรเขา อยอู าศยั ทาํ กนิ ทรงวางแนวพระราชดําริ อันเปนตนเคาท่ีมาของคําวาโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ท่ีมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นในเวลาตอ มา พระราชประสงคใ นครงั้ นน้ั สว นหนง่ึ คอื เพอื่ ผอ นปรนความเดือดรอนในการแกปญหาเฉพาะหนาของประชาชนกอนอีกสวนหน่ึงทรงวางแผนงานระยะยาว คอยๆ แกปญหาอยางเปนขัน้ เปน ตอน เฉพาะแนวพระราชดําริทีท่ ําอยางตอ เนอ่ื ง ไดแกการพัฒนาปรับปรุงที่ดินท่ีรกรางวางเปลา ซึ่งมีเน้ือท่ีกวางใหญไพศาลในทุกภูมิภาค เพื่อนํามาใชประโยชนใหชาวบานไดเขามา ๑๒5802019L01m.indd 12 2/4/16 1:34 PM

ทาํ มาหากนิ พรอ มทง้ั ปอ งกนั การบุกรุกทําลายปาสงวน อยางรูเทาไมถึงการณ ทรงมุงพัฒนาการเกษตร ใหค วามรูเ รื่องการปลูกพชื เล้ียงสัตว รวมทั้งการ จําหนายพืชผลใหไดราคา โครงการทดลองการปลูกขา ว ที่เปนธรรม เพ่ือชาวไร ในเขตพระราชฐาน ชาวนาจะสามารถเลย้ี งชพี บรเิ วณสวนจิตรลดา พระราชวังดสุ ติพงึ่ ตวั เองไดต ลอดไป โครงการระยะแรกนี้ เรยี กวา “โครงการสวนพระองค” พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมพระราชทานพระราชทรัพยสวนพระองคใหเจาหนาที่ทําการศึกษาคนควาทดลอง เพ่ือนําไปสู “การพัฒนาการเกษตร” ในบริเวณท่ีดินรอบๆ พระตําหนักจิตรลดารโหฐานในพระราชวังดุสิตกอนท่ีจะนําไปดําเนินการในท่ีดินแหงอื่นเม่ือการทดลองประสบผลสําเร็จ จึงพระราชทานพระราชดําริและแนวทางวิธีการปฏิบัติใหสวนราชการที่เกี่ยวของ ดําเนินการเผยแพรออกไปยังชาวนา ชาวไร สภู ูมภิ าคท่วั ประเทศตอ ไป ๑๓5802019L01m.indd 13 2/4/16 1:34 PM

พระราชวังของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวตางจากพระราชวงั ของกษตั รยิ ป ระเทศใดๆ ในโลก เพราะมีแปลงนาขา วพืน้ ทเี่ ลีย้ งโค บอเลี้ยงปลา โรงงานผลิตนม แปลงกลาไมพนั ธตุ า งๆฯลฯ บางโครงการเพ่ือขยายปริมาณใหเพียงพอแกการแจกจายบางโครงการเปนตน แบบแหงการเรียนรู บางโครงการเพอ่ื อนรุ กั ษและพฒั นา นอกจากนน้ั เปน สถานทส่ี าํ หรบั งานวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเกษตรในชนบท พัฒนาอาชีพการเกษตรในชนบทและโรงเรียนจึงทรงไดรับการยกยองวาเปน “กษัตริยเกษตร” ทรงงานเพ่ือปากทอ งพสกนกิ ร ยกฐานะความเปน อยจู ากความยากจนใหส ามารถเลยี้ งตัวเองไดอยางมสี ขุ ในสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต มีโครงการทดลองกอนเผยแพรอ อกสปู ระชาชน ดงั ตอ ไปนี้การทําแปลงนาในสวนจติ รลดา พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั มพี ระราชประสงคใ หเ กษตรกรและหนวยราชการท่ีมีหนาที่ เขาใจวิธีการปลูกขาววาการทํานาจะใหไดผลผลิตสูง จะตองใชขาวพันธุดี รูจักวิธีปลูกที่ถูกตองและมีการบํารุงดิน พันธุขาวท่ีดีน้ันจะใหผลผลิตสูง ตานทานโรคและแมลงไดดี ดงั นนั้ เมอื่ พ.ศ. ๒๕๐๔ หลงั จากเสรจ็ งานพระราชพธิ พี ชื มงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ณ มณฑลพิธีทองสนามหลวงแลวทรงพระกรณุ าใหน ําขาวพันธดุ ชี ่อื ขาว “นางมล” มาทดลองปลูก ๑๔5802019L01m.indd 14 2/4/16 1:34 PM

พระราชพิธี พชื มงคลจรดพระนงั คัลแรกนาขวญัขยายพนั ธใุ นแปลงนาสวนจติ รลดา เพอื่ เกบ็ เกย่ี วไวใ ชใ นงานพระราชพิธใี นปต อไป และเพอื่ พระราชทานแจกจา ยแกราษฎรทว่ั ประเทศในฤดูท่มี กี ารปลูกขาวปถัดไป แปลงนาทดลองตัวอยางทําเปน ๓ แปลง ปลูกทั้ง ๓วธิ ี คือ นาดํา นาหยอด และ นาหวา น ใชปุยคอก ปุยหมัก และปยุ เคมี ตา งๆ กนั ใหช าวนาเขามาชมเพือ่ นําวิธกี ารไปใช แลวขยายการปลกู ขา วเจา ขา วเหนียว และพืชไรอืน่ ๆ ในปตอๆ มา เฉพาะนอกฤดูทํานา ทรงใหปลูกพืชตระกูลถั่ว ไดแก ถ่ัวลิสง ถ่ัวแดงถ่ัวเขียวและถั่วเหลือง อันเปนการเพ่ิมผลผลิตพืชไร หมายถึงการเพ่ิมรายได และซากพชื เม่ือไถกลบจะเปน ปยุ สด ใหประโยชนชวยบํารุงดิน ปรับปรุงผืนนาใหเปนดินท่ีอุดมสมบูรณดวยแรธาตุเปน ผลดีตอ การปลูกขา ว ๑๕5802019L01m.indd 15 2/4/16 1:34 PM

การปลูกขาว นาดํา นาหยอด และนาหวาน เปนขาวท่ตี อ งการนํา้ มาก แตประเทศไทยมพี ันธขุ าวท่ปี ลกู ข้ึนในท่ีน้าํ นอยอาศัยนํ้าเฉพาะนํ้าฝนจากฟาอยางเดียว เรียกวาขาวไร ปลูกบนท่เี นินสงู บนเขา และทีร่ าบสูงตามสภาพภูมิศาสตร เจรญิ เตบิ โตไดแมฝ นจะตกนอย ทนทานความแหงแลง มีหลายพันธุ คอื ขา วไรสาํ หรบั พนื้ ทส่ี งู พนื้ ทตี่ าํ่ และขา วทลี่ มุ ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วัทอดพระเนตรเห็นจากการเสด็จเยือนราษฎรไปท่ัวทุกหนแหงจึงทรงมีพระราชดาํ ริสง เสรมิ การปลูกขาวไร พระราชทานพระราชดํารใิ นการจัดรูปท่ดี นิ เพอ่ื ใชท ีด่ นิ ใหไ ดประโยชนส งู สดุ ๑๖5802019L01m.indd 16 2/4/16 1:34 PM

พ.ศ. ๒๕๑๗ ทรงทําแปลงนาทดลองปลูกขาวไรโดยนําดินจากจังหวัดตางๆ ทั้ง ๔ ภาค มาเปนดินทดลองปลูกเพราะทกุ ภาคของประเทศจะมพี นั ธขุ า วไรเ ฉพาะทอ งถน่ิ อยทู กุ ภาคเปน การรกั ษาพนั ธดุ ง้ั เดมิ และปรบั ปรงุ พฒั นาพนั ธใุ หม คี ณุ ภาพขนึ้การทดลองปลูกขา วไรในแปลงนาสวนจติ รลดา จงึ ไดขา วสายพนั ธุทพ่ี ฒั นาคณุ ภาพ สามารถขยายผลออกไปอยา งกวา งขวางสจู งั หวดัตางๆ ท่ีอยูในภูมิภาคแหง แลง เปนการชวยใหมีการผลิตขาวเพือ่การบรโิ ภคอยา งเพยี งพอท่วั ประเทศอีกทางหน่งึ พันธุขาวท่ีปลูกในสวนจิตรลดา เปน “พันธุขาวทรงปลูกพระราชทาน” สวนหนึง่ เตรยี มไวสาํ หรบั การพระราชพิธีพชื มงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวญั อีกสว นหนึ่งนําบรรจุซองพระราชทานแกช าวไรช าวนาทวั่ ประเทศ เพอื่ เปน สริ มิ งคลแกก ารเพาะปลกู ของเกษตรกร การดาํ เนนิ งานดงั กลา วยังคงถือปฏบิ ตั อิ ยถู ึงทุกวนั น้ีโรงสขี า วตวั อยา ง โรงสีขาวในบริเวณสวนจิตรลดา มเี ครอื่ งจักรสีขา วทสี่ รา งข้ึนภายในประเทศ มยี งุ ฉางแบบตางๆ ท้ังท่สี รา งดว ยไม ดว ยเหล็กและคอนกรีต มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาทดลองวิธีการสีขาวใหไดผลดีท่ีสุด ตลอดจนการเก็บรักษาขาวเปลือก แลวเก็บเปนขอมูลสาํ หรบั การศึกษาวจิ ัยตอ ไป ๑๗5802019L01m.indd 17 2/4/16 1:34 PM

สว นแกลบหรอื เปลอื กขา ว ซง่ึ ไดจ ากการสขี า ว นาํ ไปทาํ ปยุดวยการบดผสมกับสารเคมีสูตรตางๆ หรืออัดแทงเปนเชื้อเพลิงสาํ หรบั ใชแ ทนฟน ไดการเลี้ยงโคนมในสวนจิตรลดา พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั มพี ระราชประสงคใ หเ ดก็ ไทยดื่มนม เพอื่ เสรมิ สรางสรรี ะรา งกาย บาํ รงุ สมองและใหม ีสุขภาพดีอีกประการหน่ึง ทรงเห็นความสําคัญของอาชีพเลี้ยงโคนมซึ่งเปนอาชีพที่สามารถเล้ียงครอบครัวเกษตรกรได อันจะมีสวนชวยประหยัดเงินตราตางประเทศ ท่ีชาวไทยสั่งซ้ือนํ้านมจากตางประเทศเขามาบริโภค ซ่ึงปหนึ่งๆ เปนจํานวนเงินสูงมากดังน้ัน ใน พ.ศ. ๒๕๐๕ จึงทรงสรางโรงโคนมทดลอง สําหรับเล้ียงโคนมท่ีมีผูนํามาถวายไว ๖ ตัว ไดรีดนมเม่ือโคนมเหลานั้นตกลูก น้ํานมสวนที่เหลือจากการเลี้ยงลูกโค ไดจําหนายใหแกขา ราชบรพิ ารในสวนจติ รลดา การดาํ เนนิ งานระยะนน้ั คอื แนวทางการวางโครงการผลติ นมทีส่ มบูรณแ บบตอ ไป ระยะแรกของการสงเสริมเกษตรกรเลี้ยงโคในประเทศหลายกลมุ เผชญิ ปญ หาจาํ หนา ยนา้ํ นมไมห มด บดู เสยี เปน สว นมากตองเททิ้งอยางนาเสียดาย เปนความเดือดรอนท่ีคอนขางวิกฤติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรุณาคิดคนวิธีทํานํ้านมท่ีเหลอื ใหเ ปน นมผง ซง่ึ สามารถเกบ็ ไวจ าํ หนา ยในโอกาสตอ ไปได ทรงออกแบบเครอ่ื งจกั รกลและสรา งโรงงานผลติ นมผง นมอดั เมด็ ใกลๆโรงโคนมดวยพระราชทรัพยสวนพระองค เปดดําเนินการเม่ือ ๑๘5802019L01m.indd 18 2/4/16 1:34 PM

พ.ศ. ๒๕๑๒ พระราชทานช่ือนมผงทผี่ ลติ นว้ี า “นมผงสวนดสุ ติ ”เพื่อใหเปนแบบอยางแกผูเขาไปศกึ ษาและมเี ปา หมายในการเลอื กอาชพี นี้ พ.ศ. ๒๕๑๖ ไดจัดตั้ง“ศูนยรวมนมสวนจิตรลดา” โรงนมผงสวนดุสติรับน้ํานมดิบจากสหกรณโคนมตางๆ มาผลิตเปนน้ํานมที่ผานการฆาเช้ือ แลวนําออกจําหนายตามโรงเรียนตางๆ เปนการเผยแพรและสงเสริมการบริโภคผลิตภัณฑนมใหกวางขวางตามพระราชประสงคแตต น นอกจากน้ํานมโคแลว มูลโคก็ยังใหประโยชนเพราะเปนแกสชีวภาพเชื้อเพลิงอยางดี โดยการหมักมูลโคในถังใหเกิดแกสชีวภาพ และนํามาใชหุงตมอาหารในครัวเรือน หากมีเปนจาํ นวนมาก สามารถจาํ หนา ยได กจ็ ะเปน การสรา งรายไดอ กี ทางหนงึ่ พระราชปณิธานเพ่ือสรางอาชีพแกประชาชน เสริมสรางเยาวชนใหมีสุขภาพกาย มีปญญาดี สรางแบบอยางการพัฒนาอุตสาหกรรมทางอาหาร ยังคงดําเนินตอไปอยางเขมแข็งและกา วหนาตราบจนถงึ ปจจุบนั ๑๙5802019L01m.indd 19 2/4/16 1:34 PM

การเลี้ยงปลาในสวนจติ รลดา ความหวงใยสุขภาพและพลานามัยของประชาชนในชาติ กอใหเกิดพระราชกรณียกิจท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงทุมเทเพื่อใหบังเกิดผลมาต้ังแตตนรัชกาล แมกาลเวลาผา นมากวา ๖๐ ป ชาวไทยยังคงซาบซงึ้ ในน้าํ พระราชหฤทัยของพระองคไมเสื่อมคลาย โดยเฉพาะการที่ทรงเพาะเล้ียงปลาน้ําจืด ทรงขยายพนั ธปุ ลาหลากหลายพันธุเพ่ือใหเปนอาหารท่ีมีแรธาตุโปรตีนบํารุงรางกายและเพอ่ื ใหม ปี รมิ าณมากพอแกก ารเล้ียงประชาชนทั้งประเทศ ตั้งแตโบราณ ปลาน้ําจืดเปนอาหารหลักอยางหน่ึงของชาวไทย มรี สอรอ ยยอยงาย อยใู นแหลง น้าํ ธรรมชาติ แตป ริมาณ ๒๐5802019L01m.indd 20 2/4/16 1:34 PM

ไดลดนอยลงและหายากมากข้ึนเนื่องจากมีประชากรเพ่ิมขึ้นและขาดแหลงน้ํา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดโปรดเกลาฯใหเ พาะเลย้ี งพนั ธปุ ลาทโ่ี ตเรว็ และแพรพ นั ธไุ ดจ าํ นวนมากๆ ในสระนาํ้สวนจติ รลดา ทง้ั พนั ธปุ ลาไทยและปลาตา งประเทศ ตงั้ แต พ.ศ. ๒๔๙๕ไดแก ปลาหมอเทศ และ พ.ศ ๒๕๐๘ เม่ือกษัตริยอากิฮิโตแหงประเทศญี่ปุน ครั้งยังทรงเปนมกุฎราชกุมาร ทรงนําพันธุปลานิลมาถวาย โปรดเกลาฯ ใหขยายพันธุใหมาก สวนหนึ่งทรงแจกจา ยใหแกประชาชน และอีกสว นหนง่ึ ทรงมอบใหกรมประมงขยายปรมิ าณนบั เปน จาํ นวนลา นๆ ตวั เพอื่ ทาํ ประโยชนใ หก วา งขวาง ดังเชน เม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๗เกิดทุพภิกขภัยในประเทศบังกลาเทศรุนแรงมาก ชาวเมืองอดอยากเพราะขาดแคลนอาหาร พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหรัฐบาลไทยสงพันธุปลานิล ๕๐๐,๐๐๐ ตัว ปลาหมอเทศใหรฐั บาลบงั กลาเทศ เพ่ือปลอ ยลงในแหลง น้ําธรรมชาติ เปนการสรางแหลงอาหารใหม ีเพยี งพอแกการบรโิ ภคทั้งประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงวางพ้ืนฐานการสรางอาหาร “ปลาน้ําจืด” สําหรับประชากรไทยและประชากรโลกเพอ่ื เลยี้ งชวี ติ มาแตต น ใหเ ปน แบบอยา งในการผลติ เพอ่ื การพฒั นายังประโยชนยงั่ ยืนถงึ ปจจุบนั ๒๑5802019L01m.indd 21 2/4/16 1:34 PM

๓. โครงการพฒั นาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ การทาํ มาหากนิ ของชาวไทยผกู พนั กบั วถิ เี กษตร ตอ งอาศยัน้าํ ดนิ และภูมิอากาศ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงแสวงหาวิธีบรรเทาปญ หาตา งๆ ตลอดเวลา ดว ยเหตุนี้ พระราชกรณียกจิดานการเกษตรจึงเกิดขึ้นพรอมๆ กันหลายดาน โดยเฉพาะทรงฟนฟู “การพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ”เพอ่ื เปน กาํ ลงั ใจแกเกษตรกร พระราชกรณียกิจดานพัฒนาการเกษตร เร่ิมตนในสวนจิตรลดา การจดั หานํา้ คอื การชลประทาน ซึ่งมีโครงการมากทีส่ ดุนอกจากนั้น ไดแก การเพาะปลกู ดินและการจัดการดนิ สหกรณปา ไม ปศสุ ตั วแ ละประมง ทกุ ดา นทก่ี ลา วมา ลว นมโี ครงการพฒั นาอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริจํานวนมากรองรบั ทงั้ สน้ิโครงการชลประทานอันเนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเอาพระราชหฤทัยใสเรอ่ื งนา้ํ สมาํ่ เสมอตราบปจ จบุ นั ทรงใหค วามสาํ คญั วา “นาํ้ คอื ชวี ติ ”พระราชดํารสั ท่ีทรงยํ้าใหเ ขาใจอยา งลกึ ซึ้งอกี วา “หลักสาํ คัญตอ งมนี ้ําบรโิ ภค นา้ํ ใช นา้ํ เพ่ือการเพาะปลูก เพราะวา สิ่งมชี ีวติ อยทู ่ีน่นัถามนี ้าํ คนอยูได ถา ไมม นี าํ้ คนอยไู มไ ด ไมมไี ฟฟาคนอยูได แตถา มีไฟฟา ไมมนี าํ้ คนอยูไ มได” ๒๒

โครงการชลประทาน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรอื เรียกวา “โครงการพัฒนา แหลงนํ้าอันเนื่องมาจาก พระราชดาํ ร”ิ โครงการแรกคอื อา งเกบ็ นํ้า จังหวดั เพชรบุรี อา งเกบ็ นา้ํ เขาเตา ตาํ บลหนองแกอาํ เภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ เรม่ิ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๖ สรา งเสรจ็เมื่อป พ.ศ. ๒๕๐๖ เปนโครงการเก็บกักนํ้าจืดสําหรับบริโภคและการเกษตร ตลอดจนทรงวางรากฐานการพัฒนาตนนํ้า เพื่อการปลกู ปา พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วัทรงเกอ้ื กลู ชมุ ชนภาคเหนอื ทงั้ ชาวไทยพ้ืนราบและชาวไทยภูเขาท่ีอยูบนดอยสูง สวนชาวไทยภาคใต และชาวไทยมสุ ลิมทอี่ ยูใ นพืน้ ทต่ี ดิ ทะเลทรงหาวธิ กี ารปอ งกนั นา้ํ เคม็ มใิ หไ หลเขา แมน าํ้ ซง่ึ จะทาํ ใหน าํ้ กรอ ย นา้ํ เคม็ไมสามารถนาํ มาใชเ พาะปลกู ได จงึ ทอดพระเนตรการขุดคลองปลอ ยนํ้าเสียทําคลองระบายน้ําท่ีขังในพรุออก จากพรบุ าเจาะลงสทู ะเล ณ อาํ เภอบาเจาะ จงั หวดั นราธวิ าสสูทะเลและสกัดก้ันมิใหไหลกลับ พื้นท่ีพรุกวางขวางมีดินเปนกรด จงึ ปรบั ปรงุ แกไ ขใหใ ชป ระโยชนท าํ กนิ ได สาํ หรบั ภาคกลางซงึ่เปน พน้ื ทท่ี มี่ นี า้ํ ทว ม นา้ํ หลาก กใ็ ชว ธิ ผี นั และกกั เกบ็ นาํ้ ดว ย “แกม ลงิ ” ๒๓5802019L01m.indd 23 2/4/16 1:34 PM

เพือ่ นํานา้ํ มาใชป ระโยชนใ นฤดแู ลง สวนภาคตะวันออกเฉยี งเหนือเปนภูมิภาคที่มีแตความแหงแลง ฝนไมตกตามฤดูกาล พ้ืนดินมีแตร อยแตกระแหง เปนลกู เนินทรี่ าบสงู กวางใหญ ราษฎรอสี านขาดแคลนน้ํากินน้ําใชรุนแรงที่สุดย่ิงกวาภาคใดๆ ทรงพัฒนาระบบลมุ นา้ํ ในอสี านเหนอื และอสี านใต ขดุ ลอกแหลง นาํ้ ธรรมชาตินอยใหญ นับตั้งแต หวย หนอง คลอง บึง สระ ปรับปรุงสภาพพื้นท่ีลํานํ้าหลักของแตละจังหวัด ใหน้ําหลอเลี้ยงทั่วถึงสรา งอา งเกบ็ น้าํ ขนาดใหญ บางแหง ใชวิธผี ันนํา้ ลอดใตอโุ มงคจ ากพื้นท่ีสูงมาสพู ้นื ลา ง เปน ตน ๒๔5802019L01m.indd 24 2/4/16 1:34 PM

ความแหง แลงของภาคอีสาน การชลประทานและพัฒนาแหลง นา้ํ ทัว่ ประเทศ ประมวลไดถ งึ เมอื่ ทรงดาํ รงสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๕๐ ป เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มโี ครงการถึง ๒,๒๓๕ โครงการ เปนแหลงน้ําลักษณะตางๆ ประกอบดวยเขอ่ื น อา งเกบ็ นาํ้ ฝาย ประตนู า้ํ คลองสง นาํ้ สระนา้ํ จะเปน ประเภทใดขนึ้ อยกู บั สภาพทางภมู ศิ าสตร แบงตามภาคตางๆ ไดดังนี้ เข่ือนแมง ัดสมบรู ณชล จงั หวัดเชยี งใหม ภาคเหนอื มี ๙๓๕ โครงการ เชน อางเกบ็ น้าํ ทํานบ ฝายและเขื่อน เฉพาะเขือ่ นขนาดใหญในจังหวัดเชียงใหม ๒ แหง คือ“เขอื่ นแมง ดั สมบรู ณช ล” อาํ เภอแมแ ตง และ“เขอื่ นแมก วงอดุ มธารา”อาํ เภอดอยสะเกด็ เขอื่ นทง้ั สองแหง สามารถจา ยนาํ้ ออกไปสชู มุ ชนในจังหวัดโดยรอบได สว นฝายใหญท่ีสดุ คอื “ฝายแมย ม” อําเภอสองจงั หวดั แพร ๒๕5802019L01m.indd 25 2/4/16 1:34 PM

ทรงหว งใยทุกขสขุ ของราษฎร ในเขตพ้นื ทน่ี า้ํ ทวมกรุงเทพมหานครอางเกบ็ น้าํ รัตนยั จังหวดั เพชรบูรณ เขอ่ื นแมกวงอุดมธารา จังหวัดเชียงใหมภาคกลางมี๓๑๕โครงการเชน “เขอื่ นเจา พระยา”จงั หวดั ชยั นาท“เขอื่ นวชิราลงกรณ” และ “เขอ่ื นศรีนครนิ ทร” จงั หวดั กาญจนบรุ ี“เข่ือนแกงกระจาน” จังหวัดเพชรบุรี “เขื่อนปาสักชลสิทธิ์”จงั หวดั ลพบรุ ี “เขอื่ นขนุ ดา นปราการชล (เขอ่ื นคลองทา ดา น)” จงั หวดันครนายก “คลองระบายนา้ํ เจริญราษฎร” จงั หวัดสมุทรปราการ“คลองระบายนา้ํ ชลหารพจิ ติ ร” จงั หวดั สมทุ รปราการ “สระเกบ็ นาํ้พระรามเกา” จงั หวัดปทมุ ธานี เขอ่ื นเจา พระยา จังหวัดชัยนาท ๒๖ เขอ่ื นขุนดานปราการชล 2/4/16 1:34 PM (เขอ่ื นคลองทาดาน) จังหวัดนครนายก5802019L01m.indd 26

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี ๔๘๘ โครงการ เปนอางเกบ็ นํา้ และอโุ มงคผ ันนํ้า เชน “อา งเก็บนํ้าลาํ นางรอง” อําเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย “เข่ือนนํ้าเชิน” อําเภอชุมแพ“บงึ กดุ เคา ” อาํ เภอมญั จาครี ี จังหวดั ขอนแกน “โครงการพฒั นาลุม นํา้ กาํ่ ” ทไ่ี หลผานจงั หวดั สกลนครและนครพนม “อางเกบ็ นํ้าหวยเดียก” “อางเกบ็ นํ้าลาํ ปลายมาศ” จงั หวดั นครราชสีมา ฝายหว ยน้าํ พรา จงั หวัดอุตรดิตถคลองสง น้าํ จากฝายหวยน้ําพราจังหวัดอุตรดติ ถ ๒๗ ลมุ นาํ้ ก่าํ จังหวัดสกลนคร5802019L01m.indd 27 2/4/16 1:35 PM

ภาคใต มี ๔๙๗ โครงการ เชน “พรุควนเคร็ง”ท่ีลุมน้ําปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช “คลองระบายนํ้าปากคลองมูโนะ” จงั หวดั นราธวิ าส “คนั กน้ั น้ําเค็ม” รอบเกาะสะทอ นจังหวัดสงขลาประตรู ะบายน้าํ บางนรา จังหวดั นราธวิ าส ประตูระบายน้าํ อทุ กวภิ าชประสิทธิ์ โครงการพฒั นาพ้นื ทล่ี มุ น้ําปากพนงั จังหวัดนครศรีธรรมราชตรวจสภาพแมน าํ้ ปากพนงั จังหวัดนครศรีธรรมราช แนวปองกันน้ําเซาะตลิ่งวัดเลียบ จังหวัดปตตานี การพัฒนาชลประทานและแหลงน้ําแตละแหง กอใหเกิดประโยชนแกส วนรวมและอาชพี ตา งๆ ตามมาหลายประการ ไดแ ก * พลงั น้าํ จากเขอื่ นนาํ มาผลิตกระแสไฟฟาใหแสงสวา ง * เกิดอาชีพประมงนา้ํ จืด * เปน แหลง ทอ งเทยี่ วและทศั นศกึ ษาเปน สถานทพี่ กั ผอ นหยอ นใจ ๒๘5802019L01m.indd 28 2/4/16 1:35 PM

ฝนหลวง เมอ่ื ฝนทง้ิ ชว ง ไมต กในพ้ืนท่ีท่ีเกษตรกรตองการเกดิ ความแหงแลง พชื ผลเสยี หาย โดยเฉพาะทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ เม่ือพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วัทอดพระเนตรเหน็ ความแหง แลงและราษฎรยากจน ขณะประทบัเคร่ืองบินพระที่นั่งผานเทือกเขาภพู าน ทรงสงั เกตเหน็ วา ทอ งฟา บรเิ วณนน้ัมเี มฆมาก แตเ มฆไมส ามารถกอ ตวั เปน หยดนาํ้ จงึ มพี ระราชดาํ รศิ กึ ษาวิชาการอุตุนิยมวิทยาและการดัดแปรสภาพอากาศทําใหเกิดฝนทรงศกึ ษาคน ควา ตงั้ แต พ.ศ. ๒๔๙๙ มาอยางตอเนื่อง ทรงทดลองคร้ังแรก บริเวณเหนืออุทยานแหงชาติเขาใหญ อาํ เภอปากชอ ง จงั หวดั นครราชสมี า เมอ่ื วนั ท่ี ๑ กรกฎาคมพ.ศ. ๒๕๑๒ โดยนกั บนิ ทดลองบนิ ขนึ้ ไปหยอดนาํ้ แขง็ แหง บนยอดเมฆสูง ๑๐,๐๐๐ ฟุต เกิดการกลน่ั รวมตัวหนาแนน กอยอดสูงข้ึนเปนเมฆฝนใหญ เคล่อื นตวั ตามลมไปทางหลงั เขาและตกลงสูพน้ื ทีน่ ้นัการปฏิบัติและทดลองทางวิชาการควบคูกันเปนผลสําเร็จเมื่อพ.ศ. ๒๕๑๒ สามารถทําใหฝ นตกลงในพ้นื ท่ีตามตอ งการได ๒๙5802019L01m.indd 29 2/4/16 1:35 PM

จากนนั้ ชอ่ื “ฝนหลวง” หรอื “ฝนพระราชทาน” ไดแ กป ญ หาฝนแลง ของเกษตรกรไทยทั่วถงึ ทัง้ ประเทศ ปหนงึ่ ๆ ไมตา่ํ กวา ๒๔จงั หวดั คาํ นวณเปน พนื้ ทเ่ี พาะปลกู มากกวา ๓๐ ลา นไร นอกจากนน้ัยังชวยเสริมเสนทางคมนาคมทางน้ํา เพิ่มปริมาณน้ําในบริเวณที่แมนํ้าต้ืนเขิน เจือจางและบําบัดน้ําเสีย เพิ่มปริมาณนํ้าในเขื่อนและแหลง เก็บนาํ้ ตา งๆ ผลิตกระแสไฟฟา ตลอดจนดบั ไฟปา และหมอกควนั จากไฟปา อกี ดว ย วนั ที่ ๑๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๕ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วัมีพระราชบัญชาสาธิตการทําฝนหลวงใหคณะผูแทนจากประเทศสิงคโปรชม ทรงควบคุมใหเมฆนําพาฝนไปตกลงสูพื้นท่ีเปาหมายณ เข่ือนแกง กระจาน จงั หวดั เพชรบรุ ี ในเวลา ๕ ช่วั โมง ตรงเวลาตามทกี่ ําหนด ดังนนั้ เม่อื วันท่ี ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ รฐั บาลไดมีมติเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเปน“พระบดิ าแหง เทคโนโลยขี องไทย” และกาํ หนดใหว นั ท่ี ๑๙ ตลุ าคมของทกุ ปเ ปน “วันเทคโนโลยขี องไทย” พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว ทรงคิดคน กระบวนการทํา ฝนหลวงใหไ ดผ ลดียง่ิ ขึ้น คือเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดพ ระราชทานตาํ ราฝนหลวง ซง่ึ ประดษิ ฐเ ปน ภาพแสดงขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ดิ ว ยคอมพวิ เตอร เพอื่ ผปู ฏบิ ตั ยิ ดึ ถอื เปน แนวเดยี วกนั นอกจากนนั้ ทรงพระกรณุ าเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปทรงสอน เร่ืองฝนหลวง แกนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรยี นวงั ไกลกงั วล ณ ศนู ยป ฏบิ ตั กิ ารฝนหลวง สนามบินบอฝาย จังหวัดประจวบคีรีขันธ ๓๐5802019L01m.indd 30 2/4/16 1:35 PM

ออกอากาศรายการศกึ ษาทศั น ถา ยทอดทางไกลผา นดาวเทยี ม ใหไ ดเ รยี นรทู วั่ กนัอยางกวา งขวางการพัฒนาท่ีดินเพอ่ื จดั สรรทีท่ ํากิน การที่ประชากรเพ่ิมแตท่ีดินทาํ กนิ กลบั ลดนอ ยลง เกษตรกรสว นใหญตองเชาที่ทํากิน ที่ดินบางแหงมีสภาพเส่ือมโทรมขาดความอุดมสมบูรณ เปนสาเหตุใหราษฎรทําผิดกฎหมาย บุกรุกปาสงวนแหง ชาตอิ ยา งรูเทาไมถึงการณ ทรงสอนนักเรียนโรงเรียนวังไกลกังวล สมยั กอน มีพืน้ ทีท่ ่ีไรประโยชน รกรา งวางเปลา ไมส ามารถทํากนิ ได กระจายอยเู กือบทกุ ภูมิภาคของประเทศ เกดิ จากสาเหตุหลายประการ คือ ภาคเหนือ โคนไมทําลายปา ทําไรเลื่อนลอยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ตัดไมโ ดยไมม ีการปลกู ทดแทน ภาคใตเปน ดินเปรี้ยวและดนิ พรุ สว นภาคกลาง ทด่ี นิ เสอ่ื มโทรม หนา ดินถูกทําลายจนแหงแลง พ้ืนดินขาดน้ํากลายเปนดินดาน ซึ่งการแกปญหาแตละภาค เพื่อใหดินมีคุณภาพสําหรับการเพาะปลูกตองอาศัยหลักวิชาการพัฒนาแกไขหลายวิธีการ ซึ่งตางไมซํ้ากันตามสภาพภูมศิ าสตร พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัวทรงชว ยเหลือใหราษฎรมที ่ที าํ กินอยา งจรงิ จังมาตงั้ แต พ.ศ. ๒๕๐๖ ทรงเรง รัดพัฒนาพื้นท่ีจํานวนมากเหลานี้ใหมีคุณภาพ เพ่ือเปดใหเปนท่ี ๓๑5802019L01m.indd 31 2/4/16 1:35 PM

ทํากิน การฟนฟูดินใหเปน ทรัพยากรที่มีคุณคาน้ัน บางแหงไดประโยชนมาก เพราะไดอ นรุ กั ษแ หลง ตน นาํ้ เปนการชะลอการบุกรุก ทาํ ลายปา ดวย การจัดสรรที่ดินทอดพระเนตรเรอื นเพาะชาํ กลา ไมปลกู ปา ทดแทนเพอื่ รกั ษาตน นา้ํ ทํากินใหแกเกษตรกร อยางเพียงพอและยุติธรรม แตไมมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินน้ัน ทรงมีพระราชดําริใหทางราชการ จัดในรูปแบบ “สหกรณการเกษตร” สมาชิกทุกครัวเรือนมีสิทธ์ิ ทํามาหากินบนผืนแผนดินนั้นช่ัวลูกชั่วหลาน แตไมสามารถนํา ทีด่ นิ ไปขาย จาํ นองหรอื โอนใหแ กผใู ดได เพราะเปน ของสวนรวม คอื ของสหกรณก ารเกษตร ในระยะกอรางสรางตวั ชาวนา ชาวไร จะไดร บั การชว ยเหลอื ในดา นเงนิ ทนุ ปยุ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชท จี่ าํ เปน รวมทั้งคาํ แนะนําจากทางราชการ ตราบกระทง่ั เลย้ี งตวั เองได การจดั สรรทด่ี นิ ใหแ กร าษฎรยากจนในลกั ษณะดงั กลา ว รฐั บาล ไดสนองพระราชดําริดําเนินงานในพ้ืนที่พัฒนาไปแลวทั่วประเทศ ในเวลาตอมา ทสี่ าํ คัญอยา งยงิ่ เม่อื พ.ศ. ๒๕๑๘ พระบาทสมเด็จ พระเจา อยหู วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา โปรดกระหมอ มพระราชทาน ท่นี าเน้ือที่ ๕๑,๙๖๗ ไร ในพื้นท่ี ๘ จงั หวดั คอื พระนครศรอี ยธุ ยา ฉะเชงิ เทรา นครปฐม สพุ รรณบรุ ี เพชรบุรี สระบรุ ี ปทุมธานแี ละ ๓๒5802019L01m.indd 32 2/4/16 1:35 PM

นครนายก อันเปนทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ใหรัฐบาลวางโครงการปฏริ ปู ที่ดนิ เพ่ือชว ยเหลอื เกษตรกรทยี่ ากจนตามรูปแบบสหกรณก ารเกษตรทจี่ ดั มากอ นแลว พรอ มทง้ั ใหส าํ นกั งานทรพั ยส นิสวนพระมหากษตั ริยต ัง้ กองทนุ สนับสนนุ สหกรณด ว ย การพระราชทานที่ดินแกชาวไรชาวนาท่ัวไปไดทํากินคือ “ภูมิทาน” จากน้ําพระราชหฤทัย “พอของแผนดิน” ท่ีทรงเมตตารักและหวงใยประชาชน ประดุจลูกของแผนดินอยางไมเส่ือมคลาย เปนพระมหากรุณาธิคุณลนพน และเปนบุญของชาวไทยที่ไดเกิดมาบนผนื แผน ดนิ ไทยหมูบา นสหกรณการเกษตร ในการจัดสรรที่ทํากินแกราษฎรน้ัน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มีพระราชดําริแนะนําใหจัดต้ัง “หมูบานสหกรณการเกษตร” แตละหมูบานมีคณะกรรมการบริหาร มีสํานักสงฆสถานีอนามัย บานสหกรณ และสถานบรกิ ารสาธารณูปโภคอ่นื ๆ ๓๓5802019L01m.indd 33 2/4/16 1:35 PM

ท่เี ปนประโยชน ดงั นน้ั เม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๔ “หมบู า นสหกรณ การเกษตรหบุ กะพง”ณอาํ เภอ ชะอาํ จงั หวดั เพชรบรุ ีจงึ เกดิ ขนึ้ ตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเปนแหงแรก มีพระราชประสงคใหสมาชิกของหมูบานรวมตัวกันในการประกอบการพาณิชยเพอ่ื ไดร บั ผลตอบแทนเตม็ เมด็ เตม็ หนว ย ไมถ กู พอ คา คนกลางกดราคาผลผลิต การกอ ต้งั เปนหมูบ านดังกลา ว สามารถนาํ ไปสกู ารพัฒนาที่เปนองครวม เชน การสรางถนน แหลงนํ้า การสาธารณูปโภคการปลกู พชื การบาํ รงุ ดนิ การเลย้ี งโคพนั ธุ การทาํ ปยุ การฝก อาชพี อนื่ ๆตลอดจนสรา งโรงงานสําหรบั ผลผลติ ในแตละหมูบาน ซ่ึงการรวมตวั เปน กลมุ ยอ มมพี ลงั ความคดิ ทส่ี ามารถสรา งความมน่ั คงทงั้ ตนเองและทอ งถน่ิ ได กจิ การสหกรณจ ึงมีโอกาสเติบโตและขยายออกไปกวา งขวางทวั่ ประเทศ ในเวลาตอ มาไดข ยายโครงงานเปน ศนู ยส าธติเพื่อทดลองกิจกรรมทางการเกษตรออกไปอยางกวางขวาง เปนแบบอยา งใหเกษตรกรในหลายทอ งทดี่ ําเนนิ ตามอยา งสัมฤทธิผลธนาคารโคกระบอื เพอื่ เกษตรกรอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ เม่ือวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๒ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี (ปจจุบันพื้นท่ีนี้อยูในเขตจังหวัดสระแกว)ไดพบวา ชาวไร ชาวนา ประกอบอาชีพไมพอเล้ียงครอบครัว ๓๔5802019L01m.indd 34 2/4/16 1:35 PM

เน่ืองจากเม่ือขายผลผลิตแลวถูกหักคาเชาโคกระบือ ท่ีเชามาใชแรงงานดว ยราคาแพงมาก เปน วงจรชวี ติ ทห่ี นคี วามยากจนไมห ลดุ พน พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั มพี ระราชดาํ รใิ หก รมปศสุ ตั วกระทรวงเกษตรและสหกรณ ดาํ เนนิ โครงการ “ธนาคารโคกระบอืเพื่อเกษตรกรอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ” ชวยแบงเบาคาเชาของเกษตรกรและเปดโอกาสใหไดเปนเจาของโคกระบือดวยเบื้องตนพระราชทานพระราชทรัพยสวนพระองคและโคกระบือทมี่ ีผนู อมเกลา ฯ ถวาย ใหเปนทนุ ดําเนินการ กรมปศุสัตวสนองพระราชดําริ โดยนําโคกระบือในครอบครองจํานวน ๒๘๐ ตัว ออกมาดําเนินการตามระบบของธนาคารเพื่อชวยเหลือใหราษฎรท่ียากจนเชาซ้ือและผอนสงคืนในเวลา ๓ ป กาํ หนดใหบรกิ ารลกั ษณะตา งๆ คอื ใหเ ชา ซอื้ ผอนสงระยะยาว ใหเ ชา เพอ่ื ใชง าน ใหย มื เพอ่ื นาํ ไปผสมพนั ธุ และใหย มื ใชง านโดยมีบัญชีดแู ล รักษา แจกจา ยตามหลกั การของธนาคาร โครงการธนาคารโคกระบือในเวลานั้นนับวาเปนเรื่องใหมแตเปนที่นิยมของเกษตรกรท่ียากจนมาก กิจการธนาคารขยายออกกวา งขวางท่วั ประเทศ ต้ังแตเ ร่มิ ดาํ เนนิ การเม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๒ -พ.ศ. ๒๕๕๗ มีเกษตรกรไดรับความชวยเหลือโคกระบือแลว๒๑๐,๐๑๖ ราย มีเกษตรกรท่ียังอยูในความดูแลของโครงการฯจาํ นวน ๑๑๓,๒๗๔ ราย จาํ นวนโคกระบอื รวมทง้ั สนิ้ ๑๑๔,๔๓๗ ตวัเปน โค จาํ นวน ๗๘,๕๔๖ ตวั และเปน กระบอื จาํ นวน ๓๕,๘๙๑ ตวัเชน ธนาคารโคกระบือท่ีหมูบานกระบืองาม ตําบลดอนชางอําเภอเมืองขอนแกน จังหวัดขอนแกน ธนาคารโคกระบืออาํ เภอนาโยง จังหวดั ตรัง เปน ตน ๓๕5802019L01m.indd 35 2/4/16 1:35 PM

ศูนยศกึ ษาการพัฒนาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงวางรากฐานการศกึ ษาแกประชาชนหลายรปู แบบ พรอ มๆ กบั การสง เสรมิ ใหร าษฎรอยดู กี นิ ดีเพอื่ นาํ พาประเทศไปสคู วามเขม แขง็ ทง้ั การศกึ ษาในระบบโรงเรยี นและนอกโรงเรียน เฉพาะการศึกษานอกโรงเรียน หมายถึง การเรียนรูตลอดชีวิต ดังเชน “ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ” แหลงความรูทางเกษตรกรรมสําหรับวิชาชีพซึ่งเกดิ ขึน้ ระหวา ง พ.ศ. ๒๕๒๓-๒๕๒๗ ศูนยฯ ดังกลาวเปนสถานที่ศึกษา ทดลอง คนควา วิจยั และสาธิต แลวเผยแพร ผลสําเร็จแกเกษตรกรเพ่ือนําไปใช เปนการ ใหบริการทางวิชาการและเทคโนโลยีทาง เกษตรกรรมทุกสาขา ไดแก การเพาะปลูก พืชสวน พชื ไร ขาว การบาํ รงุ ดนิ และฟน ฟูดนิ เชน ดินทราย ดินดาน ดินเปรี้ยว ดินพรุ การประมงนาํ้ จืด นํา้ เค็มและนํ้ากรอย ปา ไม ปา บก ปา ชายเลน การจดั สรรนา้ํ หรอื ชลประทาน เปนการรวมมือของหนวยงานราชการ ดําเนินงานในลักษณะพิพิธภัณฑธรรมชาติ ทมี่ ชี วี ติ เพอ่ื บรกิ ารผมู าขอความรอู ยา งเบด็ เสรจ็ ในสถานท่เี ดยี ว มจี ํานวนศูนย ๖ แหง ใน ๖ ๓๖5802019L01m.indd 36 2/4/16 1:35 PM

จังหวดั ทุกภาคของประเทศ เพราะทุกภาคมอี งคค วามรเู ฉพาะถนิ่ท่ีเกิดจากการทดลองคนควา ในพืน้ ทน่ี ัน้ ๆ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดเสด็จพระราชดําเนินไปทรงงาน ณ ศนู ยท ้ัง ๖ แหง ดงั กลา วดว ยพระองคเองอยา งตอเนอ่ื งดวยมีพระราชประสงคใหเปนองคความรูใหมท่ีนําไปถายทอดใชไดจริง เกิดผลสัมฤทธ์ิในการชว ยพัฒนาอาชีพและคุณภาพชวี ิตราษฎรใหด ีขน้ึ ท่วั กัน ดังนี้ ๑. ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ อาํ เภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ดาํ เนนิ การดานพฒั นาดินทรายและการปลูกปา ๒. ศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี เปนการอนุรักษปาชายเลน และการบาํ บดั นํ้าเสียจากการเลี้ยงกุงกลุ าดาํ ๓. ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อาํ เภอเมอื งนราธวิ าส จงั หวดั นราธิวาส ดําเนินการปรบั ปรุงดนิ เปรยี้ วดวยทฤษฎแี กลงดนิ และพฒั นาพื้นทปี่ าพรุ ๔. ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครอันเน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ อาํ เภอดอยสะเกด็ จงั หวดั เชียงใหม ดําเนินการสรา งฝายชะลอความชุมช้ืน เพ่ือรักษาปาตนนํ้า การปลูกปา ๓ อยางไดประโยชน ๔ อยา ง ๕. ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ อาํ เภอชะอาํ จงั หวดั เพชรบรุ ี ดาํ เนนิ การปอ งกนั ไฟปา ๓๗5802019L01m.indd 37 2/4/16 1:35 PM

ดวยระบบปาเปยก และการใชห ญาแฝกแกป ญ หาดนิ ดาน ๖. ศนู ยศ กึ ษาการพฒั นาภพู านอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริอําเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร ดําเนินการทดลองเร่ืองพนั ธุพืช พนั ธุสัตว ขาวหอมมะลิ ๑๐๕ เหด็ ภพู าน และสุกรภพู าน ดวยพระราชวิสัยทัศนอันกวางไกลของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว ณ บดั น้ี ทกุ ศนู ยไดท าํ หนาท่ี “พิพิธภณั ฑธรรมชาติทม่ี ชี วี ติ ” และเปน “แหลง เรยี นร”ู ใหเ กษตรกรในพน้ื ทแ่ี ละประชาชนท่ัวไปไดเขามาศึกษาเพ่ือนําความรูกลับไปพัฒนาชีวิตและชุมชนตลอดทั้งเปนสถานที่ทัศนศึกษาที่ใหค วามเพลดิ เพลินอกี ดวยโครงการพัฒนาสงิ่ แวดลอ ม สิ่งแวดลอม คือ ทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบดวย ดินนาํ้ และปา ไม สง่ิ แวดลอ มเกอื บทวั่ ประเทศของไทยไดถ กู ทาํ ลายไปในลักษณะตางๆ ในการปรับปรุงสิ่งแวดลอมที่ถูกทําลายเหลานี้ใหฟนคืนความสมบูรณทรงมีพระราชดําริใหจัดโครงการอนุรักษ๓ โครงการ คือ ๑. อนุรักษและพัฒนาทรัพยากรดิน โดยใหความรูแกเกษตรกรถึงวิธีอนุรักษและบํารุงดินใหสมบูรณอยูเสมอตามพระราชดาํ รสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทว่ี า “การปรบั ปรงุทด่ี ินนนั้ ตองอนรุ กั ษผิวดนิ ซึ่งมีความอุดมสมบรู ณไว ไมใหไ ถหรือลอกหนาดินท้ิงไป สงวนไมยืนตนท่ียังเหลืออยู เพ่ือท่ีจะรักษาความชมุ ชนื้ ของดินไว” ๓๘5802019L01m.indd 38 2/4/16 1:35 PM

ปลูกหญา แฝก ๒. อนุรักษทรัพยากรแหลงน้ํา ทรงพระกรุณาใหกอตั้งศูนยพัฒนาหวยฮองไครอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพ่ือศึกษาคน ควา รปู แบบความเหมาะสมสาํ หรบั การพฒั นาพน้ื ทตี่ น นา้ํ ลาํ ธารซ่งึ เปนตน แบบกระจายออกไปท่วั ทุกภมู ภิ าค ๓. อนรุ กั ษท รพั ยากรปา ไม เนื่องจากทรพั ยากรปาไมและทรพั ยากรแหลง นาํ้ เปน สง่ิ คกู นั การทาํ ลายปา ทอี่ ดุ มสมบรู ณ ซงึ่ เปนแหลงตนน้ํา ลําธาร และซึมซับนํ้าเก็บไว ทําใหแหลงนํ้าสูญหายไปดวย เม่ือไมมีปาซึมซับน้ําฝนที่ตกลงมาก็สูญเปลา บางแหงก็หล่งั ไหลลงทว มพน้ื ท่ีทาํ กิน พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวโปรดใหปลกู ปา ทดแทนปาเส่อื มโทรม ดวยวิธี “ปลกู ปา โดยไมตอ งปลกู ”ปลุกจติ สํานึกใหคนไทยรกั ปา ชวยกันปลูกปา รักษาปา เพียงแต“อยา รงั แกและรบกวน” ปา กจ็ ะขน้ึ เองโดยธรรมชาติ สรา งแหลง นาํ้ใหเล้ยี งตนไม และปลูกพันธุไมบ างอยา งเสรมิ ๓๙5802019L01m.indd 39 2/4/16 1:35 PM

โครงการพฒั นาการเกษตร โครงการพฒั นาการเกษตร ครอบคลมุ พน้ื ที่ ๒ ลกั ษณะ คอื ๑. โครงการพฒั นาเกษตรในทส่ี งู ไดแ ก โครงการหลวง ๒. โครงการพัฒนาเกษตรในชนบท เปนโครงการสว นพระองคท ท่ี รงทดลองในบรเิ วณพนื้ ทร่ี อบพระตาํ หนกั จติ รลดารโหฐาน ในพระราชวังดุสิต แลวแพรออกมาสูเกษตรกรทั่วไปทุกภูมิภาค และโครงการพัฒนาอาชีพเกษตรกรในชนบท เปนเกษตรกรที่ไดรับการจัดสรรที่ทํากินในพื้นที่ทุรกันดารที่มีปญหาเร่ืองคุณภาพดนิ มากอน ฉายในไรถั่วแดงของชาวเขาเผา มง ท่พี ระราชทานเมล็ดพันธุใ หปลกู แทนการปลกู ฝน ณ อาํ เภอฝาง จงั หวัดเชียงใหม โครงการพัฒนาเกษตรในท่ีสูง “โครงการหลวง” ลกั ษณะภมู ิประเทศตอนเหนอื ของประเทศไทย เปนภเู ขาและหุบเขาเปนสวนใหญ มีความสูงจากระดับนํ้าทะเล ระหวาง ๔๐5802019L01m.indd 40 2/4/16 1:35 PM

๕๐๐ - ๕,๒๖๕ เมตร อากาศหนาวเย็น บางแหง หนาวจดั น้าํ กลายเปน นา้ํ แขง็ ในฤดหู นาว ทส่ี งู มคี วามสาํ คญั มากเพราะเปน แหลง ตน นาํ้ลําธาร เดิมชาวไทยภูเขาจะถางปา ทําไรเลื่อนลอยและปลูกฝนซึ่งเปนปญหาบ่ันทอนสังคมและเศรษฐกิจ สงผลถึงภาพลักษณของประเทศในสายตาชาวโลก ทรงเยีย่ มชาวไทยภูเขาเผาตางๆ เพ่อื สงเคราะหป ลูกพืชเมืองหนาว และเลกิ การปลูกฝน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงตั้งโครงการหลวงเพื่อพัฒนาชาวไทยภูเขาและเกษตรกรในท่ีสูง เม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๒มีวัตถปุ ระสงคคือ ๑. ชวยเหลือชาวไทยภเู ขาเพ่ือมนุษยธรรม ๒. ลดการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาติ ปา ไม ตน นาํ้ ลาํ ธาร ๔๑5802019L01m.indd 41 2/4/16 1:35 PM

๓. กําจดั การปลกู ฝน ๔. อนุรักษดินและการใชพ้ืนที่อยางถูกตอง ใหปาอยูใน สวนที่ควรเปน ปา ทําไรทาํ สวนในสวนท่คี วรเพาะปลกู ไมรุกลํ้ากัน ๕. ผลติ พชื ผลเพอ่ื เพมิ่ ประโยชนท างเศรษฐกจิ แกป ระเทศ ทรงตั้งสถานีทดลองปลูกพืช เมืองหนาวแทนการปลูกฝน วิจัยการ ปลกู พชื ในทส่ี งู ไดแ ก ปลกู ไมด อก ไมผ ล พืชผักเมืองหนาว เล้ียงสัตว โครงการ แบง ออกเปน ๓ ลกั ษณะ คืองานวจิ ยั งานพฒั นา และงานการตลาด งานวิจยั วา ดว ยการเพาะเลย้ี ง พืชเมืองหนาวและกาแฟ มีสถานีวิจัยทรงเยย่ี มโครงการหลวงดอยอนิ ทนนท ทสี่ ถานเี กษตรหลวงอา งขาง อาํ เภอฝาง สถานเี กษตรหลวงปางดะ อาํ เภอสะเมงิ และสถานีโครงการหลวงดอยอินทนนท อําเภอจอมทอง จังหวัด เชียงใหม งานพัฒนา ตั้งศูนยเพ่ือการพัฒนา ๓๔ แหง นําผล การวิจัยไปสูราษฎร ๕ จังหวัด คือ จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ลําพูน แมฮ อ งสอน และพะเยา งานการตลาด ปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การขนสง การคดั บรรจุ การแปรรปู และวจิ ยั การตลาด ๔๒5802019L01m.indd 42 2/4/16 1:35 PM

โครงการหลวงสามารถเพมิ่ รายไดท ดแทนการปลกู ฝน ใหแ กชาวไทยภเู ขา มโี รงงานอาหารสาํ เรจ็ รปู เกดิ ขน้ึ ๓ แหง พ.ศ. ๒๕๓๑ไดร บั รางวลั มาตรฐานสนิ คา สง ออก รบั รางวลั แมกไซไซ สาขาความเขา ใจระหวา งประเทศ ในฐานะเปน ตน แบบของการกาํ จดั พชื เสพตดิโดยสนั ติวธิ ี พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดจดทะเบยี นเปนมลู นธิ โิ ครงการหลวงมกี ารจดสทิ ธบิ ตั รหญา แฝก ซงึ่ เปน พชื ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วัทรงทดลองวจิ ยั และทรงสนบั สนนุ ใหป ลกู ในพน้ื ทตี่ า งๆ รวมทง้ั พน้ื ที่ลาดชนั เชน พน้ื ทโ่ี ครงการหลวง สวนโครงการพัฒนาเกษตรในชนบท และโครงการพัฒนาอาชีพเกษตรกรในชนบท คือพระราชกรณียกิจอันเปนโครงการสวนพระองคที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงริเร่ิมไวในบริเวณสวนจิตรลดา ซึ่งเปนตนแบบแหงการเรียนรูมาอยางตอเน่ืองตราบถึงปจจุบัน เกษตรกรสามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมไดจาก “โครงการศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ร”ิ ณ แหลง ตางๆ ท้งั ๖ ศนู ย ท่ที รงตัง้ พระราชหฤทัยไวสําหรับเกื้อกูลเกษตรกรของชาติในการสรางอาชีพและพัฒนาตนเองอยา งยงั่ ยืน ๔๓5802019L01m.indd 43 2/4/16 1:36 PM

๔. พระราชกรณยี กจิ ดาŒ นการศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พระราชทานปรญิ ญาบตั ร บณั ฑิตวทิ ยาลยั เทคโนโลยี และอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๓ ทรงงานดา นคอมพวิ เตอรพระราชกรณียกจิ ดา นการศกึ ษา การศึกษาและการเรียนรูเปนเคร่ืองมือในการพัฒนาชีวิตตอเนื่องไปถึงการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั ทรงมบี ทบาทในการพฒั นาการศกึ ษานบั ตงั้ แตท รงขน้ึครองราชย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๙ ตราบกระท่ังทรงดํารงสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ป เม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๙ มีการศึกษาหลากหลายลักษณะทงั้ ในระบบและนอกระบบโรงเรยี น การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ครอบคลมุทกุ ระดบั ชน้ั ทง้ั กอ นวยั เรยี น ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา อาชวี ศกึ ษาอุดมศกึ ษา การศกึ ษาพเิ ศษ และการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี มลวนเปนพระราชกรณียกิจที่ทรงทุมเทบําเพ็ญเพื่อประชาชนชาวไทยใหมีความรูต ลอดมาตราบทกุ วันนี้ ๔๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook