Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฎิบัติการ 64 โพไก่

แผนปฎิบัติการ 64 โพไก่

Published by rangsunrangsun9325, 2021-02-08 08:35:28

Description: แผนปฎิบัติการ 64 โพไก่

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี 2564 กศน.ตาบลโพชนไก่ ศูนยบ์ ริการการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจนั สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั สิงหบ์ รุ ี สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

ก คำนำ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตาบลโพชนไก่ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางระจนั จดั ทาขึ้นตามบทบัญญัติของพระราชกฤษฎกี าว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์ และ วิธีการบรหิ ารกิจการบา้ นเมอื งท่ีดี พ.ศ. 2546 มาตรา 16 ทีก่ าหนดให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบัติราชการท่ี สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผน่ ดนิ และใหจ้ ัดทาแผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี โดยใหร้ ะบุ สาระสาคญั เก่ยี วกับนโยบายการปฏบิ ัติราชการของสว่ นราชการ เป้าหมาย และผลสมั ฤทธข์ิ องงาน รวมทงั้ ประมาณการรายไดร้ ายจา่ ย และทรพั ยากรอน่ื ทจี่ ะตอ้ งใช้โดย กศน.ตาบลโพชนไก่ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจนั ได้นานโยบาย สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ทก่ี ระทรวง ศึกษาธิการ ไดร้ บั การจัดสรรตามพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 ภายใต้แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และแผนพัฒนาการศึกษากระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) จดุ เน้นการ ขบั เคลื่อนนโยบายของรัฐบาลด้านการศึกษาของกระทรวง ศกึ ษาธิการ สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสงิ ห์บุรี มาเป็นกรอบในการจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สาระของแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณพ.ศ.2564 กศน.ตาบลโพชนไก่ ศนู ย์การศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางระจนั แสดงใหเ้ ห็น สรปุ ภาพรวมงาน โครงการ กจิ กรรม เป้าหมาย และงบประมาณที่ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในอันท่จี ะขบั เคลื่อนนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ทีเ่ ปน็ จดุ เนน้ สาคัญท่รี ัฐบาล และกระทรวงศกึ ษาธิการได้กาหนดไว้ รวมท้งั ขับเคลือ่ นงานตามบทบาทภารกจิ หลักของ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจัน ใหบ้ รรลุเปา้ หมายอยา่ งมี คณุ ภาพ กศน.ตาบลโพชนไก่ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจัน ขอขอบคณุ ผู้มสี ว่ นเก่ยี วขอ้ งท่ีให้ความรว่ มมือในการจดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับนี้จนสาเรจ็ ได้เป็นอย่างดี และหวังเปน็ อย่างย่งิ ว่าแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของ กศน.ตาบลโพชนไก่ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจัน จะเปน็ แนวทางใน การบรหิ ารงาน/โครงการ และงบประมาณของหนว่ ยงาน ตลอดจนเปน็ เครอ่ื งมือในการกากับตดิ ตามผลการ ดาเนินงานของสถานศกึ ษา รวมทง้ั เป็นขอ้ มูลสาหรบั หน่วยงาน และผู้สนใจกจิ กรรมงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตอ่ ไป กศน.ตาบลโพชนไก่ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั มกราคม 2564 สารบญั คานา หน้า สารบัญ ก ตอนท่ี 1 บทนา ข

ข  ขอ้ มูลพนื้ ฐาน กศน.ตาบลโพชนไก่ 2  ข้อมูลทว่ั ไปและขอ้ มูลพ้ืนฐาน กศน.ตาบลโพชนไก่ ตอนที่ 2 ทิศทางการดาเนินงาน  ทิศทางการดาเนนิ งาน นโยบายจดุ เน้น กศน.อาเภอบางระจนั ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 9  ปรชั ญา / วสิ ัยทัศน์ / อัตลักษณ์ / เอกลักษณ์ / พนั ธกิจ / เป้าประสงค์ / ตวั ชว้ี ัด 9  โครงสร้างการทางาน กศน.ตาบลโพชนไก่ กศน.อาเภอบางระจัน 11  นโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 11  การศกึ ษาสถานภาพของ กศน.ตาบลโพชนไก่ กศน.อาเภอบางระจนั 30 ตอนที่ 3 แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564  บทบาทภารกจิ กศน.ตาบลโพชนไก่ กศน.อาเภอบางระจัน 31  แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รายละเอยี ด งาน/โครงการ/กิจกรรม กศน. 33 ตอนท่ี 4 โครงการ/กิจกรรมประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564  โครงการ/กิจกรรมประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 36 เอกสารอา้ งองิ  ขออนมุ ัติแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564  ขอความเห็นชอบแผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (กรรมการ กศน.ตาบลโพชนไก่ )  คารบั รองการปฏบิ ัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564  คาสั่งคณะกรรมการการจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

1 ตอนท่ี 1 บทนา

2 ตอนท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐาน กศน.ตาบลโพชนไก่ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั ชื่อสถานศกึ ษา กศน.ตาบลโพชนไก่ ท่ีตั้งอยู่ บา้ น โพชนไก่ หมู่ท่ี 5 ถนน เทศบาล 2 ตาบล โพชนไก่ อาเภอ บางระจัน จงั หวดั สิงหบ์ ุรี รหัสไปรษณยี ์ 16130 โทรศัพท์ 083-0740501 โทรสาร -. E - mail [email protected] Website sing.nfe.go.th/004 สงั กัด ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางระจนั สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดสิงห์บรุ ี สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา ประวตั ิ ตาบลโพชนไก่ กศน.ตาบลโพชนไก่ ตาบลโพชนไกส่ นั นิษฐานว่า เนอื่ งจากสมัยกอ่ นนัน้ ประชาชนที่อยู่บริเวณริมฝง่ั แม่นา้ น้อย ท้ังด้านทศิ ตะวันตกและทศิ ตะวนั ออกมีอาชพี ทานา และทานาเพยี งปลี ะ 1 ครง้ั เม่ือมเี วลาว่างหลงั จากฤดูกาลเก็บเกี่ยว แลว้ ชาวบา้ นมกั จะมาชุมนมุ กันเพือ่ เล่นไกช่ นกนั ทบ่ี รเิ วณใตต้ ้นโพธิ์ใหญ่ (ปัจจบุ ันต้นโพธิน์ ้ันอยรู่ ิมฝงั่ แมน่ ้าน้อย หมทู่ ่ี 1 ตาบลเชิงกลัด) คนทั่วไปจงึ เรียกชื่อบริเวณนวี้ า่ บา้ นโพชนไก่ ต่อมาสมยั รชั กาลท่ี 6 ไดม้ กี ารจัดการปกครองเป็นจงั หวดั อาเภอ ตาบลและหมบู่ า้ น บา้ นโพชนไกถ่ ูก แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 ตาบล คือบ้านโพชนไก่ ทีอ่ ยฝู่ ัง่ ตะวนั ออกของแม่น้าน้อยเป็นตาบลโพชนไก่ ส่วนบา้ นโพชนไกท่ อี่ ยูฝ่ งั่ ตะวนั ตกของแมน่ ้าน้อยเป็นตาบลเชงิ กลัดมาจนถึงปจั จุบนั บ้านบางวัว หม่ทู ี่ 1 หมทู่ ี่ 2 ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจัน จังหวัดสงิ หบ์ รุ ี ประวัติความเป็นมาของหม่บู า้ นไมท่ ราบแนช่ ัดแต่จากการบอกเลา่ ต่อๆกนั มาของคนสงู อายุในหมบู่ า้ นพอสรปุ ไดว้ า่ แตเ่ ดมิ ชาวบา้ นในท้องถ่นิ นี้สว่ นใหญ่มอี าชพี ทานา ดังน้ันสตั ว์ท่ตี อ้ งใชง้ านในการทานา คอื วัว และ ควาย ซึง่ สว่ นใหญจ่ ะตอ้ งมีประจาบา้ นอยา่ งน้อยจานวน 1 - 2 ตวั หรือถา้ หากบา้ นใดที่มฐี านะทดี่ ีหนอ่ ยกจ็ ะ มีวัวเปน็ ฝงู ประมาณ 10 - 20 ตวั ต้องใชค้ นเล้ียงประมาณ 1 - 2 คน ดังน้นั เมื่อมวี ัวและควายมากมาย ขนาดนั้น เมอ่ื ถึงตอนกลางวันตอ้ งตอ้ นววั และควาย ไปหากินตามทอ้ งทงุ่ นา ทาใหเ้ กิดรอยทางเดนิ ของสัตว์ เหล่าน้ี เม่ือเดินทางมากๆ นานๆ เขา้ ทงุ่ หรือทางเดินนั้นก็จะราบไม่มหี ญา้ ขึ้น เม่อื บริเวณทุ่งหญา้ เหลา่ นน้ั กลายเป็นท่ีราบ หรือเรยี กอีกอยา่ งหนึ่งว่า “ บาง ” จนกลายเปน็ บา้ น “ บางวัว ” เรอ่ื ยมาจนกระทัง่ ปัจจบุ นั

3 บ้านโพชนไก่ หมู่ท่ี 3 หมูท่ ่ี 4 หมู่ท่ี 5 ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจัน จังหวดั สงิ ห์บรุ ี ประวตั คิ วาม เปน็ มา เมื่อสมยั ก่อนชาวบ้านละแวกนี้สว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพทานาและทาสวน เมอื่ เสร็จส้ินภารกิจจากการ งานแลว้ จะมารวมตัวกันท่ีบริเวณต้นโพธ์ิใหญ่ที่มีร่มเงาแผ่กระจายกว้างซ่ึงจะมีคนในหมู่บ้านและ ละแวก ใกลเ้ คียงหมู่บา้ นนาไกช่ นของตนมาชนกนั มที ั้งชนเพื่อความสนุกสนาน และชนเพื่อเป็นการพนันเป็นจานวน มาก จงึ ไดเ้ รยี กหมบู่ า้ นนีว้ ่า “ บา้ นโพชนไก่ ” เรื่อยมาจนกระทงั่ ปจั จบุ ัน บา้ นทา่ ศาลเจ้า หมู่ที่ 6 ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจัน จังหวดั สิงหบ์ ุรี มีประวัติพอสบื ทราบได้ วา่ ในชมุ ชนท่ตี งั้ หม่บู า้ นรมิ สองฝ่ังคลองแมน่ า้ นอ้ ย ระหวา่ งตาบลโพชนไก่ กบั ตาบลเชิงกลัด จะมศี าลเจ้าที่ ศกั ดิส์ ทิ ธิเ์ ปน็ ท่นี ับถือของชาวบา้ นทัง้ สองฝั่งคลอง มีท่าเรือไว้สาหรบั ขา้ มไปมาหาสูก่ ัน ชมุ นมุ กนั ในวนั สาคญั ประเพณีต่างๆ ที่รมิ หาด คา้ ขายแลกเปลยี่ นสินคา้ กนั ตลอดเวลา และบางพนื้ ทส่ี ามารถเดินข้ามแมน่ า้ ถงึ กนั ได้ จงึ ตงั้ ชอื่ บริเวณนน้ั ว่า “บา้ นทา่ ศาลเจา้ ” บ้านชัณสูตร หมทู่ ่ี 7 หมู่ท่ี 8 ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบ์ ุรี มปี ระวัติพอได้ทราบมา คอื พื้นที่ของหมบู่ ้านชณั สูตร ติดกับตลาดชณั สูตร ซ่งึ ในสมยั ก่อนมกี ารลอ่ งเรอื ขายสนิ ค้าท่ีริมแม่นา้ นอ้ ย ซง่ึ ทาใหค้ นในละแวดนั้นสว่ นใหญพ่ ากนั มาปลูกบา้ นอย่รู ิมแม่นา้ นอ้ ยกนั อย่างหนาแน่น และทาให้คนในหมบู่ า้ น น้ันได้ช่ือว่า หมบู่ า้ นชณั สตู ร เปน็ ตน้ มา บ้านโพธ์ิหอม หมูท่ ่ี 9 ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบ์ ุรี มีประวัติพอสืบทราบไดว้ ่า ในสมยั กอ่ น หมู่บา้ นแหง่ นม้ี ีต้นโพธจิ์ านวนมาก และมีบ้านเรอื นราษฎรอยรู่ ิมแมน่ ้าน้อยจานวนมาเชน่ กัน หญิง สาวของหม่บู ้านแห่งน้ีมรี ปู รา่ งสวยงาม พวกหนุ่มๆ ปากหวานท่มี าจีบสาวๆ จะเรยี กว่า “หมบู่ า้ นหอมสวย” ซึ่งต่อมาได้มีการเรียกชอ่ื หมบู่ ้านนวี้ ่า “โพธห์ิ อม” ซ่งึ สันนษิ ฐานได้ว่าเปน็ การนาเอาชอื่ ต้นโพธมิ์ ารวมกบั สาวๆ สวยๆ ในหมูบ่ า้ น ซงึ่ ลักษณะทางธรรมชาติ สาวๆ มักมีกลิน่ ตัวท่หี อมเย้ายวนนัน่ เอง บา้ นวงั ขรณ์ หมู่ที่ 10 ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจัน จังหวดั สิงหบ์ ุรี มีประวตั พิ อสืบทราบไดว้ ่า บ้านวังขรณ์ ต้งั อย่ฝู งั่ ตะวันออกของแมน่ ้าน้อย มวี ดั อยู่ซงึ่ ในอดตี ประชาชนทัว่ ไปเรยี กช่ือวา่ วดั ใหมพ่ รมแดน บรเิ วณหนา้ วดั เป็นวงั นา้ ลึก มปี ลาชกุ ชมุ มาก ตอ่ มาต้นไม้ใหญช่ ายฝ่งั โคน่ ลม้ ลงในแมน่ า้ เพราะฤดูน้าหลากกดั เซาะตล่งิ พงั ทลายที่ริมแมน่ ้าตอ่ มาชาวบ้านเรียก“วดั วงั ขรณ์” และใช้เรยี กเปน็ ชือ่ หมู่บ้านไปดว้ ย บ้านวังขรณ์ หรือ บา้ นโคกวดั หมูท่ ่ี 11 ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจนั จงั หวัดสงิ หบ์ รุ ี มีประวตั ิ พอสบื ทราบได้ว่าในอดีตเปน็ พน้ื ที่ทม่ี ีกอ้ นอฐิ ขนาดใหญก่ ระจดั กระจายอย่เู ป็นบรเิ วณกวา้ ง และมีเนนิ ดนิ สงู มสี ระน้าอยู่ใกล้กับเนนิ ดนิ มีของโบราณ เช่น กระปกุ กระเบื้องหลายสี ทั้งขนาดใหญ่-เล็กจมอยใู่ ต้เนนิ ดิน เหล่าน้นั มากมาย จงึ เป็นทเ่ี รียกขานของชาวบ้านแถวนั้นวา่ “บา้ นโคกวดั ” ปัจจบุ ันเนินดินเหล่านนั้ ได้ชารุด เสยี หายเนอ่ื งจากไดม้ ีการไถซากอิฐไปกองรวมๆ กนั เพอ่ื เปน็ ที่ทานาจนแทบไม่เหน็ ร่องรอยซากอฐิ ซากกองดิน ดังกลา่ วแล้ว ต่อมาทางราชการไดเ้ ปลีย่ นชอื่ จากบ้านโคกวัด เปน็ บา้ นวงั ขรณ์ และใช้เรียกอยา่ งเปน็ ทางการ แต่ จะเป็นทรี่ กู้ นั วา่ กค็ อื “บ้านโคกวัด”นน่ั เอง ผู้บอกเล่า กลุ่มผู้สูงอายุในตาบลโพชนไก่ กศน.ตาบลโพชนไก่ ตั้ง ณ อาคารโรงเรียนวัดน้าผ้งึ จานวน 1 หอ้ งเรยี น บ้านโพชนไก่ หมู่ท่ี 5 ถนน เทศบาล 2 ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจนั จังหวดั สิงห์บรุ ี ตงั้ แต่เร่มิ จัดตง้ั เป็น กศน.ตาบล ถึงปจั จบุ นั ทาเนียบบุคลากร กศน. ตาบลโพชนไก่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางระจนั ลาดับ ช่อื – สกุล ตาแหน่ง ระยะเวลาท่ี

ท่ี ครศู รช. 4 1 นางสาววมิ ลรตั น์ ปักขพี ันธุ์ ครูกศน.ตาบล 2 นางสาวพรรมล สทุ ธิฤทธิ์ ครูอาสาสมัคร ดารงตาแหนง่ 3 นางชตุ มิ า เจริญสอน 2556 - 2558 2558 - 2559 2559 -ปัจจุบัน ข้อมลู ทัว่ ไปและขอ้ มูลพนื้ ฐาน ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจนั สภาพของชมุ ชน (สภาพทว่ั ไปและสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม) 1. สภาพท่ัวไป 1.1 เนื้อทีแ่ ละลักษณะภูมิประเทศ ขนาดพืน้ ที่ ตาบลโพชนไก่ มพี นื้ ท่ีท้ังหมด 10,055 ไร่ หมูท่ ี่ 1 บ้านบางวัว มีพื้นท่จี านวน 600 ไร่ หมู่ท่ี 2 บา้ นบางววั มพี ้นื ท่ีจานวน 1,400 ไร่ หมู่ท่ี 3 บา้ นโพชนไก่ มพี ื้นทจ่ี านวน 650 ไร่ หมูท่ ี่ 4 บา้ นโพชนไก่ มีพนื้ ที่จานวน 724 ไร่ หมทู่ ี่ 5 บา้ นโพชนไก่ มพี นื้ ทจี่ านวน 822 ไร่ หมทู่ ี่ 6 บ้านทา่ ศาลเจ้า มีพน้ื ที่จานวน 590 ไร่ หมู่ที่ 7 บา้ นชัณสตู ร มพี น้ื ทจ่ี านวน 1,022 ไร่ หม่ทู ่ี 8 บ้านชัณสตู ร มพี ้ืนทจ่ี านวน 344 ไร่ หมู่ท่ี 9 บา้ นโพธิห์ อม มีพื้นที่จานวน 1,214 ไร่ หม่ทู ี่ 10 บ้านวงั ขรณ์ มีพื้นที่จานวน 960 ไร่ หมู่ที่ 11 บา้ นวังขรณ์ มพี ื้นทจ่ี านวน 1,729 ไร่ อาณาเขต ตำบลโพชนไก่ ตั้งอยู่ทำงทิศเหนอื ของท่วี ำ่ กำรอำเภอบำงระจนั มีอำณำเขตตดิ ต่อ ดงั น้ี ทิศเหนอื ติดต่อกับ ตำบลโพงำม อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนำท ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั ตำบลสงิ ห์ อำเภอบำงระจนั จงั หวัดสิงหบ์ รุ ี ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ ตำบลแมล่ ำ อำเภอบำงระจัน จังหวดั สิงห์บุรี ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับ ตำบลเชิงกลัด อำเภอบำงระจันจงั หวดั สิงห์บุรี ลักษณะภูมปิ ระเทศ มีลักษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ ทีร่ าบล่มุ มแี หล่งนา้ ลาคลอง โดยมแี มน่ ้านอ้ ย และ คลองส่งน้าชลประทานไหลผ่าน ลักษณะภูมอิ ากาศ มี 3 ฤดกู าล ดังน้ี ฤดูร้อน ฤดหู นาว ฤดฝู น ฤดูรอ้ น ต้ังแตเ่ ดือนมีนาคม – กลางเดอื นพฤษภาคม อุณหภมู ิเฉลยี่ ประมาณ 36.30 องศาเซลเซยี ส

5 ฤดูฝน ตั้งแต่ปลายเดือนพฤษภาคม - เดือนตลุ าคม ปรมิ าณนา้ ฝนเฉล่ยี ประมาณ 1,375 มลิ ลเิ มตร/ปี ฤดหู นาว ต้ังแตเ่ ดือนพฤศจิกายน - เดอื นกมุ ภาพันธ์ อณุ หภูมเิ ฉล่ยี ประมาณ 26 – 28.26 องศาเซลเซยี ส 1.2 การปกครอง ตาบลโพชนไก่มหี มบู่ า้ นทง้ั หมด 11 หมู่บา้ น อยู่ในเขตปกครองขององค์การบริหารสว่ นตาบลแม่ลา 1 หม่บู า้ น สว่ นอีก 10 หม่บู ้านคาบเก่ียวในความดแู ลของเทศบาลเมอื งบางระจัน 2. สภาพทางเศรษฐกจิ 2.1 การเกษตรกรรม ทานา ไร่อ้อย ทาสวนผลไม้ พชื สวนครวั เลี้ยงสัตว์ 2.2 การประกอบอาชพี ดา้ นอาชีพในชุมชน ประชำชนในตำบลโพชนไก่มีกำรประกอบอำชีพท่หี ลำกหลำย อำทิเชน่ เกษตรกรรม ปลูกขำ้ ว ปลูกออ้ ย ปลกู ไมผ้ ล พืชสวนครัวไม้ล้มลุก นอกจำกนีป้ ระกอบอำชพี รับจ้ำง ค้ำขำย เลีย้ งสัตว์ รับรำชกำร และอื่นๆ 2.3 การพาณชิ ย์และการบรกิ าร - บริษัท ลอ้ มรกั ธัญญา จากัด (โรงสีข้าว ) ทีต่ ้ัง 4/10 หมู่ 4 ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจนั จังหวดั สิงห์บุรี - บรษิ ัท ไทยเกษมลม่ิ ทอง จากัด (โรงสขี า้ ว) ท่ตี ง้ั 45/3 หมู่ 9 ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจัน จังหวัดสงิ หบ์ รุ ี - บรษิ ัท อรลักษณส์ ิงหบ์ ุรี (1994) จากดั (รับเหมาก่อสร้าง) ทตี่ ้ัง 46 หมู่ 6 ตาบลโพชนไก่ อาเภอบางระจนั จังหวัดสิงหบ์ ุรี 2.4 การทอ่ งเทย่ี ว - 3. สภาพทางสงั คม 3.1 การศกึ ษา ลำดับท่ี ชอื่ สถำนศึกษำ สังกัด ระดับทีเ่ ปิด ทีต่ ้งั 1 โรงเรียนวดั ชนั สูตร สพฐ. ระดับชน้ั อนบุ าลถงึ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 หมู่ 8 2 โรงเรียนวิจิตรศกึ ษา สกอ. ระดบั ชั้นอนบุ าลถงึ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 หมู่ 8 3.2 การศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรมและประเพณี ลำดับที่ ชื่อวัด/สานักสงฆ์ ท่ตี ัง้ 1 วัดหลวงพอ่ อนิ ทยาน ( วดั ร้าง ) บ้านบางวัว หม่ทู ี่ 1

6 2 วดั หลังสระ บา้ นบางววั หม่ทู ่ี 2 3 วัดนา้ ผึง้ บ้านโพชนไก่ หมทู่ ี่ 5 4 วัดชนั สูตร บ้านชันสตู ร หมทู่ ่ี 8 5 วดั ชอ่ งลม บา้ นโพธิ์หอม หมูท่ ี่ 9 6 วดั วังขรณ์ บา้ นวังขรณ์ หมู่ท่ี 10 3.3 การสาธารณสขุ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลโพชนไก่ 4. สภาพทางทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม - แมน่ า้ น้อย (หมูท่ ่ี 1 – 10) - คลองส่งน้าชลประทาน ในเขตเทศบาล(หมู่ที่ 1 – 7 ไดร้ ับน้าจากโครงการส่งนา้ ชลประทาน) - คลองส่งนา้ ชลประทาน ในเขต องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลแมล่ า (หมู่ที่ 7 – 11 ได้รบั นา้ จาก . โครงการส่งน้าชลประทาน) ข้อมูลดา้ นบรหิ ารจดั การ โครงสรา้ งพื้นฐาน - กำรคมนำคม / ขนสง่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3030 สายบางระจัน – ชันสูตร – หันคา - ดา้ นระบบสาธารณูปโภค 1) การไฟฟา้ มีหน่วยบริการผใู้ ช้ไฟฟ้าครบทกุ หลงั คาเรือนทัง้ ในเขตเทศบาล และ นอกเขตเทศบาล 2) กำรประปำ มีกำรประปำส่วนภมู ิภำคสิงห์บรุ ี ให้บริกำรประชำชนและใช้ประปำ หมบู่ ำ้ น ครบทกุ หลังคำเรอื น 3) การคมนาคมติดต่อสือ่ สาร มโี ทรศพั ท์เข้าถงึ หมู่บ้าน มหี อกระจายขา่ ว/เสยี งตาม สายทกุ หม่บู า้ น มีอินเตอรเ์ นต็ ประชารัฐ จานวน 2 หมู่ ได้แก่ หมู่ 7 และ หมู่ 10 ถนนทีใ่ ช้ในหมู่บ้ำน จานวน 23 สาย (1) ถนนลาดยาง (2) ถนนคอนกรตี จานวน 57 สาย (3) ถนนลกู รัง จานวน 37 สาย 2. สอ่ื อปุ กรณ์ ครุภัณฑ์ และสง่ิ อานวยความสะดวกในการส่งเสรมิ สนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ ลาดบั ท่ี รายการ จานวน สภาพการใช้งาน 1 คอมพวิ เตอร์โนต๊ บ๊คุ 1 ชารุด (รอสง่ แกไ้ ข)

2 เคร่อื งพมิ พ์ 7 3 โทรทัศน์ 4 จานดาวเทยี ม 1 ชารดุ 1 ชารดุ 1 ชดุ ใชง้ านไดด้ ี ตอนที่ 2 ทศิ ทางและผลการดาเนินงานของสถานศึกษา

8 ตอนท่ี 2 ทิศทางและผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา ปรัชญา/วสิ ัยทศั น์/พนั ธกจิ /เป้าประสงค์/เป้าหมาย ปรชั ญา เรยี นรตู้ ลอดชีวติ ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง วิสยั ทัศน์ (VISION) กศน.อาเภอบางระจนั ผูเ้ รียน ผรู้ บั บรกิ าร เปน็ คนดี มคี วามรมู้ ที กั ษะในการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ ใช้ชวี ิตพอเพียง อัตลักษณ์สถานศกึ ษา ผเู้ รียนผรู้ บั บรกิ าร กศน.อาเภอบางระจัน “ใช้ชวี ิตพอเพยี ง” เอกลักษณส์ ถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมการเรยี นรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพียง พันธกิจ (MISSION) 1. จดั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 2. จดั การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 3. จัดการศึกษาตามอธั ยาศยั 4. จัดการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวิต 5. จดั การศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 6. จดั การศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี เปา้ ประสงค์ 1. จัดการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานเพอ่ื ให้ผ้เู รยี นมีความรู้ขั้นพน้ื ฐาน 2. จดั การศกึ ษาต่อเน่อื งเพื่อใหผ้ เู้ รียนมคี วามรูด้ า้ นการนาไปใชใ้ นการประกอบอาชีพ 3. จดั การศึกษาตามอธั ยาศยั เพ่ือให้ผู้เรยี นเรยี นรู้การศกึ ษาตลอดชวี ติ 4. จัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิตเพอ่ื ให้ผเู้ รียนนาไปใชใ้ นการพัฒนาทกั ษะชีวิต 5. จัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเพื่อใหผ้ ้เู รียนมีความรดู้ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง 6. จดั การศกึ ษาโดยใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมีความรดู้ า้ นเทคโนโลยี ตัวช้วี ัด/กลยทุ ธ์ 1. พฒั นาหลักสูตรใหเ้ หมาะสมหลากหลาย สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผ้เู รียน 2. เพิม่ ขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีใหค้ รบู คุ ลากรและผเู้ รยี น

9 3. พัฒนาคุณภาพครู วิทยากรในการจัดกิจกรรม 4. จดั กระบวนการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกบั หลักสตู รและความต้องการของผู้เรยี น 5. ใช้และพฒั นาเครือขา่ ยในการจัดกระบวนการเรียนรู้ 6. ใชก้ ารประชาสัมพันธ์หลากหลายถงึ กลุ่มเป้าหมาย 7. พฒั นาแหล่งเรียนร้ใู นชมุ ชนให้หลากหลาย 8. พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยใชห้ ลักธรรมาภิบาล 9. พัฒนาผู้เรียนใหส้ ามารถคดิ วิเคราะห์ โลกศตวรรษ์ ที่ 21 แผนผงั การบรหิ ารองคก์ รบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของกลมุ่ /ฝา่ ยภายในองค์กร โครงสรา้ งการบรหิ าร กศน.ตาบลโพชนไก่

10 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจัน คณะกรรมกำร กศน.ตาบล อำสำสมัคร กศน.ตำบล จานวน 7 คน จานวน 2 คน ศนู ยส์ ่งเสริมและเรียนรู้ ศูนย์เรยี นรู้ปรัชญำของ ประชำธิปไตยประจำตำบล เศรษฐกจิ พอเพียง ประจำตำบล ศนู ยก์ ำรเรียนรู้ ดจิ ทิ ัลประจำตำบล ศนู ย์กำรศกึ ษำประจำตำบล องคก์ รนกั ศึกษำ จานวน 7 คน

11 คณะกรรมการ กศน.ตาบล นำงสมพิศ รว่ มรักษ์ ประธำนกรรมกำร นำงสมคิด ชำญวัฒนศลิ ป์ กรรมกำร นำงคะนึง ดิษสะอำด นำงสำวนิตยำ บำงเขน กรรมกำร กรรมกำร นำยพิสิฐศิรโิ ชค บูชำธรรม นำยธงชัย กอ้ นทอง กรรมกำร กรรมกำร นำงชุติมำ เจรญิ สอน กรรมกำรและเลขำนกุ ำร

12 ยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2579) คณะกรรมการจดั ทายทุ ธศาสตรช์ าติไดด้ าเนินการยกรา่ งกรอบยทุ ธศาสตรแ์ ห่งชาตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2579) เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางการพฒั นาประเทศในระยะ 20 ปีโดยกาหนดวิสยั ทศั น์ เป้าหมายและยทุ ธศาสตร์ดังน้ี วสิ ยั ทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคงม่ังค่ังย่งั ยืนเป็นประเทศพฒั นาแลว้ ด้วยการพฒั นาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” และเป็นคติพจนป์ ระจาชาตวิ า่ “มนั่ คงมง่ั คงั่ ย่งั ยนื ” เปา้ หมาย 1. ความมนั่ คง 1.1 การมคี วามมั่นคงปลอดภัยจากภยั และการเปล่ยี นแปลงทัง้ ภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับท้ังระดับประเทศสังคมชมุ ชนครัวเรือนและปจั เจกบุคคลและมคี วามมัน่ คงใน ทุกมติ ิทัง้ มิตเิ ศรษฐกจิ สังคมสิ่งแวดล้อมและการเมือง 1.2 ประเทศมีความมน่ั คงในเอกราชและอธิปไตยมีสถาบันชาติศาสนาพระมหากษัตริย์ ท่เี ขม้ แขง็ เป็นศูนย์กลางและเปน็ ที่ยดึ เหนยี่ วจติ ใจของประชาชนระบบการเมอื งทีม่ น่ั คงเปน็ กลไกที่นาไปสู่ การบรหิ ารประเทศท่ตี อ่ เนอื่ งและโปรง่ ใสตามหลกั ธรรมาภิบาล 1.3 สงั คมมีความปรองดองและความสามัคคีสามารถผนกึ กาลงั เพอ่ื พฒั นาประเทศ ชมุ ชนมีความเขม้ แขง็ ครอบครัวมีความอบอนุ่ 1.4 ประชาชนมคี วามมัน่ คงในชีวิตมีงานและรายได้ท่ีมัน่ คงพอเพยี งกับการดารงชวี ิต มที ่ีอย่อู าศัยและความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สิน 1.5 ฐานทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ้ มมีความมั่นคงของอาหารพลังงานและนา้ 2. ความมั่งคั่ง 2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกจิ อย่างต่อเน่ืองยกระดบั เป็นประเทศ ในกลมุ่ ประเทศรายไดส้ งู ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลงประชากรไดร้ ับผลประโยชนจ์ ากการพฒั นา อยา่ งเทา่ เทยี มกนั มากข้ึน 2.2 เศรษฐกจิ มคี วามสามารถในการแขง่ ขนั สูงสามารถสรา้ งรายไดท้ ั้งจากภายใน และภายนอกประเทศสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตและเป็นจุดสาคญั ของการเชือ่ มโยง ในภูมิภาคทั้งการคมนาคมขนสง่ การผลิตการค้าการลงทุนและการทาธุรกจิ มบี ทบาทสาคญั ในระดับ ภูมภิ าคและระดบั โลกเกดิ สายสัมพันธท์ างเศรษฐกิจและการค้าอย่างมีพลัง 2.3 ความสมบรู ณ์ในทุนทจี่ ะสามารถสรา้ งการพฒั นาต่อเน่ืองไดแ้ กท่ ุนมนุษย์ ทุนทางปัญญาทุนทางการเงนิ ทุนทีเ่ ป็นเครือ่ งมือเคร่อื งจักรทนุ ทางสังคมและทุนทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อม 3. ความยงั่ ยืน 3.1 การพฒั นาทีส่ ามารถสร้างความเจริญรายได้และคุณภาพชีวติ ของประชาชน ให้เพิม่ ขึน้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งซงึ่ เป็นการเจริญเตบิ โตของเศรษฐกจิ ทไี่ ม่ใชท้ รพั ยากรธรรมชาติเกนิ พอดี ไม่สรา้ งมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมจนเกนิ ความสามารถในการรองรบั และเยยี วยาของระบบนิเวศน์ 3.2 การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสอดคล้องกับกฎระเบียบ

13 ของประชาคมโลกซึ่งเปน็ ที่ยอมรบั ร่วมกนั ความอุดมสมบูรณข์ องทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม มคี ณุ ภาพดีขน้ึ คนมีความรับผิดชอบต่อสงั คมมีความเอ้อื อาทรเสียสละเพื่อผลประโยชน์สว่ นรวม 3.3 มุ่งประโยชนส์ ว่ นรวมอย่างยั่งยืนใหค้ วามสาคญั กับการมีสว่ นรว่ มของประชาชน ทุกภาคส่วนเพ่ือการพฒั นาในทุกระดบั อยา่ งสมดลุ มเี สถียรภาพและย่ังยนื 3.4 ประชาชนทกุ ภาคสว่ นในสังคมยึดถือและปฏิบตั ติ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ สรา้ งความปรองดองสมานฉันท์ 2. เพื่อเพ่ิมกระจายโอกาสและคณุ ภาพการใหบ้ ริการของรฐั อย่างท่ัวถงึ เท่าเทยี มเป็นธรรม 3. เพือ่ ลดตน้ ทนุ ให้ภาคการผลิตและบริการ 4. เพอื่ เพ่ิมมูลค่าสนิ คา้ เกษตรอตุ สาหกรรมและบรกิ ารด้วยนวัตกรรม 6 ยุทธศาสตร์โดยมีสาระสาคัญที่เกี่ยวข้องกับสานกั งานกศน. ดงั นี้ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ด้านความมั่นคงมีเปา้ หมายทั้งในการสรา้ งเสถียรภาพภายในประเทศและชว่ ยลดและ ปอ้ งกนั ภยั คุกคามจากภายนอกรวมท้งั สรา้ งความเช่อื ม่ันในกล่มุ ประเทศอาเซียนและประชาคมโลกที่มตี ่อ ประเทศไทย 1.1 การเสริมสรา้ งความม่ันคงของสถาบันหลกั และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ 1.2 การรกั ษาความม่นั คงภายในและความสงบเรียบรอ้ ยภายในตลอดจนการบรหิ าร จดั การความมน่ั คงชายแดนและชายฝั่งทะเล ยุทธศาสตร์ที่ 2 ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั เพอื่ ให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปสู่การ เปน็ ประเทศพฒั นาแล้วซ่งึ จาเป็นต้องยกระดบั ผลิตภาพการผลิตและการใชน้ วัตกรรมในการเพ่มิ ความสามารถ ในการแข่งขนั และการพฒั นาอยา่ งยั่งยืน การพฒั นาภาคการผลติ และบริการบนฐานของการพัฒนานวตั กรรมและมีความเป็นมติ รต่อ สิ่งแวดล้อมโดยมกี ารใชด้ จิ ทิ ัลและการค้าทเี่ ข้มขน้ เพ่ือสร้างมลู ค่าเพิ่มและขยายกิจกรรมการผลิตและบรกิ าร โดยมงุ่ ส่คู วามเป็นเลศิ ในระดับโลกและระดับภูมภิ าคในอตุ สาหกรรมหลายสาขาและในภาคบรกิ ารท่ี หลากหลายตามรูปแบบการดาเนินชีวติ และการดาเนนิ ธุรกิจที่เปล่ียนไปรวมทัง้ เป็นแหล่งอาหารคุณภาพ สะอาดและปลอดภัยของโลก ยุทธศาสตร์ที่ 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนเพอ่ื พัฒนาคนและสงั คมไทย ให้เปน็ รากฐานท่แี ขง็ แกรง่ ของประเทศมคี วามพรอ้ มทางกายใจสติปัญญามีความเปน็ สากลมที กั ษะ การคดิ วิเคราะห์อยา่ งมเี หตผุ ลมรี ะเบียบวนิ ัยเคารพกฎหมายมคี ุณธรรมจรยิ ธรรมรูค้ ุณคา่ ความเป็นไทย มคี รอบครัวทีม่ น่ั คง 3.1 การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิตให้สนับสนนุ การเจริญเติบโตของประเทศ 3.2 การยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรใู้ หม้ ีคุณภาพเทา่ เทยี มและทว่ั ถึง 3.3 การปลกู ฝงั ระเบยี บวนิ ยั คุณธรรมจริยธรรมคา่ นยิ มที่พึงประสงค์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกนั ทางสงั คมเพือ่ เรง่ กระจาย โอกาสการพฒั นาและสร้างความมัน่ คงใหท้ ว่ั ถงึ ลดความเหล่อื มลา้ ไปสู่สงั คมท่ีเสมอภาคและเปน็ ธรรม 4.1 การสร้างความม่นั คงและการลดความเหลอ่ื มล้าทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม 4.3 การสรา้ งสภาพแวดล้อมและนวตั กรรมท่เี อ้อื ตอ่ การดารงชีวติ ในสงั คมสงู วัย

14 ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 ดา้ นการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ทเี่ ปน็ มติ รต่อส่ิงแวดล้อมเพ่ือเร่ง อนรุ กั ษฟ์ ื้นฟูและสรา้ งความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละมีความมน่ั คงดา้ นนา้ รวมทง้ั มีความสามารถในการปอ้ งกันผลกระทบและปรบั ตวั ต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพบิ ัติ ธรรมชาตแิ ละพัฒนาม่งุ สกู่ ารเปน็ สังคมสีเขียว การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศและเมืองทเี่ ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั เพื่อให้ หนว่ ยงานภาครัฐมขี นาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกจิ มสี มรรถนะสงู มปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล กระจายบทบาทภารกิจไปสู่ท้องถิน่ อย่างเหมาะสมมีธรรมาภบิ าล 6.1 การปรบั ปรงุ โครงสร้างบทบาทภารกจิ ของหน่วยงานภาครัฐใหม้ ขี นาดท่เี หมาะสม 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกาลังคนและพัฒนาบคุ ลากรภาครัฐ 6.4 การต่อตา้ นการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ 6.5 การปรับปรุงกฎหมายและระเบียบต่างๆให้ทันสมยั เป็นธรรมและเป็นสากล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2561 - 2564) สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตไิ ด้จดั ทาแผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาตฉิ บับท่ี 12 (พ.ศ. 2561 - 2564) สาหรบั ใช้เปน็ แผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซึ่งเปน็ การแปลงยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปีสู่การปฏบิ ตั ิอย่างเปน็ รูปธรรมเพื่อเตรยี มความพรอ้ ม และวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วมีความมั่นคงมั่งคัง่ ยั่งยืน ด้วยการพฒั นาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งซง่ึ การพฒั นาประเทศในระยะของแผนพฒั นา เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตฉิ บบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2561 - 2564) มีหลกั การทสี่ าคัญคอื หลกั การ 1. ยดึ “หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” เพ่ือให้เกดิ บูรณาการการพฒั นาในทกุ มิติ อยา่ งสมเหตุสมผลมคี วามพอประมาณและมีระบบภมู คิ ุ้มกนั และการบริหารจดั การความเสีย่ งที่ดี ซึ่งเปน็ เง่ือนไขที่จาเป็นสาหรบั การพัฒนาท่ียงั่ ยืนซงึ่ มุง่ เนน้ การพฒั นาคนมีความเปน็ คนท่สี มบูรณ์ สังคมไทยเปน็ สงั คมคณุ ภาพมีทยี่ นื และเปดิ โอกาสให้กับทุกคนในสังคมได้ดาเนนิ ชีวติ ทด่ี ีมีความสุข และอยูร่ ่วมกันอย่างสมานฉนั ท์ 2. ยึด “คนเปน็ ศูนย์กลางการพฒั นา” มุง่ สรา้ งคณุ ภาพชีวติ และสขุ ภาวะที่ดีสาหรับ คนไทยพฒั นาคนให้มีความเปน็ คนท่สี มบรู ณม์ วี ินัยใฝ่รู้มคี วามรูม้ ที ักษะมคี วามคิดสร้างสรรค์ มที ศั นคติทีด่ รี ับผดิ ชอบต่อสงั คมมจี รยิ ธรรมและคุณธรรมพัฒนาคนทุกชว่ งวยั และเตรยี มความพร้อม เขา้ สสู่ ังคมผู้สูงอายอุ ย่างมีคณุ ภาพรวมถึงการสรา้ งคนใหใ้ ช้ประโยชนแ์ ละอย่กู ับส่ิงแวดล้อมอยา่ งเก้อื กูล อนรุ ักษ์ฟื้นฟูใช้ประโยชนท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมอยา่ งเหมาะสม 3. ยึด “วสิ ยั ทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ป”ี มาเปน็ กรอบของวสิ ยั ทศั นป์ ระเทศไทย ในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติฉบบั ท่ี 12 วสิ ยั ทัศน์ “ประเทศไทยมคี วามมัน่ คงม่งั คัง่ ยั่งยนื เปน็ ประเทศพฒั นาแล้วดว้ ยการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคตพิ จนป์ ระจาชาติ ว่า “มน่ั คงมัง่ ค่ังยง่ั ยนื ”

15 4. ยึด “เปา้ หมายอนาคตประเทศไทยปี 2579” ท่ีเปน็ เป้าหมายในยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี มาเป็นกรอบในการกาหนดเปา้ หมายทีจ่ ะบรรลใุ น 5 ปแี รกและเป้าหมายในระดบั ยอ่ ยลงมา ควบคกู่ บั กรอบ เปา้ หมายการพัฒนาท่ียงั่ ยืน (SDGs) 5. ยดึ “หลกั การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลือ่ มลา้ และขับเคล่ือนการเจริญเตบิ โต จากการเพม่ิ ผลิตภาพการผลติ บนฐานของการใช้ภูมิปัญญาและนวตั กรรม” 6. ยึด “หลักการนาไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธอิ์ ยา่ งจรงิ จังใน 5 ปที ่ีต่อยอดไปสผู่ ลสมั ฤทธิท์ ่เี ป็นเป้าหมายระยะยาว” วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื วางรากฐานใหค้ นไทยเป็นคนท่ีสมบรู ณ์มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมมีระเบยี บวนิ ยั ค่านิยม ทด่ี ีมจี ติ สาธารณะและมีความสุขโดยมีสขุ ภาวะและสขุ ภาพท่ดี คี รอบครวั อบอุ่นตลอดจนเปน็ คนเก่ง ที่มที กั ษะความร้คู วามสามารถและพัฒนาตนเองได้ต่อเน่ืองตลอดชีวิต 2. เพ่ือใหค้ นไทยมคี วามมนั่ คงทางเศรษฐกจิ และสังคมไดร้ ับความเปน็ ธรรมในการเขา้ ถึงทรัพยากร และบริการทางสังคมทม่ี ีคุณภาพผูด้ อ้ ยโอกาสไดร้ ับการพัฒนาศกั ยภาพรวมท้ังชุมชนมคี วามเข้มแขง็ พ่ึงพา ตนเองได้ 3. เพอ่ื ใหเ้ ศรษฐกิจเข้มแข็งแข่งขนั ไดม้ ีเสถียรภาพและมีความยั่งยืนสร้างความเข้มแข็ง ของฐานการผลติ และบรกิ ารเดมิ และขยายฐานใหมโ่ ดยการใช้นวัตกรรมทเี่ ขม้ ขน้ มากขนึ้ สรา้ งความเขม้ แข็ง ของเศรษฐกิจฐานรากและสรา้ งความมนั่ คงทางพลังงานอาหารและน้า 4. เพ่ือรกั ษาและฟนื้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมใหส้ ามารถสนบั สนนุ การเติบโต ทเี่ ปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ มและการมีคุณภาพชีวิตท่ีดีของประชาชน 5. เพือ่ ใหก้ ารบรหิ ารราชการแผ่นดินมีประสทิ ธภิ าพโปร่งใสทันสมัยและมกี ารทางานเชิงบูรณาการของ ภาคกี ารพัฒนา 6. เพือ่ ใหม้ กี ารกระจายความเจริญไปสูภ่ มู ิภาคโดยการพฒั นาภาคและเมืองเพ่ือรองรบั การพัฒนา ยกระดับฐานการผลิตและบริการเดมิ และขยายฐานการผลิตและบริการใหม่ 7. เพื่อผลกั ดนั ใหป้ ระเทศไทยมคี วามเชอื่ มโยง (Connectivity) กบั ประเทศตา่ งๆทัง้ ในระดบั อนุ ภูมิภาคภมู ภิ าคและนานาชาตไิ ดอ้ ย่างสมบรู ณ์และมีประสิทธิภาพรวมทัง้ ให้ประเทศไทยมีบทบาทนาและ สร้างสรรค์ในด้านการคา้ การบริการและการลงทนุ ภายใต้กรอบความร่วมมอื ต่างๆท้ังในระดับอนุภูมิภาค ภูมภิ าคและโลก เปา้ หมายรวม เพื่อใหเ้ ป็นไปตามวตั ถุประสงคด์ งั กลา่ วไดก้ าหนดเปา้ หมายรวมการพัฒนาของแผนพัฒนาฯฉบบั ที่12 ประกอบดว้ ย 1. คนไทยมีคุณลกั ษณะเป็นคนไทยทส่ี มบูรณม์ วี ินัยมีทศั นคติและพฤติกรรมตามบรรทดั ฐานทีด่ ขี อง สังคมมคี วามเป็นพลเมืองตน่ื รู้มีความสามารถในการปรบั ตวั ไดอ้ ยา่ งรู้เท่าทนั สถานการณ์มีความรบั ผิดชอบและ ทาประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมมีสขุ ภาพกายและใจทด่ี มี คี วามเจรญิ งอกงามทางจิตวญิ ญาณมีวิถีชีวิตท่ีพอเพยี งและมี ความเป็นไทย 2. ความเหลือ่ มล้าทางดา้ นรายไดแ้ ละความยากจนลดลงเศรษฐกิจฐานรากมีความเขม้ แขง็ ประชาชนทุกคนมโี อกาสในการเข้าถึงทรพั ยากรการประกอบอาชพี และบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ อยา่ งท่ัวถงึ และเปน็ ธรรม 3. ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแขง็ และแข่งขนั ได้โครงสร้างเศรษฐกจิ ปรบั สเู่ ศรษฐกจิ ฐานบรกิ ารและ ดิจิทัลมีผ้ปู ระกอบการร่นุ ใหม่และเป็นสังคมผปู้ ระกอบการผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเลก็ ท่ีเข้มแข็ง สามารถใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยดี ิจทิ ัลในการสรา้ งสรรคค์ ณุ คา่ สินคา้ และบริการมรี ะบบ การผลติ และ

16 ใหบ้ รกิ ารจากฐานรายไดเ้ ดมิ ท่มี มี ูลคา่ เพ่มิ สงู ขึน้ และมีการลงทุนในการผลติ และบรกิ ารฐานความรู้ช้นั สูงใหม่ๆที่ เปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อมและชมุ ชนรวมทั้งกระจายฐานการผลิตและการใหบ้ รกิ ารสภู่ ูมภิ าคเพื่อลดความเหล่ือม ล้าโดยเศรษฐกิจไทยมีเสถียรภาพ 4. ทุนทางธรรมชาติและคณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ มสามารถสนบั สนนุ การเตบิ โตที่เปน็ มิตรกับ สง่ิ แวดลอ้ มมีความมัน่ คงทางอาหารพลงั งานและน้า 6 ยทุ ธศาสตรข์ องแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตฉิ บับที่ 12 ประกอบดว้ ย ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การเสริมสรา้ งและพฒั นาศักยภาพทุนมนุษย์ใหค้ วามสาคัญกับ การวางรากฐานการพัฒนาคนให้มคี วามสมบรู ณเ์ รมิ่ ตัง้ แต่กลมุ่ เด็กปฐมวยั ทีต่ อ้ งพฒั นาให้มีสุขภาพกาย และใจท่ดี มี ีทักษะทางสมองทักษะการเรยี นรแู้ ละทักษะชีวิตเพือ่ ให้เติบโตอย่างมีคณุ ภาพควบคู่กบั การพัฒนาคนไทยในทกุ ชว่ งวัยให้เป็นคนดมี ีสขุ ภาวะที่ดมี ีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมมรี ะเบยี บวินัยมีจิตสานกึ ที่ดีต่อสงั คมสว่ นรวมมที กั ษะความรแู้ ละความสามารถปรับตัวเทา่ ทนั กบั การเปล่ียนแปลงรอบตวั ทีร่ วดเร็วบนพ้นื ฐานของการมสี ถาบันทางสงั คมทีเ่ ขม้ แข็งทงั้ สถาบนั ครอบครวั สถาบันการศึกษา สถาบนั ศาสนาสถาบนั ชมุ ชนและภาคเอกชนทีร่ ่วมกันพฒั นาทุนมนุษย์ใหม้ คี ุณภาพสงู อกี ท้ังยังเปน็ ทุน ทางสงั คมสาคัญในการขับเคลอ่ื นการพฒั นาประเทศ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหล่ือมลาในสงั คม ให้ความสาคญั กบั การดาเนินการยกระดับคณุ ภาพบรกิ ารทางสงั คมใหท้ วั่ ถึงโดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ด้านการศกึ ษาและสาธารณสุขรวมทงั้ การปดิ ช่องว่างการคมุ้ ครองทางสังคมในประเทศไทย ซง่ึ เปน็ การดาเนนิ งานตอ่ เนื่องจากการขบั เคลื่อนและผลักดนั ในช่วงแผนพัฒนาฯฉบับท่ี 11 และมุง่ เน้น มากขน้ึ ในเรอื่ งการเพิ่มทกั ษะแรงงานและการใชน้ โยบายแรงงานทสี่ นบั สนุนการเพิ่มผลิตภาพแรงงานและ เสรมิ สรา้ งรายไดส้ ูงขนึ้ และการสรา้ งโอกาสทางเศรษฐกจิ และสงั คมโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการสนับสนนุ ในเรือ่ ง การสรา้ งอาชีพรายไดแ้ ละให้ความชว่ ยเหลอื ทีเ่ ชื่อมโยงการเพ่ิมผลิตภาพสาหรบั ประชากรกลุ่มรอ้ ยละ 40 รายไดต้ ่าสุดผ้ดู อ้ ยโอกาสสตรีและผ้สู งู อายอุ าทิการสนบั สนุนธรุ กจิ ขนาดเล็กขนาดกลางและขนาดย่อม วสิ าหกิจชมุ ชนและวสิ าหกิจเพอ่ื สังคมการพฒั นาองค์กรการเงนิ ฐานรากและการเข้าถงึ เงินทนุ เพือ่ สรา้ งอาชีพ และการสนบั สนุนการเขา้ ถึงปจั จยั การผลิตคุณภาพดีที่ราคาเป็นธรรมเปน็ ต้นและในขณะเดยี วกันก็ต้องเพิ่ม ประสิทธภิ าพการใช้งบประมาณเชิงพ้ืนท่ีและบรู ณาการเพือ่ การลดความเหลือ่ มล้า ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การเสรมิ สร้างความมัน่ คงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสู่ความม่ังคงั่ และยง่ั ยืน ใหค้ วามสาคญั ต่อการฟน้ื ฟูพนื้ ฐานด้านความมน่ั คงท่เี ปน็ ปัจจัยสาคัญตอ่ การพัฒนา ทางเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศโดยเฉพาะการอยู่รว่ มกนั ในสังคมอย่างสันติของผู้มีความเหน็ ต่าง ทางความคดิ และอุดมการณ์บนพ้ืนฐานของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ ทรงเปน็ ประมุขและการเตรียมการรับมอื กับภัยคุกคามข้ามชาติซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างมนี ยั ยะสาคญั ต่อการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศในระยะ 20 ปขี ้างหน้า ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การบรหิ ารจดั การในภาครัฐการป้องกันการทจุ ริตประพฤตมิ ชิ อบ และธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย เป็นช่วงเวลาสาคญั ทตี่ อ้ งเร่งปฏิรปู การบริหารจัดการภาครฐั ให้เกิดผล สัมฤทธิ์อย่างจริงจังเพ่อื ให้เป็นปจั จัยสนับสนนุ สาคญั ทีจ่ ะชว่ ยส่งเสริมการพัฒนาประเทศในทุกด้าน ให้ประสบผลสาเร็จบรรลเุ ป้าหมายท้งั การบรหิ ารจดั การภาครฐั ใหโ้ ปร่งใสมปี ระสทิ ธภิ าพรับผิดชอบ ตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรมและประชาชนมีสว่ นรว่ มมกี ารกระจายอานาจและแบ่งภารกิจรับผดิ ชอบ ท่ีเหมาะสมระหว่างสว่ นกลางภูมภิ าคและท้องถน่ิ และวางพื้นฐานเพื่อใหบ้ รรลุตามกรอบเป้าหมาย

17 อนาคตในปี 2579 แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ ารฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2561 - 2564) กระทรวงศึกษาธิการได้จดั ทาแผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ ารฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2561 - 2564) โดยไดน้ อ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้เปน็ กรอบในการ ดาเนนิ งานและสอดคล้องกบั ทิศทางการพัฒนาประเทศในชว่ งแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12(พ.ศ. 2561 - 2564) โดยกาหนดสาระสาคญั ดงั น้ี วิสัยทัศน์ “ม่งุ พัฒนาผ้เู รยี นใหม้ ีความรู้คูค่ ุณธรรมมีคุณภาพชวี ิตทีด่ ีมีความสขุ ในสงั คม” พนั ธกจิ 1. ยกระดับคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดับ/ประเภทสู่สากล 2. เสริมสร้างโอกาสการเข้าถงึ บริการทางการศึกษาของประชาชนอย่างทว่ั ถึงเท่าเทยี ม 3. พัฒนาระบบบริหารจดั การการศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าล เป้าหมายหลัก (Extreme Goals) 1. คณุ ภาพการศึกษาของไทยดีขนึ้ คนไทยมคี ุณธรรมจริยธรรมมีภูมคิ ุ้มกันตอ่ การเปลี่ยนแปลง และการพฒั นาประเทศในอนาคต 2. กาลังคนไดร้ บั การผลติ และพัฒนาเพอ่ื เสริมสร้างศักยภาพการแขง่ ขันของประเทศ 3. มอี งค์ความร้เู ทคโนโลยีนวัตกรรมสนบั สนนุ การพัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยนื 4. คนไทยไดร้ ับโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ติ 5. ระบบบรหิ ารจดั การการศึกษาทม่ี ปี ระสิทธิภาพตามหลักธรรมาภบิ าลโดยการมีส่วนร่วม จากทุกภาคสว่ น ตัวชวี ัดตามเปา้ หมายหลัก 1. ผลคะแนนสอบ PISA ในแตล่ ะวชิ าไมต่ า่ กว่า 500 2. รอ้ ยละทเ่ี พิม่ ขึ้นของคะแนนเฉล่ียผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาหลักระดับการศกึ ษา ข้นั พนื้ ฐานจากการทดสอบระดบั ชาติ 3. รอ้ ยละคะแนนเฉล่ยี ของผ้เู รยี นทกุ ระดับการศึกษามีคุณธรรมจรยิ ธรรม 4. ร้อยละคะแนนเฉลย่ี ของผเู้ รียนทกุ ระดับการศึกษามีความเปน็ พลเมืองและพลโลก 5. สัดสว่ นผู้เข้าเรยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษาต่อสายสามัญ 6. ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้างผู้ประกอบการท่ีมีต่อผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาระดับ อาชีวศึกษาและระดบั อุดมศกึ ษา 7. รอ้ ยละของผู้สาเร็จการศึกษาระดับอาชีวศกึ ษาและระดับอุดมศึกษาได้งานทาหรอื ประกอบอาชีพ อสิ ระภายใน 1 ปี 8. รอ้ ยละของผลงานวจิ ัยนวัตกรรมงานสร้างสรรค์ส่งิ ประดษิ ฐท์ ไี่ ด้รบั การเผยแพร่/ตีพิมพ์ 9. ร้อยละขององคค์ วามร้แู ละสง่ิ ประดษิ ฐท์ น่ี าไปใช้หรือแก้ไขปญั หาชุมชนท้องถ่นิ 10. จานวนปีการศกึ ษาเฉลี่ยของคนไทยอายุ 15 – 59 ปี

18 11. ร้อยละของกาลังแรงงานทส่ี าเรจ็ การศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ขึน้ ไป 12. ร้อยละของนกั เรียนตอ่ ประชากรวัยเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (อายุ 15 – 17 ปี) 13. สดั สว่ นผู้เรียนในสถานศกึ ษาทุกระดบั ของรฐั ตอ่ เอกชน 14. จานวนภาคีเครือข่ายทเ่ี ข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจดั /พฒั นา/ส่งเสรมิ การศกึ ษา ยุทธศาสตร์ 1. ยุทธศาสตร์พฒั นาหลักสตู รกระบวนการเรียนการสอนการวัดและประเมินผล 2. ยุทธศาสตร์ผลติ พฒั นาครคู ณาจารย์และบคุ ลากรทางการศึกษา 3. ยทุ ธศาสตร์ผลติ และพัฒนากาลังคนรวมท้งั งานวิจยั ทีส่ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการ ของการพฒั นาประเทศ 4. ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างตอ่ เน่ือง ตลอดชวี ติ 5. ยุทธศาสตรส์ ่งเสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทลั เพ่ือการศึกษา 6. ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาระบบบริหารจดั การและส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคสว่ นมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา แผนพัฒนาการศกึ ษาของสานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2561 - 2564) สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้จัดทาแผนพฒั นาการศกึ ษาของสานกั งานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธกิ ารฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2561 - 2564) เพือ่ ใชเ้ ป็นกรอบแนวทางในการพฒั นาการศึกษาของสานกั งาน ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในระยะ 5 ปโี ดยกาหนดสาระสาคญั ดังนี้ วสิ ัยทศั น์ การบรหิ ารจดั การมปี ระสิทธิภาพผ้เู รยี นไดร้ ับการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ทีม่ ีคุณภาพโดยยึดหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง พันธกจิ 1. พฒั นาระบบบริหารจดั การให้มปี ระสทิ ธิภาพ 2. ส่งเสรมิ สนบั สนุนและพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาในระบบการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคสว่ น 3. พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เป้าประสงค์รวม 1. ระบบบรหิ ารจัดการมีประสิทธภิ าพ 2. ผเู้ รียนไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ ทม่ี คี ุณภาพอย่างทว่ั ถึง และเท่าเทียม ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. พฒั นาระบบบริหารจดั การให้มีประสทิ ธภิ าพ 2. พัฒนาและสง่ เสรมิ การนาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใชใ้ นการบริหารการบรกิ ารและการเรียนรู้ อย่างมีประสิทธภิ าพ 3. พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาในระบบการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย 4. ส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมจากทุกภาคสว่ นในการกระจายโอกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ 5. พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพ

19 เป้าประสงคต์ ามประเด็นยุทธศาสตร์ 1. หน่วยงานมีระบบบริหารจดั การท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ 2. ผูร้ บั บรกิ ารมีและใชร้ ะบบเทคโนโลยดี จิ ิทลั ทมี่ ีประสทิ ธภิ าพในการบริหารการบรกิ าร และการเรียนรู้ 3. ผ้เู รียนไดร้ ับการศึกษาที่มคี ุณภาพ ภารกจิ ต่อเน่ือง 1. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 1) สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน โดยดาเนนิ การให้ผู้เรยี นได้รบั การสนับสนนุ ค่าจดั ซอ้ื หนังสอื เรยี น ค่าจัดกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน และ ค่าจดั การเรียนการสอนอย่างท่ัวถึงและเพียงพอ เพ่อื เพิม่ โอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษา ทมี่ คี ุณภาพโดยไมเ่ สียคา่ ใช้จ่าย 2) จดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐานใหก้ ับกล่มุ เปา้ หมายผดู้ อ้ ย พลาด และขาด โอกาสทางการศกึ ษา ท้ังระบบการใหบ้ รกิ าร ระบบการเรียนการสอน ระบบการวดั และ ประเมนิ ผลการเรยี น ผ่าน การเรยี นแบบเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การพบกล่มุ การเรยี นแบบชน้ั เรียน และการจดั การศกึ ษาทางไกล 3) จัดใหม้ กี ารประเมนิ เพื่อเทยี บระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรแู้ ละ ประสบการณ์ ทีม่ คี วามโปร่งใส ยุตธิ รรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามทก่ี าหนด และสามารถตอบสนอง ความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4) สง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รยี นตอ้ งเรยี นรแู้ ละปฏบิ ตั กิ ิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต เพ่ือดาเนิน กิจกรรมเสรมิ สร้างความสามคั คี ปอ้ งกัน และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด บาเพญ็ สาธารณประโยชน์อย่างตอ่ เน่อื ง และสง่ เสรมิ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข เชน่ กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี และยุวกาชาด กจิ กรรมจิตอาสา การจัดตั้งชมรม / ชมุ นมุ และเปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นนากิจกรรมการ บาเพ็ญประโยชนอ์ ื่น ๆ นอกหลกั สตู ร มาใชเ้ พ่มิ ช่วั โมงกจิ กรรมให้ผูเ้ รียนจบตามหลกั สูตรได้ 5) จดั การศึกษาเพ่อื เพมิ่ อัตราการรูห้ นังสอื ให้คนไทยใหส้ ามารถอ่านออกเขยี นได้ โดยใชห้ ลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 ของสานกั งาน กศน. และส่ือท่เี หมาะสมกับสภาพและ พ้ืนทขี่ องกลุ่มเปา้ หมาย 1.2 การศึกษาต่อเน่อื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่อื การมงี านทาอยา่ งยงั่ ยนื โดยใหค้ วามสาคัญกบั การจดั การศึกษาอาชีพ เพ่อื การมงี านทา และอาชีพทีส่ อดคล้องกบั ศักยภาพของผู้เรียนและศักยภาพของแตล่ ะพื้นที่ 2) จัดการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาทักษะชีวติ ให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดกิจกรรม การศึกษาในรูปแบบตา่ ง ๆ อาทิ คา่ ยพัฒนาทกั ษะชีวติ การจดั ตั้งชมรม / ชุมชน การสง่ เสริมความสามารถ พเิ ศษตา่ ง ๆ ทมี่ ุ่งเนน้ ให้กลุ่มเป้าหมายมคี วามรู้ความสามารถในการบรหิ ารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ใน สงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข มีคุณธรรมจริยธรรม รวมทง้ั สามารถใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ตอ่ ตนเอง ครอบครัว

20 และชุมชน 3) จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน โดยใชห้ ลักสตู รและการจดั กระบวนการ เรยี นรแู้ บบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การเรยี นทางไกล การประชมุ สัมมนา การจดั เวที แลกเปล่ยี นเรียนรู้ การจดั กจิ กรรมจิตอาสา การสรา้ งชมุ ชนนกั ปฏบิ ัติ และรูปแบบอน่ื ๆ ทีเ่ หมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย และบรบิ ทของชุมชน แต่ละพื้นที่ โดยเนน้ การสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็น พลเมอื งดี การบาเพ็ญประโยชน์ การอนรุ กั ษ์พลังงาน การ อนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 4) ส่งเสรมิ การจดั การเรยี นร้เู พือ่ สร้างจิตสานึกและวนิ ัยในชมุ ชน เชน่ การส่งเสริม คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมในชมุ ชน การเพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยของชุมชน การจดั กจิ กรรมจติ อาสา ศนู ยเ์ รยี นรหู้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฏใี หม่ประจาตาบล 5) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ สาหรบั คนพกิ ารอยา่ งมีคุณภาพสอดคล้อง กับความต้องการจาเปน็ พเิ ศษของแตล่ ะบุคคล และมที ักษะการดารงชวี ิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพ พงึ่ พาตนเองได้เตม็ ศักยภาพอย่างมศี กั ดิ์ศรีความเป็นมนุษย์บนพ้นื ฐานหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมทัง้ สรา้ งความตระหนกั ถึงคณุ ค่าและศักดิ์ศรีของผู้ด้อยโอกาสให้สามารถอยูใ่ นสังคมได้อยา่ งมีศักดศ์ิ รี ความเปน็ มนษุ ย์ 1.3 การศึกษาตามอัธยาศยั 1) ส่งเสรมิ ให้มีการพัฒนาแหลง่ การเรยี นรใู้ นระดับตาบล เพ่ือการถา่ ยทอดองค์ ความรู้ และจดั กจิ กรรมเพอื่ เผยแพรอ่ งค์ความร้ใู นชุมชนไดอ้ ยา่ งท่ัวถึง 2) จดั กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรเู้ พ่อื ปลกู ฝงั นสิ ยั รักการอา่ น และพัฒนา ความสามารถ ในการอ่านและศกั ยภาพการเรยี นรขู้ องประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย 3) สง่ เสรมิ ให้มีการสรา้ งบรรยากาศ และสง่ิ แวดล้อมทเ่ี อ้ือตอ่ การอ่านใหเ้ กดิ ขนึ้ ในสงั คมไทย โดยสนบั สนุนการพัฒนาแหลง่ การเรยี นรใู้ หเ้ กิดขน้ึ อยา่ งกวา้ งขวางและทวั่ ถึง เชน่ พัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชนทกุ แห่ง ให้เปน็ แหล่งเรยี นรู้ตลอดชีวิตของชุมชน สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ อาสาสมัครส่งเสริมการอา่ น การสร้างเครือขา่ ย สง่ เสริมการอ่าน จัดหนว่ ยบรกิ ารเคลือ่ นทพี่ ร้อมอุปกรณเ์ พอื่ ส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นรู้ ท่ีหลากหลายออก ใหบ้ ริการประชาชนในพ้นื ท่ตี ่าง ๆ อย่างท่วั ถึง สม่าเสมอ รวมทั้งเสริมสรา้ งความพรอ้ ม ในด้านสอื่ อปุ กรณ์ เพื่อสนับสนุนการอา่ น และการจัดกจิ กรรมเพ่ือส่งเสริมการอ่านอยา่ งหลากหลาย 4) จดั สรา้ งและพัฒนาศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษา ให้เปน็ แหล่งเรียนรู้ วิทยาศาสตรต์ ลอด ชีวิตของประชาชนและเป็นแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วประจาทอ้ งถนิ่ โดยจดั สรา้ งและพฒั นา นทิ รรศการ พฒั นาส่ือท่สี รา้ ง แรงบนั ดาลใจสงู และจัดกจิ กรรมการศกึ ษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้ สอดแทรกวธิ ีการคิดแบบวิทยาศาสตร์ การฝกึ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละปลูกฝงั เจตคติ ทางวิทยาศาสตร์ โดยบูรณาการความร้ดู ้าน วทิ ยาศาสตร์ ควบคกู่ บั เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และ คณิตศาสตร์ อยา่ งสอดคลอ้ งกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง บริบทของของชมุ ชน ประเทศ รวมท้ังการ เปลีย่ นแปลงระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อให้ประชาชนมี ความรู้ มีความสามารถในการคดิ เชิงวิเคราะห์ มที กั ษะที่จาเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 มคี วามสามารถในการ ปรับตัวรองรบั การผลกระทบจากการ เปลยี่ นแปลงในอนาคตได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และสามารถนาความรูแ้ ละ ทักษะไปประยุกต์ใช้ในการ ดาเนินชีวิต การพฒั นาอาชพี การรกั ษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกนั ภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ 2. ดา้ นหลกั สูตร สอ่ื รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล งานบริการทาง วชิ าการ และการประกนั คณุ ภาพการศึกษา 2.1 สง่ เสรมิ การพฒั นาหลกั สูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรูแ้ ละกจิ กรรมเพ่ือสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทห่ี ลากหลาย ทันสมัย รวมทง้ั หลกั สูตรทอ้ งถิน่ ทสี่ อดคล้องกบั

21 สภาพบริบทของพ้ืนท่ี และความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายและชุมชน 2.2 พฒั นารูปแบบการจัดการศกึ ษาทางไกลใหม้ ีความทนั สมยั ด้วยระบบหอ้ งเรียนและการ ควบคุม การสอบออนไลน์ 2.3 พัฒนาระบบการประเมินเพือ่ เทียบระดบั การศกึ ษา และการเทยี บโอนความรูแ้ ละ ประสบการณ์ ให้มคี ุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุม่ เป้าหมายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.4 ส่งเสริมการพฒั นาส่อื แบบเรียน สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละสอื่ อน่ื ๆ ที่เอ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ ของผเู้ รยี นกลมุ่ เปา้ หมายท่ัวไปและกลมุ่ เป้าหมายพิเศษ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมนิ ผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใช้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนนุ การศึกษาวิจยั พัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และประเมนิ ผล และเผยแพรร่ ปู แบบการจดั สง่ เสริม และสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพอ่ื ให้มีการนาไปส่กู ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งกวา้ งขวางและมกี ารพัฒนาใหเ้ หมาะสมกับบริบท อย่างตอ่ เนือ่ ง 2.7 พฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาให้ไดม้ าตรฐาน เพ่อื พรอ้ มรับการ ประเมนิ คุณภาพภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของระบบ การประกนั คุณภาพ และสามารถดาเนินการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องโดยใชก้ าร ประเมนิ ภายใน ด้วยตนเอง และจัดใหม้ รี ะบบสถานศกึ ษาพเ่ี ล้ียงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกลช้ ิด สาหรบั สถานศกึ ษาที่ยงั ไม่ได้เข้ารบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก ให้พฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาใหไ้ ด้คณุ ภาพ ตามมาตรฐานท่ีกาหนด 3. ด้านเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา 3.1 ผลิตและพฒั นารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพอื่ การศึกษาใหเ้ ชอื่ มโยงและ ตอบสนองตอ่ การจดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของสถานศึกษาเพื่อกระจาย โอกาสทางการศกึ ษา สาหรับกล่มุ เปา้ หมายตา่ งๆ ให้มีทางเลอื กในการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลายและมีคณุ ภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้ รเู้ ทา่ ทนั ส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การสอ่ื สาร เชน่ รายการพฒั นาอาชพี เพ่อื การมงี านทา รายการตวิ เขม้ เติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพรท่ างสถานีวิทยุศึกษา สถานวี ิทยโุ ทรทศั น์ เพอื่ การศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (ETV) และทางอินเทอรเ์ น็ต 3.2 พัฒนาช่องทางการเผยแพรก่ ารจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารแบบออนไลน์ เพือ่ ส่งเสรมิ ใหค้ รู กศน. นาเทคโนโลยี สารสนเทศและ การสือ่ สารมาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานวี ิทยศุ กึ ษา และสถานีโทรทศั น์เพ่อื การศกึ ษาเพ่ือเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลิต และ การออกอากาศให้กลุม่ เปา้ หมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรทู้ ีม่ ีคณุ ภาพได้อยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ิต โดยขยาย เครอื ขา่ ยการรบั ฟังใหส้ ามารถรบั ฟังไดท้ กุ ที่ ทกุ เวลา ครอบคลุมพืน้ ทที่ วั่ ประเทศและเพ่ิมช่องทาง ให้สามารถรบั ชม รายการโทรทัศน์ไดท้ ง้ั ระบบ Ku - Band , C - Band และทางอนิ เทอรเ์ นต็ พรอ้ มท่จี ะ รองรบั การพฒั นาเปน็ สถานี วิทยโุ ทรทัศน์เพ่ือการศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พฒั นาระบบการให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาใหไ้ ดห้ ลายช่องทางทั้งทาง อินเทอร์เน็ต และรปู แบบอื่น ๆ เช่น Application บนโทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เปน็ ต้น เพ่ือให้กลมุ่ เปา้ หมายสามารถเลอื กใช้บริการเพ่ือเข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรู้

22 ได้ตามความต้องการ 3.5 สารวจ วิจัย ตดิ ตามประเมินผลด้านสื่อเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาอย่างต่อเนอ่ื ง และนา ผลมาใชใ้ นการพฒั นางานใหม้ ีความถกู ตอ้ ง ทันสมัยและสามารถส่งเสรมิ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ิต ของประชาชนได้อยา่ งแทจ้ ริง 4. ด้านโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ หรอื โครงการอนั เก่ยี วเนอื่ งจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนนุ การดาเนนิ งานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ หรอื โครงการ อันเกี่ยวเน่ืองจากราชวงศ์ 4.2 จัดทาฐานขอ้ มลู โครงการและกิจกรรมของ กศน. ท่สี นองงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ หรือโครงการอนั เกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ ท่ีสามารถนาไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมนิ ผล และการพฒั นางานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4.3 สง่ เสริมการสรา้ งเครือข่ายการดาเนินงานเพ่ือสนบั สนุนโครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชดาริ เพอื่ ให้เกิดความเขม้ แขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 4.4 พฒั นาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ใหม้ ีความพร้อมในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ตามบทบาทหน้าทที่ ี่กาหนดไว้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4.5 จดั และสง่ เสริมการศึกษาตลอดชวี ิตใหส้ อดคลอ้ งกับวิถีชวี ติ ของประชาชนบนพืน้ ทีส่ ูง ถน่ิ ทรุ กนั ดาร และพน้ื ทีช่ ายขอบ 5. ด้านการศึกษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พ้ืนท่เี ขตเศรษฐกจิ พิเศษ และพ้นื ทบ่ี รเิ วณชายแดน 5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1) จัดและพฒั นาหลกั สูตร และกิจกรรมสง่ เสริมการศกึ ษาและการเรยี นรู้ ที่ตอบสนองปัญหา และความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายรวมท้ังอัตลักษณ์และความเป็นพหุวัฒนธรรมของพืน้ ท่ี 2) พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐานอย่างเขม้ ขน้ และต่อเนือ่ ง เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์ไดจ้ ริง 3) ใหห้ นว่ ยงานและสถานศกึ ษาจัดใหม้ ีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัย แกบ่ ุคลากร และนักศึกษา กศน. ตลอดจนผู้มาใช้บรกิ ารอยา่ งท่วั ถึง 5.2 พฒั นาการจดั การศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้องในการจดั ทาแผนการศึกษา ตามยทุ ธศาสตร์ และบริบทของแตล่ ะจงั หวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 2) จัดทาหลกั สตู รการศกึ ษาตามบรบิ ทของพ้นื ที่ โดยเนน้ สาขาทเ่ี ป็นความต้องการ ของตลาด ให้เกดิ การพฒั นาอาชพี ได้ตรงตามความต้องการของพ้นื ที่ 5.3 จดั การศกึ ษาเพือ่ ความมัน่ คงชายแดนของศนู ยฝ์ ึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริ เวณ ชายแดน (ศฝช.) 1) พฒั นาศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน ใหเ้ ป็นศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชนตน้ แบบดา้ นเกษตรกรรม ศนู ย์สาธติ การประกอบอาชพี ศูนย์การเรียนร้ตู ้นแบบการจัดกจิ กรรมตามแนว พระราชดารปิ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สาหรับประชาชนตามแนวชายแดนดว้ ยวธิ ีการเรยี นรทู้ ี่หลากหลาย 2) มุง่ จัดและพฒั นาการศึกษาอาชีพ โดยใช้วิธกี ารหลากหลาย ใชร้ ูปแบบเชิงรกุ เพ่อื การเขา้ ถงึ กลมุ่ เปา้ หมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชพี การประสานความรว่ มมอื กับเครือขา่ ย การจดั อบรม แกนนาด้านอาชีพ ทีเ่ นน้ เรื่องเกษตรธรรมชาติท่สี อดคล้องกับบรบิ ทของชุมชนชายแดน ใหแ้ กป่ ระชาชน ตามแนวชายแดน 6. ดา้ นบุคลากร ระบบการบรหิ ารจดั การ และการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วน

23 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พฒั นาบคุ ลากรทุกระดับ ทกุ ประเภทใหม้ ีสมรรถนะสูงข้นึ อย่างตอ่ เน่อื ง ทัง้ ก่อน และระหวา่ งการดารงตาแหน่งเพื่อให้มีเจตคติท่ดี ีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบตั ิงานและบรหิ ารจัดการ การดาเนนิ งานของหน่วยงานและสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ รวมทัง้ ส่งเสริมให้บุคลากรในสงั กดั พัฒนา ตนเองเพื่อเล่ือนตาแหนง่ หรอื เล่ือนวิทยฐานะโดยเน้นการประเมินวิทยฐานะเชิงประจักษ์ 2) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตาบล/แขวง ให้มสี มรรถนะสูงขึน้ ในการบริหารจดั การ กศน. ตาบล/แขวง และการปฏิบัตงิ านตามบทบาทภารกจิ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเน้นการเปน็ นกั จดั การ ความรู้ และผู้อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้เพ่อื ให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรทู้ มี่ ีประสิทธิภาพอยา่ งแทจ้ ริง 3) พฒั นาครู กศน. และผทู้ เี่ กีย่ วขอ้ งใหส้ ามารถจัดรูปแบบการเรยี นรู้ได้อย่าง มคี ณุ ภาพ โดยส่งเสริมใหม้ ีความรคู้ วามสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล และการวจิ ยั เบอ้ื งตน้ 4) สง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการ กศน. ตาบล/แขวง เพอ่ื การมสี ่วน รว่ มในการบริหารการดาเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน. ตาบล/แขวง อย่างมีประสิทธภิ าพ 5) พัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร ท่รี ับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรยี นรู้ ให้มคี วามรู้ ความสามารถ และมคี วามเป็นมอื อาชพี ในการจดั บริการสง่ เสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต ของประชาชน 6) พฒั นาอาสาสมัคร กศน. ใหส้ ามารถทาหนา้ ที่เปน็ ผจู้ ัด สง่ เสริมและสนบั สนนุ การ จดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 7) เสริมสร้างสมั พนั ธภาพระหว่างบคุ ลากร รวมทัง้ ภาคเี ครอื ข่ายทง้ั ในและ ตา่ งประเทศ ในทกุ ระดับเพ่อื เพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานร่วมกัน โดยจัดให้มีกจิ กรรมการพัฒนาสมรรถนะ และเสรมิ สร้างความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคลากร และภาคเี ครอื ขา่ ยในรปู แบบทหี่ ลากหลายอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 6.2 การพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานและอัตรากาลัง 1) จัดทาแผนการพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและดาเนนิ การปรับปรงุ สถานท่ี และวัสดุ อุปกรณ์ ให้มคี วามพรอ้ มในการจดั การศกึ ษา 2) บรหิ ารอัตรากาลังทมี่ ีอยูท่ ้งั ในส่วนท่ีเป็นขา้ ราชการ พนกั งานราชการ และลกู จา้ ง ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสูงสดุ ในการปฏิบตั ิงาน 3) แสวงหาภาคเี ครอื ขา่ ยในท้องถิน่ เพอ่ื การมสี ว่ นร่วมในการดาเนนิ กิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมท้ังระดมทรพั ยากรเพื่อนามาใช้ในการปรบั ปรงุ โครงสรา้ ง พื้นฐาน ใหม้ คี วามพร้อมสาหรบั ดาเนินกิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนร้ขู องประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) เร่งผลักดันใหม้ กี ารประกาศใชก้ ฎหมายวา่ ด้วยการศึกษาตลอดชีวิต 2) เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเร่งรดั การเบกิ จ่ายงบประมาณใหเ้ ปน็ ตามเป้าหมายทกี่ าหนดไว้ 3) พฒั นาระบบฐานข้อมลู ใหม้ ีความครบถ้วน ถูกตอ้ ง ทนั สมัย และเช่ือมโยงกนั ทว่ั ประเทศอยา่ งเป็นระบบเพ่อื ให้หนว่ ยงาน และสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช้เปน็ เครอ่ื งมือสาคัญในการ บริหาร การวางแผน การปฏิบตั ิงาน การติดตามประเมินผล และการนาผลมาพฒั นาการดาเนนิ งานอยา่ ง ตอ่ เนอื่ ง ตามวงจรคณุ ภาพเดมม่ิง (PDCA) รวมท้งั จัดบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

24 อย่างมีประสิทธิภาพ 4) พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู รวมของนักศกึ ษา กศน. ให้มีความครบถว้ น ถกู ตอ้ ง ทันสมัย และเชื่อมโยงกนั ทัว่ ประเทศ สามารถสืบคน้ และสอบทานได้ทันความตอ้ งการเพ่ือประโยชน์ในการ จัดการศกึ ษาใหก้ ับผ้เู รยี นและการบริหารจดั การอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 5) สง่ เสริมให้มกี ารจดั การความรใู้ นหนว่ ยงานและสถานศึกษาทกุ ระดับ รวมทง้ั การศึกษาวิจยั เพื่อสามารถนามาใชใ้ นการพฒั นาประสิทธภิ าพการดาเนนิ งานทสี่ อดคล้องกบั ความต้องการ ของประชาชนและชมุ ชนพรอ้ มท้งั พัฒนาขีดความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหน่วยงานและสถานศกึ ษา 6) สร้างความรว่ มมือของทุกภาคส่วนทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ในการพัฒนา และสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต 6.4 การกากับ นิเทศตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผล 1) สรา้ งกลไกการกากับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการดาเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยให้เชอ่ื มโยงกับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือขา่ ย ทง้ั ระบบ 2) ใหห้ น่วยงานและสถานศกึ ษาทีเ่ ก่ยี วข้องทกุ ระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ตดิ ตามและ รายงานผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแตล่ ะ เรือ่ ง ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 3) สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ การส่ือสาร และสื่ออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพอ่ื การกากบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 4) พฒั นากลไกการตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการตามคารับรองการปฏิบัติ ราชการ ประจาปีของหน่วยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคารับรองการปฏิบตั ริ าชการ ประจาปี ของสานักงาน กศน. ใหด้ าเนนิ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลา ทก่ี าหนด 5) ใหม้ กี ารเชือ่ มโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอก องค์กร ต้งั แต่ ส่วนกลาง ภูมภิ าค กลมุ่ จงั หวดั จงั หวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพอ่ื ความเปน็ เอกภาพใน การใช้ขอ้ มลู และ การพฒั นางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2562 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี นการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 1.1 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นท่ดี ีสอดคล้องกบั หลักสูตรสถานศกึ ษา 1.2 ผ้เู รยี นการศึกษาขั้นพื้นฐานมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มและคณุ ลักษณะทีด่ ตี ามท่สี ถานศกึ ษา กาหนด 1.3 ผู้เรยี นการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และ แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ร่วมกบั ผอู้ ่ืน 1.4 ผเู้ รยี นการศึกษาขั้นพื้นฐานมคี วามสามารถในการสร้างสรรคง์ านช้ินงาน หรอื นวัตกรรม 1.5 ผเู้ รยี นการศึกษาขั้นพนื้ ฐานมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล

25 1.6 ผ้เู รยี นการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานมสี ขุ ภาวะทางกายและสนุ ทรยี ภาพ 1.7 ผู้เรยี นการศึกษาขั้นพ้นื ฐานมีความสามารถในการอา่ นการเขยี น 1.8 ผู้จบการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานนาความรทู้ ักษะพ้นื ฐานที่ไดร้ ับไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ 2.1 การพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาทสี่ อดคล้องกับบริบทและความต้องการของผู้เรียนชมุ ชน ทอ้ งถิ่น 2.2 สอ่ื ท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ 2.3 ครูมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนร้ทู ่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั 2.4 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียนการศกึ ษาต่อเน่อื ง 1.1 ผ้เู รียนการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งมีความรู้ ความสามารถ และหรือทกั ษะ และหรอื คุณธรรมเปน็ ไปตาม เกณฑ์การจบหลักสูตร 1.2 ผจู้ บหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถนาความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใชห้ รอื ประยกุ ต์ใช้ บนฐานค่านิยมรว่ ม ของสังคม 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนือ่ งท่นี าความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือตวั อย่างท่ดี ี มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การเรยี นรู้การศึกษาต่อเน่อื ง 2.1 หลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งมคี ุณภาพ 2.2 วทิ ยากรการศึกษาต่อเน่อื ง มีความรู้ ความสามารถหรือประสบการณ์ตรงตามหลักสตู รการศึกษา ตอ่ เน่อื ง 2.3 ส่อื ทีเ่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ 2.4 การวัดและประเมินผลผ้เู รยี นการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง 2.5 การจดั กระบวนการเรยี นร้กู ารศกึ ษาต่อเนอ่ื งทม่ี คี ุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย 1.1 ผ้รู ับบรกิ ารมีความรหู้ รือทักษะ หรอื ประสบการณส์ อดคล้องกบั วัตถุประสงคข์ องโครงการหรอื กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2.1 การกาหนดโครงการหรอื กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั 2.2 ผู้จัดกจิ กรรมมีความร้คู วามสามารถในการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั 2.3 สอ่ื หรือนวตั กรรม และสภาพแวดลอ้ มที่เออ้ื ตอ่ การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั 2.4 ผู้รับบริการมคี วามพงึ พอใจตอ่ การจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา 3.1 การบริหารจัดการของสถานศกึ ษาทเ่ี นน้ การมสี ่วนรว่ ม 3.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศกึ ษา 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื สนับสนนุ การบริหารจดั การ 3.5 การกากบั นเิ ทศ ตดิ ตามประเมินผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษา 3.6 การปฏิบตั ิหน้าทีข่ องคณะกรรมการสถานศึกษาที่เปน็ ไปตามบทบาทท่ีกาหนด

26 3.7 การสง่ เสรมิ สนับสนุนภาคีเครอื ขา่ ยให้มีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา 3.8 การสง่ เสรมิ สนับสนนุ การสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ 3.9 การวิจัยเพือ่ การบรหิ ารจดั การศึกษาสถานศกึ ษา ตอนที่ 3 แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ 2564 รายละเอียด งาน/โครงการ/กิจกรรม กศน.

27 ตอนท่ี 3 แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พศ 2564 รายละเอยี ด งาน/โครงการ/กจิ กรรม กศน. กศน.ตาบลโพชนไก่ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจนั บทบาทภารกจิ กศน.ตาบลโพชนไก่ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางระจนั 1. การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน สนบั สนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแตป่ ฐมวยั จนจบการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน โดยดาเนินการ ใหผ้ เู้ รยี นได้รบั การสนับสนนุ คา่ จดั ซื้อตาราเรยี น คา่ จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และคา่ เลา่ เรยี น อยา่ งทั่วถึงและเพยี งพอเพ่อื เพม่ิ โอกาสในการรบั การศึกษาท่ีมีคุณภาพโดยไม่เสยี ค่าใช้จา่ ย ให้กบั กล่มุ เป้าหมาย ผ้ดู อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา ทัง้ ระบบการใหบ้ รกิ าร ระบบการเรยี นการสอน ระบบการวัดและ ประเมินผลการเรยี น ผ่านการเรยี นแบบเรียนรดู้ ้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชัน้ เรยี น และการจัด การศกึ ษาทางไกล จดั ใหม้ กี ารประเมนิ เพอื่ เทียบระดบั การศึกษา และการเทยี บโอนความรูแ้ ละประสบการณ์ ทม่ี ีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามทก่ี าหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของกลุม่ เป้าหมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี นตอ้ งเรียนร้แู ละปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เพอ่ื ดาเนนิ กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความสามัคคี บาเพญ็ สาธารณะประโยชนอ์ ยา่ งตอ่ เน่ือง และส่งเสรมิ การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ เชน่ กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี และยวุ กาชาด กิจกรรมจิตอาสา การจัดตัง้ ชมรม/ชมุ นุม และเปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นนากจิ กรรมการบาเพญ็ ประโยชน์อื่น ๆ นอกหลักสตู ร มาใช้เพม่ิ ช่วั โมงกิจกรรมใหผ้ เู้ รยี นจบตามหลกั สูตรได้ และจัดต้งั ศนู ยแ์ นะแนวและประสาน การศึกษาพเิ ศษอาเภอ/เขต ใหค้ รบทุกอาเภอท่วั ประเทศ 2. การจดั การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ เป็นการจัดการศกึ ษาท่มี ่งุ เน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ เจตคติ และมที กั ษะ ในอาชพี ตามวัตถปุ ระสงค์ ของหลกั สูตร ประกอบดว้ ย ทกั ษะเกยี่ วกบั การปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศพ้นื ฐาน การคดิ แก้ปญั หา การสื่อสาร และทกั ษะเกย่ี วกับความปลอดภยั ในอาชพี มีคุณลกั ษณะท่ีสาคัญในเร่อื งความซือ่ สัตย์ สุจรติ ความคิดเชิงบวก ความมุง่ ม่นั ในการทางาน การทางานร่วมกับผอู้ ืน่ การรกั ษาสง่ิ แวดล้อม และการ คานึงถึงประโยชนส์ ว่ นรวมมากกว่าส่วนตน การจัดกระบวนการเรียนรเู้ น้นการปฏบิ ัติจริง และการเรียนรู้จาก วิทยากรหรือผรู้ ้ทู ี่ประกอบอาชพี นั้น ๆ การจัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาอาชพี แบ่งเป็น 2 ระดบั คือ ระดับการ

28 พฒั นาอาชีพเพอ่ื การทามาหากนิ และระดบั การพฒั นาต่อยอดอาชพี เดมิ 3. การจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิต เป็นการจดั การเรียนรูท้ ่ใี หค้ วามสาคัญกับการพฒั นาคนทุกช่วงวยั ให้มีความรู้ เจตคติ และทกั ษะ ทจ่ี าเปน็ สาหรบั การดารงชวี ติ ในสงั คมปัจจบุ นั สามารถเผชญิ สถานการณต์ า่ ง ๆ ท่ีเกดิ ข้นึ ในชีวติ ประจาวันได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ และเตรียมพรอ้ มสาหรบั การปรับตัวให้ทันตอ่ การเปลีย่ นแปลงของข่าวสารข้อมลู และ เทคโนโลยีสมยั ใหมใ่ นอนาคต โดยเน้นการฝึกปฏิบตั ิให้ผเู้ รยี นเกิดทักษะชวี ติ 10 ประการ คอื (1) ทักษะการ ตัดสนิ ใจ (2) ทักษะการแกป้ ญั หา (3) ทักษะการคดิ วิเคราะห์ (4) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ (5) ทักษะการ สื่อสารท่ีมีประสทิ ธภิ าพ (6) ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ (7) ทกั ษะการตระหนกั รู้และเหน็ คณุ ค่าในตนเอง (8) ทกั ษะความเห็นใจผูอ้ นื่ (9) ทักษะการจดั การกับอารมณต์ ่าง ๆ และ (10) ทกั ษะการจัดการกบั ความเครยี ด ส่วนเนือ้ หาที่สถานศึกษานาไปจัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวิตเน้นใน 7 เรื่อง คือ (1) สุขภาพกาย - จิต (2) ยาเสพตดิ (3) เพศศึกษา (4) คณุ ธรรมและคา่ นยิ มทีพ่ งึ ประสงค์ (5) ความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ยส์ นิ (6) ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม และ (7) ประชาธิปไตยในวถิ ีชีวติ 7. การจัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาสงั คมและชุมชน เปน็ การจัดกระบวนการใหบ้ คุ คลรวมกลุ่มเพือ่ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ร่วมกัน สรา้ งกระบวนการจติ สาธารณะ ชว่ ยเหลือซึง่ กนั และกนั ในการพฒั นาสงั คมและชุมชนอยา่ งยัง่ ยืน โดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ แนวปฏบิ ตั ิ ตลอดจนการเรียนรูก้ ารใชเ้ ทคโนโลยที เ่ี หมาะสม โดยเน้นการจดั การเรียนรู้ ผา่ นกจิ กรรม การส่งเสริมการดาเนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ หม่บู ้านเรียนร้ตู ามรอย พระยคุ ลบาท การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเกษตรทฤษฎใี หม่ การทาบญั ชีครัวเรือน วสิ าหกจิ ชุมชน/สหกรณ์ 8. การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการดาเนินชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ การฝกึ อบรมประชาชน ทน่ี ากรอบแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาเป็นแนวทางในการ ดาเนนิ ชีวิตใหแ้ ก่ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดบั บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน ใหด้ ารงอยู่ และปฏิบัตติ นในทาง ทค่ี วรจะเป็น บนพ้ืนฐานของทางสายกลาง และไม่ประมาท โดยคานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรา้ งความคุม้ กนั ทด่ี ีในตวั ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนการ ตัดสินใจ ในการดาเนนิ ชีวิต และมคี วามจงรักภักดี ต่อสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ เชน่ การเรยี นร้ตู ามรอย พระยุคลบาท การเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และเกษตรทฤษฎใี หม่ การทาบัญชีครวั เรอื น วสิ าหกิจชมุ ชน/สหกรณ์ การประหยัดพลังงาน เป็นต้น 9. งานการศกึ ษาตามอัธยาศัย จดั กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรเู้ พอ่ื ปลูกฝังนิสัยรักการอา่ นในหอ้ งสมุดประชาชน กศน.ตาบล และหมู่บา้ นเป้าหมาย เพอื่ พัฒนาความสามารถในการอา่ น ศักยภาพการเรยี นรูข้ องประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายให้ไดร้ ะดับอ่านคลอ่ งอ่านเขา้ ใจความเขยี นคล่อง อ่านเชิงคดิ วเิ คราะห์พ้ืนฐาน ให้ประชาชน สามารถรับรขู้ ้อมลู ขา่ วสารที่ถกู ตอ้ ง และทันเหตุการณ์ เพ่อื สามารถนาความรทู้ ่ไี ด้รับไปใชป้ ระโยชน์ ในการปฏิบตั ิจรงิ

29 แผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รายละเอยี ด งาน/โครงการ/กิจกรรม กศน. แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตาบลโพชนไก่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางระจนั ได้กาหนดดาเนินงาน/โครงการ/กจิ กรรม โดยสรุปดงั นี้ โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ (บาท) 1. โครงการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 82 คน นางชตุ ิมา - ค่าจดั การเรียนการสอน 80 คน 3,500 เจริญสอน - คา่ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน 80 คน 23,780 ครอู าสาสมคั ร - ค่าหนงั สอื เรียน 10 คน 8,100 2. โครงการขับเคลอ่ื นการพัฒนาการศึกษาท่ียั่งยืน (โครงการศูนย์ฝึก 26 คน 21,825 อาชพี ชมุ ชน) 28 คน 18,900 - อาชีพ 1 อาเภอ 1 อาชีพ 44 คน 5,060 - วิชาชพี ช่างพื้นฐาน - การพัฒนาอาชพี (กลุ่มสนใจ) 3. โครงการจดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชวี ติ 4. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน 26 คน 10,400 5. โครงการการศึกษาเพ่อื เรียนร้หู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 14 คน 5,600 6. โครงการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคนโดยการส่งเสริมการอ่านใน 300 คน 2,380 กศน.ตาบลโพชนไก่ และหมูบ่ ้านเปา้ หมาย 10,000 จดั ซอื้ 1 แห่ง 3 แหง่ - หนงั สอื พมิ พ์ 7. โครงการพัฒนา กศน.ตาบลและแหล่งเรียนร้ใู นชุมชนใหเ้ ปน็ ศูนย์กลาง การเรียนรู้ตลอดชวี ิต - กศน.ตาบล - แหลง่ เรยี นรู้ (บา้ นหนังสอื ชุมชน ศูนย์เรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพยี ง) โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ 1 แหง่ (บาท) 8. โครงการนเิ ทศ ติดตาม การดาเนนิ งานกิจกรรม กศน.ตาบล - กศน.ตาบล - นางชตุ มิ า เจรญิ สอน

- พน้ื ที่จดั กิจกรรม 2 แหง่ 30 9. โครงการพฒั นา ส่งเสรมิ สนบั สนุนภาคีเครือข่าย 1 แห่ง ครอู าสาสมคั ร และอาสาสมคั ร กศน. 3 คน - - ภาคีเครอื ขา่ ย 2 คน - อาสาสมัคร กศน./ภมู ิปญั ญา 5 คน - ภูมิปญั ญา

31 ตอนที่ 4 โครงการ/กจิ กรรมประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตอนท่ี 4 โครงการ/กจิ กรรมประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 1. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 1. ช่ือโครงการ โครงการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน 2. สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ สานักงาน กศน. นโยบายเรง่ ดว่ นเพอ่ื รว่ มขบั เคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ 1. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นความมน่ั คง 1. ส่งเสรมิ การจดั การเรียนรตู้ ามพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของ รัชกาลที่ 10 1.1 เสริมสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ มีความเปน็ พลเมืองดี เคารพความคิดของผู้อ่นื ยอมรับความแตกต่าง ทหี่ ลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสงั คมพหวุ ัฒนธรรม 1.2 ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทีป่ ลูกฝงั คุณธรรม สรา้ งวินัย จิตสาธารณะ และ อดุ มการณ์ความยดึ มั่นในสถาบนั หลกั ของชาติ รวมทงั้ การมจี ิตอาสา ผา่ นกจิ กรรมลกู เสือ กศน. และกจิ กรรม อน่ื ๆ ตลอดจนสนบั สนุนใหม้ ีการจัดกจิ กรรมเพอ่ื ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมใหก้ ับบคุ ลากรในองค์กร 3. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคนให้มีคุณภาพ 3. สง่ เสรมิ ใหม้ ีการจดั การเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศกึ ษา” (STEM Education) สาหรบั นกั ศึกษา

32 และประชาชน โดยบูรณาการความร้ดู า้ นวิทยาศาสตร์ ควบคกู่ ับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพ่อื ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวัน พัฒนาทกั ษะชีวิตสกู่ ารประกอบอาชีพ 5. ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสรมิ และจัดการศกึ ษาเพ่อื เสริมสร้างคุณภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม 1. สง่ เสรมิ ให้มกี ารให้ความรูก้ ับประชาชนเกีย่ วกับการปอ้ งกนั ผลกระทบและปรับตัวต่อการ เปล่ียนแปลง สภาพภูมอิ ากาศและภยั พิบตั ธิ รรมชาติ 2. สรา้ งความตระหนักถึงความสาคญั ของการสรา้ งสงั คมสีเขียว การกาจดั ขยะและมลพษิ ในเขตชมุ ชน 3. สง่ เสรมิ ให้หน่วยงานและสถานศกึ ษาใชพ้ ลังงานทีเ่ ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม รวมทัง้ ลดการใช้ ทรัพยากร ทส่ี ่งผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม 6. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การ ภารกจิ ต่อเนื่อง 1. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 1) สนับสนนุ การจดั การศกึ ษานอกระบบตง้ั แตป่ ฐมวยั จนจบการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน โดยดาเนินการใหผ้ ้เู รยี นได้รบั การสนบั สนุนคา่ จดั ซ้ือหนงั สือเรยี น คา่ จดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น และ ค่าจัดการเรยี นการสอนอย่างท่วั ถึงและเพียงพอ เพอ่ื เพม่ิ โอกาสในการเขา้ ถึงบริการทางการศกึ ษา ทมี่ ีคณุ ภาพโดยไมเ่ สยี ค่าใช้จ่าย 2) จดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานใหก้ ับกลุ่มเปา้ หมายผดู้ ้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศกึ ษา ทั้งระบบการให้บรกิ าร ระบบการเรยี นการสอน ระบบการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี น ผา่ น การเรียนแบบเรียนรดู้ ้วยตนเอง การพบกล่มุ การเรียนแบบชั้นเรยี น และการจัด การศึกษาทางไกล 3) จัดให้มกี ารประเมินเพ่อื เทยี บระดบั การศกึ ษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ ที่มคี วามโปรง่ ใส ยุตธิ รรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามท่กี าหนด และสามารถตอบสนอง ความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมายได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4) สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนตอ้ งเรยี นร้แู ละปฏบิ ตั ิกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต เพ่ือดาเนิน กิจกรรมเสริมสร้างความสามคั คี ป้องกัน และแกไ้ ขปญั หายาเสพติด บาเพญ็ สาธารณประโยชน์อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และสง่ เสริมการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข เช่น กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี และยวุ กาชาด กิจกรรมจิตอาสา การจดั ตง้ั ชมรม / ชุมนุม และเปดิ โอกาสให้ผ้เู รียนนากจิ กรรมการ บาเพญ็ ประโยชนอ์ ืน่ ๆ นอกหลักสูตร มาใชเ้ พิม่ ชั่วโมงกิจกรรมให้ผเู้ รยี นจบตามหลักสูตรได้ 2. ด้านหลกั สตู ร สอ่ื รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล งานบรกิ ารทาง วชิ าการ และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 สง่ เสริมการพฒั นาหลกั สตู ร รูปแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้และกิจกรรมเพือ่ ส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่ีหลากหลาย ทนั สมัย รวมทงั้ หลกั สตู รท้องถ่ินทส่ี อดคลอ้ งกับ สภาพบรบิ ทของพ้ืนที่ และความต้องการของกลุม่ เป้าหมายและชุมชน 2.2 พฒั นารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมยั ดว้ ยระบบห้องเรยี นและการ ควบคุม การสอบออนไลน์ 2.3 พฒั นาระบบการประเมนิ เพ่อื เทียบระดบั การศึกษา และการเทยี บโอนความรูแ้ ละ ประสบการณ์ ใหม้ คี ณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมายได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ

33 2.4 สง่ เสรมิ การพัฒนาสอื่ แบบเรียน สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละสอื่ อนื่ ๆ ท่ีเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ของผเู้ รยี นกลมุ่ เป้าหมายท่ัวไปและกลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลกั สตู ร โดยเฉพาะหลกั สตู ร ในระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใช้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.6 ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การศกึ ษาวจิ ยั พฒั นาหลกั สูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนบั สนุนการจดั การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั เพอ่ื ใหม้ ีการนาไปสกู่ ารปฏิบตั อิ ยา่ งกว้างขวางและมกี ารพฒั นาให้เหมาะสมกบั บรบิ ท อย่างตอ่ เน่อื ง 2.7 พัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาใหไ้ ด้มาตรฐาน เพ่อื พร้อมรับการ ประเมนิ คณุ ภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนักถงึ ความสาคญั ของระบบ การประกัน คณุ ภาพ และสามารถดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอ้ ย่างตอ่ เนื่องโดยใช้การ ประเมินภายใน ด้วยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพ่เี ลี้ยงเข้าไปสนบั สนุนอย่างใกลช้ ิด สาหรบั สถานศกึ ษาที่ยงั ไมไ่ ดเ้ ข้ารับ การประเมินคณุ ภาพภายนอก ให้พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาใหไ้ ดค้ ุณภาพ ตามมาตรฐานทกี่ าหนด สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2562 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี นการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 1.1 ผเู้ รยี นการศึกษาขั้นพน้ื ฐานมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนทด่ี สี อดคลอ้ งกบั หลักสูตรสถานศึกษา 1.2 ผู้เรยี นการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานมีคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและคุณลักษณะท่ีดตี ามท่ีสถานศกึ ษา กาหนด 1.3 ผู้เรยี นการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และ แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ร่วมกบั ผู้อ่ืน 1.4 ผู้เรยี นการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมคี วามสามารถในการสร้างสรรคง์ านช้ินงาน หรือนวตั กรรม 1.5 ผู้เรียนการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั 1.6 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานมีสขุ ภาวะทางกายและสุนทรียภาพ 1.7 ผ้เู รียนการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมคี วามสามารถในการอา่ นการเขยี น 1.8 ผจู้ บการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานนาความรู้ทกั ษะพ้นื ฐานที่ไดร้ ับไปใช้ หรอื ประยกุ ต์ใช้ 3. หลกั การและเหตุผล สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถนาสาระ การเรียนรู้ และวธิ ีการเรียนรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริงในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ และสรา้ งเสริมสมรรถนะการ ประกอบอาชีพท่ีสามารถสร้างรายไดอ้ ย่างมน่ั คง ดาเนนิ การใหผ้ เู้ รียนการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษา ขนั้ พ้นื ฐาน ได้รบั การสนบั สนนุ ค่าจัดซ้ือตาราเรียน คา่ จดั กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน และค่าเล่าเรยี น อย่างทวั่ ถงึ และเพยี งพอ เพอื่ เพ่ิมโอกาสในการรบั การศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพโดยไม่เสยี ค่าใชจ้ า่ ย พรอ้ มจดั หา ตาราเรียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐานที่มีคณุ ภาพตามท่ี สานกั งาน กศน. ให้การรับรอง คณุ ภาพใหท้ นั ตอ่ ความต้องการของผู้เรยี น พร้อมท้งั จดั ใหม้ รี ะบบหมนุ เวยี นตาราเรียน เพ่ือเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียน ทุกคนสามารถเขา้ ถงึ การใชบ้ ริการตาราเรยี นอยา่ งเทา่ เทียมกัน จะขยายการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานทมี่ คี ณุ ภาพใหก้ ับประชากรวัยแรงงานท่ไี ม่จบการศกึ ษาภาคบงั คับ และไม่อย่ใู นระบบ โรงเรยี น โดยเฉพาะผดู้ อ้ ยโอกาสกลุม่ ตา่ ง ๆ ด้วยวิธีเรยี นท่ีหลากหลาย และการใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี

34 สารสนเทศและการส่ือสาร สง่ เสรมิ สนบั สนุน และเร่งรัดให้ กศน.อาเภอทกุ แห่งดาเนินการเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ รวมทั้งผลการเรียนอยา่ งเป็นระบบได้มาตรฐาน สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรเพ่อื ขยายโอกาส ทางการศึกษาใหก้ บั ประชาชนอย่างกวา้ งขวาง พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความ ครบถว้ น ถกู ตอ้ งทนั สมยั และเช่อื มโยงกันทวั่ ประเทศ สามารถสบื ค้นและสอบทานได้ทันความต้องการ เพือ่ ประโยชน์ในการจดั การศึกษาใหก้ ับผู้เรียนและการบริหารจัดการอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ จดั ใหม้ ีวธิ ีการ เรียนรู้ที่หลากหลาย เนน้ การฝึกปฏบิ ัตจิ ริงโดยกาหนดใหผ้ เู้ รยี นทุกระดับการศึกษาตอ้ งเรยี นรู้และปฏิบตั ิ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวิตตลอดหลกั สตู ร ไมน่ ้อยกวา่ 200 ช่ัวโมง (เฉลยี่ ภาคเรียนละ ไมน่ ้อยกว่า 50 ชั่วโมง) และใหผ้ ูเ้ รียนมีเวลาเรียนสัปดาห์ละไมน่ ้อยกวา่ 9 ช่วั โมง โดยใหเ้ รียนกับครูหรอื วิทยากรสอนเสรมิ อยา่ งนอ้ ย 6 ชวั่ โมง และศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเองตามทีค่ รูมอบหมาย 3 ชั่วโมง ท้งั นี้เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจและเจตคติทด่ี ีตอ่ การเรยี นรู้ รวมทง้ั สามารถพฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ทส่ี ามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ จริงอย่างมีประสิทธภิ าพ และพฒั นาระบบการประเมินเพือ่ เทยี บระดบั การศกึ ษาท่ีมีความโปร่งใส ยตุ ิธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายได้อยา่ ง มปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือตอบสนองนโยบายดังกล่าวขา้ งตน้ กศน.โพชนไก่ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอบางระจนั จงึ ได้จดั ทาโครงการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐานขึ้น เพือ่ รองรับงบประมาณปี พ.ศ.2564 กจิ กรรมท่ีดาเนนิ การ การจดั หาส่อื การเรียนการสอน กจิ กรรมการเรียน การสอน และกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.1 เพอื่ ให้นกั ศึกษาระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นและระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จบการศกึ ษาตามเกณฑท์ ีก่ าหนดไว้ 4.2 เพือ่ ให้นักศึกษามีคุณธรรม จรยิ ธรรม มสี ติปัญญา มีคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี มีศักยภาพในการประกอบ อาชพี และเรยี นรู้อย่างต่อเนื่อง สามารถนาความรทู้ ี่ไดร้ บั ไปยกระดับคุณภาพชีวติ ของตนเองได้ 5. เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ - นกั ศึกษาระดับประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 และภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน 80 คน เชิงคณุ ภาพ - นกั ศึกษาระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลายจบการศึกษาตามเกณฑท์ ่กี าหนดไว้ และนกั ศึกษามคี ณุ ธรรม จริยธรรม มีสติปญั ญา มีคุณภาพชีวิตท่ดี ี มศี กั ยภาพในการประกอบอาชีพและเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนือ่ ง สามารถนาความรู้ ท่ไี ดร้ บั ไปยกระดับคุณภาพชวี ติ ของตนเองได้ เชงิ คุณภาพ - นักศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศึกษา ตอนปลายจบการศกึ ษาตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ และนกั ศกึ ษามีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มคี ุณภาพชีวิตที่ดี มีศกั ยภาพในการประกอบอาชีพและเรียนร้อู ยา่ งตอ่ เน่อื ง สามารถนาความรู้ ท่ไี ด้รบั ไปยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตของตนเองได้ 6. วธิ ดี าเนินงาน

35 6.1 ประชาสัมพันธ์รับสมคั รนักศึกษา 6.2 ลงทะเบียนนกั ศกึ ษา 6.3 ปฐมนิเทศนักศกึ ษาเพือ่ แนะแนวการเรียนการสอนตามโครงสร้างหลกั สูตร 6.3 จัดหาสอื่ แบบเรยี น เครอ่ื งมือวดั ผล และเคร่อื งมือดาเนินงาน 6.4 จัดกจิ กรรมการเรียนการสอน/กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน 6.5 พฒั นาหลักสตู ร และการจัดการเรยี นการสอน 6.6 ดาเนินการวดั ผลประเมนิ ผล 6.7 ดาเนินการกากบั นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการดาเนินงาน 6.8 สรุปผล และรายงานผล 7. วงเงินงบประมาณทงั้ โครงการ เบกิ จ่ายงบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์สรา้ งความเสมอภาค โครงการ : สนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษาต้งั แต่ระดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน กิจกรรมการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน งบเงนิ อดุ หนนุ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 และภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 รหัส 2000243016500409 - คา่ จัดการเรยี นการสอน จานวนเงิน 3,500 บาท รหสั 2000243016500398 - ค่ากจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น จานวนเงนิ 23,780 บาท 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กิจกรรมการจดั การเรียนการสอน ต.ค. – ธ.ค. 63 ม.ค. – ม.ี ค. 64 เม.ย. – ม.ิ ย. 64 ก.ค. – ก.ย.64 - จัดหาวสั ดอุ ปุ กรณ์ และสิง่ อานวย ความสะดวกในการสง่ เสริมและสนบั สนนุ การเรยี นการสอน กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น - จดั กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ คี ณุ ธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มคี ณุ ภาพชีวิตที่ดี มศี กั ยภาพในการประกอบอาชพี และ เรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนื่อง สามารถนาความรทู้ ี่ ไดร้ ับไปยกระดบั คุณภาพชวี ิตของตนเอง กจิ กรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ต.ค. – ธ.ค. 63 ม.ค. – ม.ี ค. 64 เม.ย. – ม.ิ ย. 64 ก.ค. – ก.ย. 64

36 หนงั สือเรยี น - จัดหาหนงั สือแบบเรยี นใหก้ ับนักศกึ ษา การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน ระดับประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศกึ ษา ตอนปลาย ให้เพยี งพอตอ่ ความต้องการ 9. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ - นางชตุ มิ า เจรญิ สอน ครูอาสาสมคั ร กศน.อาเภอบางระจนั 10. เครือข่าย - องค์กรภาครฐั และเอกชน 11. โครงการที่เกยี่ วข้อง - โครงการสนบั สนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษาตงั้ แต่ระดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - นกั ศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายจบการศกึ ษาตาม เกณฑท์ ่ีกาหนดไว้ และนักศกึ ษามคี ณุ ธรรม จริยธรรม มสี ติปัญญา มีคุณภาพชีวิตทดี่ ี มีศกั ยภาพในการ ประกอบอาชพี และเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนือ่ ง สามารถนาความรทู้ ไ่ี ด้รบั ไปยกระดับคณุ ภาพชวี ิตของตนเองได้ 13. ดชั นีชว้ี ัดความสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ชวี้ ดั ผลผลติ (Output) - นกั ศกึ ษาระดับประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 และภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 80 คน 13.2 ตวั ชว้ี ัดผลลัพธ์ (Outcome) - ร้อยละของนกั ศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศึกษา ตอนปลายจบการศึกษาตามเกณฑท์ ก่ี าหนดไว้ และนักศกึ ษามคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีสตปิ ญั ญา มีคณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ี มศี ักยภาพในการประกอบอาชพี และเรียนร้อู ยา่ งต่อเนื่อง สามารถนาความรู้ ท่ีได้รบั ไปยกระดับคุณภาพชวี ิตของตนเองได้ 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบนิเทศการจดั การเรยี นการสอน 14.2 แบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา 14.3 รายงานผลการสอนระดบั ชาติ (N-NET) 14.4 รายงานผลการดาเนินงานประจาปี พ.ศ. 2564

37 2. โครงการขบั เคล่อื นการพัฒนาการศกึ ษาที่ยั่งยนื (โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน) 1. ชื่อโครงการ โครงการขับเคลือ่ นการพฒั นาการศกึ ษาทย่ี งั่ ยืน (โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน) 2. สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเน้นสานกั งาน กศน. 6. ยุทธศาสตรด์ ้านการพฒั นาประสทิ ธภิ าพระบบบริหารจัดการ 1.2 การศึกษาต่อเนอื่ ง 1) จดั การศึกษาอาชพี เพอ่ื การมงี านทาอยา่ งยั่งยนื โดยใหค้ วามสาคญั กับการจดั การศกึ ษาอาชีพ เพอื่ การมงี านทา และอาชพี ที่สอดคลอ้ งกบั ศักยภาพของผ้เู รียนและศักยภาพของแตล่ ะพื้นที่ สอดคล้องกบั มาตรฐาน กศน. สอดคลอ้ งกับการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2562 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ้ รยี นการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง 1.1 ผู้เรยี นการศึกษาตอ่ เนื่องมคี วามรู้ ความสามารถ และหรือทักษะ และหรือคณุ ธรรมเป็นไปตาม เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร 1.2 ผู้จบหลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งสามารถนาความร้ทู ไ่ี ดไ้ ปใช้หรอื ประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมรว่ ม

38 ของสงั คม 1.3 ผจู้ บหลกั สตู รการศึกษาต่อเน่อื งทน่ี าความรไู้ ปใชจ้ นเห็นเปน็ ประจกั ษห์ รือตวั อย่างท่ีดี มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศกึ ษาต่อเน่อื ง 2.1 หลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่องมีคณุ ภาพ 2.2 วิทยากรการศึกษาตอ่ เนือ่ ง มีความรู้ ความสามารถหรอื ประสบการณต์ รงตามหลักสูตรการศกึ ษา ตอ่ เนื่อง 2.3 สือ่ ท่เี ออื้ ต่อการเรียนรู้ 2.4 การวดั และประเมินผลผูเ้ รยี นการศึกษาตอ่ เนื่อง 2.5 การจัดกระบวนการเรียนรกู้ ารศึกษาต่อเนื่องที่มคี ณุ ภาพ 3. หลกั การและเหตุผล พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 (แกไ้ ขเพ่มิ เติมพุทธศกั ราช 2562) และ พระราชบัญญตั สิ ง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย พทุ ธศักราช 2551 ได้กาหนด จดุ มุง่ หมายสาคญั ในการพฒั นาคนไทยใหไ้ ด้รบั การเรยี นรูอ้ ย่างต่อเนอ่ื ง ประกอบกับการเปลย่ี นแปลง ของสถานการณ์ปจั จบุ นั และอนาคต ทัง้ ดา้ นประชากร การเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสง่ิ แวดล้อม รวมท้งั การเชอ่ื มโยงสงั คมเศรษฐกิจภูมภิ าคเอเชีย ระดบั ภูมภิ าค และระดับโลก จึงจาเป็นทจ่ี ะต้องจดั การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต เพอ่ื ให้กล่มุ เปา้ หมายประชาชนไดร้ บั การเรียนร้ทู ่สี อดคลอ้ งกับการ เปลย่ี นแปลงของโลก ดา้ นการพัฒนาอาชีพ ซึง่ จาเปน็ ตอ้ งใช้วิธีการและรูปแบบทห่ี ลากหลาย ตามความ ตอ้ งการและความสนใจของประชาชนทกุ กลมุ่ วยั โดยเนน้ กระบวนการคดิ เพือ่ แกป้ ญั หาในชวี ิตประจาวนั ตามหลักปรัชญาคดิ เปน็ และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมงุ่ เน้นให้กลุ่มเปา้ หมายสามารถนาความรู้ ท่ีไดร้ บั จากการศกึ ษาไปใช้ในการประกอบอาชพี พฒั นาอาชีพ เพ่ือใหส้ ามารถอยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข เพือ่ ตอบสนองนโยบายดังกล่าวข้างต้น กศน.ตาบลโพชนไก่ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจนั จงึ ไดจ้ ดั ทาโครงการขับเคลื่อนการพฒั นาการศกึ ษาที่ยัง่ ยืน (โครงการศนู ย์ฝึก อาชีพชุมชน) ขึ้น เพือ่ รองรับงบประมาณปี พ.ศ. 2564 โดยมีความเชอ่ื ม่นั วา่ โครงการดงั กลา่ วจะสามารถชว่ ย ใหป้ ระชาชนระดับรากฐานทม่ี รี ายไดน้ อ้ ย และขาดโอกาสในการเพิม่ รายได้ มกี ารการจดั การเรยี นการสอนทัง้ อาชพี 1 อาเภอ 1 อาชีพ วชิ าชพี ช่างพน้ื ฐาน และการพัฒนาอาชีพ ทีส่ อดคลอ้ งกับสภาพความจาเป็นทาง เศรษฐกจิ และสังคม สามารถดารงชวี ิตอยไู่ ดอ้ ยา่ งมีความสุข 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพอ่ื ส่งเสริมให้กลุม่ เปา้ หมายได้เรยี นร้เู กย่ี วกบั การศกึ ษาเพื่อการพัฒนาอาชีพ 4.2 เพื่อให้กล่มุ เปา้ หมายไดเ้ หน็ ช่องทางการประกอบอาชีพหรอื การตอ่ ยอดอาชีพเดมิ สามารถ พ่ึงพาตนเองได้ 4.3 เพือ่ ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายดารงชีวติ อย่ใู นสังคมอย่างมคี วามสุข สอดคลอ้ งตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 5. เปา้ หมาย เชิงปริมาณ - ประชาชนที่ว่างงาน และมอี าชีพอย่แู ล้วและตอ้ งการตอ่ ยอดอาชพี เดิม จานวน 64 คน เชิงคณุ ภาพ - กลมุ่ เป้าหมายไดเ้ รียนรู้เกยี่ วกบั การศกึ ษาเพอื่ การพัฒนาอาชีพ ได้เห็นชอ่ งทาง การประกอบอาชีพหรือการตอ่ ยอดอาชพี เดมิ สามารถพ่งึ พาตนเองได้ สามารถดารงชีวติ อยูใ่ นสังคม อยา่ งมีความสขุ สอดคลอ้ งตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

39 6. วิธีดาเนินงาน 6.1 สถานศึกษาเตรียมความพร้อมโดยกาหนดบคุ ลากรท่รี บั ผดิ ชอบงานการศึกษาต่อเนอ่ื ง กาหนด เป้าหมาย หรือวัตถปุ ระสงค์การดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาและงบประมาณที่ใชใ้ นการดาเนนิ งาน 6.2 เตรยี มผูเ้ รียนก่อนเขา้ สู่การเรียนรู้ กจิ กรรมการศึกษาตอ่ เน่อื ง โดยสถานศกึ ษาจัดกจิ กรรม การเรียนรู้ เร่ือง “คดิ เปน็ ” หรอื “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนสามารถวเิ คราะหต์ นเองวา่ กจิ กรรมใดในการศกึ ษาต่อเนอื่ งท่ตี อบสนองความต้องการจาเป็นรายบุคคล 6.3 ประสานงานผเู้ กีย่ วข้อง สถานที่ การขออนมุ ตั ิจัดตงั้ กลมุ่ การเตรยี มสือ่ วัสดอุ ุปกรณ์การสอน 6.4 ดาเนินการจัดกจิ กรรมการศึกษาตอ่ เน่ือง ตามทีก่ าหนดไวใ้ น 2 รปู แบบ คือ กล่มุ สนใจ และช้นั เรียนวิชาชพี 6.5 บนั ทกึ ผลการจัดกิจกรรมภายหลงั การจดั เสร็จสนิ้ เพือ่ รายงานสภาพปัญหา ผลการจดั พรอ้ มขอ้ เสนอแนะ แก่ผู้บริหารทราบ 6.6 ประเมินผลการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง เป็นรายกจิ กรรม และในภาพรวมของโครงการ 6.7 รายงานการประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาต่อเนอ่ื งเป็นรายไตรมาส และรายปี 6.8 นาผลการประเมินมาปรบั ปรุงแก้ไขและพฒั นาการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ือง 7. วงเงนิ งบประมาณทัง้ โครงการ เบกิ จา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 แผนงาน : ยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื สนบั สนนุ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรพั ยากรมนุษย์ โครงการ : โครงการขบั เคลือ่ นการพฒั นาการศึกษาทยี่ ่งั ยนื กิจกรรมส่งเสริมศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน งบประมาณ งบรายจา่ ยอืน่ โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน รหสั งบประมาณ 2000235052700019 - กิจกรรมอาชีพ 1 อาเภอ 1 อาชพี จานวนเงนิ 8,100 บาท รหสั งบประมาณ 2000235052700019 - กจิ กรรมชน้ั เรียนวชิ าชีพ (31 ชวั่ โมงข้นึ ไป) จานวนเงนิ 21,825 บาท รหัสงบประมาณ 2000235052700019 - กจิ กรรมพฒั นาอาชีพ (ไม่เกิน 30 ชว่ั โมง) จานวนเงนิ 18,900 บาท 8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ต.ค. – ธ.ค. 63 กจิ กรรมอาชพี 1 อาเภอ 1 อาชพี ม.ค. – ม.ี ค. 64 เม.ย. – ม.ิ ย. 64 ก.ค. – ก.ย. 64 - สารวจความตอ้ งการ เสนอแผน จดั ต้ังกลุม่ - จดั หาวัสดุอุปกรณ์ เพื่อเตรยี มการเรยี นการ สอน - ผูส้ อน วทิ ยากร วิเคราะหผ์ ู้เรยี นเกี่ยวกับ ความรพู้ ืน้ ฐาน เป้าหมายทีผ่ ้เู รียนต้องการ - ดาเนินการจดั กระบวนการเรยี น รู้ตามหลกั สตู ร - ประเมนิ ผลการเรียน - ตดิ ตามผลหลังจากจบหลกั สูตร กจิ กรรมชน้ั เรียนวิชาชีพ (31 ชั่วโมงขึ้นไป)

40 - จัดต้ังกลุ่ม - จดั หาวสั ดุอปุ กรณ์ เพอื่ เตรียมการเรยี นการ สอน - ผู้สอน วิทยากร วิเคราะห์ผู้เรียนเกย่ี วกับ ความรพู้ ื้นฐาน เป้าหมายทีผ่ ้เู รียนต้องการ - ดาเนินการจดั กระบวนการเรยี น รู้ตามหลักสตู ร - ประเมนิ ผลการเรยี น - ติดตามผลหลังจากจบหลกั สตู ร กจิ กรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กิจกรรมพฒั นาอาชีพ (ไม่เกิน 30 ชว่ั โมง) ต.ค. – ธ.ค. 63 ม.ค. – ม.ี ค. 64 เม.ย. – ม.ิ ย. 64 ก.ค. – ก.ย. 64 - จัดตง้ั กล่มุ - จดั หาวสั ดอุ ุปกรณ์ เพอ่ื เตรียมการเรยี นการ สอน - ผูส้ อน วทิ ยากร วิเคราะห์ผเู้ รียนเกยี่ วกับ ความรู้พืน้ ฐาน เป้าหมายทีผ่ ้เู รียนตอ้ งการ - ดาเนินการจัดกระบวนการเรยี น รูต้ ามหลักสตู ร - ประเมนิ ผลการเรียน - ติดตามผลหลังจากจบหลักสตู ร 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นางชุติมา เจรญิ สอน ครอู าสาสมคั ร กศน.อาเภอบางระจนั 10. เครอื ขา่ ย - องค์กรภาครฐั และเอกชน 11. โครงการทีเ่ กย่ี วขอ้ ง - โครงการขับเคลอื่ นการพัฒนาการศึกษาทย่ี ัง่ ยืน กจิ กรรมสง่ เสริมศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 12. ผลลัพธ์ - กลุม่ เป้าหมายได้เรียนร้เู กยี่ วกับการศกึ ษาเพื่อการพฒั นาอาชพี ได้เห็นช่องทางการประกอบอาชีพ หรอื การต่อยอดอาชีพเดิม สามารถพ่ึงพาตนเองได้ สามารถดารงชวี ิตอยู่ในสังคมอยา่ งมีความสขุ สอดคลอ้ ง ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 13. ดัชนชี ว้ี ัดความสาเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ชีว้ ดั ผลผลติ (Output) - ประชาชนท่ีว่างงาน และมีอาชีพอยแู่ ล้วและต้องการตอ่ ยอดอาชีพเดิม จานวน 64 คน

41 13.2 ตัวชวี้ ดั ผลลัพธ์ (Outcome) - รอ้ ยละกลุ่มเป้าหมายได้เรยี นรู้เกยี่ วกับการศึกษาเพ่อื การพัฒนาอาชีพ ไดเ้ หน็ ชอ่ งทาง การประกอบอาชีพหรือการต่อยอดอาชีพเดมิ สามารถพ่งึ พาตนเองได้ สามารถดารงชวี ิต อยู่ในสังคมอยา่ งมี ความสขุ สอดคล้องตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบนเิ ทศการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 14.2 แบบรายงานผสู้ าเร็จการศึกษา 14.2 แบบตดิ ตามผูจ้ บหลกั สตู ร 14.2 ภาพกจิ กรรมการเรียนรู้ 3. โครงการการจัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ

42 1. ชอื่ โครงการ โครงการการจดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะชีวติ 2. สอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ สานกั งาน กศน. 5. ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมและจัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งคุณภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1. สง่ เสริมใหม้ กี ารให้ความรกู้ ับประชาชนเกย่ี วกับการป้องกนั ผลกระทบและปรับตัวตอ่ การ เปล่ียนแปลง สภาพภูมอิ ากาศและภัยพิบตั ิธรรมชาติ 2. สร้างความตระหนกั ถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว การกาจดั ขยะและมลพษิ ในเขตชมุ ชน 3. ส่งเสรมิ ใหห้ นว่ ยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานทเี่ ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ ทรพั ยากร ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม 6. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ 1.2 การศึกษาตอ่ เน่อื ง 2) จดั การศึกษาเพอื่ พฒั นาทักษะชวี ิตให้กับทกุ กลุ่มเปา้ หมาย โดยจดั กจิ กรรมการศึกษาใน รูปแบบต่าง ๆ อาทิ คา่ ยพัฒนาทักษะชวี ิต การจดั ต้ังชมรม / ชมุ ชน การสง่ เสริมความสามารถพเิ ศษต่าง ๆ ที่มงุ่ เน้นให้กลุม่ เปา้ หมายมคี วามร้คู วามสามารถในการบรหิ ารจัดการชวี ิตของตนเองใหอ้ ยู่ในสงั คมได้อย่างมี ความสขุ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม รวมทั้งสามารถใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน กศน. สอดคล้องกบั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2562 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียนการศกึ ษาตอ่ เนื่อง 1.1 ผเู้ รียนการศกึ ษาต่อเนื่องมคี วามรู้ ความสามารถ และหรอื ทักษะ และหรอื คณุ ธรรมเป็นไปตาม เกณฑ์การจบหลกั สตู ร 1.2 ผจู้ บหลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนอ่ื งสามารถนาความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใชห้ รอื ประยกุ ต์ใช้ บนฐานคา่ นยิ มร่วม ของสังคม 1.3 ผู้จบหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนอ่ื งทีน่ าความรู้ไปใชจ้ นเหน็ เปน็ ประจักษ์หรือตวั อย่างที่ดี มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การเรยี นรูก้ ารศึกษาต่อเน่อื ง 2.1 หลกั สตู รการศกึ ษาตอ่ เนอื่ งมีคุณภาพ 2.2 วิทยากรการศกึ ษาต่อเนือ่ ง มคี วามรู้ ความสามารถหรือประสบการณ์ตรงตามหลกั สูตรการศกึ ษา ตอ่ เนอ่ื ง 2.3 สอื่ ท่เี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ 2.4 การวัดและประเมินผลผ้เู รียนการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง 2.5 การจัดกระบวนการเรียนรูก้ ารศกึ ษาต่อเนือ่ งท่มี ีคุณภาพ 3.หลักการและเหตผุ ล พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2542 (แกไ้ ขเพิ่มเตมิ ฉบบั ท่ี 4 พุทธศักราช 2562) และพระราชบัญญตั ิส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั พุทธศักราช 2551 ไดก้ าหนด จุดมุง่ หมายสาคญั ในการพัฒนาคนไทยใหไ้ ด้รับการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนอ่ื ง ประกอบกบั การเปล่ียนแปลง ของสถานการณป์ ัจจบุ นั และอนาคต ท้งั ด้านประชากร การเมอื งการปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสงิ่ แวดล้อม รวมทั้งการเช่อื มโยงสังคมเศรษฐกิจภูมภิ าคเอเชีย ระดับภมู ิภาค และระดับโลก จึงจาเป็นทีจ่ ะตอ้ งจัดการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต เพ่ือให้ประชาชนไดร้ ับการเรียนรทู้ ่ีสอดคล้องกบั การเปลย่ี นแปลง

43 ของโลก ดา้ นการพัฒนาทกั ษะชวี ิต ตามความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายและสภาพปัญหาของชุมชน โดยเน้น กระบวนการคดิ เพ่ือแกป้ ญั หาในชีวติ ประจาวัน ตามหลกั ปรัชญาคิดเปน็ และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ซง่ึ มีภารกิจหลกั เกยี่ วกบั การ สง่ เสริม สนบั สนุนให้สถานศึกษาจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ ในเรื่องการดาเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งให้แก่ประชาชน ในรปู แบบ การฝึกอบรมบรรยายให้ความรู้ ฝึกปฏิบัติและแบ่งกลมุ่ ระดม ความคดิ ให้สอดคล้องกบั ความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย เพ่อื ตอบสนองนโยบายดังกล่าวขา้ งตน้ กศน.ตาบลโพชนไก่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอบางระจนั จงึ ได้จัดทาโครงการการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตข้ึน เพื่อรองรับ งบประมาณปี พ.ศ. 2564 4. วัตถุประสงค์ - เพ่ือใหก้ ลุม่ เป้าหมายไดร้ ับการพัฒนาทกั ษะชวี ติ ให้มีความรู้ความสามารถในการจดั การชวี ติ ของ ตนเองให้อยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข 5. เปา้ หมาย จานวน 44 คน เชงิ ปริมาณ - ประชาชนทั่วไป เชิงคณุ ภาพ - กลุ่มเปา้ หมายมีความรู้ความสามารถในการจัดการชวี ติ ของตนเองใหอ้ ยูใ่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข 6. วธิ กี ารดาเนินงาน 6.1 วิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย ชุมชน และนโยบายของแตล่ ะระดบั 6.2 การจัดกิจกรรมพัฒนาทกั ษะชวี ิต เป็นการเรียนรู้แบบมสี ่วนร่วมโดยยดึ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั เนน้ การ ชวนคิด ชวนคยุ เพ่ือหาข้อสรปุ ร่วมกัน ใหค้ รอบคลุมทั้งด้านความรู้ การสร้างเสรมิ เจตคตทิ ีด่ ี และการฝึกทักษะ ชีวติ ทจ่ี าเปน็ เพ่ือแก้ปญั หาท่ีเกดิ ขึน้ ในชีวติ สามารถปรับตวั อยูร่ ่วมกับผอู้ ่ืนได้อย่างมีความสุข 6.3 สอ่ื ท่ีใชใ้ นการจัดกจิ กรรม อาจใช้ข่าวหนังสอื พิมพ์ บทความ กระท้จู ากเวบ็ ไซต์ ละคร รวมถึงสอ่ื บุคคล ท่เี ป็นประเดน็ ปญั หาเรง่ ดว่ นในปัจจุบัน เพอื่ เรยี นรเู้ รอื่ งชวี ติ ในลักษณะ “บทเรียนชวี ติ ”ทจ่ี ะนามาพดู คุย เพื่อร่วมกันคิด รว่ มกนั ระมัดระวงั ป้องกันและหาทางแก้ไข 6.4 กลุ่มเปา้ หมายท่เี ปน็ จดุ เนน้ ผ้สู ูงอายุ เยาวชนกลมุ่ เฉพาะ เชน่ คุณแม่วยั ใส กลุ่มเส่ยี งยาเสพติด กลุม่ อนื่ ๆ 7. วงเงนิ งบประมาณทัง้ โครงการ เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2564 แผนงาน : พน้ื ฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 : ผรู้ ับบรกิ ารการศึกษานอกระบบ กจิ กรรมการศึกษานอกระบบ งบดาเนนิ งาน เพอ่ื เปน็ คา่ ใช้จา่ ยในการจัดกิจกรรม ในการจดั ศึกษาตอ่ เนือ่ ง รหัสงบประมาณ 2000236004000000 จานวนเงนิ 5,060 บาท 8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ต.ค. – ธ.ค. 63 ม.ค. – ม.ี ค. 64 เม.ย. – ม.ิ ย. 64 ก.ค. – ก.ย. 64

44 จัดกิจกรรมพฒั นาทักษะชวี ติ เน้นใน 5 เร่ือง คอื 1. สุขภาพกาย-จิต 2. ยาเสพตดิ 3. คณุ ธรรมและค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ 4. ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยส์ นิ 5. ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 9. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ นางชุตมิ า เจริญสอน ครูอาสาสมคั ร กศน.อาเภอบางระจัน 10. เครือข่าย - องคก์ รภาครฐั และเอกชน 11. โครงการที่เกี่ยวขอ้ ง - โครงการการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 12. ผลลัพธ์ - กล่มุ เปา้ หมายมีความรคู้ วามสามารถในการจัดการชวี ิตของตนเองให้อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข 13. ดชั นชี ว้ี ัดความสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวชวี้ ดั ผลผลติ (Output) - ประชาชนทวั่ ไป จานวน 44 คน 13.2 ตัวชว้ี ดั ผลลัพธ์ (Outcome) - ร้อยละกลมุ่ เปา้ หมายมคี วามร้คู วามสามารถในการจดั การชีวิตของตนเองให้ 14. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบนเิ ทศการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 14.2 รายงานผลการดาเนนิ งาน 14.3 แบบติดตามการนาความรไู้ ปใช้ 14.4 ภาพกจิ กรรมการเรียนรู้

45 4. โครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน 1. ช่ือโครงการ โครงการการจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชุมชน 2. สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดเนน้ สานักงาน กศน. 5. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นส่งเสริมและจดั การศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งคุณภาพชีวิตทเี่ ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม 1. สง่ เสริมให้มีการใหค้ วามร้กู บั ประชาชนเกยี่ วกบั การป้องกันผลกระทบและปรับตวั ตอ่ การ เปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศและภยั พบิ ัตธิ รรมชาติ 2. สร้างความตระหนกั ถึงความสาคญั ของการสรา้ งสงั คมสีเขียว การกาจัดขยะและมลพษิ ในเขตชุมชน 3. ส่งเสรมิ ให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาใช้พลงั งานที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม รวมท้ังลดการใช้ ทรัพยากร ที่สง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ 1.2 การศึกษาต่อเนอื่ ง 3) จัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชุมชน โดยใชห้ ลกั สูตรและการจัดกระบวนการเรยี นรู้ แบบบรู ณาการในรูปแบบของการฝกึ อบรม การเรยี นทางไกล การประชมุ สัมมนา การจดั เวทแี ลกเปลยี่ น เรียนรู้ การจัด กิจกรรมจิตอาสา การสรา้ งชมุ ชนนักปฏบิ ัติ และรปู แบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพ้ืนท่ี โดยเน้นการสร้างจติ สานกึ ความเป็นประชาธปิ ไตย ความเป็นพลเมืองดี การบาเพญ็ ประโยชน์ การอนรุ ักษ์พลงั งาน การ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 4) ส่งเสริมการจดั การเรียนรู้เพื่อสร้างจติ สานกึ และวินัยในชมุ ชน เชน่ การสง่ เสรมิ คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมในชมุ ชน การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยของชุมชน การจดั กจิ กรรมจิตอาสา ศูนยเ์ รยี นรหู้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฏใี หม่ประจาตาบล สอดคล้องกับการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2562 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รยี นการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง 1.1 ผูเ้ รยี นการศึกษาต่อเนือ่ งมีความรู้ ความสามารถ และหรอื ทกั ษะ และหรอื คณุ ธรรมเป็นไปตาม

46 เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร 1.2 ผูจ้ บหลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งสามารถนาความร้ทู ี่ไดไ้ ปใช้หรอื ประยุกต์ใช้ บนฐานค่านยิ มรว่ ม ของสังคม 1.3 ผู้จบหลกั สูตรการศึกษาต่อเน่อื งท่นี าความรู้ไปใชจ้ นเห็นเป็นประจกั ษห์ รือตวั อย่างทีด่ ี 3. หลกั การและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2542 (แก้ไขเพม่ิ เติมพุทธศกั ราช 2545) และ พระราชบัญญัติสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พทุ ธศักราช 2551 ไดก้ าหนด จดุ มุ่งหมายสาคัญในการพฒั นาคนไทยใหไ้ ดร้ ับการเรียนร้อู ย่างต่อเน่ือง ประกอบกับการเปลี่ยนแปลง ของสถานการณป์ จั จุบันและอนาคต ทงั้ ดา้ นประชากร การเมอื งการปกครอง สงั คม เศรษฐกจิ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม รวมทั้งการเชื่อมโยงสงั คมเศรษฐกจิ ภูมภิ าคเอเชีย ระดับภูมิภาค และระดบั โลก จงึ จาเปน็ ทีจ่ ะต้องจดั การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต เพื่อใหป้ ระชาชนไดร้ บั การเรียนรูท้ ี่สอดคลอ้ งกับการเปลย่ี นแปลง ของโลก ดา้ นการพัฒนาสังคมและชมุ ชน ตามความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายและสภาพปัญหาของชุมชน โดยเน้นกระบวนการคดิ เพ่อื แก้ปัญหาในชวี ิตประจาวนั ตามหลักปรชั ญาคดิ เปน็ และหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ซง่ึ มภี ารกิจหลักเก่ยี วกบั การ ส่งเสริม สนบั สนุนให้สถานศึกษาจัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะชวี ิต ในเรอื่ งการดาเนินชวี ติ ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงใหแ้ ก่ประชาชน จงึ กาหนดรปู แบบการฝกึ อบรม การศกึ ษาดงู าน และเวทปี ระชาคม ให้สอดคล้องกับระเบียบกระทรวงการคลงั ทีเ่ ก่ยี วข้อง เพอ่ื ตอบสนองนโยบายดังกล่าวขา้ งตน้ กศน.ตาบลโพชนไก่ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั อาเภอบางระจัน จึงไดจ้ ัดทาโครงการจัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชุมชนขึ้น เพอื่ รองรับ งบประมาณปี พ.ศ.2564 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.1 เพ่ือส่งเสริมและสนบั สนุนใหป้ ระชาชนไดร้ ับความรูค้ วามเข้าใจในการบริหารจดั การตนเอง ครอบครวั และชมุ ชนได้ 4.2 เพือ่ เสริมสร้างอุดมการณ์ให้กบั ประชาชนในการดาเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. เป้าหมาย เชิงปรมิ าณ - ประชาชนทวั่ ไป จานวน 26 คน เชิงคณุ ภาพ - ประชาชนทั่วไปมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการบรหิ ารจดั การตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 6. วธิ กี ารดาเนนิ งาน 6.1 วเิ คราะหส์ ภาพปัญหา ความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย ชมุ ชน และนโยบายของแต่ละระดบั 6.2 จัดทาแผนการดาเนินงาน 6.3 สถานศึกษาการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชมุ ชน เนือ้ หาการจดั กิจกรรม หลักการจดั กระบวนการเรียนรู้ เนน้ การใชก้ ระบวนการกล่มุ การมีสว่ นรว่ มในการคดิ วิเคราะห์ สรปุ เหตุผลและองค์

47 ความรู้ โดยใช้วธิ ีการจดั กระบวนการเรียนรหู้ ลากหลาย 6.4 กากบั นเิ ทศติดตามใหเ้ ปน็ ไปตามแผนท่ีกาหนด ประเมินผล และรายงานผล 7. วงเงนิ งบประมาณท้งั โครงการ เบิกจ่ายงบประมาณรายจา่ ยประจาปี 2564 แผนงาน : พน้ื ฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ผลผลติ ที่ 4 : ผู้รบั บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ งบดาเนินงาน เพ่อื เป็นค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง รหสั งบประมาณ 2000236004000000 จานวนเงิน 14,000 บาท 8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ม.ค. – ม.ี ค. 64 เม.ย. – ม.ิ ย. 64 ก.ค. – ก.ย.64 ต.ค. – ธ.ค. 63 การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒน าสังคมและ ชุมชน เป็นการจัดกระบวนการใหบ้ ุคคล ร วมกลุ่มเพื่อแ ลก เป ลี่ย น เรีย น รู้ร่วมกั น สร้างกระบวนการจติ สาธารณะ ชว่ ยเหลือ ซึ่งกันและกัน ในการพัฒน าสังคมและ ชมุ ชนอยา่ งยั่งยืน โดยยึดหลกั ปรัชญาของ เศร ษ ฐกิ จ พ อ เพี ย งเป็ น แน ว ป ฏิ บั ติ ตลอดจ น กา ร เรีย น รู้กา ร ใช้เทคโน โลยี ที่ เหมาะสม โดยเนน้ การจัดการเรยี นรู้ผ่าน กจิ กรรม การส่งเสริมการดาเนินชีวิตตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไดแ้ ก่ - ประชาธปิ ไตยการดาเนินชวี ติ - การเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง และเกษตรทฤษฎีใหม่ - การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมและ สง่ิ แวดล้อม 9. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นางชุตมิ า เจรญิ สอน ครูอาสาสมัคร 10. เครือข่าย - องค์กรภาครฐั และเอกชน 11. โครงการท่เี กย่ี วข้อง - โครงการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชุมชน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 12. ผลลัพธ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook