Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Annual-Report 2017

Annual-Report 2017

Published by opc, 2018-09-28 04:48:19

Description: Annual-Report 2017 reduced

Search

Read the Text Version

หลักนติ ิธรรม Annual Report 2017 | www.tijthailand.orgเพือ่ การพัฒนาที่ยงั่ ยนืรายงานประจ�ำปี 2560สถาบนั เพ่อื การยุตธิ รรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)



หลักนิติธรรม เพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน รายงานประจ�ำปี 2560สถาบนั เพือ่ การยตุ ิธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

4รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบนั เพอ่ื การยุติธรรมแหง่ ประเทศไทยผมไดร้ ่วมดำ� เนนิ งาน รบั ทราบ และติ ด ต า ม ค ว า ม เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ข อ งสถาบันฯ ตลอดปที ี่ผา่ นมาในดา้ นการส่งเสริมและสนับสนุนการน�ำหลักนิติธรรมมาใช้ในประเทศไทย และได้เห็นการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องจริงจัง กระท่งั ในปีทีผ่ า่ นมามีผลงานเปน็ ทป่ี ระจกั ษ์

5 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceสารจากประธานกรรมการสถาบนั เพอื่ การยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน) หรอื ในฐานะทท่ี �ำหน้าท่แี ทนประธานกรรมการ กระผมได้เป็นสว่ นหนึ่งThailand Institute of Justice (TIJ) เปน็ องคก์ ารมหาชนภายใต้ ในการปฏิบัติภารกิจ และติดตามความเคลื่อนไหวของสถาบันการกำ� กับดแู ลของกระทรวงยตุ ิธรรม มีภารกิจท่สี าคญั คอื เป็น เพอื่ การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทยมาโดยตลอด และไดเ้ หน็ ถงึ ความผู้ส่งเสริมให้เกิดการเปล่ียนแปลงด้านการยกระดับกระบวนการ ก้าวหน้าในด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการน�ำหลักนิติธรรมยุติธรรมและเช่ือมโยงหลักนิติธรรมกับการพัฒนาท่ีย่ังยืน มาใช้ในประเทศไทย และการดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจรงิ จงั กระทง่ัในประเทศไทย อาเซียน และระดับสากล มผี ลงานเปน็ ทป่ี ระจกั ษ์ ไมว่ า่ จะเปน็ ในดา้ นการสง่ เสรมิ และสนบั สนุนในช่วงท่ีผ่านมา จะเห็นได้ว่าแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุน ให้มีการอนุวัติข้อก�ำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อกระบวนการยตุ ธิ รรมทไี่ ดร้ บั การกลา่ วถงึ มากทส่ี ดุ คอื การสง่ เสรมิ ผู้ตอ้ งขงั หญิงและมาตรการทมี่ ใิ ชก่ ารคมุ ขงั หรอื “ข้อก�ำหนดให้ “หลกั นติ ธิ รรม” ซง่ึ เปน็ หลกั คดิ ทเ่ี ปน็ กระแสนยิ มในวงกวา้ งที่ กรุงเทพ” (the Bangkok Rules) การศกึ ษาวจิ ยั และเผยแพร่สามารถนำ� มาใช้ไดท้ งั้ ในการปฏบิ ตั งิ าน และในชวี ติ ประจำ� วนั เพอื่ มาตรฐานและบรรทดั ฐานของสหประชาชาตเิ ก่ียวกับการด�ำเนินเปน็ พน้ื ฐานทจ่ี ะนำ� ไปส่กู ารพฒั นาท่ยี ั่งยืนในทุก ๆ ด้าน กระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญา โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั การปฏบิ ตั ิในประชาคมโลก คำ� วา่ หลกั นติ ธิ รรมนี้ นายบนั คี มนุ อดตี เลขาธกิ าร ต่อผู้กระท�ำผิดและการช่วยเหลือผู้กระท�ำผิดหลังพ้นโทษให้สหประชาชาติเคยกลา่ วไวว้ ่าเปรียบเสมอื นเป็น “ด้ายทอง” หรอื กลบั คืนสู่สังคม เหล่านีล้ ้วนเป็นการส่งเสรมิ ให้เกิดหลกั นิตธิ รรม“the golden thread” ทช่ี ว่ ยถกั ทอทกุ มติ กิ ารพฒั นา ใหส้ ามารถ ในประเทศ ตลอดจนสง่ เสริมภาพลกั ษณท์ ด่ี ีของกระบวนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยนื แหง่ สหประชาชาติ (the UN ยุติธรรมของไทย ให้ได้รับการยอมรับท้ังในประเทศและในระดับSustainable Development Goals: SDGs) ได้ในภาพรวม โดย นานาชาติหลักนิติธรรมนั้นเป็นทั้งเป้าหมายในตัวเองและเครื่องมือท่ีจะช่วย ท้ายนี้ กระผมขอขอบคุณในความร่วมมือของทุกท่านท่ีตั้งใจขับเคลอ่ื นไปสเู่ ปา้ หมายดงั กล่าว ปฏิบัติภารกิจจนประสบผลส�ำเร็จ และมุ่งม่ันในการส่งเสริม ให้การอ�ำนวยความยุติธรรมได้เกิดขึ้นและเป็นท่ีแพร่หลายใน สงั คม ซ่ึงจะเป็นเคร่ืองมือหน่ึงที่ช่วยให้สังคมไทยเกิดสันติสุข อนั จะน�ำไปสู่การพัฒนาทีย่ ่งั ยืนตอ่ ไป ร.ต.ต. พงษน์ ิวฒั น์ ยุทธภณั ฑ์บรภิ าร อัยการสูงสุด กรรมการโดยต�ำแหนง่ ท�ำหนา้ ทีป่ ระธานกรรมการ

6รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบนั เพ่ือการยตุ ิธรรมแหง่ ประเทศไทยสารจากผู้อ�ำนวยการหลักนิติธรรมได้รับการบรรจุไว้ในเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน นักกฎหมาย ตลอดจนนักวิชาการ และคนนอกวงการท้ังในขององค์การสหประชาชาติ (UN Sustainable Development ประเทศและต่างประเทศ่ โดยมีความท้าทายทกี่ ารสรา้ งสมดลุ แหง่Goals: SDGs) ในเปา้ หมายที่ 16.3 เพอ่ื การส่งเสริมหลกั อำ� นาจระหว่างรฐั และปัจเจกชน การสรา้ งวฒั นธรรมเคารพกฎนิติธรรม ท้งั ในระดับชาติ ระหว่างประเทศ รวมถึงการสรา้ งหลกั และกตกิ า และการสง่ เสรมิ และเผยแพรแ่ นวคดิ หลักนิติธรรมเพอ่ืประกันในการเข้าถึงความยุติธรรมอย่างเท่าเทียมของทุกคน การพัฒนาท่ยี ั่งยืนใหเ้ ปน็ ทร่ี บั รู้ในวงกว้างสถาบนั เพือ่ การยุตธิ รรมแหง่ ประเทศไทยหรอื TIJ ในฐานะหนึ่งใน กิจกรรมหรือโครงการท่ีเกิดขึ้นในปีน้ีให้ความส�ำคัญกับการองค์การมหาชนที่จดั ตัง้ ข้ึนเพอ่ื พัฒนากระบวนการยุตธิ รรม ทงั้ สนับสนนุ ภารกิจการปฏบิ ัตงิ านถวายพระเจา้ หลานเธอ พระองค์ในประเทศและระหว่างประเทศให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล เจ้าพัชรกิติยาภา ในฐานะทูตสันถวไมตรีด้านหลักนิติธรรมตลอดจนการรว่ มขบั เคลอ่ื น SDGs ตระหนกั ดวี า่ “หลกั นติ ธิ รรม” ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของ UNODC การท�ำงานเปน็ ตวั เชอื่ มสำ� คญั ของทกุ เรอื่ ง ครอบคลมุ ตงั้ แตห่ ลกั ปรชั ญาดา้ น ในฐานะท่ี TIJ เป็นหน่วยงาน UN-PNI หน่งึ เดยี วในอาเซียนยุติธรรมสมานฉนั ท์ (Restorative Justice) การไกลเ่ กลยี่ กรณี เพ่ือสร้างบทบาทในกรอบสหประชาชาติ รวมทั้งการมบี ทบาทในพิพาท การส่งเสรมิ ความเท่าเทียมและลดความเหลือ่ มล้�ำ และ การประชุมคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันแนวปฏบิ ัติท่ดี ตี อ่ ผู้ตอ้ งขัง เปน็ ตน้ อาชญากรรมและความยตุ ิธรรมทางอาญา (The Commissionสังคมที่มีหลักนิติธรรมจะต้องเป็นสังคมที่มีการปกครองโดย on Crime Prevention and Criminal Justice - CCPCJ) สมัยกฎหมาย มีการใชก้ ฎหมายอย่างเสมอภาค และมีกระบวนการ ท่ี26การอนุวัตมิ าตรฐานสหประชาชาตเิ พอ่ื พัฒนากระบวนการยตุ ิธรรมทท่ี ุกคนเข้าถงึ ได้ ส่งเสรมิ การรบั ผิดชอบตอ่ สาธารณะ ยุตธิ รรมในไทย และการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรดู้ า้ นหลักในทุกระดับ ให้โอกาสแกป่ ระชาชนในการมสี ่วนรว่ มตัดสนิ ใจและ นิติธรรมและการพัฒนาที่ยั่งยนืรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกัน โดยไม่ได้จ�ำกัดเพียงในส่วนของ สดุ ทา้ ยนี้ ผมขอขอบคณุ หน่วยงานต่าง ๆ คณะกรรมการ คณะกฎหมายอาญา แตร่ วมไปถึงกฎหมายอืน่ ๆ อย่างกฎหมายแพ่ง ท�ำงาน และบคุ ลากรของหน่วยงานที่เกยี่ วข้องกับการด�ำเนินงานและพาณชิ ยก์ ็สามารถน�ำหลกั นิติธรรมไปเกี่ยวโยงได้ ของ TIJ ทกุ หนว่ ยงาน และทีมงานของ TIJ ทุกคน ที่ไดร้ ว่ มแรงทสี่ ำ� คญั คอื ตอ้ งมี “คน” เปน็ จดุ เชอ่ื มโยงในการพฒั นา ทา่ มกลาง ร่วมใจกนั ผลักดนั โครงการต่างๆ ใหเ้ กดิ เป็นรปู ธรรม กระทง่ั วันนี้ความท้าทายในการสร้างสมดุลอ�ำนาจระหว่างรัฐและปัจเจกชน TIJ มผี ลการปฏบิ ตั งิ านเปน็ ทป่ี ระจกั ษ์ ในฐานะองคก์ ารทมี่ คี วามคดิโดยมปี ัจจยั เสรมิ ว่า คนจะต้องตระหนกั ถึงความสำ� คัญของการ ริเริ่มและมุ่งม่ันท่ีจะส่งเสริมหลักนิติธรรม เพื่อเป็นรากฐานของเคารพกฎหมาย พร้อมท่ีจะเชอ่ื มน่ั และทำ� ตามกฎหมาย เกดิ เป็น การพฒั นาทยี่ ่ังยืนทั้งในประเทศและในระดับนานาชาติสังคมท่ีมี “วัฒนธรรมการเคารพกติกา” จึงจะน�ำไปสู่การขับเคลอ่ื นการปฏริ ูป การสรา้ งสงั คมที่อดุ มหลักนติ ิธรรม และเกิดการพัฒนาที่ยั่งยนื ได้TIJ เลง็ เหน็ ถงึ ผลประโยชนท์ จ่ี ะเกดิ ขน้ึ เมอื่ มหี ลกั นติ ธิ รรมนำ� สงั คม ศาสตราจารยพ์ ิเศษ ดร.กติ ติพงษ์ กติ ยารกั ษ์ดังกล่าว ในปี พ.ศ. 2560 นี้ จึงได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ ผ้อู �ำนวยการแผนงาน/โครงการต่าง ๆ ให้สอดคล้องกบั การด�ำเนนิ งานเพอื่ สถาบนั เพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทยบม่ เพาะฐานรากแหง่ “หลกั นิตธิ รรม” อยา่ งเข้มแข็ง โดยรว่ มผลกั ดัน ขับเคลอ่ื น “หลกั นิติธรรม” ผ่านกจิ กรรม/โครงการอนัหลากหลาย ร่วมกบั ภาคีเครอื ข่าย ทัง้ สถาบนั เครือข่ายแผนงานสหประชาชาติด้านการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา (United Nations Crime Prevention and CriminalJustice Programme Network of Institutes – PNIs) องคก์ รและหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องกับการก�ำหนดและเสนอแนะนโยบายภาครัฐ

7 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justice“หลักนติ ธิ รรม” เป็นตวั เชื่อมส�ำคัญของทกุ เรอ่ื ง ไม่ว่าจะเป็นการไกลเ่ กลี่ยกรณีพิพาท การส่งเสริมความเท่าเทียมและลดความเหลื่อมล้�ำ การปฏิบัติท่ีดีต่อผู้ต้องขัง เป็นต้น

8รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพ่อื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทยสารบญั

9 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justice p. 11 p. 16 p. 26รจู้ กั TIJ โครงสร้างองค์กร กิจกรรมสำ� คญัวตั ถปุ ระสงคก์ ารจดั ตัง้ ประธานคณะทป่ี รกึ ษาพิเศษ TIJ สนับสนนุ งานของทูตสันถวไมตรแี ห่งสำ� นกั งานทศิ ทางการดำ� เนนิ งาน กรรมการโดยตำ� แหน่ง วา่ ด้วยยาเสพตดิ และอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติวสิ ยั ทศั น์ กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ (UNODC Goodwill Ambassador)ยทุ ธศาสตร์ ผอู้ ำ� นวยการกจิ กรรมหลัก ทป่ี รึกษาพิเศษ TIJ กบั บทบาท UN-PNI ในเวทีระหวา่ งประเทศ TIJ กับการอนุวัติขอ้ ก�ำหนดกรงุ เทพฯ และ มาตรฐานระหวา่ งประเทศทีเ่ กย่ี วข้องกบั ผู้ตอ้ งขัง TIJ สง่ เสรมิ หลกั นติ ธิ รรมกบั การพัฒนาทย่ี ั่งยนื TIJ สง่ เสริมสิทธขิ องผ้หู ญงิ และเด็ก p. 68 p. 77 p. 84รายงานวิจัย รายงานการเงิน รายงานการเขา้ ประชมุด้านขอ้ กำ� หนดกรุงเทพ งบแสดงฐานะการเงนิ งบแสดงผลการดำ� เนินงานทางการเงนิดา้ นการสง่ เสรมิ และ งบกระแสเงนิ สดพัฒนาองคค์ วามรดู้ า้ นหลักนติ ิธรรม งบแสดงการเปล่ยื นแปลงสินทรพั ย์สุทธ/ิ สว่ นทนุด้านการส่งเสรมิ สิทธขิ องผู้หญิงและเด็กดา้ นการเผยแพรแ่ ละสรา้ งองค์ความรู้ในประเด็นดา้ นกระบวนการยุตธิ รรมท่เี กิดขนึ้ ใหม่



11Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justice รจู้ กั TIJ

12รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพอื่ การยุติธรรมแหง่ ประเทศไทยสถาบนั เพอ่ื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (Thailand Institute of Justice: TIJ)วันที่ 13 มถิ นุ ายน 2554 สถาบันเพือ่ การยตุ ิธรรมแหง่ ประเทศไทย จัดต้งั ข้ึนโดยพระราชกฤษฎีกาฯ พ.ศ. 2554 ใหเ้ ปน็ หน่วยงานของรฐั ประเภทองค์การมหาชน เพอ่ื เปน็ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบในการส่งเสริมการอนุวัตมิ าตรฐานและบรรทัดฐานของสหประชาชาติเกีย่ วกบั การดำ� เนนิ กระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญา รวมทงั้ การพฒั นาองคค์ วามรดู้ า้ นหลกั นติ ธิ รรม การศกึ ษาวจิ ยั และเผยแพร่ โดยเฉพาะข้อก�ำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงในเรือนจ�ำและมาตรการที่มิใช่การคุมขังส�ำหรับผู้กระท�ำผิดหญิงหรือ “ขอ้ ก�ำหนดกรุงเทพ” ซ่ึงเปน็ หนง่ึ ในโครงการพระด�ำริของพระเจา้ หลานเธอ พระองค์เจา้ พัชรกติ ิยาภา ดา้ นการพฒั นากระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญาทัง้ ในประเทศและต่างประเทศวัตถุประสงค์การจดั ต้ังสถาบันเพือ่ การยุติธรรมแหง่ ประเทศไทยพระราชกฤษฎกี าจดั ตงั้ สถาบันเพ่ือการยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน) พ.ศ. 2554 กำ� หนดวตั ถปุ ระสงคก์ ารจัดตงั้ ไว้ดังน้ี1) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการอนุวัติข้อก�ำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงและมาตรการที่มิใช่การคุมขังหรือ “Bangkok Rules” เพ่ือเป็นแนวทางในการด�ำเนินกระบวนการยุติธรรมแก่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ2) ศกึ ษา วจิ ัย และเผยแพรม่ าตรฐานและบรรทัดฐานของสหประชาชาติเก่ยี วกับการด�ำเนินกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา รวมทั้งแนวทางในการปฏิบัตติ อ่ ผู้กระทำ� ผดิ และการช่วยเหลือผ้กู ระท�ำผดิ หลงั พ้นโทษใหก้ ลับคนื สู่สงั คม เพือ่ น�ำไปสูก่ ารพฒั นากระบวนการยตุ ิธรรมของประเทศไทยและตา่ งประเทศ3) สง่ เสรมิ และพฒั นาองคค์ วามรดู้ า้ นหลกั นติ ธิ รรมเพอื่ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของบคุ ลากรในกระบวนการยตุ ธิ รรมอนั จะนำ� ไปสสู่ งั คมแหง่ความยตุ ธิ รรม4) เปน็ ศนู ยก์ ลางแหง่ ความเปน็ เลศิ ระดบั นานาชาตดิ า้ นการพฒั นากระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญาในดา้ นการปฏบิ ตั ติ อ่ ผกู้ ระทำ� ผดิโดยเน้นความรว่ มมอื กับสหประชาชาตสิ ถาบันสมทบ (Programme Network Institute) และความรว่ มมอื ในกรอบอาเซียน5) ส่งเสริมภาพลกั ษณ์ทด่ี ขี องกระบวนการยุตธิ รรมของไทยให้ได้รับการยอมรบั ในระดับนานาชาตเิ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความร่วมมอื ทางดา้ นกระบวนการยตุ ิธรรมระหวา่ งประเทศด้วยการดำ� เนินงานอยา่ งเขม้ แข็งและเขม้ ข้นท้งั ในด้านงานวจิ ยั งานผลักดันเชงิ นโยบาย และงานพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร ในวนั ท่ี 24พฤษภาคม 2559 สำ� นกั งานวา่ ดว้ ยยาเสพตดิ และอาชญากรรมแหง่ สหประชาชาติ (United Nations Office on Drugs and Crime –UNODC) รบั รองสถานะให้ TIJ เป็นหน่ึงในสถาบันเครือขา่ ยแผนงานสหประชาชาติดา้ นการป้องกันอาชญากรรมและความยุตธิ รรมทางอาญา (United Nations Crime Prevention and Criminal Justice Programme Network of Institutes – PNIs) ยงั ผลให้ TIJเปน็ องคก์ รแรกของภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ ี่ได้เข้ารว่ มเปน็ สมาชกิ ของ PNIs

13 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceทศิ ทางการด�ำเนินงานในระยะ 3-5 ปขี า้ งหนา้ (Roadmap: TIJ as Regional PNI Connector)ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 TIJ ไดด้ �ำเนนิ การทบทวนและจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ TIJ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) เพื่อก�ำหนดทิศทางและเป้าหมายส�ำหรับท�ำหน้าท่ีเป็นสะพาน เช่ือมการปฏิบัติภายในประเทศและภูมิภาคให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติและบรรทัดฐานระหว่างประเทศ ด้านการป้องกันอาชญากรรม ความยุติธรรมทางอาญา และหลักนิติธรรม ท้ังน้ี ทิศทางการท�ำงานดงั กล่าวจะสอดคล้องกบั เป้าหมายที่ 16 ตามเปา้ หมายการพฒั นาที่ยงั ยืนของสหประชาชาติ (SDG) ด้านการส่งเสรมิ สังคมทส่ี งบสขุและครอบคลุมเพอ่ื การพฒั นาที่ยง่ั ยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยตุ ิธรรม และสร้างสถาบันทีม่ ีประสิทธผิ ลในทกุ ระดบั รวมทงั้ เปน็ การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันทางสงั คมตามทิศทางการพัฒนาประเทศในร่างกรอบยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี(พ.ศ. 2560-2579) และตอบโจทยป์ ระเดน็ ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้�ำ และรักษาธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)

14รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบนั เพ่อื การยุตธิ รรมแห่งประเทศไทยการด�ำเนินงานแบง่ ออกเปน็ 3 ระยะในกรอบเวลา 5 ปี ดงั น้ี ระยะส้นั (ภายในปี 2560) เปน็ ระยะเรง่ ดว่ นในการปรบั โครงสร้างองคก์ รและยกระดับการบรหิ ารจัดการภายในใหม้ ีประสทิ ธภิ าพเพ่อื รองรบั การทำ� งานร่วมกับหนว่ ยงานระหว่างประเทศ อาทิ เครือขา่ ย UN-PNI ที่มีมาตรฐานการท�ำงานระดับสากลเนน้ การบริหารจัดการดว้ ยการจัดท�ำแผนงานโครงการทเี่ พมิ่ ความร่วมมอื ระหว่างหน่วยงานในเครอื ขา่ ย UN-PNI (PNI Integration)และ/หรอื สถาบนั การศึกษานานาชาติ รวมท้ังมุ่งเน้นการยกระดบั ความเปน็ มืออาชพี ของบคุ ลากรใน TIJ จากการเปน็ เพียงนักวจิ ัยหรือนักวชิ าการ เป็น “นกั บริหารจัดการงานวชิ าการ” ระยะกลาง (ภายในปี 2562) เป็นระยะท่ีตอ่ ยอดโครงการความรว่ มมอื ระหว่างเครือข่าย UN-PNI และ/หรือสถาบนั การศกึ ษาและสถาบันเครอื ขา่ ยระหวา่ งประเทศอนื่ ๆ โดยมงุ่ หวงั ใช้องคค์ วามรู้ในการผลักดันเชิงนโยบายทสี่ �ำคัญเพ่อื ยกระดบั ประสิทธภิ าพของหนว่ ยงานปฏบิ ตั ใิ นกระบวนการยุตธิ รรมของไทยอยา่ งมีคุณภาพ รวมท้งั สามารถใช้ประโยชนจ์ ากองคค์ วามรู้ของหนว่ ยงานท่ีส่งั สมในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื (Technical Assistance) อยา่ งเปน็ รูปธรรมแกป่ ระเทศเพอ่ื นบา้ นในภมู ิภาค โดยมุ่งเนน้ การสรา้ งพนั ธมติ รในการทำ� งานระดบั Professionals กับหน่วยงานตา่ ง ๆ ในภมู ภิ าค ระยะยาว (ภายในปี 2564) เปน็ ระยะท่อี งค์กรสามารถสรา้ งความพรอ้ มของหน่วยงานในฐานะหนว่ ยงานวชิ าการทีม่ ีองคค์ วามรดู้ า้ น “หลักนิติธรรม” “การป้องกันอาชญากรรม” และการพัฒนา “กระบวนการยตุ ิธรรมทางอาญา” อยา่ งเขม้ แข็ง มีความสามารถในการสะท้อนสถานการณ์และแนวทางปรับปรงุ นโยบายในภาพรวมของภูมภิ าค (Represent regional developmentas a PNI member) เน้นการบริหารจัดการด้วยการขยายขอบเขตการทำ� งานในประเดน็ ใหม่ ๆ (Foundation expansion) เพ่อื ให้เกิดผลสัมฤทธติ์ ามเป้าหมายการพฒั นาทีย่ ง่ั ยนื ของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals: SDG)วสิ ัยทัศน์ “TIJ เปน็ ผู้ส่งเสริมการเปลยี่ นแปลง (Promoter of Change) ด้านการยกระดับกระบวนการยตุ ธิ รรม และเช่อื มโยงหลักนิติธรรมกบั การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนในประเทศไทย อาเซียน และระดับสากลยทุ ธศาสตร์ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การอนวุ ตั มิ าตรฐานและบรรทดั ฐานของสหประชาชาติด้านการป้องกันอาชญากรรมและความยตุ ิธรรมทางอาญาในกลุม่ ผ้เู ปราะบาง โดยเฉพาะขอ้ ก�ำหนดกรงุ เทพ และการส่งเสรมิ สิทธขิ องผู้หญงิ และเด็กประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสรมิ และพฒั นาองค์ความรดู้ ้านหลักนติ ธิ รรมเพอ่ื รองรบั เป้าหมายการพฒั นาท่ยี ัง่ ยนืประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การสร้าง ประยกุ ต์ใช้ และเผยแพร่องคค์ วามรูข้ องหนว่ ยงานเพื่อสนับสนนุ ประเดน็ นโยบายด้านกระบวนการยุติธรรมทเ่ี กิดข้นึ ใหม่ในสงั คมประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสรา้ งเครอื ขา่ ยระหวา่ งหนว่ ยงานในสถาบนั เครือข่าย UN-PNI ผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในการด�ำเนินนโยบายและเครือขา่ ยเยาวชนท้งั ในประเทศและระหว่างประเทศประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การปรบั โครงสรา้ งองคก์ รและยกระดบั การบรหิ ารจดั การภายในใหเ้ ขม้ แขง็ และมปี ระสทิ ธภิ าพสอดรบั กมั าตรฐานสากล

15 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceกจิ กรรมหลัก (Key Activities)ในแตล่ ะประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ จะตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั กจิ กรรมเชงิ วชิ าการแบบหวงั ผลใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงขนึ้ ในสงั คม ซงึ่ สอดคลอ้ งกับแนวทางการทำ� งานของ TIJ ในภาพรวม ดังนี้ • งานวจิ ยั (Research and Development) เนน้ การพฒั นาองคค์ วามรดู้ า้ นงานวจิ ยั และฐานขอ้ มลู ในประเดน็ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั หลกั นติ ธิ รรม การปอ้ งกนั อาชญากรรมและความยตุ ธิ รรมทางอาญา ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สากลและนำ� ไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพของกระบวนการยตุ ธิ รรมของประเทศทม่ี คี ณุ ภาพ คณุ ลกั ษณะของงานวจิ ยั ที่ TIJ ใหค้ วามสำ� คญั จะคลอบคลมุ ถงึ งานวจิ ยั เชงิ ประจกั ษ์ (Evidence-based) ทมี่ กี ลมุ่ ผู้ใชช้ ดั เจน(Users) งานวจิ ยั เพอื่ ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงเชงิ โครงสรา้ งระดบั นโยบาย งานวจิ ยั เพอ่ื ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ มาตรฐานใหมร่ ะหวา่ งประเทศ(Standard and Norms) งานวจิ ยั เพอ่ื ปรบั ปรงุ มาตรฐานระหวา่ งประเทศทมี่ อี ยแู่ ลว้ ใหด้ ขี น้ึ งานวจิ ยั เพอื่ สง่ เสรมิ มาตรฐานทด่ี อี ยแู่ ลว้ ให้สามารถนำ� มาปฏบิ ตั ใิ น local practices ไดท้ งั้ ในประเทศไทยและหรอื ประเทศอนื่ ๆ ซง่ึ การทำ� วจิ ยั ลกั ษณะดงั กลา่ วจะเปน็ หวั ใจสำ� คญั ในการผลติ และสง่ั สมองคค์ วามรขู้ อง TIJ ในการนำ� ไปขยายผลและตอ่ ยอดใหก้ จิ กรรมดา้ นอน่ื ๆ สามารถกระทำ� ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ • งานผลกั ดนั เชงิ นโยบาย (Policy Advocacy) TIJ สามารถนำ� องคค์ วามรทู้ มี่ เี ปน็ เครอ่ื งมอื ในการเสนอใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นเทคนคิ และใหค้ ำ� ปรกึ ษากบั หนว่ ยงานดา้ นนโยบายและปฏบิ ตั ทิ ง้ั ภายในประเทศและในภมู ิภาคอ่ืน ๆ เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานดงั กลา่ วสามารถยกระดบั การทำ� งานดา้ นการปอ้ งกนั อาชญากรรมและกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญา ใหเ้ กดิ ผลเปน็ รปู ธรรมอยา่ งแทจ้ รงิ ผา่ นโครงการลกั ษณะตา่ ง ๆ อาทิ การทำ� โครงการรณรงคเ์ พอ่ืความตระหนกั รดู้ า้ นการยตุ คิ วามรนุ แรงตอ่ ผหู้ ญงิ และเดก็ โครงการพฒั นาเรอื นจำ� ตน้ แบบตามขอ้ กำ� หนดกรงุ เทพ การสมั มนาแนวทางปฏบิ ตั ทิ ด่ี สี ำ� หรบั นโยบายดา้ นยาเสพตดิ ในตา่ งประเทศ เปน็ ตน้ • งานพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร (Capacity Building) TIJ สามารถนำ� องคค์ วามรทู้ ม่ี มี าเผยแพรส่ กู่ ลมุ่ บคุ ลากรเปา้ หมายในกระบวนการการปอ้ งกนั อาชญากรรมและกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญา โดยมงุ่ พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละความสามารถของบคุ ลากรในวงกวา้ ง ผา่ นรปู แบบโครงการลกั ษณะตา่ ง ๆ อาทิ การจดั สมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร หลกั สตู รฝกึ อบรม และการแลกเปลย่ี นความคดิ ในระดบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทงั้ ในระดบั ประเทศและนานาชาติ

โครงสร้างองคก์ ร

โครงสรา้ งการบริหารสถาบนั เพือ่ การยุตธิ รรมแหง่ ประเทศไทย (องค์การมหาชน) Board of Director Internal Audit Unit Core Team Executive DirectorDeputy Executive Director Office of Office of Office of Office ofManagement Strategy and Knowledge External Management Relations and Planning Policy CoordinationSpecial Programs Women and Implementation of Promoting the Crime and Youth Children the Bangkok Rules of Law Justice Museum Activities RulesEmpowerment



19 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceประธานคณะที่ปรึกษาพิเศษ สถาบนั เพือ่ การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทยพระเจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จ้าพชั รกติ ยิ าภาพระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พชั รกติ ิยาภา ประสูติเมอ่ื วันที่ 7 ผลกั ดันประเดน็ ดงั กลา่ วอย่างจรงิ จังและต่อเนื่อง กระทั่งนำ� ไปสู่ธนั วาคม พ.ศ. 2521 ทรงเปน็ พระราชธิดาองคแ์ รกในสมเดจ็ การขบั เคลื่อนโครงการทเี่ ป็นรปู ธรรม มีผลงานเปน็ ทป่ี ระจกั ษ์พระเจา้ อยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู เชน่ ขอ้ กำ� หนดสหประชาชาตวิ ่าด้วยการปฏิบัตติ ่อผตู้ ้องขังหญิง และมาตรการท่ีมิใช่การคุมขังส�ำหรับผู้กระท�ำความผิดหญิงพระองคท์ รงสำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรจี ากคณะนติ ศิ าสตร์ หรือขอ้ กำ� หนดกรงุ เทพ เป็นตน้(เกยี รตนิ ยิ มอันดบั สอง) จากมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ และคณะรฐั ศาสตร์ (เกียรตินยิ มอนั ดบั หนงึ่ ) จากมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธร ด้วยพระกรณียกิจที่เป็นท่ีประจักษ์ต่อสายตาพสกนิกรชาวไทยรมาธริ าช จากนั้นทรงเสดจ็ ไปศึกษาต่อยังประเทศสหรฐั อเมรกิ า และประชาคมโลก ส�ำนกั งานปอ้ งกนั ยาเสพตดิ และปราบปราบและสำ� เร็จเป็นนิตศิ าสตรมหาบณั ฑติ และดุษฎีบณั ฑิต ดา้ น อาชญากรรมแหง่ สหประชาชาติ หรอื UNODC (United Nationนติ ศิ าสตร์ จากมหาวทิ ยาลัยคอร์แนล หลังจากนน้ั ทรงเสดจ็ Office on Drugs and Crime) จงึ ไดข้ อประทานทลู เกลา้ ทลูกลบั มาศกึ ษาตอ่ ยังสำ� นักฝกึ อบรมเนตบิ ัณฑิตไทย และจบการ กระหม่อมถวายเหรียญเชิดชเู กียรติยศสูงสดุ Medal ofศกึ ษากฎหมายขั้นสูง Recognition แดพ่ ระเจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จ้าพชั รกติ ิยาภา ด้วยส�ำนึกในพระกรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อการพัฒนาด้านพระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จ้าพชั รกติ ิยาภา ทรงเข้ารับราชการ กระบวนการยุตธิ รรม อกี ทั้งรางวลั President’s Award ซึ่งทลูและได้รับการเล่ือนข้นั ตามล�ำดับ คอื ต�ำแหนง่ นายทหารพระ เกล้าถวายโดย International Corrections and Prisonsธรรมนญู ระดบั ร้อยเอก หน่วยบญั ชาการถวายความปลอดภัย Association (ICPA) และ UNIFEM Award ในฐานะท่ที รงเปน็ องค์กองบญั ชาการทหารสงู สดุ ตำ� แหนง่ เลขานกุ ารเอกคณะทตู ถาวร ทูตสันถวไมตรีและทรงมีบทบาทน�ำในเร่ืองการยุติความรุนแรงแห่งประเทศไทย ประจำ� สหประชาชาติ ณ นครนวิ ยอร์ก ประเทศ ตอ่ สตรีอีกดว้ ยสหรฐั อเมรกิ า ปี 2549 จากนนั้ ไดท้ รงรบั ราชการตำ� แหนง่ อัยการผ้ชู ว่ ย ในปี 2550 และตอ่ มาทรงด�ำรงตำ� แหนง่ อยั การจังหวัด ต่อมาในปี 2560 ส�ำนกั งานป้องกนั ยาเสพตดิ และปราบปรามหนองบวั ลำ� ภู กระทงั่ ในปี 2554 ทรงเขา้ รบั ตำ� แหนง่ เอกอคั รราชทตู อาชญากรรมแหง่ สหประชาชาติ ภาคพน้ื เอเชยี ตะวนั ออกและแปซฟิ กิผแู้ ทนถาวรแห่งประเทศไทยประจำ� สำ� นักงานสหประชาชาติ ณ (UNODC) ไดท้ ลู เกลา้ ฯ ถวายตำ� แหนง่ ทตู สนั ถวไมตรดี า้ นหลักกรงุ เวยี นนา และทรงดํารงตําแหนง่ อัยการจงั หวัดค้มุ ครองสิทธิ นิติธรรมส�ำหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แด่พระเจ้าหลานและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดระยอง เธอพระองคเ์ จา้ พชั รกติ ยิ าภา เพอื่ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ แนวทาง(ขา้ ราชการอัยการช้นั 4) การพฒั นา ทีเ่ น้นอาศัยการจดั การกบั ภัยอาชญากรรมทมี่ ีต่อ สงั คมและการปฏริ ปู กระบวนการยตุ ธิ รรม จากการทท่ี รงมบี ทบาทพระองค์ทรงสนพระทัยและมีพระวิสัยทัศน์ในการด�ำเนินงานด้าน สนับสนุนการด�ำเนนิ การของสำ� นักงาน UNODC ในภมู ภิ าค ได้การตา่ งประเทศ และทรงมพี ระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นการศกึ ษา ตลอด ทรงช่วยสร้างการรับรู้ในประเด็นระดับโลกท่ีส�ำคัญและระดมจนประสบการณ์การทรงงานทั้งในด้านกระบวนการยุติธรรมและ ความรว่ มมือต่าง ๆ อย่างต่อเน่ืองการตา่ งประเทศ ทรงตระหนักถงึ ความสำ� คญั ในการแก้ไขปัญหาในประเด็นทเี่ ปน็ บรรทัดฐานและกฎหมายระหวา่ งประเทศ และทรง

20รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบนั เพ่อื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทยโครงการก�ำลังใจ (INSPIRE) ในพระด�ำริ พระเจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จา้ พชั รกิติยาภาโครงการกำ� ลงั ใจ เป็นโครงการท่ีพระเจา้ หลานเธอ พระองค์เจา้ ของสงั คมได้อย่างปกตสิ ุขในสว่ นที่ไม่ซำ�้ ซ้อนกบั ทางราชการ จงึพชั รกติ ยิ าภา ทรงไดร้ บั แรงพระบนั ดาลใจจากการเสดจ็ เยย่ี มเยยี น ไดท้ รงริเรม่ิ โครงการกำ� ลังใจข้ึน ในวนั ท่ี 31 ตุลาคม ปี 2549 ณและประทานส่ิงของแก่ผู้ต้องขังหญิงและเด็กติดผู้ต้องขังหญิง ทณั ฑสถานหญงิ กลาง กรงุ เทพมหานครเปน็ แหง่ แรก กอ่ นจะขยายณ ทณั ฑสถานหญงิ กลาง กรงุ เทพมหานคร เมอ่ื วนั ท่ี 14 ไปส่เู รือนจำ� ในภมู ภิ าคต่าง ๆ ในประเทศกรกฎาคม ปี 2544 ท�ำใหท้ รงทราบถึงปญั หาของผู้ต้องขงั หญงิ ท่ีขาดโอกาสต่าง ๆ ในชีวติ ไป เช่นเดยี วกบั เดก็ ทีถ่ ือก�ำเนดิ ใน ภายใต้โครงการกำ� ลงั ใจ มกี ารจดั ทำ� กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอื่ ชว่ ยเหลอืเรอื นจำ� ทตี่ อ้ งอยใู่ นสภาพทขี่ าดโอกาสไปดว้ ย ดงั นน้ั เพอ่ื ชว่ ยเหลอื ส่งเสรมิ และพัฒนากลุม่ เปา้ หมายในการเตรยี มพรอ้ มใหผ้ ้ตู อ้ งขงัสง่ เสริม และพฒั นากลมุ่ เป้าหมายผู้ตอ้ งขังสตรี เด็กตดิ ผู้ต้องขัง สามารถกลบั คนื สสู่ งั คมไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ดว้ ยการอบรมทางกลุ่มเดก็ และเยาวชนทก่ี ระทำ� ผดิ และกลมุ่ ผขู้ าดโอกาสอน่ื ๆ ใน ทศั นคตใิ นการใชช้ วี ติ และการฝกึ อาชพี ใหพ้ งึ่ พาตนเองไดแ้ ละไม่กระบวนการยุติธรรม ใหส้ ามารถมกี ลับมาด�ำรงชวี ิตเปน็ คนดี หวนกลบั ไปกระท�ำความผิดซ้�ำ

21 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceโครงการพฒั นาคุณภาพชวี ิตผู้ต้องขังหญงิ ในเรือนจำ�โครงการยกร่างมาตรฐานการพัฒนามาตรฐานผู้ต้องขังหญิง 21 ธนั วาคม ปี 2553 ในชือ่ “ขอ้ กำ� หนดสหประชาชาตวิ ่าด้วย(Enhancing Lives of Female Inmates – ELFI) เปน็ โครงการ การปฏบิ ตั ิตอ่ ผูต้ ้องขงั หญงิ และมาตรการทีม่ ิใช่การคุมขังระดบั นานาชาติ เพอื่ ผลกั ดันในการเปล่ียนแปลงมาตรฐานใน ส�ำหรบั ผู้กระท�ำผดิ หญิง” (United Nations Rules for theการปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั หญงิ ทว่ั โลก เสรมิ กบั ขอ้ กำ� หนดมาตรฐาน Treatment of Women Prisoners and Non-custodialขนั้ ตำ�่ วา่ ดว้ ยการปฏบิ ตั ผิ ตู้ อ้ งขงั ในเรอื นจำ� (Standard Minimum Measures for Women Offenders) หรือ ข้อก�ำหนดกรุงเทพRules for the Treatment of Prisoners) ซงึ่ ถูกยกรา่ งและน�ำไป (The Bangkok Rules) ซงึ่ ตอ่ มาไดม้ กี ารขยายผลเพอื่ นำ� ไปปฏิบตั ติ ้ังแต่ ปี 2498 จากการยกร่างโครงการ ELFI ทเ่ี น้นใหเ้ ห็น ปฏบิ ัตใิ นเรอื นจ�ำท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ โดยมกี ารฝกึ อบรมถึงปัญหาหลักของผู้ต้องขังหญิงท้ังในด้านความไม่เหมาะสมของ เจา้ หนา้ ทรี่ าชทณั ฑ์ ตลอดจน TIJ ดำ� เนินการจัดทำ� โครงการสถานทคี่ มุ ขัง ความต้องการท่ีแตกต่างจากผ้ตู อ้ งขังชาย และการ เรือนจำ� ต้นแบบตามขอ้ กำ� หนดกรงุ เทพขน้ึ เพือ่ ชว่ ยให้เรอื นจำ� ที่เลือกปฏบิ ัติอนั นำ� ไปสูก่ ารละเมิดสทิ ธมิ นษุ ยชน และได้มีการน�ำ สนใจและมคี วามพรอ้ ม น�ำข้อกำ� หนดนีส้ ูก่ ารปฏิบตั อิ ย่างเต็มเสนอตอ่ เวทีนานาชาติ ได้นำ� ไปสกู่ ารจัดทำ� “รา่ งข้อกำ� หนด รูปแบบ โดยในปี 2559 มีเรือนจำ� ที่ได้รับการประกาศเป็นเรือนจำ�สหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงในเรือนจ�ำและ ตน้ แบบ 3 แห่ง คือ ทัณฑสถานหญิงเชยี งใหม่ เรือนจ�ำจงั หวัดมาตรการท่ีไมใ่ ชก่ ารคุมขงั สำ� หรับผกู้ ระทำ� ผดิ หญิง” ซงึ่ ไดร้ ับ พระนครศรอี ยุธยา เรอื นจำ� จงั หวดั อุทัยธานี และในปี 2560การรับรองในท่ปี ระชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยท่ี 65 (65th อกี 3 แหง่ ไดแ้ ก่ ทัณฑสถานหญงิ ชลบุรี เรือจำ� กลางสมุทรสาครUnited Nations General Assembly – UNGA) ในวันที่ และทัณฑสถานปทมุ ธานี

22รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพอ่ื การยุติธรรมแห่งประเทศไทยกรรมการโดยต�ำแหนง่ร.ต.ต. พงษน์ ิวัฒน์ ยทุ ธภณั ฑ์บรภิ าร นายอธิคม อนิ ทภุ ตู ิ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจอัยการสูงสุด เลขาธกิ ารสำ� นักงานศาลยตุ ธิ รรม อดีตปลัดกระทรวงยตุ ธิ รรมกรรมการโดยต�ำแหนง่ ท�ำหน้าทป่ี ระธานกรรมการศาสตราจารยพ์ เิ ศษ วศิ ษิ ฏ์ วศิ ษิ ฏส์ รอรรถ นางสาวพรประไพ กาญจนรนิ ทร์ นางกาญจนา ภทั รโชคปลัดกระทรวงยตุ ธิ รรม อดีตอธิบดกี รมองค์การระหว่างประเทศ อธบิ ดีกรมองค์การระหว่างประเทศ (ผู้แทนปลดั กระทรวงการต่างประเทศ)

23 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceกรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ินายวทิ ยา สรุ ิยะวงค์ คุณหญงิ ปทั มา ลสี วัสดต์ิ ระกลูรองปลดั กระทรวงยุตธิ รรม กรรมการกลางมลู นิธิรามาธบิ ดีดร.รอยล จติ รดอน ศาสตราจารย์ ดร.สรุ ศกั ดิ์ ลขิ สิทธิว์ ัฒนกลุทปี่ รกึ ษาสถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ�้ อาจารยป์ ระจ�ำคณะนิติศาสตร์และการเกษตร มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

24รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพือ่ การยุตธิ รรมแหง่ ประเทศไทยผู้อำ� นวยการ ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ ดร.กติ ตพิ งษ์ กติ ยารกั ษ์

25 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceท่ปี รกึ ษาพเิ ศษ เอกอคั รราชทตู อดิศกั ด์ิ ภาณพุ งศ์ ดร.นทั ธี จติ สว่าง

26รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพ่ือการยตุ ธิ รรมแห่งประเทศไทย2ก5ิจ6ก0รรมส�ำคัญ

27 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justice TIJ กับบริบทการท�ำงานที่เปลย่ี นแปลงหลังจากท่ี TIJ ได้รับการรับรองจาก UNODC ให้มีสถานะเป็น เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ของ UNODC ตามมติคณะรฐั มนตรี เมือ่สถาบนั เครอื ขา่ ย UN-PNI ในปี 2560 TIJ ไดด้ �ำเนินงานสรา้ ง วันที่ 24 มกราคม 2560 เพ่ือเพิ่มบทบาทเชงิ รุกในการส่งเสรมิบรรทัดฐานและมาตรฐานการด�ำเนินงานภายในองค์กรใหม่ หลักนิติธรรมให้เกิดขึ้นในสังคม และช่วยยกระดับมาตรฐาน(Norming) เพ่ือเป็นพ้ืนฐานส�ำหรับการท�ำงานต่อไปข้างหน้า กระบวนการยตุ ิธรรมในภูมภิ าคอาเซียนให้เป็นมาตรฐานสากลอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อให้องค์กรด�ำเนินบทบาทและมีความสามารถในการรักษาสถานภาพการเป็นสถาบันเครือข่าย ผลการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญของสถาบันในปีน้ีจึงมีความUN-PNIs อย่างเข้มแขง็ และยัง่ ยืน ครอบคลุมภารกิจของสถาบัน ท้งั ในดา้ นการสนับสนุนงานของ งานของทูตสันถวไมตรีแห่งส�ำนักงานว่าด้วยยาเสพติดและTIJ ยดึ ถอื หลกั การวางแผนกลยทุ ธท์ กี่ ำ� หนดทศิ ทางและเปา้ หมาย อาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (Goodwill Ambassador) การอยา่ งชดั เจนทง้ั ในระยะสัน้ และระยะปานกลาง เพิ่มแผนงานเชงิ รกุ ท่ี สง่ เสรมิ บทบาทในฐานะ UN-PNIs ในเวทรี ะหว่างประเทศ การเป็นรปู ธรรม (Action Oriented) และเนน้ ขยายความร่วมมอื และ สง่ เสริมการอนุวัติข้อก�ำหนดกรุงเทพ และมาตรฐานระหว่างขอบเขตการท�ำงานร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เก่ียวข้องอย่าง ประเทศทีเ่ กย่ี วข้องกบั ผู้ต้องขัง การสง่ เสรมิ หลกั นิติธรรมกับการใกล้ชดิ มากขน้ึ ท้ังระหว่างสถาบนั เครือข่าย UN-PNIs อ่ืน ๆ พัฒนาทีย่ ่งั ยนื และการสง่ เสรมิ สิทธขิ องผหู้ ญิงและเด็ก เปน็ ตน้หน่วยงานและสถาบันการศึกษานานาชาติ รวมท้ังหน่วยงานปฏิบัติในกระบวนการยุติธรรมภายในประเทศและในภูมิภาคอาเซยี นแผนเชิงรุกยังรวมไปถึงการด�ำเนินงานอย่างเข้มแข็งในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบหลัก ในการสนับสนนุ การปฏิบตั ิงานด้านการประสานงานและด้านสารตั ถะ แดพ่ ระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ในต�ำแหน่งทูตสันถวไมตรีด้านการส่งเสริมหลักนิติธรรมและระบบงานยุติธรรมทางอาญาส�ำหรับภูมิภาค

28รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพือ่ การยตุ ิธรรมแห่งประเทศไทยTIอJาสชนญบั าสกนรนุ รงมาแนหข่งอสงหทปตู รสะชันาถชวาไตมิต(UรีNแหO่งDสCำ� นGกั oงoาdนwว่าilดl Aว้ ยmยbาaเสsพsaตdิดoแrล) ะ TIJ เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลกั ในการถวายการสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านด้านการประสานงาน และดา้ นสารัตถะ แดพ่ ระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พชั รกติ ยิ าภา ในตำ� แหนง่ ทตู สนั ถวไมตรดี า้ นการ สง่ เสรมิ หลกั นติ ธิ รรมและระบบงานยตุ ิธรรมทางอาญาส�ำหรบั ภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ของ UNODC โดยมีบทบาทหนา้ ที่ตามกรอบการท�ำงาน ดงั นี้ 1 สง่ เสริมการนำ� แนวปฏิบัติทดี่ แี ละมาตรฐานสหประชาชาตทิ ่เี ก่ียวข้องกับการป้องกนั อาชญากรรม และความยตุ ธิ รรมทางอาญามาใชก้ บั ประเทศในอาเซียน 2 สง่ เสรมิ ความเข้าใจเกย่ี วกบั หลกั นติ ิธรรมและการพฒั นาทีย่ งั่ ยืน (SDG Goal 16) ในหม่ปู ระเทศ ต่าง ๆ ในอาเซียน 3 เผยแพร่พระกรณียกิจและแนวพระดำ� รทิ ่ีเก่ียวข้องกับหลักนิติธรรมและการพัฒนา ในพระบาท สมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร

29 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceการอภิปรายระดับสูงของสมัชชาสหประชาชาติว่าด้วยอาชญากรรมท่ีจัดต้ังในลักษณะองคก์ รพระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พัชรกติ ยิ าภา ทูตสันถวไมตรีดา้ นการส่งเสรมิ หลกั นติ ิธรรมและระบบงานยตุ ิธรรมทางอาญาส�ำหรับภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ทรงเข้ารว่ มการอภิปรายระดบั สูงของสมชั ชาสหประชาชาตวิ ่าดว้ ยอาชญากรรมท่ีจดั ตง้ั ในลกั ษณะองค์กร วนั ท่ี 23 มถิ ุนายน 2560 ท่ีส�ำนกั งานสหประชาชาติ นครนวิ ยอร์ก สหรัฐอเมริกา โดยมีผบู้ ริหารระดบั สูงจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ของประเทศไทย อาทิกระทรวงต่างประเทศ สำ� นกั งานอัยการสูงสุด และสถาบนั เพ่อื การยุตธิ รรมแห่งประเทศไทยเขา้ ร่วมงานงานดงั กล่าวเป็นการประชมุ ระดับสงู จัดข้นึ เพ่อื รำ� ลึกในโอกาสครบรอบ 25 ปขี องเหตกุ ารณท์ ี่นายจโี อวานนีฟาลคอนี ผู้พิพากษาชาวอติ าลี ถูกลอบสงั หารโดยกลุ่มองคก์ รอาชญากรรม โดยมุ่งเน้นประเด็นการปฏบิ ัติตามอนสุ ญั ญาสหประชาชาติ เพอ่ื ตอ่ ตา้ นอาชญากรรมขา้ มชาตทิ จี่ ดั ตงั้ ในลกั ษณะองคก์ ร และพธิ สี ารแนบทา้ ยเพ่ือให้ประเทศสมาชิกได้หารือเก่ียวกับแนวโน้มและความท้าทายในการรับมือกับองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติตลอดจนผลกระทบต่อการพัฒนาทย่ี ่ังยืนในท่ปี ระชมุ ใหญ่ พระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พัชรกติ ิยาภา ไดท้ รงกล่าวถ้อยแถลงยกยอ่ งความกล้าหาญและผลงานของผพู้ พิ ากษาจโิ อวานี ฟาลคอนี และเจ้าหนา้ ทีร่ ัฐที่เสยี ชีวิตจากการลงมอื ของอาชญากรรมที่จัดตั้งในลักษณะองคก์ ร และทรงเนน้ ยำ�้ วา่ วาระการพฒั นาทีย่ งั่ ยนื ค.ศ. 2030 จะส�ำเรจ็ ไดจ้ ะต้องมกี ารจดั การเสริมสร้างหลักนิติธรรมและความม่ันคงขึ้น ซึ่งในประเด็นดังกล่าวการปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติท่จี ดั ตัง้ ในลักษณะองค์กรนบั เปน็ ภารกจิ สำ� คญั ยิง่ภายในงานยงั มกี ารประชุมกิจกรรมคขู่ นาน เรอื่ ง “ความท้าทายจากองคก์ รอาชญากรรมและความรว่ มมือในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต”้ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกติ ิยาภา ทรงมพี ระด�ำรสั วา่ เพยี งการลงนามในสนธสิ ัญญาระหว่างประเทศยงั ไม่เพียงพอ ประเทศตา่ ง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน ควรมีการรว่ มมือกันในลกั ษณะข้ามพรมแดนท้งั ในการบังคับใช้กฎหมาย และการใหค้ วามช่วยเหลือทางกฎหมายในทางอาญาแกก่ นัและกนั นอกจากนี้ ประเทศตา่ ง ๆ จำ� เปน็ ต้องเสรมิ สร้างความรว่ มมือเพ่อื ชว่ ยเหลือและคุ้มครองเหยือ่ ของอาชญากรรมข้ามชาติ รวมถงึ ชมุ ชนด้วยเช่นกัน พร้อมกนั น้ี ทรงกล่าวถึง ความเช่อื มโยงและเก้อื กูลกันระหวา่ งวิสยั ทัศนอ์ าเซียนปี ค.ศ. 2025 กับวาระแห่งการพัฒนาท่ียง่ั ยนื ของสหประชาชาติ ซง่ึ เอกสารทัง้ สองฉบับจะชว่ ยวางกรอบแนวทางในอนาคต และเน้นย�้ำถึงความจ�ำเปน็ ของหลกั นติ ธิ รรม สนั ติภาพ และเสถยี รภาพ ทีจ่ ะน�ำไปส่กู ารพฒั นาที่ยั่งยืน

30รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพ่อื การยุตธิ รรมแหง่ ประเทศไทย การประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยการปราบปรามอาชญากรรมข้าม ชาติ และหลกั ประกนั ทางกฎหมายสำ� หรบั ขอ้ รเิ รมิ่ หนงึ่ แถบหนงึ่ เสน้ ทาง พระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พัชรกติ ยิ าภา เสดจ็ เยอื นกรุงปักกิ่ง สาธารณรฐั ประชาชนจนี ระหวา่ งวนั ท่ี 7 - 9 กันยายน 2560  ตามค�ำกราบทลู เชิญของรฐั บาลสาธารณรฐั ประชาชนจนี เพอ่ื ทรงรับการถวายปริญญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ติมศกั ด์ิ สาขากฎหมาย จากมหาวทิ ยาลยั อูฮ่ น่ั และทรงเข้าร่วมการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยการปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติและ หลักประกันทางกฎหมายสำ� หรับข้อริเริ่มหนงึ่ แถบหนงึ่ เส้นทาง (International Symposium on Fighting against Transnational Organized Crime and Legal Safeguards for the Belt and Road Initiative) ณ วิทยาลัยธรุ กจิ ไทค่ งั โดยมีศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.กิตตพิ งษ์ กติ ยารกั ษ์ ผอู้ ำ� นวยการสถาบนั ฯ และคณะเจา้ หนา้ ทส่ี ถาบนั ฯ ตามเสดจ็ ถวายงานดา้ นสารตั ถะ   การประชมุ ระหวา่ งประเทศดงั กลา่ วเปน็ การประชมุ วชิ าการระดบั สงู มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื แลกเปลยี่ น ความคิดเห็นเก่ียวกับมาตรการทางกฎหมายเพื่อสนับสนุนการส่งเสริมการบรรลุข้อริเร่ิมหน่ึง แถบหนึง่ เสน้ ทาง (One Belt One Road Initiative) ซง่ึ เป็นวาระการพฒั นาระดบั ภูมิภาคทมี่ ี ความส�ำคัญตอ่ การพฒั นาในหลายมติ ทิ ัง้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และความรว่ มมือระหวา่ ง ประเทศ จัดขึน้ โดยกรมสนธสิ ญั ญาและกฎหมาย กระทรวงการตา่ งประเทศ สาธารณรฐั ประชาชนจีน รว่ มกับมหาวทิ ยาลยั อู่ฮั่น (Wuhan University) และวทิ ยาลยั ธรุ กิจไท่คงั (Taikang Business School) การประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยการปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติและหลักประกันทาง กฎหมายส�ำหรับข้อริเร่ิมหน่ึงแถบหน่ึงเส้นทางถือเป็นกิจกรรมภายใต้โครงการเสริมสร้าง ศกั ยภาพของ China-AALCO Exchange and Research Program on International Law

31 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justice(CAERP) ซึง่ จัดขึ้นเป็นคร้ังท่ี 3 ตามนโยบายของประธานาธิบดีสี จ้นิ ผิง และนายกรฐั มนตรีหล่ี เคอ่ เฉยี ง ของสาธารณรฐั ประชาชนจีน โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนและการวจิ ยั เรื่องกฎหมายระหว่างประเทศ สำ� หรบั รฐั สมาชิกขององค์การท่ีปรกึ ษากฎหมายแหง่เอเชียและแอฟรกิ า (Asian African Legal Consultative Organization- AALCO) อนั ประกอบไปดว้ ยประเทศสมาชิกรวม 47 ประเทศ ในภูมภิ าคเอเชยี และแอฟริกา รวมท้งั สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศไทยพระเจา้ หลานเธอ พระองค์เจา้ พัชรกิติยาภา ทรงมีพระด�ำรัสประทานแกผ่ ้เู ขา้ ร่วมการประชมุกล่าวถงึ ความส�ำคัญของข้อริเร่ิมหนึ่งแถบหนึง่ เสน้ ทาง ซ่ึงเป็นโครงการพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานและการลงทนุ ขนาดใหญ่ ครอบคลุมพืน้ ที่การพัฒนาในกว่า ๖๐ ประเทศ จากภมู ภิ าคเอเชียแปซฟิ กิ ไปถงึ แอฟรกิ าวา่ จะชว่ ยส่งเสรมิ การพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคมในระดับภมู ิภาคและการยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของประชาชน รวมถงึ อาจส่งผลตอ่ อาชญากรรมขา้ มชาติทีอ่ าจมีรูปแบบทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป มคี วามซบั ซอ้ นและรุนแรงมากขน้ึ จากการเช่ือมตอ่ การลงทนุ ในระดบัภูมิภาค และโอกาสในการพัฒนาเครือข่ายองค์กรอาชญากรรม รวมทั้งขอบเขตการแสวงหาประโยชน์จากการกระท�ำผดิ กฎหมาย โดยอาศัยช่องวา่ งทางกฎระเบียบในประเทศและระหว่างประเทศต่าง ๆ ท่มี ขี ึ้นเพ่อื ส่งเสริมข้อริเร่มิ หนง่ึ แถบหน่ึงเส้นทางการนี้ พระเจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จ้าพชั รกติ ยิ าภา ทรงเนน้ ยำ้� ถงึ ความส�ำคญั ของการสง่ เสรมินโยบายดา้ นการป้องกนั อาชญากรรมข้ามชาติ เพื่อลดความเสยี่ งท่ีจะเกดิ อาชญากรรมและลดผลกระทบจากอาชญากรรม การส่งเสรมิ ความรว่ มมือระหว่างประเทศดา้ นกฎหมายและกระบวนการยตุ ิธรรม รวมท้งั การน�ำแนวทางการพฒั นาท่ียง่ั ยืนตามขอ้ มติสมชั ชาใหญ่แห่งสหประชาชาตวิ า่ ด้วยวาระการพฒั นาท่ยี ่ังยืน ค.ศ. 2030 และเป้าหมายการพฒั นาที่ยัง่ ยืนของสหประชาชาติทงั้ 17 เป้าหมาย (Sustainable Development Goals) มาใช้เปน็ กรอบแนวทางในการด�ำเนนิ การภายใต้ข้อรเิ ริม่ หนง่ึ แถบหนึง่ เสน้ ทาง โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ เป้าหมายท่ี16 วา่ ดว้ ยการส่งเสรมิ หลกั นิตธิ รรม เพื่อใหก้ ารพัฒนาเปน็ ไปอยา่ งสมดุล ย่งั ยืน โดยมีหลกัประกันวา่ ประชาชนและชมุ ชนทุกภาคส่วน รวมถึงกลุ่มเปราะบางในสงั คมจะไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการพฒั นารว่ มกัน ศาสตราจารยพ์ ิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารกั ษ์ ผู้อำ� นวยการสถาบนั ฯ ได้ร่วมอภิปราย โดยน�ำเสนอประสบการณข์ องประเทศในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และผลการศึกษาวิจยัของ TIJ รว่ มกับสถาบนั วจิ ยั เพอ่ื การยตุ ิธรรมและอาชญากรรมระหว่างภมู ิภาค  (UnitedNations Interregional Crime and Justice Research Institute – UNICRI) และส�ำนักงานปอ้ งกันยาเสพติดและปราบปรามอาชญากรรมแหง่ สหประชาชาติ (UN Office on Drugs andCrime – UNODC) เกยี่ วกบั การส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การอ�ำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุนในภูมิภาค และผลกระทบโดยอ้อมในทางลบของการรวมกลุ่มในระดับภูมิภาค ซึ่งส่งผลให้อาชญากรรมข้ามชาติพัฒนาและขยายตัวไปในหลายพื้นที่ของประเทศต่าง ๆขณะเดยี วกนั การผอ่ นผันกฎระเบยี บต่าง ๆ ก็ทำ� ให้การตดิ ตามเฝา้ ระวงั และบงั คบั ใชก้ ฎหมายเป็นไปอย่างยากล�ำบาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงในประเทศท่ียังมีมาตรการทางกฎหมายและระเบียบที่ยังไม่เข้มแข็งผู้เข้าร่วมการอภิปรายในการประชุมดังกล่าว ยงั ประกอบด้วย ศาสตราจารย์ ดร.เคเนดีแกสธอร์น เลขาธิการองคก์ ารทป่ี รึกษากฎหมายแหง่ เอเชยี และแอฟริกา (Asian African LegalConsultative Organization- AALCO) ศาสตราจารย์พิเศษสรุ เกียรติ์ เสถียรไทย ประธาน

32รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพอ่ื การยุตธิ รรมแหง่ ประเทศไทย คณะมนตรีเพือ่ สนั ติภาพและการปรองดองแห่งเอเชีย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รฐั มนตรวี า่ การ กระทรวงการคลงั และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ ศาสตราจารยท์ อม ซวอร์ต อาจารย์ประจำ� คณะนิติศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อูเทรกต์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ (Utrecht University) นางเทเรซา เจิ้ง ประธานสถาบันวิจยั กฎหมายระหวา่ งประเทศแหง่ เอเชีย (Asian Academy of International Law-AAIL) และทป่ี รกึ ษาอาวุโสรัฐบาลเขตบริหารพเิ ศษฮอ่ งกง ศาสตราจารย์กติ ติคุณอ้ีเสยี่ วเหอศาสตราจารย์สาขากฎหมายระหวา่ งประเทศมหาวทิ ยาลัย อฮู่ น่ั โดยมีผูด้ �ำเนนิ การอภิปราย คอื ศาสตราจารยห์ วง เจยี่ ฟ่าง นกั กฎหมายอาวโุ ส องค์การ การบินพลเรือนระหวา่ งประเทศ นอกจากน้ี พระเจ้าหลานเธอ พระองคเ์ จา้ พชั รกิติยาภา ได้ทรงประทานวโรกาสให้ นายหลี่ หยวนเฉา รองประธานาธิบดี และนายจาง จนุ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงยุตธิ รรม พร้อมด้วย ผู้น�ำระดบั สูงของรัฐบาลสาธารณรฐั ประชาชนจีนอน่ื ๆ เฝ้า และหารือเก่ยี วกบั ความร่วมมือ ระหวา่ งประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีสาระส�ำคัญ คือ สนับสนนุ ใหม้ คี วาม รว่ มมือดา้ นกฎหมายระหว่างกันมากข้ึน และแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันและกันเก่ียวกบั ระบบ กฎหมายภายในของแตล่ ะประเทศ ส่งเสรมิ ใหป้ อ้ งกนั อาชญากรรมทีต่ น้ ตอของปัญหา เช่น การสง่ เสริมการพัฒนาทางเลือกและการสร้างโอกาสในชีวิต ส่งเสริมการแก้ไขปัญหา อาชญากรรมทีเ่ ชือ่ มโยงกบั มาตรการทางเศรษฐกิจและสังคม ทงั้ น้ี นายจาง จุน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยตุ ิธรรม สาธารณรัฐประชาชนจนี มคี วามสนใจที่ จะมาเยือนประเทศไทยเพื่อศึกษาโครงการพัฒนาทางเลือกตามแนวพระราชด�ำริในพระบาท สมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร และโครงการตามแนวพระด�ำรใิ น พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจา้ พชั รกติ ยิ าภา ดา้ นการแก้ไขฟืน้ ฟผู ู้กระท�ำความผดิ ลดการ กระท�ำผดิ ชำ้� โดยใชแ้ นวทางท่มี ่งุ เน้นการสรา้ งโอกาสใหแ้ กผ่ ู้กระท�ำผิดด้วย

33 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceการประชุมคณะกรรมาธิการยาเสพติดของสหประชาชาติ สมัยท่ี 60พระเจา้ หลานเธอ พระองคเ์ จา้ พชั รกติ ยิ าภา เสดจ็ ไปยงั สำ� นกั งานสหประชาชาติ ณ กรงุ เวยี นนาเพ่ือทรงเข้ารว่ มการประชุมคณะกรรมาธกิ ารยาเสพติดของสหประชาชาติ (Commission onNarcotic Drugs - CND) สมัยที่ 60 ซงึ่ จัดขนึ้ ระหว่างวนั ที่ 13 - 17 มนี าคม 2560 โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อเน้นประเด็นการตดิ ตามผลการด�ำเนนิ งาน ตามเอกสารผลลัพธก์ ารประชุมสมชั ชาสหประชาชาตสิ มยั พเิ ศษวา่ ดว้ ยปญั หายาเสพตดิ โลกในปี ค.ศ. 2016 (UNGASS 2016)ในวนั ท่ี 13 มีนาคม 2560 พระเจา้ หลานเธอ พระองค์เจา้ พัชรกิตยิ าภา ทรงร่วมพิธีเปิดการประชุม และประทานพระดำ� รสั ในฐานะทูตสนั ถวไมตรีของ UNODC  มใี จความเกยี่ วเน่ืองกับการแก้ไขปญั หายาเสพติด โดยค�ำนึงถงึ บริบททางสงั คมและวิถชี วี ิตของประชาชน ทรงยกตัวอยา่ งจากโครงการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร จากนัน้ ทรงเปิดนิทรรศการที่จดั โดย TIJ และกระทรวงยตุ ธิ รรมไทย นำ� เสนอกระบวนการพัฒนาทางเลอื กในบรบิ ทของประเทศไทยตามแนวพระราชดำ� รฯิ ซง่ึ เปน็ ต้นแบบท่ีไดร้ บั การยอมรบั ในระดับนานาชาติ  วนั ที่ 14 มนี าคม ทรงเปน็ องค์ด�ำเนินรายการกิจกรรมคูข่ นาน ในหวั ข้อความมั่นคงของมนษุ ย์และหลักนิตธิ รรม (High-level Panel Discussion on Human Security and the Rule ofLaw: Alternative Development’s Contribution to the 2030 Agenda for SustainableDevelopment)  ซงึ่ TIJ และรัฐบาลไทย ร่วมกบั รฐั บาลเยอรมัน เปรู โคลอมเบยี และ UNODCจัดขน้ึ โดยมนี ายยรู ่ี เฟโดทอฟ ผู้อ�ำนวยการบริหารของ UNODC ส�ำนักงานใหญ่ และผทู้ รงคุณวฒุ จิ ากประเทศตา่ ง ๆ ร่วมบรรยาย

34รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบนั เพ่อื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย

35 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceหนงั สือหลกั นติ ิธรรมพระทรงธรรมเพื่อการส่งเสริมหลักนติ ธิ รรมและการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื TIJ ยงั ได้จดั ทำ� หนังสือ “หลักนิติธรรมพระทรงธรรม” ขน้ึ เพือ่ รวบรวมพระราชกรณยี กจิ ตลอดรชั สมยั แหง่ การครองราชยข์ องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทที่ รงดำ� รพิ ระองค์เป็นแบบอยา่ งของผ้ทู ย่ี ดึ มั่นในหลกั นิตธิ รรม และควรคา่ แกก่ ารหยิบยกมาศกึ ษาเพอื่ ท�ำความเขา้ ใจแงค่ ิดเกยี่ วกับหลกั นติ ิธรรมใหล้ ึกซ้งึ ยง่ิ ขึน้ โดยหวงั วา่ พระราชกรณยี กจิ หรอื แนวพระราชดำ� รทิ นี่ ำ� ไปสกู่ ารดำ� เนนิ โครงการท่ีไดส้ อดแทรกหลกั นติ ธิ รรมไว้ในหนงั สอื จะชว่ ยสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหผ้ อู้ า่ นเกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจในเรอื่ งหลกั นติ ธิ รรม และนำ� ไปสกู่ ารศกึ ษาแนวคดิ เรอื่ งหลกั นติ ธิ รรม ตลอดจนการนำ�หลักการไปปฏิบัติ อันจะก่อใหเ้ กดิ การสร้างสรรค์สงั คมทเ่ี ปิดโอกาสให้ทกุ คนเข้าถึงประโยชน์แหง่ การพฒั นาได้อย่างเปน็ ธรรม โดยมีกฎหมายเปน็ กลไกสำ� คญั ทง้ั ยงั เปน็ การสบื สานพระราชปณธิ านในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร สบื ไป

36รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบนั เพ่ือการยุติธรรมแหง่ ประเทศไทย TIJ กับบทบาท UN-PNIs ในเวทีระหว่างประเทศ พนั ธกจิ ของ TIJ  ทสี่ �ำคัญประการหนงึ่ คอื สร้างเครือข่ายความรว่ มมอื กับสถาบนั เครือขา่ ย แผนงานสหประชาชาตดิ ้านการปอ้ งกนั อาชญากรรมและความยตุ ิธรรมทางอาญา (United Nations Programme Network Institutes – UN-PNIs) หลงั จากไดร้ บั การรับรองสถานะให้ เปน็ หนง่ี ในเครอื ขา่ ย UN-PNIs อยา่ งเปน็ ทางการ จากสำ� นกั งานวา่ ดว้ ยยาเสพตดิ และอาชญากรรม แห่งสหประชาชาติ (United Nations Office on Drugs and Crime - UNODC) ส่งผลให้ TIJ เปน็ องคก์ รแรกของภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ ่ีไดเ้ ขา้ รว่ มเปน็ เครอื ขา่ ย UN-PNIs และเปน็ องคก์ รที่ 18 ของโลก สำ� หรบั ในปี 2560 TIJ ได้กระชับและส่งเสริมความรว่ มมอื กับเครอื ขา่ ย UN-PNIs ท่ัวโลกอยา่ ง ต่อเนอื่ งและมผี ลการด�ำเนินงานทนี่ ่าสนใจ ท้งั ในดา้ นการรว่ มมอื กนั ท�ำงานวิจัย และร่วมมือกัน เผยแพร่องคค์ วามรแู้ ละผลงานทางวิชาการ

37 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceการประชุมคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยตุ ิธรรมทางอาญา สมัยที่ 26TIJ ได้เขา้ รว่ มการประชุมคณะกรรมาธิการสหประชาชาติวา่ ดว้ ยการป้องกนั อาชญากรรมและความยุตธิ รรมทางอาญา (The Commission on Crime Prevention and Criminal Justice - CCPCJ) สมัยที่ 26 ระหวา่ งวันท่ี 22-26 พฤษภาคม 2560 ณ กรงุ เวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย โดยหวั ขอ้ การอภปิ รายหลกั ส�ำหรับการประชมุ คณะกรรมาธกิ ารฯ ในครงั้ นค้ี อื “ยทุ ธศาสตรก์ ารปอ้ งกนั อาชญากรรมทค่ี รอบคลมุ และมกี ารบรู ณาการ :การมสี ว่ นรว่ มของสาธารณชน นโยบายทางสงั คม และการศกึ ษาในการสนบั สนนุ หลกั นติ ธิ รรม” (Comprehensiveand integrated crime prevention strategies: public participation, special policies and education insupport of the rule of law) ในโอกาสดังกลา่ ว TIJ  ได้ดำ� เนนิ บทบาทส�ำคัญ ดงั น้ี  (1) ใหก้ ารสนบั สนนุ ในการยกรา่ งถอ้ ยแถลงบางสว่ นของผแู้ ทนรฐั บาลไทยในการประชมุ หลกั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ถ้อยแถลงส�ำหรับระเบียบวาระท่ีเกี่ยวกับผลด�ำเนินงานของส�ำนักงานป้องกันยาเสพติดและปราบปรามอาชญากรรมแหง่ สหประชาชาติ (UNODC) และสถาบันเครือข่าย UN-PNIs  และระเบียบวาระทเ่ี กยี่ วกับการติดตามผลการด�ำเนินงานตามปฏิญญาโดฮาที่รับรองในการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยตุ ธิ รรมทางอาญา สมยั ที่ 13 และการเตรียมการเพือ่ การจัดการประชมุ สมยั ที่ 14นอกจากนี้ สถาบนั ฯ ยงั ไดย้ กรา่ งขอ้ มตแิ ละผลักดนั ร่างข้อมตทิ เี่ สนอในนามของประเทศไทยเก่ยี วกบั การส่งเสรมิ มาตรการทางเลือกแทนการคุมขงั ซึง่ ได้ผ่านการพจิ ารณาอนมุ ตั ิจากคณะกรรมาธกิ ารฯ โดยจะไดน้ �ำเสนอตอ่ ที่ประชมุ คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแหง่ สหประชาชาตสิ มัยท่ี 26 ในชว่ งเดือนกรกฎาคมเพอ่ื การรับรองอยา่ งเป็นทางการในล�ำดับตอ่ ไป(2) จัดกจิ กรรมคู่ขนาน ใน 3 หัวข้อ คอื    (2.1) Emerging Transnational Organized Crime (TOC) Challenges base on regionalcontext and related law enforcement response              (2.2) Promoting the Implementation the UN Model Strategies and Practical Measures onthe Elimination of Violence against Children in the Field of Crime Prevention and Criminal Justice (2.3) Global Prison Trends and the Links between Criminal Justice and SustainableDevelopment

38รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบนั เพ่อื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย

39 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceเจ้าภาพการประชุมอาเซียนว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยตุ ธิ รรมทางอาญา ครงั้ ท่ี 1TIJ รว่ มกับกระทรวงยุตธิ รรมเป็นเจา้ ภาพจัดการประชุมอาเซยี นว่าด้วยการป้องกนัอาชญากรรมและความยตุ ิธรรมทางอาญา ครง้ั ท่ี 1 (The First ASEAN Conferenceon Crime Prevention and Criminal Justice : ACCPCJ) ระหวา่ งวนั ท่ี 9-11พฤศจิกายน 2559 ทโี่ รงแรมดสุ ิตธานี กรงุ เทพฯ ในหวั ข้อ “การยกระดับมาตรการป้องกันอาชญากรรมและสถาบันยุติธรรมทางอาญาเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืนของประชาคมอาเซยี น” โดยทปี่ ระชุมได้มีการเสนอแนะในประเดน็ ส�ำคัญ ดงั น้ี 1.1 เร่อื งมาตรการรองรบั ภยั คุกคามใหม่ด้านการลกั ลอบการค้าสัตวป์ า่ และค้าไมผ้ ดิ กฎหมายในภมู ิภาคอาเซยี น เสนอให้ทบทวนความแตกตา่ งระหว่างกฎระเบยี บและแนวปฏิบตั ิที่ส�ำคัญระหวา่ งประเทศสมาชกิ เพอ่ื นำ� ไปสู่การขยายความร่วมมอื ทางกฎหมายและการบงั คับใชก้ ฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ ง สง่ เสริมการจัดเกบ็ และแลกเปลย่ี นข้อมูลและสถิติทีเ่ ก่ียวขอ้ งร่วมกนั ตลอดจนสนบั สนนุ การบูรณาการความรว่ มมอื ระหวา่ งองคก์ รอาเซยี นท่ีมีบทบาทส�ำคัญ ไดแ้ ก่ การประชุมระดับเจ้าหนา้ ท่อี าวโุ สอาเซยี นด้านกฎหมาย (ASLOM) การประชมุ เจ้าหนา้ ทอ่ี าวุโสอาเซยี นด้านอาชญากรรมขา้ มชาติ(SOMTC) และเครอื ขา่ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ สตั วป์ า่ และพชื ปา่ ทผี่ ดิ กฎหมายในภูมภิ าคอาเซียน (ASEAN-WEN) รวมถึงภาคเอกชนและภาควิชาการ 1.2 เรอื่ งยทุ ธศาสตรก์ ารปอ้ งกนั อาชญากรรมของเดก็ และเยาวชนในเขตเมอื งท่ีประชุมเสนอให้ส่งเสริมการใช้มาตรการเบ่ียงเบนคดีให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้รวมท้ังมงุ่ เน้นมาตรการเยียวยาฟ้นื ฟูผูก้ ระท�ำผิด การสรา้ งความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานในภาคสว่ นอ่นื ๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน เช่น การส่งเสรมิ อาชพี การศึกษา สุขภาพ ที่อยู่อาศัย การมสี ว่ นรว่ มในสงั คม นอกจากนี้ เหน็ ควรให้สนบั สนุนการด�ำเนนิ งานที่เกี่ยวข้องของคณะกรรมาธิการอาเซียนเพ่ือคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิสตรีและเด็ก(ACWC) ในการพจิ ารณาพฒั นาแนวปฏบิ ตั ขิ องอาเซยี นในเรอื่ งการปอ้ งกนั อาชญากรรมในกลุ่มเด็กและเยาวชน และการปฏิบตั ทิ ีเ่ หมาะสมต่อผกู้ ระท�ำความผดิ ที่เปน็ เดก็ และเยาวชน โดยประเด็นทอี่ าจน�ำมาพจิ ารณา ได้แก่ เกณฑ์อายุของความรับผิดทางอาญากระบวนการคุ้มครองความปลอดภัยของเดก็ และเยาวชน เปน็ ตน้ 1.3 เรือ่ งมาตรการแก้ไขฟืน้ ฟูผกู้ ระทำ� ผดิ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและการปฏิรูประบบเรือนจำ� ให้ตอบสนองตอ่ กลุ่มเปราะบางได้ดขี ้ึน ทป่ี ระชุมเสนอให้ประเทศสมาชกิอาเซยี นประเมินตดิ ตามการด�ำเนินงานของระบบเรอื นจำ� ของตนเองอย่างตอ่ เน่ือง และพิจารณานำ� มาตรฐานสากลมาปรับใช้อย่างเหมาะสม ทัง้ นี้ ควรให้ความส�ำคัญกบั การลดอุปสรรคของการเข้าถงึ กระบวนการยตุ ธิ รรมของกลมุ่ เปราะบางทางสังคม เชน่ กลมุ่ผู้ต้องโทษทม่ี ีความพกิ าร ผู้ต้องโทษท่ตี ดิ เชือ้ เอชไอวี/เอดส์ ผู้ตอ้ งโทษท่ีป่วยทางจิต เป็นผ้สู ูงอายุ เปน็ ชาวต่างชาติ และผู้หญงิ นอกจากน้ี อาจพิจารณาผนวกใหป้ ระเดน็ดังกลา่ วอยู่ภายใต้กรอบความรว่ มมอื ของอาเซียนท้ังน้ี TIJ ไดเ้ สนอรายงานดงั กล่าวต่อที่ประชุมเจ้าหน้าท่อี าวโุ สอาเซียน ครง้ั ท่ี 17 (17thASEAN Senior Law Officials Meeting: ASLOM) ท่จี ดั ข้ึนระหวา่ งวนั ท่ี 14-19พฤษภาคม 2560 ณ กรงุ ปุตราจายา ประเทศมาเลเซีย เพ่ือพิจารณาดว้ ยการประชมุ ในครง้ั นม้ี ผี เู้ ขา้ รว่ มประชมุ ซง่ึ เปน็ หนว่ ยงานไทย องคก์ รอาเซยี นและหนว่ ยงานในประเทศสมาชกิ อาเซยี นอ่ืน ๆ สถาบันในเครอื ข่ายสหประชาชาติดา้ นอาชญากรรมและความยตุ ิธรรมทางอาญา (UN-PNIs) ผู้เช่ยี วชาญและนักวิชาการทัง้ ในและนอกอาเซียนและผแู้ ทนจากเวทีเยาวชน (TIJ Youth Forum) ท้งั ในและนอกภมู ภิ าคอาเซยี น

40รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบนั เพ่ือการยตุ ิธรรมแหง่ ประเทศไทย ปกอ้างรกปันรอะชาชุมญร่าางกปรฏรมิญญาอาเซียนว่าด้วยวัฒนธรรมแห่งการ ส�ำนักงานเลขาธิการอาเซียนร่วมกับรัฐบาลฟิลิปปินส์จัดการประชุมความร่วมมือ ว่าด้วยการหารืออย่างไม่เป็นทางการเก่ียวกับประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (A Coordinating Conference on the ASEAN Socio-Cultural Community Retreat—SOC-COM Retreat) ระหว่างวนั ท่ี 13-14 สิงหาคม 2560 ณ กรงุ มะนลิ า ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ เพอื่ แลกเปล่ียนขอ้ มลู และองคค์ วามรจู้ ากผู้เชี่ยวชาญซ่ึงมาจาก หนว่ ยงานต่าง ๆ รวมถงึ TIJ องคก์ ารสหประชาชาติ หนว่ ยงานภายใตป้ ระชาคมสังคม และวฒั นธรรมอาเซียน และรฐั สมาชิกอาเซียน ในการรา่ งปฏญิ ญาอาเซยี นวา่ ดว้ ย วฒั นธรรมแหง่ การปอ้ งกนั อาชญากรรม ในฐานะเครอื่ งมอื ทจี่ ะชว่ ยนำ� ไปสสู่ งั คมทสี่ งบสขุ มีส่วนรว่ มจากทกุ ภาคส่วนอย่างทวั่ ถงึ มคี วามสามารถในการฟ้นื ตวั ได้รวดเรว็ จาก เหตุการณ์ไมป่ กติ และนำ� ไปสชู่ วี ติ ความเปน็ อยู่ทีด่ ขี องพลเมอื งอาเซียน (ASEAN Declaration on a Culture of Prevention as a Means to Achieve a Peaceful, Inclusive, and Resilient Society and the Well-being of Citizens) เพอื่ รบั การ ลงมตเิ หน็ ชอบในการประชมุ ASEAN Summit ในเดอื นพฤศจกิ ายน 2560 รา่ งปฏญิ ญาดงั กล่าวมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อการปอ้ งกันความรนุ แรงประเภทตา่ ง ๆ โดยม่งุ แก้ไขทต่ี น้ ตอของปญั หาความรนุ แรง โดยเฉพาะสาเหตเุ ชงิ เศรษฐกจิ และสงั คม เชน่ ความ ยากจน ความไมเ่ ทา่ เทยี ม การกดี กันทางสงั คม คุณภาพการศึกษา ระบบสาธารณสขุ ฯลฯ ประเด็นปัญหาท่สี ำ� คัญและน�ำมาสกู่ ารร่างปฏิญญานี้ คือการมุง่ สง่ เสรมิ ให้มมี าตรการ ป้องกันอาชญากรรม 5 ประการ ได้แก่ (1) คตินยิ มสุดข้วั ที่รุนแรง (Violent extremism) (2) ความรุนแรงต่อผหู้ ญงิ เด็ก และแรงงานกล่มุ เปราะบาง (3) อาชญากรรม ยาเสพตดิ และการคอรร์ ัปช่นั (4) ความเสยี่ งต่อชวี ิตความเป็นอยขู่ องพลเมือง ทัง้ เชงิ กายภาพและ จิตใจ (5) ความเสี่ยงต่อการสูญเสียทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม รวมถงึ การเกิด ภยั พิบัตทิ ่ีมนษุ ยเ์ ป็นต้นเหตุ ในการนี้ TIJ ได้รบั เชญิ ให้เขา้ ร่วมในการประชุมท่เี ปดิ ใหผ้ ้เู ชย่ี วชาญจากทัว่ โลกได้แลก เปลย่ี นขอ้ มลู และขอ้ เสนอแนะสำ� หรบั ดา้ นการปอ้ งกนั อาชญากรรม ซงึ่ ได้ใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั การปอ้ งกันอาชญากรรมที่น�ำด้วยการพฒั นา (development-led approach to crime prevention) โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การพฒั นาอย่างยงั่ ยืน นอกจากนี้ TIJ ยงั ส่งเสริมให้พัฒนางานวิจัยเชิงประจักษ์ในด้านการประเมินความเสี่ยงเพ่ือป้องกัน อาชญากรรม ถ้าหากร่างปฏิญญาได้รับการลงมติเห็นชอบในการประชุม ASEAN Summit ก็จะเป็นฐานรากส�ำคัญท่ีจะสนับสนุนให้ TIJ ได้พัฒนาบทบาทและการมี ส่วนร่วมในระดับภูมิภาคอาเซียนในด้านต่าง ๆ เช่น การวิจัยในด้านการป้องกัน อาชญากรรมสำ� หรบั ผู้หญงิ เด็ก และประชากรกลุม่ เปราะบาง การส่งเสรมิ การปอ้ งกัน อาชญากรรมที่นำ� ดว้ ยการพัฒนา และการปฏบิ ตั ิตอ่ ผตู้ ้องขงั ในฐานะหนงึ่ ในกลไกการ ปอ้ งกนั อาชญากรรม เปน็ ต้น

41 Annual Report 2017 I Thailand Institute of JusticeTIJ ร่วมกับ KIC ผลติ งานวิจยั ดา้ นสถติ ิในกระบวนการยุตธิ รรมศาสตราจารย์พิเศษ ดร.กติ ติพงษ์ กิตยารักษ์ ผูอ้ ำ� นวยการ พร้อมผู้บรหิ ารและเจ้าหน้าที่ TIJ เดนิ ทางไปลงนามบนั ทึกข้อตกลงความรว่ มมือระหวา่ ง TIJ กบั สถาบันอาชญาวิทยาแหง่ เกาหลี (KIC) ในวันท่ี 13 พฤศจิกายน 2559 ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี การลงนามในบันทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมอื คร้ังนี้ เพ่ือสร้างความรว่ มมือในกรอบแผนงานดา้ นงานวิจัย การแลกเปลีย่ นความรู้และเสรมิความเขม้ แขง็ ของงานดา้ นสถติ ิอาชญากรรมและสถิตกิ ระบวนการยุตธิ รรมของภูมิภาคTIJ ยงั ไดร้ ว่ มกับ KIC หน่วยสถติ อิ าชญากรรมของสำ� นกั งานสหประชาชาติว่าดว้ ยยาเสพติดและอาชญากรรม (UNODC StatisticalDivision) และส�ำนกั งานคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งสหประชาชาติส�ำหรบั เอเชียและแปซฟิ ิก (ESCAP) จดั การประชมุ เชงิปฏิบัติการระดบั ภมู ิภาคเอเชียแปซิฟกิ เรอ่ื งสถิติอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรม ครั้งท่ี 2 (The 2nd Regional Meeting onCrime and Criminal Justice Statistics) ระหว่างวนั ท่ี 14-16 พฤศจกิ ายน 2559 เพ่อื สร้างเครอื ข่ายความร่วมมอื ระหวา่ งหน่วยงานสถิตแิ ละหน่วยงานกระบวนการยุติธรรม สง่ เสริมศักยภาพงานสถติ อิ าชญากรรมและสถติ กิ ระบวนการยุตธิ รรม ทต่ี อบสนองต่อเปา้ หมายการพัฒนาทีย่ ่ังยนื เปา้ หมายที่ 16 โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในสว่ นทีเ่ ก่ยี วกับความรุนแรงและการเขา้ ถงึ ความยุติธรรม มผี ูแ้ ทนจาก 24 ประเทศ ผ้เู ชย่ี วชาญจากหน่วยงานสหประชาชาติ ทเ่ี ก่ยี วข้อง และจากเครือขา่ ย PNIs เข้ารว่ มการประชุมดังกลา่ ว

42รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพื่อการยตุ ิธรรมแหง่ ประเทศไทยTIJ รว่ มมือทางวชิ าการกับเนติบณั ฑิตยสภา และคณะนิตศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยคอร์แนลคณะผู้แทนจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์แนล ประเทศสหรัฐอเมริกา (Cornell Law School) น�ำโดย Mr. EduardoM. Pealver คณบดีของ Cornell Law School (Allan R. Tessler Dean and Professor of Law) และคณะผู้แทนจาก TIJ ไดเ้ ขา้ พบคณะผู้บริหารของคณะนิตศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั ท่ี 10 มกราคม 2560 น�ำโดยศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤตคณบดคี ณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ โดยคณะผแู้ ทนจากท้ังสองมหาวิทยาลยั ได้พูดคุยแลกเปล่ียนเกีย่ วกับความร่วมมือทางวิชาการที่ทัง้ สองมหาวทิ ยาลัยมีในเวลานั้น รวมถงึ ความเปน็ ไปได้ในการมีความร่วมมอื ทางวชิ าการตอ่ กนั ในอนาคตจากน้ัน พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพชั รกิตยิ าภา ประธานกิตตมิ ศักด์ิคณะกรรมการบรหิ ารกองทุนพชั รกิตยิ าภาเพื่อการศกึ ษากฎหมาย ทรงเป็นประธานในพธิ ลี งนามบันทึกความตกลงขยายความรว่ มมือทางวิชาการระหว่างเนตบิ ณั ฑิตยสภา TIJ และคณะนติ ิศาสตร์มหาวทิ ยาลยั คอรแ์ นล เพือ่ สง่ นกั ศึกษากฎหมายของไทยไปศึกษาตอ่ ในระดับปริญญาโท ณ คณะนติ ิศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยคอรแ์ นล สหรัฐอเมริกา ซง่ึ จดั ลงนามเป็นคร้ังท่ี 3 เพื่อขยายระยะเวลาความรว่ มมอื ตอ่ ไปอกี 5 ปี หลังจากที่ได้ดำ� เนินการตอ่ เน่อื งมาเแล้วถึง 10 ปี โดยในคร้งั นี้ไดเ้ พ่มิ ขอ้ ตกลงเกีย่ วกับการพฒั นาความรว่ มมือทางวชิ าการ ในด้านการแลกเปลี่ยนบุคลากรของมหาวิทยาลัยคอร์แนล และบุคลากรในหน่วยงานดา้ นกฎหมายของประเทศไทย เพอื่ ให้เกิดเป็นประโยชน์ในวงกวา้ งมากยิ่งขึน้

43 Annual Report 2017 I Thailand Institute of JusticeTIJ รว่ มกับพนั ธมติ รจดั งานประชมุ ระดบั ชาติด้านการป้องกันอาชญากรรมในกลุ่มเยาวชนTIJ รว่ มกับ มหาวิทยาลัยกริฟฟธิ และสถาบนั อาชญาวิทยา ประเทศออสเตรเลีย จดั งานประชมุ ระดับชาตกิ บั ผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี ดา้ นการปอ้ งกนั อาชญากรรมในกลุ่มเยาวชน (Youth Crime Prevention) ระหวา่ งวนั ท่ี 17–18 มกราคม 2560 เพอ่ื หารือและระดมสมองในประเด็นดงั กล่าวส�ำหรับใช้ประกอบโครงการศึกษาวจิ ัย เรือ่ ง “การพฒั นายุทธศาสตร์แหง่ ชาตวิ ่าดว้ ยการปอ้ งกนั อาชญากรรมเยาวชนสาํ หรบั ประเทศไทย” (Developing National Youth Crime Prevention Strategies for Thailand) ซึ่งเปน็ โครงการส�ำคัญของกลมุ่ โครงการสง่ เสริมสทิ ธผิ ู้หญิงและเด็กทง้ั นี้ เนือ่ งจาก TIJ ตระหนักถงึ ปญั หาอาชญากรรมเยาวชนทมี่ คี วามรนุ แรงเพิ่มขึน้ เรือ่ ย ๆ สังเกตไดจ้ ากในช่วงปี พ.ศ. 2546 – 2550ประเทศไทยมีจำ� นวนเยาวชนที่กระท�ำผิด ถูกจบั กุมและสง่ ไปอยู่สถานพินจิ มากขึ้นถงึ ร้อยละ 70.9 ดว้ ยเหตุน้ี TIJ และภาคีเครอื ขา่ ยจึงรว่ มกนั สรา้ งงานวจิ ยั เพือ่ สนบั สนนุ การป้องกนั อาชญากรรมดังกลา่ วการประชมุ คร้ังนี้ ผูเ้ ขา้ ร่วมหารือ ประกอบด้วย คณบดี คณาจารย์ และศาสตราจารยจ์ ากมหาวิทยาลยั ตา่ ง ๆ ทงั้ ภายในประเทศและต่างประเทศ เช่น รศ.ดร.เดชา สงั ขวรรณ คณบดีวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศาสตราจารยป์ เี ตอร์ โฮเมลมหาวิทยาลัยกริฟฟิธ ประเทศออสเตรเลีย เปน็ ต้น

44รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพือ่ การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย TIJ กบั การอนุวตั ิขอ้ กำ� หนดกรงุ เทพ และ มาตรฐานระหว่างประเทศทเี่ ก่ยี วข้องกบั ผูต้ ้องขัง TIJ มยี ุทธศาสตรส์ �ำคญั ในการอนุวัติกบั มาตรฐานและบรรทดั ฐานของสหประชาชาติ ด้านการป้องกันอาชญากรรมและควายุติธรรมทางอาญาในกลุ่มผู้เปราะบาง จึงได้ ด�ำเนินงานอย่างเข้มแข็งเพ่ือขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ดังกล่าวให้เกิดข้ึนอย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะอย่างย่ิงการอนุวัติข้อก�ำหนดสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง หญิงและมาตรการทีม่ ใิ ชก่ ารคุมขังส�ำหรบั ผ้กู ระท�ำผิดหญิง หรือ ข้อกำ� หนดกรงุ เทพ อันเป็นข้อก�ำหนดท่ีประเทศไทยสามารถแสดงบทบาทในการผลักดันจนองค์การ สหประชาชาตไิ ดล้ งมติยอมรับและประกาศเป็นขอ้ กำ� หนดให้ประเทศต่าง ๆ ยึดถือเป็น แนวทางปฏบิ ตั ิ เพือ่ เป็นแนวทางในการด�ำเนินกระบวนการยตุ ธิ รรมแกห่ นว่ ยงานภาครัฐ และภาคเอกชนทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ ตลอดจนรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง เพอื่ การสง่ เสรมิ การนำ� มาตรฐานและบรรทัดฐานระหว่างประเทศมาปฏิบตั ิต่อไป

45 Annual Report 2017 I Thailand Institute of JusticeTIJ จดั อบรมขอ้ กำ� หนดกรุงเทพสำ� หรับเจ้าหน้าท่ีราชทัณฑอ์ าเซยี นTIJ จดั การอบรมหลกั สูตรนานาชาติระยะสั้นว่าดว้ ยการปฏิบตั ติ อ่ ผู้ต้องขงั หญิงทสี่ อดคล้องตามขอ้ ก�ำหนดกรุงเทพสำ� หรับเจา้ หน้าท่ีราชทณั ฑอ์ าวุโสจากประเทศในอาเซียน (Bangkok Rules Training) ระหว่างวันท่ี14-25 สิงหาคม 2560 เพื่อฝกึ อบรมการปฏิบัติตอ่ ผตู้ ้องขงั หญงิ ที่สอดคล้องตามขอ้ กำ� หนดกรุงเทพสำ� หรับเจา้ หนา้ ที่ราชทณั ฑ์อาวโุ สจากประเทศในอาเซยี น (Bangkok Rules Training) ใหแ้ ก่เจ้าหนา้ ท่ีราชทณั ฑ์ระดบัอาวโุ สของประเทศไทยและส�ำหรับกลมุ่ ประเทศอาเซยี น จำ� นวน 33 คน จาก 11 ประเทศ ซงึ่ รวมผูแ้ ทนจากประเทศเคนยาดว้ ยในการอบรมมีการจดั กิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การรับฟังบรรยาย การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการเพอื่ ประเมนิสถานการณป์ จั จบุ นั ของเรอื นจำ� ทีร่ ับผิดชอบ การดงู านเรอื นจ�ำตน้ แบบ การวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งกับแนวปฏิบัติของข้อก�ำหนดกรงุ เทพ การจดั ท�ำแผนปฏิบัตงิ าน (Action Plans) รวมถึงการใหค้ วามรู้เก่ยี วกับกฎเกณฑ์และมาตรฐานสากลอน่ื ๆ ที่เกีย่ วข้องระหว่างการอบรม ผู้เข้ารว่ มได้แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ถงึ ปญั หา ประเดน็ ท้าทาย รวมถึงแนวทางที่ดใี นการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงอย่างใกล้ชิดและเป็นจุดเร่ิมต้นของความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างกลุ่มเครือข่ายระหว่างเจ้าหนา้ ทรี่ าชทณั ฑร์ ะดบั อาวโุ สในกลมุ่ ประเทศอาเซียน เพอ่ื ประโยชน์ในการแลกเปลย่ี นแนวคดิ และองค์ความรู้รวมไปถงึ ความร่วมมือในการท�ำงานเพ่ือพฒั นามาตรฐานของระบบราชทณั ฑอ์ าเซียนในอนาคต

46รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพอ่ื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทยส�ำหรับวิทยากรในการอบรมครงั้ นี้ ได้แก่ ดร.บาร์บารา โอเวน ผู้เช่ยี วชาญระหวา่ งประเทศด้านขอ้ ก�ำหนดกรงุ เทพ ดร.ซาแมนทา เจฟฟรยี ์ ผ้เู ช่ียวชาญดา้ นอาชญาวิทยาและเพศสภาวะ จากมหาวทิ ยาลยั กรฟิ ฟธิ  (Griffith University) ประเทศออสเตรเลีย และนางสาวชลธชิ ชื่นอรุ ะ หัวหนา้ กลมุ่ โครงการสง่ เสรมิ การอนวุ ตั ขิ อ้ ก�ำหนดกรุงเทพและการปฏบิ ัตติ ่อผูก้ ระทำ� ผดิ โดยเนอื้ หาในการอบรมแบง่ออกเปน็ 12 หวั ขอ้ ได้แก่   1. การบรหิ ารจัดการเรอื นจำ� โดยค�ำนงึ ถึงความละเอียดอ่อนทางเพศ 2. การเลือกภูมิลำ� เนา เรอื นจ�ำ การรับเข้าเรอื นจ�ำ และกระบวนการจ�ำแนกผตู้ ้องขัง 3. สุขภาพอนามยั และการดแู ลสขุ ภาพโดยท่ัวไป 4. การดูแลสขุ ภาพประเด็นทต่ี ้องไดร้ บั การดแู ลเปน็ พิเศษ 5. ความปลอดภัยของผู้ตอ้ งขงั หญงิ 6. การรกั ษาระเบียบ และความปลอดภัยในเรอื นจ�ำหญงิ 7. การตดิ ตอ่ กบั โลกภายนอก 8. กจิ กรรม และโครงการต่าง ๆ เพอ่ื ฟ้นื ฟนู กั โทษ 9. หญิงมคี รรภ์ มารดา และเดก็ ทอ่ี าศัยอยใู่ นเรือนจ�ำ 10. กลมุ่ ท่ีต้องการการดแู ลเปน็ พเิ ศษ 11. การเตรียมตัวกอ่ นปลอ่ ย 12. การดำ� เนนิ งานของเจ้าหน้าทีเ่ รือนจ�ำที่เกย่ี วข้องกบั ผ้ตู อ้ งขงั หญงินอกจากน้ี ไดม้ กี ารเผยแพรต่ วั อยา่ งทด่ี ใี นประเทศไทย โดยนำ� คณะผเู้ ขา้ อบรมไปศกึ ษาดงู านเรอื นจำ� ทเี่ รอื นจำ� จงั หวพั ระนครศรอี ยธุ ยาทณั ฑสถานบำ� บัดพิเศษหญิง อำ� เภอธัญบุรี จงั หวัดปทมุ ธานี และทัณฑสถานหญิงธนบุรี ซง่ึ เป็นเรือนจ�ำที่ได้นำ� ขอ้ กำ� หนดกรงุ เทพไปปรับใช้ดว้ ยTIJ จัดสมั มนาโครงการเรือนจำ� ต้นแบบขอ้ กำ� หนดกรุงเทพในภาคเหนือTIJ จัดสมั มนาโครงการเรอื นจำ� ตน้ แบบเพื่ออนวุ ัตขิ อ้ ก�ำหนดกรุงเทพสำ� หรับภาคเหนือ วันที่ 25 มกราคม 2560 ณ โรงแรมอิมพเี รียลแมป่ ิง จังหวดั เชยี งใหม่ เพ่อื เสริมสรา้ งความเขา้ ใจเก่ยี วกับข้อกำ� หนดกรุงเทพ และเชญิ ชวนใหเ้ รอื นจำ� และทณั ฑสถานในเขตภาคเหนอืสมัครเข้ารว่ มโครงการเรอื นจำ� ตน้ แบบ การประชมุ ดงั กล่าวมีผู้บริหารและเจา้ หนา้ ทเ่ี ข้าร่วมจ�ำนวนกว่า 50 คน จากเรอื นจ�ำ 24 แหง่โครงการเรือนจ�ำตน้ แบบเป็นความร่วมมือระหวา่ ง TIJ และกรมราชทัณฑ์ เร่มิ ด�ำเนนิ งานมาตัง้ แตป่ ี 2558 เพ่ือสนบั สนุนให้มกี ารน�ำเอาข้อกำ� หนดกรงุ เทพไปใชอ้ ยา่ งแพร่หลาย และคดั เลอื กเรอื นจำ� ท่ีมีแนวทางการปฏบิ ตั ทิ ่ดี ีและผ่านการประเมนิ ใหเ้ ปน็ ตวั อย่างเชิงรูปธรรมในการอนุวตั ขิ อ้ กำ� หนดกรงุ เทพอย่างยงั่ ยืน

47 Annual Report 2017 I Thailand Institute of JusticeTIJ รว่ มกับกรมราชทัณฑข์ ับเคลื่อนการนำ� ขอ้ กำ� หนดแมนเดลาแหง่ แรกในโลกเนื่องในโอกาสวนั ท่ี 18 กรกฎาคมของทุกปี เปน็ วนั เนลสนั แมนเดลา ในปี 2560 กรมราชทณั ฑ์ กระทรวงยุตธิ รรม รว่ มกบั TIJ จงึ ถอืโอกาสนี้ประกาศการขับเคล่ือนการน�ำข้อก�ำหนดแมนเดลา (Mandela Rules) ข้อกำ� หนดข้นั ต่�ำขององค์การสหประชาชาติในการบริหารจดั การเรอื นจำ� ท่ดี ีมาปรบั ใชอ้ ยา่ งเตม็ รปู แบบเปน็ ครัง้ แรกในโลก โดยมเี รอื นจำ� พิเศษธนบรุ ีเป็นเรอื นจำ� น�ำรอ่ งขอ้ กำ� หนดแมนเดลา มหี ลักการพ้ืนฐาน 5 ประการคือ 1) ผู้ตอ้ งขงั พงึ ไดร้ ับการปฏบิ ัตดิ ว้ ยความเคารพตอ่ ศักดิ์ศรีและคณุ คา่ ความเป็นมนุษย์   2) ห้ามการทรมานหรอื การปฏบิ ตั ิตอ่ ผตู้ อ้ งขงั ด้วยความทารุณ 3) ใหป้ ฏบิ ตั ติ ่อผู้ต้องขังโดยค�ำนึงถึงความตอ้ งการขั้นพื้นฐานโดยไมเ่ ลือกปฏบิ ตั ิ 4) วัตถุประสงคข์ องเรอื นจำ� คอื การคมุ้ ครองสังคมให้ปลอดภัยและลดการกระทำ� ผิดซ้�ำ 5) ผตู้ อ้ งขัง เจ้าหน้าท่ี ผู้ใหบ้ รกิ ารด้านตา่ ง ๆ ในเรอื นจำ� และผู้เข้าเยย่ี ม จะต้องไดร้ ับความปลอดภยั ตลอดเวลา  นอกจากน้ี ยงั มกี ารจดั ทำ� คมู่ อื ฉบบั ยอ่ สำ� หรบั ขอ้ กำ� หนดแมนเดลาฉบบั ภาษาไทย ซงึ่ แปลจากตน้ ฉบบั ของ Penal Reform International (PRI)เพื่อเป็นแนวทางแกเ่ จ้าหนา้ ที่ราชทณั ฑ์ ในการบริหารจัดการเรือนจ�ำใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานขัน้ ต่�ำตาม ขอ้ กำ� หนดแมนเดลา ในการน้ีTIJ มีบทบาทเปน็ ที่ปรกึ ษาเชงิ นโยบายและช่วยเพิ่มพูนองค์ความรู้ให้แก่เจ้าหน้าทีร่ าชทณั ฑ์ที่เรือนจ�ำพเิ ศษธนบุรี ผลักดนั การสร้างเรอื นจำ� ตน้ แบบตามข้อกำ� หนดแมนเดลาใหเ้ ป็นจรงิ

48รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพ่อื การยตุ ธิ รรมแหง่ ประเทศไทย TIJ สง่ เสรมิ หลกั นิตธิ รรมกบั การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื หลกั นติ ธิ รรมมบี ทบาทเปน็ ทงั้ แรงเสรมิ และผลลพั ธข์ องการพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ตามเปา้ หมาย การพัฒนาท่ียัง่ ยืนของสหประชาชาติ ค.ศ. 2030 และ TIJ ได้ให้ความส�ำคัญกบั การ สง่ เสรมิ หลกั นติ ธิ รรมใหเ้ กดิ ขน้ึ ในสงั คมไทยอยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยรว่ มมอื กบั ทกุ ภาคสว่ น เพอ่ื โนม้ นา้ วใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงทศั นคตแิ ละแนวคดิ ในการดำ� เนนิ งาน เนน้ ทกี่ ารสนบั สนนุ มติ กิ ารพฒั นาสงั คม ควบคไู่ ปกบั การปอ้ งกนั และปราบปรามอาชญากรรม ผา่ นกจิ กรรม และโครงการทห่ี ลากหลาย และครอบคลุมกลุม่ เป้าหมายทุกภาคส่วนในสังคม ในปี 2560 TIJ ยกระดับการสง่ เสริมหลักนติ ธิ รรมไดอ้ ย่างครอบคลมุ และกว้างขวาง ยิ่งขน้ึ ดว้ ยการพฒั นาโครงการและกิจกรรม ต่างๆ รว่ มกับ Institute for Global Law and Policy (IGLP) แหง่ คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ฮาร์วารด์ ซงึ่ ถือเปน็ ความรว่ มมือ ครง้ั แรกในภมู ภิ าคเอเชยี โดยมงุ่ หวงั ทจี่ ะเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของบคุ ลากรไทยและเอเชยี ให้สามารถน�ำหลักนิติธรรมไปปฏิบัติใช้จริงเพื่อยุติความไม่เท่าเทียมและไม่เป็นธรรม ในสังคม

49 Annual Report 2017 I Thailand Institute of Justiceโครงการและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมหลักนิติธรรมกับการพฒั นาที่ย่งั ยนื ร่วมกบั Institute for Global Law andPolicy (IGLP) แหง่ คณะนติ ิศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮารว์ าร์ด

50รายงานประจ�ำปี 2560 I สถาบันเพอ่ื การยตุ ิธรรมแห่งประเทศไทยTIJ Public Forumในปี 2560 TIJ ไดจ้ ัดการประชมุ เวทสี าธารณะวา่ ด้วยหลักนิติธรรมและการพฒั นาทย่ี ่งั ยืนขนึ้ เป็นคร้งั แรก เพอ่ื เป็นเวทที ีเ่ ปิดโอกาสให้ทกุ ภาคสว่ นในสังคมได้มสี ว่ นรว่ มในการแลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับการน�ำหลักนิติธรรมมาใช้เพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน และในชว่ งปีดงั กลา่ วได้จัดการประชุมเวทีสาธารณะข้นึ 3 ครัง้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook