Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ติวสบายเคมี (เพิ่มเติม) บทที่ 08 กรดเบส

ติวสบายเคมี (เพิ่มเติม) บทที่ 08 กรดเบส

Published by Guset User, 2021-11-09 03:31:40

Description: ติวสบายเคมี (เพิ่มเติม) บทที่ 08 กรดเบส

Search

Read the Text Version

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส บ ท ท่ี 8 ก ร ด – เ บ ส 8.1 สารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์และนอนอเิ ลก็ โทรไลต์ สารอิเลก็ โทรไลต์ คือสารซ่ึงเมื่อละลายน้าแลว้ สามารถแตกตวั เป็ นไอออนบวกและ ลบได้ ทาใหส้ ารละลายที่ไดส้ ามารถนาไฟฟ้ าได้ และสารละลายที่ไดน้ ้ีเรียกวา่ สารละลายอเิ ล็กโทร ไลต์ เช่นโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl ) เม่ือนาไปละลายน้าจะแตกตวั เป็ นโซเดียมไอออน ( Na+ ) กบั คลอไรด์ไอออน ( Cl– ) โซเดียมคลอไรด์จึงเป็ นสารอิเล็กโทรไลต์ ส่วนสารละลายที่ไดจ้ ะเป็ น สารละลายอิเล็กโทรไลต์ สารอิเลก็ โทรไลต์ ยงั แบง่ ไดเ้ ป็น 2 กลุ่มยอ่ ย ไดแ้ ก่ 1. สารอิเล็กโทรไลต์แก่ คือสารท่ีละลายน้าแลว้ แตกตวั ได้มาก สารละลายท่ีไดจ้ ะนา ไฟฟ้ าไดด้ ี เช่นโซเดียมคลอไรด์ ( NaCl ) ไฮโดรคลอริก ( HCl ) เป็นตน้ 2. สารอเิ ล็กโทรไลต์อ่อน คือสารที่ละลายน้าแลว้ แตกตวั ไดน้ อ้ ย สารละลายที่ไดจ้ ะนา ไฟฟ้ าไดแ้ ย่ เช่นไฮโดรฟอู อริก ( HF ) แอซีติก ( CH3COOH ) เป็นตน้ สารนอนอเิ ล็กโทรไลต์ คือสารซ่ึงเมื่อละลายน้าแลว้ ไม่สามารถแตกตวั เป็ นไอออนบวกและ ลบได้ ทาใหส้ ารละลายท่ีไดไ้ ม่นาไฟฟ้ า เช่นน้าตาลทราย เป็ นตน้ และสารละลายที่ไดจ้ ากการนา สารพวกน้ีไปละลายน้าจะเรียกวา่ สารละลายนอนอเิ ลก็ โทรไลต์ 1. โซเดียมคลอไรด์ ( NaCl ) เป็นสารอิเล็กโทรไลตเ์ พราะเหตุในขอ้ ใด 1. สามารถแตกตวั เป็นไอออนบวกและลบได้ 2. เม่ือละลายน้าแลว้ สารละลายที่ไดส้ ามารถนาไฟฟ้ าได้ 3. เมื่อละลายน้าแลว้ สามารถตกตะกอนได้ 4. มีคาตอบที่ถูกมากกวา่ 1 ขอ้ 1

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 8.2 สารละลายกรดและสารละลายเบส 8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด เมื่อนำกรดไปละลำยน้ำมกั จะแตกตวั ใหไ้ อออนบวกเป็น H+ และไอออนลบอ่ืนๆ เช่น HCl(g)  H+(aq) + Cl– (aq) (H2O)Hล+อ้ (aมqร)อ+บกNลOำย3เป(็ นaq)H3O+(aq) ปกติแลว้ H+ HNO3(l) สมกำรท่ีสมบูรณ์จึงเป็ น จะถูกน้ำ HCl(g) + H2O(l)  H3O+(aq) + Cl–(aq) HNO3(g) + H2O(l)  H3O+(aq) + NO3 (aq) H+ หรือ H3O+ เรียกวำ่ ไฮโดรเจนไอออน หรือไฮโดรเนียมไอออน 8.2.2 ไอออนในสารละลายเบส เม่ือนำเบสไปละลำยน้ำมกั จะแตกตวั ใหไ้ อออนลบเป็น OH– และไอออนบวกอื่นๆ เช่น NaOH(s)  Na+(aq) + OH–(aq) Ca(OH)2(s)  Ca2+(aq) OH–(aq) OH– เรียกวำ่ ไฮดรอกไซดไ์ อออน + 2 ฝึ กทา. จงเขียนสมกำรต่อไปน้ีใหส้ มบูรณ์ 1. HCl(g)  H+(aq) + ……….. 2. HNO3(l)  H+(aq) + ………... ฝึ กทา. จงเขียนสมกำรต่อไปน้ีใหส้ มบูรณ์ 1. HCl(g) + H2O(l)  ………... + Cl–(aq) 2. HNO3(g) + H2O(l)  ………... + NO3 (aq) ฝึ กทา. จงเขียนสมกำรต่อไปน้ีใหส้ มบรู ณ์ 1. NaOH(s)  ………... + OH–(aq) 2. Ca(OH)2(s)  ………... + 2 OH–(aq) 2

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 8.3 ทฤษฏกี รด-เบส ทฤษฏีกรด-เบส เป็นทฤษฏีท่ีกล่ำวถึงควำมหมำยของกรดและเบส ทฤษฏีที่น่ำสนใจไดแ้ ก่ 8.3.1 ทฤษฏีกรด-เบสอาร์รีเนียส ทฤษฏีกรด-เบสอำร์รีเนียส ไดใ้ หน้ ิยำมไวว้ ำ่ กรด (acid) คือสารที่ละลายน้าแลว้ แตกตวั ให้ H+ หรือ H3O+ ไอออน เช่น HCl(g)  H+(aq) + Cl–(aq) เบส (base) คือสารที่ละลายน้าแลว้ แตกตวั ให้ OH– ไอออน เช่น NaOH(s)  Na+(aq) + OH–(aq) ทฤษฏีน้ีมีขอ้ จากดั บางประการท่ีสาคญั คือ สารที่เป็ นกรดหรือเบสจะตอ้ งละลายน้าได้ ถา้ ไม่ละลายน้าจะไม่สามารถจดั เป็ นกรดหรือเบสได้ นอกจากน้ียงั ไม่สามารถอธิบายความเป็ นกรด หรือเบสของสารที่ไม่มี H+ หรือ OH– ในโมเลกุลอีกดว้ ย 8.3.2 ทฤษฏกี รด-เบสเบรินสเตด-ลาวรี ทฤษฏีกรด-เบสเบรินสเตด-ลำวรี ไดใ้ หน้ ิยำมวำ่ กรด (acid) คือสำรท่ีสำมำรถใหโ้ ปรตอน ( H+ ) แก่สำรอ่ืนได้ เบส (base) คือสำรที่สำมำรถรับโปรตอน ( H+ ) จำกสำรอื่นได้ ตวั อยำ่ งเช่น H+ CHให3้ CHO+ OH + รับH2HO+  CH3COO– + H3O+ เป็ นกรด เป็ นเบส H+ ในปฏิกิริยำน้ี CHH+3CจOะเOป็Hนเบจสะเป็นตวั จำ่ ย ใหก้ บั H2O ดงั น้นั CH3COOH จึง ส่วน H2O ซ่ึงรับ เป็ นกรด H+ รัNบHH3+ + ใHห้2HO+  NH4+ + OH– เป็ นเบส เป็ นกรด NH3 ซ่ึงรับ Hใน+ปจฏะิกเปิร็ิยนำเบน้ีสH2O จะเป็นตวั จ่ำย H+ ใหก้ บั NH3 ดงั น้นั H2O จึงเป็นกรด ส่วน 3

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 8.3.3 ทฤษฏกี รด-เบสลวิ อสิ ทฤษฏีกรด-เบสลิวอิส ไดใ้ หน้ ิยำมวำ่ กรด (acid) คือสำรที่สำมำรถรับคูอ่ ิเลก็ ตรอน เบส (base) คือสำรท่ีสำมำรถใหค้ ูอ่ ิเล็กตรอน ตวั อยำ่ งเช่น H F HF HN BF H N + BF H F HF ให้ e คู่ รับ e คู่ เป็ นเบส เป็ นกรด ในปฏิกิริยำน้ี NH3 จะเป็ นตวั จ่ำยคู่อิเล็กตรอนให้กบั BF3 ดงั น้ัน NH3 จึงเป็ น เบส ส่วน BF3 ซ่ึงรับคู่อิเลก็ ตรอนจะเป็นกรด 2. สำรในขอ้ ใดต่อไปน้ีที่ไม่สำมำรถใชท้ ฤษฏีกรด–เบสอำร์รีเนียส ระบุไดว้ ำ่ เป็ นกรดหรือเบส 1. HCl 2. NaOH 3. H2SO4 4. BF3 ฝึ กทา. จำกปฏิกิริยำต่อไปน้ี จงระบุวำ่ สำรต้งั ตน้ ตวั ไดเป็นกรดและตวั ใดเป็นเบส 1. CH3COOH + H2O  CH3COO– + H3O+ 2. NH3 + H2O  NH4 + OH– จำกโจทยต์ วั อย่ำงท่ีผ่ำนมำโปรดสังเกตวำ่ H2O สำมำรถเป็ นไดท้ ้งั กรดและเบส สำรท่ีมี คุณสมบตั ิเช่นน้ีเรียกวำ่ สารแอมโฟเทอริก (Amphoterice) 4

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 8.4 คู่กรด-เบส คูก่ รด – เบส คือคู่ของสำรที่ทำหนำ้ ท่ีเป็ นกรดในปฏิกิริยำไปขำ้ งหนำ้ กบั สำรที่ทำหนำ้ ที่เป็ น เบสในปฏิกิริยำยอ้ นกลบั หรือคู่ของสำรท่ีทำหน้ำท่ีเป็ นเบสในปฏิกิริยำไปขำ้ งหนำ้ กบั สำรที่ทำ หนำ้ ท่ีเป็นกรดในปฏิกิริยำยอ้ นกลบั คูก่ รด – เบส คูก่ รด – เบส NH3 + H2O  NH4 + OH– CH3COOH + H2O  CH3COO–+ H3O+ เบส กรด กรด เบส กรด เบส เบส กรด จเป่ำย็ปนฏกHิกร+ดิริยใำหสยแ้่วอ้ กนน่ กCCลHHบั 33ขCCอOOงOปOฏ––คิกูก่ ิรดจริยงัะดำนเนป–้นั ็้ีนเบHเHบส33สOO++ จะ จจะะปเจปำ่ฏ็นยิกกิรHริย+ดำยใอ้ สหน่วแ้กนกล่ บัOOคขHู่กHอร––งดปจด–ฏะงั ิกเเนปบิร้็นันสิยำเบนNส้ีHN4H+4+ จึง เรียก CH3COOH วำ่ เป็ นคูก่ รดของ CH3COO– เรียก NH3 วำ่ เป็ นคู่เบสของ NH4 เรียก H2O วำ่ เป็นคู่เบสของ H3O+ เรียก H2O วำ่ เป็นคูก่ รดของ H3O+ เรียก CH3COO– วำ่ เป็ นคู่เบสของ CH3COOH เรียก H3O+ วำ่ เป็นคูก่ รดของ H2O เรียก NH4 วำ่ เป็ นคู่กรดของ NH3 เรียก OH– วำ่ เป็นคูเ่ บสของ H2O ฝึ กทา. ใหจ้ บั คูก่ รด–เบส พร้อมบอกวำ่ สำรตวั ใดเป็นกรดและตวั ใดเป็นเบส CH3COOH + H2O  CH3COO– + H3O+ NH3 + H2O  NH4 + OH– HS– + H2O  S– + H3O+ HCO3 + H2O  CO32 + H3O+ 5

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 3(แนว En) กรดซลั ฟิ วริกทำปฏิกิริยำกบั กรดไพโรซลั ฟิ วริกดงั สมกำร H2SO4(aq) + H2S2O7 (aq)  H3SO4 (aq) + HS2O7 (aq) โมเลกลุ และไอออนคูใ่ ดในปฏิกิริยำท่ีทำหนำ้ ท่ีเป็นเบส 1. H2SO4 และ H3SO4 2. H2SO4 และ HS2O7 3. H2S2O4 และ HS2O7 4. H2S2O7 และ H3SO4 4. จำกปฏิกริยำผนั กลบั ไดต้ ่อไปน้ี HCO3– (aq) + OH– (aq)  CO32– (aq) + H2O(l) สำรคูใ่ ดที่จดั เป็ นกรดตำมทฤษฏีของเบรินสเตด (Bronsted ) ท้งั 2 สำร OHCHO– 3แ–ละแลHะ2COO32– 1. 2. HOCHO3แลแะละCOH322O– 3. 4. 6

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 5. จำกปฏิกริยำตอ่ ไปน้ี HH33OO++((aaqq)) H2PHOS3–– HS2P–O(3a2q–) (aq) + H2O(l)  + (aq) (aq) + H2O(l)  + ไอออนในขอ้ ใดเป็นคูก่ รด – เบสซ่ึงกนั และกนั HH23POO+3–, ,S2H–PO32– 2. H2PO3– , H3O+ 1. 4. H3O+ , HS– 3. 6(แนว En) ขอ้ ใดเป็ นคูเ่ บสของกรดตอ่ ไปน้ีตำมลำดบั 1. CO32 H,COP3O34, H, POS242– , HS– 3. H2CO3 , H3PO4 , H2S 2. HC2OC32O3 , H2 PO4 , SH22–S 4. , H2 PO4 , 7

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 7. ขอ้ ใดเป็นคูก่ รดของเบสต่อไปน้ีตำมลำดบั 1. CO32HCO,3 PO, 34HP,O24S2– , HS– 3. H2CO3 , H3PO4 , H2S 2. HC2OC32O3 , H2 PO4 , H2S 4. , H2 PO4 , S2– 8.5 การแตกตวั ของกรดและเบส 8.5.1 การแตกตัวของกรดแก่และเบสแก่ กรดแก่ ( Strong acid ) คือกรดที่แตกตวั ให้ไดอ้ ยำ่ งสมบูรณ์ ( แตกตวั ได้ 100% ) กรดแก่ มีเพยี ง 6 ตวั ไดแ้ ก่ HClO4 , HI , HBr , HCl , HNO3 , H2SO4 ( เรียงตำมลำดบั ตำมควำมแก่ หรือควำมสำมำรถในกำรแตกตวั จำกมำกไปนอ้ ย ) เบสแก่ (Strong base) คือเบสที่แตกตวั ให้ไดอ้ ยำ่ งสมบูรณ์ ( แตกตวั ได้ 100% ) เบสแก่มี เพยี ง 8 ตวั ไดแ้ ก่ LiOH , NaOH , KOH , CsOH , RbOH , Ca(OH)2 , Ba(OH)2 , Sr(OH)2 ( เรียงตำมลำดบั ตำมควำมแก่ หรือควำมสำมำรถในกำรแตกตวั จำกมำกไปนอ้ ย ) เมื่อนำกรดแก่และเบสแก่ไปละลำยน้ำจะเกิดกำรแตกตวั ไดอ้ ยำ่ งสมบูรณ์ ปฏิกิริยำกำรแตก ตวั จะเป็ นปฏิกิริยำไปขำ้ งหน้ำอยำ่ งเดียวไม่ผนั กลบั กำรคำนวณใชว้ ิธีเหมือนกำรคำนวณปริมำณ สำรสัมพนั ธ์และสมกำรเคมีธรรมดำคือใชส้ มกำร สูตรที่ 1 ใช้สาหรับการเตรียมสารละลายโดยใส่ตวั ถูกละลายลงในตวั ทาละลาย V2แ2ก.4๊ส cสาร1ล00ะ0ลาย v = cอน10ภุ 0า0คย่อkยv n = Mg = = = จานวนอนภุ าคยอ่ ย k ( 6.02 x1023) 8

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส เมื่อ n คือจำนวนโมลตวั ถูกละลำย g คือมวลตวั ถูกละลำยที่มีอยู่ (กรัม) M คือมวลโมเลกุล หรือมวลอะตอมตวั ถูกละลำย Vแกส๊ คือปริมำตรแกส๊ ซ่ึงเป็นตวั ถูกละลำย ( ลิตร , dm3 ) cสำรละลำย คือควำมเขม้ ขน้ ของสำรละลำย ( โมล/ลิตร ) cvอนุภคำือคยปอ่ รยิมำคตือรคขวอำงมสเขำมร้ ลขะน้ ลขำอยงอ(นcmุภำ3ค) ยอ่ ยในสำรละลำย ( โมล/ลิตร ) k คือจานวนอนุภาคยอ่ ยน้นั ๆ ในหน่ึงโมเลกุลสารน้นั สูตร 2 ใช้เม่อื นาสารละลายเดมิ มาทาการปรับเปลย่ี นความเข้มข้นและปริมาตร c1 v1 = c2 v2 เม่ือ c1 , c2 คือความเขม้ ขน้ ของสารละลายตอนแรกและตอนหลงั ( โมล/ลิตร ) v1 , v2 คือปริมาตรของสารละลายตอนแรก และ ตอนหลงั ตามลาดบั สูตร 3 ใช้เม่ือนาสารละลายเดิมมาทาการปรับเปลยี่ นความเข้มข้นและปริมาตร แล้วต้องการหาความเข้มข้นของไอออนบางตวั ในสารละลาย k c1 v1 = cอนุภำคยอ่ ย v2 เมื่อ c1 คือความเขม้ ขน้ ของสารละลายตอนแรก ( โมล/ลิตร ) cอนุภำคยอ่ ย คือควำมเขม้ ขน้ ของอนุภำคยอ่ ยในสำรละลำย ( โมล/ลิตร ) v1 , v2 คือปริมาตรของสารละลายตอนแรกและตอนหลงั ตามลาดบั k คือจานวนไอออนน้นั ๆ ในหน่ึงโมเลกุลสารน้นั สูตร 4 ใช้เม่ือผสมสารละลายหลายตัวเข้าด้วยกนั cรวม vรวม = c1 v1 + c2 v2 + … เมื่อ c1 , c2 , cรวม คือความเขม้ ขน้ ของสารละลายท่ี 1 , ที่ 2 และสารละลายรวม v1 , v2 , vรวม คือปริมาตรของสารละลายท่ี 1 , ท่ี 2 และสารละลายรวม สูตร 5 ใช้หาอนุภาคย่อยบางตัวในสารละลายผสม cอนุภำคยอ่ ยรวม vรวม = k1 c1 v1 + k2 c2 v2 + … 9

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส เมื่อ c1 , c2 คือความเขม้ ขน้ ของสารละลายที่ 1 และ 2 cอนุภำคยอ่ ยรวม คือความเขม้ ขน้ รวมของอนุภาคยอ่ ยน้นั ๆ ในสารละลายผสม v1 , v2 , vรวม คือปริมาตรของสารละลายที่ 1 , ที่ 2 และสารละลายรวม k1 , k2 คือจานวนอนุภาคยอ่ ยน้นั ๆ ในหน่ึงโมเลกลุ สารที่ 1 และ 2 8. Sสrา(OรลHะ)ล2ายเปท็ น่ีไดเบจ้ สะมแีคกว่เมามื่อเนขาม้ ขSน้ r(OOHH)–2 61 กรัม มาละลายในน้า 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร ไอออนกี่โมลตอ่ ลิตร ( Sr = 88 , O = 16 , H = 1) 9. กรดไนตริก ( HNO3 ) เป็ นกรดแก่ ถ้านากรดน้ี 0.3 โมล มาละลายน้า 600 ลูกบาศก์- เซนติเมตร ความเขม้ ขน้ ของ H+ ไอออน จะเป็นกี่โมลต่อลิตร 10

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 10. มี Ca(OH)2 1 mol/dm3 อยู่ 100 cm3 ทาใหเ้ จือจางเป็ น 1 ลิตร จะไดส้ ารละลาย Ca(OH)2 เขม้ ขน้ กี่ mol/dm3 11.คมวีามCเaข(ม้OขHน้ )2O2H–moไlอ/dอmอ3นกอ่ี ยmู่ o5l/cdmm33 ทาให้เจือจางเป็ น 50 cm3 สารละลายใหม่ท่ีได้จะมี 12(แผนสมวนม้ำชล)งไBปaอ(ีกOH4)200เปc็ mน3เบสจแงกห่ ำคเมว่ืำอมนเขำม้ 1ข0น้ 0ขอcmง 3OHข–องเป็Bนa(OmHol)/2dmเข3้มข้น 0.1 mol/dm3 11

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 3. สมมุติให้ X และ Y เป็ นโลหะเบสตวั แรกคือ XOH ตวั ท่ีสองคือ Y(OH)2 เมื่อนำเบสท้งั สองต่ำงก็มีควำมเขม้ ขน้ 0.10 mol/dm3 อย่ำงละ 500 cm3 มำรวมกนั สำรละลำยท่ีไดจ้ ะมี ควำมเขม้ ขน้ ของ OH– เป็นกี่ mol/dm3 1. 0.30 2. 0.20 3. 0.15 4. 0.10 8.5.2 การแตกตวั ของกรดอ่อน กรดอ่อน คือกรดที่แตกตวั ไดน้ อ้ ย ปฏิกิริยาการแตกตวั ของกรดอ่อนจะผนั กลบั ได้ เมื่อเขา้ สู่ภาวะสมดุลจะมีค่าคงท่ีสมดุลเรียกค่าคงที่การแตกตวั ของกรด ใชส้ ัญลกั ษณ์ Ka กำรคำนวณกำรแตกตวั ของกรดอ่อนตอ้ งคำนวณแบบสมดุลเคมี หรือใชส้ ูตรลดั ต่อไปน้ี [ กรดท่ีแตกตวั ] = [ H3O+ ] = Ka .Ca Ka % = [H3COa] x 100 = Ca x 100 เม่ือ Ka คือค่าคงท่ีการแตกตวั กรดซ่ึงมีค่านอ้ ยมาก Ca คือความเขม้ ขน้ กรดตอนเร่ิมตน้ % คือร้อยละการแตกตวั หมายเหตุ ; สูตรลดั น้ีจะใชไ้ ดก้ ต็ อ่ เม่ือ KCaa > 1000 หากไมเ่ ป็นไปตามเงื่อนไขน้ี ตอ้ ง คานวณแบบสมดุลเคมีดงั ตวั อยา่ งต่อไป 12

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 14. ในสารละลายกรด CH3COOH เขม้ ขน้ 0.5 mol/dm3 ที่ภาวะสมดุลจะมี H3O+ ไอออน เขม้ ขน้ กี่ mol/dm3 ( ให้ Ka ของ CH3COOH ที่ 25oC = 1.8 x 10–5 ) 1. 1.8 x 10–2 2. 1.8 x 10–3 3. 3.0 x 10–2 4. 3.0 x 10–3 15.เจขงม้ คขำน้ นว0ณ.1หำโคมวลำ/มลิเตขรม้ ข(น้ ใหH้ K3Oa+ของใกนรหดน่วHยAโมนล้ีม/ลีคิ่าตเรทา่ กซบั่ึงเ1กิxดจ1ำ0ก–7กำ)รแตกตวั ของกรด HA 1. 1 x 10–3 2. 1 x 10–4 3. 1 x 10–7 4. 1 x 10–8 13

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 16. จงคำนวณหำร้อยละกำรแตกตวั ของกรด HA เขม้ ขน้ 0.1 โมล/ลิตร 4. 0.0001 ( ให้ Ka ของกรด HA น้ีมีค่าเทา่ กบั 1 x 10–7 ) 1. 1 2. 0.1 3. 0.001 17(แนว En) HA เป็นกรดออ่ นมีค่าคงท่ีสมดุลการแตกตวั เทา่ กบั 1 x 10–4 มีสำรละลำย HA 4 mol dm–3 จะแตกตวั ไดร้ ้อยละเท่ำใด 1. 0.1 2. 0.5 3. 1.0 4. 10.0 14

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส H3O+ 18(แนว มช) ถำ้ สำรละลำยของกรดออ่ น HA ที่เขม้ ขน้ 0.01 โมล/ลิตร มีปริมำณ ไอออน 2.0 x 10–3 โมล/ลิตร คำ่ Ka ของกรดน้ีมีคำ่ เทำ่ กบั ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี 1. 2 x 10–3 2. 2 x 10–4 3. 4 x 10–3 4. 4 x 10–4 19(แนว En) กรดอ่อน HX มีค่ำคงท่ีกำรแตกตวั เท่ำกับ 2.0 x 10–6 สำรละลำยกรด HX จะ จึงจะทำให้ควำมเขม้ ขน้ ของ H3O+ เท่ำกบั ตอ้ งมีควำมเขม้ ขน้ ก่ีโมลต่อลูกบำศกเ์ ดซิเมตร 2 x 10–3 โมลตอ่ ลูกบำศกเ์ ดซิเมตร 1. 0.8 2. 1.6 3. 2.0 4. 3.6 20. กรดโมโนโปรติกชนิดหน่ึงแตกตวั ได้ 5.0 % ถ้ำสำรละลำยน้ีเขม้ ขน้ 0.5 mol/dm3 จำนวน 600 cm3 จะมีควำมเขม้ ขน้ ของ H3O+ ไอออนกี่โมล/ลิตร 15

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 21. เม่ือนำกรด HCN ซ่ึงมีค่ำ Ka = 4.9 x 10–10 นำกรดน้ีมำ 5.4 กรัม เติมน้ำกลนั่ ลงไปใหไ้ ด้ ปริมำตร 2 ลิตร อยำกทรำบวำ่ กรดน้ีแตกตวั ก่ีเปอร์เซ็นต์ 22(แนว En) ละลำยกรดฟอร์มิก (HCOOH) จำนวนหน่ึงในน้ำ 5000 cm3 1พ0บ–4วำ่ มสี Hำร3ลOะ+ลำเขยมน้ ้ขี น้ เทำ่ กบั 5.0 x 10–3 mol.dm–3 ถำ้ ค่ำคงที่สมดุลของกรดน้ีเทำ่ กบั 2.0 x มีกรดฟอร์มิกละลำยอยกู่ ี่กรัม 16

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 23(แนว มช) ที่ 25oC สำรละลำย HF เขม้ ขน้ 0.09 โมล/ลิตร แตกตวั ได้ 0.8% ดงั น้นั สำร ละลำย HF เขม้ ขน้ 0.04 โมล/ลิตร ท่ี 25oC จะแตกตวั ก่ีเปอร์เซ็นต์ 24(แนว มช) คำ่ ร้อยละกำรแตกตวั ของสำรละลำยกรดแอซีติก (CH3COOH) ที่มีควำมเขม้ ขน้ ต่อไป น้ี ขอ้ ใดมีคำ่ มำกที่สุด B 0.50 mol/dm3 C 0.010 mol/dm3 A 2.00 mol/dm3 1. ขอ้ A 2. ขอ้ B 3. ขอ้ C 4. แตกตวั เท่ำกนั หมด 17

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 25(แนว มช) สำรละลำย 4 อย่ำงต่อไปน้ี สำรละลำยแต่ละอย่ำงเขม้ ขน้ 10–2 mol/dm3 สำรละลำยใดเป็ นกรดมำกท่ีสุด , Ka = 1.1 x 10–2 1. HClO2 , Ka = 1.8 x 10–5 2. HC2H3O2 , Ka = 4.0 x 10–10 3. HCN 4. HF , Ka = 6.7 x 10–4 26(แนว มช) ไอออนหรือโมเลกลุ ใดที่มีควำมเขม้ ขน้ สูงสุด ในสำรละลำยกรดอะซีติกเขม้ ขน้ 10–3 mol/dm3 1. H3O+ 2. OH– 3. CH3COO– 4. CH3COOH สำหรับกรดพอลิโปรติก ( คือกรดซ่ึงแตกตวั ให้ H+ ไดห้ ลำยข้นั ตอน ) เช่น H3PO4 กรดน้ีสำมำรถแตกตวั ได้ 3 ข้นั ตอนดงั น้ี 7.5 x 10–3 ข้นั ที่ 1 H3PO4  H+ + HHP2OPO424 : Ka1 = 6.3 x 10–8 ข้นั ที่ 2 H2PO4  H+ + : Ka2 = 4.0 x 10–13 ข้นั ท่ี 3 HPO24  H+ + PO34 : Ka3 = ส่ิงท่ีควรรู้เกี่ยวกบั กำรแตกตวั หลำยข้นั ตอนของกรดพอลิโปรติกดงั ตวั อยำ่ งน้ี ไดแ้ ก่ 1) คำ่ Ka1  Ka2  Ka3 เสมอ H3PO4  H2PO4  HPO24 2) เม่ือเปรียบเทียบความเป็นกรดจะไดว้ า่ 3) เม่ือเปรียบเทียบความเขม้ ขน้ ของสำรต่ำงๆ ท่ีสมดุลจะพบวำ่ [H3PO4]  [H+]  [ H2PO4 ]  [ HPO42 ]  [ PO34 ] 18

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 27(แนว มช) กรด H2CO3 เป็ นกรดพอลิโปรติก มีค่ำ Ka1 = 4.3 x 10–7 ที่ 25oC ค่ำ Ka2 ของ กรดน้ีเทำ่ กบั เท่ำใด 1. 5.6 x 10–11 2. 7.52 x 10–3 3. 2.2 x 10–2 4. 2.2 x 10–1 28. จงหำควำมเขม้ ขน้ ของ H+ ในสำรละลำย H2S เขม้ ขน้ 0.1 mol/dm3 10–7 1.2 x 10–13 ) ( Ka1 = 1.0 x 2. 1 x 1, 0–K4a2 = 4. 1 x 10–8 10–2 3. 1 x 10–7 1. 1 x 8.5.3 การแตกตวั ของเบสอ่อน เบสอ่อน คือเบสท่ีแตกตวั ไดน้ อ้ ย ปฏิกิริยาการแตกตวั ของเบสอ่อนจะผนั กลบั ได้ เม่ือเขา้ สู่ ภาวะสมดุลจะมีคา่ คงที่สมดุลเรียกคา่ คงที่การแตกตวั ของเบส ใชส้ ญั ลกั ษณ์ Kb กำรคำนวณกำรแตกตวั ของกรดเบสตอ้ งคำนวณแบบสมดุลเคมี หรือใชส้ ูตรลดั ตอ่ ไปน้ี [เบสที่แตกตวั ] = [ OH– ] = Kb Cb % = [OCHb] x 100 = KCbb x 100 เม่ือ Kb คือคำ่ คงท่ีกำรแตกตวั เบสซ่ึงมีค่ำนอ้ ยมำก Cb คือความเขม้ ขน้ เบสในตอนเริ่มตน้ % คือร้อยละการแตกตวั หมายเหตุ ; สูตรลดั น้ีจะใชไ้ ดก้ ็ตอ่ เม่ือ KCbb > 1000 หากไมเ่ ป็นไปตามเง่ือนไขน้ี ตอ้ ง คานวณแบบสมดุลเคมี 19

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 29. กาหนดให้ BOH เป็ นเบสอ่อนชนิดหน่ึง มี Kb = 1.50 x 10–8 จงคานวณหาความเขม้ ขน้ ของ OH– ไอออน ท่ีภาวะสมดุลในสารละลาย BOH เขม้ ขน้ 0.06 โมล/ลิตร 1. 1. x 10–4 2. 3 x 10–4 3. 1 x 10–5 4. 3 x 10–5 30. NH4OH เขม้ ขน้ 0.5 mol/dm3 มีคา่ Kb = 1.8 x 10–5 มีร้อยละการแตกตวั เทา่ ใด 31. สารละลายเบส 4 ชนิด ท่ีมีความเขม้ ขน้ เท่ากนั มีค่า Kb ดงั น้ี สารละลายเบส 2.0 Kx 1b0–4 A B 3.0 x 10–6 C 9.0 x 10–6 D 4.2x 10–8 สารที่มีความเป็นเบสสูงสุดคือสารใด และสารที่มีความเป็ นกรดสูงสุดคือสารใด (ตามลาดบั ) 1. A , A 2. D , D 3. A , D 4. D , A 20

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 8.6 การแตกตัวเป็ นไอออนของนา้ ปกติแลว้ น้าบริสุทธ์ิสามารถแตกตวั ให้ HH33OO++(aกqบั ) OH– ไดเ้ ล็กนอ้ ยดงั สมการ H2O (l) + H2O (l)  + OH–(aq) ขอ้ ควรทราบเกี่ยวกบั การแตกตวั ของน้า 1. ในน้าบริสุทธ์ิท่ีอุณหภูมิ 25oC จะพบวา่ [H[O3HO–+]] 10–7 mol/dm3 และ = 1 x 10–7 mol/dm3 = 1 x 2. ปฏิกิริยาการแตกตวั ของน้าเป็นปฏิกิริยาท่ีผนั กลบั ได้ ที่ภาวะสมดุลจะมีค่าคงที่สมดุล เรียกค่าคงท่ีการแตกตวั ของน้า ใชสัญลกั ษณ์ Kw และจากสมการการแตกตวั ของน้าจะไดว้ า่ ([1Hx3O10+–]7[)O(H1–x]10–7 ) Kw = 1 x 10–14 Kw = Kw = 3. เมื่อเติมกรดลงในน้า ( มากกวา่ 1 x 10–7 mol/dm3 ) OHH3O–+] ( นอ้ ยกวา่ 1 x 10–7 mol/dm3 ) จะทาให้ [ ] จะมากข้ึน แต่ [ จะลดลง เมื่อเติมเบสลงในน้า จะทาให้ [ OH– ] จะมากข้ึน ( มากกวา่ 1 x 10–7 mol/dm3 ) แต่ [ H3O+ ] จะลดลง ( นอ้ ยกวา่ 1 x 10–7 mol/dm3 ) แต่ไม่วา่ จะเป็ นสภาวะเติมกรดหรือเบสลงไป ที่ 25oC จะไดว้ า่ HH33OO++ OH– [ ] [ OH– ] = K1 wx 10–14 เสมอ [ ] [ ] = 32. กรดฟอร์มิก ( HCOOH ) มีค่าคงท่ีสมดุลท่ี 25oC เท่ากบั 1.8 x 10–4 จงคานวณหาความ เขม้ ขน้ ของ H3O+ และ OH– ไอออน (ในหน่วยโมล/ลิตร) ในสารละลายกรดฟอร์มิกเขม้ ขน้ 0.56 mol/dm3 ที่ภาวะสมดุลที่ 25oC ( ตอบตามลาดบั ) 1. 10–1 , 10–13 2. 10–2 , 10–12 3. 10–3 , 10–11 4. 10–4 , 10–10 21

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com H3O+บทที่ 8 กรด – เบส 33. สารละลาย NH3 เขม้ ขน้ 0.005 โมล/ลิตร จะมีความเข้มขน้ ของ ไอออน เป็ นก่ี โมล/ลิตร ( กาหนดให้ Kb ของ NH3 เป็น 1.8 x 10–5 ) 1. 1.25 x 10–11 2. 3.33 x 10–11 3. 3.00 x 10–4 4. 3.33 x 10–4 34.เขสม้ า1ขร.ลน้ 1ะข.2ลอาxงย1แH0อ–3ม1Oโ1+มเในนียห(นN่วH2ย.3)m2.เo4ขl/มx้ dขm1น0้ 3–101.01 mol/dm3 แตกตวั ได้ 4.2% จงคานวนหาความ 3. 2.4 x 10–4 4. 4.2 x 10–4 22

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 35. ถา้ นา HNO3 เป็ นกรดแก่หนกั 6.3 กรัม ละลายในน้าแลว้ ทาให้ปริมาตรเป็ น 10 ลิตร จะมี ความเขม้ ขน้ ของ H3O+ และ OH– ไอออนเป็นกี่โมลตอ่ ลิตร ( ตอบตามลาดบั ) 1. 10–1 , 10–13 2. 10–2 , 10–12 3. 10–3 , 10–11 4. 10–4 , 10–10 8.7 pH ของสารละลาย ความเขม้ ขน้ H3O+ เป็ นปริมาณท่ีมีคา่ นอ้ ยไม่สะดวกแก่การนามาใช้ นกั วทิ ยาศาสตร์จึง เปล่ียนใหอ้ ยใู่ นรูปที่ใชง้ านสะดวกคือรูปของค่า pH โดยอาศยั ความสัมพนั ธ์วา่ pH = – log [ H3O+ ] ข้อควรรู้ ในภาวะเป็นกรด pH  7 ภาวะท่ีเป็นกลาง pH = 7 ภาวะที่เป็นเบส pH  7 36. ในภาวะที่เป็ นกลางความเข้มข้น H3O+ มีค่าเท่ากับ 1 x 10–7 mol/dm3 จะมีค่า pH เท่ากบั ขอ้ ใดต่อไปน้ี 1. 3 2. 4 3. 7 4. 10 23

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 37. สารละลายซ่ึงมีความเขม้ ขน้ H3O+ 1 x 10–3 mol/dm3 จะมีคา่ pH เท่าใด 1. 3 2. 4 3. 7 4. 10 38. สารละลายซ่ึงมีความเขม้ ขน้ OH– 1 x 10–4 mol/dm3 จะมีคา่ pH เท่ากบั ขอ้ ใดต่อไปน้ี 1. 3 2. 4 3. 7 4. 10 39. สารละลายซ่ึงมีความเขม้ ขน้ H3O+ 2 x 10–5 mol/dm3 จะมีคา่ pH เท่าใด 24

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 40(แนว มช) Ca(OH)2 หนกั 0.148 กรัม ละลายน้าไดห้ มดเป็นสารละลายท่ีมีปริมาตร 2000 cm3 pH ของสารละลายน้ีเป็นเท่าใด (Ca = 40 , O = 16 , H = 1 , log 5 = 0.70) 1. 12.30 2. 12.00 3. 11.70 4. 11.30 41(แนว มช) M(OH)2 เป็ นเบสแก่ เม่ือนาสารละลายของเบสน้ีเขม้ ขน้ 0.025 mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3 มาเติมน้าเพ่ิมอีก 400 cm3 จงหา pH ของสารละลายที่ไดน้ ้ี 1. 12.30 2. 12.00 3. 11.70 4. 11.00 25

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 42. เม่ือผสมสารละลาย HCl 0.01 mol/dm3 150 cm3 กบั HCl 0.06 mol/dm3 150 cm3 เขา้ ดว้ ยกนั แลว้ เติมน้าอีก 750 cm3 จะไดส้ ารละลายท่ีมี pH เทา่ ใด 1. 1 2. 3 3. 11 4. 13 43. มีสารละลายกรดชนิดหน่ึง pH เท่ากบั 5 ความเขม้ ขน้ H3O+ ในสารละลายกรดน้ีมีค่าเท่า กบั กี่โมล/ลิตร 1. 1 x 10–3 2. 1 x 10–5 3. 1 x 10–9 4. 1 x 10–11 26

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 44(แนว มช) เม่ือนาสารละลายกรดแก่ท่ีมี pH เท่ากบั 5.0 มาจานวน 10 cm3 แลว้ เทลงไป ในน้าจนไดป้ ริมาตรท้งั หมดเป็น 100 cm3 สารละลายกรดในตอนหลงั น้ีมี pH เท่าใด 1. 4.5 2. 5.5 3. 6.0 4. 6.5 45. จงหา pH ของสารละลาย CH3COOH เขม้ ขน้ 5.56 mol/dm3 ( Ka = 1.8 x 10–5 ) 1. 1 2. 2 3. 12 4. 13 46. สารละลายกรด HCN เขม้ ขน้ 2.5 x 10–1 mol/dm3 มีค่า pH เทา่ ใด ( Ka = 4 x 10–10 ) 1. 3 2. 5 3. 9 4. 11 27

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 47. กรดอ่อน HA เขม้ ขน้ 1.0 mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3 กรดน้ีแตกตวั ได้ 0.10% ค่า pH และค่าคงที่สมดุลของกรดน้ีมีค่าเป็นเทา่ ใดตามลาดบั 1. 1 , 1 x 10–6 2. 2 , 1 x 106 3. 3 , 1 x 10–6 4. 3 , 2 x 106 48(แนว En) สารละลายกรดชนิดหน่ึงมีความเขม้ ขน้ 0.01 mol/dm3 pH ของสารละลายเท่ากบั 5 กรดน้ีแตกตวั ร้อยละเทา่ ไร (กรดน้ีเป็นกรดมอนอโพรติก ) 1. 0.001 2. 0.1 3. 1 4. 10 28

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 49(แนว En) กรดอ่อน HA ปริมาตร 100 cm3 วดั ค่า pH ไดเ้ ท่ากบั 4 ค่าคงที่สมดุลของกรดน้ี เท่ากบั 1.0 x 10–7 ความเขม้ ขน้ ของกรดน้ีมีค่าก่ีโมล/ลิตร 1. 0.1 2. 1.0 3. 0.2 4. 2.0 50(แนว มช) Strychnine เป็นเบสออ่ น การเกิดไอออนในน้าเป็นไปตามปฏิกิริยา S(aq) + H2O  SH+(aq) + OH–(aq) สารละลายของ Strychnine 1.0 mol/dm3 มี pH เท่ากับ 11 ค่าคงที่ของสมดุลของ Strychnine เป็นเท่าใด 3. 1.0 x 10–22 4. 2.0 x 10–22 1. 1.0 x 10–6 2. 1.0 x 10–14 29

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 51(แนว En) สารละลาย AOH เขม้ ขน้ 0.01 โมลต่อลูกบาศกเ์ ดซิเมตร มี pH = 11 สารละลายน้ี มีการแตกตวั ร้อยละเท่าใด 1. 1 2. 2 3. 5 4. 10 8.8 อนิ ดเิ คเตอร์สาหรับกรด–เบส อินดิเคเตอร์ (Indicator) คือสารอินทรีย์ ( ส่วนใหญ่จะเป็ นกรดอ่อน) ที่มีสีและสามารถ เปล่ียนสีได้ เม่ือ pH ของสารละลายเปลี่ยนไป สูตรสมมุติของอินดิเคเตอร์ทว่ั ไปคือ HIn ( In จะมีโครงสร้างซบั ซอ้ นมากจึงเขียนเป็นสัญลกั ษณ์แทน ) ตวั อย่างเช่น สาร Bromothymol blue (HIn) เมื่อนาไปละลายน้าได้ HIn(aq) + H2O(l)  H3O+(aq) + In–(aq) สีเหลือง สีน้ำเงิน 1. คา่ Ka ของ HIn เท่ากบั 1 x 10–7 ดงั น้นั ในสภาวะเป็นกลางปริมาณ HIn จะมีค่า เทา่ กบั ปริมาณ In– สีของสารละลายจึงเป็นสีเขียว ( เหลืองผสมน้าเงิน ) 2. ถา้ เติมกรด (H3O+) ลงไป ปฏิกิริยาจะผนั กลบั เกิด HIn มากข้ึนสีเหลืองจึงเขม้ ขน้ 3. ถา้ เติมเบส (OH–) ลงไป OH– จะทาปฏิกิริยากบั H3O+ ทาให้ H3O+ มีปริมาณ ลดลงและจะเกิดปฏิกิริยาไปขา้ งหนา้ มากข้ึน ทาให้ In– มีปริมาณมากข้ึนสีน้าเงินเขม้ ข้ึน 30

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส ตวั อย่างอนิ ดิเคเตอร์ทค่ี วรรู้จัก สีในช่วง pH สูง น้าเงิน อนิ ดิเคเตอร์ ช่วง pH ทเ่ี ปลยี่ นสี สีในช่วง pH ตา่ เหลือง ชมพู Bromolthymol blue 6.0 – 8.0 เหลือง Methyl red 4.2 – 6.2 แดง Phenolphthalein 8.3 – 10.0 ไมม่ ีสี 52. สารละลายกรดชนิดหน่ึง เม่ือนามาทดสอบกบั อินดิเคเตอร์ ไดผ้ ลการทดลองดงั น้ี อนิ ดิเคเตอร์ ช่วง pH ทเี่ ปลยี่ นสี สีทเี่ ปลย่ี น สีทสี่ ังเกตเห็น A 3.0 – 5.0 น้าเงิน – แดง แดง B 3.8 – 5.4 เหลือง – น้าเงิน เขียว C 5.1 – 8.0 แดง – น้าเงิน แดง D 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน เหลือง สารละลายกรดน้ีควรมีคา่ pH ประมาณเท่าใด 1. 6 2. 5 3. 4 4. 3 31

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 53(แนว มช) สารละลายกรดชนิดหน่ึง เม่ือนามาทดสอบกบั อินดิเคเตอร์ ไดผ้ ลการทดลองดงั น้ี อนิ ดิเคเตอร์ ช่วง pH ทเ่ี ปลยี่ นสี สีทเ่ี ปลย่ี น สีทส่ี ังเกตเห็น A 3.0 – 5.0 น้าเงิน – แดง แดง B 3.8 – 5.4 เหลือง – น้าเงิน เขียว C 5.1 – 8.0 แดง – น้าเงิน แดง D 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน เหลือง H3O+ 4. 10–3 สารละลายกรดน้ีควรมีความเขม้ ขน้ ก่ีโมลตอ่ ลิตร 1. 10–6 2. 10–5 3. 10–4 8.9 ปฏกิ ริ ิยาของกรดและเบส ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสจะได้ผลิตภัณฑ์เป็ นเกลือกับน้ า เรียกปฏิกิริยาท่ีเกิดน้ีว่า ปฎิกิริยาสะเทิน ตวั อยา่ งเช่น HCl + NaOH  NaCl + H2O กรด เบส เกลือ น้า ตวั อยา่ งปฎิกิริยาระหวา่ งกรดกบั เบสอื่น ๆ 2 HCl + Ca(OH)2  CaCl2 + 2 H2O Ba(OH)2 + 2 HCl  BaCl2 + 2 H2O 2 NaOH + H2SO4  Na2SO4 + 2 H2O 3 Ba(OH)2 + 2 H3PO4  Ba3(PO4)2 + 6 H2O 32

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 8.10 เกลอื และปฏกิ ริ ิยาไฮโดรลซิ ิส 8.10.1 เกลอื เกลอื คือสารประกอบของโลหะหม่เู ทียบเทา่ โลหะ (เช่น NH4 ) กบั อนุมูลกรด (ไอออนลบ ของกรด) เช่น MgCl2 ( ไดจ้ าก Mg2+ กบั Cl– ซ่ึงเป็นอนุมูลของกรด HCl ) NH4CN ( ไดจ้ าก NH4 กบั CN– ซ่ึงเป็นอนุมูลของกรด HCN ) ฝึ กทา. จงระบุวา่ สารต่อไปน้ีเป็น กรด , เบส หรือ เกลือ 1) NH4OH ………….. 2) Cu(OH)2 ……………. 3) LiOH …………….. 4) KOH ……………… 5) CH3COOH…….……. 6) HF… …………….. 8) H2SO4 ……………… 9) LiCN …………….. 7) HCN …….……….. 11) KCN ……….………. 12) KI ……………….. 10) NH4CN ………….. 14) AlCl3 ……….………. 15) HCOOK…………. 13) CaCl2 ……..…….. ฝึ กทา. จงบอกวา่ ไอออนบวกตอ่ ไปน้ี อาจไดม้ าจากการแตกตวั ของเบสใด ตัวอย่าง Na+ อาจมาจาก NaOH อนั เป็นเบสแก่ 1) Li+ อาจมาจาก ....................... อนั เป็ น ............. 2) Na+ อาจมาจาก ....................... อนั เป็ น ............ 3) K+ อาจมาจาก ....................... อนั เป็ น ............. 4) Cs+ อาจมาจาก ....................... อนั เป็ น ............ 5) Rb+ อาจมาจาก ...................... อนั เป็ น ............ 6) Ca2+ อาจมาจาก ...................... อนั เป็ น ............ 7) Ba2+ อาจมาจาก ...................... อนั เป็ น ............. 8) Sr2+ อาจมาจาก ....................... อนั เป็ น ............ 9) Mg2+ อาจมาจาก ...................... อนั เป็ น ............. 10) NH4 อาจมาจาก ...................... อนั เป็ น ........... 33

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส ฝึ กทา. จงบอกวา่ ไอออนลบต่อไปน้ี อาจไดม้ าจากการแตกตวั ของกรดใด ตัวอย่าง Cl อาจมาจาก HCl อนั เป็น กรดแก่ 1) ClO4 อาจมาจาก ........................... อนั เป็ น .............. 2) I– อาจมาจาก ............................ อนั เป็ น ............ 3) Br– อาจมาจาก ............................ อนั เป็ น ............. 4) Cl– อาจมาจาก ........................... อนั เป็ น ............. 5) NO3 อาจมาจาก ............................ อนั เป็ น ............. 6) SO24 อาจมาจาก .......................... อนั เป็ น ............. 7) CH3COO– อาจมาจาก ......................... อนั เป็ น ............. 8) HCOO– อาจมาจาก .......................... อนั เป็ น ............. 9) PO34 อาจมาจาก ......................... อนั เป็ น ............. ฝึ กทา. จงบอกวา่ เกลือตอ่ ไปน้ี ไดม้ าจากกรด และ เบสใด ตัวอย่าง NaCl  มาจาก HCl อนั เป็นกรดแก่ มาจาก NaOH อนั เป็นเบสแก่ 1) K2SO4  มาจาก...................... อนั เป็ น ................... มาจาก...................... อนั เป็น ................... 2) KNO3  มาจาก...................... อนั เป็ น ................... มาจาก...................... อนั เป็ น ................... 3) CH3COONa  มาจาก................. อนั เป็ น ................... มาจาก................. อนั เป็ น ................... 4) Na2CO3  มาจาก...................... อนั เป็ น ................... มาจาก...................... อนั เป็ น ................... 5) NaCN  มาจาก...................... อนั เป็ น ................... มาจาก...................... อนั เป็ น ................... 34

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 6) NH4Cl  มาจาก...................... อนั เป็ น ................... มาจาก...................... อนั เป็ น ................... 7) NH4I  มาจาก...................... อนั เป็ น ................... มาจาก...................... อนั เป็ น ................... 8) NH4 NO3  มาจาก...................... อนั เป็ น ................... มาจาก...................... อนั เป็ น ................... 9) NH4CN  มาจาก...................... อนั เป็ น ................... มาจาก...................... อนั เป็ น ................... 8.10.2 ปฏกิ ริ ิยาไฮโดรลซิ ิส ปฏิกริ ิยาไฮโดรลซิ ิส คือปฎิกิริยาท่ีเกิดระหวา่ งไอออนบวกหรือลบของเกลือกบั น้าแลว้ ทา ใหส้ ารละลายน้นั มีฤทธ์ิเป็นกรดหรือเบส ปฏิกิริยาของเกลือสามารถแยกพิจารณาตามกรณีต่อไปน้ี กรณีที่ 1 เกลอื ทเี่ กดิ จากกรดอ่อนกบั เบสแก่ เช่น CH3COONa เม่ือละลายน้าจะได้ CH3COONa  CH3COO– + Na+ Na+ ไดจ้ ากเบสแก่ NaOH ดงั น้นั Na+ จะละลายน้าไดด้ ีและไมท่ าปฎิกิริยากบั น้า แต่ CH3COO– ไดจ้ ากกรดออ่ น CH3COOH ดงั น้นั CH3COO– เกิดปฎิกิริยากบั น้าไดด้ งั น้ี CH3COO– + H2O  OCHH–3อCยOู่ OปHฏิก+ิริยาOนH้ีเร–ียกปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส สุดทา้ ยสารละลายจะมีฤทธ์ิเป็นเบส เพราะมี โปรดจาให้แม่น กรดอ่อนจะสร้างเบส (OH– ) กรณีท่ี 2 เกลอื ทเ่ี กดิ จากกรดแก่กบั เบสอ่อน เช่น NH4Cl Cl– จะลNะHล4าย+น้Cาไl–ดด้ ีและไม่ทาปฎิกิริยากบั น้า เมื่อละลายน้าจะได้ HCl NH4Cl แต่ Cl– ได้จากกรดแก่ ดังน้ัน NH4 ไดจ้ ากเบสออ่ น NH3 ดงั น้นั NH4 เกิดปฎิกิริยากบั น้าไดด้ งั น้ี NH4 + H2O  NH3 + H3O+ 35

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส สุดทา้ ยสารละลายจะมีฤทธ์ิเป็นกรด เพราะมี H3O+ อยู่ ปฏิกิริยาน้ีเรียกปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส โปรดจาให้แม่น เบสอ่อนจะสร้างกรด (H3O+) กรณีที่ 3 เกลอื ทเี่ กดิ จากกรดอ่อนกบั เบสอ่อน เช่น NH4CN เมื่อละลายน้าจะได้ NH4CN  NH4 + CN– NH4 ไดจ้ ากเบสออ่ น NH3 เกิดปฎิกิริยากบั น้าไดด้ งั น้ี NH4 + H2O  NH3 + H3O+ CN– ไดจ้ ากกรดออ่ น HCN เกิดปฎิกิริยากบั น้าไดด้ งั น้ี CN– + H2O  HCN + OH– จะเห็นวา่ ในสารละลายมีท้งั กรดและเบส เม่ือรวมกนั แลว้ จะเป็ นกรดหรือเบสใหพ้ ิจารณา ที่ค่า Ka และ Kb ของกรดอ่อนและเบสอ่อนอนั เป็ นตน้ กากาเนิดของเกลือน้ัน ซ่ึงในที่น้ีก็คือ HCN และ NH3 ถา้ Ka > Kb ปฎิกิริยารวมจะเป็นกรด ถา้ Ka < Kb ปฎิกิริยารวมจะเป็นเบส ถา้ Ka = Kb ปฎิกิริยารวมจะเป็นกลาง โปรดจาให้แม่น กรดอ่อนจะสร้างเบส (OH– ) และเบสอ่อนจะสร้างกรด (H3O+) กรณีท่ี 4 เกลอื ทเ่ี กดิ จากกรดแก่กบั เบสแก่ เช่น NaCl เมื่อละลายน้าจะได้ NaCl  Na+ + Cl– Na+ ไดจ้ ากเบสแก่ NaOH และ Cl– ไดจ้ ากกรดแก่ HCl ท้งั Na+ และ Cl– จะไมท่ าปฎิกิริยากบั น้า ในสารละลายจึงเป็นกลาง เช่นน้ีเรียกวา่ ไม่เกิดปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส ฝึ กทา. จงบอกวา่ สารละลายเกลือตอ่ ไปน้ี จะมีฤทธิเป็นกรด หรือ เบส หรือ เป็ นกลาง 1) CH3COONa 2) Na2CO3 3) NaCN 4) NH4Cl 5) NH4 I 6) NH4 NO3 7) NH4CN 8) K2SO4 9) KNO3 36

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 58(แนว En) เม่ือนาเกลือ 4 ชนิด ต่อไปน้ีมาละลายน้า ง. K2SO4 4. ข. และ ง. ก. NH4 NO3 ข. CH3COONa ค. Na2CO3 สารละลายของเกลือชนิดใดบา้ งท่ีมีฤทธ์ิเป็นเบส 1. ก. และ ข. 2. ก. และ ค. 3. ข. และ ค. ค่าคงท่ไี ฮโดรลซิ ิส กรณไี อออนลบ ( จากกรดอ่อน ) เกดิ ไฮโดรลซิ ิส ตัวอย่างเช่น CH3COO–(aq) + H2O(l)  CH3COOH(aq) + OH–(aq) KKCwaH3CCHO3OCHOOOH  ที่ภาวะสมดุล Kh = และเรายงั จะไดอ้ ีกวา่ Kh = เมื่อ Kh = ค่าคงที่ของปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส Ka = ค่าคงท่ีการแตกตวั ของกรดออ่ น อนั เป็นท่ีมาของไอออนลบน้นั (ในท่ีน้ี CH3COO– ไดม้ าจากกรดอ่อน CH3COOH จึงใช้ คา่ Ka ของ CH3COOH ) สาหรับความเขม้ ขน้ OH– ท่ีเกิด อาจคานวณหาค่าไดโ้ ดยใชส้ ูตรลดั ตอ่ ไปน้ีได้ [OH–] = KhCs = KKwa Cs เมื่อ Cs = ความเขม้ ขน้ ของเกลืออนั เป็นที่มาของไอออนลบน้นั 37

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส กรณไี อออนบวก ( จากเบสอ่อน ) เกดิ ไฮโดรลซิ ิส ตัวอย่างเช่น NH4 (aq) + H2O(l)  NH3(aq) + H3O+(aq) NH3 H3O   ที่ภาวะสมดุล Kh =  และเรายงั จะไดอ้ ีกวา่ Kh =     KKwb NH4     เมื่อ Kh = ค่าคงที่ของปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส Kb = ค่าคงที่การแตกตวั ของเบสอ่อน อนั เป็ นท่ีมาของไอออนบวกน้นั สาหรับความเขม้ ข(ใน้ นทHี่น3้ีON+H4ท่ีเกไิดดม้ าอกาจจาคกากนรวดณอห่อานค่าNไดHโ้ 3ดยจใึงชใชส้ ู้ตคร่าลKดั ตb่อขไอปงน้ีไNดH้ 3) [H3O+] = khCs = KKwb Cs เมื่อ Cs = ความเขม้ ขน้ ของเกลืออนั เป็ นท่ีมาของไอออนบวกน้นั 59. สารละลาย NH4Cl เขม้ ขน้ 1.8 x 10–3 mol/dm3 จะมี pH เทา่ ใด 4. 11 ( กาหนด Kb ของ NH3 ที่ 25oC คือ 1.8 x 10–5 ) 1. 6 2. 8 3. 9 38

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 60. จงคานวณหาค่า pH ของสารละลาย CH3COONa เข้มข้น 1.8 x 10–3 mol/dm3 ถ้า Ka ของ CH3COOH ท่ี 25oC คือ 1.8 x 10–5 1. 6 2. 8 3. 9 4. 11 61. สารละลายโซเดียมวาเลอเรต (NaV) เขม้ ขน้ 0.10 mol/dm3 มี pH เท่าไร ( สมมุติค่า Ka ของ HV คือ 1 x 10–5 mol/dm3 ) 1. 6 2. 8 3. 9 4. 11 39

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 62. KCN เขม้ ขน้ 0.05 mol/dm3 มีคา่ pH เทา่ ใด ( HCN มีคา่ Ka = 5 x 10–10 ) 1. 6 2. 8 3. 9 4. 11 63. ถา้ สารละลาย XCl เขม้ ขน้ 1 mol/dm3 มี pH = 5 จงหาค่า Kh ของ X+ ไอออน 1. 1 x 10–5 2. 1 x 10–8 3. 1 x 10–10 4. 1 x 10–11 40

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 8.11 บัฟเฟอร์ สารละลายบฟั เฟอร์ คือสารละลายทส่ี ามารถควบคุม pH ใหค้ งท่ีได้ เมื่อเติมกรดหรือเบส ลงเลก็ นอ้ ย บฟั เฟอร์มี 2 ชนิด ไดแ้ ก่ ชนิดที่ 1 บฟั เฟอร์ท่ีไดจ้ ากกรดอ่อนผสมกบั เกลือของกรดออ่ นน้นั เช่น ผสม CH3COOH กบั CH3COONa เขา้ ดว้ ยกนั เม่ือเติม H+ จากกรดใดๆ ลงไป H+ จะถูกสะเทินดว้ ย CH3COO– จากเกลือ ดงั สมการ CH3COO– + H3O+  CH3COOH + H2O เม่ือเติม OH จากเบสใดๆ ลงไป OH จะถูกสะเทินดว้ ย CH3COOH จากกรด ดงั สมการ CH3COOH + OH  CH3COO– + H2O เราสามารถหา [H3O+] ของบฟั เฟอร์กรดไดจ้ ากสมการ [H3O+] [กรด] = [เ ก ลือ ] . Ka เม่ือ Ka คือคา่ คงที่การแตกตวั ของกรดออ่ น ชนิดท่ี 2 บฟั เฟอร์ที่ไดจ้ ากเบสออ่ นผสมกบั เกลือของเบสอ่อนน้นั เช่น ผสม NH3 กบั NH4Cl เขา้ ดว้ ยกนั เมื่อเติม H+ จากกรดใดๆ ลงไป H+ จะถูกสะเทินดว้ ย NH3 จากเบส ดงั สมการ NH3 + H3O+  NH4 + H2O เม่ือเติม OH จากเบสใดๆ ลงไป OH จะถูกสะเทินดว้ ย NH4 จากเกลือ ดงั สมการ NH4 + OH  NH3 + H2O เราสามารถหา [OH] ของบฟั เฟอร์เบสไดจ้ ากสมการ [เ บส] [OH-] = [เ ก ลือ ] . Kb เม่ือ Kb คือค่าคงท่ีการแตกตวั ของเบสอ่อน การพจิ ารณาวา่ สารผสมคู่ใดเป็นบฟั เฟอร์หรือไมน่ ้นั ใหใ้ ชห้ ลกั ดงั น้ี 41

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 1. กรณีที่สารที่ผสมกนั น้ันไม่ทาปฏิกิริยากนั ให้ดูว่ามีสารตวั หน่ึงเป็ นกรดอ่อนหรือเบส อ่อน แลว้ อีกตวั เป็ นเกลือซ่ึงมีไอออนของกรดอ่อนหรือเบสอ่อนน้นั หรือไม่ ถา้ ใช่สารผสมน้นั จะ เป็นบฟั เฟอร์ทนั ที ไมต่ อ้ งสนใจปริมาณสารแต่ละตวั 2. กรณีท่ีเป็ นสารผสมของกรดกบั เบส ให้พิจารณาปริมาณ H+ ของกรด และ OH– ของ เบส หากไอออนท่ีมีมากกวา่ เป็ นของกรดอ่อนหรือเบสอ่อน สารผสมน้นั จะเป็ นบฟั เฟอร์ เพราะ กรดจะทาปฏิกิริยากบั เบสแลว้ เกิดเกลือของกรดอ่อนหรือเบสอ่อนผสมอยู่กบั กรดอ่อนหรือเบส ออ่ นท่ีเหลือน้นั การหาปริมาณปริมาณ H+ ของกรด และ OH– ของเบส อาจหาไดจ้ ากสมการตอ่ ไปน้ี ปริมาณ H+ ของกรด ปริมาณ OH– ของเบส = a ca va คือจานวน OH- คือจานวน H+ ในกรด = b cb vb a b ในเบส ca คือความเขม้ ขน้ กรด ( โมล/ลิตร ) cb คือความเขม้ ขน้ เบส ( โมล/ลิตร ) va คือปริมาตรกรด ( cm3 ) vb คือปริมาตรเบส ( cm3 ) 64. สารผสมที่ไมท่ าปฏิกริยากนั ต่อไปน้ี ขอ้ ใดท่ีเป็ นบฟั เฟอร์มีก่ีขอ้ a. KNO2 0.05 mol/dm3 จานวน 5 cm3 กบั HNO2 0.05 mol/dm3 จานวน 10 cm3 b. CH3COOH 0.2 mol/dm3 จานวน 4 cm3 กบั CH3COONa 0.2 mol/dm3 จานวน 10 cm3 c. NaOH 0.6 mol/dm3 จานวน 3 cm3 กบั Na HSO4 0.3 mol/dm3 จานวน 7 cm3 d. NH3 0.5 mol/dm3 จานวน 10 cm3 กบั NH4Cl 0.8 mol/dm3 จานวน 5 cm3 e. NaCl 3.0 mol/dm3 จานวน 40 cm3 กบั HCl 1.0 mol/dm3 จานวน 20 cm3 1. 1 ขอ้ 2. 2 ขอ้ 3. 3 ขอ้ 4. 4 ขอ้ 42

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 65(แนว มช) นำสำรละลำยสองชนิดมำผสมกนั ใชป้ ริมำตรเทำ่ กนั คือ 50 cm3 ขอ้ ใดท่ีไม่มี สมบตั ิเป็นบฟั เฟอร์ 1. HNO3 0.5 mol/dm3 + NH4OH 0.6 mol/dm3 2. NH4OH 0.5 mol/dm3 + HCl 0.3 mol/dm3 3. HCl 0.5 mol/dm3 + NH4OH 0.25 mol/dm3 4. NaOH 0.5 mol/dm3 + CH3COOH 0.75 mol/dm3 43

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 66. จากปฏิกิริยาของสารต้งั ตน้ ต่อไปน้ี ขอ้ ใดท่ีเป็นบฟั เฟอร์มีกี่ขอ้ 4. 4 ขอ้ a. HCl 5 โมล กบั NH3 8 โมล b. HF 5 โมล กบั NaOH 8 โมล c. HCl 5 โมล กบั NaOH 8 โมล d. N2 5 โมล กบั O2 8 โมล 1. 1 ขอ้ 2. 2 ขอ้ 3. 3 ขอ้ 67. จงคานวณหา pH ของสารละลายที่มี CH3COONa เขม้ ขน้ 0.18 mol/dm3 และ CH3COOH เขม้ ขน้ 0.1 mol/dm3 กาหนดให้ CH3COOH มี Ka = 1.8 x 10–5 1. 4 2. 5 3. 10 4. 11 44

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 68(แนว มช) จงคานวณหา pH ของสารละลายที่มี HNO2 เขม้ ขน้ 1.0 mol/dm3 และ NaNO2 เขม้ ขน้ 0.50 mol/dm3 กาหนดให้ HNO2 มี Ka = 5.0 x 10–5 1. 4 2. 5 3. 10 4. 11 69. จงคานวณหา pH ของสารละลายที่มี NH4Cl เขม้ ขน้ 1.8 x 10–3 mol/dm3 และ NH3 เขม้ ขน้ 0.1 mol/dm3 กาหนดให้ NH3 มี Kb = 1.8 x 10–5 1. 4 2. 5 3. 10 4. 11 45

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 70. สมมุติวา่ มีสารละลายบฟั เฟอร์ 80 cm3 ซ่ึงประกอบดว้ ย NH3 0.1 mol/dm3 และ NH4Cl 0.181 mol/dm3 pH ของสารละลายน้ีมีค่าเท่าไร ( Kb ของ NH3 = 1.81 x 10–5 mol/dm3 ) 1. 9.10 2. 9.00 3. 9.40 4. 10.15 71(แนว En) สารละลายบฟั เฟอร์ท่ีประกอบดว้ ยกรดฟอร์มิกและโพแทสเซียมฟอร์เมต มี pH = 5 อตั ราส่วนระหวา่ งความเขม้ ขน้ ของเกลือ : กรด ควรมีคา่ ประมาณเทา่ ใด ( ให้ Ka ของกรดฟอร์มิก = 2.0 x 10–4 ) 1. 2.0 x 10–4 2. 1.0 3. 2.0 4. 20.0 46

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 72. จงคานวณเปอร์เซ็นต์การแตกตวั ของ NH3 ในสารละลายผสม 0.5 dm3 ที่มี NH3 0.10 โมล และ NH4Cl 0.05 โมล ( กาหนดให้ Kb ของ NH3 = 2 x 10–5 ) 8.12 การคานวณเกยี่ วกบั ปฏริ ิยาของกรดและเบส 8.12.1 กรณีทก่ี รดกบั เบสทาปฏกิ ริ ิยากนั หมดพอดี กรณีที่กรดกบั เบสทาปฏิกิริยากนั หมดพอดี เช่นกรณีท่ีโจทยบ์ อกกรดและเบสทาปฏิกิริยา สะเทินกนั พอดี หรือทาการไทเทรตแลว้ ถึงจุดยตุ ิพอดี เป็นตน้ กรณีเหล่าน้ีสูตรที่ใชค้ านวณมีดงั น้ี a ca va = b cb vb b คือจานวน OH- ในเบส a คือจานวน H+ ในกรด ca คือความเขม้ ขน้ กรด ( โมล/ลิตร ) cb คือความเขม้ ขน้ เบส ( โมล/ลิตร ) va คือปริมาตรกรด ( cm3 ) vb คือปริมาตรเบส ( cm3 ) การคานวณหา [H3O+] และ [OH–] ตอ้ งคิดการเกิดไฮโดรไลซิสของเกลือที่เกิด หากไอออนลบจากกรดเกดิ ไฮโดรไลซิส [OH–] = khCs = KKwa Cs และ kh = kKWa เมื่อ kh คือค่าคงที่ของปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส Ka คือคา่ คงที่การแตกตวั ของกรดอ่อนอนั เป็นที่มาของไอออนลบน้นั 47

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส หากไอออนบวกจากเบสเกดิ ไฮโดรไลซิส [H3O+] = khCs = KKwb Cs และ kh = kKWb เมื่อ kh คือค่าคงท่ีของปฎิกิริยาไฮโดรลิซิส kb คือคา่ คงที่การแตกตวั ของเบสอ่อนอนั เป็ นท่ีมาของไอออนบวกน้นั สูตรสาหรับคานวณหาปริมาณเกลือที่เกิด acbvvรbวม กรณีทเี่ หลอื กรด ( เบสหมด ) [เกลอื ] = bcavvรaวม กรณีทเ่ี หลอื เบส ( กรดหมด ) [เกลอื ] = 73. แบเรียมไฮดรอกไซดท์ าปฎิกิริยากบั กรดไฮโดรคลอริกดงั สมการ Ba(OH)2(aq) + 2 HCl(aq)  BaCl2(aq) + 2 H2O(l) ถา้ สารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์ 50 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร ทาปฎิกิริยาสะเทินดว้ ยกรดไฮไดร คลอริกเขม้ ขน้ 0.1 โมลาร์ ปริมาตร 100 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร สารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์ มีความเขม้ ขน้ ก่ีโมลาร์ 1. 0.01 2. 0.05 3. 0.10 4. 0.50 48

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 กรด – เบส 74(แนว En) ถ้าตอ้ งการสะเทินสารละลาย Ca(OH)2 เขม้ ขน้ 0.05 M ปริมาณ 30 ลูกบาศก์- เซนติเมตร จะตอ้ งใชก้ รดฟอสฟอริก (H3PO4) เขม้ ขน้ 0.25 M ก่ีลูกบาศกเ์ ซนติเมตร 1. 0.4 2. 4 3. 8 4. 12 75(แนว En) เม่ือนาสารละลายอิ่มตวั Ca(OH)2 ปริมาตร 50.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร มาไทเทรต ดว้ ยสารละลาย HCl เขม้ ขน้ 0.200 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร เมื่อถึงจุดยุติพบว่าใช้ HCl ไป 10.0 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร ในสารละลายอ่ิมตวั น้ีมี Ca(OH)2 ก่ีกรัม 1. 1.48 2. 2.96 3. 0.074 4. 0.148 49

ติวสบายเคมี เลม่ 3 http://www.pec9.com บทท่ี 8 กรด – เบส 76. สารละลาย H2SO4 เขม้ ขน้ 2 mol/dm3 100 cm3 ถา้ จะตอ้ งใชส้ ารละลาย NaOH เขม้ ขน้ 60% โดยมวล/ปริมาตร กี่ cm3 จึงจะทาปฏิกริยากบั กรดน้ีหมดพอดี 1. 20.00 2. 26.67 3. 30.00 4. 33.33 77. น้าส้มสายชูตวั อย่างมีกรดอะซิติก (CH3COOH) อยู่ร้อยละ 4.8 โดยมวล/ปริมาตร ในการ ไทเทรตน้าส้มสายชูกบั สารละลาย NaOH พบวา่ น้าส้มสายชู 10 cm3 ทาปฏิกิริยาพอดีกบั สาร ละลาย NaOH 20 cm3 จงหาความเขม้ ขน้ ของ NaOH ในหน่วยร้อยละโดยมวล/ปริมาตร 1. 0.16 2. 0.80 3. 1.60 4. 8.00 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook