Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนา-new-2561-2564เกาะช้าง

แผนพัฒนา-new-2561-2564เกาะช้าง

Published by s_ec0833, 2020-04-09 04:15:32

Description: แผนพัฒนา-new-2561-2564เกาะช้าง

Search

Read the Text Version

แผนพฒั นาการศกึ ษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเกาะช้าง ปี พ.ศ. 2561 ถงึ ปี พ.ศ. 2564 สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตราด สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

6 คานา พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ใน มาตรา 20 กาหนดให้สถานศึกษาดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารประกนั คณุ ภาพภายใน ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553 ข้อ 14 กาหนดให้สถานศึกษาตอ้ งจดั ทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศกึ ษาโดยได้รบั ความร่วมมือส่งเสริมสนับสนุนจากภาคเี ครือข่าย ศูนย์การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเกาะช้าง ซ่ึงเป็นสถานศึกษาในสังกัดสานกั งาน กศน. มีหน้าท่ใี นการจัดการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และมีพนั ธกิจในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ใหแ้ ก่ประชาชนและสร้าง ระบบการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตท่ีมคี ณุ ภาพใหแ้ ก่ประชาชนให้บรรลุผลความสาเร็จตามเป้าหมาย ดงั นน้ั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเกาะชา้ งจึงดาเนินการจัดทา แผนพัฒนาการศกึ ษาประจาปีงบประมาณ 2561 –2564 เพื่อให้เปน็ ขอ้ ตกลงร่วมกนั ระหว่างสถานศึกษา กบั ชุมชนโดยคณะกรรมการสถานศึกษา และเพ่ือใชเ้ ป็นแผนแม่บทในการบริหารจัดการศึกษา รวมถึงใชเ้ ปน็ แนวทางในการพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาในช่วงระยะเวลาทีก่ าหนด โดยจัดทาไว้เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร เพ่ือให้เกดิ ความมั่นใจว่า สถานศกึ ษาจะดาเนนิ งานตามขอ้ ตกลงท่ีกาหนดไวร้ ่วมกัน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเกาะช้าง พ.ศ. 2561

7 สารบัญ คานา สารบัญ หนา้ บทที่ ๑ ขอ้ มลู สถานศึกษา ๑. ความเป็นมา 1 ๑.๑ ข้อมูลพ้นื ฐาน ประวตั ิ ทีต่ ้งั 1 ๑.๒ สภาพชุมชน 2 ๑.๓ ปรชั ญา / ปณฐิ านของสถานศกึ ษา 3 ๒. สภาพปัจจุบัน 3 ๒.๑ บทบาทหน้าทข่ี องสถานศึกษา 3 ๒.๒ โครงสร้างการบริหาร 4 ๒.๓ ทาเนียบผบู้ รหิ าร 5 ๒.๔ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 6 ๒.๕ หลักสตู รการเรียนการสอน 6 บทท่ี ๒ การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม 7 ๑. ผลการดาเนนิ งานย้อนหลัง 7 ๒. การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม 20 ๓. เป้าหมายหลักของการบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา 22 บทที่ ๓ แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 23 ๑. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ 25 ๒. แผนพฒั นาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 26 ๓. สาระสาคญั แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 27 (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ๔. มาตรฐานและตวั บ่งช้ีประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา กศน. 29 ๕. ทกั ษะทสี่ าคญั ของผู้เรยี นในศตวรรษที่ ๒๑ 30 ๖. วิสัยทศั น์ 30 ๗ อัตลกั ษณ์ 30 ๘. เอกลักษณ์ 30

สารบญั (ต่อ) 8 บทที่ ๓ แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา (ตอ่ ) หน้า ๙. พันธกจิ ๑๐. เป้าประสงค์ 30 ๑๑. กลยุทธ์ 31 31 บทที่ ๔ บญั ชีแผนกลยทุ ธ์ 32 บทท่ี ๕ การวางแผนการกากับ ตรวจสอบ รายงาน 42 ภาคผนวก 43 คณะดาเนินงาน 67

1 บทที่ ๑ ขอ้ มูลสถานศึกษา ๑. ความเป็นมา ๑.๑ ขอ้ มลู พืน้ ฐาน ประวัติ ทตี่ ้ัง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเกาะช้าง จัดต้งั ขึ้นตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การจัดต้ังศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนก่ิงอาเภอเกาะช้าง ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๓๖ ลงนามโดย นายปราโมทย์ สุขุม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รักษา ราชการแทน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยกาหนดใหม้ บี ทบาทหนา้ ท่ี ๑. จัดการเรียนการสอนการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน การศึกษาสายอาชีพและการศึกษาตามอธั ยาศยั ๒. วางแผนพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียนระดบั อาเภอ/ก่ิงอาเภอ ๓. ประสานงาน ส่งเสรมิ สนบั สนนุ เครือขา่ ยในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนรวมทงั้ พัฒนาการมสี ่วนร่วมของชมุ ชน องค์กรท้องถิ่น องค์การรัฐ องค์กรเอกชน และประชาชนให้เป็นเครือข่ายการศึกษา นอกโรงเรียน ๔. กากับตดิ ตามนเิ ทศติดตามและรายงานผลการดาเนินงานการศึกษานอกโรงเรยี นในพืน้ ท่ี ๕. ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จนถงึ ปัจจุบนั ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น“ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเกาะช้าง” เมอ่ื วันท่ี ๔ เมษายน ๒๕๕๑ ตามพระราชบญั ญัตสิ ่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. ๒๕๕๑ เพือ่ ให้ความรู้ พัฒนาคุณภาพชีวติ ให้กบั ประชาชนในชุมชนมีอานาจหน้าท่ี ดังตอ่ ไปน้ี 1. การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2. สง่ เสรมิ สนับสนุนและประสานภาคเี ครอื ขา่ ย เพือ่ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย 3. ดาเนนิ การตามนโยบายพเิ ศษของรฐั บาลและงานเสริมสร้างความม่นั คงของชาติ 4. จัด สง่ เสรมิ สนบั สนุนและประสานงานการจดั การศกึ ษาตามโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ ในพื้นท่ี 5. จัด สง่ เสริม สนบั สนนุ พฒั นาแหลง่ เรยี นรแู้ ละภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ 6. วิจัยและพัฒนาหลกั สูตร ส่ือ กระบวนการเรียนรู้ และมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ 7. ระดมทรัพยากรเพ่ือใชใ้ นการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 8. ดาเนินการประกนั คุณภาพภายใน ให้สอดคล้องกบั ระบบ หลักเกณฑ์และวธิ ีการทกี่ าหนด 9. ปฏบิ ัติงานอืน่ ๆ ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ชอื่ สถานศกึ ษา : ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเกาะชา้ ง (Koh Chang District Non-Formal and Informal Education Center)ท่ีอยู่ : เลขท่ี ๒๒๒ หมู่ท่ี ๑ ตาบลเกาะช้าง อาเภอ เกาะชา้ ง จงั หวัดตราด รหัสไปรษณยี ์ ๒๓๑๗๐ โทรศพั ท์ ๐๓๙-๕๑๐-๘๐๕ โทรสาร ๐๓๙-๕๑๐-๘๐๕ ชอ่ื เว็ป ไซต์ http://trat.nfe.go.th/kohchang/สงั กดั สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ตราด สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

2 ๑.๒ สภาพชุมชน (สภาพเศรษฐกิจ สงั คม ประเพณี วัฒนธรรม ความร่วมมอื ของชุมชนที่มี ต่อสถานศกึ ษา) อาณาเขตทีต่ ั้งสถานศกึ ษาอาเภอเกาะช้างมีลกั ษณะเปน็ หมู่เกาะ ประกอบด้วย เกาะน้อย ใหญ่ ประมาณ ๒๘ เกาะ มีพื้นท่ีท่ีเป็นพ้ืนดินและพ้ืนน้ารวมท้ังหมด ๖๕๐ ตารางกิโลเมตร เฉพาะเกาะช้างมีพ้ืนท่ี ๒๐๐ ตารางกิโลเมตร (๑๒๕,๐๐๐ ไร่) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ ๒ รองจากเกาะภูเก็ต อยู่ห่างจากอาเภอ แหลมงอบประมาณ ๘ กิโลเมตร ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ ๒๖ กิโลเมตร และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ ๓๔๐ กิโลเมตร ท่ตี ้งั และอาณาเขตอาเภอเกาะช้าง มีอาณาเขตติดต่อกบั อาเภอขา้ งเคยี ง ดังน้ี  ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับ ทะเลอ่าวไทยและอาเภอแหลมงอบ  ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับ ทะเลอ่าวไทยและอาเภอเกาะกูด  ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับ ทะเลอ่าวไทยและเมืองตราด  ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ ทะเลอ่าวไทย ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นท่ีส่วนใหญ่ของเกาะประมาณ ร้อยละ ๘๕ เป็นภูเขาซึ่งปกคลุมไปด้วยป่าไม้ที่อุดม สมบูรณ์และมีสัตว์ป่านานาชนิดอาศัยอยู่ มีพ้ืนท่ีราบประมาณร้อยละ ๑๘ เกาะช้างได้ประกาศเป็นเขตอุทยาน แห่งชาติหมู่เกาะช้าง เมื่อวันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๒๕ มีเน้ือท่ีประมาณ ๔๐๖,๒๓๐ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๔๖ ของ เนื้อทท่ี งั้ หมด ลักษณะภมู ิอากาศ อณุ หภูมิโดยเฉลี่ยประมาณ ๒๗ องศา มฝี นตกเกือบตลอดปี โดยเฉพาะในช่วงท่ีไดร้ บั อทิ ธิพลจาก ลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ ระหว่างเดอื นพฤษภาคม – เดือนตุลาคม ฝนจะตกชกุ มาก ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ ๕,๕๐๐ – ๖,๕๐๐ มิลลิลติ ร ลกั ษณะภูมิอากาศเปน็ มรสมุ มี ๓ ฤดู คือ ฤดรู ้อน เรม่ิ ตงั้ แต่เดือน กุมภาพันธ์ – เมษายน ฤดฝู น เรม่ิ ตัง้ แต่เดือน พฤษภาคม – พฤศจกิ ายน ฤดูหนาว เริ่มตั้งแตเ่ ดือน ธนั วาคม – มกราคม การแบง่ เขตการปกครองอาเภอเกาะช้าง แบง่ เขตการปกครองตามพระราชบญั ญตั ิลักษณะการปกครอง ทอ้ งที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ มี ๒ ตาบล ๙ หมบู่ ้าน ดังน้ี ตาบล จานวนประชากร รวม ชาย หญิง ตาบลเกาะชา้ ง 2,710 2,447 5,157 ตาบลเกาะชา้ งใต้ 1,538 1,460 2,998 รวม 4,248 3,907 8,155 ขอ้ มูลจาก ทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย ณ 2 กันยายน ๒๕60 การปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบดว้ ยองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ๒ แห่ง ได้แก่  เทศบาลตาบลเกาะชา้ งครอบคลุมพน้ื ท่ตี าบลเกาะช้าง  องค์การบริหารส่วนตาบลเกาะชา้ งใต้ ครอบคลมุ พน้ื ที่ตาบลเกาะชา้ งใต้ แหล่งทอ่ งเทย่ี วทสี่ าคัญ 1. หาดทราย ไดแ้ ก่ หาดทรายขาว หาดทรายคลองพร้าว หาดไกแ่ บ้ หาดใบลาน หาดบางเบ้า

3 2. น้าตก ได้แก่ น้าตกธารมะยม ตกคลองพลู น้าตกคีรีเพชร น้าตกคลองนนทรี น้าตกคลองสิบเอ็ด นา้ ตกคลองหนึ่ง และนา้ ตกคลองเจ้างูเหลอื ม 3. แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ เช่น ป่าชายเบนบ้านสลักเพชร ป่าชายเลนบ้านสลักคอก การเดินปา่ รายช่อื สถานศึกษาโรงเรยี นสงั กัด สพฐ. (ในเขตชมุ ชนเกาะช้าง)  โรงเรยี นอนุบาลเกาะช้าง  โรงเรยี นเกาะชา้ งวทิ ยาคม  โรงเรียนวดั คลองพร้าว  โรงเรยี นบ้านบางเบา้  โรงเรยี นวดั วัชคามคชทวปี  โรงเรียนวดั สลกั เพชร จากข้อมูลบริบทอาเภอเกาะช้างดังกลา่ วข้างตน้ แสดงให้เห็นวา่ เกาะช้างเปน็ พ้นื ทท่ี ตี่ ้ังอยู่ ในทะเลอ่าวไทยท่หี ่างไกลจากชายฝ่งั จังหวัดตราดกวา่ ๘ กิโลเมตร มกี ารประกอบอาชีพตามลกั ษณะพืน้ บ้านและมี การพฒั นาการประกอบอาชีพการบรกิ ารการท่องเทย่ี ว เพ่ือรองรับการทอ่ งเทยี่ ว ตามนโยบายการพฒั นาประเทศ ประชากรในพื้นที่อาเภอเกาะชา้ งค่อนข้างน้อย เมือ่ เทยี บกับปรมิ าณพ้ืนท่ี ทาใหป้ ระชาชนมวี ถิ ีชวี ิตความเป็นอยูต่ าม ลักษณะสงั คมไทย ก่งึ เครือญาติ คอื รูจ้ ัก สนทิ สนมกันระหวา่ งครอบครัว ลักษณะสงั คมในลกั ษณะน้ี จงึ ทาให้มีการ ส่อื สารพดู คุยปรึกษาหารือกนั อยา่ งต่อเนื่อง ๑.๓ ปรัชญา ส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. สภาพปัจจบุ ัน ๒.๑ บทบาทหน้าทข่ี องสถานศกึ ษา 1. จัดการเรยี นการสอนการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน การศกึ ษาสายอาชพี และการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. วางแผนพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียนระดับอาเภอ/กง่ิ อาเภอ 3. ประสานงาน ส่งเสริมสนับสนนุ เครอื ข่ายในการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี นรวมทง้ั พัฒนาการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน องค์กรท้องถิ่น องค์การรัฐ องค์กรเอกชน และประชาชนให้เป็นเครือข่ายการศึกษา นอกโรงเรยี น 4. กากับติดตามนิเทศตดิ ตามและรายงานผลการดาเนนิ งานการศึกษานอกโรงเรยี นในพืน้ ท่ี 5. ปฏิบตั งิ านอื่นตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย นโยบายสถานศกึ ษาท่ีถือเป็นพันธกิจ 1. กาหนดมาตรฐานการเรยี นรูข้ องสถานศกึ ษา 2. พฒั นาหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาให้มคี วามทันสมัยและสอดคล้องกบั ความต้องการของกล่มุ เปา้ หมาย 3. ออกแบบการจัดการเรียนรใู้ ห้สอดคล้องกบั มาตรฐานหลกั สตู ร 4. พัฒนาครูและบคุ ลากร ให้มีความรู้ ทกั ษะในการออกแบบและจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ 5. ส่งเสรมิ สนับสนุนใหผ้ ู้เรียนมีการศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้ผ่านช่องทางส่ือประเภทตา่ งๆ 6. สง่ เสริมสนบั สนุนประสานการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชนในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 7. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย

2.2 โครงสร้างการบริหาร ผ้บู ริหาร 4 คณะกรรมการสถานศึกษา กลุ่มอานวยการ กล่มุ จดั การศึกษานอกระบบและ กล่มุ งานภาคเี ครือข่าย การศึกษาตามอธั ยาศัย และกจิ กรรมพเิ ศษ (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) (นางสาววาสนา อุ้ยอลงกรณ์) (นางกาญจนา พณิ เสนาะ) - งานธุรการและสารบรรณ (นายกรพงศ์ พรมสวา่ ง) - งานส่งเสริมการรู้หนังสือ - งานส่งเสริมและประสานงานภาคี เครือข่าย - งานการเงนิ (นางสาววาสนา อยุ้ อลงกรณ์) (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) - งานการศึกษานอกระบบ (นางกาญจนา พิณเสนาะ) - งานกจิ การพเิ ศษ - งานบัญชี (นางสาววาสนา อุย้ อลงกรณ์) (นางกาญจนา พิณเสนาะ) - งานทะเบียนและวดั ผล (นางกาญจนา พิณเสนาะ) (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) - งานงบประมาณและระดมทรัพยากร (นางสาววาสนา อยุ้ อลงกรณ์) - งานป้องกนั และแก้ไขปัญหา - งานการศึกษาต่อเนื่อง ยาเสพตดิ /โรคเอดส์ (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) (นางสาววาสนา อยุ้ อลงกรณ์) - งานส่งเสริมกจิ กรรมประชาธปิ ไตย - งานพสั ดุ - งานการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ (นางกาญจนา พิณเสนาะ) - งานสนบั สนุน ส่งเสริมนโยบาย (นางสาววาสนา อยุ้ อลงกรณ์) (นางกาญจนา พณิ เสนาะ) จังหวดั / อาเภอ ฯลฯ - งานการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ (นางกาญจนา พณิ เสนาะ) - งานบุคลากร - งานกจิ การลกู เสือและยวุ กาชาด (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) นอกโรงเรียน (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) - งานการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคม และชุมชน (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) - งานเลขานุการคณะกรรมการ - งานอาคารสถานทแ่ี ละยานพาหนะ (นางกาญจนา พิณเสนาะ) สถานศึกษา - งานการศึกษาตามอธั ยาศัย (นางกาญจนา พิณเสนาะ) (นายกรพงศ์ พรมสวา่ ง) - งานเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์กจิ กรรม - งานแผนงานและโครงการ (นางสาววาสนา อยุ้ อลงกรณ์) (นายกรพงศ์ พรมสวา่ ง) - งานจัดพฒั นาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญา - งานนโยบายและจุดเน้นประจาปี จาก (นางสาววาสนา อยุ้ อลงกรณ์) ท้องถิ่น ต้นสังกดั และภาครีเครือข่าย - งานประชาสัมพนั ธ์ (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) (นายกรพงศ์ พรมสวา่ ง) (นายกรพงศ์ พรมสวา่ ง) (นางกาญจนา พิณเสนาะ) - งานสวสั ดกิ าร (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) (นางกาญจนา พิณเสนาะ) - งานจัดและพฒั นาศูนย์การเรียนชุมชน (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) (นางกาญจนา พิณเสนาะ) - งานข้อมูลสารสนเทศและการรายงาน (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) (นายกรพงศ์ พรมสวา่ ง) (นายกรพงศ์ พรมสวา่ ง) - งานห้องสมุดประชาชน - ศูนย์ราชการใสสะอาด (นายกรพงศ์ พรมสวา่ ง) (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) - งานการศึกษาเคลื่อนที่ - งานควบคมุ ภายใน (นายกรพงศ์ พรมสวา่ ง) (นางกาญจนา พณิ เสนาะ) - งานศูนย์บริการให้คาปรึกษาแนะนา - งานนเิ ทศภายใน ติดตามและประเมนิ ผล (นางกาญจนา พณิ เสนาะ) - งานพฒั นาหลกั สูตร ส่ือนวตั กรรมและ (ผอู้ านวยการสถานศึกษา) เทคโนโลยที างการศึกษา (นางสาววาสนา อยุ้ อลงกรณ์) (นายกรพงศ์ พรมสวา่ ง) - งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษา (นางกาญจนา พิณเสนาะ) (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) (4นา.งกสารญปุ จนขาอ้ พมณิ ูลเสขนอางะส) ถานศกึ ษา - งานธรรมศึกษา (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) - งานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา (นางกาญจนา พิณเสนาะ) (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) - งานบริหารทว่ั ไป (นางสาวอนุสรา นพวรรณ) - มาตรการประหยดั พลงั งาน (นายกรพงศ์ พรมสวา่ ง)

5 ๒.๓ ทาเนยี บผู้บรหิ าร ลาดับที่ ชื่อ – สกลุ ตาแหนง่ ระยะเวลาทด่ี ารงตาแหนง่ ๑ นายเฉลิมพล พวงทอง หัวหนา้ ศูนย์ ๑ พ.ศ.๒๕๓๘ – พ.ศ. ๒๕๔๑ หวั หน้าศนู ย์ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๑ – พ.ศ. ๒๕๔๓ ผู้อานวยการ พ.ศ.๒๕๔๓ - พ.ศ. ๒๕๔๘ ๒ นายสุธี วรประดิษฐ์ รกั ษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ พ.ศ. ๒๕๔๗ – พ.ศ. ๒๕๔๘ ๓ นางสาวสภุ าพร บัวเลี้ยง ผู้อานวยการ พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๘ ก.ค. พ.ศ. ๒๕๕๑ ๔ นางพฌี านิภา หวังดี ผู้อานวยการ ๑๑ ก.ค. ๒๕๕๑ – ๒๔ ต.ค. ๒๕๕๑ ๕ นายภกั ดี พงษ์ไพบูลย์ รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ ๑๐ พ.ย. ๒๕๕๑ – ๓๐ ก.ย. ๒๕๕๔ ๖ นางเมตรา สารการ ผู้อานวยการสถานศึกษา ๑ ต.ค. ๒๕๕๔ – ๓๑ ม.ค. ๒๕๕๕ ๗ นางชูชีพ ไวกสกิ รรม ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๑ ก.พ. ๒๕๕๕ – ๑๔ ม.ค. ๒๕๕๖ ๘ นางประชัน ยมิ้ ละไม้ รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ ๑๕ ม.ค. ๒๕๕๖ – ๑๕ ก.ย. ๒๕๕๖ ๙ นายสุทธี มดี วง ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ๑๖ ก.ย. ๒๕๕๖ – ๑๑ ก.พ.๒๕๕๘ ๑๐ นายวรวฒุ ิ บุญเฉดิ ผู้อานวยการสถานศึกษา ๑๒ ก.พ. ๒๕๕๘ – ๑๙ พ.ย.๒๕๕๘ ๑๑ นายจรินทร์ อตุ สาหะ รักษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ ๒๐ พ.ย.๒๕๕๘ – ๓๐ พ.ย.๒๕๕๘ ๑๒ นางเบญจพร จน่ั เจรญิ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอแหลมงอบ ๑ ธ.ค.๒๕๕๘ – 16 ตลุ าคม 2559 รกั ษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ 13 นายวรรณวจิ ักษณ์ กุศล ผอู้ านวยการ กน.อาเภอเกาะกดู 17 ต.ค. 2559 – 10 เม.ย.2560 รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ 14 นายเฉลิมพล พวงทอง ผู้อานวยการ กน.อาเภอเมืองตราด 11 เม.ย.2560 - 15 มิ.ย.2560 รกั ษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ 15 นายจรินทร์ อุตสาหะ รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ 1 พ.ค 2560 – 15 ม.ิ ย.2560 16 นายเฉลมิ พล พวงทอง ผู้อานวยการ กน.อาเภอเมืองตราด 16 ม.ิ ย.2560- 30 ตลุ าคม 2560 รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ 17 นายวรรณวิจกั ษณ์ กุศล ผู้อานวยการ กน.อาเภอเกาะกูด 1 พฤศจกิ ายน 2560 – ปัจจบุ ัน รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ

6 ๒.๔ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ๑) ผ้บู รหิ าร นายวรรณวิจักษณ์ กุศล ตาแหนง่ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเกาะกูด รักษาการในตาแหน่ง ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอเกาะช้าง วฒุ กิ ารศกึ ษา ศลิ ปศาสตรม์ หาบัณฑติ ๓) พนักงาน สาขา จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว ราชการ ตาแหน่ง ครู 1) นางสาววาสนา อ้ยุ อลงกรณ์ ตาแหนง่ ครอู าสาสมัครฯ วฒุ ิการศกึ ษา รฐั ศาสตรบ์ ัณฑติ อาสาสมคั รฯ สาขา ความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศ ประกาศนียบตั รบณั ฑิตวิชาชีพครู ครู กศน.ตาบล 2) นางกาญจนา พิณเสนาะ ตาแหนง่ ครูกศน.ตาบล วุฒกิ ารศึกษา วทิ ยาศาสตร์บณั ฑติ สาขา อาหารและโภชนาการ 4) ลกู จ้าง 3) นางสาวอนสุ รา นพวรรณ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล วฒุ ิการศึกษา การศกึ ษาบณั ฑติ ชว่ั คราว สาขา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา ประกาศนยี บัตรบณั ฑิตวชิ าชพี ครู 1)นาย นายกรพงศ์ พรมสว่าง ตาแหน่ง เจา้ หน้าที่ห้องสมดุ วฒุ กิ ารศึกษา รฐั ศาสตร์บณั ฑิต สาขา บริการรัฐกจิ ๒.๕ หลักสตู รการเรียนการสอน 1. หลักสูตร การจัดการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 2. หลกั สูตร การจัดการศึกษาตอ่ เน่ือง - หลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สารด้านอาชีพ - หลักสูตรการผลติ กะลามะพรา้ ว - หลกั สตู รการทากะปิ - หลกั สูตรการทาของท่รี ะลกึ - หลกั สตู รการทากระเปา๋ สานเส้นพลาสตกิ - หลกั สูตรดจิ ทิ ัลชุมชน - การเข้าใจดจิ ิทลั - ชุมชนเปดิ การคา้ ออนไลน์ - หลกั สูตรการแปรรปู ผลไม้ 3. หลักสูตรทอ้ งถ่ิน

7 บทท่ี ๒ การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม ๑. ผลการดาเนินงานยอ้ นหลัง 1. ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา, ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยตน้ สงั กดั , ผลการ ประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 3 ผลการประเมนิ พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 สภาพ ผลการประเมนิ ตนเองของ - 92.54 92.12 90.61 ลดลง สถานศึกษา ( ดมี าก ) ( ดมี าก ) (ดมี าก) ผลการประเมินคุณภาพ - 89.78 - ดี สถานศกึ ษาโดยต้นสงั กดั ( ดี ) ผลการประเมนิ คุณภาพ 87.00 - - ดี ภายนอก รอบ 3 (พ.ศ. ( ดี ) 2554-2558) 2. แผน / ผลการดาเนนิ การจดั การศึกษาทุกหลักสูตร ย้อนหลัง ๓ ปี ตอ่ เนอ่ื ง ปี งปม. กิจกรรม แผน ผล รอ้ ยละ สภาพ 2558 การศกึ ษาพ้นื ฐาน 666 662 99.4 ตา่ กว่า การศึกษาต่อเน่ือง 560 681 121.61 สูงกว่า การศึกษาตามอธั ยาศยั 4350 16630 382.3 สูงกวา่ 2559 การศกึ ษาพ้นื ฐาน 251 473 188.45 สูงกว่า การศึกษาต่อเนอื่ ง 333 524 157.36 สงู กว่า การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 4000 13240 331 สูงกวา่ 2560 การศึกษาพ้ืนฐาน 259 502 193.82 สูงกว่า การศึกษาต่อเน่อื ง 472 556 117.78 สงู กวา่ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 9672 8330 86.12 ต่ากว่า จากตาราง แผน / ผลการดาเนนิ การจดั การศึกษาทกุ หลักสูตรของศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเกาะช้าง แสดงให้เหน็ ว่า ปีงบประมาณ 2558 มกี ารดาเนินงานจัด การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอธั ยาศยั บรรลุ ตามแผนที่กาหนดไว้ และมีการจดั การศกึ ษาพน้ื ฐาน ที่ ไมบ่ รรลุผล ตามแผนที่กาหนดไว้ ปีงบประมาณ 2559 มกี ารดาเนินงานจดั การศึกษาพน้ื ฐาน , การศกึ ษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอธั ยาศยั บรรลุ ตามแผนที่กาหนดไว้ สาหรับ ปีงบประมาณ 2560 มีการดาเนนิ งานจัดการศึกษาพ้ืนฐานและการศึกษาต่อเนื่อง สงู กวา่ เป้าหมายท่ีกาหนด ยกเวน้ การศึกษา ตามอธั ยาศยั ทีม่ ีผลการดาเนินงานตา่ กวา่ ที่สถานศกึ ษากาหนด

8 3. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นปลายภาค ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา สถาน สว่ น สภาพ สถาน ส่วน สภาพ สถาน สว่ น สภาพ ศึกษา กลาง ศึกษา กลาง ศกึ ษา กลาง ทกั ษะการเรียนรู้ 20.00 25.09 ต่ากว่า 25.50 26.03 ต่ากว่า 23.03 28.87 ต่ากวา่ ภาษาไทย 25.67 20.27 สงู กวา่ 24.13 27.86 ต่ากวา่ 21.96 28.67 ต่ากวา่ ภาษาอังกฤษ 29.60 18.30 สูงกวา่ 19.35 20.51 ตา่ กว่า 15.72 20.51 ตา่ กวา่ คณติ ศาสตร์ 22.50 16.36 สงู กวา่ 16.25 22.89 ต่ากวา่ 18.08 22.20 ตา่ กวา่ วิทยาศาสตร์ 25.00 14.66 สงู กวา่ 19.09 22.09 ตา่ กวา่ 15.28 22.13 ตา่ กว่า ชอ่ งทางอาชีพ 20.00 15.12 สูงกว่า 26.00 14.22 สงู กว่า 21.57 14.37 สูงกว่า ทักษะอาชพี 22.75 19.55 สงู กวา่ 16.72 21.97 ตา่ กวา่ 19.31 25.68 ต่ากว่า พัฒนาอาชีพ 19.67 15.96 สูงกว่า 18.50 15.86 สงู กว่า 17.56 15.04 สงู กว่า เศรษฐกจิ พอเพียง 34.50 17.84 สงู กว่า 24.70 14.41 สูงกว่า 20.46 13.97 สงู กว่า สุขศกึ ษา พลศึกษา 29.33 20.77 สูงกว่า 26.64 22.14 สูงกวา่ 23.86 21.18 สูงกวา่ ศิลปศึกษา 20.33 15.50 สูงกวา่ 22.16 17.62 สูงกวา่ 20.74 18.12 สูงกว่า สงั คมศึกษา 21.00 18.39 สูงกว่า 18.26 16.54 สงู กวา่ 18.12 16.18 สูงกวา่ ศาสนาและหน้าที่ 24.20 19.29 สูงกวา่ 24.92 16.56 สูงกวา่ 20.13 18.57 สูงกว่า พลเมอื ง การพัฒนาตนเอง 25.20 21.09 สงู กว่า 21.53 18.23 สงู กวา่ 23.99 21.33 สงู กวา่ ชุมชนสงั คม จากตารางผลสัมฤทธิท์ างการเรียนปลายภาค หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ของศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเกาะช้าง แสดงให้เห็นว่า ระดบั ประถมศกึ ษา มรี ายวชิ าที่ผลสมั ฤทธ์ิของสถานศึกษา สูงกวา่ ผลสมั ฤทธิ์ระดับชาติ (ส่วนกลาง) ไดแ้ ก่ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ชอ่ งทางอาชีพ ทักษะอาชพี พัฒนาอาชีพ เศรษฐกจิ พอเพยี ง สุขศกึ ษา พล ศกึ ษา ศิลปศกึ ษา สังคมศึกษา ศาสนาและหนา้ ทีพ่ ลเมือง การพัฒนาตนเองชุมชนสงั คม ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ มรี ายวิชาท่ีผลสมั ฤทธิ์ของสถานศกึ ษา สงู กว่า ผลสัมฤทธ์ริ ะดบั ชาติ (ส่วนกลาง) ไดแ้ ก่ ชอ่ งทางอาชีพ พฒั นาอาชีพ เศรษฐกจิ พอเพียง สุขศึกษา พลศกึ ษา ศิลปศึกษา สงั คมศึกษา ศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง การพัฒนาตนเองชมุ ชน สงั คม และ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มรี ายวิชาทีผ่ ลสัมฤทธิข์ องสถานศึกษา สงู กว่า ผลสัมฤทธริ์ ะดบั ชาติ (ส่วนกลาง) ไดแ้ ก่ ชอ่ งทางอาชีพ พฒั นาอาชีพเศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษา พลศึกษา ศลิ ปศกึ ษา สังคมศึกษา ศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง การพัฒนาตนเองชมุ ชนสงั คม จากข้อมลู ดังกลา่ ว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเกาะชา้ ง มีแนวทางในการ ยกระดับผลสัมฤทธขิ์ องรายวิชาตา่ งๆใหส้ งู ข้ึน โดย จดั โครงการค่ายวชิ าการ ในการนี้ เพ่ือให้การดาเนนิ การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิมีเปา้ หมายคณุ ภาพในการดาเนินงาน ศูนยก์ ารศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเกาะช้าง ได้กาหนดเปา้ หมายคุณภาพผลสัมฤทธส์ิ ูงสุดของรายวชิ า ต่างๆ มรี ายละเอยี ดดังน้ี

9 รายวิชา ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย เป้าหมายคุณภาพ เป้าหมายคณุ ภาพ เปา้ หมายคณุ ภาพ ทักษะการเรียนรู้ ผลสัมฤทธสิ์ งู สดุ ผลสัมฤทธิ์สูงสดุ ผลสัมฤทธสิ์ งู สดุ ภาษาไทย 29 ภาษาองั กฤษ 25.50 27 29 คณติ ศาสตร์ 28 28 21 วทิ ยาศาสตร์ 33 22 23 ชอ่ งทางอาชีพ 25 23 23 ทกั ษะอาชพี 27 25 23 พฒั นาอาชีพ 23 28 26 เศรษฐกจิ พอเพียง 25 23 20 สุขศกึ ษา พลศึกษา 22 20 23 ศลิ ปศกึ ษา 38 26 26 สังคมศึกษา 32 28 22 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง 23 25 22 การพัฒนาตนเองชมุ ชน 23 20 23 สังคม 27 27 25 27 23 ค่าเป้าหมายสงู สดุ จานวนผู้เรียนท่ีนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต - 8 คน คณุ ลกั ษณะของผู้เรียนท่ีนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต - นาความรู้ วฒุ ิการศกึ ษาไปปรับฐานเงินเดือน - ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทสี่ ูงขึน้

10 5. ผลการประเมินคุณธรรมผูเ้ รียน (ปงี บประมาณ 2560) ระดับ ภาคเรยี นท่ี 2/ 2559 รอ้ ยละ จานวน ภาคเรียนท่ี 1/ 2560 รอ้ ยละ จานวน พอใช้ ดี ดีมาก ระดบั พอใช้ ดี ดีมาก ระดบั ดีมาก 10 ดมี าก ประถม 12 1 5 6 50.00 79 14 5 50.00 ม.ตน้ 79 10 29 40 158 10 29 40 ม.ปลาย 162 20 45 97 50.63 18 45 95 50.63 เฉลยี่ 59.87 58.76 60.12 รวมเฉลี่ยทั้งปงี บประมาณ 2560 60.85 56.68 จากตารางผลการประเมนิ คุณธรรมผู้เรยี น หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเกาะชา้ ง แสดงให้เห็นว่า ผเู้ รยี น ในปงี บประมาณ 2560 ในภาคเรยี นท่ี 2/2559 มรี อ้ ยละเฉลี่ยระดบั ดมี าก ของการประเมินคณุ ธรรม เทา่ กบั 60.85 ในภาคเรยี นท่ี 1/2560 มรี ้อยละเฉลยี่ ระดับ ดีมาก ของการประเมินคุณธรรมเทา่ กบั 56.68 รวมเฉลีย่ ทัง้ 2 ภาคเรยี น 58.76 โดยผเู้ รียนระดบั ม.ปลาย ในภาคเรียน 2/2560 มผี ลการประเมินคณุ ธรรม ระดบั ดมี าก สูงสดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 60.12 จากข้อมลู ดงั กลา่ ว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเกาะชา้ ง มีแนวทางในการ ยกระดับคณุ ธรรมผ้เู รยี นใหส้ ูงขน้ึ โดย ผูเ้ รียนเขา้ ร่วมกจิ กรรมวันสาคัญตา่ ง ๆ เชน่ กิจกรรมวันแมแ่ ห่งชาติ วนั พ่อ แหง่ ชาติ วันไหว้ครู วนั เขา้ พรรษา โครงการค่ายคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทุกภาคเรยี น จดั เวทีเสวนาคณุ ธรรม ๑๒ ประการ โครงการอาสายวุ กาชาด โครงการลกู เสอื โครงการประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ ไทย ชมรมจิตอาสา เปน็ ตน้ ในการนี้ เพื่อให้มีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดบั คุณธรรมผเู้ รยี นใหส้ ูงขนึ้ ศูนยก์ ารศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเกาะชา้ ง ได้กาหนดเป้าหมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับคุณธรรม ผ้เู รียนใหส้ งู ข้ึนดังนี้ ปงี บประมาณ การยกระดบั คุณธรรมผเู้ รียนสูงสุด เฉล่ยี รวมทุกระดับ รอ้ ยละระดบั ดีมาก 61.00

11 คา่ เปา้ หมายสงู สดุ จานวนผู้เรียนท่ีเป็นตัวอยา่ งท่ีดี หรอื ต้นแบบด้านคุณธรรม - 8 คน คุณลกั ษณะของผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบด้านคุณธรรม 1. ทาคณุ ประโยชน์ใหส้ งั คมอยา่ งต่อเนอ่ื ง 2. ทาคณุ ประโยชน์ใหส้ ถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง 3. ดารงชีวติ ภายในความรักอย่างตอ่ เน่อื ง 5. ผลการประเมินทกั ษะการแสวงหาความร้/ู การนาไปใช้ (ปีงบประมาณ 2560) ระดบั ภาคเรียนท่ี 2/ 2559 ร้อยละ จานวน ภาคเรยี นท่ี 1/ 2560 รอ้ ยละ จานวน พอใช้ ดี ดีมาก ระดับ พอใช้ ดี ดมี าก ระดบั ดมี าก 10 ดมี าก ประถม 12 2 5 5 79 24 4 ม.ตน้ 79 12 29 38 41.66 158 12 29 38 40.00 ม.ปลาย 162 25 60 77 22 60 76 48.10 48.10 เฉลยี่ 47.53 47.60 48.10 รวมเฉลีย่ ท้งั ปีงบประมาณ 2560 47.43 47.77 จากตารางผลการประเมนิ ทักษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใช้ของผเู้ รียน หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ เกาะชา้ ง แสดงให้เหน็ ว่า ในภาคเรยี นที่ 2/2559 มรี อ้ ยละเฉลยี่ ระดบั ดีมาก ของการประเมนิ ทักษะการแสวงหา ความร/ู้ การนาไปใชเ้ ท่ากับ 47.43 ในภาคเรยี นที่ 1/2560 มรี ้อยละเฉล่ยี ระดบั ดีมาก ของการประเมินทักษะ การแสวงหาความรู้/การนาไปใช้เท่ากบั เท่ากบั 47.77 รวมเฉลี่ยทง้ั 2 ภาคเรียน 47.60 โดยผูเ้ รียนระดบั ม.ต้น ในภาคเรียน 2/2559 มีผลการประเมินทักษะการแสวงหาความร/ู้ การนาไปใช้เท่ากับ ระดบั ดีมาก สูงสุด คดิ เป็นร้อยละ 48.10 ม.ต้น ในภาคเรียน 1/2560 มีผลการประเมินทักษะการแสวงหาความร/ู้ การนาไปใช้ เทา่ กับ ระดับ ดีมาก สงู สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 48.10 และ ม.ปลาย ในภาคเรยี น 1/2560 มผี ลการประเมินทกั ษะ การแสวงหาความรู้/การนาไปใชเ้ ทา่ กบั ระดับ ดมี าก สูงสุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 48.10 จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เกาะช้าง มีแนวทางในการ ยกระดับทกั ษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใชใ้ หส้ ูงขึ้น โดย ดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมต่างๆ เช่น โครงการคา่ ย วชิ าการ การสอนเสริม กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใช้ Google from ,Google classroom ,QR-code ในการน้ี เพื่อใหม้ ีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนนิ การยกระดบั ทกั ษะการแสวงหาความร/ู้ การ นาไปใชใ้ หส้ ูงขนึ้ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเกาะช้าง ได้กาหนดเปา้ หมายคณุ ภาพ ในการดาเนินการยกระดบั ทักษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใช้ใหส้ งู ขนึ้ ดังนี้

12 ปงี บประมาณ การยกระดับทักษะการแสวงหาความรู้/การนาไปใช้ เฉลยี่ รวมทกุ ระดับ ร้อยละระดบั ดีมาก 49.50 ค่าเปา้ หมายสูงสดุ จานวนผู้เรียนที่ใช้ทกั ษะการแสวงหาความรู้ ในการดารงชีวิต - 8 คน คุณลกั ษณะของผู้เรียนท่ีใช้ทกั ษะการแสวงหาความรู้ ในการดารงชวี ิต - สามารถนาความรู้และประสบการณ์ที่ไดร้ ับมาประกอบอาชีพ/เพ่ิมรายได้ให้สูงขึน้ 6. ผลการประเมินทักษะการคิด/การนาไปใช้ (ย้อนหลงั 2 ปีการศึกษา) ระดับ ภาคเรียนท่ี 2/ 2559 ภาคเรยี นท่ี 1/ 2560 จานวน พอใช้ ดี ดีมาก รอ้ ยละ จานวน พอใช้ ดี ดีมาก ร้อยละ ระดับ ระดบั ดีมาก ดมี าก ประถม 12 2 5 5 41.66 10 2 4 4 40.00 ม.ต้น 79 12 29 38 48.10 79 12 29 38 48.10 ม.ปลาย 162 25 60 77 47.53 158 22 60 76 48.10 เฉลีย่ 47.43 47.77 รวมเฉล่ยี ทงั้ ปีงบประมาณ 2560 47.60 จากตารางผลการประเมนิ ทกั ษะการคดิ /การนาไปใช้ของผู้เรยี น หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอ เกาะชา้ งแสดงใหเ้ ห็นวา่ ในภาคเรยี นที่ 2/2559 มรี อ้ ยละเฉล่ยี ระดบั ดมี าก ของการประเมนิ ทักษะการคิด/การ นาไปใช้เท่ากับ 47.43 ในภาคเรียนท่ี 1/2560 มีรอ้ ยละเฉล่ยี ระดบั ดีมาก ของการประเมนิ ทักษะการคดิ /การ นาไปใช้ เท่ากับ 47.77 รวมเฉลยี่ ทัง้ 2 ภาคเรียน 47.60 จากข้อมลู ดงั กลา่ ว ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เกาะชา้ ง มแี นวทางใน การยกระดบั ทักษะการคิด/การนาไปใชใ้ ห้สูงขึน้ โดย โครงการและกจิ กรรมในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถใน การคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และคิดริเร่ิมสร้างสรรคส์ อดแทรกในแผนการจัดการเรียนรู้ ในการน้ี เพ่ือให้มเี ปา้ หมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดับทักษะการคดิ /การนาไปใช้ให้สูงข้นึ

13 ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเกาะช้าง ไดก้ าหนดเปา้ หมายคณุ ภาพในการดาเนนิ การ ยกระดับทักษะการคดิ /การนาไปใช้ใหส้ ูงขนึ้ ดังน้ี ปีงบประมาณ การยกระดบั ทักษะการคดิ /การนาไปใช้ เฉล่ยี รวมทกุ ระดับ รอ้ ยละระดับ ดีมาก 49.50 คา่ เป้าหมายสูงสุด จานวนผู้เรียนที่ใช้ทกั ษะกระบวนการคิด ในการดารงชีวติ - 6 คน คณุ ลกั ษณะของผู้เรียนท่ีใช้ทักษะกระบวนการคิด ในการดารงชวี ิต การทางาน และการประกอบอาชีพ - ผเู้ รยี นสามารถจัดทาโครงงานเป็นรูปเลม่ และชนิ้ งานเพอื่ นาเสนอและสามารถ นาไปเผยแพร่ ลงเว็บไซดไ์ ด้ ๑๐. ผลการจัดการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง (อาชีพ)/การนาไปใช้ (ย้อนหลัง ๒ ปีการศกึ ษา) การนาไปใช้ ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 จานวน จานวน รอ้ ย จานวน จานวน ร้อยละ จานวน จานวน รอ้ ยละ ทจ่ี ดั นาไปใช้ ละ ท่จี ดั นาไปใช้ ท่จี ดั นาไปใช้ ลดรายจ่าย 145 - - 197 10 5.07 266 20 7.51 เพ่มิ ทกั ษะความรู้ -- 2 1.01 -- พฒั นาอาชีพ -- -- 50 18.79 ประกอบอาชีพ 145 100 185 93.90 196 73.68 เฉลย่ี 100 เฉล่ีย 33.33 เฉลี่ย 33.33 จากตารางผลการจัดการศึกษาต่อเน่ือง (อาชีพ)/การนาไปใช้ของ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอเกาะชา้ ง แสดงให้เหน็ วา่ ผ้เู รยี นการศกึ ษาตอ่ เนื่อง (อาชพี ) ปี 2558 มีร้อยละเฉล่ียของการนา ความรู้ไปใชเ้ ท่ากับ 100 โดยนาความรูไ้ ปใชใ้ นด้านเพ่ิมทักษะความรู้ มากทส่ี ดุ ปี 2559 มรี อ้ ยละเฉล่ียของการ นาความรู้ไปใชเ้ ท่ากับ 33.33 โดยนาความรไู้ ปใช้ในดา้ นการประกอบอาชพี มากทส่ี ุด และ ปี 2560 มีร้อยละ เฉลย่ี ของการนาความรู้ไปใชเ้ ท่ากบั 33.33 โดยนาความรู้ไปใชใ้ นดา้ นประกอบอาชีพ มากทส่ี ุด

14 จากข้อมูลดังกล่าว ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเกาะช้าง มแี นวทางในการ ยกระดับการนาความรู้ (อาชีพ) ไปใช้เพื่อการประกอบอาชพี ให้สงู ข้ึน โดย จดั ทาหลักสตู รเพือ่ พฒั นาอาชีพให้ตรง ตามความต้องการของชมุ ชน ในการนี้ เพื่อใหม้ ีเปา้ หมายคุณภาพในการดาเนินการยกระดบั การนาความรู้ (อาชีพ) ไปใช้เพ่ือการประกอบ อาชพี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเกาะช้าง ค่าเปา้ หมายสงู สดุ จานวนผู้เรียนท่ีเป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการนา ความรไู้ ปใช้ 6 คน คณุ ลักษณะของผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี หรือต้นแบบในการ นาความรู้ไปใช้ - สามารถนาความรู้ทีไ่ ด้ไปประกอบอาชพี เสริม เพอื่ เพ่ิม รายได้ - สามารถนาความรไู้ ปเผยแพรใ่ หก้ ับผู้อื่นได้ - สามารถเป็นแหล่งเรียนรเู้ พื่อใหช้ ุมชนไดศ้ กึ ษาหาความรู้ การนาไปใช้ การยกระดับการนาความรู้ (อาชีพ) ไปใช้สงู สุด เพ่ือการประกอบอาชพี 33.33 8. ผลการจดั การศกึ ษาเศรษฐกิจพอเพยี ง/การนาไปใช้ (ย้อนหลัง 3 ปีการศึกษา) การนาไปใช้ ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 จานวน จานวน รอ้ ยละ จานวน จานวน รอ้ ยละ จานวน จานวน ร้อย ที่จัด นาไปใช้ ทีจ่ ดั นาไปใช้ ทีจ่ ดั นาไปใช้ ละ การดารงชวี ิต 118 75 63.55 136 86 63.23 60 30 50 ประกอบอาชีพ 43 36.44 50 36.76 30 50 เฉลยี่ 81.77 เฉลย่ี 81.61 เฉลยี่ 50 จากตารางผลการจดั การศึกษาเศรษฐกจิ พอเพยี ง/การนาไปใชข้ อง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเกาะชา้ ง แสดงให้เห็นว่า ผ้เู รยี นการศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2558 มีรอ้ ยละเฉล่ยี ของการนาความรู้ไปใช้เทา่ กบั 81.77 โดยนาความรไู้ ปใชใ้ นด้านการดารงชวี ิต มากทส่ี ดุ ปี 2559 มีรอ้ ยละเฉล่ยี ของการนาความรู้ไปใช้เทา่ กับ 81.61 โดยนาความร้ไู ปใช้ในดา้ นการดารงชวี ิต มากท่สี ุด และ ปี 2560 มรี อ้ ยละ เฉลีย่ ของการนาความรู้ไปใช้เท่ากับ 50.00 โดยนาความรูไ้ ปใช้ในด้านการดารงชวี ติ และประกอบอาชีพ มากท่ีสดุ จากข้อมูลดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเกาะชา้ ง

15 มีแนวทางในการยกระดับการนาความรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงไปใชเ้ พอ่ื ประกอบอาชีพ โดยอบรมใหค้ วามรู้เร่ืองการนา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นการดารงชวี ติ ในการน้ี เพื่อใหม้ ีเป้าหมายคุณภาพในการดาเนนิ การยกระดับการนาความรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี งไป ใชเ้ พ่ือการประกอบอาชีพ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเกาะช้าง ได้กาหนดเปา้ หมาย คุณภาพในการดาเนินการยกระดบั การนาความรเู้ ศรษฐกิจพอเพียงไปใชเ้ พ่ือการประกอบอาชีพ ดังนี้ การนาไปใช้ การยกระดับการนาความรู้เศรษฐกจิ พอเพียง การประกอบอาชีพ ไปใช้สงู สุด 39.17 คา่ เป้าหมายสูงสดุ จานวนผเู้ รียนท่ีเปน็ ตัวอย่างท่ดี ี หรือต้นแบบในการนาความรไู้ ปใช้ 8 คน คณุ ลกั ษณะของผู้เรียนที่เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ี หรือตน้ แบบในการนาความรู้ไปใช้ - สามารถนาความรู้ด้านเศรษฐกจิ พอเพียงไปเผยแพร่ให้กบั ผอู้ ่ืนได้ - สามารถเปน็ แหล่งเรยี นร้เู ก่ียวกับเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอื่ ให้ชมุ ชนได้ศกึ ษา หาความรู้ 9. ผลการจดั การศึกษาดจิ ิทลั ชมุ ชน/การนาไปใช้ (ยอ้ นหลัง 2 ปีการศกึ ษา) การนาไปใช้ ปี 2559 ปี 2560 จานวน จานวน ร้อยละ จานวน จานวน ร้อยละ ท่ีจัด นาไปใช้ ท่จี ดั นาไปใช้ การดารงชีวิต 113 111 98.23 120 115 95.83 ประกอบอาชีพ 2 1.76 5 4.16 เฉล่ีย 99.11 เฉล่ยี 97.91 จากตารางผลการจัดการศึกษาดิจิทัลชุมชน/การนาไปใชข้ อง ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเกาะชา้ ง แสดงใหเ้ หน็ ว่า ปี 2559 ผู้เรียนการศึกษาดจิ ิทัลชมุ ชน มีรอ้ ยละเฉลี่ยของ การนาความรู้ไปใชเ้ ทา่ กับ 99.11 โดยนาความรู้ไปใช้ในดา้ นการดารงชีวติ มากทีส่ ดุ ปี 2560 มีร้อยละเฉลยี่ ของ การนาความรู้ไปใชเ้ ทา่ กับ 97.91 โดยนาความรู้ไปใช้ในด้านการดารงชีวิต มากทส่ี ุด จากข้อมลู ดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเกาะช้าง มี แนวทางในการยกระดับการนาความรู้จากการศึกษาดิจิทลั ไปใชเ้ พอื่ การประกอบอาชีพให้สูงขน้ึ โดย มกี ารจัดอบรม ใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั ดิจิทัล อยา่ งตอ่ เนื่อง ในการน้ี เพ่ือใหม้ เี ปา้ หมายคุณภาพในการดาเนนิ การยกระดบั การนาความร้จู ากการศึกษาดจิ ทิ ลั ไปใช้เพ่ือการประกอบอาชีพใหส้ งู ข้ึน ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเกาะชา้ ง ได้กาหนด เปา้ หมายคณุ ภาพในการดาเนินการยกระดับการนาความรจู้ ากการศึกษาดิจิทลั ไปใช้เพื่อการประกอบอาชพี ให้สงู ขนึ้ ดงั น้ี

16 การนาไปใช้ การยกระดบั การนาความรูด้ ิจทิ ลั ไปใช้สงู สุด การประกอบอาชีพ 3.00 คา่ เปา้ หมายสงู สุด จานวนผู้เรียนท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้ - 6 คน คณุ ลักษณะของผู้เรียนท่ีเป็นตัวอย่างท่ีดี หรือต้นแบบในการนาความรไู้ ปใช้ - สามารถขายสนิ ค้าผ่านระบบออนไลนไ์ ด้ - สามารถถ่ายทอดความร้แู ก่ผ้ทู ่ีสนใจได้

10.ผลการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั 17 การศึกษาตามอัธยาศัย แผน ปี 2560 ร้อยละ สภาพ 4,900 ผล >19 บรรลุ 5,846 เปา้ หมายสูงสุดในการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย การศึกษาตามอัธยาศยั ทกุ กิจกรรม/โครงการ 6,400 คน จำนวนผ้เู ขำ้ รบั บรกิ ำรนำควำมรู้ประสบกำรณ์ไปใชจ้ ำกกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมสูงสุด 12 คน จานวนผู้เขา้ รับบริการนาความรู/้ ประสบการณไ์ ปใช้สูงสุด จานวน 12 คน คุณลกั ษณะจากผเู้ ข้ารับบรกิ ารที่เป็นแบบอยา่ งทด่ี ี - มพี ฒั นาการทางดา้ นร่างกาย ด้านความคิด และการมจี ติ ใจบริการ - มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา, ผลการประเมินคณุ ภาพสถานศึกษาโดยตน้ สงั กดั , ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก รอบ 3 ผลการประเมิน พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 สภาพ ลดลง ผลการประเมินตนเองของ 92.54 92.12 90.61 (ดมี าก) ดี สถานศึกษา ( ดีมาก ) ( ดมี าก ) ดี ผลการประเมินคุณภาพ - 89.78 - สถานศึกษาโดยต้นสังกดั ( ดี ) ผลการประเมนิ คุณภาพ 87.00 - - ภายนอก รอบ 3 (พ.ศ. ( ดี ) 2554-2558)

18 ๑๓. แนวทางการพฒั นา ทร่ี ะบไุ ว้ใน SAR ปีล่าสุด ๑. สถานศกึ ษาควรส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการในทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสร้างอาชีพของผู้เรียนในชุมชนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒. สถานศึกษาควรสง่ เสริมให้มีการศึกษาและจดั ทาวิจยั ชมุ ชนในด้านการจัดการกจิ กรรมารศึกษา เพื่อใช้ เป็นเครือ่ งมอื ในการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ของชุมชน พัฒนาหลกั สูตรใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการของชมุ ชน มี การตรวจสอบติดตามและรายงานการใชผ้ ลผลิตจากงบประมาณให้ความชัดเจนเปน็ รปู ธรรม ๓. สถานศกึ ษาควรม่งุ เน้นให้ผ้สู นใจตลอดจนผู้รู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อาสาสมัครเข้ามามีบทบาทในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน เป็นผู้ส่ือสารข้อมูลความรู้ที่เป็น ประโยชนแ์ ก่ประชาชนและนาเสนอความตอ้ งการการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาชุมชน โดยเป็นทีมร่วมกับครใู นสังกัด 4.ครู/ผู้สอน ต้องนาผลการประเมนิ มาจดั ทาวจิ ัยเพอื่ พัฒนาผเู้ รียน ใหม้ คี ุณภาพทางการเรยี นที่สูงขนึ้ ๑๔. แนวทางการพฒั นา ท่ีระบุไวใ้ น ประเมนิ โดยต้นสงั กัด ปีล่าสุด ๑. ส่งเสริมให้เห็นความสาคัญของการประหยัด และส่งเสริมความสามารถด้านการคิด วิเคราะห์ โดยครูจัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมโครงงานในทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสร้างอาชีพของผู้เรียนในชุมชนโดยเน้นกระบวนการการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งอยา่ งยง่ั ยืน ๒. สถานศึกษาควรส่งเสริมให้มีการศึกษาและจัดทาวิจัยในด้านการจัดกิจกรรมการศึกษา เพื่อใช้ เปน็ เคร่ืองมอื ในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของชุมชน ควรปรับ/ทาแผนพัฒนาการศึกษาให้เหมาะสมกับบริบท/ อาชีพ และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน มีการพัฒนาหลักสูตร มีการตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้ ผลผลติ จากงบประมาณ ควรมคี วามชดั เจนเปน็ รปู ธรรม 3. สถานศึกษาควรมุ่งเน้นส่งเสริมให้ผู้มีจิตอาสา ตลอดจนผู้รู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อาสาสมัคร เขา้ มามีบทบาทในการจัดกจิ กรรมการเรียนร้กู ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน โดยเป็นทีม รว่ มกบั ครูในสงั กัด ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเกาะชา้ ง ๑๕. แนวทางการพฒั นา ท่ีระบไุ วใ้ น ประเมนิ ภายนอก ปีลา่ สุด 1. ผเู้ รยี นควรไดร้ ับการส่งเสริมให้มกี ิริยามารยาททสี่ ุภาพเห็นความสาคญั ของการประหยัด และ สง่ เสรมิ ความสามารถดา้ นการคดิ โดยครจู ดั กิจกรรมส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้ผูเ้ รียนมสี ่วนรว่ มในการเข้าร่วม กจิ กรรม โครงงานในทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องและสร้างอาชพี ของผเู้ รียนในชุมชน โดยเนน้ กระบวนการเรยี นรู้ ตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงอยา่ งย่ังยนื 2. สถานศึกษาควรส่งเสริมให้มีการศึกษาและจดั ทาวิจยั ชุมชนในดา้ นการจัดกจิ กรรมการศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ เคร่ืองมือในการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ของชมุ ชน ควรปรบั ทาแผนพัฒนาการศึกษาใหเ้ หมาะสมกบั บริบท/อาชพี และสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของชมุ ชน มีการพัฒนาหลักสตู ร มีการตรวจสอบตดิ ตามและ รายงานการใช้ผลผลิตจากงบประมาณ ควรมคี วามชดั เจนเปน็ รูปธรรม 3. สถานศกึ ษาควรมุง่ เน้นสง่ เสริมให้ผู้มีจติ อาสา ตลอดจนผรู้ ู้หรือภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ได้อาสาสมัคร เขา้ มาทีบทบาทในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรกู้ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในชมุ ชน เปน็ ผู้ สื่อสารข้อมลู ความรทู้ ่ีเปน็ ประโยชนแ์ ก่ประชาชนและนาเสนอความต้องการการเรยี นรู้ และการพัฒนาชมุ ชน โดย เป็นทมี รว่ มกบั ครู ในสังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเกาะชา้ ง 4.

19 2. การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมภายใน จุดแขง็ จดุ อ่อน ดา้ นวิชาการ ดา้ นวชิ าการ -มีสือ่ ทหี่ ลากหลาย -ไม่มีการใชส้ อ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุ้มคา่ -มหี ลักสตู รท่ีหลากหลาย -การจัดการเรยี นการสอนเนน้ ครูเปน็ หลัก ไมส่ ง่ เสริม -มีการจดั กจิ กรรมท่ีสอดรบั กับนโยบายของสถานศึกษา ให้ผ้เู รยี นเกดิ การวิเคราะห์ -มแี หล่งเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลายและครอบคลุมทุกหมูบ่ า้ น -หลักสตู รบางหลักสูตรยังไม่มีการปรบั ปรุง -การจดั การเรยี นมีการยดื หยุ่นตามสภาพและ -ไมม่ กี ารใช้แหล่งเรียนรูใ้ หเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุ้มคา่ กลุ่มเป้าหมาย -ไม่มกี ารประเมินปลักสตู รท่ีเป็นปัจจบุ นั -กลุ่มเปา้ หมายมีความแตกตา่ งด้านอาชีพและโอกาส -ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนยงั ตา่ กวา่ ระดบั ประเทศ -ไม่มีแผนการเรยี นรทู้ ที่ นั ต่อการเรียนการสอน/ แผนการเรยี นรไู้ มผ่ า่ นคณะกรรมการวิชาการ ดา้ นบคุ ลากร ด้านบคุ ลากร -บคุ ลากรได้รบั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่อง -บคุ ลากรจบการศกึ ษาไม่ตรงกับวชิ าการท่จี ัดการเรยี น -บคุ ลกรมีการนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการจดั การเรยี น การสอน การสอน -บคุ ลากรไมน่ าส่ิงที่ไดร้ บั การพัฒนามาปรบั ใชใ้ หเ้ กดิ -วิทยากรมคี วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ประโยชน์ -บุคลกรมีการแสวงหาความรู้ล่วงหน้า ก่อนการจดั การ -บคุ ลากรไม่มเี วลาในเรื่องของการจัดการเรยี นการสอน เรยี นการสอน อย่างต่อเนือ่ งและเป็นปัจจุบัน -บุคลากรไม่มีเวลาในการจัดการเรียนการสอนใหต้ รง งบประมาณ ตามแผนทกี่ าหนด -มกี ารจัดทาแผนการใช้งบประมาณอยา่ งชดั เจน โดย การมสี ว่ นรว่ มของบคุ ลากร งบประมาณ -งบประมาณมีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา การบรหิ ารท่ัวไป -งบประมาณมีไม่เพียงพอ -มีโครงสรา้ งองค์กร/การดาเนินงานท่ชี ัดเจน ทาให้ -งบประมาณลา่ ชา้ ไม่พอตอ่ การจัดกิจกรรมของแตล่ ะ สามารถปฏบิ ตั งิ านได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ไตรมาส -มีการนเิ ทศภายในอยา่ งเปน็ ระบบ -มรี ะบบสารสนเทศช่วยในการปฏิบตั งิ านได้อยา่ ง การบริหารทัว่ ไป สะดวกและรวดเรว็ -ระบบการนิเทศภายใน กากับ ติดตามผล ไม่เป็นไป -มีการจดั ทาแผนบรหิ ารความเสย่ี ง อย่างต่อเนอื่ งและปัจจบุ นั -ขาดการบริหารงานอย่างต่อเน่อื ง เน่อื งจากมีการ เปลย่ี นแปลงผูบ้ รหิ ารบ่อย -ไมน่ าแผนการบริหารความเส่ียงมาใชป้ ระโยชน์

20 แนวทางในการแก้ปญั หา ด้านวชิ าการ -พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา/ต่อเนอื่ ง -พัฒนารปู แบบวธิ กี ารจดั การเรยี นการสอน เพื่อให้เหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมายทแ่ี ตกต่างกัน และยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ ส่ี งู ข้นึ -จัดทาแผนการเรียนรโู้ ดยการมสี ว่ นรว่ มของผเู้ รยี น ตามลักษณะผูเ้ รียนแตกตา่ งกนั และความต้องการของผู้เรยี น ด้านบคุ ลากร -จดั พฒั นาบุคลากร ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพปัญหา ข้อบกพรอ่ งท้ังการจดั การศึกษาและการบรหิ ารงานภายใน สถานศึกษา ดา้ นงบประมาณ -ใหม้ กี ารตรวจสอบการใช้งบประมาณตามไตรมาส ด้านการบรหิ ารทว่ั ไป -ผ้นู เิ ทศภายในสรปุ และรายงานผลการนเิ ทศอย่างต่อเน่ือง -สรา้ งใหบ้ คุ ลากรเกิดความตระหนกั ในการดาเนนิ งานแผนบริหารความเสย่ี ง สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส อปุ สรรค ด้านสังคม ด้านสงั คม -ได้รับการยอมรับจากชุมชนและให้ความร่วมมือในการ -บางชมุ ชนเปน็ พนื้ ทีท่ ่องเท่ยี ว ให้ความสาคญั กบั จัดกิจกรรม การศกึ ษาน้อย -ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นมีความรู้ ความสามารถหลากหลาย -แหลง่ เรียนร้ใู นชุมชนมหี ลากหลาย สามารถนาไปใช้ จัดกจิ กรรม กศน.ได้ ดา้ นเทคโนโลยี ดา้ นเทคโนโลยี -มีระบบอินเตอร์เนต็ บริหารท้ัง สองตาบล -วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยีมีไม่เพียงพอต่อการให้บริการ ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นเศรษฐกิจ -เกาะชา้ ง เป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว มรี ะบบเศรษฐกิจท่ดี ี -มีคา่ ครองชพี สงู ประชาชนสนใจกบั การทางาน ให้ ความสาคัญกับการศกึ ษานอ้ ย ดา้ นนโยบาย ด้านนโยบาย -สานกั งาน กศน.มีนโยบาย ทาใหส้ ามารถนาไปใช้เป็น -มีการปรบั เปลีย่ นนโยบายบอ่ ย ส่งผลใหค้ รู มภี าระ แนวทางในการปฏบิ ัตงิ านได้ งานเพิ่มขึน้ ส่งผลใหก้ ารจดั กิจกรรม กศน.ไม่ตอ่ เนอื่ ง -สานักงาน กศน.จงั หวัดมีนโยบายสอดคล้องกับ -รายงานตามแผนนโยบายเร่งดว่ นบ่อยครั้ง นโยบายหลกั ของสานักงาน กศน. -สถานศึกษามนี โยบายสอดคล้องกับนโยบายตน้ สังกัด ด้านเครือขา่ ย ดา้ นเครือขา่ ย -เครือขา่ ยและผู้นาชมุ ชน ขาดทกั ษะในด้านการใช้สอื่ -ภาคีเครือข่ายและผู้นาชุมชนให้การสนบั สนนุ ในการ เทคโนโลยสี ารสนเทศ จัดกิจกรรม กศน. เปน็ อย่างดี -ไดร้ ับการสนับสนุนจากภาคีเครอื ขา่ ยในการจัดต้งั แหล่งเรียนรู้ในตาบล

21 แนวทางในการแก้ปัญหาภายนอก -ประชาสัมพันธใ์ หค้ วามสาคัญกบั การศึกษา ขอสนับสนนุ วัสดุ อุปกรณ์เทคโนโลยี เพอ่ื ให้เพียงพอต่อความ ต้องการ โดยเชิญเครือข่ายและผู้นาชมุ ชนจัดกจิ กรรมส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี -เตรยี มความพร้อมบุคลกรในการรับมือกับการเปลยี่ นแปลงนโยบาย 3. เป้าหมายหลักของการบริหารจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เป้าหมายสถานศึกษา กศน.อาเภอเกาะช้าง พฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานของ สถานศกึ ษาโดยผเู้ รยี น ใช้แหลง่ เรียนรู้ ภูมิปัญญา ด้วยการมสี ่วนรว่ มของภาคีเครอื ข่าย

22 บทที่ ๓ แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 1. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ วสิ ยั ทศั น์ “คนไทยทุกคนได้รบั การศกึ ษาและเรียนรู้ตลอดชวี ิตอย่างมคี ุณภาพ ดารงชีวติ อย่าง เปน็ สขุ สอดคล้องกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21” เปา้ หมายของการจัดการศกึ ษา 1. เพ่ือพัฒนาระบบและกระบวนการ จัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีประสทิ ธภิ าพ 2. เพือ่ พฒั นาคนไทยให้เป็นพลเมอื งดี มีคุณลักษณะ ทกั ษะและสมรรถนะที่สอดคลอ้ งกับ บทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติและยทุ ธศาสตร์ชาติ 3. เพอ่ื พัฒนาสงั คมไทยใหเ้ ป็นสังคม แหง่ การเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และ รว่ มมอื ผนกึ กาลงั ม่งุ สู่การพัฒนาประเทศ อยา่ งย่ังยืน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ 4. เพอ่ื นาประเทศไทยก้าวขา้ มกับดกั ประเทศท่มี ีรายไดป้ านกลาง และความเหลือ่ มล้า ภายในประเทศลดลง ยทุ ธศาสตร์หลักท่ีสอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (ยุทธศาสตร์และเปา้ หมายตาม ยุทธศาสตร์) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การจดั การศึกษาเพ่ือความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพฒั นากาลังคน การวิจัย และนวตั กรรม เพอ่ื สรา้ งขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวยั และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษา ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพ่ือสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบริหารจดั การศกึ ษา เปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ เปา้ หมายที่ 1 เขา้ ถึงการศึกษา (Access) เปา้ หมายท่ี 2 ความเท่าเทยี ม (Equity) เปา้ หมายท่ี 3 ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) เป้าหมายที่ 4 คุณภาพ (Quality) เป้าหมายที่ 5 ตอบโจทยบ์ ริบท ทเ่ี ปลยี่ นแปลง (Relevancy). 2. แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี ๑๒ (๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) วิสยั ทศั น์ มุง่ พัฒนาผ้เู รยี นใหม้ ีความรคู้ คู่ ณุ ธรรม มคี ุณภาพชวี ิตที่ดี มีความสขุ ในสังคม เปา้ หมายหลกั 1. คณุ ภาพการศึกษาของไทยดีขึ้น คนไทยมีคุณธรรมจรยิ ธรรม มภี ูมคิ มุ้ กนั ต่อการเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาประเทศในอนาคต 2. กาลังคนไดร้ ับการผลิตและพฒั นาเพ่ือเสรมิ สรา้ งศักยภาพการแขง่ ขนั ของประเทศ 3. มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพฒั นาประเทศอยา่ งยั่งยนื 4. คนไทยได้รับโอกาสในการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 5. ระบบบรหิ ารจัดการการศึกษามปี ระสทิ ธิภาพตามหลกั ธรรมาภิบาลโดยการมสี ว่ น รว่ มจากทกุ ภาคสว่ น

23 พันธกจิ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดบั 2. เสรมิ สร้างโอกาสเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาของประชาชนอยา่ งทวั่ ถงึ เท่าเทยี ม 3. พฒั นาระบบบริหารจัดการการศกึ ษาตามหลักธรรมาภบิ าล ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ยทุ ธศาสตร์พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล ที่มงุ่ หวังใหค้ นไทยมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมมีภมู ิคุ้มกันต่อการเปล่ยี นแปลงและการพฒั นาประเทศในอนาคตซงึ่ ตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพและดา้ นการตอบโจทย์บรบิ ทท่เี ปลี่ยนแปลง ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ยทุ ธศาสตร์ผลติ พฒั นาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาท่ีมุ่งหวังใหม้ ี การผลติ ครูได้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการในการจัดการศึกษาทุกระดับทุกประเภทและมีสมรรถนะตามมาตรฐาน วิชาชีพ สามารถใชศ้ ักยภาพในการสอนไดอ้ ย่างเต็มที่ ซึง่ ตอบสนองการพฒั นาในดา้ นคุณภาพ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตร์ผลิตและพฒั นากาลงั คน รวมท้ังงานวิจยั ทส่ี อดคล้องกับความตอ้ งการ ของการพัฒนาประเทศท่ีม่งุ หวงั ให้กาลังคนได้รบั การผลติ และพัฒนาเพอ่ื เสริมสร้างศกั ยภาพการแขง่ ขันของประเทศ และมีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรม สนบั สนุนการพัฒนาประเทศอย่างยงั่ ยืนซ่ึงตอบสนองการพฒั นาในด้าน คุณภาพและด้านการตอบโจทยบ์ รบิ ททเ่ี ปลีย่ นแปลง ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ยทุ ธศาสตร์ขยายโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการศึกษาและการเรยี นรู้อยา่ ง ต่อเน่อื งตลอดชวี ติ ทม่ี ุ่งหวังให้การบริการการศกึ ษาแกผ่ เู้ รียนทกุ กลุม่ ทุกวยั ในระดับท่เี หมาะสมกบั สภาพบรบิ ทและ สภาพพ้นื ท่ซี ึ่งตอบสนองการพฒั นาในดา้ นการเข้าถงึ การให้บริการและดา้ นความเท่าเทียม ยทุ ธศาสตร์ 5 ยทุ ธศาสตรส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยดี ิจิทัลเพอ่ื การศึกษาท่ีม่งุ หวงั ให้คน ไทยได้รบั โอกาสในการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวติ โดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศซงึ่ ตอบสนองการพฒั นาในดา้ น การเขา้ ถึงการใหบ้ ริการ ด้านความเทา่ เทยี มและด้านประสิทธภิ าพ ยทุ ธศาสตร์ 6 ยทุ ธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจดั การ และสง่ เสรมิ ใหท้ ุกภาคส่วนมีสว่ นรว่ มใน การจัดการศกึ ษาทีม่ ่งุ หวงั ให้มีการใช้ทรพั ยากรท้ังดา้ นงบประมาณและบุคลากรได้อยา่ งคุ้มค่า ไมเ่ กดิ การสญู เปลา่ และมีความคล่องตัวซงึ่ ตอบสนองการพัฒนาในด้านประสทิ ธิภาพ 3. สาระสาคัญของแผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) วสิ ยั ทศั น์ คนไทยไดร้ บั โอกาสการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตอยา่ งมีคุณภาพ สามารถดารงชวี ิตที่ เหมาะสมกบั ช่วงวยั สอดคล้องกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมที ักษะท่ีจาเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 เป้าหมายหลกั 1) คนไทยสามารถเขา้ ถึงบริการการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมทง้ั การ เรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ที่มคี ุณภาพ และมาตรฐานอยา่ งท่วั ถึง 2) คนไทยมีสมรรถนะและทักษะในการดารงชีวิตทีเ่ หมาะสมกบั ช่วงวัย สอดคลอ้ งกบั หลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง และพรอ้ มรบั การเปล่ยี นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 3) หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบเทคโนโลยีทีท่ ันสมยั และมีประสทิ ธิภาพ เพื่อใหบ้ รกิ าร การศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตใหก้ บั ประชาชนอย่างทั่วถึงและมปี ระสทิ ธิภาพ 4) หนว่ ยงานและสถานศึกษามีระบบบริหารจดั การทีม่ ีประสิทธิภาพ ภายใตก้ ารบริหารจัดการ ตามหลกั ธรรมาภิบาล

24 5) ทกุ ภาคส่วนมบี ทบาทและมีสว่ นร่วมในการส่งเสริม สนบั สนนุ และจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ ตลอดชวี ิต ยทุ ธศาสตร์ 1) เพม่ิ และกระจายโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศึกษาและการเรียนรู้ที่มคี ณุ ภาพ 2) พฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคนทุกชว่ งวัยให้มสี มรรถนะ และทักษะเหมาะสม มีคุณภาพชวี ิตทีด่ ี 3) ส่งเสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพอ่ื การศึกษาสาหรบั คนทุกช่วงวยั 4) พัฒนาระบบบริหารจดั การศกึ ษา และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีสว่ นรว่ มในการจัด การศกึ ษา เป้าหมายตามยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 เพ่มิ และกระจายโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศึกษาและการเรียนรูท้ มี่ คี ุณภาพ เป้าหมายตามยทุ ธศาสตร์ 1) คนไทยไดร้ บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตที่มี คุณภาพและมาตรฐาน 2) แหล่งเรียนรู้ สือ่ และนวัตกรรมการเรยี นรู้มคี ุณภาพและมาตรฐาน ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ได้ โดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานท่ี 3) คนไทยทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจชายแดนใต้ และพ้นื ทพ่ี ิเศษได้รบั การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทม่ี ีคณุ ภาพ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 พัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวยั ใหม้ สี มรรถนะ และทกั ษะเหมาะสม มี คณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี เปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ 1) คนทุกชว่ งวัยมที ักษะ ความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษา และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ ตามศกั ยภาพ 2) คนไทยไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะและทกั ษะในการดารงชวี ติ ทีเ่ หมาะสมกับช่วงวยั และพร้อม รบั การเปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 รวมพน้ื ทชี่ ายแดนใตแ้ ละพนื้ ท่ีพเิ ศษ 3) ระบบการวัดผลและประเมินผลและการเทียบโอนการศึกษาที่มปี ระสทิ ธภิ าพ 4) คนไทยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยดึ มนั่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 5) สถานศึกษาสามารถจัดกจิ กรรม กระบวนการเรียนรูต้ ามหลักสตู รได้อย่างมคี ุณภาพ มาตรฐาน 6) ครู บคุ ลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาสมรรถนะอย่างตอ่ เนื่อง ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ส่งเสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพอ่ื การศึกษาสาหรบั คนทุกชว่ งวยั เปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ 1) โครงสรา้ งพนื้ ฐานด้านเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพอื่ การศึกษาของหน่วยงานและสถานศกึ ษามีความ ทันสมัย และมีคุณภาพ 2) ผู้เรยี น รรู้ บั บริการได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ รบั การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั อยา่ งมีคุณภาพ 3) ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาครอบคลมุ ถูกต้อง เปน็ ปัจจุบนั มรี ะบบ เช่ือมโยงกับหน่วยงานอ่นื เพ่ือประโยชน์ในการจดั และบริการการศึกษา ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การศึกษา และส่งเสรมิ ให้ทุกภาคส่วนมบี ทบาทและมสี ่วนรว่ ม ในการจัดการศกึ ษา

25 เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 1) ระบบบรหิ ารจัดการมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล สง่ ผลต่อคณุ ภาพและมาตรฐานการจดั การศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชวี ิต 2) ระบบบรหิ ารงานบุคคล มีความเป็นธรรม สรา้ งขวัญและกาลังใจ และส่งเสรมิ ให้ปฏิบัตงิ านไดเ้ ต็มตาม ศักยภาพ 3) บุคลากรทุกประเภททุกระดบั ได้รบั การพัฒนาความรแู้ ละทักษะตามมาตรฐานตาแหน่ง รวมทัง้ บทบาท และภารกิจท่ีไดร้ ับมอบหมาย 4) กฎหมายและระเบยี บท่ีเก่ียวข้อง รองรับปฏบิ ัติงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและสอดคล้องกับบรบิ ทของ สภาพสังคม 5) ระบบและกลไกการวัด ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการศกึ ษา และ การเรยี นรมู้ ีประสิทธิภาพ 6) ทุกภาคสว่ นมบี ทบาทและมสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ท่ีตอบสนองต่อความต้องการ ของประชาชนในพืน้ ท่ี 4. มาตรฐานและตัวบง่ ชี้ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา กศน. มาตรฐานท่ี ๑ มาตรฐานคณุ ภาพของผเู้ รยี น /ผู้รบั บรกิ าร การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ๑.๑ ผเู้ รยี นการศึกษาขั้นพื้นฐานมคี ณุ ธรรม ๑.๒ ผเู้ รยี นการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานมีทักษะกระบวนการคดิ ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรอู้ ยา่ ง ต่อเนอ่ื ง และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดารงชวี ติ ๑.๓ ผูเ้ รยี นการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานมีความรู้พืน้ ฐาน การศึกษาต่อเน่อื ง ๑.๔ ผู้เรยี นหรือผู้เข้ารบั การอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการประกอบอาชพี ๑.๕ ผู้เรยี นหรอื ผูเ้ ข้ารับการอบรมปฏบิ ัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑.๖ ผ้เู รยี นหรือผ้เู ขา้ รบั การอบรมสามารถใชเ้ ทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม การศึกษาตามอัธยาศัย ๑.๗ ผู้รบั บรกิ ารไดร้ บั ความร้แู ละ/หรือประสบการณจ์ ากการเขา้ รว่ มกิจกรรม/โครงการ การศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๒ มาตรฐานคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา/การให้บรกิ าร การศึกษาข้ันพื้นฐาน ๒.๑ คณุ ภาพครูการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ๒.๒ คุณภาพของหลักสูตรสถานศกึ ษา ๒.๓ คุณภาพส่ือตามหลักสตู รสถานศึกษา ๒.๔ คุณภาพการจดั กระบวนการเรยี นร้ตู ามหลักสตู รสถานศึกษา การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ๒.๕ คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ๒.๖ คณุ ภาพของหลักสตู รและสอ่ื การศกึ ษาต่อเนือ่ ง ๒.๗ คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรียนรกู้ ารศึกษาตอ่ เนื่อง การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๒.๘ คุณภาพผู้จดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย

26 ๒.๙ คณุ ภาพกระบวนการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี ๓ มาตรฐานประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การการศึกษา ๓.๑ การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลักธรรมาภบิ าล ๓.๒ การส่งเสรมิ สนับสนุนการจดั การศกึ ษาของภาคีเครอื ข่าย ๓.๓ การมสี ่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ๓.๔ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 5. ทกั ษะทส่ี าคญั ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ 5.1 ทกั ษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ประกอบดว้ ย คิดสรา้ งสรรค์ ใส่ใจนวตั กรรม มีวจิ ารณญาณ แกป้ ญั หาเป็น ส่อื สารดี และเต็มใจร่วมมือ 5.2 ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ประกอบด้วย อัพเดตทกุ ข้อมูลขา่ วสาร รูเ้ ทา่ ทันส่ือรอบรู้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และฉลาดสื่อสาร 5.3 ทกั ษะชีวติ และอาชีพ ประกอบดว้ ย มคี วามยืดหยุ่น รูจ้ ักปรับตัว รเิ ริม่ สงิ่ ใหม่ ใสใ่ จดแู ลตัวเอง รู้จกั เขา้ สังคม เรียนร้วู ฒั นธรรม มีความเป็นผนู้ า รบั ผิดชอบหน้าท่ี พัฒนาอาชพี และหมั่นหาความรู้รอบด้าน 5.4 สาระวิชาหลกั (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่ และภาษาสาคญั ของโลก ศิลปะ คณติ ศาสตร์ การปกครองและหนา้ ท่ีพลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมศิ าสตรแ์ ละประวัตศิ าสตร์ 6. วสิ ัยทศั น์ ภายในปี พ.ศ. 2564 ผเู้ รียนของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอ เกาะช้าง ไดร้ บั บรกิ ารทางการศกึ ษา ตามความต้องการและมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเป็นไปตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยผเู้ รยี นศึกษาค้นคว้าผ่านช่องทางสอ่ื ประเภทต่างๆ ดว้ ยการมสี ่วนรว่ มของภาคี เครือข่าย 7. อัตลกั ษณ์ ใฝ่รู้ คดิ เป็น มคี ุณธรรม 8. เอกลักษณ์ เนน้ การมสี ่วนร่วม คานยิ าม ใฝร่ ู้ = ผูเ้ รียนมีความกระตือรือร้น ในการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ือง โดยการศึกษาความรู้ผา่ นสื่อและชอ่ งทาง การเรยี นรตู้ ่างๆ และสามารถนาความร้มู าประยุกต์ใช้ เพื่อพฒั นาตนเอง พฒั นางานตามความต้องการ คดิ เปน็ = ผู้เรยี นมีทกั ษะกระบวนการคิด โดยใช้ข้อมลู รอบดา้ น เพ่ือการแก้ไขปญั หา หรือพฒั นางานอยา่ ง มเี หตุผล มีคณุ ธรรม = ผูเ้ รียนมกี ารปฏิบตั ติ นทด่ี ใี นการเรยี น การดารงชีวิต การประกอบอาชีพ และไม่สรา้ งความ เดือดร้อนแกผ่ ู้อื่น เน้นการมสี ่วนร่วม = สถานศึกษาดาเนนิ การโดย เน้นการมีส่วนรว่ มทงั้ จากบคุ ลกร ภายในสถานศกึ ษาและ ภาคีเครอื ข่าย เพื่อร่วมในการบริหารและจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 9. พนั ธกิจ 1. กาหนดมาตรฐานการเรยี นร้ขู องสถานศึกษา 2. พฒั นาหลกั สตู รการจัดการศึกษาให้มีความทนั สมยั และสอดคล้องกบั ความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย 3. ออกแบบการจัดการเรยี นรูใ้ ห้สอดคล้องกบั มาตรฐานหลักสตู ร

27 4. พฒั นาครูและบุคลากร ให้มีความรู้ ทกั ษะในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั 5. ส่งเสริมสนบั สนุนให้ผู้เรียนมกี ารศึกษาคน้ คว้าหาความรู้ผ่านชอ่ งทางสื่อประเภทต่างๆ 6. สง่ เสริมสนับสนุนประสานการมสี ่วนรว่ มของภาคเี ครือข่ายและชมุ ชนในการจัด การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 7. จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตามความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมาย 10. เป้าประสงค์ 1. ผเู้ รียนมผี ลการเรียนรู้ และมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์และสมรรถนะสาคญั ตามมาตรฐานท่หี ลักสตู ร กาหนด 2. สถานศึกษามีหลักสูตรการจดั การศกึ ษาทีเ่ ป็นไปตามสภาพการเปลย่ี นแปลงและ สอดคล้องกับความ ตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย 3. สถานศึกษามีแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่สี อดคล้องกบั มาตรฐานหลักสตู ร 4. ครูและบุคลากรของสถานศึกษามคี วามรู้ทักษะในการออกแบบและจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 5. ผ้เู รยี นมกี ารศึกษาค้นคว้าหาความรู้ จากแหลง่ เรียนรแู้ ละสอ่ื ประเภทตา่ งๆเพ่ือพฒั นาตนเองได้ 6. ภาคเี ครอื ข่ายให้การสนบั สนนุ และมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 7. สถานศึกษามีการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยตามความตอ้ งการของ กลุ่มเป้าหมาย 11. กลยุทธ์ ด้านคุณภาพผูเ้ รยี น 1. เพ่ือจดั การเรยี นรู้ด้านการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานตามมาตรฐานท่ีกาหนด 2. เพ่อื จดั การเรยี นรู้ด้านการศึกษาตอ่ เนื่องตามมาตรฐานที่กาหนด 3. เพือ่ จดั การเรียนรดู้ ้านการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตามมาตรฐานทีก่ าหนด ด้านคณุ ภาพสถานศกึ ษา 1. เพ่อื พฒั นาหลกั สตู รการศึกษาข้นั พื้นฐานและหลักสตู รการศึกษาต่อเนือ่ งให้มีคุณภาพ 2. เพื่อออกแบบแผนการจดั การเรียนร้ทู ี่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและกล่มุ เปา้ หมาย 3. เพื่อพฒั นาระบบบรหิ าร จดั การ และควบคุมให้มีคุณภาพ ดา้ นการมสี ว่ นรว่ ม เพอ่ื ส่งเสริมให้ภาคเี ครือขา่ ยจัดและหรอื รว่ มจดั กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย

28 บทที่ ๔ บญั ชีแผนกลยุทธ์ จาศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเกาะช้าง ได้กาหนดกลยุทธเ์ พื่อจดั การศกึ ษา 3 กลยุทธ์ ดงั นี้ กลยทุ ธ์ท่ี 1 คุณภาพผ้เู รียน มีรายละเอยี ดการดาเนินงาน ดังน้ี วัตถปุ ระสงค์ โครงการ เกณฑค์ ุณภาพ 1. เพ่ือจดั การเรยี นรู้ดา้ นการศึกษาขน้ั 1 โครงการจัดการศึกษานอกระบบ 1.ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตาม พน้ื ฐานตามมาตรฐานทกี่ าหนด ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ค่าเฉลยี่ ผลสมั ฤทธ์ิทสี่ ถานศึกษา กาหนด รายวชิ า ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย ทกั ษะฯ 25.50 27 29 ภาษาไทย 28 28 29 ภาษาอังกฤษ 33 22 21 คณิตศาสตร์ 25 23 23 วิทยาศาสตร์ 27 25 23 ชอ่ งทางฯ 23 28 23 ทกั ษะอาชพี 25 23 26 พฒั นาอาชีพ 22 20 20 เศรษฐกิจฯ 38 26 23 สขุ ศึกษาฯ 32 28 26 ศิลปศึกษา 23 25 22 สังคมศกึ ษา 23 20 22 ศาสนาฯ 27 27 23 พฒั นาฯ 27 23 25 2. ร้อยละ 80 ของผู้เรียนนาความรู้ พืน้ ฐานไปใช้ในการดาเนนิ ชีวิต การ ทางาน 3. ผเู้ รียนที่เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ีหรอื ต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้/ ประยุกตใ์ นการดารงชีวติ จานวน 8 คน 4. รอ้ ยละ 61.00 ของผู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม 5. ผูเ้ รียนทเ่ี ป็นตัวอย่างที่ดีหรือตน้ แบบ ด้านคณุ ธรรม จานวน 8 คน 6. รอ้ ยละ 49.50 ของผู้เรียนมที กั ษะ กระบวนการคิด 7. รอ้ ยละ 49.50 ของผเู้ รียนมีทกั ษะ การแสวงหาความรู้ เรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการ ดารงชีวติ 8. ผู้เรยี นทีเ่ ปน็ ตัวอย่างท่ดี หี รือตน้ แบบ ดา้ นทักษะกระบวนการคิด

29 2. เพ่อื จดั การเรยี นร้ดู า้ นการศึกษา 2โครงการจดั การศึกษาต่อเนื่อง จานวน 6 คน ตอ่ เนือ่ งตามมาตรฐานทกี่ าหนด 9. ผู้เรยี นท่ีเปน็ ตวั อยา่ งท่ีดีหรอื ต้นแบบ 3 โครงการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ทักษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรู้อย่าง 3. เพอ่ื จัดการเรียนรดู้ า้ นการศกึ ษา ต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน ตามอธั ยาศยั ตามมาตรฐานท่ีกาหนด การดารงชีวติ จานวน 8 คน 1. รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียนหรอื ผูเ้ ข้ารบั การอบรมมีความรู้ ความสามารถตาม วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร 2. รอ้ ยละ 33.33 ของผเู้ รียนนา ความร้ไู ปใชใ้ นการเพมิ่ ทักษะความรู้ 3. ผเู้ รยี นท่ีเปน็ ตัวอย่างท่ีดหี รือ ต้นแบบในการนาความรู้ไปใช้จานวน 6 คน 4. รอ้ ยละ 85 ของผู้เรยี นหรอื ผเู้ ขา้ รับ การอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. รอ้ ยละ 39.17 ของผเู้ รียนหรือผู้ เข้ารบั การอบรมปฏิบัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. ผู้เรยี นทีเ่ ปน็ ตัวอยา่ งท่ดี ีหรือ ตน้ แบบในการปฏบิ ตั ติ นตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จานวน 8 คน 7. ร้อยละ 80 ของผเู้ รียนหรอื ผู้เขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้ความเขา้ ใจ และมี ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 8. รอ้ ยละ 3.00 ของผู้เรียนหรือผูเ้ ข้า รับการอบรมสามารถนาความร้ไู ปใชใ้ น การประกอบอาชีพ 9. ผูเ้ รียนทเี่ ป็นตัวอย่างทีด่ ีหรอื ตน้ แบบในการเทคโนโลยีจานวน 6 คน 1. กลุ่มเป้าหมายเข้ารว่ มกจิ กรรม/โครงการ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั จานวน 6,400 คน 2. ผู้รับบรกิ ารได้รบั ความรูแ้ ละ/หรอื ประสบการณ์จากการเขา้ รว่ ม กจิ กรรม/โครงการการศึกษาตาม อธั ยาศยั จานวน 12 คน

30 3. ผรู้ ับบริการท่เี ป็นตวั อยา่ งท่ีดีหรอื ตน้ แบบในการนาความร้จู ากการเข้า รว่ มกจิ กรรม/โครงการการศึกษาตาม อัธยาศัยไปใช้ จานวน 12 คน กลยทุ ธท์ ่ี 2 พฒั นาคุณภาพสถานศึกษามีรายละเอยี ดการดาเนินงาน ดังนี้ วัตถปุ ระสงค์ โครงการ เกณฑ์คณุ ภาพ 1. โครงการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา 1.เพ่ือพฒั นาหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ หลกั สูตรสถานศกึ ษามีคุณภาพ พ้นื ฐานและหลกั สูตรการศึกษาตอ่ เน่อื ง 1. โครงการพัฒนาครูดา้ นการออกแบบ โดยผา่ นการ ตรวจสอบและ ให้มคี ณุ ภาพ การจดั การเรยี นรู้ ส่ือ เหน็ ชอบจากคณะกรรมการ วิชาการ 2. เพอ่ื ออกแบบแผนการจดั การ 2. โครงการจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน การ เรียนรู้ที่สอดคล้องกบั ความ พิจารณา หลักสูตร สอื่ กระบวนการ ร้อยละ 100 ของครู สามารถ ตอ้ งการของชมุ ชนและ จัดการเรยี น ออก แบบการจัดการเรยี นรู้ ที่ กลมุ่ เปา้ หมาย 3. โครงการพฒั นาวทิ ยากรจัดการศึกษา สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของ ต่อเนอื่ ง ชุมชนและกลมุ่ เปา้ หมาย 3. เพอ่ื ให้สถานศึกษามีระบบการ บรหิ ารจดั การ และการควบคุม 4. โครงการพัฒนาจัดการศึกษาตาม รอ้ ยละ 100 ของผู้เรยี นมีความ อยา่ งมีคุณภาพ อธั ยาศยั พึงพอใจต่อกจิ กรรมการจัดการ เรียนการสอน 1. โครงการประกนั คุณภาพภายใน สถานศึกษา รอ้ ยละ 90 ของ ผูเ้ รยี น/ ผรู้ ับบรกิ าร มีความพึงพอใจต่อ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ในระดบั ดีขน้ึ ไป 1.มีการพฒั นารูปแบบการจัด การศกึ ษาตามอธั ยาศัยที่ สอดคล้องกับสมรรถนะของ สถานศึกษาอย่างนอ้ ย 1 ผลงาน ต่อปี 2. ร้อยละ 100 ของผู้รับบรกิ าร มีความพึงพอใจต่อรปู แบบการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1.มกี ารทบทวนการดาเนินงาน อยา่ งต่อเนอื่ ง 2.มีการตรวจสอบแผนการ ดาเนินงานอย่างตอ่ เนื่อง 3..มีการนิเทศภายใน และติดตาม การปฏบิ ัตงิ าน อยา่ งตอ่ เน่ือง 4.มีการรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามแผนงานอยา่ งต่อเนอ่ื ง

31 กลยทุ ธท์ ี่ 3 การมสี ่วนร่วม มีรายละเอยี ดการดาเนินงาน ดังนี้ วัตถุประสงค์ โครงการ เกณฑ์คุณภาพ 1.เพื่อสง่ เสรมิ ให้ภาคเี ครือข่ายจัด 1.โครงการบรู ณาการความร่วมมือของ 1 ใน 3 ของโครงการตามแผนการ ปฏบิ ัตงิ านประจาปี ดาเนินงาน และหรอื รว่ มจัดกจิ กรรมการศึกษา ภาคีเครอื ขา่ ย แนวคดิ เกี่ยวกับการสร้าง โดยการมีสว่ นรว่ มของภาคี เครอื ข่าย นอกระบบและการศึกษาตาม กลไก หรือกระบวนการสง่ เสริมใหภ้ าคี อธั ยาศัย เครอื ข่ายจัด/ร่วมจดั ดว้ ย

บัญชีแผนงานและโค กลยุทธ์ วตั ถปุ ระสงค์ โครงการ ตวั ชวี้ ดั กลยุทธ์ที่ 1 1. สามารถ 1.1 โครงการ 1. ผเู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางกา คุณภาพผู้เรียน จัดการเรยี นรดู้ ้าน จัดการศกึ ษา มาตรฐานของสถานศึกษา การศกึ ษาขัน้ ระดับประถมศกึ ษา พนื้ ฐานตาม นอกระบบระดับ ทักษะการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี การศกึ ษาข้ัน ภาษาไทย กาหนด พน้ื ฐาน ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ชอ่ งทางการเข้าสู่อาชีพ ทกั ษะอาชีพ พฒั นาอาชีพใหม้ ีอยู่มีกิน เศรษฐกิจพอเพียง สุขศกึ ษา พลศกึ ษา ศิลปศกึ ษา สังคมศกึ ษา ศาสนาและหนา้ ทีพ่ ลเมือง การพฒั นาตนเอง ชุมชนและ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ทักษะการเรยี นรู้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ช่องทางอาชีพ ทักษะอาชีพ

ครงการตามการปฏบิ ตั งิ าน 32 2561 เกณฑค์ ุณภาพ กลุม่ งาน / 2562 2563 2564 งานรบั ผดิ ชอบ ารเรยี นตาม งานการศึกษาข้ัน พ้นื ฐาน 24.00 - - 24.50 - 28 28.50 - - 33 - 33.50 - 25 - 25.50 25.50 25 - - 21.50 - 21 - - - - 25 25.50 36.50 - - 22 22.50 - - 36 - - - 25.50 - 32 32.50 25.50 - 23 23.50 - - 23 23.50 22.50 - - 27 27.50 23.50 ะสังคม - 25 - 26.50 - 25 - - - 28 28.50 - 22 - 21 - 21.50 - 23 - - 26 - 21 - 22

กลยทุ ธ์ วตั ถปุ ระสงค์ โครงการ ตัวช้วี ัด พฒั นาอาชีพใหม้ ีความเขม้ แ เศรษฐกิจพอเพยี ง สุขศึกษา พลศึกษา ศิลปศกึ ษา สังคมศึกษา ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมอื ง การพัฒนาตนเอง ชมุ ชนและ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ทกั ษะการเรยี นรู้ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพ่อื ชวี ติ และสงั คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ทกั ษะการขยายอาชพี พัฒนาอาชพี ให้มีความม่ันคง ช่องทางการขยายอาชพี เศรษฐกจิ พอเพียง สขุ ศกึ ษา พลศึกษา ศลิ ปศกึ ษา สงั คมศกึ ษา ศาสนาและหน้าทพี่ ลเมอื ง การพฒั นาตนเอง ชมุ ชนและ 2. รอ้ ยละ ของผ้เู รยี นนาคว ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ การทา

2561 เกณฑค์ ุณภาพ 2564 33 2562 2563 - - กลุ่มงาน / 24 18 18.50 24.50 งานรบั ผิดชอบ 26 -- แขง็ - - 26.50 - 18 23 23.50 - ะสังคม - - 18.50 - ย - 25 25.50 - งคม 21 - 21.50 ง - - 27 - 27.50 ะสงั คม - 27 - 27.50 21 19 - 19.50 - - 21.50 24 21 - - - - 24.50 21.50 - 18 18.50 - 24 - - 24 21 - - - - 24.50 24.50 - 20 20.50 21.50 - 20 20.50 - - 21 21.50 - 23 - - วามรพู้ ้นื ฐานไป 77 - างาน 78 79 23.50 80

กลยทุ ธ์ วัตถุประสงค์ โครงการ ตวั ช้วี ัด 2. สามารถ 1.2 โครงการ 3. ผู้เรยี นทเ่ี ป็นตัวอย่างทีด่ หี จัดการเรยี นรูด้ ้าน จัดการศึกษา การนาความรู้ไปใช/้ ประยกุ ต การศกึ ษาต่อเนอื่ ง ต่อเนอ่ื ง ดารงชวี ติ ตามมาตรฐานท่ี 4. ร้อยละ 61.00 ของผู้เรีย กาหนด จริยธรรม 5. ผเู้ รยี นที่เปน็ ตัวอยา่ งทดี่ หี ดา้ นคณุ ธรรม 6. ร้อยละ ของผู้เรยี นมีทัก กระบวนการคดิ 7. รอ้ ยละ ของผู้เรยี นมีทัก ความรู้ เรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เน่ือง นาไปประยกุ ต์ใช้ในการดารง 8. ผ้เู รยี นทเี่ ปน็ ตัวอยา่ งทดี่ หี ด้านทกั ษะกระบวนการคดิ 9. ผเู้ รยี นท่เี ปน็ ตัวอย่างทด่ี หี ทักษะการแสวงหาความรู้ เร ตอ่ เน่ือง และสามารถนาไปป การดารงชีวิต 1. ร้อยละ ของผูเ้ รยี นหรือผ อบรมมคี วามรู้ ความสามาร วัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร 2. ร้อยละ ของผูเ้ รยี นนาคว การเพ่มิ ทักษะความรู้ 3. ผู้เรยี นท่ีเปน็ ตัวอยา่ งท่ีดีห การนาความรไู้ ปใช้ 4. ร้อยละ 85 ของผู้เรยี นห

หรือตน้ แบบใน 2561 เกณฑ์คณุ ภาพ 34 ตใ์ นการ 2562 2563 2 คน กล่มุ งาน / 2 คน 2 คน 2564 งานรับผดิ ชอบ ยนมคี ณุ ธรรม 60.65 60.75 60.75 2 คน 2 คน 2 คน หรือตน้ แบบ 2 คน 48.50 49.00 61.00 48.50 49.00 2 คน กษะ 48.00 49.50 49.50 กษะการแสวงหา 48.00 1 คน 2 คน ง และสามารถ 1 คน 2 คน 2 คน 2 คน งชวี ติ 2 คน หรือตน้ แบบ 80 งานการศึกษา หรือตน้ แบบ 2 คน ตอ่ เน่ือง รียนรอู้ ย่าง ประยกุ ตใ์ ชใ้ น 33.33 2 คน ผ้เู ข้ารบั การ 77 78 79 85 รถตาม วามรู้ไปใช้ใน 30.00 31.00 32.00 1 คน 2 คน หรอื ตน้ แบบใน 1 คน 82 84 หรอื ผู้เขา้ รับการ 80

กลยทุ ธ์ วตั ถปุ ระสงค์ โครงการ ตัวช้วี ดั 3. สามารถ 1.3 โครงการ อบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจใ จดั การเรียนรดู้ ้าน จดั การศึกษา ของเศรษฐกิจพอเพียง การศึกษาตาม ตามอธั ยาศยั 5. ร้อยละ ของผเู้ รยี นหรือผ อธั ยาศยั ตาม อบรมปฏิบตั ิตนตามหลักปร มาตรฐานที่ เศรษฐกิจพอเพียง กาหนด 6. ผูเ้ รียนท่เี ปน็ ตัวอยา่ งท่ดี หี การปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรัชญ เศรษฐกิจพอเพียง 7. รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รยี นห อบรมมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ แ ความสามารถในการใชเ้ ทคโ 8. ร้อยละ 3.00 ของผู้เรยี น การอบรมสามารถนาความร ประกอบอาชีพ 9. ผู้เรยี นท่เี ป็นตวั อยา่ งที่ดหี การเทคโนโลยีจานวน 6 คน 1. กล่มุ เปา้ หมายเขา้ รว่ มกิจ โครงการการศึกษาตามอัธยา 2. ผูร้ บั บริการไดร้ บั ความรแู้ ประสบการณ์จากการเขา้ รว่ โครงการการศึกษาตามอัธยา 3. ผรู้ บั บริการท่เี ป็นตัวอยา่ ง ตน้ แบบในการนาความรจู้ าก กิจกรรม/โครงการการศกึ ษา ไปใช้

35 เกณฑ์คณุ ภาพ กลุ่มงาน / 2561 2562 2563 2564 งานรบั ผิดชอบ ในหลักปรัชญา ผูเ้ ขา้ รบั การ 37.00 37.50 38.50 39.17 รชั ญาของ หรือตน้ แบบใน 2 คน 2 คน 2 คน 2 คน ญาของ หรอื ผเู้ ข้ารับการ 77 78 79 80 และมี โนโลยี นหรอื ผู้เข้ารบั 2.00 2.15 2.75 3.00 รูไ้ ปใช้ในการ หรอื ตน้ แบบใน 1 คน 1 คน 2 คน 2 คน น 6,000 คน 6,100 คน 6,300 คน 6,400 คน งานการศึกษาตาม จกรรม/ 3 คน 3 คน 3 คน อัธยาศัย าศัย จานวน และ/หรอื 3 คน 3 คน 3 คน 3 คน วมกจิ กรรม/ าศัย 3 คน งทดี่ หี รือ กการเขา้ ร่วม าตามอัธยาศัย

กลยุทธ์ วตั ถุประสงค์ โครงการ ตวั ชีว้ ัด กลยทุ ธ์ที่ 2 1.สามารถพัฒนา 1. โครงการ 1 หลกั สตู รสถานศกึ ษามีคุณ พฒั นาคุณภาพ หลกั สตู ร พัฒนาหลักสตู ร สถานศกึ ษา การศกึ ษาขนั้ สถานศึกษา ครูสามารถออกแบบการจดั พน้ื ฐานและ ตามความต้องการของชมุ ชน หลกั สูตร 1. โครงการ กลมุ่ เป้าหมาย การศกึ ษาต่อเนอื่ ง พฒั นาครูดา้ น ใหม้ ีคุณภาพ การออกแบบ การจัดการ 2.สามารถ เรยี นรู้ สอ่ื ออกแบบแผนการ จัดการเรยี นรทู้ ่ี สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ ชุมชนและ กลมุ่ เปา้ หมาย 2. โครงการจัด ครสู ามารถออกแบบจัดการเ การศึกษาข้ัน ไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพเหมาะสมก พน้ื ฐาน การ พิจารณา หลกั สูตร ส่อื กระบวนการ จดั การเรยี น

36 เกณฑ์คณุ ภาพ กลมุ่ งาน / 2561 2562 2563 2564 งานรับผดิ ชอบ ณภาพ     งานการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ดการเรยี นรู้ได้ 80 80 90 100 งานการศึกษาขนั้ นและ พืน้ ฐาน เรียนการสอน 80 80 90 100 งานการศึกษาขั้น กบั ผ้เู รยี น พน้ื ฐาน

กลยุทธ์ วตั ถปุ ระสงค์ โครงการ ตวั ชีว้ ดั 3. โครงการ ครู/วิทยากร สามารถออกแบ พัฒนาวิทยากร กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งเ จดั การศึกษา เน้ือหาตามหลกั สูตร ต่อเนือ่ ง 4. โครงการ 1. มีการพัฒนารูปแบบการจ พฒั นาจัด ตามอัธยาศยั ทสี่ อดคล้องกับ การศกึ ษาตาม สถานศึกษา อธั ยาศยั 2. ผรู้ บั บรกิ ารมีความพึงพอ การจัดการศึกษาตามอัธยาศ 3.สามารถพฒั นา 1. โครงการ 1.มีการทบทวน ตรวจสอบแ ระบบบริหาร ประกันคุณภาพ การศึกษาของสถานศกึ ษา (P จัดการ และ ภายใน 2.มีการดาเนินงานตามแผน ควบคุมให้มี สถานศึกษา สถานศกึ ษา (D) คุณภาพ 3.มีการนิเทศภายใน ติดตาม ปฏบิ ตั ิงานทกุ โครงการอยา่ ง ประเมนิ การจดั การศกึ ษามกี ผลสัมฤทธท์ิ ุกภาคเรยี น(C) 4.มีการรายงานผลการปฏบิ แผนงาน(A) กลยทุ ธท์ ่ี 3 การ เพ่ือส่งเสริมให้ 1.โครงการ ภาคีเครือข่ายให้ความรว่ มีสว่ นรว่ ม ภาคเี ครอื ขา่ ยจัด บรู ณาการความ จดั กิจกรรมการศึกษานอ

37 บบการจดั 2561 เกณฑค์ ณุ ภาพ 2564 กลุ่มงาน / เหมาะสมกบั 80 2562 2563 100 งานรับผิดชอบ 80 90 งานการศึกษา ตอ่ เนอื่ ง จัดการศึกษา 1 คน 2 คน 2 คน 3 คน งานการศึกษาตาม บสมรรถนะของ อัธยาศยั อใจตอ่ รูปแบบ 80 80 90 100 ศยั แผนคณุ ภาพ     งานบริหารและ P) งานบคุ ลากร นของ ม การ     งตอ่ เนอ่ื งมกี าร การตรวจสอบ     บตั งิ านตาม  วมมอื ในการ     งานส่งเสริม อกระบบและ

กลยทุ ธ์ วัตถุประสงค์ โครงการ ตัวชี้วดั และหรอื รว่ มจัด รว่ มมือของภาคี การศกึ ษาตามอัธยาศยั กจิ กรรมการศกึ ษา เครือข่าย นอกระบบและ แนวคิดเก่ียวกบั การศึกษาตาม การสรา้ งกลไก อัธยาศัย หรอื กระบวนการ ส่งเสรมิ ให้ภาคี เครือข่ายจัด/ ร่วมจดั ดว้ ย

38 เกณฑ์คุณภาพ กล่มุ งาน / 2561 2562 2563 2564 งานรับผดิ ชอบ

39 บทที่ ๕ การวางแผนการกากบั ตรวจสอบ รายงาน ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเกาะช้าง วางแผนการกากับ ตรวจสอบ และรายงาน เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา ดังนี้ แผนกากบั ตรวจสอบ และรายงาน โครงการ กลมุ่ งาน / งาน รับผิดชอบ กล่มุ งาน / งาน หลัก ทีเ่ กยี่ วข้อง 1. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดบั งานพ้นื ฐาน - งานแผนงานและโครงการ/ การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน งานส่งเสริม 2. โครงการจดั การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง งานการศึกษาต่อเนื่อง - งานการศกึ ษาต่อเนื่อง/งาน แผนงานและโครงการ 3. โครงการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย งานการศึกษาตามอธั ยาศัย - งานการศึกษาตามอัธยาศยั / งานการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 4. โครงการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา งานการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน -งานการศึกษาข้ันพื้นฐาน 5.โครงการจัดทาแผนการเรียนรูร้ ายบคุ คล งานการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน - งานการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 6. โครงการพฒั นาครดู า้ นการออกแบบ งานบคุ ลากร/งานแผนงาน - งานการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน/ การจดั การเรียนรู้ งานประกนั คณุ ภาพ งานการศึกษาต่อเน่ือง/งาน การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 7. โครงการประกันคุณภาพภายใน - งานประกนั คุณภาพ/งาน สถานศึกษา แผนงานและโครงการ 8.โครงการบูรณาการความรว่ มมือของ งานสง่ เสรมิ - งานภาคีเครอื ขา่ ย ภาคเี ครอื ข่าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook