Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร้งเต้านม

การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร้งเต้านม

Published by somrudee, 2018-03-15 03:29:23

Description: เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การะยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านม

Search

Read the Text Version

การพยาบาลผ้ปู ว่ ยโรคมะเร็งเตา้ นม สมฤดี อรุณจิตร อาจารย์ผสู้ อน 1

การพยาบาลผ้ปู ว่ ยโรคมะเร็งเตา้ นม 2

วตั ถุประสงค์ หลงั ส้ินสดุ การเรยี นการสอนผเู้ รยี น :๑. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับปัญหาสุขภาพเรื่องมะเร็งเต้านมของบุคคลวัยเด็กวัยรุ่น วยั ผู้ใหญ่และวยั สูงอายุ ในภาวะเฉียบพลัน วกิ ฤตและเรือ้ รัง (K)๒. ตระหนักในการให้การพยาบาลโดยการใช้กระบวนการพยาบาลในการแก้ปัญหาสุขภาพเร่ืองมะเร็งเต้านมแก่บุคคลวัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ ในภาวะเฉยี บพลนั วิกฤตและเร้อื รงั (A)๓. นาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชก้ ระบวนการพยาบาลในการแก้ปัญหาสุขภาพเร่ืองมะเร็งเตา้ นมแกบ่ ุคคลวัยเดก็ วยั รนุ่ วัยผ้ใู หญแ่ ละวัยสงู อายุ ในภาวะเฉียบพลัน วิกฤตและเร้อื รงั (P) 3

การพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคมะเร็งเต้านม หัวขอ้ ในการเรียนการสอนครง้ั นี้- คาจากัดความของโรคมะเรง็ เต้านม- ภาวะการเจ็บป่วยดว้ ยโรคมะเรง็ เต้านม- ปัจจัยเสยี่ งตอ่ การเปน็ โรคมะเร็งเต้านม- อาการและอาการแสดงของโรคมะเรง็ เต้านม- การตรวจร่างกายและการตรวจพเิ ศษ- ผลกระทบจากการเจ็บปว่ ยด้วยโรคมะเร็งเตา้ นม- การรักษาโรคมะเรง็ เตา้ นมดว้ ยการผ่าตดั- การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเรง็ เตา้ นมโดยใช้กระบวนการพยาบาล 4

คาจากดั ความของโรคมะเรง็ เตา้ นม ?? 5

มะเร็งเตา้ นม (Breast cancer)เกิดจากการแบง่ ตวั ที่ผดิ ปกตขิ องเซลล์เต้านมและสามารถทาให้เกิดการแพร่กระจายไปยงัอวยั วะอนื่ ได้

ภาวะการเจบ็ ป่วยดว้ ยโรคมะเร็งเตา้ นม ทฤษฎี กรณีศึกษาเฉียบพลัน : อาการเกิดขึ้นทันทีหรืออยา่ ง 7รวดเร็ว มักรักษาให้หายได้ภายใน ๒-๓สปั ดาห์วกิ ฤต : ภาวะคุกคามชีวิตของผปู้ ว่ ยเร้ือรัง : อาการที่เป็นมานาน มักนานเกิน๓-๖ เดือนใกล้ตาย : ผู้ป่วยที่หมดหวังจากการหายของโรค เป็นความเจ็บป่วยท่ีไม่สามารถรกั ษาให้หายได้

ระยะของการเจ็บป่วยด้วยโรคมะเรง็ เตา้ นม ทฤษฎี กรณศี กึ ษาเฉียบพลัน : อาการเกิดข้ึนทันทีหรืออยา่ งรวดเร็ว มักรักษาให้หายได้ภายใน ๒-๓สปั ดาห์วิกฤต : ภาวะคุกคามชวี ิตของผปู้ ว่ ย Post op ๒๔ ช่วั โมงแรกเรื้อรัง : อาการท่ีเป็นมานาน มักนานเกิน ช่วงการมาตรวจตามนัด การรักษาด้วย๓-๖ เดือน การใหย้ าเคมีบาบดั และฉายแสงใกล้ตาย : ผู้ป่วยท่ีหมดหวังจากการหาย อาการระยะสุดท้าย เช่น เหน่ือย ปวดของโรค เป็นความเจ็บป่วยที่ไม่สามารถ ตามกระดูก สับสน หรือบ่นอยากตายรกั ษาใหห้ ายได้ เป็นต้น 8

ปจั จยั เสี่ยงตอ่ การเป็นมะเร็งเต้านม น.ส.กัลยาพร บญุ ชวู งศ์ เลขท่ี ๗ 9

ปัจจยั เสี่ยงตอ่ การเปน็ มะเรง็ เตา้ นม ทฤษฎี กรณีศกึ ษา- อายทุ ่เี พิม่ มากข้นึ - ผู้ปว่ ยหญงิ อายุ ๔๙ ปี- การมปี ระวตั ิครอบครัวเปน็ มะเร็งเตา้ นม - คุมกาเนิดด้วยการรบั ประทานยา- การไดร้ บั ฮอรโ์ มนเอสโตรเจนนานมากกวา่ ๕ ปี คมุ กาเนิดเป็นระยะเวลา ๑๕ ปี- การมีประวตั ปิ ระจาเดอื นครั้งแรกมากอ่ นอายุ - มีบุตรคนแรกตอนอายุ ๓๗ ปี๑๒ ปี -ส่วนสงู ๑๕๒ เซนติเมตร นา้ หนัก- การมปี ระวตั หิ มดประจาเดอื นภายหลังอายุ ๕๕ ปี ๖๕ กก. BMI ๒๘.๑๓- การมปี ระวตั บิ ตุ รคนแรกภายหลงั อายุ ๓๐ ปี- การเลอื กรับประทานอาหารไมเ่ หมาะสม- การมภี าวะนา้ หนักเกิน- การจดั การความเครยี ดไมเ่ หมาะสม 10

อายทุ ี่เพม่ิ มากข้นึ มโี อกาสเสยี่ ง ตอ่ การเป็นมะเรง็ เต้านมมากขน้ึอายุ ๓๐ ปี มีความเสีย่ งต่อการเป็นมะเรง็ เตา้ นมร้อยละ ๐.๔๔อายุ ๔๐ ปี มคี วามเสยี่ งต่อการเปน็ มะเร็งเต้านมรอ้ ยละ ๑.๔๗อายุ ๕๐ ปี มคี วามเสย่ี งต่อการเปน็ มะเร็งเต้านมร้อยละ ๒.๓๘อายุ ๖๐ ปี มีความเส่ยี งตอ่ การเปน็ มะเร็งเตา้ นมร้อยละ ๓.๕๖อายุ ๗๐ ปี มีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเตา้ นมร้อยละ ๓.๘๒ 11

อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็งเต้านม น.ส.จุฑามาศ เมฆกลิ่น เลขที่ ๑๙12

อาการและอาการแสดงของโรคมะเรง็ เต้านม ทฤษฎี กรณศี ึกษา๑. ระยะไม่แสดงอาการ มักตรวจพบก้อนจากการทา Ultrasound และ/หรือ Mammography๒. ระยะแสดงอาการ สามารถคลาก้อนได้ มีสารคัดหลั่งออก ผูป้ ่วยมาโรงพยาบาลในระยะที่ทางหัวนม อาจเป็นน้าใส ๆ หรือน้าปนเลือดหรือเป็นเลือด กด โรคมะเร็งเตา้ นมแสดงอาการโดยคลาไม่เจ็บ มีการหดรั้งของหัวนม ผิวหนังเต้านมบวมแดง ตรวจ พบก้อนท่เี ต้านมข้างซ้ายพบก้อนท่ีรักแร้ (ซ่ึงเป็นต่อมน้าเหลืองที่โตขึ้นจากการกระจายของโรคมะเร็งเต้านม มักพบต่อมน้าเหลืองโต) ในระยะท้าย ๆก้อนอาจใหญ่ขึ้นจนแตกเป็นแผล มีการแพร่กระจายไปยังอวัยวะอนื่ เช่น ปอด ทาให้มีน้าในช่องเย่ือหุ้มปอดได้และอาการเหนือ่ ยหอบตามมา 13

การตรวจร่างกายผ้ปู ่วยโรคมะเร็งเตา้ นม 14

การตรวจเตา้ นมด้วยตนเอง เป็ นการใช้ทกั ษะการดูและการคลา

การคลาเตา้ นม ประกอบด้วย 3 ท่า คอื

การคลาเตา้ นมในท่านอน

การคลาเตา้ นมขณะอาบนา้

การตรวจรา่ งกายผปู้ ่วยโรคมะเรง็ เตา้ นม ทฤษฎี กรณีศกึ ษาการตรวจร่างกาย โดยการตรวจเต้านมทง้ั ๒ ข้าง ด้วยวิธกี ารดู จากการดู : ไม่มีการหดร้ังและการคลา ของหัวนม ไม่มีสารคัดการดู โดยดูขนาด รูปร่าง การหดรั้งของหัวนม การหดรั้ง หลั่งออกจากหวั นมทั้งสองของผิวหนังและดูอาการผิดปกติต่าง ๆ เช่น อาการบวมแดง การ ข้าง ผิวหนังของเต้านมท้ังมีแผลทเ่ี ตา้ นมหรือการมสี ารคดั หล่งั ไหลออกมาทางหัวนม สองข้างไม่บวมแดงการคลา ซ่ึงมี ๓ ท่า คือ การคลาท่าก้นหอย ท่าดาวกระจาย จากการคลา : พบก้อนท่ีและท่าลูกคลื่นเพ่ือหาก้อนและบันทึกขนาด ตาแหน่ง รูปร่าง เต้านมข้างซ้ายขนาด ๓ขอบเขตของก้อนและลกั ษณะของกอ้ น ซม. และพบก้อนบริเวณ รักแร้ 19

การตรวจพเิ ศษของผ้ปู ่วยโรคมะเรง็ เตา้ นม ทฤษฎี กรณีศกึ ษา -Ultrasonography ใชใ้ นกรณีที่ไม่เหมาะแก่การทา Mammography -เน่ืองจากอายนุ ้อย ต้ังครรภ์ เปน็ ต้น Ultrasonography สามารถใช้บอกตาแหน่งเพือ่ ทาการตรวจชนิ้ เน้ือและสามารถแยกระหว่างกอ้ นกบั ถงุ นา้ ได้ 20Mammography ใชต้ รวจหาโรคมะเรง็ เต้านมในกรณที ่ีไม่แสดงอาการสามารถตรวจพบโรคมะเร็งเต้านมก่อนท่ีจะคลาก้อนได้ เหมาะสาหรับผทู้ ่ีมีอายุ ๔๐ ปีขน้ึ ไป การตรวจ Mammographyสมควรตรวจทกุ ปี ปลี ะ ๑ คร้งัหากเปน็ ผทู้ ี่มีปจั จัยเสย่ี งสงู ต่อการเกิดมะเรง็ เตา้ นม ควรได้รบั การตรวจปีละ๑-๒ ครงั้ และสามารถตรวจไดต้ ้ังแต่อายุ ๓๕ ปีเป็นตน้ ไป

สรุปความแตกตา่ งระหว่างUltrasound กับ Mammography 21

สรุปความแตกตา่ งระหว่างUltrasound กบั Mammography คุณลักษณะ Ultrasound Mammographyอายนุ อ้ ย  อายุ ๓๕ ปขี ึ้นไป มีมากตั้งครรภ์ เนือ้ เต้านม มีน้อย 22

การตรวจพเิ ศษของผ้ปู ่วยโรคมะเรง็ เตา้ นมUltrasound Mammogram 23

การตดั ชิน้ เนื้อส่งตรวจทางพยาธิ ทฤษฎี กรณีศึกษาช่วยให้การวนิ ิจฉยั โรคมะเรง็ เตา้ นมแม่นยามากขนึ้ ทาไดห้ ลายวธิ ี Excisional biopsyดงั นี้๑. Excisional biopsy เปน็ การตดั ช้นิ เน้ือทส่ี งสัยส่งตรวจทั้งชน้ิ๒. Incisional biopsy เปน็ การตัดชิน้ เนอ้ื บางส่วนสง่ ตรวจ๓. Core biopsy เปน็ การใชเ้ ข็มขนาดใหญต่ ดั ชิน้ เนอ้ื บางสว่ นหรือ ดูดเอานา้ ไปตรวจ๔. Neddle biopsy/Fine needle biopsy เปน็ การใช้เขม็ เล็ก ๆ ตดั ชน้ิ เนอื้ ไปตรวจ 24

การตดั ชิน้ เนอ้ื ส่งตรวจทางพยาธิExcisional Biopsy Incision Biopsy 25

การตดั ช้นิ เนอื้ ส่งตรวจทางพยาธิCore biopsy Neddle biopsy/Fine needle biopsy 26

การพยาบาลผปู้ ่ วยโรคมะเร็งเตา้ นม 27

ผลกระทบจากการเจ็บปว่ ยดว้ ยโรคมะเร็งเตา้ นม 28

น.ส. ธัญลกั ษณ์ ออ้ ยศรสี กลุ เลขที่ ๔๒ 29

น.ส. ธัญลกั ษณ์ ออ้ ยศรสี กลุ เลขที่ ๔๒ 30

น.ส. ธัญลกั ษณ์ ออ้ ยศรสี กลุ เลขที่ ๔๒ 31

น.ส. ธัญลกั ษณ์ ออ้ ยศรสี กลุ เลขที่ ๔๒ 32

น.ส. ธัญลกั ษณ์ ออ้ ยศรสี กลุ เลขที่ ๔๒ 33

ผลกระทบจากการเจ็บป่วยดว้ ยโรคมะเรง็ เต้านมผลกระทบทางดา้ นร่างกายผลกระทบทางดา้ นจิตใจผลกระทบต่อคุณภาพชวี ติ สญู เสียบทบาทหนา้ ที่ในครอบครัว สูญเสยี บทบาทหน้าทีก่ ารทางาน 34

การรักษาโรคมะเร็งเต้านม ทฤษฎี กรณีศกึ ษา๑. การรักษาดว้ ยการผ่าตัด ผปู้ ่วยไดร้ บั การผา่ ตดั แบบ MRM๒. การใหย้ าเคมบี าบดั๓. การใช้ฮอร์โมนรักษา๔. การรกั ษาทางชีววทิ ยาหรือเปา้ หมายเฉพาะทาง๕. การฉายแสง 35

การรกั ษาผปู้ ่วยโรคมะเรง็ เตา้ นม ด้วยการผา่ ตัดเป็นวิธีหลกั สาหรับรักษาผ้ปู ่ วยโรคมะเร็งเต้านม สามารถแบง่ ได้ ๒ วิธี คือ1. การผา่ ตัดเอา 2. การผา่ ตัดเตา้ นมออกเฉพาะก้อนมะเร็งออก ทั้งเตา้โดยรักษาเตา้ นมไว้

การรกั ษาผูป้ ว่ ยโรคมะเรง็ เตา้ นม ด้วยการผา่ ตัดเอาเฉพาะกอ้ นมะเรง็ ออกโดยรักษาเต้านมไว้ (Breast Conservation Therapy; BCT)- เป็นการผ่าตัดกอ้ นมะเรง็ และเนอ้ื ของเตา้ นมปกตทิ อ่ี ยรู่ อบก้อนมะเร็งเตา้ นม- ตัดหา่ งจากขอบกอ้ นประมาณ ๑-๒ เซนตเิ มตร- โดยมากยังคงเหลอื หวั นม ลานนมและส่วนใหญข่ องเนอื้ เต้านม- มักทาในรายที่มีเต้านมขนาดเล็ก มกี อ้ นมะเร็งเพียงตาแหนง่ เดยี วเป็นมะเร็งเต้านมในระยะเริม่ แรก การรกั ษาดว้ ยวธิ ีน้ี สามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้ 37

ด้วยการผ่าตัดเอาเฉพาะกอ้ นมะเรง็ ออกโดยรักษาเตา้ นมไว้ (Breast Conservation Therapy; BCT) (ต่อ) Lumpectomy เป็นการผา่ ตดั เอากอ้ นมะเร็งและเนือ้ เย่อื รอบ ๆ พรอ้ มทง้ั ตอ่ มน้าเหลอื งใตร้ กั แร้ Segmental mastectomy หรอื Partial Mastectomyเป็นการผ่าตัดเอาก้อนมะเร็งและเน้ือเยื่อรอบ ๆ กล้ามเนอื้ ใตก้ อ้ น รวมทงั้ ต่อมน้าเหลอื ง ใต้รกั แร้ Quadrantectomy เปน็ การผา่ ตัดเต้านมออกประมาณหนง่ึ สว่ นสี่ 38

Lumpectomyเปน็ การผ่าตัดเอาก้อนมะเรง็ และเน้อื เยอ่ื รอบ ๆ พร้อมท้ังต่อมน้าเหลืองใต้รกั แร้ 39

Segmental mastectomy หรือ Partial Mastectomyเป็นการผา่ ตดั เอาก้อนมะเรง็ และเนอ้ื เย่อื รอบ ๆ กลา้ มเนอื้ ใต้ก้อน รวมทงั้ ตอ่ มนา้ เหลือง ใตร้ ักแร้ 40

Quadrantectomyเปน็ การผา่ ตดั เต้านมออกประมาณหน่งึ สว่ นส่ี 41

การรักษาผ้ปู ว่ ยโรคมะเรง็ เตา้ นมด้วยการผ่าตัด เอาเฉพาะก้อนมะเร็งออกโดยรกั ษาเตา้ นมไว้ (Breast Conservation Therapy; BCT)ผ้ปู ว่ ยทกุ รายทไ่ี ด้รับการผา่ ตดั เอาเฉพาะก้อนมะเร็งออก และรักษาเต้านมเอาไว้ ต้องได้รับการฉายแสงที่เต้านมรว่ มดว้ ยเสมอ 42

การรกั ษาผู้ป่วยโรคมะเรง็ เต้านมด้วยการผา่ ตดั เต้านมออกทง้ั เตา้ (Mastectomy) พิจารณาทาในกรณีท่ีมีโอกาสในการเกิดมะเร็งเต้านมซ้าสูง เกินกว่าร้อยละ ๒๐ เช่น ก้อนมะเร็งมขี นาดใหญ่ มีหลายก้อน การผา่ ตัดเตา้ นมออกทง้ั เตา้ สามารถทาได้ ๓ วิธี ดงั นี้ ๑. Simple Mastectomy ๒. Modified Radical Mastectomy; MRM ๓. Radical mastectomy 43

การรักษาผปู้ ่วยโรคมะเร็งเตา้ นม ดว้ ยการผ่าตดั เตา้ นมออกทงั้ เตา้ Simple Mastectomyเปน็ การตัดเตา้ นมออก ไม่มกี ารเลาะตอ่ มนา้ เหลืองบริเวณรกั แร้ ไมต่ ัดกลา้ มเนอื้ ใช้วธิ นี ี้เมอื่ แน่ใจว่ามะเร็งเต้านมอย่เู ฉพาะท่ไี ม่ได้แพร่กระจาย 44

การรักษาผปู้ ว่ ยโรคมะเรง็ เต้านม ดว้ ยการผ่าตัดเตา้ นมออกทง้ั เตา้ Modified Radical Mastectomy; MRMเป็นการผา่ ตัดเอาเตา้ นม ตอ่ มน้าเหลอื งใต้รักแร้ และกล้ามเนอ้ื หนา้ อกบางส่วนออก 45

การรักษาผ้ปู ว่ ยโรคมะเร็งเตา้ นม ด้วยการผ่าตัดเต้านมออกทง้ั เต้า Radical mastectomyเป็นการผ่าตดั เอาเตา้ นม ต่อมน้าเหลอื งใต้รกั แรท้ ้ังหมด และกลา้ มเน้ือหนา้ อกออกหมด 46

ภาวะแทรกซอ้ นจากการผ่าตดั มะเรง็ เตา้ นม ภาวะแทรกซอ้ น การพยาบาลLymphedemaการติดเชื้อของแผลผา่ ตัดอาการชาขอ้ ไหลต่ ดิ 47

ภาวะแทรกซอ้ นจากการผา่ ตดั มะเร็งเตา้ นมภาวะแทรกซอ้ น การพยาบาลLymphedema ยกแขนสงูการติดเชอ้ื ของแผลผา่ ตัด ความสะอาดของแผลอาการชา ออกกาลังกายแขนและมือข้อไหลต่ ิด กายบริหาร 48

การพยาบาลผู้ปว่ ยโรคมะเรง็ เต้านมก่อนผา่ ตดั 49

น.ส. ศิรพิ ร ยงพรม เลขท่ี ๙๕ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook