Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book คู่คิดพิชิตวอร์ด

E-book คู่คิดพิชิตวอร์ด

Description: E-book คู่คิดพิชิตวอร์ด
หนังสือเกี่ยวกับหลักการและเทคนิคการพยาบาล เปลี่ยนเรื่องยาก...ให้เป็นเรื่องง่าย...ตามสไตล์พยาบาล

Search

Read the Text Version

หนังสือเก่ียวกับหลักการและเทคนิคการพยาบาล วายพุ ร ย่อดีเปล่ียนเร่ืองยาก...ให้เป็ นเร่ืองง่าย...ตามสไตล์พยาบาล อภญิ ญา เนอื่ งลี สปุ ราณี วินทะชยั วริศรา วงค์ฮาดจนั ทร์ ศิรลิ กั ษณ์ ไชยคาหาญ

อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์วิยะดา เปาวนา นางสาววายุพร ย่อดีนางสาวสุปราณี วนิ ทะชยั นางสาววรศิ รา วงค์ฮาดจนั ทร์ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีท่ี 3 รนุ่ 25 นางสาวอภญิ ญา เน่อื งลี วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อดุ รธานีนางสาวศริ ลิ กั ษณ์ ไชยคาหาญ

หนังสือเลม่ นี้จัดทำขน้ึ เพอื่ ให้นกั ศึกษำพยำบำลใชเ้ ป้นแนวทำงในกำรทบทวนควำมรเู้ ก่ียวกบั หลักกำรและเทคนิคกำรพยำบำล โดยเฉพำะนักศึกษำพยำบำลทต่ี ้องฝึกปฏิบัติงำนบนหอผูป้ ่วยในคร้งั แรกเพื่อม่งุ หวงั ใหน้ กั ศึกษำพยำบำลมีควำมรู้ มีควำมมน่ั ใจในตนเอง ลดควำมวิตกกังวล ลดควำมเครียดขณะขึน้ ฝกึปฏบิ ัติงำนบนหอผ้ปู ่วย ทำงคณะผู้จัดทำหวังเปน้ อยำ่ งยงิ่ วำ่ หนังสอื เลม่ นจ้ี ะเปน็ประโยชน์ต่อนักศกึ ษำพยำบำลและผู้ท่ีสนใจ หำกมขี อ้ ผดิ พลำดประกำรใด ทำงคณะผ้จู ัดขออภัยมำ ณ ท่นี ด้ี ้วย อภญิ ญำ เน่อื งลแี ละคณะ

กเนือ้ หำ หน้ำบทท่ี 1 กำรประเมินภำวะสขุ ภำพ (Health Assessment) 1 1.1 แบบแผนสขุ ภำพ 11 กอร์ดอน(Gordon) 2 1.2 กำรประเมนิ ผปู้ ่วย (Patient Evaluation) 5 1.2.1 กำรประเมินระดับควำมรู้สกึ (Glasgow Coma Scale:GCS ) 6 1.2.2 กำรประเมนิ แผลกดทบั (Evaluation of pressure ulcers) 7 1.2.3 กำรประเมินอำกำรปวด (pain score) 7 1.2.4 กำรประเมนิ ระดับควำมร้สู กึ ตวั (Sedation scale) 8 1.2.5กำรประเมิน SOS (Search Out Severity:SOS) 1.3 สรปุ อำกำรสำคัญ (Chief Complaint) 10 1.4 ข้อวินจิ ฉยั ทำงกำรพยำบำล (Nursing Diagnosis) 11

ขเน้ือหำ หน้ำบทที่ 2 กำรตรวจร่ำงกำย (Physical Examination) 19 2.1 สขุ ภำพท่วั ไป (General Appearance) 20 2.2 กำรวัดสญั ญำณชพี ,ผวิ หนังและเล็บ (skine and nail) 20 และศรี ษะ ตำ หู คอ จมกู (HEEN) 21 2.4 ปำกและชอ่ งคอหอย (Mouth & Pharaynx) 21 2.5 ทรวงอกและปอด (Thorax and Lungs) 25 2.6 หวั ใจ(Heart) 27 2.7หนำ้ ทอ้ ง (Abdomen) 29 2.8อวัยวะสืบพนั ธุ/ ทวำรหนกั (Genitalia / Anus &Rectum) 30 2.9 ระบบประสำท (Nervous System)

คเนอ้ื หำ หนำ้บทที่ 3 กำรตรวจทำงห้องปฏบิ ตั ิกำร (Laboratory examination) 343.1 กำรเกบ็ ส่งิ ส่งตรวจ (Specimen Collection) 353.2 ค่ำปกติทำงหอ้ งปฏบิ ัติกำร (Normal Value Laboratory) 383.3 กำรตรวจคล่นื ไฟฟ้ำหัวใจ(Electrocardiography) 55บทท่ี 4 ทกั ษะปฏบิ ัติกำรพยำบำล(Nursing Practice Skills) 584.1 กำรวดั สญั ญำณชีพ (vital signs) 5942 กำรใส่สำยยำงเข้ำกระเพำะอำหำร (NG Tube) 614.3 กำรให้อำหำรทำงสำยยำง (Nasogastric Tube Feeding) 624.4 กำรทำแผล (Dressing) 63

เนือ้ หำ งบทที่ 4 ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ำรพยำบำล(Nursing Practice Skills) ต่อ หน้ำ 4.5 กำรฉีดยำ (Injection) 65 4.6 ใหส้ ำรน้ำทำงหลอดเลือดดำและกำรใหเ้ ลือด 69 (Intravenous Transfusion) 76 4.7 กำรสวนปสั สำวะ (Urinary Catheterization) 79 4.8 กำรใหอ้ อกซเิ จน (Oxygen Therapy) 82 4.9 กำรดูดเสมหะ (Suction) 83 4.10 กำรเช็ดตวั ลดไข้ (Tepid Sponge) 84 4.11 กำรจัดทำ่ (Position) 87 4.12กำรทำเตยี ง (Bed) 88 4.13 หลักกำรวำงแผนจำหนำ่ ยผปู้ ว่ ย (D METHOD)

เนือ้ หำ จบทที่ 5 ยำ (Medicine) หน้ำ 5.1 คำย่อท่พี บบ่อย (Abbreviation) 5.2 ยำทใี่ ชบ้ ่อยบนหอผู้ปว่ ย (Medicine) 90 5.3 กำรบริหำรยำทมี่ คี วำมเสี่ยงสงู ( High Alert Drug) 91บรรณำนกุ รม 92 97 106

บทที่1 กำรประเมินภำวะสุขภำพ (Health Assessment)สารบญั ก 1

1.1 แบบแผน 11 กอรด์ อน คำถำม 31 การรบั รู้ภาวะสุขภาพและการจดั สขุ ภาพ ท่ใี ช้ในการซักประวัตแิ ต่ละ การขับถ่าย (ก่อน-ขณะเจบ็ ป่วย) แบบแผน (ก่อน-ขณะเจบ็ ป่วย) -ผู้ป่วยมีการรับรูส้ ขุ ภาพโดยท่วั ไปของตนเองหรือ 2 -ประวัตเิ กี่ยวกับแบบแผนการขับถา่ ยปสั สาวะและ บุคคลท่รี ับผดิ ชอบทง้ั อดตี และปจั จบุ นั เปน็ อย่างไร อุจจาระ เชน่ ลกั ษณะ ความถว่ี นั ละก่คี ร้ัง เช่น คดิ วา่ ตนเองหรอื ผทู้ ี่รบั ผดิ ชอบมีภาวะสุขภาพ อาหารและการเผาผลาญ ปริมาณมากนอ้ ยเพียงใด แขง็ แรงดี ถูกตอ้ งหรอื ไม่ หากไม่แข็งแรงอาจจะถาม (กอ่ น-ขณะเจบ็ ป่วย) -ปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระและ เกย่ี วกับความถีใ่ นการเกิดความไม่สบายหรอื เจ็บปว่ ย วธิ แี กไ้ ข -ผู้ปว่ ยรหู้ รอื ไมว่ า่ ตนเองปว่ ยเปน็ โรคอะไร มีความรู้ -ประวตั ิเก่ยี วกับบรโิ ภคนิสัย เช่น กินอาหารเป็นเวลา -ปัจจยั ส่งเสรมิ และปัจจัยท่เี ป็นอปุ สรรคตอ่ แบบ เก่ยี วกบั โรคท่ีเปน็ หรือสาเหตุของโรคถูกต้องหรอื ไม่ แผนการขับถา่ ยปัสสาวะและอจุ จาระ เชน่ ความ อย่างไร และวิธแี กไ้ ขเมื่อเจบ็ ปว่ ย หรอื ไม่ ทานสกุ ดบิ ทาเอง/ซ้ือ สะดวกหรอื ลาบากในการเขา้ ห้องนา้ ทวารหนกั มี -ความคาดหวงั เกีย่ วกับการรักษาเปน็ อย่างไร -ชอบกนิ จุบจบิ หรือไม่ แผลหรอื ริดสดี วง -ความต้องการชว่ ยเหลือจากทมี พยาบาลหรอื ผูร้ กั ษา -ลกั ษณะอาหารหรือขนมท่ชี อบและไม่ชอบ/แสลง -ประวตั ิการเจบ็ ป่วยด้วยโรคท่ีเกย่ี วข้องกับระบบ อยา่ งไร -ชนดิ เวลา และปรมิ าณอาหารในแตล่ ะวัน/ม้ือ ทางเดินปัสสาวะหรอื ไต -ประวตั ิเก่ยี วกับโรคระบบทางเดินอาหาร -ประวัติการใช้ยาต่างๆ เช่น ยาท่มี ีฤทธติ์ ่อไต ยาขบั -ปญั หาในการรับประทานอาหาร เชน่ ทอ้ งอืด คล่นื ไส้ ปัสสาวะ ยาระบาย เปน็ ต้น อาเจยี น -ประวัติการเพ่มิ หรือลดของนา้ หนกั ตวั จากปกติ -วธิ ีการแกไ้ ขเมื่อเกดิ ปญั หาในการรบั ประทานอาหารสารบญั ก 2

4 กิจกรรมและการออกกาลังกาย(ก่อน-ขณะ 5 6 สติปัญญาและการรบั รู้ เจบ็ ปว่ ย) (กอ่ น-ขณะเจ็บปว่ ย) การนอนหลับและพกั ผ่อน -ความสามารถในการปฏิบัตกิ จิ วตั รประจาวนั วา่ สามารถ (ก่อน-ขณะเจบ็ ป่วย) -ความรสู้ กึ โดยทวั่ ไป สุขสบายหรือไม่สบาย ทาอะไรไดบ้ ้าง ปัญหาเก่ยี วกบั ความรสู้ กึ ตวั เชน่ มีอาการสบั สน -กจิ กรรมในงานอาชีพหนักเบาอย่างไร ซึ่งจะมีกิจกรรม -พฤตกิ รรมการนอน เช่น นอนดกึ หรอื นอนแตห่ วั คา่ สะลึมสะลอื ไมค่ อ่ ยรสู้ ึกตวั ทีแ่ ตกตา่ งกนั -พฤตกิ รรมหรอื สิ่งที่จะช่วยทาให้หลับได้ง่าย เช่น ฟงั -ปัญหาเกีย่ วกับการไดก้ ลิน่ เชน่ ความผดิ ปกตขิ องจมกู -ประวตั ิเกีย่ วกับนันทนาการ งานอดิเรกหรอื การใช้ เพลงก่อนนอน ฟงั ธรรมะ -ปัญหาเกย่ี วกับการมองเห็น เชน่ เหน็ ภาพซ้อน ตามวั เวลาวา่ ง -ปัญหาเกย่ี วกบั การนอน เชน่ นอนมากไป นอ้ ยไป -ปญั หาเก่ียวกบั การไดย้ ิน เชน่ หูออื้ หตู งึ -ประวตั ิการได้รับอบุ ัตเิ หตตุ ่อกระดกู ข้อและกล้ามเน้อื นอนไม่หลบั -ปญั หาเก่ียวกบั การรับรส เชน่ ลิน้ ชา ปากชา -ประวตั กิ ารเปน็ โรคท่ีเป็นอุปสรรคต่อชวี ติ ประจาวัน -พฤตกิ รรมการผ่อนคลาย เช่น การดูหนงั ฟงั เพลง -ปญั หาเกีย่ วกับการบั ความรู้สกึ ทางผวิ หนงั เชน่ ชา คัน เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิต โรคอว้ น นงั่ สมาธิ เจ็บปวด -ปัจจัยสง่ เสรมิ ทท่ี าให้มีความสามารถในการปฏิบัติ -การใช้ยานอนหลบั หรือไม่ -ประวตั กิ ารเจบ็ ป่วยทม่ี ีผลตอ่ การรบั รคู้ วามรู้สึก เชน่ กจิ วัตรประจาวันตามปกติ เช่น มีผู้ดแู ล อปุ กรณ์ โรคเบาหวานทีท่ าให้เป็นต้อกระจก (Cataract) อานวยความสะดวก 7 มโนทศั นแ์ ห่งตนและความรู้สกึ นกึ คิดตอ่ ตนเอง (กอ่ น-ขณะเจบ็ ปว่ ย)สารบญั ก -ความร้สู ึกตอ่ ตนเองเกย่ี วกบั ภาพลกั ษณโ์ ดยท่วั ไป เช่น รูปร่างหน้าตา อว้ นผอมเกนิ ไป ความมัน่ ในตนเองทมี่ รี ูปร่างเปลี่ยนแปลงไป -ความรูส้ ึกตอ่ ตนเองเกี่ยวกับความสามารถในด้านตา่ งๆ ได้แก่ การเรียน อาชีพ กิจกรรมตา่ งๆ เชน่ คนเป็นอมั พาตไมส่ ามารถหยบิ จบั ส่งิ ของได้ -ความร้สู กึ ตอ่ ตนเองเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงรา่ งกายท่ีมอี ุปกรณเ์ พมิ่ ข้ึน เชน่ มี colostomy bag -ความรู้สึกตอ่ ตนเองเกย่ี วกับการสูญเสียอวัยวะจากการเปน็ โรค การผ่าตัดหรือการเกดิ อุบัติเหตุ เชน่ การตัดอวัยวะแขน ขา 3

8 บทบาทและสมั พนั ธภาพ 9 เพศและการเจรญิ พนั ธ์ุ 10 การเผชิญและทนตอ่ ความเครยี ด (กอ่ น-ขณะเจ็บปว่ ย) (กอ่ น-ขณะเจ็บปว่ ย) (ก่อน-ขณะเจ็บปว่ ย) -โครงสร้างของครอบครัว เชน่ จานวนสมาชกิ อยู่ -การแสดงออกทางเพศ การมีเพศสมั พนั ธ์ -ลกั ษณะอปุ นิสัยหรอื อารมณ์พน้ื ฐาน กบั ใครบ้างหรืออยูค่ นเดยี ว -ปญั หาในการมเี พศสมั พันธ์ ความเจ็บป่วยท่เี กยี่ วขอ้ งกับ -ประวตั กิ ารเกิดอาการตา่ งๆ ทป่ี รากฏเมอื่ เกิด -หน้าท่คี วามรับผิดชอบของผูป้ ่วย การมีเพศสมั พนั ธ์และการป้องกนั โรคท่ตี ดิ ต่อได้ทาง ความเครยี ด เชน่ เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ -การเจบ็ ป่วยมผี ลกระทบตอ่ ครอบครวั หรือไม่ เพศสมั พันธ์ รวมทัง้ วธิ ีการจดั การกบั ความเครยี ด -ตาแหน่ง ความรับผดิ ชอบต่อหน้าทกี่ ารงาน -พฤตกิ รรมเสย่ี งตอ่ การเกิดโรคทีต่ ดิ ต่อกันไดท้ าง -สง่ิ เรา้ ท่ีทาใหเ้ กิดความเครยี ดหรือส่ิงที่ไมส่ บายใจ สมั พนั ธภาพกบั ครอบครวั และเพ่ือนสนทิ เพอ่ื น เพศสัมพันธ์ เชน่ เอดส์ กามโรค วิตกกังวล กลวั เครียด รว่ มงานและเพ่ือนบ้าน -หญงิ ควรซกั ประวตั ิเก่ียวกับประจาเดือน การตัง้ ครรภ์ -ความตอ้ งการการชว่ ยเหลือและบุคคลสนบั สนุนให้ -สง่ิ ท่ีเป็นอปุ สรรคต่อการสร้างสมั พันธภาพทด่ี ี เชน่ การมีบุตร การแทง้ การคมุ กาเนดิ กาลงั ใจชว่ ยเหลือแกไ้ ข ทัศนคตทิ ีไ่ มด่ ีต่อกัน ความเครียดภายในครอบครัวสารบญั ก 11 คณุ ค่าและความเช่ือ 4 (กอ่ น-ขณะเจ็บปว่ ย) -ความเชื่อ ความผกู พัน ความศรัทธาท่ีมตี ่อสงิ่ ตา่ งๆ -ส่งิ สาคัญหรือสิ่งยึดเหนี่ยวทางจติ ใจ อาจเปน็ บคุ คลหรือวัตถ/ุ สง่ิ ของ ศาสนา คุณธรรม ความดี -คา่ นยิ ม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีและวัฒนธรรม -ความหวังและเป้าหมายของชีวิต -การปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ งๆ ตามความเชอื่ ทางศาสนา ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี -ความเช่ือเก่ียวกับสขุ ภาพ เช่น ความเช่ือเกย่ี วกับสาเหตขุ องการเกดิ โรค ความเชอื่ เก่ียวกับการ รกั ษาพยาบาล

1.2 กำรประเมินผู้ป่วย (Patient Evaluation)1.2.1 การประเมนิ ระดบั ความรสู้ ึก Glasgow Coma Scale : GCS E=eye opening V=verbal response M=motor response E1=ไมล่ ืมตาเลย V1=ไมอ่ อกเสียง M1=ไมข่ ยบั เลย 13-15 คะแนน การบาดเจบ็ ทศี่ ีรษะเล็กนอ้ ย Mild Head E2=ลมื ตาเมอื่ เจบ็ E3=ลืมตาเม่อื เรียก V2=ออกเสียงไม่เปน็ M2=แขนเหยยี ดผดิ ปกติ injury ผปู้ ่วยรู้สึกตัวดี ลมื ตาตืน่ ได้เอง ทาตามสั่ง และตอบคาถามได้ E4=ลมื ตาเอง ภาษาไม่มคี วามหมาย M3=แขนงอผดิ ปกติ ถกู ต้องทนั ทหี รอื ใช้เวลาเลก็ นอ้ ย หรอื สับสนเป็นบางครง้ั Ec=ตาบวมปิด V3=ออกเสยี งเป็นภาษา M4=ขยบั เมื่อเจบ็ (closed,contusion) เปน็ คา ๆมคี วามหมาย 9-12 คะแนน การบาดเจ็บทีศ่ รี ษะปานกลาง moderateสารบญั ก M5=เอามอื ปดั ตาแหน่ง head injury ความรู้สึกตวั ลดลง และสบั สนตื่นเมอ่ื ถูกปลุก หรอื V4=ออกเสียงเปน็ เจบ็ ได้ ได้รับความเจ็บปวด ทาตามส่ังหรือต่อคาถามงา่ ยๆได้ใชเ้ วลานานกว่า ประโยชนแ์ ต่สบั สน ปกตแิ ละหน้าท่ีความรู้สกึ ตวั ลดลงมากอาจเพียงเคล่ือนไหวหรือสง่ เสยี ง ไมเ่ ป็นคาพูด M6=ทาตามคาสงั่ ได้ V5=พูดคยุ ได้ตามปกติ 3-9 คะแนน การบาดเจบ็ ท่ีศรี ษะรุนแรง severe head injury รสู้ กึ ตัวนอ้ ยมากไม่สามารถทาตามสงั่ ใดๆทงั้ สิน้ อยูใ่ นทา่ ทีไ่ ม่ ปกตหิ รือไม่เคลอ่ื นไหวเลย 5

1.2.2 การประเมินแผลกดทับ (Evaluation of pressure ulcers) เกรด ลกั ษณะสาคญั 12 0 ผวิ หนงั มีสมี ่วงคล้า หรือตุ่มน้าเกดิ ขึ้น แสดงว่าการบาดเจบ็ ของผิวหนงั 34 1 เนื้อเย่ือผวิ บริเวณนนั้ จะบวมแดงร้อนและแข็งตัวขึ้นกวา่ ปกติ หนงั กาพรา้ หลดุ ที่มา:https://health.kapook.com ลอกเห็นหนังแท้ 2 แผลลึกถงึ ชั้นหนงั แท้หรือถึงรอยตอ่ กับชน้ั ไขมันใต้ผวิ หนงั เป็นแผลขอบชัด 6 ลักษณะบวมแดงร้อน 3 แผลลึกถงึ ช้นั ไขมันใต้ผิวหนงั มกี ลน่ิ เหม็นอักเสบติดเชื้อและตายของเนือ้ เยอ่ื ที่ ฐานของแผลขอบตาคล้าแยกจากผวิ หนงั ดีไดช้ ดั เจนข้อบรเิ วณใกล้เคยี งจะเร่ิม 4 ตดิ แข็ง แผลลึกถึงชน้ั กล้ามเนอื้ หรือกระดูก มองเห็นกระดูกเส้นเอ็นหรือกลา้ มเนอื้ ไมส่ ามารถ หรอื พบมีชอ่ งวา่ งของผิวหนงั ทตี่ ่อโรงถงึ กระดูกได้ ประเมนิ ได้ มกี ารหลุดลอกของเนื้อเย่ือ แตถ่ กู ปดิ ด้วยเน้อื ตายหรือเนื้อเยอื่ ท่ีแหง้ แขง็สารบญั ก (Escher)

Visual analogue scales(VAS) ผู้ป่วยใหค้ ะแนนความ เป็นการวดั โดยใช้เส้นตรงหรือ ปวด(pain score) ตวั เลข 1-10 เหมาะกับผูใ้ หญ่ 0 คือ ไมป่ วด 1-3 คอื ปวดเล็กน้อย 4-6 คือ ปวดปานกลาง 7-9 คอื ปวดรนุ แรงมาก 10 คือ ปวดมากท่สี ดุ Facial scales คือ การใชร้ ูปภาพแสดงสีหน้าบอก หวั ข้อประเมนิ คะแนน ความร้สู ึกปวด เหมาะกับผ้ปู ว่ ยเด็ก คนชราและคนท่ี ไมส่ ามารถสื่อสารด้วยคาพดู ไดห้ รือผู้ปว่ ยที่ไม่รสู้ กึ ตัว ตื่นรสู้ กึ ตัวดี 0 1 ง่วงเลก็ นอ้ ย ถา้ ปลกุ แลว้ ตืน่ ง่าย 2 วัดระดับความง่วงซมึ ง่วงซึม หลับเกือบตลอดเวลา ถา้ ปลกุ แลว้ ตื่นง่ายแตไ่ ม่ 3 กรณีท่ผี ู้ป่วยได้รับยาระงับความรู้สึก อยากพดู คยุ โตต้ อบ s หลบั ตลอดเวลา ปลกุ ไมต่ ่ืนหรอื ตน่ื ยาก หรอื ยาระงบั ความเจบ็ ปวดสารบญั ก นอนหลับปกติ 7

1.2.5 การประเมนิ SOS score ( Search Out Severity Score) การให้คะแนนอาการเตือนกอ่ นเข้าส่สู ภาวะวกิ ฤติScore 3 2 1 0 12 3BT ≤ 35 35.1 - 36 36.1 - 38 ≥ 38.1 - 38.4 ≥ 38.5BP (คา่ บน) ≤ 80 81 - 90 91 - 100 101 - 180 181 - 199 ≥ 200 ใชย้ ากระต้นุ ความดนัP ≤ 40 41 - 50 51 -100 101 - 120R ≤8 ใช้เครอ่ื งใช้หายใจ 9 - 20 121 -139 ≥ 140 21 -25 26 - 35 ≥ 35 ความรูส้ ึกตวั สบั สนกระสบั กระส่าย ตนื่ ดี พดู คยุ รเู้ ร่ือง ซึม แต่เรยี กแลว้ ลมื ตา ซมึ มาก ตอ้ ง ไม่รูส้ กึ ตวั ทเี่ พง่ิ เกิดขึ้น สะลึมสลือ กระตนุ้ จึงลมื ตา แมก้ ระตุ้นแลว้ ก็ตาม ปัสสาวะ/วนั ≥ 1,000 ปัสสาวะ/8ชม. ≤ 500 501 – 999 ≥ 320 8 ปัสสาวะ/4ชม. ≤ 160 161 – 319 ≥ 160 ปัสสาวะ/1ชม. ≤ 80 81 – 159 ≥ 40 ≤ 20 21 - 39สารบญั ก

1.2.5 การ แนวทางการดูแล SOS Scoreประเมิน SOSscore (ต่อ) คะแนน = 0 คะแนน 1-3 คะแนน ≥ 4 -Record V/S ตามปกติ -ผู้ช่วยเหลือคนไข้รายงานพยาบาล -รายงานพยาบาล ทกุ 4 ชม. -Record V/S,I/O ทุก 2-4 ชม. Incharge -ประเมนิ SOS Score -ประเมนิ SOS Score ตามความ -รายงานแพทย์ทันที ตามปกติ เหมาะสม -พยาบาลเจา้ ของไขพ้ จิ ารณา -Record V/S ,I/O ทกุ 15-30 นาที ไมม่ ภี าวะ Shock -รายงานแพทยต์ ามความเหมาะสม -พจิ ารณายา้ ยผูป้ ่วยมาอยูใ่ นบรเิ วณทสี่ ามารถดูแล -รายงานแพทย์ ไดอ้ ย่างใกล้ชิดรว่ มกับพจิ ารณายา้ ย ICU -ใหก้ ารรักษาตาม มีภาวะ Shock -ค้นหาสาเหตทุ ่ีทาใหผ้ ้ปู ่วยแย่ลง เช่น Severe ความเหมาะสมจนกว่า -รายงานแพทย์ Sepsis, Septic Shock Ac MI ,Ac PE SOS Score<3 -ปฏบิ ตั ติ าม Flow คะแนน Sepsis Six bundle -Monitor ผ้ปู ว่ ยทกุ 15-30 นาทจี น SOS < 4 หรือจนกว่าแพทยบ์ อกว่า Stable Then Monitor ไม่มีภาวะ Shock มีภาวะ Shock ทกุ 2 ชม. อกี Then Monitor ทุก 4 ชม. -รานงานแพทย์ -รายงานแพทย์ -ให้การรกั ษาตามความ -ปฏิบตั ติ าม Flow 9 เหมาะสมจนกวา่ SOS Sepsis Six bundle Score < 4 คะแนนสารบญั ก

1.3 สรุปอำกำรสำคญั (Chief Complaint) ผู้ปว่ ยหญงิ /ชายไทย คู่/โสด/หม้าย อายุ... ปี นา้ หนกั ... กิโลกรัม สว่ นสงู .. เซนติเมตร ลกั ษณะทว่ั ไป...........มาดว้ ยอาการ(อาการสาคัญ).........โรคประจาตัวและการ รกั ษา.......... admit ทหี่ อผปู้ ่วย......... วันท่ี....... แรกรบั ไวท้ ี่โรงพยาบาลแพทย์วนิ ิจฉัย เปน็ ......... ปัญหาทีพ่ บ....ระบทุ งั้ subjective data และ objective data...........ได้รบั การรกั ษา/การพยาบาล/การแกไ้ ขอย่างไร........... ใหก้ ารรกั ษาหรอื การพยาบาลแลว้ อาการเป็นอยา่ งไร....... (รายงานแตล่ ะปญั หา) รบั ไว้ในความดูแลของนักศกึ ษาวันท่ี........ผู้ปว่ ยระดบั ความร้สู กึ ตวั สภาพอาการ ท่ัวไปและอาการปจั จบุ ัน..... ปัญหาปัจจุบนั ท่ยี ังคงม.ี ...การรักษาทไี่ ดร้ ับปจั จุบัน(คาส่งั การรกั ษาท้ัง one day และ continuous)………สญั ญาณชพี ……สารบญั ก 10

3.ข้อวินจิ ฉัยทำงกำรพยำบำล (Nursing Diagnosis) ไม่สุขสบายปวด... เน่อื งจาก กจิ กรรมการพยาบาล ขอ้ มลู สนับสนุน เกณฑ์การประเมนิ 1.ประเมนิ อาการปวดโดยใช้ pain score ทกุ 4 ช่ัวโมง บันทึก S: ผูป้ ่วยบอกวา่ ปวด -Pain score ลดลง ลักษณะ อาการปวด ความรนุ แรง และความถขี่ องการปวด O: - กระสับกระส่ายนอนไมไ่ ด้ ไม่เกิน 3 คะแนน 2.วัดสัญญาณชพี ทกุ 4 ช่วั โมง -ร้องคราง สีหนา้ เจบ็ ปวด -สามารถทากิจกรรมได้ปกติ 3,จัดสิง่ แวดลอ้ มใหเ้ งยี บสงบ ผอ่ นคลาย -เหงื่อออก ตัวเยน็ หนา้ ซีด -พกั ผ่อนนอนหลบั ได้ 4.ใหก้ ารพยาบาลอยา่ งนมุ่ นวล -Pain score = 8 คะแนน -สญั ญาณชพี ปกติ 5.จดั กจิ กรรมการพยาบาลใหอ้ ยใู่ นช่วงเวลาเดยี วกนั ไม่รบกวนผู้ป่วย -ชีพจรเตน้ เร็วหายใจเร็ว 6.จดั ท่านอนสขุ สบายเหมาะสมกับลักษณะทา่ ทางผปู้ ่วยทน่ี อนแล้ว ปวดลดลงสารบญั ก วตั ถปุ ระสงค์ 7.สอนเทคนิคบรรเทาปวดโดยไม่ใชย้ า (relaxation technique) 1.บรรเทาอาการปวด เชน่ การหายใจช้าๆ เป็นจงั หวะ, การทาสมาธเิ พอ่ื ส่งเสริมการผอ่ น 2.สามารถนอนหลับพักผอ่ นได้ คลาย, การลดสงิ่ เร้าทางอารมณเ์ บ่ยี งเบนความสนใจ 8.ดูแลใหย้ าบรรเทาอาการปวดตามแผนการรักษา (หากม)ี 9.หากไดร้ บั ยาบรรเทาอาการปวดแล้วไม่ทเุ ลา หรือไม่มคี าส่งั แพทย์ ในการให้ยาบรรเทาอาหารปวด พจิ ารณาใหร้ ายงานแพทย์ 10.ประเมนิ ภาวะปวด หลังการพยาบาลพรอ้ มบันทกึ ทกุ 4 ชั่วโมง พบวา่ ดขี ้ึน/คงเดิม/ไมด่ ีขึน้ หากไมท่ เุ ลาพิจารณาให้การพยาบาลตอ่ 11

เสี่ยงต่อการตดิ เชื้อทแี่ ผลผ่าตัด กิจกรรมการพยาบาล เนอื่ งจากผิวหนังสญู เสียหน้าที่ 1.ประเมนิ อาการปวดโดยใช้ pain score ทกุ 4 ช่วั โมง บันทึก ลกั ษณะ อาการปวด ความรนุ แรง และความถ่ขี องการปวดข้อมลู สนบั สนนุ เกณฑ์การประเมิน 2.วัดสัญญาณชีพทกุ 4 ช่ัวโมงS: ผ้ปู ่วยบอกวา่ ปวด บวม แดง อณุ หภูมิปกตไิ ม่เกนิ 36.5-37.4 c 3,จัดสิง่ แวดลอ้ มให้เงียบสงบ ผ่อนคลายรอ้ น บริเวณแผลผ่าตัด ผล WBC ปกติ 5,000-11,000 4.ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล0: - ปวด บวม แดง รอ้ น cells/cu.mm 5.จัดกจิ กรรมการพยาบาลให้อยูใ่ นชว่ งเวลาเดยี วกันไม่รบกวนผูป้ ว่ ยบรเิ วณแผลผา่ ตัด ไมม่ ีอาการและอาการแสดงของแผล คือ 6.จดั ท่านอนสขุ สบายเหมาะสมกบั ลักษณะทา่ ทางผู้ป่วยทีน่ อนแลว้=บริเวณแผลผา่ ตัดมีหนอง ปวด บวม แดง ร้อน ปวดลดลง=สัญญาณชีพผดิ ปกติ การเพาะเชอ้ื ที่แผล แผลไมพ่ บเชอ้ื กอ่ โรค 7.สอนเทคนิคบรรเทาปวดโดยไม่ใชย้ า (relaxation technique)WBC < 5000 cu/mm3 หรอื ผปู้ ่วยสามารถดแู ลแผลผา่ ตัดได้ถูกวิธี เชน่ การหายใจชา้ ๆ เป็นจงั หวะ, การทาสมาธิเพ่ือสง่ เสรมิ การ> 10,000 cu/mm3 ผูป้ ่วยสามารถดูแลตนเองเกี่ยวกบั แผลและ ผอ่ นคลาย, การลดสิง่ เร้าทางอารมณเ์ บี่ยงเบนความสนใจ อาหารทคี่ วรรบั ประทานได้ 8.ดแู ลใหย้ าบรรเทาอาการปวดตามแผนการรักษา (หากม)ี 9.หากไดร้ ับยาบรรเทาอาการปวดแลว้ ไม่ทเุ ลา หรือไมม่ คี าสงั่ แพทย์สารบญั ก วัตถุประสงค์ ในการให้ยาบรรเทาอาหารปวด พิจารณาใหร้ ายงานแพทย์ 1,เพ่อื ป้องกันการตดิ เชอ้ื 10.ประเมินภาวะปวด หลังการพยาบาลพรอ้ มบันทกึ ทุก 4 ชั่วโมง 2.เพอื่ สง่ เสรมิ การหายของแผล พบว่าดขี น้ึ /คงเดมิ /ไม่ดีข้นึ หากไมท่ ุเลาพจิ ารณาให้การพยาบาลต่อ 12

กิจกรรมการพยาบาล พร่องควำมรใู้ นกำรปฏบิ ตั ติ วั กอ่ นผำ่ ตดั การพยาบาลผ้ปู ว่ ยกอ่ นการผา่ ตดั ข้อมูลสนับสนุน การเตรยี มและการดูแลผปู้ ่วย S: -ผูป้ ่วยบอกวา่ ไม่ทราบถงึ การปฏิบัติตวั ในการดูแลตนเองเมอื่ ไดร้ บั การ ผ่าตัด 1.ซกั ประวัติ ตรวจรา่ งกาย แนะนาสถานท่ี สง่ิ แวดล้อมต่างๆ -ผูป้ ว่ ยมักสอบถามเรอื่ งการปฏิบตั ิตวั ซ้า ๆ -ญาตสิ อบถามเกีย่ วกับการปฏบิ ตั ิตวั 2.ประเมนิ v/s ชง่ั นา้ หนกั O: ผู้ป่วยไดร้ ับการผ่าตัดครัง้ แรกไมเ่ คยผา่ ตัดมากอ่ น วัตถุประสงค์ 3.ใหผ้ ้ปู ว่ ยเซน็ ยนิ ยอมการผา่ ตัด เซนยินยอมเข้ารบั การรกั ษา และญาติเซนเปน็ พยาน -เพือ่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยและญาตมิ คี วามร้เู ก่ียวกับการปฏบิ ตั ิตัวในการดแู ลตนเองก่อน ผ่าตดั 4.อธบิ ายการเตรยี มตวั ผปู้ ว่ ยก่อนผา่ ตัด เกณฑก์ ารประเมิน -ผ้ปู ว่ ยตอบคาภามเก่ยี วกบั ความร้ใู นการปฏบิ ตั ิตวั ดแู ลตนเองกอ่ นผ่าตัด 5.ดูแลความสะอาดของรา่ งกายทั่วไป เนน้ บรเิ วณทจ่ี ะผ่าตดั ด้วย 4% Chlorhexidine และสารบญั ก 0.02% Chlorhexidine 6.ลาไส้ ให้ NPO 6-8 hr กอ่ นวันผา่ ตัด 7.การใหย้ ากล่อมประสาท ในชว่ งกอ่ นนอน (หากม)ี 8.แนะนาการออกกาลงั กายบนเตียง หายใจ และพลกิ ตวั ตะแคงตัว แนะนาใหล้ กุ เดินโดยเรว็ 9.ประเมินความร้ผู ้ปู ่วยและญาติในการปฏบิ ัตติ วั 10.ใหค้ วามรกู้ ารปฏบิ ัติ 11.ดแู ลใหไ้ ดร้ บั สารนา้ อยา่ งเพียงพอ การเตรยี มและการดูแลผูป้ ่วยในวนั ผ่าตัด 1.ตรวจเย่ียมผปู้ ว่ ยท่เี ตรียมการผา่ ตดั สงั เกตอาการทัว่ ไป 2.เกบ็ ของมคี ่า เชน่ สรอ้ ย แหวน กบ๊ิ ติดผม ฟนั ปลอม contact lens บนั ทกึ v/s ใหย้ าก่อนระงับความความรสู้ กึ (pre-medication) แนะนาให้ถ่ายปัสสาวะกอ่ นไปหอ้ งผา่ ตัด ช่วยเคลือ่ นย้ายผปู้ ว่ ย และเตรียมของใชต้ ่างๆให้ครบ ทาเตียงแบบ ether bed or postoperative bed 13

พรอ่ งควำมรใู้ นกำรปฏบิ ตั ติ วั กอ่ นผำ่ ตดั กจิ กรรมการพยาบาล ขอ้ มูลสนับสนุน 1.การจัดท่านอน ถ้าผู้ป่วยรูส้ ึกตวั ดี V/S คงท่ี ให้นอนศีรษะสูง 30-45 S: -ผปู้ ่วยบอกวา่ ไม่ทราบถึงการปฏิบตั ิตวั ในการดูแลตนเองหลงั องศา และกระตนุ้ ใหพ้ ลกิ ตะแคงตวั ทุก 2 ชว่ั โมง ได้รับการผา่ ตดั 2.ประเมนิ ความร้สู กึ ตัว วัด V/S ทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทกุ 30 นาที 2 -ผ้ปู ว่ ยมักสอบถามเร่อื งการปฏบิ ตั ติ วั ซ้า ๆ คร้ัง และทุก 1 ชว่ั โมง จนกวา่ จะคงที่ จากนั้นวัดทกุ 4 ชัว่ โมง ในระยะ -ญาตสิ อบถามเก่ยี วกบั การปฏิบตั ิตวั 24-48 ชัว่ โมง แรกหลังผ่าตัด รายงานแพทย์เมือ่ พบอาการผดิ ปกติ เช่น BP O: ผู้ปว่ ยไดร้ ับการผา่ ตดั ครั้งแรกไมเ่ คยผ่าตดั มาก่อน ลดลงอย่างมาก วัตถุประสงค์ ดแู ลให้ไดร้ บั airway จนกระท่งั ผู้ป่วยเริ่มตื่นและสามารถดงึ ออกได้หลังจาก -เพอื่ ใหผ้ ู้ปว่ ยและญาติมีความรู้เกี่ยวกับการปฏบิ ัตติ ัวในการดแู ลตนเอง pharyngeal reflex ของผู้ป่วยกลับคนื สู่ปกติแลว้ หลงั ผ่าตดั 3.สงั เกตอาการเปลีย่ นแปลงและภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้แก่ ภาวะอุดตนั เกณฑก์ ารประเมิน ทางเดนิ หายใจ,ตกเลือดและช็อก,ถงุ ลมปอดแฟบ,ภาวะ DVT และ BP ตา่ -ผปู้ ว่ ยตอบคาภามเก่ียวกับความร้ใู นการปฏบิ ัติตวั ดแู ลตนเองหลงั 4.สงั เกตการค่ังของนา้ ปสั สาวะในกระเพาะปัสสาวะ และติดเชือ้ ทางเดิน ผ่าตัด ปสั สาวะ 5.สงั เกตวา่ แผลผ่าตัดมีการอักเสบตดิ เช้อื เชน่ ปวด บวม แดง รอ้ นสารบญั ก 6.การบรรเทาความเจ็บปวดในระยะ 48 ชว่ั โมงแรกหลังการผา่ ตดั 7.การดแู ลเกยี่ วกับการให้อาหารนา้ และอเิ ลก็ โตไรไลท์ใหอ้ ยูใ่ นสภาวะสมดุล สังเกตดูลักษณะ สี ปรมิ าณของสารคดั หล่ังทอี่ อกจากทอ่ ระบาย บนั ทึก I/O แต่ละวนั 8.ดแู ลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา ติดตามผลlab หากวา่ มีความผิดปกติ ให้ 9.รายงานแพทย์ 10.สอนถามและแนะนาการปฏบิ ตั ิตัวขณะอยูโ่ รงพยาบาลและกลบั บ้าน 14

เสี่ยงต่อการไดร้ บั สารอาหารไมเ่ พียงพอเนื่องจาก วตั ถุประสงค์ เบอื่ อาหาร (Anorexia) กลืนลาบาก (Dysphagia) สงเสรมิ ใหไ้ ดร้ ับสารอาหารท่ีมปี ระโยชน์ และพอเพยี งกับความตอ้ งการของ กจิ กรรมการพยาบาล ขอ้ มลู สนับสนุน รา่ งกาย S: ผปู้ ว่ ยบอกว่าเบอ่ื อาหาร สาลัก เกณฑก์ ารประเมิน 1.ดูแลความสะอาดของปากและฟัน บอ่ ย -ความเบอ่ื อาหารลดลงรับประทาน 2.จัดให้นอนศีรษะสงู ขณะรับประทานอาหาร O: - รปู รา่ งค่อนขา้ งผอม อาหาร 3.แนะนาอาหารทม่ี ีประโยชนโ์ ดยเฉพาะอาหารท่ี -น้าหนัก 47 cm -อยา่ งนอ้ ย ½ ถว้ ย/มอ้ื มโี ปรตีน ธาตเุ หล็กและอาหารแคลอรี่สูง -สว่ นสูง 160 cm -มีนา้ หนกั เพ่มิ ขนึ้ ½ kg/week 4.อาหารควรมีลกั ษณะเป็นอาหารออ่ นหรอื เหลว -BMI 18.4 kg/m2 -เยอื่ บุตามีสีแดง ข้น ไมค่ วรเป็นน้า -ผลการตรวจเลอื ด -Serum albumin > 3.5 gm% ถา้ ผ้ปู ่วยรับประทานได้น้อย ควรแนะนาให้ -Hb 10 gm% อาหารครั้งละน้อย ๆ และเพิม่ จานวนม้อื อาหาร -Hct 31.9% 15 จัดาหารใหอ้ นุ่ และน่ารบั ประทาน =Serum albumin 3.2 gm% ใหผ้ ้ปู ่วยเลือกอาหารเองโดยไมข่ ัดกับโรคท่ีเปน็สารบญั ก

เส่ยี งตอ่ ภาวะแทรกซ้อนเนอื่ งจากการนอนนาน ข้อมลู สนบั สนนุ และเคลอื่ นไหว รา่ งกายได้นอ้ ย O: -ถกู จากัดการเคลอื่ นไหวเนอ่ื งจากพยาธสิ ภาพ ไดแ้ ก่ แผลกดทับ ข้อตดิ แขง็ ทอ้ งผูก ถุงลม ของโรค แฟบ ปอดบวม ตดิ เชือ้ ทางเดินปัสสาวะ ผอม กลา้ มเนอ้ื ลบี ลิม่ เลอื ดอดุ ตันในกระแสเลือด -ผ้ปู ว่ ยนอนน่ิงไม่ขยบั แขนขา เปน็ ต้น -ผ้สู งู อายุ วัตถุประสงค์ -เพื่อป้องกันภาวะแทรกซอ้ นจากการนอนนานหรือ เคลอื่ นไหวร่างกายได้น้อย เกณฑ์การประเมิน NEXT -ผิวหนังไมม่ ีรอยแดงหรือแผลถลอก ไม่มแี ผลกดทบั 16 -สามารถเคลือ่ นไหวข้อตา่ ง ๆไดต้ ามขอบเขตการเคล่ือนไหวของแขนขา ไมม่ ขี อ้ ตดิ ไม่พบกลา้ มเน้อื ลีบ -ขับถา่ ยอุจจาระได้ 2-3 วันตอ่ ครั้ง -สญั ญาณชพี ปกติ -ไมม่ อี าการและอาการแสดงของถุงลมปอดแฟบหรอื ปอดบวม ได้แก่ ไอ มีเสมหะ มีไข้ หายใจหอบเหนอ่ื ย เสยี งหายใจผดิ ปกติ -ไมม่ อี าการปวดและบวมนอ่ งทง้ั สองขา้ ง ขาบวมไม่เท่ากนั -ปสั สาวะใส ไม่มเี ลอื กปน ไม่ปวดหลงัสารบญั ก

สารบญั ก กิจกรรมการพยาบาล 17 1.ประเมินผิวหนงั ผูป้ ่วยว่ามพี ยาธสิ ภาพทผี่ วิ หนงั หรือไม่ มลี กั ษณะอย่างไร 2.ประเมินการถ่ายอจุ จาระของผ้ปู ว่ ยทุกวัน ประเมินภาวะท้องผกู ทีเ่ กิดขน้ึ ในผู้ปว่ ย ฟงั Bowel sound วันละ 1-2 ครงั้ เชา้ -เย็น เพอ่ื ประเมนิ การเคลอ่ื นไหวในลาไส้ เชน่ ท้องอดื Bowel sound ลดลง เปน็ ตน้ 3.แนะนาการดแู ลความสะอาดร่างกายทว่ั ไป ชว่ ยดูแลกรณผี ูป้ ว่ ยไมส่ ามารถทาความสะอาดร่างกายไดเ้ พอื่ ให้ผิวหนงั ของผปู้ ่วยสะอาดและลดอัตราเสี่ยงของการเกิดแผลกดทบั 4.พลกิ ตะแคงตวั ทกุ 2 ชม.โดยเฉพาะในรายท่ีผู้ป่วยช่วยเหลอื ตัวเองไม่ได้ โดยจดั ให้ตะแคงซา้ ย ตะแคงขวา นอนหงาย นอนคว่าก่ึงตะแคง สลับกนั ไปตามความเหมาะสม ควรใช้ หมอนหรือผา้ นุม่ ๆ รองบรเิ วณทีก่ ดทบั หรือป่มุ กระดกู ยน่ื เพอื่ ปอ้ งกนั การเสียดสีและลดแรงกดทบั 5.หลกี เลยี่ งการทาใหเ้ กดิ แรงเสยี ดทานกบั ผปู้ ่วยเชน่ ผ้าปทู นี่ อนไมเ่ รียบ เพื่อป้องกันการเสียดสแี ละลดแรงกดทับ 6.ดูแลผิวหนังผู้ป่วยใหส้ ะอาด แหง้ ไม่อับช้ืน เพราะถ้าผวิ หนังเปียกชนื้ หรือรอ้ นจะทาใหเ้ กิดแผลเปื่อย ผิวหนังถลอกง่าย โดยเฉพาะอยา่ งภายหลงั ผูป้ ว่ ยถ่ายอุจจาระหรอื ปสั สาวะแล้ว ต้องทาความสะอาดแล้วซับใหแ้ หง้ และหากสงั เกตพบว่าผู้ปว่ ยมผี วิ หนังแหง้ แตกเปน็ ขุย ควรดูแลทาครีมหรือโลชนั่ ทาผิวหนังทฉ่ี ายรงั สี 7.ดแู ลใหไ้ ดร้ ับอาหารทม่ี โี ปรตีนและแคลอรส่ี ูง พร้อมท้งั ประเมนิ การไดร้ บั อาหาร โดยเฉพาะอย่างย่งิ โปรตนี จาเป็นอยา่ งมากต่อผู้ปว่ ยท่มี ีแผลกดทับเพราะผู้ปว่ ย จะสญู เสียโปรตนี ไปทางแผลจานวนมาก นอกจากนต้ี ้องดแู ลใหว้ ิตามิน ธาตุเหล็ก 8.แนะนาให้รับประทานอาหารทีม่ ีกากมาก เชน่ ผกั ผลไม้ ฯลฯ อาหารทีม่ กี ากหรือไฟเบอร์มากจะทาใหป้ ริมาณอุจจาระมากขึ้นและเคลอ่ื นตวั ภายในลาไส้ใหญ่เรว็ ขน้ึ 9.สอนผู้ปว่ ยและญาติ ทา Active & Passive exercise เพื่อใหก้ ลา้ มเน้อื หลอดเลอื ด และผิวหนังแขง็ แรง มกี ารไหลเวียนของโลหติ ดี 10.กระตุน้ ให้ด่มื น้ามากๆ 2000 -3000 cc/day การขาดนา้ และเกลือแร่ทาให้ลาไส้ใหญ่ดดู นา้ กลบั มากข้ึนทาให้อจุ จาระมีก้อนแขง็ มากและถ่ายลาบาก การดื่มนา้ มากขน้ึ จะทาให้ อจุ จาระออ่ นนมุ่ ถา่ ยง่าย 11.อธิบาย ใหค้ าแนะนา รวมท้งั ใหก้ าลังใจแก่ผปู้ ่วยและญาติ ให้ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของการพลกิ ตะแคงตวั 12.มีหมอนน่มุ ๆ รองตรงปมุ่ กระดูก และขอ้ พบั ปลายเท้ามไี ม้ กระดานยนั เพ่ือป้องกันเทา้ ตก ระวังไม่ให้ข้อตะโพกแบะออก ซง่ึ จะทาใหไ้ ม่สขุ สบายและเดนิ ไมไ่ ด้จดั ให้มหี มอน รองให้ข้อมือ อยู่ในทา่ ท่ีถูกต้อง คอื ขอ้ ศอกงอเลก็ น้อย ข้อมอื เหยยี ด และใหน้ ิ้วมือกาลูกยางนุ่มๆ และยกปลายมอื ให้สงู เพื่อปอ้ งกนั การบวม และชว่ ยใหอ้ อกกาลังกายทุก 4-8 ชั่วโมง 13.กระตนุ้ ใหผ้ ปู้ ่วยออกกาลงั กายกล้ามเน้ือส่วนทย่ี งั แขง็ แรงอยู่ และพยาบาลช่วยออกกาลังทอี่ อ่ นแรง ทกุ 2 – 4 ชว่ั โมง เพอื่ ปอ้ งกนั กลา้ มเน้อื เห่ยี วและหดรง้ั และมีการ เคล่ือนไหวเพ่ิมขึ้น เพอ่ื เพม่ิ การเคล่ือนไหวของลาไสแ้ ละชว่ ยกระตนุ้ การขบั ถา่ ย

มุมเตมิ กำลงั ใจ ผู้ที่สมคั รใจเปน็ อาชีพพยาบาลเปน็ ผู้ที่สมควรไดร้ บั การยกย่องเพราะเป็นผู้ทม่ี ิใช่ เพียงแต่การประกอบอาชพี โดยใช้กาลังแรงและกาลังกายเท่านั้น แตต่ อ้ งใช้ กาลงั ใจ อยา่ ง แรงกลา้ ในการปฏิบตั งิ านอีกด้วย ทา่ นควรสานกึ ในหน้าท่ี ท่ีทา่ นรับผิดชอบ อยูต่ ลอดเวลาและปฏบิ ัติงานด้วยความกล้า หาญอดทน พรอ้ มทง้ั รกั ษา ความซอื่ สตั ย์และมเี มตตากรุณา คณุ สมบัติเหลา่ นี้เป็น สง่ิ จาเปน็ ย่ิงสาหรับ “พยาบาล” #พระราชดารสั สมเดจ็ พระราชชนนศี รสี งั วาลย์สารบญั ก 18

บทที่ 2 กำรตรวจรำ่ งกำยสารบญั ข 19

2.1 สขุ ภาพท่วั ไป (General 6.หู(Ears) 4.ศีรษะ(Head)Appearance) -ดูรูปร่างและตาแหนง่ ของใบหู -ดู scalp และ skull ว่ามีก้อนหรือรอยโรคหรือไม่ได้แก่ น้าหนกั เพ่มิ ลด ออ่ นเพลยี ไม่มี รหู ู แก้วหโู ดยใช้ otoscope -ดูเส้นผม สคี วามเปราะความเปน็ มนั หลุดง่ายแรง ไข้ ตรวจความสามารถการได้ยิน -ดูหน้าการแสดงออกของสีหน้า voluntary movement2.การวดั สัญญาณชีพ (Vital signs) อาจใช่เสยี งกระซิบเบาๆ หรอื ใช้- ชีพจร (Heart rate) ส้อมเสียง 7.จมกู (Nose)- อัตราการหายใจ (Respiratory rate) ดรู ปู ร่างของจมูกภายนอก รูจมูก ผนงั กัน้ จมูก- ความดันโลหิต (Blood pressure) กระดูก turbinate การกดเจบ็ บรเิ วณโพรงกระดูก- อุณหภูมิรา่ งกาย (Temperature) 5.ตา(Eyes) 3.ผวิ หนังและเลบ็ ดูว่าเขยี วหรอื ไม่ (cyanosis) มี clubbing หรอื ไม่ ตรวจ visual acuity ใหอ้ ่านข้อความหรือรปู ทีข่ า้ งฝา โดยตรวจ ทลี ะขา้ ง ถา้ ใหล้ ะเอยี ดขึ้นควรตรวจ ด้วย snellen chart ดูลกั ษณะผวิ หนงั เพื่อประเมนิ เก่ยี วกับการขาดนา้ (skin turgor) ผ่นื ดูตาแหน่ง (position) และความเทา่ กนั (symmetry) ของตา และขนควิ้ ตามตวั และลีกษณะแขน เปลอื กตา (eyelids) ดูความบวม สแี ละรอยโรค ตอ่ มน้าตา (lacrimal gland) ทอ่ น้าตา (lacrimal duct)สารบญั ข 8.คอ(Neck) กระจกตา เลนสแ์ ละม่านตา (conjunctiva and sclera) ให้ คลา trachea ผู้ตรวจอยู่ดา้ นหน้า ใช้นิ้วชท้ี งั้ สองขา้ งสอดเข้าไปข้างๆ ผูป้ ว่ ยมองข้นึ ข้างบน แลว้ ใช้หัวแม่มอื กดหนังตาล่างดสู ี ตุ่ม และ trachea พรอ้ มกัน เพ่ือดู วา่ มกี ารเอยี งไปด้านใดหรอื ไม่ ถา้ มอี าจ การบวม แสดงถงึ มีก้อนหรือบางสิง่ ดันอยู่ รูมา่ นตา (pupil) ดูขนาดและความเทา่ กันสองข้าง ทดสอบ คลา pulsation ของหลอดเลือด carotid และ temporal คลา ปฏิกิริยาตอ่ แสง Supraclavicular Fossa การเคลอ่ื นไหวของตา (extraocular movement) ตรวจต่อมนา้ เหลอื ง โดยใชน้ ้วิ ช้ีและนิ้วกลาง ให้ผปู้ ว่ ยกม้ หน้าและยน่ื มา ข้างหน้าเล็กน้อย คลา ตอ่ มนา้ เหลอื งตาแหน่งต่าง ๆ ดู ขนาด 20 รปู รา่ งการเคล่ือนไหวความแข็งออ่ น อาการเจบ็ (tenderness) ตรวจ Thyroid gland ให้ผู้ป่วยแหงนหน้าข้ึนแล้วกลืน ดูว่าตอ่ มโต หรือไม่อาจคลารว่ มด้วย

2.4 ปากและชอ่ งคอหอย (Mouth & Pharaynx) 2.5 ทรวงอกและปอด (Thorax and Lungs) ปากและช่องคอหอย (Mouth &Pharaynx) การดู เร่ิมจากรมิ ฝปี าก กระพงุ่ แก้ม เหงอื ก ฟนั vestibule ล้ินทกุ สว่ น พืน้ ใต้ล้ิน(floor of mouth) 1.รูปร่างปกติ เพดานปาก ชอ่ งคอหอย(pharynx) ตามลาดบั รูปรา่ งลกั ษณะทรวงอก ปกติจะมรี ูปรา่ งกลมแบน anteroposterior diameter: Lateral diameter มคี า่ ประมาณ 1:2 2.Barrel chest (อกถงั ) คือทรวงอกที่มีรูปร่างเป็นทรงกลม อัตราสว่ น AP 1:1 พบในรายผูส้ งู อายุ ผ้ปู ว่ ยโรคถงุ ลมโปง่ พอง การดู 3.Pigeon chest (Pectus Carenatum) คอื ทรวงอกที่กระดูก 5.Kyphosis (humpback) หลังโกง มี 2 แบบ sternum โป่งออกทาให้ AP diameter คือ หลงั โกงแบบโคง้ (curved kyphosis) พบในคนอายุ มาก (เพ่มิ ขึ้น พบได้ในเดก็ ทีเ่ ป็นโรคกระดูกออ่ น rickets)สารบญั ข 6.หลังโกงทเ่ี ปน็ มุม (Angular kyphosis) เกิด 4.Funnel chest (Pectus excavatum) จากการยุบ (collapse) ของกระดกู สันหลงั อันใด คอื ทรวงอกท่ีมลี กั ษณะบไุ มต่ รงส่วนล่างของ อันหน่งึ โดยมสี าเหตจุ ากวณั โรค เนอ้ื องอ - Scoliosis (หลังคด) มคี วามผดิ ปกติของกระดูก sternum บางครง้ั การบุ๋มอาจกดหัวใจหรอื เส้นเลอื ดใหญ่ สนั หลังทาใหห้ ลงั เอียงไปขา้ งใดข้างหนง่ึ ทาใหเ้ กิดเสียง murmur ลกั ษณะทรวงอกชนิดนี้ จะทาให้ AP diameter มี ขนาดลดลง 21

2.5ทรวงอกและปอด (Thorax and Lungs) ต่อ การดู ลกั ษณะอาการแสดง การหายใจลาบาก (Dyspnea) เวลาดจู ะเหน็ ว่าปากจมูกบานเขา้ ออกเวลาผู้ปว่ ยหายใจ ช่วงระหว่างซ่โี ครงบ๋มุ แอ่ง เหนอื และแอง่ ใตก้ ระดกู สนั อกบุ๋ม หายใจเร็ว ถา้ เปน็ ตอนช่วงหายใจเขา้ แสดงว่ามอี ะไรอุดกั้นอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน ถ้าหายใจออก การหายใจลาบากรว่ มกับนอนราบ ลาบากมักเป็นจากความผิดปกตหิ รือพยาธิสภาพในทางเดนิ หายใจส่วนล่าง ไมไ่ ด้ (Orthopnea) มักพบในรายทม่ี นี ้าในปอดหรือผปู้ ว่ ยเป็นหดื นอกน้ันอาจพบในโรคระบบอืน่ ๆ เชน่ ภาวะหวั ใจวาย หรอื ท้องมานนา้ (Ascites) เปน็ ต้น Tachypnea มกี ารเพ่มิ อัตราการหายใจท่ีเรว็ กว่าปกติและมกั จะตน้ื มักพบในผ้ปู ่วยทม่ี ไี ขจ้ ากโรคระบบทางเดิน หายใจผปู้ ่วยทีม่ ี ภาวะเย่อื หุม้ ปอดอกั เสบ เยอื่ บชุ อ่ งทอ้ งอกั เสบ ผูส้ ูงอายทุ ่ปี ่วยเป็นpneumoniaสารบญั ข Hyperpnea มีการเพิม่ ขน้ึ ทั้งอัตราและความลึกของการหายใจ พบไดภ้ ายหลังการออกกาลงั กาย ภาวะไตวาย หรอื Bradypnea metabolic acidosis ถา้ พบในผปู้ ว่ ย diabetic acidosis อาจเรยี กว่า Kussmaul respiration Cheyne-stoke breathing มกี ารหายใจทีช่ า้ ลงกว่าปกตอิ าจเกิดจากศนู ย์การหายใจถูกกดจากยา เช่น ยากลมุ่ มอร์ฟนี หรือจาก สารพิษ Obstructive breathing สุรา การหายใจท่มี ีความผิดปกติทง้ั อัตราจงั หวะความลกึ ท่ีไมส่ มา่ เสมอและมีชว่ งของการหยดุ หายใจ(apnea)เกิดขน้ึ การหายใจลักษณะน้ี อาจพบได้ในเด็กเกิดใหม่ ผู้สูงอายุขณะนอนหลบั หรือมคี วามผดิ ปกตขิ องศูนยก์ ารหายใจ เนอ่ื งจากพยาธสิ ภาพในสมองจากยาเสพตดิ หรือมีความดนั ในกะโหลกศีรษะเพิม่ ขน้ึ ในโรคทางเดนิ หายใจอุดตัน การหายใจออกจะยาวเพราะว่ามีการเพ่มิ แรงตา้ นทานของทางเดินหายใจ พบไดใ้ น ผู้ป่วย obstructive lung disease เชน่ asthma, chronic obstructive pulmonary disease (COPD) 22

การคลา ลกั ษณะของเสียงท่เี กิดข้นึ จาก (palpation) การเคาะ การคลา(palpation) บรเิ วณทรวงอก ชนิดของเสียง ลกั ษณะของเสียงท่เี กิดขนึ้ จากการเคาะ -คลาการขยายของทรวงอกว่ามีการขยายนอ้ ยหรอื ไม่เคลือ่ นไหว เสยี งทบึ สนิท (Flatness) อย่างไร เปรียบเทยี บสองขา้ งและอาการเจ็บบริเวณตา่ ง ๆ การเคาะปอดได้เสียงทึบมาก แสดงว่ามี ของเหลว เช่น น้า หนอง เลือด อยูใ่ นช่อง Tactile fremitus ปอดเปน็ จานวนมาก เป็นนตน้ เป็นเสยี งทึบท่ีดงั นอ้ ยกว่าเสยี งแรก พบในราย -Tactile fremitus โดยให้ผปู้ ่วยเปลง่ เสยี ง 1 2 3 แล้วสงั เกตความ เสียงทึบ (Dullness) ทเ่ี ย่อื ห้มุ ปอดหนาขน้ึ ปอดแฟบปอดบวม ส่ันสะเทอื นที่ร้สู กึ ถูกมอื ท่ที าบอยู่บรเิ วณทรวงอก เปรียบเทยี บกันสองข้างกรณี เสยี งกังวาน (Resonance) tactile fremitus เพ่มิ ขึน้ อาจเกดิ จากมการแขง็ ตัวของเน้อื ปอด (consolidation) เปน็ เสียงที่เกิดจากการเคาะบริเวณเนื้อปอด เช่น ปอดอับเสบ หากลดลงอาจเกิดจากมนี า้ ในช่องปอด หรือมกี ารอุดตนั ของ ปกติ หลอดลมขา้ งน้นั การเคาะ (percussion) เสียงโปรง่ (Hyper resonance) เป็นเสียงท่เี กดิ ขนึ้ จากการเคาะบริเวณท่มี ีลมอยู่ เสียงโปรง่ มาก (Tympany) มาก พบในโรคถงุ ลมโป่งพอง (Emphysema) ควรเคาะ 1-2 ครงั้ ในแตล่ ะตําแหน่ง เปรียบเทยี บสอง และลมในชอ่ งเยอ่ื ห้มุ ปอด (Pneumothorax)สารบญั ข ข้าง เสยี งทที่ ึบผดิ ปกตอิ าจเกดิ จากมกี ้อนเน้อื ของเหลว หรอื มีการแขง็ ของเนือ้ ปอด ในกรณที เี่ สียงโปร่งอาจเกดิ เป็นเสยี งทีเ่ คาะบรเิ วณท่มี ีฟองอากาศ เชน่ จากมีลมในช่องอก (pneumothorax) ภาวะถุงลมโปร่งพอง กระเพาะอาหาร ทอง ถา้ เคาะปอดไดเ้ สยี งนี้ (pulmonary emphysema) แสดงวามลี มในช่องปอดจํานวนมาก 23

เสยี งหายใจที่ผิดปกติและพบไดบ้ อ่ ย การฟังปอดเสียงหายใจท่ีผิดปกตแิ ละพบ ลักษณะของเสียง การฟังโดยใช้ stethoscope ควรฟงั ให้ ตลอดชว่ งการหายใจเขา้ และออก และได้บอ่ ย เปรยี บเทยี บทั้งสองข้างCrepitation หรอื Rales เป็นเสียงทีเ่ กดิ จากมีความชืน้ หรอื นา้ ในทางเดินหายใจ เช่น 24 pneumonia ลกั ษณะคล้ายแก็ซน้าอดั ลม หรอื เสยี งขย้ีเส้นผมใกล้ๆ ใบหูจะไดย้ นิ ชดั ช่วงหายใจ เข้าและจะเปลีย่ นไปเมอื่ ไอ Rhonchi หรอื เกิดจากทางเดนิ หายใจมขี นาดแคบลงเนอื่ งจากมเี มอื ก (mucous) มี Continuous sounds เนอ้ื งอก มีการหดตัวหรือบวมของเยื่อบทุ างเดนิ หายใจ เปน็ ตน้ จะ ไดย้ นิ ชัดชว่ งหายใจออกมากกวา่ หรือชดั ท้งั สองช่วงก็ได้จะเปลยี่ นไป Pleural friction rub เมอื่ มีการไอ ถ้าไม่มีการเปล่ยี นแปลงอาจ เปน็ การตีบของทางเดนิ หายใจจากเนอ้ื งอกสารบญั ข พบในผปู้ ่วยที่มกี ารอบั เสบของเย่อื หุม้ ปอด โดยทั่วไปจะได้ยินทง้ั ช่วงหายใจเข้าและออก ไมม่ ีการเปลยี่ นแปลงเมอื่ มกี ารไอ เสียงนี้มี กษณะคลา้ ยเสยี งท่ีเกิดจากปลาย นว้ิ ถทู ต่ี ่งิ หไู ปมา

2.6 หวั ใจ(Heart) การคลาเพือ่ ตรวจหัวใจและชีพจร การดกู ารทางานของหัวใจ เช่น ชีพจรสามารถคลําได้หลายบริเวณตามทก่ี ลา่ วไปแล้ว การคลําควรบอกใหไ้ ด้ -ดูท่าทางผปู้ ว่ ย ผปู้ ว่ ยทมี่ ปี ญั หาโรคหัวใจ เชน่ heart failure มกั มปี ัญหา เกีย่ วกบั อัตรา(rate) จังหวะ(rhythm) และ ความแรง(intensity) หายใจไมส่ ะดวกในขณะนอนราบ (orthopnea) -คลาํ apex beat ซ่งึ ปกตใิ นผูใ้ หญ่จะคลาํ ได้อยู่บรเิ วณชอ่ งซ่โี ครงชอ่ งท่ี 5 ใน -ดู Jugular venous pressure โดยใหผ้ ้ปู ว่ ยนอนยกลาตัวสงู 30-40 องศา แนวของ mid clavicular line หากคลาํ ได้บรเิ วณอ่ืนแสดงใหเ้ ห็นความผิดปกติ แล้ววดั ระยะในแนวดิ่งจาก สว่ น sternum angle ถึงจุดสุดยอดของการสนั่ ของหวั ใจ เชน่ หัวใจโต หรอื หัวใจกลับขา้ ง (dextrocardia) (oscillation) ท่พี บใน internal jugular vein,IJV (หรอื external jugular -คลา thrill เปน็ ความส่นั สะเทือนทีส่ ัมผสั ไดด้ ว้ ยมอื ทวางทาบอย่ทู บี่ นทรวงอก vein หากดูยากจากIJV) ในคนปกติไมค่ วรเกิน 2 ซม. ถ้ามากกวา่ นี้แสดงให้ เหนอื ตําแหน่งของหัวใจเกดิ จากความผดิ ปกตใิ น การไหลเวยี นของเลอื ดในหัวใจ เหน็ ถงึ ความผิดปกติ เชน่ หวั ใจห้องขวาลม้ เหลว หรอื มกี ารอุดตนั ของการไหล หรอื ในเสน้ เลือดใหญ่ คนปกตจิ ะไม่สามารถคลาํ thrill ได้ กบั ของเลอื ดส่หู ัวใจ -ดูการเต้นของเสน้ เลือดทีค่ อและแขน หากพบเต้นแรงผดิ ปกตอิ าจเกิดจากภาวะ *การเคาะไม่นิยมใช้ในการตรวจหัวใจ ความดนั โลหิตสงู หรือ เสน้ เลือดแข็งตวั มากกว่าปกติ เช่น ในผปู้ ว่ ยสูงอายุ เนื่องจากให้ขอ้ มลู ทีน่ า่ เชอื่ ถือได้นอ้ ย -ดูสีของเยอ่ื บุต่าง ๆ และเล็บวา่ มีภาวะเขียว(cyanosis) หรือไม่ซ่งึ มกั จะพบใน ผปู้ ่วยโรคหัวใจพกิ ารแต่กาเนิด ภาวะเขียวดูได้ จากบรเิ วณ ปากเยอื่ บใุ นตา เลบ็ 25 ซึ่งผู้ป่วยอาจมีลกั ษณะน้วิ ปมุ่ รว่ มดว้ ย (clubbing of fingers and toes)สารบญั ข

การฟงั เสียงหัวใจ อาจแบ่งไดต้ ามช่วงท่ีไดย้ ินเสยี งเป็น systolic murmur และ diastolic murmur และแบ่งระดบั ความดงั ได้เปน็เสยี งการเต้นของหัวใจสามารถแยกออกได้เป็นหลายเสียงแตเ่ สยี งทัว่ ไปทด่ี ังและไดย้ นิ ชัดเป็น 6 ระดบั (grade)เสยี งทเ่ี กดิ จากการปดิ ของล้ินหวั ใจ ได้แก่ Grade 1 เบามากต้องตง้ั ใจฟงั ดี ๆเสยี งท่ี 1 (S1) เป็นเสยี งทเี่ กิดจากการปิดของล้ิน Mitral และ Tricuspid จะได้ยินนาหนา้ Grade 2 เบาแตไ่ ดย้ ินทนั ที่ที่แตะหฟู งั บนทรวงอกradial pulse เลก็ น้อย หากเราใช้มอื จบั ชีพจรบริเวณข้อมือไปด้วย Grade 3 ดังปานกลางแต่คลา thrill ไมไ่ ด้เสียงท่ี 2 (S2) เป็นเสียงทเ่ี กดิ จากการปิดของลิน้ Aortic และ Pulmonary เป็นเสยี งที่ Grade 4 ดังมากข้นึ และคลา thrill ได้ค่อยแต่สูงกว่าเสยี งแรก Grade 5 ดงั มากแตะหูฟังไม่สนิทก็ได้ยนินอกจากเสียง S1 และ S2 แล้วยงั มเี สียงอ่นื ๆอกี ท่ีเกิดจากทางานของหวั ใจแต่เป็นเสยี งที่ Grade 6 ดงั มากอาจได้ยนิ ทงั้ ทห่ี ูฟังอยู่หา่ งจากทรวงอกฟงั ได้ ค่อนขา้ งยากหากไมม่ ีความชานาญ ได้แก่ เสียง spit S2 (เกิดจากการปดิ ของลิ้น เล็กนอ้ ยAortic และ Pulmonary ทีช่ ้ากว่ากันเลก็ น้อย) เสยี ง S3 (เป็นเสยี งทเ่ี กิดจากการไหลของเลอื ดเข้าสู่ ventricle อย่างรวดเร็ว) และ S4 เป็นตน้ 26 เสียงหวั ใจทผ่ี ดิ ปกติ ท่ีพบบอ่ ยไดแ้ ก่ เสยี ง murmur (เสยี งฟืด) มกั พบในผ้ปู ว่ ยโรคลิ้นหัวใจรัว่ หรอื ตีบ หรอื ผนังหัวใจรว่ั เป็นต้น ตาแหน่งการฟังหวั ใจสารบญั ข

2.7 หนา้ ทอ้ ง(Abdomen) การเคาะ การดู การฟัง การเคาะจะสามารถใช้ตรวจภาวะมีนํา้ ในช่อง ท้อง ซ่ึงอาจใชว้ ิธี fluid thrill ซ่งึ ทาํ ได้โดย ลกั ษณะหนา้ ทอ้ งมีการโปง่ มากกว่าปกติหรอื ไม่ เสยี งทส่ี ามารถได้ยนิ จากการฟงั บรเิ วณหน้าท้อง ใช้ ฝ่ามือขา้ งหนึ่งวางขวางทาบบนผนงั ทอ้ ง ในผูป้ ่วยทมี่ กี ารอดุ ตนั ของทางเดินอาหารอาจพบมี เชน่ ด้านขา้ ง แล้วใช้มืออีกขา้ งเคาะผนังดา้ นตรง peristaltic wave ได้ -Bowel sound หรอื peristalsis ข้าม จะสามารถรสู้ ึกถึงคลน่ื หรอื ความ 2.ผปู้ ว่ ยโรคตับแข็งท่ีมีการไหลกลบั ของเลอื ดจาก สน่ั สะเทอื นมากระทบมอื ขา้ งทท่ี าบอยไู่ ด้ หรอื portal system หรือมีการอดุ ตันทางไหล เป็นเสยี งการเคลอื่ นไหวของลาไส้ ควร ใชว้ ิธี shift dullness ซึ่งสงั เกตจากตาํ แหน่ง กลับของเลอื ดจาก inferior vena cava เสียงเคาะทึบท่ีมกี ารเปล่ยี นทีไ่ ป เม่ือมีการ อาจพบมีเส้นเลอื ดดาทผี่ นงั หน้าท้องขยายมากกวา่ สงั เกตถงึ ความถี่ ของเสียง โดยปกติลําไส้จะมี เปลยี่ นทา่ นอนของผู้ ป่วย และทาํ ให้น้าํ ใน ปกตไิ ด้ นอกจากนัน้ ในผูป้ ว่ ยโรคตบั เรือ้ รงั น้ี การเคลื่อนไหวทกุ 5-15 วินาที ชอ่ งทอ้ งไหลไปบริเวณอนื่ และการเคาะยัง อาจพบลกั ษณะของเสน้ เลอื ดฝอยหน้าทอ้ งขยายตวั สามารถบง่ บอกถงึ ขอบเขตของอวัยวะ เชน่ เปน็ กระจุก เรยี กว่า spider nevi -Splashing sound เป็นเสยี งน้ากระฉอก ตับ ได้ ท่ีสามารถได้ยินหลงั จากจบั ตัวผู้ป่วยเขยา่ ไปมา 27 เล็กนอ้ ยเกดิ ได้ในคนทเี่ พิ่งรับประทานอาหารอิ่ม ใหมๆ่ หรือในผู้ปว่ ยที่มกี ารอดุ ตนั ของทางเดิน อาหารทาํ ใหม้ ีนํ้าและอาหารตกค้าง อยู่ใน กระเพาะอาหารมากสารบญั ข www.huid-en-laser-utrecht.nl

การคลา 2.7 หน้าทอ้ ง(Abdomen) 1.1 การคลาโดยทั่วไป อาจพบลกั ษณะ - การคลาตับ ควรเริ่มจากด้านลา่ งและ -การคลาม้าม เช่น เดยี วกับการคลาํ ตับ ต่าง ๆ เช่น คอ่ ยๆไลข่ นึ้ มา ในเด็กอาจคลําตับโตไดแ้ ตม่ กั ไม่ แต่คลําบริเวณ left upper quadant การจะ -Rigidity เปน็ ลักษณะหนา้ ท้องแขง็ เปน็ เกิน 2 ซม.อยตู่ ่าํ กวา่ ชายโครงขวาในแนว บอกได้แนว่ ่า เป็นมา้ มจะตอ้ งคลาํ ได้ notch และเคลื่อนตามการหายใจ ดาน พบในรายท่มี ีการอักเสบของช่องท้องแล้ว mid clavicular line กรณีท่คี ลาํ ตับโตได้ ทาให้มี reflex spasm ของ กลา้ มเนอื้ หน้าท้อง ควรระบถุ งึ ลกั ษณะของตับด้วย เช่น soft, -การคลาไต ควรใช้สองมอื firm, stony hard มผี ิว อยา่ งไร มกี อ้ น -Guarding เปน็ อาการท่ผี ูกปว่ ยมีอาการ (mass)ทีผ่ ดิ ปกตหิ รือไม่ การคลําอาจใช้วธิ กี ด (bimanual palpation) โดยใชม้ ือหนงึ่ สอดเข้า มอื ลงบริเวณใตช้ ายโครงขวาแล้วใหผ้ ปู้ ว่ ยหายใจ ดา้ นใต้บริเวณเอวและกระดกมือขนึ้ มาจะ เจบ็ และจะเกร็งหนา้ ท้องตา้ นแรงท่ีเรากดลงไป เข้าลกึ ๆ ตับจะถกู ดันลงมากระทบมือได้ สามารถร้สู ึกว่ามีก้อนมากระทบมืออกี ข้างทว่ี าง โดยอัตโนมตั ิแสดงวา่ มีการอับเสบ ของ หรอื ใชว้ ิธี hooking technic โดยยนื ทางขวา อยู่ด้านบน โดยปกติไตขวาอาจคลาํ lower และหนั หนา้ ไปทางปลายเท้าของผปู้ ว่ ยวางมือท้งั pole ไดส้ ว่ นไตซ้ายไม่ควรคลําได้ peritoneum สอง บนชายโครงขวากดปลายน้ิวและช้อนขึ้น ขณะผู้ปว่ ยหายใจเข้าลึกๆจะทาํ ให้คลาํ ไดง้ ่ายขน้ึ 28 -Rebound tenderness เปน็ การที่ ผปู้ ่วยมอี าการเจ็บเมื่อเอามอื กดลงไปแรงๆ แล้ว ปลอ่ ยทันทแี สดง ว่ามกี ารอับเสบ ของ peritoneum บริเวณน้นั เนอื่ งจากมกี ารดงึ กลับ ของ peritoneumสารบญั ข

2.8 อวยั วะสืบพันธ/ุ์ ทวารหนัก(Genitalia / Anus &Rectum) Male genitalia ส่งิ ทต่ี รวจได้แก่ Anus & Rectum • Penis ตรวจดู urethral meatus, glans penis, prepuce สามารถตรวจได้โดยให้ผ้ปู ว่ ยนอน ตะแคงซา้ ยรมิ เตยี งขาขวางอ ใส่ถุงมอื • Scrotum ตรวจดู posterior surface, testis ข้างขวาและหล่อลนื่ ทนี่ ว้ิ ชีใ้ ช้มือซ้ายแยก ก้นออกดูบรเิ วณ perianal และ • Henia sacrococcygeal ว่ามีผ่ืนแดงและอกั เสบ หรือไม่ ใช้นิ้วช้ีท่ีหล่อลน่ื ไวส้ อดเข้าไป Female genitalia สง่ิ ทีต่ รวจได้แก่ ใน anus และ rectum ซึง่ จะสามารถ ตรวจได้ถึง sphinctor tone, rectal wall, • External genitalia ตรวจดู mons pubis, labia และ prostate gland และอาจไดอ้ จุ จาระมา ตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารด้วย perineumสารบญั ข • Labia minora • Clitoris • Urethal orifice • Vaginal opening 29

2.9 ระบบประสาท (Nervous system) Consciousness Motor system ผปู้ ว่ ยที่มีพยาธิสภาพในระบบประสาทส่วนกลาง หรือโรคทางระบบตา่ ง ๆท่ีมีผลต่อ เป็นการตรวจดวู า่ กลา้ มเน้ือทางานไดต้ ามปกตหิ รอื ไม่ มีการอ่อนแรงหรือไม่ทาได้ การทาหน้าท่ีของระบบประสาทสว่ นกลาง อาจมีการเปลี่ยนแปลงในระดบั ความ รสู้ กึ ตัวไดต้ ามลาดับ ดังนี้ งา่ ยโดยการให้เดินกระโดดบนขาข้างเดยี ว ให้ทา flexion และ extension ตาม - Confusion ผปู้ ่วยจะมลี กั ษณะเช่อื งช้า รู้สึกสบั สน ไมม่ คี วามตัง้ อกตง้ั ใจ ขอ้ ต่อต่างๆ โดยต้านแรงของผตู้ รวจ ทางาน ความรู้สกึ ตอบสนองต่อสงิ่ แวดล้อมลดลง การวดั power of muscle แบ่งระดบั ไดเ้ ป็น 5 ระดับ (Grade) - Drowsy ผูป้ ว่ ยจะสะลมึ สะลอื ถ้ามสี ิง่ กระตนุ้ ภายนอก(external stimuli) Grade 0 ไม่สามารถจะเคลื่อนไหวไดเ้ ลย Grade 1 สามารถเคล่ือนได้เล็กน้อยแต่เฉพาะในแนว horizontal ผ้ปู ว่ ยจะมกี ารตอบสนองบา้ ง เชน่ การตอ่ ต้าน แตพ่ อหยุดกระตนุ้ ผู้ป่วยกจ็ ะซึม หรือหลบั ไป Grade 2 สามารถเคล่อื นตา้ นแรงดึงดดู ของโลกตามแนว vertical ได้ - Stupor จะมกี ารลดลงของ mental and physical activity อย่างมาก มี Grade 3 สามารถเคลอื่ นตามแนว vertical และตา้ นแรงของผูต้ รวจได้ Grade 4 มกี ารออ่ นแรงเพยี งเล็กนอ้ ย การตอบสนองตอ่ external stimuli ลดลงไป อีกต้องใช้การกระตนุ้ ทีร่ ุนแรงมาก ขนึ้ Grade 5 ปกติ นอกจำกนน้ั ควรตรวจดู ควำมตงึ ตวั - Delirium ผูป้ ่วยจะมี confusion รวมกบั อาการกระวนกระวาย และอาการ (tone) ของกลำ้ มเนอื้ ดว้ ยวำ่ มลี กั ษณะอยำ่ งไร ประสาทหลอน (hallucination) Memo.. เชน่ อ่อนปวกเปยี ก(flaccid) แข็งแกรง่ (spastic) คลำดู muscle mass ดว้ ยวำ่ มี atrophy - Semicoma ผปู้ ่วยจะไม่ค่อยรูต้ ัว เมื่อกระตนุ้ ด้วย stimuli ท่ีรนุ แรง ผูป้ ว่ ย หรอื ไม่ จะมีการตอบสนองได้ แต่เปน็ แบบ unpurposeful ในพวกนี้ reflex ต่าง ๆยังคงสารบญั ข อยู่ 30 - Coma ผู้ป่วยไมต่ อบสนองต่อ stimuli เลย ไมว่ ่าจะเป็นความเจ็บปวดขนาดใด เช่น การกดบริเวณกระบอกตา ซ่งึ ทาให้ เกิด deep pain หรอื การกดบริเวณ โคนเล็บมือเล็บเท้าาผู้ปว่ ยก็ไมม่ กี ารตอบสนอง reflex ตา่ งๆ จะหายไปหมด

2.9 ระบบประสาท (Nervous system) Sensory system การตรวจ reflex มี 2 ลักษณะ ไดแ้ ก่ สงั เกตความสามารถรบั รูต้ ่อส่งิ กระตุ้น (stimuli) เปรยี บเทียบบริเวณสองข้าง ทส่ี มมาตรกนั และเปรยี บเทยี บระหวา่ งส่วนตน้ กบั สว่ นปลาย เขน่ แขนกับมอื Deep tendon reflex โคนขากบั เท้า ตรวจตามสว่ นของร่างกายทถ่ี กู เลย้ี งดว้ ย sensory nerve เสน้ ต่าง ๆ โดยตรวจตามลกั ษณะของ receptors ตา่ ง ๆ Biceps โดยเคาะบริเวณด้านหนา้ ของแขนพบั เลี้ยงโดย cervical nerve 5,6 Pain : โดยอาศัยเขม็ หมดุ หรือเขม็ กลัดซ่อนปลาย Temperature : อาศยั หลอดแก้วใส่นา้ อ่นุ และนา้ เยน็ แตะบริเวณตา่ ง ๆ Triceps โดยเคาะบรเิ วณด้านหลังของแขนเหนอื ศอกเลก็ นอ้ ยเลี้ยงโดย cervical Touch : ใชส้ าลีแตะเบาๆ Vibration : ใช้สอ้ มเสยี งเคาะแล้วแตะบริเวณปุ่มกระดูกตามขอ้ ต่าง ๆ nerve 7,8 Position : ให้ผปู้ ่วยหลับตาแลว้ จบั ปลายน้ิวมอื กระดกข้ึนลงและถามผปู้ ่วยวา่ อยู่ ในท่าใด Knee jerk โดยเคาะบรเิ วณเขา่ เลย้ี งโดย lumbar nerve 2,3,4 Stereognosis : ให้ผปู้ ่วยหลบั ตาแล้วกาวตั ถุบางอย่าง เช่น กญุ แจ เหรียญ และให้บอกว่าเปน็ อะไร หรือให้หลับตาแลว้ เขยี นเลขบนฝา่ มอื Ankle jerk โดยเคาะบริเวณขอ้ เท้าดา้ นหลงั เลี้ยงโดย sacral nerve 1,2 การสารบญั ข ตอบสนองของ กล้ามเนอ้ื เมอ่ื เคาะบรเิ วณใกล้ขอ้ ต่างๆ แบง่ เปน็ 4 ระดับ (Grade) Grade 0 ไมม่ กี ารตอบสนองเลย Grade 1 มีการตอบสนองเลก็ น้อย Grade 2 ปกติ Grade 3 ไวกวา่ ปกติ Grade 4 ไวมาก 31

2.9 ระบบประสาท (Nervous system)Superficial reflexCorneal reflex ใชส้ าํ ลขี มวดใหเ้ ลก็ แลว้ แตะตาบรเิ วณ limbus จะพบมีการกระพรบิ ตา สมั พันธ์กับ cranial nerve 5,7Light reflex ใชไ้ ฟสอ่ งในตา จะพบมีการหดตัวของ pupilsสัมพันธก์ บั cranial nerve 2,3Cremasteric reflex ใช้วตั ถุทือ่ ๆ ขดี ทางด้านในของตน้ ขาจะมีการ Meningeal sign - Neck stiffness เปน็ อาการท่ีผู้ป่วยไม่สามารถก้มคอมาจรดหดตวั ของ testis ขนึ้ ไป ขา้ งบน สัมพนั ธ์กับ lumbar หนา้ อกขณะนอนหงายไดเ้ หมอื นคนปกติ พบไดใ้ นผู้ป่วยท่มี ีการnerve 1,2 อบั เสบของเยอ่ื หมุ้ สมอง - Kernig’s sign ให้ผ้ปู ่วยนอนหงายชนั เข่า แล วจบั ขาเหยียดขึ้นPlantar reflex (Babinski’s sign) ใชว้ ตั ถุขีดบริเวณฝ่าเท้า จากสน้ ไปตรง ๆโดยจับเข้าใหอ้ ย่ใู นแนวด่ิงตงั้ ฉากกับพน้ื ผปู้ ว่ ยทีม่ ี การอบั เสบของเยือ้ ห้มุ สมองและไขสันหลังจะเหยียดขาขึ้นไปเท้าาขน้ึ ไปหาน้วิ เทา้ า นว้ิ เทา้ จะงองุ่มลง สัมพนั ธ์กบั lumber nerve ไมไ่ ดเ้ พราะเจบ็4,5 และsacral nerve 1,2 32สารบญั ข

มมุ เตมิ กำลงั ใจสารบญั ข เมือ่ มีโอกาสและมีงานทาควรเต็มใจทาโดย ไมจ่ าเป็นตอ้ งตงั้ ข้อแม้ หรือเง่ือนไขอันใดไวใ้ ห้ เปน็ เคร่ืองกรดี ขวาง คนท่ที างานไดจ้ ริง ๆนั้น ไมว่ า่ จะจับงานสิ่งใด ยอ่ มทาไดเ้ สมอ #พระบรมราชโชวาทในพธิ พี ระราชทานปริญญาบตั รวทิ ยาลยั เทคโนโลยแี ละอาชวี ศกึ ษา 33

บทท่ี 3 กำรตรวจทำงห้องปฏิบัตกิ ำรสารบญั ค 34

3.1 กำรเก็บสิง่ สง่ ตรวจ (Specimen Collection) 2.Tube sodium fluoride -มสี าร sodium fluoride การเลือกใช้ Tube สาหรับใส่เลือด -ใส่เลือด 3 ml Mix 6-8 ครัง้ -ตรวจ glucose, lactose 1.tube gel and clot activator -ส่งหอ้ งปฏบิ ัติการทนั ที -มีสาร gel and clot activator -ใส่เลือด 2 ml Mix 6-8 คร้ัง 4. tube EDTA ยาว -ตรวจ Coagulation factor เชน่ anti HIV,BUN,electrolyte,LFT -มีสาร EDTA -ส่งห้องปฏิบตั ิการทนั ที -ใสเ่ ลอื ด 6 ml mix 6-8 ครง้ั -ตรวจ งานธนาคารเลือด,Group match 3.tube EDTA (สัน้ ) -ส่งหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทันที -มสี าร EDTA -ใส่เลอื ด 2-3 ml mix 6-8 ครั้ง 35 -ตรวจ โลหติ วิทยา เชน่ CBC, Hb A1C,Hbtyping,CD4 -ส่งหอ้ งปฏบิ ตั ิการทันทีสารบญั ค

5.tube sodium citrate 6.tube lithium heparin-มีสาร sodium citrate -มีสาร Heparin-ใสเ่ ลือด 2 ml mix 6-8 คร้ัง -มีเลอื ด 3 ml Mix 6-8 ครั้ง-ตรวจ Coagulation factor เชน่ PT/INR,PTT,APTT,Thrombin time -ตรวจ Lipid Profile test, Tumor marker ,TFT-สง่ ห้อง lab ทันที -ส่งหอ้ งปฏิบัตกิ ารทันที7.Tube clotted blood 8.Hemocuture *วิธกี ารเกบ็ Hemocuture-มสี าร clot activator ทาความสะอาดผวิ หนงั ด้วย 2% Chlorhexidine-ใสเ่ ลือด 5 ml *ห้ามเขย่า -มีอาหารเล้ยี งเช้อื 30 ml/Bact/FAN in 70% Alcohol-ตรวจ Chemistryธนาคารเลือด,Immunology ,virus load, -ใส่เลอื ด 5-10 ml Mix 6-8 คร้ัง เขียนเครื่องหมายทีเ่ ลขขวดวา่ ขวดใดเป็นขวดท่ี 1-Tumor maker ,TFT, -ตรวจเพาะเชือ้ จากกระแสเลอื ด 2 และเวลาในใบส่งตรวจเพาะเช้อื ให้ตรงกันท้งั-สง่ หอ้ งปฏิบัตกิ ารทันที -ส่งหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทนั ที 2 ขวด และควรเจาะหา่ งกันอย่างน้อย 30 นาที หรอื เจาะจากแขนคนละข้าง ในแตล่ ะขวดสารบญั ค 36

ลาดบั การเก็บเลือดลงหลอดเลอื ด 1.Urine 1.blood culture tube (hemoculture) 2.Coagulation (จกุ สีฟา้ ) lean-voided mid stream urine คอื ปสั สาวะช่วงแรกทิ้งเล็กนอ้ ยแล้ว 3.Plain tube,Non-additive (จุกสแี ดง) 4.Gel separator tube (จกุ สีเหลอื ง) เก็บปัสสาวะส่วนกลาง 2 ใน 3 ของขวด แลว้ จึงปสั สาวะท้งิ ให้หมด 5.heparine (จกุ สเี ขยี ว) 6.EDTA (จุกสมี ่วง) -สง่ หอ้ งปฏิบตั กิ ารทันที 7.Oxalate/Fluoride (จุกสีเทา) 2.Urine culture -เก็บในกระป๋องพลาสตกิ sterile (ฝาแดง)/ ขวดแกว้ sterile -ปสั สาวะได้เอง เก็บแบบ clean-voided Mid stream urine -urine cath เกบ็ โดยใช้ syringe ดดู ปสั สาวะจากสายสวน 3-5 ml -ถา้ ไมส่ ามารถนาสง่ ได้ทันทีให้เก็บในตู้เย็น 4 C 3.Sputum -เก็บหลังต่ืนนอนตอนเช้า โดยบว้ นปาก ด้วยนา้ สะอาด ไอหรือขากแรงๆ ให้ไดเ้ สมหะ พยายามอยา่ ให้ปนเปือ้ นนา้ ลาย -ถ้าไม่สง่ ทันที ให้เกบ็ ที่ 4 cสารบญั ค 4.Stool ,Rectal Swab 37 -เลือกเกบ็ อุจจาระสว่ นที่เปน็ มูกเลือด เกบ็ Rectal Swab โดยใชไ้ มพ้ ันสาลีปราศจากเช้อื จุม่ NSS สอดเขา้ ทวารหนักลกึ ประมาณ 1-2 นวิ้ หมนุ ไม้ไปรอบ ๆ -ถา้ ไมส่ ามารถนาส่งได้ทนั ที ใหเ้ กบ็ ในตเู้ ยน็ 4 C

3.2 คำ่ ปกตทิ ำงหอ้ งปฏบิ ตั กิ ำร (Normal Value Laboratory) test คา่ ปกติ ค่าต่ากว่าปกติ ค่าสูงกว่าปกติCBC (platelet count)Hb เดก็ : 10-15.5 g/dL -อาจเกิดจากภาวะโลหติ จาง -อาจเกิดสภาวะเม็ดเลอื ดแดงมากเกิน(Hemoglobin) ผูใ้ หญ่ : ชาย 14-18 g/dL -การเกิด bleeding หรือเลอื ดตกใน (polycythemia vera) หญิง 12-16 g/dL -อาจเกดิ จากสภาวะบวมน้า (fluid retention) จงึ ทาให้เลือดจาง หรือเม็ดเลือดแดง -อาจเกดิ ภาวะขาดนา้ (dehydration) ต่า -อาจเกดิ จากไตสง่ ฮอร์โมนมาทไ่ี ขกระดกู นอ้ ยเกินไปHct ทารก : 44-64 % -อาจเกิดภาวะโลหิตจาง -อาจเกิดสภาวะเมด็ เลือดแดงคับคงั่(Hematocrit) เด็ก : 32-44 % -อาจเกดิ จากภาวะตบั แขง็ (cirrhosis) ทนี่ าไปสูก่ ารคั่งของของเหลว จนทาให้น้าเลอื ด (erythroocytosis) ผูใ้ หญ่ : ชาย 42-52 % เจือจาง เม็ดเลือดแดงลดลง -อาจกําลงั เกิดโรคหวั ใจมาแต่กําเนิด -อาจเกดิ จากการเสียเลือดจานวนมาก (congenital heart disease) หญิง 37-47 % -อาจเกิดจากการขาดสารอาหารเก่ียวกับเลอื ด เช่น วติ ามินบี 12 กรดฟอลกิ หรอื -อาจมีโรคเมด็ เลือดแดงมากเกิน ธาตเุ หล็ก (polycythemia vera) -อาจเกดิ จากเซลล์ไขกระดูกมคี วามผดิ ปกติ (bone marrow failure) -อาจเกิดจากการขาดน้าํ อย่างรนุ แรง -อาจเกิดจากโรค COPD เซลลใ์ นร่างจาก -อาจเกิดโรคเกีย่ วกับไต ไตส่งฮอรโ์ มนมาท่ีไขกระดูกน้อยเกินไป รับออกซิเจนจากเมด็ เลอื ดแดงไมพ่ อ ส่งผล -อาจเกดิ จากการตั้งครรภ์ เนื่องจากการต้งครรภ์สรา้ งสภาวะการกักคัง่ น้า (state of ให้รา่ งกายเรง่ สร้างเม็ดเลือดแดง overhydration) -อาจมีโรคร้ายแรงเก่ียวกับกระดูก เช่น lymphoma , multiple myeloma ,สารบญั ค leukemia 38

test ค่าปกติ คา่ ตา่ กวา่ ปกติ คา่ สูงกว่าปกติ CBC (platelet count) WBC 5,000 – 11,000 -ร่างกายได้รบั สารพิษจากยา (drug toxicity) เชน่ เคมบี าบดั -ร่างกายอาจกาลงั ได้รับเชือ้ โรค (white blood cells/cu.mm -ไขกระดูกมีความผดิ ปกติ (bone marrow failure ) -อาจเกิดสรา้ งเม็ดเลอื ดขาวผดิ ปกตจิ ากไขกระดูก cell) : 5-11 × 109 /L -รา่ งกายติดเชือ้ รนุ แรง (myeloproliferative dissorder) -รา่ งกายขาดสารอาหารบางอย่าง เชน่ วติ ามินบี 12 กรดฟอลิก หรอื ธาตุ -อาจกาลังเกดิ มะเร็ง PMN 55-70% เหลก็ -อาจกาลงั เกดิ ความระคายเคอื ง (trauma) เชน่ เกิด (neutrophil) : 3.6-11.5 1× 03 /μL -มา้ มทางานมากเกินไป (hypersplenism) จากความเครียด หรือริดสีดวง - สภาวะ WBC ตา่ เรยี กวา่ leukopenia -อาจเกิดสภาวะขาดน้าสารบญั ค -ต่อมไทรอยด์อาจทางานมากเกนิ ไป -ร่างกายกาลังเผชญิ กบั การตดิ เช้อื -อาจกินยากลุม่ steroid -อาจกาลังอดอาหาร หรอื ขาดสารอาหารสาคัญบางตัว เช่น กรดฟอลิก หรือ -สภาวะ WBC สูง เรยี กวา่ leukocytosis วิตามนิ บี 12 -อาจเกิดบาดแผลหรอื มกี ารติดเชื้อขนาดใหญ่ -อาจกําลงั เกดิ โรคจากการติดเชือ้ -อาจไดร้ บั รงั สี หรือยาท่ีเป็นพิษต่อเซลลบ์ างตัว เช่น รกั ษาดว้ ยเคมบี าบัด -อาจกาํ ลงั เกดิ โรคเซลล์หรอื เน้ือเย่ือบางจดุ ขาดเลอื ด เช่น แผลไฟลวก -อาจกาํ ลงั เกิดโรคอนั เน่อื งมาจากการเผาผลาญอาหาร บกพรอ่ ง เชน่ ภาวะความเป็นกรดจากเบาหวาน -ร่างกายกาํ ลังเผชญิ ความเครยี ดอยา่ งหนกั -อาจกําลังเกดิ สภาวะอกั เสบจากโรคปวดข้อโรคเกาต์ เฉียบพลัน เปน็ ตน้ 39

test ค่าปกติ ค่าตา่ กว่าปกติ ค่าสงู กวา่ ปกติCBC (platelet count) รา่ งกายเริ่มปราศจากภูมิตา้ นทานโรค -รา่ งกายกําลงั ถูกรุกรานจากเชือ้ โรคอย่างBand 3-5 % รนุ แรง -อาจมอี วัยวะใดอวยั วะหนงึ่ กาํ ลังเกดิ การLymph 30-45 % -รา่ งกายอาจได้รบั การฉายรังสีบาํ บดั เคมบี าํ บัด อักเสบอยา่ งรา้ ยแรง -ร่างกายอาจได้รับเช้อื HIV -กรณที ี่ band มากกวา่ 10% ของ(lymphocyte) -อาจกําลังเกดิ โรครา้ ยแรง เช่น วัณโรคระยะลุกลาม โรคหวั ใจ โรคไต เป็นตน้ neutrophil อาจแสดงวา่ ไขกระดกู กําลัง -ร่างกายอาจตกอยู่ในภาวะเครยี ดอยา่ งหนกั ทอ้ ถอยต่อการสรา้ งเมด็ เลือด -อาจกาํ ลังเกดิ โรคมะเรง็ เมด็ เลือดขาว -อาจมภี าวะพิษจากการติดเชื้อ -รา่ งกายอาจไดร้ บั เช้ือแบคทีเรยี ชนิดเรอ้ื งรงั -อาจกําลงั เกดิ สภาวะตบั อักเสบจากการตดิ เชื้อสารบญั ค -รา่ งกายอาจกําลังติดเชอื้ จากบางโรค เช่น โรคคาง ทูม โรคอสี กุ อีใส วณั โรค เปน็ ต้น 40

test คา่ ปกติ ค่าต่ากว่าปกติ คา่ สูงกว่าปกติCBC (platelet count) - -ร่างกายอาจไดร้ ับเชอ้ื โรคในบางโรค เชน่ โรควณั โรค โรคตบั อักเสบMono 2-8 % เป็นตน้(monocyte) -อาจเกดิ โรครา้ ยแรง เช่น มะเร็งของต่อม มะเรง็ ของเซลล์โมโนไซต์Eos 1-4 % -ร่างกายกาลังตกอยู่ในความเครียด สภาวะเชน่ น้ี -ร่างกายกาลังเผชญิ กับสภาวะภูมิแพ้(eosinophil) ตอ่ มหมวกไตจะหลัง่ คอรต์ ิโคสเตอรอยด์ มันจะลดค่า -อาจกาลังเกดิ การอกั เสบของพยาธิบางชนิด eosinophil ให้ลดลงอย่างรวดเร็ว -อาจกาลงั เกิดโรคผวิ หนงั บางชนิด เชน่ การอักเสบจากสิว งูสวัด เปน็ -ร่างกายกาลังเกดิ อาการ cushing syndrome ต้น -อาจมโี รคไขกระดกู บางอย่างสารบญั ค 41

test คา่ ปกติ คา่ ต่ากว่าปกติ คา่ สงู กว่าปกติCBC (platelet count) -อาจเกิดโรคไทรอยดท์ างานเกนิ -อาจเกิดโรคมะเรง็ เมด็ เลอื ดจากไขกระดูกชนดิ เร้อื รังBaso 0.5-1.0% -รา่ งกายสตรอี าจกาลงั ตกไข่ -อาจเกิดโรคมะเรง็ ปมุ่ น้าเหลือง(basophil) -อาจกาลงั ตั้งครรภ์ -อาจเกดิ การอกั เสบจากแผลในลาไส้ -ร่างกายอาจกาลังอยูใ่ นภาวะเครียดอย่างหนัก MCV 76-100 fL -เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงมีขนาดเลก็ กวา่ เซลลป์ กติ -เซลล์เมด็ เลือดแดงมขี นาดใหญก่ ว่าเซลล์ปกติ (mean 27-32 pg/cell -โรคโลหติ จาง -ขาดวติ ามนิ บี 12 หรือกรดฟอลกิ หรอื มีโรคเกย่ี วกบั corpuscular 32-36 gm/dL -ขาดธาตุเหล็ก หรือจากโรค thalassemia หรือจากโรคเรื้อรัง ตับ volume) -เกดิ พยาธิสภาพผิดปกตขิ องเซลล์เม็ดเลือดแดงเก่ยี วกบั เฮโมโกลบนิ -เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดงมีขนาดใหญ่ MCH -อาจเกดิ โลหิตจาง -มโี อกาสเกิดภาวะโลหติ จาง-เซลลเ์ ม็ดเลือดแดงมีขนาด (mean ใหญ่ corpuscular -อาจเกดิ โรคขาดธาตุเหลก็ โดยทุกกรณที ่ี MCHC ตา่ กว่า 31 gm/dL -มโี อกาสเกดิ ภาวะโลหติ จาง hemoglobin) -อาจเกดิ โรคโลหิตจางจากการขนาดเหลก็ -เยอื่ ผนังเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงอาจลดขนาดพ้นื ท่ผี ิวลง MCHC -เมด็ เลอื ดแดงอาจอยูใ่ นสภาวะท่ขี าดนา้ (mean corpuscular 42 hemoglobin concentratio n)สารบญั ค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook