Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 129513_แนวทางการปฏิบัติด้านมวลชนสัมพันธ์สำหรับข้าราชการตำรวจต่อศาสนิกชนต่างๆ

129513_แนวทางการปฏิบัติด้านมวลชนสัมพันธ์สำหรับข้าราชการตำรวจต่อศาสนิกชนต่างๆ

Description: 129513_แนวทางการปฏิบัติด้านมวลชนสัมพันธ์สำหรับข้าราชการตำรวจต่อศาสนิกชนต่างๆ

Search

Read the Text Version

แนวทางการปฏิบัตงิ านด้านมวลชนสัมพนั ธ์สาหรับข้าราชการตารวจ ต่อศาสนิกชนต่างๆ • กฎหมาย/ ระเบียบทีเ่ กยี่ วขอ้ ง • ขอ้ บญั ญตั ทิ างศาสนา • แนวทางการปฏบิ ตั ิ • ขอ้ ควรระวงั • ขอ้ ยกเวน้ โดย สานักงานตารวจแห่งชาติ และ คณะทางานจดั ทาแนวทางการปฏิบตั งิ านด้านมวลชนสัมพนั ธส์ าหรับข้าราชการตารวจต่อศาสนิกชนต่างๆ คณะอนุกรรมการ ก.ตร.เกีย่ วกบั การส่งเสรมิ จริยธรรมและการพฒั นาคุณธรรม คณะกรรมการข้าราชการตารวจ

สารบญั * หนังสอื ตร. ท่ี ๐๐๓๔.๑๗๒/ว ๔๘ ลง ๑๗ ธ.ค.๖๓ เร่ือง แจ้งประชาสัมพนั ธ์แนวทางการปฏบิ ตั ิงาน ดา้ นมวลชนสัมพนั ธส์ าหรบั ขา้ ราชการตารวจตอ่ ศาสนกิ ชนต่าง ๆ * หนงั สอื สง.ก.ตร. ท่ี ๐๐๑๒.๑๒/๓๘๓ ลง ๖ พ.ย.๖๓ เรยี น ผบ.ตร.(ผา่ น ผบช.ศ.) เรื่อง แจ้งมติ ก.ตร. ในการประชุมครงั้ ท่ี ๑๐/๒๕๖๓ เม่อื ๒๙ ต.ค.๖๓ ใหค้ วามเหน็ ชอบรา่ งแนวทางการปฏบิ ัติงาน ด้านมวลชนสัมพนั ธ์สาหรับขา้ ราชการตารวจตอ่ ศาสนกิ ชนตา่ ง ๆ ตามที่ ตร.เสนอ โดยให้ ตร.แจ้งเวียน ให้หน่วยงานในสังกดั รบั ทราบและนาไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั หิ น้าทีข่ องขา้ ราชการตารวจต่อไป ทง้ั นี้ ทปี่ ระชมุ ให้การรับรองมตใิ นเรื่องน้ีและให้ดาเนนิ การตอ่ ไปได้ โดยไมต่ อ้ งรอรบั รองรายงานการประชมุ * บันทึก บช.ศ. ลง ๒๘ ต.ค.๖๓ ทา้ ยหนังสือ บก.อก.บช.ศ. ดว่ นทส่ี ุด ท่ี ๐๐๓๔.๑๗๒/๓๖๑๓ ลง ๒๘ ต.ค.๖๓ เร่อื ง เชิญช้แี จงในการประชุม ก.ตร. ครงั้ ที่ ๑๐/๒๕๖๓ เมอื่ ๒๙ ต.ค.๖๓ โดยมอบ ผบก.อก.บช.ศ. เป็น ผ้แู ทนเขา้ ร่วมประชุมฯ * หนงั สอื สง.ก.ตร. ด่วนท่ีสุด ที่ ๐๐๑๒.๑๒/๓๖๒ ลง ๒๒ ต.ค.๖๓ เร่อื ง เชญิ ชแ้ี จงในการประชมุ ก.ตร. ครั้งท่ี ๑๐/๒๕๖๓ เม่ือ ๒๙ ต.ค.๖๓ โดยมีระเบียบวาระท่ีเกี่ยวขอ้ งกับ บช.ศ. ในวาระที่ ๔ เร่ืองทเี่ สนอ เพอ่ื พิจารณา เรอ่ื งท่ี ๕ รา่ งแนวทางการปฏิบตั งิ านด้านมวลชนสมั พันธ์สาหรบั ข้าราชการตารวจตอ่ ศาสนกิ ชนตา่ ง ๆ * หนังสอื บช.ศ. ท่ี ๐๐๓๔.๑๗๑/๑๘๐๔ ลง ๑๔ ต.ค.๖๓ เรยี น ผบช.สง.ก.ตร. เรอ่ื ง การจัดทารา่ งแนวทาง การปฏิบัตงิ านด้านมวลชนสัมพนั ธ์สาหรบั ข้าราชการตารวจต่อศาสนกิ ชนต่าง ๆ โดยเสนอ ก.ตร. พิจารณาให้ ความเห็นชอบรา่ งแนวทางการปฏบิ ตั งิ านฯ ดงั กลา่ ว * บนั ทกึ ตร. ลง ๕ ต.ค.๖๓ ทา้ ยหนงั สอื บช.ศ. ที่ ๐๐๓๔.๑๗๒/๑๕๔๔ ลง ๑๐ ก.ย.๖๓ เรื่อง การจัดทา ร่างแนวทางการปฏิบตั งิ านด้านมวลชนสมั พันธ์สาหรบั ขา้ ราชการตารวจต่อศาสนิกชนตา่ ง ๆ โดยให้นา ร่างแนวทางการปฏบิ ตั ิงานฯ เสนอ ก.ตร.พิจารณาให้ความเหน็ ชอบร่างแนวทางการปฏิบัติงานฯ ก่อนแจ้งเวยี นให้หน่วยงานในสังกัด ตร. ใช้เปน็ แนวทางในการปฏิบัติงานตอ่ ไป * คานยิ ม พุทธ อิสลาม คริสต์ พราหมณ์-ฮินดู ซิกข์ * รา่ งแนวทางการปฏบิ ตั งิ านดา้ นมวลชนสัมพนั ธ์สาหรบั ข้าราชการตารวจต่อศาสนกิ ชนต่าง ๆ * หนังสือ ตป.สง.ก.ตร. ที่ ๐๐๑๒.๑๒/๒๘๘ ลง ๘ ก.ย.๖๓ เรื่อง แจ้งมติ อ.ก.ตร.จริยธรรม ในการประชุมครงั้ ที่ ๗/๒๕๖๓ เมือ่ ๑ ก.ย.๖๓ * บนั ทกึ บช.ศ. ลง ๓๑ ส.ค.๖๓ ท้ายหนังสอื บก.อก. ท่ี ๐๐๓๔.๑๗๒/๒๙๗๐ ลง ๒๘ ส.ค.๖๓ เร่อื ง ขอเชญิ ประชุม อ.ก.ตร.จริยธรรม ครั้งที่ ๗/๒๕๖๓ เมอื่ ๑ ก.ย.๖๓ โดยมอบ ผบก.อก.บช.ศ. เป็นผแู้ ทน เขา้ รว่ มประชุมฯ * หนังสอื ตป.สง.ก.ตร. ที่ ๐๐๑๒.๑๒/๑๒๔๘ ลง ๒๗ ส.ค.๖๓ เร่อื ง ขอเชญิ ประชมุ อ.ก.ตร.จริยธรรม คร้ังท่ี ๗/๒๕๖๓ เม่อื ๑ ก.ย.๖๓ โดยมรี ะเบียบวาระท่ีเกยี่ วข้องกบั บช.ศ. ในวาระท่ี ๓ เรื่องทเ่ี สนอ เพอ่ื พจิ ารณา เร่ือง ร่างแนวทางการปฏิบตั ิงานดา้ นมวลชนสมั พนั ธ์สาหรบั ขา้ ราชการตารวจต่อ ศาสนิกชนต่าง ๆ (บช.ศ.) * คาส่งั ตร. ที่ ๗๒๔/๒๕๖๒ ลง ๑๓ ธ.ค.๖๒ เร่อื ง แตง่ ต้งั คณะทางานจดั ทาแนวทางการปฏบิ ตั ิงาน ดา้ นมวลชนสมั พันธส์ าหรบั ข้าราชการตารวจตอ่ ศาสนกิ ชนตา่ ง ๆ .............................





























- - แนวทางการปฏบิ ัติงานดา้ นมวลชนสมั พ เมื่อรับแจง้ เหตุ การตรวจสอบพระภกิ ษุ สามเณร นักพรตหรอื นักบวชใ ขอ้ คาถามข้อท่ี 1 นกั พรตหรือนักบวชในศาสนาตา่ งๆ มคี วามผิดตามกฎห กฎหมาย/ระเบยี บ ทเี่ กยี่ วข้อง - ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 208 ผูใ้ ดแตง่ กายหรือใช้เคร่อื งหมายท่แี สดงวา่ เ ข้อบัญญัตทิ างศาสนา บคุ คลเชน่ วา่ นัน้ ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กนิ หนึง่ ปี หรอื ป แก้ไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับท่ี 26) พ.ศ.2 ตามมาตรานี้สรปุ สาระสาคัญไดด้ งั นี้ 1. แตง่ กายหรอื ใชเ้ ครือ่ งหมายที่แสดงว่าเป็นภิกษุ สามเณ 2. เจตนาท่ีกระทาลงไปเพอ่ื ให้คนอ่นื เชือ่ ว่าเป็นเช่นน้นั 3. เพื่อใหบ้ ุคคลอน่ื เช่ือว่าตนเปน็ เชน่ น้นั พุทธ 1. พระภกิ ษุ สามเณรตอ้ งมีหนงั สอื สุทธเิ พ่อื ใช้เป็นหลกั ฐา สิทธฯิ ทานิติกรรมสัญญา ตดิ ต่อหน่วยงานราชการหรอื เอ บตั รประจาตวั ผู้ปว่ ย หนังสอื เดนิ ทาง ฯลฯ รวมทัง้ ใช้ตรวจ เป็นผูอ้ อกให้, การเขา้ สงั กดั เป็นหนา้ ท่เี จ้าอาวาสทส่ี งั กัดอ และประทับตรารับรอง 2. ลกั ษณะของการปลอมบวชตามมาตราน้ี แยกได้ 2 ลกั 2.1 หมายถึงผูเ้ อาผา้ ไตรจวี รมานุ่งหม่ คือบวชเองโดย 2.2 หมายถงึ ผทู้ ไ่ี ด้ทาการบรรพชาอปุ สมบทถูกต้องต แตไ่ ม่ละการแตง่ กายอย่างเพศบรรพชิต หรือพน้ จากความเป 3. มติมหาเถรสมาคมครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันท่ี 1

คาส่ัง ตร. ท่ี 724/2562 ลง 13 ธ.ค.62 เร่ือง แต่งตง้ั คณะทางานจัดทาแนวทางการปฏิบัติงานด้านมวลชนสัมพันธ์ 1 สาหรับขา้ ราชการตารวจตอ่ ศาสนกิ ชนตา่ ง ๆ มติทป่ี ระชมุ ก.ตร. คร้งั ท่ี 10/2563 วันพฤหัสบดที ี่ 29 ต.ค.63 เวลา 14.00 น. ณ ห้องประชุมศรียานนท์ ช้ัน 2 อาคาร 1 ตร. เห็นชอบร่างแนวทางการปฏิบัตงิ านดา้ นมวลชนสมั พนั ธ์สาหรบั ขา้ ราชการตารวจตอ่ ศาสนกิ ชนต่าง ๆ ตามที่ ตร. เสนอ โดยให้ ตร. แจง้ เวียนใหห้ น่วยงานในสังกดั รับทราบและนาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบัตหิ น้าท่ีของขา้ ราชการตารวจตอ่ ไป พนั ธส์ าหรับข้าราชการตารวจต่อศาสนกิ ชนตา่ งๆ ในศาสนาใด มวี ิธกี ารอย่างไร กรณีตรวจพบบุคคลแต่งกายเลยี นแบบพระภิกษุ สามเณร หมายใด ตอ้ งดาเนินการอย่างไร เปน็ ภกิ ษุ สามเณร นักพรตหรอื นักบวชในศาสนาใดโดยมชิ อบ เพื่อให้บุคคลอ่นื เชื่อว่าตนเปน็ ปรบั ไมเ่ กนิ สองหมนื่ บาท หรอื ทั้งจาทงั้ ปรับ (อัตราโทษ แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยมาตรา 4 แหง่ พ.ร.บ. 2560) ณร นกั พรตหรอื นกั บวช ในศาสนาใดโดยมิชอบ านยนื ยันวา่ เปน็ พระภิกษุ สามเณรทถ่ี ูกตอ้ ง เพอื่ ใช้เป็นหลักฐานยืนยนั ตวั บุคคล ในกรณีท่ใี ช้ อกชน เป็นหลักฐานทห่ี น่วยงานตา่ งๆใช้ตรวจสอบตัวบุคคล เมือ่ จะออกหนงั สือสาคญั เช่น จสอบตัวบคุ คลเมื่อจะถอนเงิน รับพัสดุ เป็นตน้ หนงั สือสุทธิเปน็ หนา้ ท่ีของพระอุปัชฌาย์ อยู่, ผรู้ บั รองหนังสอื สทุ ธิ เปน็ หน้าทีข่ องพระสังฆาธิการระดับเจ้าคณะอาเภอขนึ้ ไปลงลายมือชอื่ กษณะ คอื ยไมม่ พี ระอปุ ชั ฌายบ์ วชให้ ตามหลักพระธรรมวนิ ัย แตต่ ่อมาไดป้ ระพฤตลิ ่วงละเมิดอาบตั ิร้ายแรง คือปาราชิกข้อใดข้อหนึง่ ป็นภกิ ษไุ ปแล้วเพราะตอ้ งโทษอาบัตปิ าราชกิ แล้วบวชใหม่โดยปิดบังความจริงต่อพระอุปชั ฌาย์ 10 มกราคม 2562 ให้มีการตรวจสอบประวัติด้านอาชญากรรมของบุคคลก่อนเข้ารับ

แนวทางปฏิบัติ การบรรพชาอุปสมบท โดยเจ้าอาวาสหรือพระอุป การบรรพชาอปุ สมบท และมหี นังสือถึงสานักงานพระพุท อาชญากร หรือสานักงานพิสูจน์หลักฐานประจาจังหวัด หรือสานักงานพิสูจน์หลักฐานประจาจังหวัด ตรวจส พระพุทธศาสนาแหง่ ชาติหรอื สานักงานพระพุทธศาสนาจ อิสลาม - ศาสนาอิสลามไมม่ นี กั พรตหรอื นกั บวช - คณะกรรมการกลางอสิ ลามและคณะกรรมการอสิ ลามป ครสิ ต์ - มีนักบวชท้ังเพศชายและเพศหญิง บางคณะมคี วามเคร่ง พราหมณ์ – ฮนิ ดู - พราหมณ์เป็นนักบวชในศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู สบื เชื้อส ซกิ ข์ - ศาสนาจารยช์ าวซิกข์ โดยปกตมิ ักสวมเคร่อื งแบบสขี าวโ แต่มักจะไม่คอ่ ยปรากฏ พทุ ธ 1. หากมีเหตุอนั ควรสงสัยว่ามีบุคคลแต่งกายเลยี นแบบพ ของพระภกิ ษุ สามเณร เพอ่ื ใช้เป็นหลกั ฐานยืนยนั วา่ เป็นพ ให้เกยี รติแกบ่ คุ คลดังกลา่ ว หากเป็นพระภกิ ษุ สามเณรจร 2. นิมนต์ไปในทลี่ บั ตาที่เหมาะสมเชน่ ในรถยนต์ ขอตรว กบั วดั ตน้ สงั กดั เพอื่ ให้ยืนยนั วา่ เปน็ พระภิกษุ สามเณรจริง ในพ้นื ทพ่ี บตวั ระหว่างรอการยนื ยันตรวจสอบ อสิ ลาม - หากสงสยั ว่ามีผ้แู ตง่ กายเลียนแบบบุคคลดังกล่าวใหเ้ จ้าหน

2 ปัชฌาย์ตรวจสอบคุณสมบัติเบ้ืองต้น และรวบรวมเอกสารประจาตัวของผู้ขอ เข้ารับ ทธศาสนาแห่งชาติหรือสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด เพ่ือส่งข้อมูลให้กองทะเบียนประวัติ ตรวจประวัติบุคคลจากเลขประจาตัวประชาชน 13 หลัก เม่ือกองทะเบียนประวัติอาชญากร สอบประวัติบุคคลจากเลขบัตรประจาตัวประชาชนเสร็จเรียบร้อยแล้ว แจ้งให้สานักงาน จังหวัดทราบภายใน 15 วัน ประจาจังหวัดและคณะกรรมการอิสลามประจามสั ยิดมชี ุดยาว(โต๊ป)พร้อมเข็มประดบั งครัดในการสวมชุดเคร่อื งแบบของคณะ แต่บางคณะก็สวมชุดแบบลาลองได้ สายจากสกุลท่ีชัดเจน (จากบิดาที่เปน็ พราหมณ์) โพกศรี ษะสอี ะไรกไ็ ด้ แตเ่ มอ่ื อยู่นอกศาสนสถาน อาจสวมเสื้อผ้าลาลองได้โดยไม่ผิดวินัย พระภกิ ษุ สามเณร ใหเ้ จ้าหนา้ ที่ตารวจทาการตรวจหนงั สอื สุทธิหรอื บตั รประจาตวั ประชาชน พระภิกษุ สามเณรทถี่ ูกตอ้ ง โดยให้นมิ นต์เข้าไปตรวจสอบในสถานท่ีทีเ่ หมาะสมเพ่อื เปน็ การ ริง วจหนังสอื สุทธิหรือบัตรประจาตัวประชาชนของพระภกิ ษุ สามเณร พร้อมท้งั ตรวจสอบ ง กรณยี ังไมส่ ามารถประสานวัดตน้ สังกดั ได้ เจ้าหน้าท่ตี ารวจจะนิมนต์ไปไว้ที่เจา้ คณะท้องถ่นิ น้าที่ขอดบู ตั รทอี่ อกจากกระทรวงมหาดไทยและตดิ ต่อสานกั งานคณะกรรมการอิสลามประจาจงั หวัด

ขอ้ ควรระวัง คริสต์ ข้อยกเวน้ - หากสงสัยวา่ มีผู้แต่งกายเลียนแบบนักพรต หรอื นกั บวช ลักษณะนั้น ๆ เพ่อื ทาการตรวจสอบ พราหมณ์ – ฮนิ ดู - ปฏบิ ตั ิเหมือนบุคคลทวั่ ไป ซกิ ข์ - ปฏบิ ตั ิเหมือนบคุ คลทั่วไป - หากสงสยั ว่ามีผแู้ ตง่ กายเลยี นแบบศาสนาจารยช์ าวซกิ ข กรณีไมแ่ นใ่ จว่า จะมีอาวุธหรือสงิ่ ผดิ กฎหมายอน่ื ในกาย ข

3 ชให้เจา้ หน้าทีต่ ารวจขอดบู ตั รบรรพชติ หรือแจ้งให้มุขนายก/เจา้ คณะนกั บวชท่มี ีชุดเครื่องแบบใน ข์ขอใหต้ ิดต่อต้นสงั กดั หรอื ตรวจสอบได้ที่ สมาคมศรีคุรุสิงห์สภา (วดั ซิกข)์ กรุงเทพฯ ขอให้ทาการตรวจค้นตามหลกั กฎหมายกอ่ นพาตวั ไป -

เมือ่ รับแจง้ เหตุ/พบ หากพบพระภกิ ษุ สามเณร นักพรตหรอื นักบวชในศาสน ขอ้ คาถามข้อท่ี 2 หรือดสู ื่อลามกอนาจาร เจ้าหน้าทีต่ ารวจควรดาเนินกา กฎหมาย/ระเบียบ ประมวลระเบยี บการตารวจเกยี่ วกับคดี ลักษณะท่ี 3 บ ทเ่ี กยี่ วข้อง ขอ้ 40 วรรคสอง นอกจากอาณัติของคณะสงฆแ์ ล้ว ยงั ม ขึ้นไปอกี เช่น พูดเกย้ี วหญิงทานองชสู้ าว ถกู ต้องเนื้อตวั ห ขอ้ บญั ญัตทิ างศาสนา กัญชา เล่นการพนันต่างๆ และนุง่ ห่มอยา่ งคฤหัสถ์ เปน็ ต้น เช่นเดียวกับกรณที ี่พระภกิ ษุ สามเณรประพฤติผิดต่ออาณ พทุ ธ 1. พระภกิ ษุ สามเณรอย่กู ับสีกาสองต่อสอง หรอื ดวู ดี ิโอท หลักฐานและดุลพินจิ ของเจา้ คณะผู้ปกครองสงฆ์ 2. ตามพระธรรมวินยั บญั ญตั วิ ่า ภิกษอุ ยสู่ องตอ่ สองกับผ 2.1 ปาราชิก ภิกษุประพฤติลว่ งละเมดิ แลว้ ขาดจากค (ธรรมอนั ยิง่ ของมนษุ ย์) ทีไ่ มม่ ใี นตน 2.2 สงั ฆาทเิ สส ต้องอยปู่ รวิ าสกรรม (คือ กกั ขัง ปฏิบ 2.3 ปาจิตตยี ์ แสดงอาบตั หิ รือบอกกล่าวต่อหน้าภิกษ อสิ ลาม - ศาสนบัญญัติกาหนดวา่ ห้ามชายหญิงเขา้ ใกลก้ ารผิดประ - ถา้ ชายหญงิ ทเี่ ป็นโสดผิดประเวณีมีโทษเฆยี่ น 100 ครงั้ คริสต์ - พระบัญญัติของพระผู้เป็นเจ้าหา้ มประพฤติผดิ ในกาม ห พราหมณ์ – ฮนิ ดู - ไมม่ ีข้อบญั ญัติทางศาสนา

4 นาใด ประพฤติไม่เหมาะสม เชน่ อยู่กับหญิงอนื่ สองตอ่ สอง (กรณที ่ไี ม่เขา้ ข่ายพรากผเู้ ยาว์) ารอย่างไร บทท่ี 5 มคี วามประพฤติบางอย่างซึ่งถอื ว่าเป็นความผิดต่อพระพทุ ธบญั ญัตริ ้ายแรงยง่ิ กว่าอาณัติสงฆ์ หญงิ หรืออยู่ในท่ีลบั หูลับตากบั หญิงสองตอ่ สอง เสพเคร่อื งดองของเมา เช่น สรุ า ยาฝน่ิ และ น ในกรณีเชน่ นีใ้ ห้ตารวจพาพระภิกษุ สามเณรทปี่ ระพฤติดงั กล่าวไปมอบให้แกเ่ จา้ คณะทอ้ งถิ่น ณัติของคณะสงฆ์ดงั กลา่ วแล้ว ทไี่ ม่เหมาะสม ไม่ผดิ พระวินยั รา้ ยแรง ไมผ่ ดิ กฎหมาย เพยี งแตไ่ มเ่ หมาะสม ท้ังนจ้ี ึงขนึ้ อยูก่ บั ผ้หู ญงิ ในท่ีลบั ตาปรับอาบตั ิได้ 3 อย่าง คือ ปาราชกิ สังฆาทิเสส และปาจติ ตีย์ ความเปน็ พระภิกษมุ ี 4 อย่าง คอื 1.เสพเมถนุ 2.ลักทรัพย์ 3.ฆ่ามนุษย์ 4.อวดอุตริมนุสธรรม บัติธรรม พจิ ารณาตน) จงึ จะพ้นได้ ษุท่ีมีศีลเป็นปกตจิ ึงจะพน้ ได้ ะเวณโี ดยไมไ่ ดท้ าการนกิ ะห์ สมรส ง และถ้ามีคู่สมรสแล้วผิดประเวณีต้องโทษด้วยการขวา้ งจนตาย หากผู้ใดละเมดิ กเ็ ปน็ บาป เปน็ ความผิดทางด้านศาสนา

แนวทางปฏิบัติ ซิกข์ - ตามวนิ ยั แหง่ ศาสนาซิกข์ หา้ มศาสนาจารยป์ ระพฤติผิดใ ข้อควรระวัง หรือส่ืออันใดรวมทงั้ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อนั นามาซง่ึ ความเ ข้อยกเว้น พทุ ธ 1. เม่ือได้รบั แจง้ และตรวจพบ ให้ตรวจสอบหนงั สือสุทธเิ พร้อมหญิงดว้ ย เพอ่ื ให้เจา้ คณะท้องถ่ินในเขตทอ้ งท่ีพิจาร ควรปรับอาบัติระดับใด เพราะหญิงในทน่ี ้ี หากเป็นมารดา 2. ประสานกบั เจา้ อาวาสหรือเจ้าคณะท้องถนิ่ พิจารณาส จงั หวดั ในพ้นื ที่ เพื่อความเรยี บรอ้ ยในการดาเนนิ การ หาก อสิ ลาม - ปฏิบัติเหมอื นบคุ คลทั่วไป ครสิ ต์ - ปฏบิ ตั ิเหมือนบุคคลทว่ั ไป พราหมณ์ – ฮนิ ดู - ปฏิบัติเหมอื นบคุ คลทัว่ ไป ซกิ ข์ - ปฏิบัติเหมือนบุคคลทัว่ ไป และแจง้ ให้ตน้ สังกัดทราบเพ - กรณีทไี่ มย่ อมไป ให้เจ้าหน้าทน่ี ิมนต์ท่านไปวัดท่ีอยู่ใกล้ท ใหด้ าเนนิ การตามขนั้ ตอนตามกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องต่อไป ห

5 ในกาม ต่อหญิงอ่นื นอกจากภริยาของตน ไมว่ ่าในรูปแบบใด ในเชิงเพศสัมพันธ์ หรอื สง่ิ เล้าโลมแหง่ อารมณ์เพศ ให้ถือว่าเป็นความผิดข้นั รา้ ยแรง เป็นลาดับแรก หากเปน็ พระภกิ ษจุ รงิ ใหน้ มิ นตไ์ ปพบเจา้ คณะท้องถนิ่ ในเขตท้องท่ที ีพ่ บตัว รณาดาเนนิ การ เพราะการพจิ ารณาโทษทางพระวนิ ัยขนึ้ อย่กู ับหลักฐานประกอบว่า าหรอื พสี่ าวแทๆ้ กอ็ าจจะตอ้ งพจิ ารณาอกี อยา่ งหนง่ึ สอบสวน หรือเจ้าหนา้ ทสี่ านกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ หรือสานกั งานพระพุทธศาสนา กพบวา่ มคี วามผดิ จริงจะไดเ้ ปน็ ประจกั ษพ์ ยานได้ พื่อปลดออกหรอื ดาเนินการตามเห็นสมควร ท่ีสุด และแจง้ ต่อเจ้าคณะในเขตทอ้ งทีเ่ พ่ือไตส่ วน และพจิ ารณาโทษทางพระวินยั หลังจากนน้ั หรอื กรณจี าเป็นใหน้ าตัวไปตามประมวลระเบียบการตารวจเกย่ี วกับคดฯี ขอ้ 40 วรรคสอง -

เมอื่ รับแจ้งเหตุ/พบ ในการกวดขันวนิ ยั จราจรหากพบกรณีดังตอ่ ไปน้ี ควรป ขอ้ คาถามข้อที่ 3 3.1 พระภกิ ษุ สามเณร นกั พรตหรอื นักบวชในศาสนาใ กฎหมาย/ระเบียบ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง - พ.ร.บ.จราจรทางบก (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2522 แก้ไขเพ มาตรา ๓๑/๑ ในขณะขบั รถในทางเดินรถ ผู้ขับขี่ตอ้ งมใี บ ข้อบัญญตั ทิ างศาสนา ในกรณที ่ผี ู้ขับข่แี สดงใบอนญุ าตขบั ข่ีด้วยวิธกี ารทางข ถอื วา่ ผู้ขับขี่มีใบอนญุ าตขับข่ีอยู่กับตวั ตามวรรคหนึ่งแลว้ มาตรา 152 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏบิ ตั ติ ามมาตรา 31/1 - พ.ร.บ.รถยนต์ พ.ศ.2522 มาตรา ๖๔ ผู้ใดขับรถโดยไม่ได้รับใบอนุญาตขบั รถ ตอ้ งร พทุ ธ 1. การทพ่ี ระภิกษุ สามเณรขบั รถ ทางพระวินยั มีความผ ผูป้ กครองสงฆ์จะลงโทษสถานเบา คอื วา่ กลา่ วตักเตือนห หรือคาสัง่ หา้ มพระภิกษุ สามเณรในเขตปกครองขับรถยน 2. ในกรณีพระภกิ ษุ สามเณรทีม่ ใี บขับข่ี จะเกิดขึ้นเฉพาะ มีการแจง้ สญู หาย และขอทาใบอนุญาตขบั ข่ใี หม่ โดยจะเ สามเณรน้ันทางกรมการขนส่งทางบกจะไม่ดาเนนิ การให้ 3. มติมหาเถรสมาคมท่ี 183/2563 เม่ือ 20 มีนาคม พ 3.1 แจ้งเจ้าคณะผปู้ กครองใกลช้ ิดตามลาดับสอดสอ่ งดแู 3.2 แจ้งมตมิ หาเถรสมาคมไปยงั สานกั งานตารวจแหง่ ช อิสลาม - ไม่มขี ้อบญั ญัตทิ างศาสนา ครสิ ต์ - ไมม่ ีขอ้ บัญญัติทางศาสนา

6 ปฏิบัติอย่างไร มีขอ้ หา้ มทางศาสนา หรือมีข้อยกเวน้ ทางกฎหมายหรอื ไมอ่ ย่างไร ใด ขับขรี่ ถยนตห์ รอื รถจักรยานยนต์ พ่ิมเติมโดย พ.ร.บ. จราจรทางบก (ฉบับท่ี 12) พ.ศ.2562 บอนุญาตขับข่อี ยู่กับตัวและต้องแสดงต่อเจ้าพนักงานจราจรเม่ือขอตรวจ ข้อมลู อิเลก็ ทรอนกิ ส์หรือสาเนาภาพถ่าย ใบอนญุ าตขับขีต่ ามทีก่ รมการขนสง่ ทางบกกาหนดให้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกนิ หนงึ่ พนั บาท ระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หนึง่ เดอื น หรอื ปรับไม่เกนิ หน่งึ พนั บาท หรือท้งั จาทงั้ ปรับ ผดิ เป็นอาบตั ิไม่หนักนกั แต่อาจถูกสงั คมตเิ ตียนและเป็นการไม่เหมาะสม บางพื้นท่ีเจ้าคณะ หรอื ทาทณั ฑ์บน แตใ่ นบางพน้ื ทีเ่ จ้าคณะผู้ปกครองสงฆท์ ม่ี ีความเขม้ งวด อาจจะออกระเบยี บ นต์ และมกี ารกาหนดโทษสาหรบั พระภิกษุ สามเณรผ้ฝู ่าฝืนด้วย ะในกรณีทีพ่ ระภิกษุ สามเณรเคยมีใบอนญุ าตขับขกี่ ่อนที่จะเข้ามาบรรพชาอุปสมบท ในกรณี เปน็ ใบอนุญาตขบั ข่ีที่ระบชุ อ่ื เป็นชอื่ พระภกิ ษุ แต่การทาใบอนุญาตขับข่ีใหมใ่ ห้กับพระภิกษุ พ.ศ.2563 เรอ่ื งกรณีพระภิกษุ สามเณรขับขีร่ ถยนตแ์ ละรถจักรยานยนต์ แลกาชับใหพ้ ระภกิ ษุ สามเณรปฏิบตั ิเอ้อื เฟื้อต่อพระธรรมวินัย กฎหมายบ้านเมอื ง และจารตี ประเพณี ชาติในการตรวจตราการขบั ข่ีรถยนต์และจกั รยานยนตข์ องพระภกิ ษุ สามเณร เยีย่ งประชาชนทัว่ ไป

แนวทางปฏิบัติ พราหมณ์ – ฮนิ ดู - ไม่มขี ้อบญั ญัติทางศาสนา ข้อควรระวัง ซิกข์ ขอ้ ยกเว้น - ไม่มีขอ้ บญั ญตั ทิ างศาสนา พุทธ 1. ขอตรวจสอบหนงั สอื สุทธิหรือบตั รประจาตัวประชาชน 2. ขอตรวจสอบใบอนุญาตขบั ข่ี กรณีไมม่ ีใบอนุญาตขับข ตามกฎหมายต่อไป อิสลาม - ปฏบิ ัติเหมอื นบคุ คลทัว่ ไป ครสิ ต์ - ปฏบิ ัติเหมือนบคุ คลทว่ั ไป พราหมณ์ – ฮินดู - ปฏบิ ัติเหมือนบุคคลทั่วไป ซกิ ข์ - ปฏบิ ตั ิเหมือนบุคคลทว่ั ไป - เจา้ หน้าทีต่ ารวจควรใช้คาพดู ท่ีสภุ าพและเหมาะสม - หากเป็นพระภิกษจุ รงิ ขับรถขอให้พิจารณาเปน็ กรณีๆ เพ กอ็ าจมกี ารเสยี ชีวิต หรือเกดิ ความเสยี หายร้ายแรง เจา้ หน

7 นของพระภิกษุ สามเณร ด้วยเคารพและสุภาพ ขี่ ใหน้ ิมนต์ไปพบเจ้าคณะทอ้ งถนิ่ ในเขตพ้ืนที่ที่ตรวจพบการกระทาผิดนั้นก่อนดาเนนิ คดี พราะในบางครงั้ อาจมีเหตุจาเปน็ หรือเหตุปัจจบุ ันทนั ด่วน หากไมต่ ดั สนิ ใจทาเช่นน้ัน นา้ ทต่ี ารวจจะตอ้ งพิจารณาสอบถามรายละเอยี ด และพิจารณากรณีเชน่ นีด้ ว้ ย

เม่ือรบั แจ้งเหตุ/พบ 3.2 การทพี่ ระภกิ ษุ สามเณร นกั พรตหรือนักบวชในศา ขอ้ คาถามข้อที่ 3 - พ.ร.บ.จราจรทางบก (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2522 แกไ้ ขเพ กฎหมาย/ระเบยี บ มาตรา ๑๒๒ ผู้ขับขรี่ ถจกั รยานยนตแ์ ละคนโดยสารรถจกั ท่เี กีย่ วข้อง รถจักรยานยนต์ ข้อบัญญัติทางศาสนา หา้ มมิให้ผู้ขับขร่ี ถจกั รยานยนตต์ ามวรรคห โดยเฉพาะเพ่อื ป้องกันอันตราย ลักษณะและวิธีการใช้หมวกเพื่อปอ้ งกนั อัน ความในวรรคหน่งึ มใิ หใ้ ช้บงั คบั แก่พระภิกษ ตามประเพณีนยิ มน้นั หรอื บคุ คลใดท่ีกาหนดในกฎกระทร พทุ ธ - ไมม่ ีข้อบญั ญัติทางศาสนา แต่ไม่ควรขับข่รี ถจักรยานยน อิสลาม - การแต่งกายของชายมุสลิมบางคนมกี ารสวมหมวกและโ - การแต่งกายของสตรีมสุ ลมิ ตอ้ งปกปดิ เรือนร่าง(ฮิญาบ)บ ครสิ ต์ - ไมม่ ขี อ้ บญั ญัตทิ างศาสนา พราหมณ์ – ฮินดู - ไม่มขี อ้ บญั ญตั ทิ างศาสนา ซกิ ข์ - ตามวินยั แห่งศาสนาซิกข์ ชาวซิกขต์ ้องโพกศรี ษะ และได ศาสนาซกิ ข์ อาศยั ช่องโหวแ่ ห่งกฎหมายคลมุ ศรี ษะด้วยผ้า

8 าสนาใด ไมส่ วมหมวกนิรภยั ในเวลาโดยสารรถจกั รยานยนต์ พ่ิมเตมิ โดย พ.ร.บ.จราจรทางบก (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ.2550 กรยานยนต์ต้องสวมหมวกทีจ่ ัดทาขึ้นโดยเฉพาะเพอื่ ป้องกนั อนั ตรายในขณะขบั ข่ีและโดยสาร หนง่ึ ขับข่ีรถจักรยานยนต์ในขณะท่ีคนโดยสารรถจกั รยานยนต์มไิ ดส้ วมหมวกทจ่ี ดั ทาข้นึ นตรายตามวรรคหนง่ึ ให้เป็นไปตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง ษุ สามเณร นักพรต นักบวช หรอื ผ้นู บั ถือลทั ธิศาสนาอ่ืน ท่ีใช้ผา้ หรือส่งิ อื่นโพกศีรษะ รวง นต์ โพกผา้ บางคนอาจจะมีการปดิ ใบหน้า (นกิ อบ) ด้รับการยกเวน้ ตามกฎหมายไมต่ อ้ งสวมหมวกนริ ภยั แต่มกั ปรากฏอยู่เป็นเนอื งๆว่ามีผไู้ มน่ ับถอื า เพื่อจะได้ไมต่ อ้ งสวมหมวกนิรภัย

แนวทางปฏบิ ัติ - ชาวซกิ ข์ทแ่ี ท้จริง ต้องไวห้ นวดเครา และไว้ผมยาวเกลา้ และคลุมศรี ษะในกรณีเปน็ หญงิ ผู้ทตี่ ัดผมไม่ได้รบั การยก ข้อควรระวัง มกั จะไดร้ บั ความอนโุ ลม ขอ้ ยกเว้น พุทธ - กรณเี ป็นพระภกิ ษุจรงิ ก็ไดร้ ับยกเว้นตามกฎหมาย แต่คว อสิ ลาม - ปฏิบตั ิเหมือนบุคคลทวั่ ไป ครสิ ต์ - เจ้าหน้าทคี่ วรแนะนาวา่ การไม่สวมหมวกนริ ภยั อาจเปน็ พราหมณ์ – ฮนิ ดู - เจ้าหนา้ ทค่ี วรแนะนาว่า การไม่สวมหมวกนิรภยั อาจเป็น ซิกข์ - ได้รบั ยกเวน้ ตามกฎหมาย - เจา้ หนา้ ท่คี วรแนะนาและใช้คาพดู ที่สุภาพ

9 าเป็นมวยอยู่เหนอื ศีรษะ หรอื เรียกว่าไวจ้ กุ พร้อมโพกศรี ษะในกรณีเปน็ ชาย กเวน้ ถงึ แมจ้ ะไวห้ นวดเครากต็ าม การใชผ้ า้ คลมุ ศีรษะแบบมัดอยา่ งง่ายๆ ถงึ แม้จะผิดวนิ ัยแต่ ควรถวายคาแนะนาว่า การไมส่ วมหมวกนิรภยั อาจเปน็ อันตรายต่อร่างกายหรอื ชีวิต นอนั ตรายต่อร่างกายหรือชวี ิต นอนั ตรายต่อร่างกายหรือชวี ติ -

เมอ่ื รบั แจง้ เหตุ/พบ กรณพี ระภกิ ษุ สามเณร นักพรตหรอื นักบวชในศาสนาใ ขอ้ คาถามขอ้ ที่ 4 4.1 การด่มื ในสถานทที่ ก่ี ฎหมายห้าม กฎหมาย/ระเบยี บ ทเี่ กี่ยวข้อง - พ.ร.บ. ควบคมุ เคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๓๑ ห้ามมิให้ผู้ใดบริโภคเคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์ใน ข้อบญั ญตั ทิ างศาสนา (๑) วัดหรอื สถานท่ีสาหรับปฏิบัติพิธีกรรมทา (๒) สถานบรกิ ารสาธารณสุขของรัฐ สถานพย ท่จี ดั ไว้เป็นทีพ่ กั สว่ นบุคคล (๓) สถานทร่ี าชการ ยกเวน้ บริเวณท่ีจดั ไวเ้ ป็น (๔) สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศกึ ษ หรือสถานศกึ ษาที่สอนการผสมเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอลแ์ ละ (๕) สถานีบริการนา้ มนั เชอื้ เพลงิ ตามกฎหมา (๖) สวนสาธารณะของทางราชการท่ีจัดไวเ้ พ (๗) สถานทีอ่ ื่นท่รี ัฐมนตรีประกาศกาหนดโดย มาตรา 42 ผู้ใดฝา่ ฝืนมาตรา 31 ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม ประมวลระเบียบการตารวจเกีย่ วกับคดี ลักษณะท่ี 3 บ ข้อ 40 วรรคสอง มหี ลกั ว่า นอกจากอาณตั ิของคณะสงฆ สงฆข์ ึ้นไปอีก เชน่ พูดเก้ียวหญงิ ทานองชู้สาว ถูกตอ้ งเนือ้ กญั ชา เล่นการพนนั ตา่ งๆ และนุ่งห่มอยา่ งคฤหสั ถ์ เป็นตน้ เช่นเดียวกบั กรณีที่พระภกิ ษุ สามเณรประพฤตผิ ิดต่ออาณ พุทธ 1. กรณีพระภิกษุ สามเณรดม่ื สรุ าหรือเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ โ และได้มกี ารตักเตือนมาแลว้ (การตักเตือนจะเป็นหนังสอื หรอื กาหนดเวลาให้ปรับปรงุ พฤติกรรมแล้ว หากพระรูปน้ันไม่ปฏบิ

10 ใด ดื่มสุราหรอื ของมนึ เมามคี วามผดิ หรือไม่ เจ้าหนา้ ท่ตี ารวจจะตอ้ งดาเนินการอยา่ งไร นสถานทหี่ รือบรเิ วณดังตอ่ ไปน้ี างศาสนา เวน้ แต่เป็นสว่ นหนงึ่ ของพธิ กี รรมทางศาสนา ยาบาลตามกฎหมายวา่ ด้วยสถานพยาบาลและร้านขายยาตามกฎหมายว่าดว้ ยยา ยกเว้นบริเวณ นท่ีพักส่วนบุคคล หรอื สโมสร หรือการจดั เล้ียงตามประเพณี ษาแห่งชาติ ยกเว้นบรเิ วณที่จดั ไวเ้ ปน็ ท่พี ักสว่ นบคุ คลหรือสโมสร หรือการจัดเลีย้ งตามประเพณี ะไดร้ ับอนุญาตตามกฎหมายว่าดว้ ยการศกึ ษาแหง่ ชาติ ายว่าด้วยการควบคุมนา้ มนั เช้ือเพลิงหรอื ร้านคา้ ในบริเวณสถานีบรกิ ารน้ามนั เชอื้ เพลิง พื่อการพักผ่อนของประชาชนโดยทัว่ ไป ยคาแนะนาของคณะกรรมการ ม่เกนิ หกเดือน หรอื ปรับไม่เกินหนง่ึ หม่นื บาท หรอื ทัง้ จาทั้งปรบั บทท่ี 5 ฆแ์ ล้ว ยงั มคี วามประพฤติบางอยา่ งซ่ึงถือวา่ เปน็ ความผดิ ต่อพระพุทธบญั ญัติรา้ ยแรงยงิ่ กวา่ อาณัติ อตวั หญิงหรืออยใู่ นทล่ี บั หูลับตากบั หญิงสองต่อสอง เสพเคร่ืองดองของเมา เช่น สรุ า ยาฝิน่ และ น ในกรณีเชน่ นี้ใหต้ ารวจพาพระภกิ ษุสามเณรทีป่ ระพฤตดิ ังกล่าวไปมอบให้แกเ่ จา้ คณะท้องถิ่น ณัตขิ องคณะสงฆด์ ังกลา่ วแลว้ โทษทางพระวนิ ัยมีเพียงปรับอาบัตปิ าจิตตยี ์ ไม่ถึงขน้ั ให้ลาสิกขา แต่ถ้าประพฤติผิดพระวนิ ัยเปน็ อาจิณ อไมก่ ต็ าม) พร้อมกนั นพี้ ระภิกษุ สามเณรรปู น้ันไดถ้ ูกลงโทษทางพระวนิ ยั และการปกครองแลว้ ทง้ั ได้ บตั ิตาม ให้อยู่ในดุลพินจิ ของเจ้าอาวาสหรอื เจ้าคณะท้องถิ่นพิจารณาโทษทางวนิ ัยอาจถงึ ขั้นให้ลาสิกขาได้

แนวทางปฏบิ ตั ิ 2. กรณพี ระภิกษุ สามเณรดื่มสุราหรือเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ แต่เปน็ ความประพฤตเิ ลวทราม เป็นโลกวชั ชะ (ชาวโลกต ตามคาแนะนาจงบังคับให้สกึ เสีย” (พระมหาสมณวนิ จิ ฉยั ของสมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เจ้านายผู้ใหญ่ จงึ ได้รับสถาปนาขน้ึ เป็นสมเด็จพระมหาสม คณะสงฆ์ไดย้ ึดถอื พระมหาสมณวินิจฉยั เปน็ แนวทางในกา ของฝ่ายบา้ นเมอื ง) 3. แนวทางปฏบิ ัติ ความหมายของคาวา่ อาจิณ กับ ไมอ่ า 3.1 อาจิณ หมายความว่า เป็นปกติ, ตดิ เป็นนสิ ัย, เส 3.2 ไมอ่ าจิณ หมายความวา่ ไมเ่ ป็นปกติ, ไม่ติดเป็นน อสิ ลาม - ศาสนบัญญตั หิ ้ามเสพสิ่งมนึ เมาท่ีทาใหส้ ติปญั ญาเปล่ียน - ผู้ฝ่าฝนื มีบทลงโทษ คริสต์ - ไมม่ ขี อ้ หา้ มในการด่มื สรุ า แตก่ ารดืม่ สุราจนมนึ เมาถือวา่ พราหมณ์ - ฮนิ ดู - กฎระเบยี บของพราหมณ์มี 11 ประการ / การลงโทษน กระทาผดิ มีคาพิพากษาลงโทษจาคุก หรือประหารชีวติ พ ซกิ ข์ - ในกรณีนี้ถ้าศาสนาจารยด์ ื่มสรุ าถือว่าเปน็ การผิดวนิ ัยทา พทุ ธ 1. ใหน้ มิ นต์พระภกิ ษุไปพบเจา้ คณะท้องถิน่ ในเขตในพืน้ ท 2. กรณไี มย่ อมลาสกิ ขา ต้องตดิ ตอ่ เจา้ คณะท้องถิ่น เพื่อใ

11 ยงั มีพระมหาสมณวินิจฉัยบัญญัตไิ ว้ว่า “โทษในทางพระวินัยปรบั เพียงอาบัติปาจติ ตียก์ ็จรงิ ติเตยี น) ไมส่ มควรแก่สมณะ ไม่ควรอยูใ่ นเพศบรรพชิตต่อไป ควรแนะนาใหส้ กึ เสีย ถ้าไม่สกึ ย หมายถงึ ขอ้ วนิ จิ ฉยั ในเรอ่ื งอธกิ รณ์ปญั หาพระวนิ ัยทางปกครองคณะสงฆ์และการพระศาสนา สเปน็ องคส์ กลมหาสังฆปริณายกทเ่ี รียกทั่วไปวา่ สมเด็จพระสงั ฆราช แตโ่ ดยท่ีทรงเป็นราชโอรสเปน็ มณเจา้ (นับเป็นสมเด็จพระสังฆราชองคท์ ี่ 10 แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์) ซึง่ เจ้าคณะผปู้ กครอง ารปฏิบัตทิ างด้านการปกครองคณะสงฆ์สืบมาจนถงึ ปัจจบุ ัน เปรยี บเปน็ เสมือนคาพิพากษาฎีกา าจณิ สมอๆเปน็ ประจา นสิ ยั , ไมเ่ ป็นประจา นทุกชนดิ าเปน็ บาป รวมถึงการเสพยาเสพติดก็เป็นบาปด้วย น้นั ข้นึ อยกู่ ับดุลพินจิ ของคณะพราหมณ์ เช่น การไมใ่ หร้ ว่ มหมู่คณะ ไม่รว่ มสังฆกรรม ยกเวน้ พราหมณ์ท่านนั้นจะถูกตัดสายธรุ า างศาสนาซกิ ข์ ที่ทพ่ี บตวั เพือ่ จัดให้ลาสิกขา เมอื่ จัดใหล้ าสกิ ขาแล้วให้จับกุมดาเนนิ คดตี ามกฎหมาย ให้เจา้ คณะทอ้ งถ่ินที่มีอานาจสงั่ ใหล้ าสกิ ขา

อิสลาม - ปฏบิ ตั ิเหมอื นบุคคลท่ัวไป และแจ้งคณะกรรมการอสิ ลา คริสต์ - ปฏิบตั ิเหมือนบคุ คลทว่ั ไป พราหมณ์ – ฮนิ ดู - ปฏิบตั เิ หมอื นบุคคลท่วั ไป ซกิ ข์ - ปฏบิ ัติเหมอื นบุคคลทัว่ ไป พรอ้ มแจ้งให้ตน้ สงั กัดทราบ ขอ้ ควรระวัง ข้อยกเว้น

12 ามประจาจังหวัด - -

เมอ่ื รับแจ้งเหตุ/พบ 4.2 พระภิกษุ สามเณร นกั พรตหรือนักบวชในศาสนาใ ข้อคาถามข้อที่ 4 ประมวลระเบียบการตารวจเก่ียวกับคดี ลักษณะที่ 3 บ กฎหมาย/ระเบียบ ข้อ 40 วรรคสอง นอกจากอาณัตขิ องคณะสงฆ์แล้ว ยงั ม ทเี่ ก่ียวข้อง ขน้ึ ไปอกี เชน่ พดู เก้ียวหญิงทานองชู้สาว ถกู เนือ้ ต้องตวั ห เล่นการพนันตา่ งๆ และนุ่งห่มอย่างคฤหสั ถ์ เปน็ ต้น ในกร ข้อบัญญตั ิทางศาสนา เชน่ เดียวกับกรณที ี่พระภิกษุ สามเณรประพฤตผิ ิดตอ่ อาณ พทุ ธ 1. กรณีพระภิกษุ สามเณรด่มื สุราหรอื เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ และไดม้ กี ารตกั เตือนมาแลว้ (การตกั เตอื นจะเป็นหนงั สอื หรอื ทง้ั ได้กาหนดเวลาใหป้ รับปรงุ พฤติกรรมแล้ว หากพระรปู น้ันไ อาจถงึ ขน้ั ให้ลาสิกขาได้ 2. กรณพี ระภกิ ษุ สามเณรด่ืมสุราหรือเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ แตเ่ ปน็ ความประพฤตเิ ลวทราม เปน็ โลกวชั ชะ (ชาวโลกต ตามคาแนะนาจงบงั คับให้สึกเสีย” (พระมหาสมณวนิ ิจฉยั ของสมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เจา้ นายผู้ใหญ่ จงึ ไดร้ บั สถาปนาขึน้ เปน็ สมเด็จพระมหาสม คณะสงฆ์ไดย้ ึดถอื พระมหาสมณวนิ ิจฉยั เปน็ แนวทางในกา ของฝ่ายบ้านเมอื ง) 3. แนวทางปฏิบตั ิ ความหมายของคาว่า อาจิณ กับ ไม่อา 3.1 อาจิณ หมายความว่า เปน็ ปกติ, ติดเป็นนสิ ัย, เส 3.2 ไม่อาจิณ หมายความวา่ ไม่เป็นปกติ, ไม่ตดิ เปน็ น

13 ใด ด่มื สรุ าในสถานทที่ ี่กฎหมายมไิ ด้บญั ญตั ิหา้ มไว้ บทที่ 5 มีความประพฤติบางอย่างซ่ึงถือวา่ เป็นความผิดตอ่ พระพุทธบัญญตั ิร้ายแรงยิ่งกวา่ อาณัตสิ งฆ์ หญิงหรืออย่ใู นที่ลับหูลบั ตากับหญงิ สองตอ่ สอง เสพเครอื่ งดองของเมา เชน่ สรุ า ยาฝ่นิ กัญชา รณีเช่นนีใ้ ห้ตารวจพาพระภกิ ษสุ ามเณรท่ีประพฤตดิ งั กล่าวไปมอบใหแ้ ก่เจา้ คณะทอ้ งถ่นิ ณตั ขิ องคณะสงฆด์ งั กล่าวแล้ว โทษทางพระวนิ ัยปรับอาบัตปิ าจิตตยี ไ์ ม่ถึงข้ันใหล้ าสิกขา แต่ถ้าประพฤติผิดพระวนิ ัยเป็นอาจิณ อไม่กต็ าม) พรอ้ มกันน้ีพระภิกษุ สามเณรรูปนั้นไดถ้ กู ลงโทษทางพระวนิ ัยและการปกครองแลว้ ไมป่ ฏบิ ตั ิตาม ให้อยู่ในดุลพินจิ ของเจา้ อาวาสหรอื เจ้าคณะท้องถน่ิ พิจารณาโทษทางพระวนิ ยั ยังมพี ระมหาสมณวินจิ ฉยั บญั ญตั ิไวว้ ่า “โทษในทางพระวินยั ปรบั เพยี งอาบตั ปิ าจติ ตยี ์ก็จรงิ ติเตยี น) ไม่สมควรแก่สมณะ ไม่ควรอย่ใู นเพศบรรพชติ ต่อไป ควรแนะนาให้สกึ เสีย ถ้าไมส่ กึ ย หมายถึง ข้อวนิ จิ ฉัยในเร่อื งอธกิ รณ์ปัญหาพระวนิ ยั ทางปกครองคณะสงฆแ์ ละการพระศาสนา สเปน็ องค์สกลมหาสังฆปรณิ ายกทเ่ี รียกทั่วไปว่าสมเด็จพระสงั ฆราช แตโ่ ดยที่ทรงเป็นราชโอรสเปน็ มณเจ้า (นบั เปน็ สมเด็จพระสงั ฆราชองคท์ ่ี 10 แห่งกรงุ รตั นโกสินทร์) ซง่ึ เจา้ คณะผู้ปกครอง ารปฏบิ ตั ทิ างดา้ นการปกครองคณะสงฆ์สืบมาจนถึงปัจจบุ นั เปรียบเป็นเสมอื นคาพพิ ากษาฎีกา าจิณ สมอๆเป็นประจา นสิ ัย, ไมเ่ ป็นประจา

แนวทางปฏบิ ตั ิ อิสลาม - ศาสนบญั ญัติห้ามสิง่ มนึ เมาทท่ี าให้สตปิ ญั ญาเปล่ียนทกุ ช ขอ้ ควรระวัง - ผู้ฝา่ ฝืนมบี ทลงโทษ ข้อยกเว้น คริสต์ - ไมม่ ขี อ้ หา้ มในการดม่ื สุรา แตก่ ารดืม่ สุราจนมึนเมาถือว่า พราหมณ์ - ฮินดู - กฎระเบียบของพราหมณม์ ี 11 ประการ / การลงโทษน ยกเวน้ กระทาผิดมคี าพิพากษาลงโทษจาคุก หรือประหาร ซิกข์ - ในกรณีนถ้ี ้าศาสนาจารย์ด่ืมสรุ าถอื วา่ เปน็ การผดิ วนิ ยั ทา พทุ ธ - พระภกิ ษุ สามเณรดืม่ สรุ าในสถานท่ีท่ีกฎหมายมิได้บญั ญ ความผิด และนาพระภิกษุ สามเณรรูปนั้นพบเจ้าคณะท้อ ไตส่ วนและลงโทษทางพระวินัย อสิ ลาม - ปฏิบตั ิเหมือนบุคคลทั่วไป และแจ้งคณะกรรมการอสิ ลา ครสิ ต์ - ปฏบิ ตั ิเหมอื นบุคคลทัว่ ไป พราหมณ์ – ฮนิ ดู - ปฏิบัติเหมอื นบคุ คลทวั่ ไป ซกิ ข์ - ปฏิบตั ิเหมือนบุคคลท่ัวไป พร้อมแจง้ ใหต้ น้ สังกดั ทราบ ตรวจสอบประวตั ิการตอ้ งโทษของพระภิกษุกอ่ นสง่ มอบใ

14 ชนิด าเปน็ บาป รวมถึงการเสพยาเสพติดกเ็ ปน็ บาปด้วย นน้ั ขนึ้ อยูก่ ับดุลพินิจของคณะพราหมณ์ เช่น การไม่ให้รว่ มหมคู่ ณะ ไมร่ ่วมสงั ฆกรรม รชวี ติ พราหมณท์ ่านนั้นจะถูกตัดสายธุรา างศาสนาซกิ ข์ ญตั หิ ้ามไว้ ใหเ้ จ้าหน้าท่นี มิ นต์พระภิกษุ สามเณรรูปนัน้ ๆ ออกจากพ้ืนที่ทีพ่ บเห็นการกระทา องถน่ิ ในเขตพื้นท่ีทม่ี ีเจ้าคณะตาบล เปน็ ตน้ หรือวัดท่ีอยูใ่ กล้ท่ีสุด เพ่อื ใหท้ ่านแนะนาหรือพิจารณา ามประจาจงั หวัด ให้เจา้ คณะ หากพบมหี มายจับในคดีอื่นใหด้ าเนินการตามกฎหมายตอ่ ไป -

เมือ่ รบั แจ้งเหตุ/พบ 4.3 กรณีได้รบั แจง้ เหตุ หรอื พบพระภกิ ษุ สามเณร นกั ข้อคาถามข้อท่ี 4 - ประมวลกฎหมายอาญา กฎหมาย/ระเบียบ มาตรา ๓๗๘ ผู้ใดเสพย์สรุ าหรือของเมาอย่างอ่ืน จนเป็นเ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินหา้ พนั บาท - ประมวลระเบยี บการตารวจเก่ียวกบั คดี ลกั ษณะที่ 3 ขอ้ บัญญตั ทิ างศาสนา ขอ้ 40 วรรคสอง นอกจากอาณัติของคณะสงฆ์แลว้ ยงั ม อีก เชน่ พูดเก้ียวหญิงทานองชสู้ าว ถกู เนื้อต้องตัวหญิงหร เลน่ การพนันต่างๆ และนุ่งหม่ อย่างคฤหัสถ์ เป็นต้น ในกร เชน่ เดยี วกบั กรณที ี่พระภกิ ษุ สามเณรประพฤตผิ ิดต่ออาณ พุทธ 1. กรณพี ระภิกษุ สามเณรด่มื สุราหรือเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ โ และได้มีการตักเตือนมาแลว้ (การตักเตอื นจะเปน็ หนังสอื หรือ ทง้ั ได้กาหนดเวลาใหป้ รับปรงุ พฤติกรรมแล้ว หากพระรปู นัน้ ไ อาจถึงข้นั ให้ลาสกิ ขาได้ 2. กรณีพระภิกษุ สามเณรด่ืมสุราหรือเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ แตเ่ ป็นความประพฤติเลวทราม เปน็ โลกวัชชะ (ชาวโลกต ตามคาแนะนาจงบังคบั ให้สึกเสีย” (พระมหาสมณวินิจฉัย ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เจ้านายผู้ใหญ่ จึงได้รบั สถาปนาขน้ึ เป็นสมเด็จพระมหาสม คณะสงฆ์ได้ยึดถอื พระมหาสมณวินิจฉัยเปน็ แนวทางในกา ของฝา่ ยบา้ นเมอื ง)

15 กพรตหรอื นักบวชในศาสนาใด อยใู่ นอาการมนึ เมาในท่สี าธารณะ เหตใุ ห้ตนเมาประพฤตวิ ุน่ วายหรือครองสตไิ ม่ได้ขณะอยใู่ นถนนสาธารณะ หรือสาธารณสถาน 3 บทที่ 5 มีความประพฤตบิ างอย่างซึ่งถอื ว่าเปน็ ความผดิ ต่อพระพทุ ธบญั ญตั ริ า้ ยแรงยงิ่ กวา่ อาณัตสิ งฆข์ ึน้ ไป รอื อยใู่ นทลี่ ับหลู บั ตากับหญิงสองต่อสอง เสพเคร่ืองดองของเมา เชน่ สุรา ยาฝ่นิ กัญชา รณีเช่นนใ้ี หต้ ารวจพาพระภกิ ษุ สามเณรท่ีประพฤติดงั กล่าวไปมอบใหแ้ ก่เจ้าคณะทอ้ งถ่นิ ณตั ิของคณะสงฆ์ดงั กลา่ วแล้ว โทษทางพระวินยั ปรับอาบัติปาจิตตยี ์ไม่ถงึ ขนั้ ให้ลาสิกขา แตถ่ ้าประพฤติผิดพระวินยั เปน็ อาจิณ อไม่ก็ตาม) พร้อมกนั นพี้ ระภิกษุ สามเณรรปู นั้นได้ถกู ลงโทษทางพระวินัยและการปกครองแล้ว ไม่ปฏิบัติตาม ให้อยู่ในดุลพินจิ ของเจา้ อาวาสหรือเจ้าคณะท้องถ่ินพิจารณาโทษทางพระวนิ ัย ยังมีพระมหาสมณวินิจฉยั บญั ญตั ิไวว้ ่า “โทษในทางพระวนิ ยั ปรบั เพียงอาบัติปาจิตตยี ์ก็จริง ติเตียน) ไมส่ มควรแกส่ มณะ ไมค่ วรอยใู่ นเพศบรรพชติ ตอ่ ไป ควรแนะนาใหส้ ึกเสยี ถ้าไมส่ ึก ย หมายถึง ข้อวินิจฉยั ในเรอ่ื งอธิกรณป์ ัญหาพระวนิ ยั ทางปกครองคณะสงฆ์และการพระศาสนา สเปน็ องค์สกลมหาสงั ฆปรณิ ายกทเี่ รียกทว่ั ไปวา่ สมเด็จพระสังฆราช แตโ่ ดยท่ีทรงเป็นราชโอรสเปน็ มณเจ้า (นับเป็นสมเด็จพระสังฆราชองคท์ ่ี 10 แหง่ กรงุ รัตนโกสินทร์) ซง่ึ เจา้ คณะผปู้ กครอง ารปฏบิ ตั ทิ างดา้ นการปกครองคณะสงฆ์สบื มาจนถงึ ปัจจุบนั เปรยี บเป็นเสมอื นคาพิพากษาฎีกา

แนวทางปฏบิ ตั ิ 3. แนวทางปฏิบัติ ความหมายของคาว่า อาจิณ กับ ไม่อา 3.1 อาจณิ หมายความว่า เปน็ ปกติ, ติดเปน็ นสิ ัย, เส 3.2 ไม่อาจิณ หมายความว่า ไม่เปน็ ปกติ, ไมต่ ดิ เปน็ น อสิ ลาม - ศาสนบญั ญตั หิ ้ามสง่ิ มึนเมาท่ที าให้สติปญั ญาเปลี่ยนทุกช - ผู้ฝา่ ฝนื มีบทลงโทษ ครสิ ต์ - ไม่มขี ้อหา้ มในการดมื่ สุรา แตก่ ารด่ืมสรุ าจนมนึ เมาถอื ว่า พราหมณ์ - ฮินดู - กฎระเบียบของพราหมณม์ ี 11 ประการ / การลงโทษน กระทาผิดมคี าพพิ ากษาลงโทษจาคกุ หรือประหารชวี ิต พ ซิกข์ - ในกรณีนี้ถ้าศาสนาจารย์ออกไปดืม่ สรุ าถือว่าเป็นการผดิ พทุ ธ 1. เม่ือพบการกระทาความผดิ ในความผิดซงึ่ หน้า ใหน้ าต กฎหมายตอ่ ไป 2. กรณพี บพระภิกษุ สามเณร อยูใ่ นอาการมึนเมาแต่มไิ ด การกระทาดังกล่าว และนมิ นตพ์ ระภิกษุ สามเณรรูปนั้นพ แนะนาหรือพจิ ารณาไต่สวน และลงโทษทางพระวินัย 3. กรณตี ามขอ้ 2 หากสืบทราบภายหลงั วา่ บุคคลดังกล่า ประมวลกฎหมายอาญา ให้ดาเนินคดตี ามกฎหมายต่อไป อิสลาม 1. หากสบื สวนทราบวา่ เป็นการดื่มสุราหรอื เครือ่ งดื่มแอลก - ปฏบิ ตั ิเหมอื นบุคคลทวั่ ไป และแจ้งคณะกรรมการอิส

16 าจิณ สมอๆเป็นประจา นสิ ัย, ไมเ่ ป็นประจา ชนิด าเปน็ บาป รวมถึงการเสพยาเสพติดกเ็ ปน็ บาปดว้ ย น้นั ข้นึ อยกู่ บั ดุลพินิจของคณะพราหมณ์ เช่น การไม่ใหร้ ว่ มหมู่คณะ ไม่รว่ มสงั ฆกรรม ยกเวน้ พราหมณท์ ่านนน้ั จะถกู ตดั สายธุรา ดวินยั ทางศาสนาซิกข์ ตวั พระภิกษุ สามเณร ไปพบเจา้ คณะท้องถิน่ ในพ้นื ท่พี บตวั เพอื่ พิจารณา แลว้ ให้ดาเนินคดีตาม ดม้ ีความผิดตามกฎหมาย ให้เจ้าหน้าท่ีนิมนต์พระภิกษุ สามเณรรปู นน้ั ๆ ออกจากพน้ื ที่ทพ่ี บเห็น พบเจ้าคณะทอ้ งถ่นิ ในเขตพื้นท่ีที่มเี จ้าคณะตาบล เป็นต้น หรือวดั ที่อยใู่ กลท้ ่ีสุด เพือ่ ใหท้ า่ น าวมีความผิดตามพระราชบญั ญตั คิ วบคมุ เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 หรือมาตรา 378 แหง่ ป กอฮอล์ ในสถานท่ีตอ้ งหา้ มตามกฎหมาย สลามประจาจังหวัด

2. หากสืบสวนทราบว่าเปน็ การดื่มสุราหรอื เคร่ืองด่ืมแอลก - ปฏบิ ัติเหมือนบุคคลทั่วไป และแจง้ คณะกรรมการอิส คริสต์ 1. หากสืบสวนทราบว่าเปน็ การดื่มสุราหรือเคร่อื งดื่มแอลก - ปฏิบัติเหมอื นบคุ คลทั่วไป 2. หากสืบสวนทราบว่าเป็นการด่ืมสรุ าหรอื เครอื่ งดื่มแอลก - ปฏิบตั ิเหมอื นบคุ คลทว่ั ไป พราหมณ์ – ฮนิ ดู 1. หากสบื สวนทราบว่าเปน็ การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลก - ปฏิบตั ิเหมอื นบคุ คลทั่วไป 2. หากสืบสวนทราบวา่ เป็นการดื่มสรุ าหรือเครอ่ื งด่ืมแอลก - ปฏิบตั ิเหมอื นบคุ คลทวั่ ไป ซกิ ข์ 1. หากสืบสวนทราบวา่ เป็นการด่ืมสุราหรอื เครื่องด่ืมแอลก - ปฏิบตั ิเหมอื นบคุ คลทว่ั ไป พร้อมแจ้งให้ต้นสังกดั ทรา 2. หากสบื สวนทราบว่าเป็นการดื่มสรุ าหรอื เครอื่ งด่ืมแอลก - ปฏบิ ตั ิเหมอื นบุคคลทว่ั ไป พรอ้ มแจง้ ให้ต้นสังกัดทรา ขอ้ ควรระวัง ข้อยกเว้น

17 กอฮอล์ นอกสถานท่ีตอ้ งห้ามตามกฎหมาย สลามประจาจงั หวดั กอฮอล์ ในสถานที่ตอ้ งหา้ มตามกฎหมาย กอฮอล์ นอกสถานทต่ี อ้ งหา้ มตามกฎหมาย กอฮอล์ ในสถานท่ีต้องห้ามตามกฎหมาย กอฮอล์ นอกสถานท่ตี อ้ งหา้ มตามกฎหมาย กอฮอล์ ในสถานท่ีตอ้ งหา้ มตามกฎหมาย าบ กอฮอล์ นอกสถานที่ต้องห้ามตามกฎหมาย าบ - -