Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการสารเคมีอันตราย

โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการสารเคมีอันตราย

Published by mincyay, 2021-08-19 16:53:44

Description: รวม คู่มือ (ไม่มีเลขหน้า)

Search

Read the Text Version

คู่มอื การปฏิบตั งิ านโครงการพฒั นาศักยภาพ การจัดการสารเคมีอันตรายเพือ่ ลดผลกระทบตอ่ สุขภาพแรงงานอยา่ งยั่งยนื ( สาหรบั ศนู ยค์ วามปลอดภัยในการทางานเขต ๑ – ๑๒ )

คานา ด้วยกองความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากดอกผลกองทุนเงินทดแทน สานักงานประกันสังคม ให้ดาเนินงาน โครงการพฒั นาศักยภาพการจัดการสารเคมอี ันตรายเพ่อื ลดผลกระทบต่อสุขภาพแรงงานอย่างย่ังยืน เพ่ือจดั สร้างองค์ความรู้โดยการจัดอบรมให้แก่นายจ้าง ลูกจ้างท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางาน และผู้ที่เก่ียวข้องในสถานประกอบกิจการกลุ่มเสี่ยง ที่มีสารเคมีอันตรายไว้ในครอบครอง เพ่ือให้ผู้ประกอบกิจการ/นายจ้าง มีระบบการจัดการ สารเคมีอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้แรงงานและผู้เกี่ยวข้องได้รับการคุ้มครองจากอันตราย ของสารเคมี เป็นต้นทุนไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นไปอย่างย่ังยืน รวมทั้งเพื่อเฝูาระวัง และปูองกันการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย และการเจ็บปุวยจากการทางานสัมผัสสารเคมีอันตราย รองรับการขับเคล่ือนความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ตามนโยบายของรัฐบาล ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) และนโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) การตรวจบังคับใช้กฎหมายเพ่ือควบคุมและกากับดูแล การประกอบอาชีพท่ีเป็นอันตรายต่อสาธารณะให้บรรลุเปูาหมายสูงสุด คือ ประเทศไทยปลอดภัย (Safe Work, Safe Health, Safe Life : Safety Thailand) ในการปูองกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ ลดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากอันตรายของสารเคมี อันจะสร้างเสริม ความปลอดภยั และคุณภาพชีวติ ของคนทางานและประชาชนให้เกิดขนึ้ อย่างย่ังยนื

สารบญั รายการ หน้า คานา ๒ ๑. แนวทางการดาเนนิ การ โครงการพฒั นาศักยภาพการจดั การสารเคมีอนั ตรายเพ่ือลดผลกระทบ ๔ ต่อสุขภาพแรงงานอย่างยั่งยืน ๒. โครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การสารเคมีอนั ตรายเพอ่ื ลดผลกระทบตอ่ สุขภาพแรงงานอย่างยงั่ ยืน ๑๐ ๓. แนวขอ้ สอบก่อน – หลงั การอบรม ๑๔ ๔. แบบประเมินผลการหลังการอบรม ๒๐ ๕. แบบรายงานผลการดาเนนิ การโครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การสารเคมีอันตราย ๒๑ เพ่ือลดผลกระทบต่อสุขภาพแรงงานอยา่ งย่งั ยืน ๖. ภาคผนวก ๒๒ (๑) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จดั การ และดาเนินการด้านความปลอดภัย ๒๓ อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานเก่ียวกบั สารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ (๒) ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบบัญชรี ายชอื่ สารเคมอี นั ตราย ๓๔ และรายละเอียดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอนั ตราย (๓) ประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารตรวจวดั ๓๙ และการวิเคราะหผ์ ลการตรวจวัดระดับความเข้มข้นของสารเคมอี ันตราย (๔) ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง บัญชีรายช่อื สารเคมอี ันตราย ๔๕ (๕) ประกาศกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง ขีดจากัดความเข้มข้นของสารเคมอี ันตราย ๘๘ (๖) คาชี้แจงประกาศกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ๑๐๔ เร่ือง ขีดจากัดความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย (๗) ประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง กาหนดแบบและวิธกี ารสง่ รายงานผล ๑๐๘ การตรวจวัดระดับความเข้มขน้ ของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศการทางานและสถานที่ เก็บรักษาสารเคมอี นั ตรายทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (๘) ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง กาหนดแบบและวธิ ีการแจง้ บัญชรี ายชอ่ื ๑๑๑ สารเคมีอันตราย และรายละเอียดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอนั ตรายทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (๙) แนวคาบรรยาย ๑๑๙

แนวทางการดาเนินการ โครงการพฒั นาศักยภาพการจัดการสารเคมีอันตรายเพ่อื ลดผลกระทบตอ่ สุขภาพแรงงานอย่างยง่ั ยนื กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากดอกผลกองทุนเงินทดแทน ประจาปี ๒๕๖๔ ตามยุทธศาสตร์ของสานักงานประกันสังคม ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างความครอบคลุม การดูแลบริการและสิทธิประโยชน์ของวัยแรงงานทุกกลุ่มและทุกคน ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ปฏิรูปองค์กรให้ก้าวทัน ต่อการเปล่ยี นแปลง เพือ่ ใหบ้ ริการได้เตม็ ศักยภาพโดยมีเปูาหมายการพัฒนาด้านแรงงานท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) คือ ส่งเสรมิ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ียั่งยืนและทั่วถึงมีการจ้างงานเต็มท่ี และเปน็ งานท่มี คี ุณค่าสาหรับทกุ คน (Decent Work and Economic Growth) เพื่อขับเคลื่อนความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ตามนโยบายของรัฐบาล ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) และนโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) การตรวจบังคับใช้กฎหมาย เพื่อควบคุมและกากับดูแลการประกอบอาชีพท่ีเป็นอันตรายต่อสาธารณะให้บรรลุเปูา หมายสูงสุด คือ ประเทศไทยปลอดภัย (Safe Work, Safe Health, Safe Life : Safety Thailand) ในการปูองกัน และลดการเกิดอุบัติเหตุ ลดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินที่อาจจะเกิดข้ึนจากอันตรายของสารเคมี อันจะสร้างเสริมความปลอดภัยและคุณภาพชีวิตของคนทางานและประชาชน ให้เกิดขึ้นอย่างย่ังยืน ดังน้ัน หลักสาคัญอย่างหน่ึงในมาตรการเชิงปูองกันและการควบคุมอันตรายเกี่ยวกับสารเคมี คือ การสร้าง ความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้อง เช่น เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ผู้ประกอบการหรือนายจ้าง ลูกจ้าง ให้มีศักยภาพรองรับการขับเคลื่อนให้มีระบบการจัดการเก่ียวกับสารเคมีอันตรายเพ่ือลดอัตราการเกิดโรค จากการเนื่องจากการทางานเกี่ยวกับสารเคมอี นั ตราย โดยการลงทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ (Invest in People) ซ่ึงคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา จึงต้องมุ่งเน้นการอบรมให้ความรู้ สร้างเสริมจิตสานึกและทัศนคติท่ีถูกต้อง เพื่อให้ปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยและมีสุขภาพอนามัยที่ดี จึงได้จัดทาโครงการฯ นี้ ขึ้นมา โดยในเบ้ืองต้น เป็นการนาร่องมอบหมายให้ศูนย์ความปลอดภัยในการทางานเขต เป็นหน่วยงานหลักในการดาเนินงาน ตามรายละเอยี ดและวัตถปุ ระสงค์ที่กาหนดไว้ วัตถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผู้ประกอบกิจการ นายจ้าง มีระบบการจัดการสารเคมีอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้แรงงานและผู้เก่ียวข้องได้รับการคุ้มครองจากอันตรายของสารเคมี เป็นต้นทุนไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศเปน็ ไปอยา่ งย่งั ยืน ๒. เพื่อเฝูาระวังและปูองกันการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย และการเจ็บปุวยจากการทางานสัมผัส สารเคมีอนั ตราย

แนวทางการดาเนินการ ๑. ขออนุมัติโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการสารเคมีอันตรายเพ่ือลดผลกระทบต่อสุขภาพ แรงงานอย่างย่งั ยนื (ตามตวั อยา่ งคมู่ อื หรือปรบั ใหส้ อดรบั กับสภาพปญั หาในระดบั พ้ืนทีต่ ามความเหมาะสม) ๒. การคัดเลือกสถานประกอบกิจการกลุ่มเปูาหมาย : สถานประกอบกิจการท่ีมีสารเคมีอันตราย ไว้ในครอบครองโดยอาจคัดเลือกจากสถานประเภทกิจการที่มีความเส่ียง เช่น สถานประกอบกิจการ ท่ีมีความเส่ียงต่อการรั่วไหลหรือระเบิดของสารเคมีอันตราย สถานประกอบกิจการที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด อัคคภี ัย มอี ัตราการประสบอันตรายหรอื จานวนการประสบอันตรายสูงจากสารเคมี ดังน้ี (๑) โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับน้ามันจากพืช หรือสัตว์ หรือไขมันสัตว์ เฉพาะที่ใช้ สารตัวทาละลายในการสกัด เช่น การสกัดน้ามันจากพืช หรือสัตว์ หรือไขมันจากสัตว์ การทาน้าามันจากพืช หรือสัตว์ หรอื ไขมนั จากสัตว์ให้บริสทุ ธ์ิ เป็นต้น (๒) โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับเคมีภัณฑ์ สารเคมี หรือวัสดุเคมี ซ่ึงมิใช่ปุ๋ยอย่างใด อย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น การทาเคมีภัณฑ์ สารเคมี หรือวัสดุเคมี การเก็บรักษา ลาเลียง แยก คัดเลือก หรอื แบง่ บรรจุเฉพาะเคมีภัณฑอ์ นั ตราย (๓) โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับปุ๋ย หรือสารปูองกันกาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ ยกเว้น การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการผลิตปุ๋ยเคมีที่ไม่มีการใช้แอมโมเนียไนเตรท ( Ammonium Nitrate) หรือโปแตสเซียมคลอเรต (Potassium Chlorate) เช่น การทาปุ๋ย หรือสารปูองกันหรือกาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ การเก็บรักษาหรือแบง่ บรรจุป๋ยุ หรอื สารปอู งกันหรือกาจดั ศตั รพู ชื หรอื สตั ว์ (๔) โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับการผลิตยางเรซินสังเคราะห์ ยางอีลาสโตเมอร์ พลาสติก หรอื เสน้ ใยสังเคราะห์ซงึ มใิ ช่ใยแกว (๕) โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับสี (Paints) น้ามันชักเงาเชลแล็ก แล็กเกอร์ หรือผลิตภัณฑ์สาหรับใช้ยาหรืออุดอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง เช่น การทาสีสาหรับใช้ทา พ่น หรอื เคลือบการทาน้ามันชักเงา น้ามันผสมสี หรือน้ายาล้างสี การทาเชลแล็ก แล็กเกอร์ หรือผลิตภัณฑ์สาหรับ ใช้น้ายาหรืออดุ เป็นตน้ (๖) โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกับผลิตภัณฑ์สารเคมี อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เชน่ การทาไมข้ ดี ไฟ วตั ถุระเบิด หรอื ดอกไมเ้ พลงิ การทาหมกึ หรือคาร์บอนดา (๗) โรงกล่ันนา้ มนั ปโิ ตรเลียม (๘) โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม ถ่านหิน หรือลิกไนต์ อย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่าง เช่น การผสมผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมเข้าด้วยกัน หรือการผสมผลิตภัณฑ์ จากปโิ ตรเลียมกับวสั ดอุ น่ื (๙) โรงงานผลติ กา๊ ซ ซึ่งมิใช่ก๊าซธรรมชาติ สง่ หรอื จาหนา่ ยกา๊ ซ (๑๐) โรงงานบรรจุสินค้าในภาชนะ โดยไม่มีการผลิตอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น การบรรจกุ ๊าซ (๑๑) โรงงานห้องเย็น เฉพาะทใี่ ชแ้ อมโมเนียเป็นสารทาความเย็น

(๑๒) โรงงานผลิต ซ่อมแซม ดัดแปลง เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด หรือสิ่งอ่ืนใด ท่ีมีอานาจในการประหาร ทาลายหรือทาให้หมดสมรรถภาพในทานองเดียวกับอาวุธปืน เคร่ืองกระสุน ปืน หรือวตั ถุระเบิด และรวมถงึ สิ่งประกอบของสง่ิ ดงั กล่าว โดยอาจจัดลาดับความเสยี่ งของสถานประกอบกิจการ ดังน้ี ๑) สถานประกอบกจิ การทมี่ อี ัตราการประสบอันตรายสงู ๒) สถานประกอบกจิ การทม่ี ีจานวนการประสบอนั ตรายสูง ๓) สถานประกอบกิจการประเภทกลุ่มเสี่ยง เช่น สถานประกอบกิจการท่ีมีความเสี่ยงต่อ การรั่วไหลหรือระเบิดของสารเคมีอันตราย สถานประกอบกิจการท่ีมีความเส่ียงต่อการเกิดอัคคีภัย หรือ งานกอ่ สร้าง ฯลฯ ๔) สถานประกอบกิจการทม่ี สี ภาพแวดล้อมในการทางานทม่ี ีกระบวนการทางานซบั ซ้อน ๕) สถานประกอบกิจการที่มีสภาพแวดล้อมในการทางานท่ีไม่ปลอดภัย ซ่ึงอาจเป็น อนั ตรายต่อลกู จ้าง ๖) สถานประกอบกิจการที่มีร้องเรียนว่าสภาพแวดล้อมในการทางานไม่ปลอดภัย หรือ นายจ้างปฏิบัตไิ มถ่ ูกต้องตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ๗) สถานประกอบกิจการท่ีเกิดอุบัติเหตุจากการทางาน หรือมีลูกจ้างเจ็บปุวยเนื่องจาก การทางาน ๘) สถานประกอบกิจการกลมุ่ เปาู หมายตามสถานการณ์และนโยบายเรง่ ดว่ น ๙) สถานประกอบกิจการท่ีต้องตรวจติดตามผลจากการตรวจตามตามข้อ ๑) – ๗) ซ่ึงนายจ้างฝุาฝืนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และพนักงานตรวจความปลอดภัยได้ออกสั่งทางปกครองให้นายจ้างดาเนินการให้ถูกต้อง เช่น คาส่ังให้ปฏิบัติ คาสงั่ ใหส้ ่งเอกสาร หรอื การตรวจติดตามเพ่ือเก็บหลกั ฐานดาเนนิ คดี ๓. การคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการซ่ึงเป็นนายจ้าง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน และลูกจ้างท่ปี ฏิบตั ิงานเกยี่ วกับสารเคมีอนั ตราย สถานประกอบกจิ การในพน้ื ทรี่ บั ผิดชอบ แหง่ ละ ๑ คน ๔. กาหนดหัวข้อการอบรมให้เหมาะสมกับสภาพและลักษณะปัญหาภายใต้บริบทของพ้ืนที่ รับผิดชอบเพ่ือพัฒนาศักยภาพการจัดการสารเคมีอันตรายในการลดผลกระทบต่อสุขภาพของแรงงานอย่าง ย่งั ยนื และเสริมสร้างขดี ความสามารถในการแขง่ ขันให้แกใ่ หผ้ ปู้ ระกอบกิจการ/นายจา้ ง และบุคลากรท่ีทาหน้าที่ ดแู ลดา้ นความปลอดภยั โดยประกอบดว้ ยหัวข้อการอบรม ดังนี้ ๑) กฎหมายความปลอดภัยเก่ยี วกบั สารเคมีอนั ตราย ๒) การคุ้มครองสิทธผิ ้ปู ระกันตนกรณเี จบ็ ปวุ ยจากการทางานและเนื่องจากการทางาน ๓) การจดั การเชงิ ปูองกันอนั ตรายจากการทางานเก่ียวกับสารเคมีอนั ตราย ๔) เทคนิคการสอบสวนและวเิ คราะหอ์ บุ ตั เิ หตจุ ากสารเคมีอันตราย ๕. ระยะเวลาการฝกึ อบรม จานวน ๖ ช่ัวโมง ๖. การฝึกอบรมในรปู แบบการบรรยายและบรรยายเชงิ ปฏิบัติการ ตามความเหมาะสม

๗. การประเมนิ ผลการดาเนนิ โครงการฯ ประกอบด้วย ๑) ประเมินผู้เข้าร่วมโครงการก่อนและหลังการอบรม โดยใช้วิธีการทดสอบความรู้ ก่อนและหลัง ๒) ประเมินความพึงพอใจของผู้เขา้ รว่ มโครงการ โดยใช้แบบประเมนิ ผล ๓) ประเมินผลสัมฤทธ์ิเชิงคุณภาพของการนาความรู้จากการอบรมไปประยุกต์ใช้ ในสถานประกอบกิจการ โดยติดตามผลภายใน ๓๐ วัน นับตั้งแต่วันท่ีเสร็จส้ินการอบรม ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการดาเนินการบันทึกข้อมูลรายละเอียดความปลอดภัยเก่ียงกับสารเคมีอันตรายตามแบบ สอ. ๑ ตามบญั ชีรายชอื่ สารเคมอี นั ตรายทีม่ ีไว้ในครอบครองของนายจา้ ง (สถานประกอบกจิ การ) อยา่ งครบถว้ น ๘. สรุปผลและประเมนิ ผลการดาเนินโครงการ ๙. ติดตามผลและรายงานผลให้กองความปลอดภัยแรงงาน กลุ่มงานมาตรฐานอาชีวอนามัย และสุขศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม ภายในวันท่ี ๑๕ เดอื นธนั วาคม ๒๕๖๔ ๔. กลุม่ เปา้ หมาย/เปา้ หมาย นายจ้าง ลูกจ้างท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางาน ของสถานประกอบกจิ การ จานวน ๑๒ รนุ่ ๆ ละ ๖๐ คน ประกอบดว้ ย หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ เปา้ หมาย ศนู ยค์ วามปลอดภัยในการทางานเขต ๑ (พระนครศรีอยธุ ยา) ๖๐ คน ศูนยค์ วามปลอดภยั ในการทางานเขต ๒ (ชลบรุ )ี ๖๐ คน ศนู ย์ความปลอดภยั ในการทางานเขต ๓ (นครราชสีมา) ๖๐ คน ศูนยค์ วามปลอดภยั ในการทางานเขต ๔ (อดุ รธาน)ี ๖๐ คน ศูนย์ความปลอดภยั ในการทางานเขต ๕ (ลาปาง) ๖๐ คน ศนู ย์ความปลอดภัยในการทางานเขต ๖ (นครสวรรค)์ ๖๐ คน ศูนย์ความปลอดภยั ในการทางานเขต ๗ (ราชบุร)ี ๖๐ คน ศนู ย์ความปลอดภยั ในการทางานเขต ๘ (สุราษฎร์ธานี) ๖๐ คน ศูนย์ความปลอดภัยในการทางานเขต ๙ (สงขลา) ๖๐ คน ศนู ยค์ วามปลอดภยั ในการทางานเขต ๑๐ (สมุทรปราการ) ๖๐ คน ศนู ยค์ วามปลอดภัยในการทางานเขต ๑๑ (ตลิง่ ชนั ) ๖๐ คน ศนู ยค์ วามปลอดภยั ในการทางานเขต ๑๒ (ลาดกระบงั ) ๖๐ คน รวม ๗๒๐ คน ๕. ระยะเวลาดาเนินการ ต้งั แต่วนั ท่ี ๑ สงิ หาคม ๑๕๖๔ – ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔

๖. หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ ศนู ย์ความปลอดภัยในการทางานเขต ๑ – ๑๒ ๗. งบประมาณ งบประมาณดาเนินการโครงการฯ ได้รับการสนับสนุนจากเงินดอกผลเงินกองทุนเงินทดแทน สานักงานประกันสังคม งบประมาณประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๔ จานวน ๖๐๙,๖๐๐ บาท (หกแสนเก้าพันหกร้อย บาทถว้ น) จัดสรรโดยการตดั โอนเงินให้ศนู ยค์ วามปลอดภยั ในการทางานเขต ๑ – ๑๒ เขตๆ ละ ๕๐,๘๐๐ บาท (หา้ หม่ืนแปดรอ้ ยบาทถว้ น) ๘. การนบั ผลงาน ๖.๑ คน นับจากจานวนนายจ้าง ลูกจ้าง และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน ท่ีเข้ารับ การอบรม (นาสง่ ผลผลิต) ) มผี ้เู ขา้ อบรม รุ่นละ ๖๐ คน ๖.๒ แห่ง นับจากจานวนสถานประกอบกิจการกลุ่มเปูาหมายตามข้อ ๓.๒ ท่ีเข้ารับการอบรม รนุ่ ละ ๖๐ แหง่ ๖.๓ การรายงานข้อมูลตามแบบสารวจข้อมูลสถานประกอบกิจการที่มีการทางานเก่ียวกับ สารเคมีอันตรายของผู้เขา้ รบั การอบรม ๙. หลกั ฐานอ้างอิง ๕.๑ โครงการ/หนงั สอื ขออนุมตั ิดาเนินการ/กาหนดการ ๕.๒ หนังสือเชิญนายจ้าง ลูกจ้าง และบุคลากรที่ทาหน้าที่ดูแลด้านความปลอดภัยเข้ารับ การอบรม/ทะเบยี นรายชือ่ ผู้เขา้ รับการอบรม ๕.๓ แบบทดสอบก่อน/หลังอบรม/แบบประเมินการจดั อบรม ๕.๔ แบบรายงานการดาเนนิ การโครงการฯ ๕.๕ ภาพถ่ายการจดั อบรม

ตัวอย่าง กาหนดการอบรม โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการสารเคมอี ันตรายเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพแรงงานอยา่ งย่งั ยืน สาหรบั หน่วยงานศนู ย์ความปลอดภัยในการทางานเขต จานวน ๑๒ รุ่นๆละ ๖๐ คน หลกั สตู ร ๑ วัน (๖ ชั่วโมง) เวลา ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. ลงทะเบียน เวลา ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. พธิ เี ปดิ การอบรม เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๐.๓๐ น. บรรยายหัวข้อ กฎหมายความปลอดภัยเกี่ยวกบั สารเคมี วิทยากรภาครฐั เวลา ๑๐.๓๐ – ๑๐.๔๕ น. พกั รบั ประทานอาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื เวลา ๑๐.๔๕ – ๑๒.๐๐ น. บรรยายหัวขอ้ การคุ้มครองสิทธผิ ูป้ ระกันตนกรณเี จบ็ ปวุ ยจากการทางาน และเนอ่ื งจากการทางาน วทิ ยากรภาครฐั เวลา ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. บรรยายหัวข้อ การจัดการเชิงปูองกนั อนั ตรายจากการทางานเกี่ยวกบั สารเคมี วิทยากรภาคเอกชน เวลา ๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น. พกั รบั ประทานอาหารว่างและเครื่องด่ืม เวลา ๑๔.๔๕ – ๑๖.๓๐ น. บรรยายหวั ขอ้ เทคนิคการสอบสวนและวิเคราะห์อุบัตเิ หตุจากสารเคมี วิทยากรภาคเอกชน หมายเหตุ กาหนดการอาจเปลย่ี นแปลงหวั ขอ้ การบรรยายตามความเหมาะสมของปัญหาระดบั พื้นท่ี

ตัวอย่าง โครงการพฒั นาศกั ยภาพการจดั การสารเคมีอันตรายเพอ่ื ลดผลกระทบต่อสุขภาพแรงงานอยา่ งยง่ั ยนื ๑. หลักการและเหตุผล ประเทศไทยได้มีการพัฒนาเศรษฐกิจจากภาคเกษตรกรรมก้าวสู่ประเทศเชิงอุตสา หกรรม และเกษตรเชิงอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว โดยนาเทคโนโลยีและสารเคมีประเภทต่าง ๆ มาใช้พัฒนาคุณภาพชีวิต ของมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้น เช่น การใช้สารเคมีในการช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตท้ังในภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และทางการแพทย์ สารเคมีมีบทบาทสาคัญในการใช้ชีวิตประจาวันของมนุษย์ต้ังแต่ตื่นนอนจนกระท่ังเข้านอน สารเคมีนอกจากจะมีคุณประโยชน์อย่างมหาศาลแล้วอาจเป็นโทษอย่างมหันต์ ทาให้เกิดการเจ็บปุวย ด้วยโรคจากการทางานสัมผัสสารเคมี หรืออาจจะก่อให้เกิดอุบัติภัยท่ีรุนแรงได้ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ของแรงงาน ซึ่งเกิดข้ึนตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทางานที่มีโอกาสสัมผัสกับสารเคมี อันตราย เช่น โรคมะเร็งจากแอสเบสตอส (แร่ใยหิน) โครเมียมและสารประกอบของโครเมียม ฯลฯ โรคที่เกิด จากสารเบริลเลียมแคดเมียม ฟอสฟอรัส โครเมียม แมงกานีส สารหนู ปรอท ตะก่ัว ฯลฯ จากการดาเนินงาน ท่ีผ่านมาพบว่า มีปัญหาด้านความพร้อม ความรู้ ความเข้าใจของผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกระดับในภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง รวมท้งั ฐานข้อมลู ด้านสารเคมีอนั ตราย การบนั ทึกและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ท่เี กิดขึน้ ของหนว่ ยปฏิบัตเิ พื่อนาไปใช้ประโยชน์ ในการเชื่อมโยงสู่การวางแผนเฝูาระวัง มาตรการปูองกันเชิงรุก เพื่อปูองกันอุบัติเหตุ อุบัติภัย และโรคจากการ ทางาน เพ่ือขับเคล่ือนความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) ตามนโยบายของรัฐบาล ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) และนโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) การตรวจบังคับใช้กฎหมายเพ่ือควบคุมและกากับดูแลการประกอบอาชีพที่เป็นอันตราย ต่อสาธารณะให้บรรลุเปูาหมายสูงสุด คือ ประเทศไทยปลอดภัย (Safe Work, Safe Health, Safe Life : Safety Thailand) ในการปูองกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ ลดความสูญเสียท้ังชีวิตและทรัพย์สิน ที่อาจจะเกิดขึ้นจากอันตรายของสารเคมี อันจะสร้างเสริมความปลอดภัยและคุณภาพชีวิตของคนทางาน และประชาชนใหเ้ กดิ ขน้ึ อย่างย่ังยนื โดยกาหนดยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) จะต้องนาไปสู่ การปฏิบตั ิเพ่ือให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ภารกิจของกระทรวงแรงงาน มีส่วนที่เก่ียวข้องใน ๓ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหล่ือมล้าในสังคม และยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็ง ทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ตามยุทธศาสตร์ของสานักงานประกันสังคม ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างความครอบคลุมการดูแลบริการและสิทธิประโยชน์ของวัยแรงงานทุกกลุ่มและทุกคน ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ปฏิรูปองค์กรให้ก้าวทันต่อการเปล่ียนแปลง เพ่ือให้บริการได้เต็มศักยภาพโดยมีเปูาหมายการพัฒนา ด้านแรงงานที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) คือ ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจ

ท่ียั่งยืนและทั่วถึงมีการจ้างงานเต็มท่ีและเป็นงานที่มีคุณค่าสาหรับทุกคน (Decent Work and Economic Growth) ดังนั้น หลักสาคัญอย่างหนึ่งในมาตรการเชิงปูองกันและการควบคุมอันตรายเก่ียวกับสารเคมี คือ การสร้าง ความรว่ มมือของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ผู้ประกอบการหรือนายจ้าง ลูกจ้างให้มีศักยภาพ รองรับการขับเคลื่อนให้มีระบบการจัดการเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายเพ่ือลดอัตราการเกิดโรคเนื่องจากการทางาน เกี่ยวกับสารเคมีอันตราย โดยการลงทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ (Invest in People) ซ่ึงคนเป็นศูนย์กลาง ของการพัฒนา จึงต้องมุ่งเน้นการอบรมให้ความรู้ สร้างเสริมจิตสานึกและทัศนคติที่ถูกต้อง เพื่อให้แรงงาน มีความปลอดภยั ในการทางานและมสี ุขภาพอนามยั ท่ีดี ๑. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพ่อื ให้ผ้ปู ระกอบกจิ การ นายจา้ ง มีระบบการจัดการสารเคมีอันตรายอย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้แรงงานและผู้เกี่ยวข้องได้รับการคุ้มครองจากอันตรายของสารเคมี เป็นต้นทุนไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศเป็นไปอยา่ งยง่ั ยืน ๒.๒ เพื่อเฝูาระวังและปูองกันการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย และการเจ็บปุวยจากการทางาน สมั ผสั สารเคมีอันตราย ๒. กลุ่มเปา้ หมาย นายจ้าง ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานเก่ียวกั บสารเคมีอันตราย บุคลากรที่ทาหน้าที่ดูแล ด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ จานวน ๑๒ รุ่น ๆ ละ ๖๐ คน สถานที่เอกชนในส่วนกลาง และสว่ นภมู ภิ าค ๔. ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ ดาเนินการตลอดโครงการระหวา่ งเดอื นกรกฎาคม – เดอื นธันวาคม ๒๕๖๔ ๕. สถานที่ดาเนินการ ศนู ยค์ วามปลอดภยั ในการทางานเขต ๑ – ๑๒ หรือสถานท่ีเอกชนในสว่ นกลางและสว่ นภูมิภาค ๖. แนวทางการดาเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ดาเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ท่ีเก่ียวข้องในสถานประกอบกิจการ ท่มี ีการใชส้ ารเคมีอันตรายตามกฎหมายความปลอดภัยในการทางานเกีย่ วกับสารเคมีอนั ตราย ดงั น้ี ๖.๑ การพัฒนาศักยภาพนายจ้าง ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานเก่ียวกับสารเคมีอันตราย เครือข่าย ความปลอดภัยในการทางาน และผู้เก่ียวข้องท่ีทาหน้าท่ีดูแลงานด้านความปลอดภัยในการทางาน ในสถานประกอบกจิ การทม่ี สี ารเคมอี ันตรายจากสารเคมี โดยมอบหมายให้ศูนย์ความปลอดภัยในการทางานเขต ๑ – ๑๒ ดาเนนิ การหนว่ ยงานละ ๑ รุน่ ๆ ละ ๖๐ คน รวมจานวน ๑๒ รนุ่ โดยสามารถดาเนินการฝึกอบรมในห้องอบรม หรอื ผา่ นระบบออนไลน์

๖.๒ ประเมนิ ความรู้ความเขา้ ใจของผ้เู ขา้ รบั การอบรม ก่อนและหลงั การอบรม ๖.๓ สรปุ ผลและประเมนิ ผลการดาเนินโครงการ ๖.๔ รายงานผลการปฏิบัติต่อหน่วยงานท่ีจัดสรรเงินดอกผลกองทุนเงินทดแทน สานกั งานประกันสังคม ๗. งบประมาณ งบประมาณดาเนินการตลอดโครงการจากดอกผลกองทุนเงินทดแทน ประจาปี ๒๕๖๔ จานวน ๖๐๙,๖๐๐ บาท (หกแสนเกา้ พันหกร้อยบาทถ้วน) ๘. ผลสัมฤทธข์ิ องโครงการ ๘.๑ ผลผลิต ๑) มีผูเ้ ข้าอบรม จานวน ๑๒ ร่นุ ๆ ละ ๖๐ คน ๒) ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับมาตรฐานความปลอดภัยในการทางาน เกย่ี วกบั สารเคมอี นั ตรายในสถานประกอบกิจการเก่ียวกับข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย การจัดทาฉลาก และปูายสัญลักษณ์ การคุ้มครองความปลอดภัยในการทางานให้แก่ลูกจ้างและผู้เกี่ยวข้อง มาตรการ ความปลอดภัยในการเก็บรักษา การบรรจุ การถ่ายเท การขนถ่าย การเคล่ือนย้ายหรือขนส่งสารเคมีอันตราย รวมไปถึงการควบคุมและปฏบิ ตั ิการกรณีมีเหตฉุ ุกเฉิน ๘.๒ ผลลัพธ์ ๑) ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเก่ียวกับสารเคมีอันตรายในสถานประกอบกิจการได้ อยา่ งเปน็ ระบบและมปี ระสิทธิภาพ เพ่อื เฝาู ระวงั และปอู งกนั การเกดิ อบุ ัติเหตุ อบุ ตั ภิ ยั และการเจ็บปุวยจากการ ทางานสมั ผสั สารเคมอี นั ตราย ๒) สถานประกอบกิจการท่ีมีสารเคมีอันตรายในสถานประกอบกิจการมีมาตรการ และมีการดาเนินการเพื่อเฝูาระวังและปูองกันการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย และการเจ็บปุวยจากการทางาน สัมผสั สารเคมีอันตราย ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ๙. การประเมินผลโครงการ แบบประเมนิ ผลหลังแลว้ เสรจ็ สน้ิ โครงการ ๑๐. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั ๑๐.๑ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับมาตรฐานความปลอดภัยในการทางาน เก่ียวกบั สารเคมอี นั ตรายในสถานประกอบกิจการเก่ียวกับข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย การจัดทาฉลาก และปูายสัญลักษณ์ การคุ้มครองความปลอดภัยในการทางานให้แก่ลูกจ้างและผู้เกี่ยวข้อง มาตรการ ความปลอดภัยในการเก็บรักษา การบรรจุ การถ่ายเท การขนถ่าย การเคล่ือนย้ายหรือขนส่งสารเคมีอันตราย รวมไปถึงการควบคุมและปฏิบัตกิ ารกรณมี ีเหตฉุ ุกเฉิน

๑๐.๒ ผู้เขา้ อบรมสามารถนาความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ งานดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเก่ียวกับสารเคมีอันตรายในสถานประกอบกิจการได้อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ เพื่อเฝูาระวังและปูองกันการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย และการเจ็บปุวยจากการทางาน สัมผัสสารเคมีอันตราย ลดความเสียหายจากการเกิดอุบัติภัยสารเคมีในสถานประกอบกิจการ และลดผลกระทบ ตอ่ สุขภาพอนามยั ของลูกจ้างผปู้ ระกนั ตน ๑๐.๓ สถานประกอบกิจการท่ีมีสารเคมีอันตรายในสถานประกอบกิจการ มีมาตรการ และมีการดาเนินการเพื่อเฝูาระวังและปูองกันการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย และการเจ็บปุวยจากการทางาน สัมผสั สารเคมีอันตราย ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ๑๑. ผเู้ สนอโครงการ ๑๒. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ๑๓. ผู้อนุมตั โิ ครงการ

แบบทดสอบกอ่ นการอบรม โครงการพฒั นาศกั ยภาพการจดั การสารเคมอี นั ตรายเพื่อลดผลกระทบตอ่ สุขภาพอยา่ งยง่ั ยนื ชื่อ-สกลุ ชื่อบริษทั การทดสอบก่อนการอบรมมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความรู้ของผู้เข้าอบรมสาหรับนาไปปรับปรุง การเสรมิ สร้างองค์ความร้เู กย่ี วกบั การดาเนนิ งานด้านความปลอดภยั เกยี่ วกับสารเคมอี ันตรายในสถานประกอบกิจการ แบบทดสอบมีทั้งหมด จาวน ๑๐ ข้อ ให้ทาเครื่องหมาย X ลงในตัวเลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องทีส่ ดุ ๑. ขอ้ ใดเปน็ การทางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ก. การตดิ ฉลากลงบนภาชนะบรรจสุ ารเคมีอันตราย ข. การทาลายสารเคมอี ันตรายที่ไมใ่ ช้แลว้ ค. การขนส่งสารเคมีอันตรายไปใหผ้ ซู้ ้ือ ง. ถูกทุกขอ้ ๒. ในกรณที มี่ ีสารเคมอี ันตรายอยู่ในครอบครอง นายจา้ งตอ้ งดาเนินการตามข้อใด ก. จดั ทาบญั ชีรายชื่อสารเคมอี ันตรายทมี่ ีอยใู่ นครอบครอง ข. จดั ทารายละเอยี ดข้อมูลความปลอดภยั ของสารเคมีอันตรายตามแบบ สอ.๑ ค. แจง้ การครอบครองให้เจา้ หน้าท่ีทราบภายในเวลาทก่ี าหนด ง. ถูกทุกข้อ ๓. ขอ้ ใดไมถ่ กู ต้องเก่ียวกับฉลากสารเคมีอันตรายตามท่ีกฎหมายกาหนดไว้ ก. มชี อ่ื ผลติ ภณั ฑ์ รูปสัญลกั ษณ์ และมขี ้อความแสดงอันตราย ข. เป็นภาษาไทย อา่ นงา่ ย คงทน ค. หากติดฉลากท่ภี าชนะบรรจุไม่ได้ ให้เก็บฉลากใส่แฟูมเอาไว้ ง. ใชร้ ปู แบบของฉลากตามระบบ GHS ๔. ข้อใดเปน็ ลกั ษณะสภาพของสถานทีท่ ี่เหมาะสมกับการทางานเกี่ยวกับสารเคมอี ันตราย ก. มรี ะบบระบายอากาศแบบทัว่ ไปหรือแบบทีท่ าให้สารเคมีอนั ตรายเจือจาง ข. การระบายอากาศเฉพาะที่ ไมจ่ าเปน็ ต้องมรี ะบบปูองกันและกาจัดอากาศเสยี ก่อนปล่อยออก ค. สามารถวางภาชนะบรรจุสารเคมีทใ่ี ดก็ได้ ง. ผดิ ทุกขอ้ ๕. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกต้องเก่ียวกับการจัดสถานที่ และอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยให้กับลูกจ้าง ก. มีชุดทางานเฉพาะใหล้ ูกจ้างไดส้ วมใส่ และมที ี่เก็บชดุ ทางานที่ใช้แลว้ ใหด้ ้วย ข. มีอปุ กรณด์ ับเพลงิ ที่เหมาะสมกบั สารเคมีอันตราย และเพยี งพอสาหรบั การผจญเพลิงเบื้องต้น ค. มที ลี่ ้างตา หรอื ฝกั บวั ชาระล้างร่างกาย สาหรับใชใ้ นกรณฉี ุกเฉินติดต้ังไวใ้ กล้ๆ กบั สถานทที่ างาน ง. มีอปุ กรณแ์ ละเวชภัณฑส์ าหรับการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้

๖. การเก็บรักษาสารเคมอี ันตราย ควรลกั ษณะตามข้อใด ก. อาคารทนไฟได้ไมน่ ้อยกว่าหกสิบนาที ข. อาคารมที างเข้าออกไมน่ ้อยกว่าสองทาง ค. มีเครอื่ งหมายหรือสัญลักษณ์แจ้งความเป็นอันตรายของสารเคมี ติดใหเ้ หน็ ไดช้ ัดเจน ง. ถกู ทกุ ข้อ ๗. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ งเกี่ยวกบั การขนถ่าย การเคล่อื นย้าย การขนสง่ สารเคมีอันตราย ก. ตอ้ งมกี ารฝกึ อบรมและฝึกซ้อมวธิ ีการแก้ไขปัญหาเมอื่ เกิดเหตุฉุกเฉนิ อย่างนอ้ ยปลี ะหนึ่งครั้ง ข. การส่งสารเคมีอันตรายท่ีมีความร้อนทาให้ผิวภายนอกท่อมีอุณหภูมิสูงข้ึน เพ่ือเป็นการระบายความร้อน ไม่ตอ้ งมีฉนวนหมุ้ ท่อ ค. ก่อนการขนส่ง จะต้องยึดภาชนะบรรจุกับฐานรองรับและยานพานะให้แน่น เพ่ือไม่ให้เคล่ือนท่ีหรือลอยตัว ไดข้ ณะขนส่ง ง. ยานพาหนะท่ีขนส่งสารเคมี จะต้องมีเครื่องดับเพลิงที่เหมาะสมกับสารเคมีอนั ตรายดว้ ย ๘. การจัดการต่อหีบห่อ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตรายที่ปนเปื้อนและไม่ต้องการใช้แล้วตามข้อใด เปน็ ไปอย่างถูกต้อง ก. สามารถลา้ งและนามาบรรจสุ ่งิ ของอ่ืนต่อได้ ข. กาจดั โดยวิธีการทีป่ ลอดภยั และเหมาะสมกบั ชนิดของสารเคมอี ันตราย ค. ให้เกบ็ รวบรวมไว้ในบริเวณที่ทางานก่อนส่งกาจัด ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก ๙. ขอ้ ใดเป็นการควบคุมและปฏิบัติการกรณีมีเหตุฉุกเฉินเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายในสถานประกอบกิจการ ก. มีการประเมินความเส่ยี งการก่ออันตรายของสารเคมีอันตรายท่ีมใี นครอบครอง ข. จัดทาแผนปฏิบตั กิ ารกรณีมเี หตุฉุกเฉนิ ค. ฝึกอบรมลกู จา้ งใหส้ ามารถควบคุมและระงบั เหตอุ ันตรายได้ ง. ถูกทกุ ข้อ ๑๐. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกีย่ วกบั การควบคมุ ระดับความเข้มข้นของสารเคมอี นั ตรายในสถานประกอบกจิ การ ก. นายจ้างจัดให้มีระบบปูองกัน และควบคุมระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศไม่ให้ เกินขดี จากดั ท่ีกาหนด ของสถานท่ีทางานเทา่ น้นั ข. นายจ้างมีการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานท่ี ทางาน และสถานที่เกบ็ รักษาสารเคมอี นั ตราย ค. เม่ือพบว่าระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายเกินขีดจากัดท่ีกาหนด นายจ้างแจ้งให้เจ้าหน้าท่ี ตรวจความปลอดภยั ให้เขา้ มาดาเนนิ การกาจดั หรือควบคุมสารเคมีอนั ตรายน้ีได้ ง. ให้ส่งผลการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานท่ี ทางานและสถานทเี่ ก็บรกั ษาสารเคมอี นั ตรายให้แก่อธบิ ดีภายใน ๓๐ วันนบั แต่ทราบผลการตรวจวัด

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นการอบรม โครงการพฒั นาศกั ยภาพการจดั การสารเคมีอนั ตรายเพือ่ ลดผลกระทบต่อสุขภาพอย่างย่ังยืน ข้อท่ี คาตอบ ๑ง ๒ง ๓ค ๔ก ๕ค ๖ง ๗ข ๘ข ๙ง ๑๐ ข

แบบทดสอบหลังการอบรม โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการสารเคมอี ันตรายเพ่อื ลดผลกระทบต่อสขุ ภาพอย่างยงั่ ยืน ชอ่ื -สกลุ ชอื่ บริษัท การทดสอบหลังการอบรมมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความรู้ของผู้เข้าอบรมสาหรับนาไปปรับปรุง การเสรมิ สรา้ งองค์ความรู้เกยี่ วกบั การดาเนนิ งานดา้ นความปลอดภยั เกีย่ วกบั สารเคมีอนั ตรายในสถานประกอบกิจการ แบบทดสอบมที ั้งหมด จาวน ๑๐ ขอ้ ใหท้ าเคร่ืองหมาย X ลงในตัวเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุด ๑. ข้อใดเป็นการควบคุมและปฏบิ ัติการกรณมี ีเหตุฉุกเฉนิ เก่ียวกับสารเคมีอันตรายในสถานประกอบกิจการ ก. มกี ารประเมินความเสี่ยงการก่ออันตรายของสารเคมีอันตรายที่มใี นครอบครอง ข. จัดทาแผนปฏิบตั กิ ารกรณีมีเหตุฉุกเฉิน ค. ฝึกอบรมลกู จา้ งให้สามารถควบคุมและระงับเหตุอันตรายได้ ง. ถูกทุกข้อ ๒. ข้อใดไมถ่ ูกต้องเกี่ยวกับฉลากสารเคมอี ันตรายตามท่ีกฎหมายกาหนดไว้ ก. มีชื่อผลติ ภณั ฑ์ รูปสัญลักษณ์ และมีข้อความแสดงอันตราย ข. เปน็ ภาษาไทย อ่านง่าย คงทน ค. หากติดฉลากทภี่ าชนะบรรจุไม่ได้ ใหเ้ กบ็ ฉลากใส่แฟูมเอาไว้ ง. ใชร้ ปู แบบของฉลากตามระบบ GHS ๓. การเกบ็ รกั ษาสารเคมอี ันตราย ควรลักษณะตามข้อใด ก. อาคารทนไฟได้ไม่น้อยกว่าหกสบิ นาที ข. อาคารมีทางเข้าออกไม่น้อยกวา่ สองทาง ค. มเี ครื่องหมายหรือสัญลักษณ์แจ้งความเป็นอนั ตรายของสารเคมี ติดให้เห็นไดช้ ัดเจน ง. ถกู ทกุ ขอ้ ๔. ข้อใดเป็นลักษณะสภาพของสถานท่ที ่ีเหมาะสมกับการทางานเกี่ยวกับสารเคมอี ันตราย ก. มีระบบระบายอากาศแบบท่วั ไปหรือแบบทีท่ าให้สารเคมีอันตรายเจือจาง ข. การระบายอากาศเฉพาะท่ี ไมจ่ าเปน็ ต้องมีระบบปูองกนั และกาจัดอากาศเสียก่อนปล่อยออก ค. สามารถวางภาชนะบรรจุสารเคมีที่ใดก็ได้ ง. ผิดทกุ ข้อ ๕. ในกรณที มี่ สี ารเคมีอันตรายอยู่ในครอบครอง นายจ้างตอ้ งดาเนินการตามข้อใด ก. จัดทาบญั ชรี ายชอื่ สารเคมีอันตรายทีม่ ีอย่ใู นครอบครอง ข. จดั ทารายละเอยี ดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอนั ตรายตามแบบ สอ.๑ ค. แจ้งการครอบครองให้เจ้าหน้าที่ทราบภายในเวลาทก่ี าหนด ง. ถูกทกุ ข้อ ๖. ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ งเก่ยี วกับการควบคมุ ระดับความเข้มขน้ ของสารเคมีอนั ตรายในสถานประกอบกิจการ

ก. นายจ้างจัดให้มีระบบปูองกัน และควบคุมระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศไม่ให้ เกินขดี จากดั ท่กี าหนด ของสถานทีท่ างานเทา่ นั้น ข. นายจ้างมีการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานที่ ทางาน และสถานท่เี กบ็ รักษาสารเคมีอนั ตราย ค. เม่ือพบว่าระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายเกินขีดจากัดท่ีกาหนด นายจ้างแจ้งให้เจ้าหน้าที่ ตรวจความปลอดภัยใหเ้ ขา้ มาดาเนนิ การกาจัดหรอื ควบคมุ สารเคมีอันตรายน้ีได้ ง. ให้ส่งผลการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานท่ี ทางานและสถานทีเ่ กบ็ รกั ษาสารเคมีอนั ตรายให้แก่อธบิ ดีภายใน ๓๐ วนั นบั แต่ทราบผลการตรวจวัด ๗. ขอ้ ใดเป็นการทางานเกีย่ วกับสารเคมีอันตราย ก. การติดฉลากลงบนภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราย ข. การทาลายสารเคมอี ันตรายท่ีไมใ่ ช้แล้ว ค. การขนส่งสารเคมีอันตรายไปใหผ้ ซู้ ื้อ ง. ถูกทกุ ข้อ ๘. การจัดการต่อหีบห่อ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตรายท่ีปนเป้ือนและไม่ต้องการใช้แล้วตามข้อใด เป็นไปอยา่ งถูกต้อง ก. สามารถลา้ งและนามาบรรจุส่ิงของอ่ืนต่อได้ ข. กาจัดโดยวธิ กี ารที่ปลอดภยั และเหมาะสมกบั ชนิดของสารเคมีอันตราย ค. ให้เกบ็ รวบรวมไวใ้ นบริเวณที่ทางานก่อนส่งกาจดั ง. ไมม่ ีข้อใดถูก ๙. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ ูกต้องเก่ยี วกับการจดั สถานท่ี และอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยใหก้ ับลกู จ้าง ก. มชี ุดทางานเฉพาะให้ลูกจ้างไดส้ วมใส่ และมที เี่ กบ็ ชดุ ทางานท่ีใช้แลว้ ให้ด้วย ข. มีอุปกรณ์ดบั เพลิงท่เี หมาะสมกบั สารเคมีอันตราย และเพียงพอสาหรับการผจญเพลิงเบ้ืองต้น ค. มที ่ลี ้างตา หรือ ฝกั บัวชาระลา้ งรา่ งกาย สาหรบั ใชใ้ นกรณีฉุกเฉนิ ติดตั้งไวใ้ กล้ๆ กับสถานทีท่ างาน ง. มอี ุปกรณ์และเวชภัณฑส์ าหรับการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ๑๐. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถกู ต้องเกยี่ วกับการขนถา่ ย การเคลอ่ื นย้าย การขนส่งสารเคมีอันตราย ก. ต้องมกี ารฝึกอบรมและฝึกซอ้ มวิธีการแก้ไขปัญหาเม่อื เกดิ เหตุฉุกเฉินอย่างน้อยปีละหน่ึงคร้ัง ข. การส่งสารเคมีอันตรายที่มีความร้อนทาให้ผิวภายนอกท่อมีอุณหภูมิสูงข้ึน เพื่อเป็นการระบายความร้อน ไมต่ ้องมฉี นวนหุ้มท่อ ค. ก่อนการขนส่ง จะต้องยึดภาชนะบรรจุกับฐานรองรับและยานพานะให้แน่น เพ่ือไม่ให้เคล่ือนที่หรือลอยตัว ไดข้ ณะขนส่ง ง. ยานพาหนะท่ีขนส่งสารเคมี จะตอ้ งมีเครื่องดับเพลิงท่ีเหมาะสมกับสารเคมีอันตรายดว้ ย

เฉลยแบบทดสอบหลังการอบรม โครงการพฒั นาศกั ยภาพการจดั การสารเคมีอันตรายเพอ่ื ลดผลกระทบตอ่ สุขภาพอย่างยั่งยนื ข้อที่ คาตอบ ๑ง ๒ค ๓ง ๔ก ๕ง ๖ข ๗ง ๘ข ๙ค ๑๐ ข

แบบประเมินผลการฝกึ อบรม โครงการพัฒนาศกั ยภาพการจัดการสารเคมีอันตรายเพ่อื ลดผลกระทบตอ่ สุขภาพอย่างยั่งยนื จดั โดย ศูนย์ความปลอดภยั ในการทางานเขต วันที่ สถานที่ คาชแ้ี จง แบบประเมนิ ผลนส้ี รา้ งขึ้นเพือ่ ต้องการทราบความพงึ พอใจ ความเขา้ ใจ ความสนใจ ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของผูเ้ ขา้ รับ การฝึกอบรม สาหรับเป็นแนวทางในการปรับปรุงการจดั ฝึกอบรมให้ดยี ิ่งขนึ้ ตอนที่ ๑ ให้ใส่เคร่อื งหมาย  ลงในชอ่ งแสดงความคดิ เหน็ ของท่านในแตล่ ะคาถาม รายการประเมินความคิดเหน็ ระดบั ความคิดเหน็ หมายเหตุ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ที่สุด ทีส่ ุด กลาง ๑. ความเข้าใจในวัตถุประสงคข์ องการฝกึ อบรม ๒. ความเหมาะสมของหัวขอ้ วชิ า ๓. ความสามารถในการถา่ ยทอดความรูข้ องวิทยากร ๔. ความเข้าใจในแตล่ ะหวั ข้อวชิ า ๕. การนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ ๖. ความเหมาะสมของวิธกี ารฝกึ อบรม ๗. ความเหมาะสมของสถานท่ีฝึกอบรม ๘. การอานวยความสะดวก/บรกิ ารจากเจ้าหนา้ ที่ผู้จดั ๙. ความพึงพอใจในการฝึกอบรมโดยภาพรวม ตอนที่ ๒ โปรดเขียนระบุขอ้ ความแสดงความคิดเห็น และขอ้ เสนอแนะลงในชอ่ งว่าง ๑. หัวขอ้ วชิ าที่ควรเพิ่มเตมิ ในหลักสตู ร ๒. ระยะเวลาของการฝกึ อบรมของหลักสูตรน้ี ( ) เหมาะสม ( ) ไมเ่ หมาะสม ท่เี หมาะสมควรเปน็ วนั ๓. หลักสูตรที่ท่านจาเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การฝึกอบรม ๓.๑ เน่ืองจาก ๓.๒ เนื่องจาก ๔. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ “แรงงานปลอดภัยและสขุ ภาพอนามยั ดี”

แบบรายงานผลการดาเนินงาน โครงการพฒั นาศักยภาพการจัดการสารเคมอี ันตรายเพ่อื ลดผลกระทบต่อสุขภาพแรงงานอย่างย่งั ยนื (ส่งรายงานให้กองความปลอดภยั แรงงาน ภายใน ๓๐ วัน นับต้งั แต่วนั ทีจ่ ดั อบรมแล้วเสร็จ) ๑. หน่วยงาน ศูนย์ความปลอดภัยในการทางานเขต ๒. วนั ท่ี เดือน ปี ทจ่ี ัดอบรม ๓. สถานทจ่ี ดั การอบรม ๔. จานวนผ้เู ข้าอบรม ทัง้ หมด คน ประกอบดว้ ย ๑) นายจ้าง จานวน คน ๒) เจ้าหนา้ ทีค่ วามปลอดภยั ในการทางาน จานวน คน ระดบั เทคนิค จานวน คน ระดับเทคนิคข้ันสงู จานวน คน ระดบั วชิ าชีพ จานวน คน ระดบั หัวหน้างาน จานวน คน ระดับบริหาร จานวน คน ๓) ลกู จา้ งท่ีปฏบิ ัติงานเก่ยี วกับสารเคมอี ันตราย จานวน คน ๕. ผลประเมนิ ความรู้ของผู้เข้ารับการอบรม กอ่ นการอบรม คะแนนต่ากวา่ ๘๐ จานวน คน คิดเป็นร้อยละ คะแนนสูงกว่า ๘๐ จานวน คน คิดเปน็ ร้อยละ หลงั การอบรม คะแนนต่ากวา่ ๘๐ จานวน คน คิดเป็นร้อยละ คะแนนสูงกวา่ ๘๐ จานวน คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๖. ผลการประเมินผลการฝึกอบรมในภาพรวม (ให้จัดทาสรุปรายละเอียดข้อมูลตามแนบแบบประเมินผลการ ฝกึ อบรมและสง่ เป็นเอกสารแนบมาดว้ ย) ๗.

ภาคผนวก (๑) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกบั สารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ (๒) ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง แบบบัญชีรายช่ือสารเคมีอันตราย และรายละเอียดข้อมูล ความปลอดภยั ของสารเคมีอันตราย (๓) ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการตรวจวัด และการวิเคราะห์ผล การตรวจวัดระดับความเขม้ ขน้ ของสารเคมีอันตราย (๔) ประกาศกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง บัญชีรายชอ่ื สารเคมอี ันตราย (๕) ประกาศกรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน เรือ่ ง ขีดจากดั ความเข้มข้นของสารเคมีอนั ตราย (๖) คาช้แี จงประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง ขีดจากัดความเข้มขน้ ของสารเคมอี นั ตราย (๗) ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง กาหนดแบบและวิธีการส่งรายงานผลการตรวจวัด ระดับ ความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศการทางานและสถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตราย ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (๘) ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กาหนดแบบและวิธีการแจ้งบัญชีรายช่ือสารเคมีอันตราย และรายละเอียดขอ้ มลู ความปลอดภัยของสารเคมอี นั ตรายทางอเิ ล็กทรอนิกส์ (๙) เอกสารการบรรยายเกี่ยวกับสารเคมีอนั ตราย

เลม่ ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๑๓ ก หนา้ ๙ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา กฎกระทรวง กําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนนิ การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานเกย่ี วกับสารเคมีอนั ตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ อันเป็นกฎหมายที่มี บทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัย อํานาจตามบทบญั ญตั ิแหง่ กฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ในกฎกระทรวงน้ี “สารเคมีอันตราย” หมายความว่า ธาตุ สารประกอบ หรือสารผสม ตามบัญชีรายช่ือ ท่ีอธิบดีประกาศกําหนด ซ่ึงมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเส้นใย ฝุ่น ละออง ไอ หรือฟมู ทีม่ คี ุณสมบตั อิ ย่างหนึง่ อยา่ งใดหรอื หลายอยา่ งรวมกัน ดังต่อไปน้ี (๑) มีพิษ กัดกร่อน ระคายเคือง ซึ่งอาจทําให้เกิดอาการแพ้ การก่อมะเร็ง การเปลี่ยนแปลง ทางพันธุกรรม เปน็ อันตรายต่อทารกในครรภห์ รือสุขภาพอนามัย หรือทาํ ใหถ้ ึงแก่ความตาย (๒) เป็นตัวทําปฏิกิริยาที่รุนแรง เป็นตัวเพ่ิมออกซิเจนหรือไวไฟ ซ่ึงอาจทําให้เกิดการระเบิด หรอื ไฟไหม้ “ขีดจํากัดความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย” หมายความว่า ระดับความเข้มข้นของสารเคมี อันตรายที่กําหนดให้มีอยู่ได้ในบรรยากาศแวดล้อมในการทํางานท่ีลูกจ้างซ่ึงมีสุขภาพปกติสามารถสัมผัส หรอื ได้รับเขา้ สู่ร่างกายไดท้ ุกวันตลอดเวลาที่ทาํ งานโดยไม่เปน็ อันตรายต่อสุขภาพ “การทํางานเก่ียวกับสารเคมีอันตราย” หมายความว่า การกระทําใด ๆ ซึ่งอาจทําให้ลูกจ้าง ได้รับสารเคมีอันตราย เช่น การผลิต การติดฉลาก การห่อหุ้ม การเคลื่อนย้าย การเก็บรักษา การถา่ ยเท การขนถา่ ย การขนส่ง การกาํ จัด การทาํ ลาย การเก็บสารเคมีอันตรายที่ไม่ใช้แล้ว รวมทั้ง

เลม่ ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๑๓ ก หนา้ ๑๐ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา การบํารุงรักษา การซ่อมแซม และการทําความสะอาดเคร่ืองมือ เครื่องใช้ ตลอดจนภาชนะบรรจุ สารเคมอี นั ตราย “ผลิต” หมายความวา่ ทํา ผสม ปรุง ปรุงแตง่ เปลี่ยนรปู แปรสภาพ และหมายความรวมถึง การบรรจุ และแบง่ บรรจุ “ครอบครอง” หมายความว่า การมีไว้เพ่ือตนเองหรือผู้อื่นไม่ว่าจะมีไว้เพ่ือขาย ขนส่ง ใช้ หรือเพือ่ ประการอ่นื ใด และรวมถึงการทิ้งไว้ หรอื ปรากฏอยูใ่ นบรเิ วณท่คี รอบครองดว้ ย “ก๊าซ” หมายความว่า ของไหลมีปริมาตรหรือรูปทรงไม่แน่นอนท่ีสามารถฟุ้งกระจายและ เปลย่ี นสภาพเป็นของเหลวหรอื ของแขง็ ได้ โดยการเพมิ่ ความดนั หรือลดอณุ หภูมิ “เส้นใย” หมายความว่า สารท่ีมีลักษณะเรียวยาวคล้ายเส้นด้าย มีต้นกําเนิดจากแร่ พืช สัตว์ หรอื ใยสงั เคราะห์ “ฝนุ่ ” หมายความว่า อนภุ าคของของแขง็ ท่สี ามารถฟุ้ง กระจาย ปลิวหรอื ลอยอยู่ในอากาศได้ “ละออง” หมายความว่า อนุภาคของของเหลวที่สามารถลอยอยู่ในอากาศได้ “ไอ” หมายความวา่ ก๊าซท่ีเกิดขน้ึ จากของเหลวหรอื ของแข็งในสภาวะปกติ “ฟูม” หมายความว่า อนุภาคของของแข็งท่ีเกิดจากการรวมตัวของไอสามารถลอยตัวอยู่ใน อากาศได้ หมวด ๑ ขอ้ มูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย ขอ้ ๒ ให้นายจ้างที่มีสารเคมีอันตรายอยู่ในครอบครองจัดทําบัญชีรายชื่อสารเคมีอันตราย และรายละเอียดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตรายตามแบบที่อธิบดีประกาศกําหนด พร้อมท้ัง แจ้งตอ่ อธิบดหี รือผ้ซู ึ่งอธิบดมี อบหมายภายในเจ็ดวนั นบั แตว่ ันทมี่ ีสารเคมีอนั ตรายอยูใ่ นครอบครอง ภายในเดือนมกราคมของทุกปี ให้นายจ้างแจ้งบัญชีรายช่ือสารเคมีอันตราย และรายละเอียด ขอ้ มูลความปลอดภัยของสารเคมอี ันตรายทต่ี นมีอยูใ่ นครอบครองตอ่ อธบิ ดี หรอื ผซู้ ึง่ อธบิ ดีมอบหมายดว้ ย ข้อ ๓ ให้นายจ้างแจ้งให้ลูกจ้างทราบและอธิบายให้ลูกจ้างเข้าใจข้อมูลความปลอดภัยของ สารเคมีอันตรายที่อยู่ในครอบครองของนายจ้าง ข้อความและเคร่ืองหมายต่าง ๆ ท่ีปรากฏในเอกสาร คูม่ ือ ฉลาก ปา้ ย หรอื ข่าวสารที่เก่ยี วขอ้ ง รวมทัง้ ขอ้ มูลต่าง ๆ ตามที่ได้กาํ หนดไว้ในกฎกระทรวงน้ี ข้อ ๔ ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างท่ีทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายทราบและเข้าใจวิธีการใน การทํางานที่ถูกต้องและปลอดภัย รวมทั้งต้องจัดให้มีมาตรการควบคุมลูกจ้างให้ปฏิบัติตามวิธีการดังกล่าว ในการนี้ให้นายจ้างจัดทําคู่มือเก่ียวกับแนวปฏิบัติและขั้นตอนในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย คําแนะนําลูกจ้างเกี่ยวกับการป้องกันอันตราย ความหมายของข้อมูลท่ีมีบนฉลากและเอกสารข้อมูล ความปลอดภยั ของสารเคมีอันตราย

เลม่ ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๑๓ ก หน้า ๑๑ ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา ขอ้ ๕ ลูกจ้างต้องปฏิบัติตามวิธีการทํางานท่ีถูกต้องและปลอดภัยตามคู่มือการปฏิบัติงาน ที่นายจ้างจัดทําขึ้นตามข้อ ๔ และเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉินเก่ียวกับสารเคมีอันตราย ลูกจ้างต้องบรรเทาเหตุ และแจ้งใหห้ วั หนา้ งานทราบทนั ที หมวด ๒ ฉลากและปา้ ย ขอ้ ๖ ให้นายจ้างจัดให้มีการปิดฉลากที่เป็นภาษาไทยมีขนาดใหญ่พอสมควร อ่านง่าย คงทน ไว้ท่ีหีบห่อบรรจุภัณฑ์ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตราย และฉลากน้ันอย่างน้อย ต้องมรี ายละเอียดเกี่ยวกับรายการ ดังต่อไปนี้ (๑) ชือ่ ผลติ ภณั ฑ์ (product name) (๒) ชอ่ื สารเคมอี ันตราย (hazardous substances) (๓) รปู สัญลักษณ์ (pictograms) (๔) คาํ สญั ญาณ (signal words) (๕) ข้อความแสดงอนั ตราย (hazard statements) (๖) ขอ้ ควรระวงั หรอื ข้อปฏบิ ตั เิ พื่อปอ้ งกันอันตราย (precautionary statements) ในกรณที ่ไี มส่ ามารถปิดฉลากตามวรรคหน่งึ ได้เนือ่ งจากขนาดหรือลักษณะของหีบห่อบรรจุภัณฑ์ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหมุ้ สารเคมีอนั ตราย ให้นายจา้ งกาํ หนดวิธีการทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพเพ่ือแสดงให้ลูกจ้าง ไดร้ ถู้ งึ รายละเอียดของสารเคมอี นั ตรายตามวรรคหนง่ึ ณ บริเวณทมี่ ีการทํางานเก่ียวกบั สารเคมีอันตรายน้นั ขอ้ ๗ ให้นายจ้างจัดให้มีป้ายห้าม ป้ายให้ปฏิบัติ หรือป้ายเตือน ในการทํางานเก่ียวกับ สารเคมอี นั ตรายไว้ในที่เปดิ เผยเหน็ ได้ชดั เจน ณ สถานทีท่ าํ งานของลกู จา้ ง ข้อ ๘ ในกรณีท่ีอธิบดีประกาศให้สารเคมีอันตรายใดต้องควบคุมเป็นพิเศษ ให้นายจ้าง ปิดประกาศหรือจัดทําป้ายแจ้งข้อความเกี่ยวกับอันตรายและมาตรการป้องกันอันตรายท่ีอาจเกิดจาก สารเคมอี นั ตรายดังกลา่ ว ขอ้ ๙ ให้นายจา้ งปิดประกาศหรอื จดั ทําปา้ ยแจ้งขอ้ ความ “ห้ามสูบบุหร่ี รับประทานอาหาร หรือเครื่องดื่ม ประกอบอาหาร หรือเก็บอาหาร” ด้วยตัวอักษรขนาดท่ีเห็นได้ชัดเจนไว้ ณ บริเวณ สถานท่ีทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตราย หรือในยานพาหนะขนส่ง สารเคมีอันตราย และจะต้องควบคมุ ดูแลมใิ หม้ กี ารฝ่าฝนื ข้อห้ามดังกล่าว หมวด ๓ การคุ้มครองความปลอดภยั ข้อ ๑๐ ในบริเวณท่ีลูกจ้างทํางานเก่ียวกับสารเคมีอันตราย ให้นายจ้างจัดให้มีสภาพและคุณลักษณะ ดังตอ่ ไปนี้

เลม่ ๑๓๐ ตอนที่ ๑๑๓ ก หนา้ ๑๒ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา (๑) ถูกสุขลักษณะ สะอาด และเป็นระเบียบเรียบร้อย พ้ืนที่ปฏิบัติงานต้องเรียบ สมํ่าเสมอ ไม่ลืน่ และไมม่ วี สั ดเุ กะกะกีดขวางทางเดิน (๒) มีระบบระบายอากาศแบบท่ัวไป หรือแบบท่ีทําให้สารเคมีอันตรายเจือจาง หรือแบบที่มี เครื่องดูดอากาศเฉพาะที่ ท่ีเหมาะสมกับประเภทของสารเคมีอันตราย โดยให้มีออกซิเจนในบรรยากาศ ไมต่ า่ํ กว่ารอ้ ยละสบิ เกา้ จดุ ห้าโดยปรมิ าตร (๓) มีระบบป้องกันและกําจัดอากาศเสียโดยใช้ระบบระบายอากาศเฉพาะท่ี ระบบเปียก การปิดคลุม หรือระบบอื่น เพื่อมิให้มีสารเคมีอันตรายในบรรยากาศเกินปริมาณท่ีกําหนด และป้องกัน มิใหอ้ ากาศท่รี ะบายออกไปเปน็ อันตรายตอ่ ผอู้ นื่ ข้อ ๑๑ ในบริเวณที่ลูกจ้างทํางานเก่ียวกับสารเคมีอันตราย ให้นายจ้างจัดให้มีสถานท่ีและอุปกรณ์ เพอื่ คุ้มครองความปลอดภัยตามรายการ ดงั ต่อไปน้ี (๑) ท่ีชําระล้างสารเคมีอันตรายท่ีลูกจ้างสามารถใช้ได้ทันทีในกรณีฉุกเฉิน อย่างน้อยต้องมี ท่ลี า้ งตาและฝักบวั ชาํ ระล้างรา่ งกายจากสารเคมีอนั ตราย (๒) ทล่ี ้างมอื และล้างหน้า ไม่น้อยกว่าหน่ึงที่ต่อลูกจ้างสิบห้าคนและให้เพ่ิมจํานวนข้ึนตามสัดส่วน ของลกู จา้ ง ส่วนทเี่ กนิ เจด็ คนใหถ้ อื เป็นสบิ ห้าคน (๓) หอ้ งอาบน้ําเพื่อใช้ชาํ ระล้างร่างกายไมน่ อ้ ยกว่าหนึ่งหอ้ งตอ่ ลูกจ้างสิบห้าคนและใหเ้ พิม่ จํานวนขน้ึ ตามสัดส่วนของลูกจ้าง ส่วนท่ีเกินเจ็ดคนให้ถือเป็นสิบห้าคน ท้ังน้ี จะต้องจัดของใช้ที่จําเป็นสําหรับ การชําระล้างสารเคมีอันตรายออกจากรา่ งกายให้เพยี งพอและใชไ้ ด้ตลอดเวลา (๔) อุปกรณ์และเวชภัณฑ์ที่จําเป็นสําหรับการปฐมพยาบาลลูกจ้างที่ได้รับอันตรายจากสารเคมี อันตราย (๕) อุปกรณ์ดับเพลิงที่เหมาะสมกับสารเคมีอันตรายแต่ละชนิด และเพียงพอสําหรับการผจญเพลิง เบ้ืองตน้ (๖) ชุดทํางานเฉพาะสําหรับลูกจ้างซ่ึงทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย และท่ีเก็บชุดทํางาน ท่ใี ชแ้ ลว้ ดงั กล่าวใหเ้ หมาะสมกับสารเคมอี ันตรายประเภทนน้ั ข้อ ๑๒ ให้นายจ้างจัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามลักษณะอันตรายและ ความรุนแรงของสารเคมีอันตราย หรือลักษณะของงาน ให้ลูกจ้างใช้หรือสวมใส่เพ่ือป้องกันอันตราย ท่อี าจจะเกดิ แกช่ วี ิต ร่างกาย หรือสขุ ภาพอนามัยของลกู จา้ ง ข้อ ๑๓ ใหล้ ูกจ้างซง่ึ ทํางานเกี่ยวกบั สารเคมอี นั ตรายใช้หรือสวมใสอ่ ปุ กรณ์คุ้มครองความปลอดภัย ส่วนบุคคลตามข้อ ๑๒ ในกรณีท่ีลูกจ้างไม่ใช้หรือไม่สวมใส่อุปกรณ์นั้น ให้นายจ้างสั่งลูกจ้าง หยดุ การทาํ งานทันที จนกวา่ ลูกจ้างจะไดใ้ ช้หรือสวมใส่อุปกรณด์ ังกล่าว ข้อ ๑๔ นายจ้างต้องดูแลสถานที่ทํางานเก่ียวกับสารเคมีอันตรายและตรวจสอบอุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภยั ท่ีจดั ไว้ ใหส้ ามารถใช้งานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและปลอดภัยตลอดเวลา

เล่ม ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๑๓ ก หน้า ๑๓ ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๑๕ ห้ามนายจ้างยินยอมหรือปล่อยปละละเลยให้ลูกจ้างหรือบุคคลใดเข้าพักอาศัย หรือ พักผ่อนในสถานที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตราย หรือในยานพาหนะ ขนสง่ สารเคมีอันตราย ขอ้ ๑๖ ในกรณีท่ีมีการร้องเรียนหรือมีปัญหาด้านความไม่ปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับ สารเคมีอันตราย ให้นายจ้างท่ีมีสารเคมีอันตรายอยู่ในครอบครองดําเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงและ หากพบว่ามีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในการทํางานหรือสุขภาพอนามัย ให้ดําเนินการแก้ไขให้เกิด ความปลอดภยั โดยไมช่ ักช้า หมวด ๔ การเก็บรักษา การบรรจุ และการถ่ายเทสารเคมีอนั ตราย ขอ้ ๑๗ ใหน้ ายจา้ งจัดสถานท่ีเก็บรักษาสารเคมอี ันตรายให้มสี ภาพและคุณลกั ษณะ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ต้องสามารถทนไฟได้ไม่น้อยกว่าหกสิบนาที เว้นแต่ในกรณีท่ีเป็นสถานท่ีเก็บรักษาสารเคมี อันตรายที่มีคุณสมบัติเป็นตัวทําปฏิกิริยาท่ีรุนแรง เป็นตัวเพ่ิมออกซิเจน หรือไวไฟซึ่งอาจทําให้เกิด การระเบิดหรือไฟไหม้ต้องสามารถทนไฟได้ไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบนาที หรือไม่น้อยกว่าเก้าสิบนาที หากสถานทดี่ ังกล่าวมรี ะบบนํ้าดบั เพลิงอัตโนมตั ิ (๒) มีพื้นเรียบ ไม่ขรุขระ ไม่เปียก ไม่ล่ืน สามารถรับน้ําหนักได้ และไม่ดูดซับสารเคมีอันตราย รวมทั้งตอ้ งดูแลปรบั ปรงุ สถานที่มิให้ชํารุด ผุ กร่อน และรักษาความสะอาดพื้นมิให้มีเศษขยะ เศษวัสดุ หรือส่งิ ท่ีเปน็ เชื้อเพลงิ (๓) มีระยะหา่ งจากอาคารทีล่ ูกจ้างทํางานในระยะทปี่ ลอดภยั ตามที่อธิบดีประกาศกําหนด (๔) มีทางเดินภายในและภายนอกกว้างเพียงพอที่จะนําเคร่ืองมือและอุปกรณ์ดับเพลิงมาใช้ได้ อย่างสะดวก ไมม่ ีส่ิงกีดขวาง และให้มมี าตรการเพื่อให้เกิดความปลอดภยั ตลอดทาง (๕) มีทางเข้าออกสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตรายไม่น้อยกว่าสองทาง ใช้ประตูทนไฟและ เปน็ ชนิดเปดิ ออกสู่ภายนอก และปดิ กุญแจห้องทกุ ครั้งเม่อื ไม่มีการปฏิบัติงาน (๖) มีระบบระบายอากาศท่ีเหมาะสม และเกิดความปลอดภัยแก่ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานและ จดั การป้องกนั มิใหอ้ ากาศทีร่ ะบายออกเป็นอนั ตรายแกผ่ ูอ้ ่ืน (๗) มีการป้องกันสาเหตุท่ีอาจทําให้เกิดอัคคีภัยในบริเวณสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย เชน่ ประกายไฟ เปลวไฟ อุปกรณไ์ ฟฟา้ การเสียดสี ทอ่ ร้อน การลกุ ไหมไ้ ดเ้ อง เป็นต้น (๘) จัดทําเขื่อน กําแพง ทํานบ ผนัง หรือส่ิงอ่ืนใดที่มีลักษณะคล้ายกัน เพ่ือกักมิให้สารเคมี อันตรายที่เป็นของเหลว ไหลออกภายนอกบริเวณสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย และมีรางระบาย สารเคมีอันตรายที่ร่ัวไหลไปยังที่ที่สามารถรวบรวมเพื่อนําไปกําจัดอย่างปลอดภัย เพ่ือไม่ให้มีการสะสมตกค้าง โดยรางระบายตอ้ งแยกจากระบบระบายน้ํา (๙) จัดทํารัว้ ล้อมรอบสถานที่เกบ็ รักษาสารเคมอี ันตรายท่ีอยูน่ อกอาคาร

เลม่ ๑๓๐ ตอนที่ ๑๑๓ ก หนา้ ๑๔ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา (๑๐) มีป้ายข้อความว่า “สถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตราย ห้ามเข้าโดยไม่ได้รับอนุญาต” ปดิ ประกาศไวท้ ่ีทางเข้าสถานทีน่ น้ั ใหเ้ ห็นไดช้ ัดเจนตลอดเวลา (๑๑) มีเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่แสดงถึงอันตรายของสารเคมีอันตรายให้เห็นได้ชัดเจน ตลอดเวลา (๑๒) มีแผนผังแสดงที่ต้ังของอุปกรณ์ดับเพลิง อุปกรณ์ผจญเพลิง อุปกรณ์ท่ีใช้ในกรณีฉุกเฉิน ติดไวบ้ รเิ วณทางเข้าออกใหเ้ หน็ ได้ชดั เจนตลอดเวลา ขอ้ ๑๘ ให้นายจ้างจัดให้มีมาตรการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากสารเคมีอันตรายในบริเวณ สถานทีเ่ กบ็ รกั ษาสารเคมีอนั ตราย รวมท้ังมาตรการเบือ้ งต้นในการแก้ไขเยียวยาอันตรายท่ีเกิดข้นึ ข้อ ๑๙ การจัดเกบ็ สารเคมีอันตรายให้นายจา้ งปฏบิ ตั ิ ดงั ต่อไปนี้ (๑) เก็บรักษาสารเคมอี ันตรายตามมาตรฐานการเก็บรักษาท่ีอธิบดปี ระกาศกําหนด (๒) จดั ทาํ บัญชรี ายช่ือ ปริมาณสารเคมีอันตรายทุกชนิดท่ีจัดเก็บในสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย แตล่ ะแห่งอย่างน้อยปลี ะหนึ่งครั้งตามปปี ฏิทิน (๓) ระมัดระวงั มใิ ห้หบี ห่อ ภาชนะบรรจุ หรอื วัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตรายชาํ รุดหรอื พังทลาย (๔) มีมาตรการป้องกันความเสียหายหรืออันตรายที่เกิดจากการขุดเจาะ หรือมีเครื่องหมาย แสดงตําแหน่งจัดเก็บให้เหน็ ชดั เจนในกรณที ี่เกบ็ สารเคมอี นั ตรายไวใ้ ตด้ ิน ขอ้ ๒๐ ให้นายจ้างดําเนินการเกี่ยวกับหีบห่อ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตราย ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ใช้วัสดุท่ีแข็งแรง ไม่ชํารุด ผุ กร่อน และสามารถเคล่ือนย้ายหรือขนส่งได้ด้วยความปลอดภัย สามารถรองรับความดันของสารเคมีอันตรายได้ในสภาพการใช้งานปกติ มีอุปกรณ์นิรภัยเพ่ือระบายความดัน ให้อยู่ในระดับท่ีปลอดภยั ได้ในกรณเี กดิ ความดนั ผิดปกติ (๒) ตรวจสอบ และบํารุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้อย่างปลอดภัยตลอดเวลา หากพบว่ามี สารเคมอี นั ตรายรวั่ ไหล หรือคาดว่าจะร่ัวไหลออกมา ต้องทําการแยกเก็บไว้ต่างหากในท่ีท่ีปลอดภัยและ ทาํ ความสะอาดส่งิ ร่วั ไหลโดยเร็ว รวมทั้งทาํ การซ่อมแซมหรอื เปลย่ี นใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ปี ลอดภยั (๓) บรรจสุ ารเคมอี ันตรายไม่เกนิ พิกดั ทก่ี ําหนดไวส้ าํ หรับภาชนะนัน้ (๔) มีมาตรการป้องกันไม่ให้ยานพาหนะหรือสิ่งอ่ืนใดชน หรือกระแทกหีบห่อ ภาชนะบรรจุ หรอื วัสดุห่อหมุ้ ที่มสี ารเคมีอนั ตรายบรรจอุ ยู่ (๕) ควบคุมดูแลหีบห่อ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้มที่มีสารเคมีอันตรายบรรจุมิให้เปิดท้ิงไว้ เว้นแต่เพอ่ื การตรวจสอบหรือใช้ประโยชน์ ขอ้ ๒๑ การบรรจสุ ารเคมีอันตรายที่มีคณุ สมบัติไวไฟหรือระเบิดได้ ต้องห่างจากแหล่งความร้อน และแหล่งท่ีก่อให้เกิดประกายไฟในระยะที่ปลอดภัย หากสารเคมีอันตรายที่บรรจุอยู่ในภาชนะหรือวัสดุ ห่อหุ้มทําให้ผิวภายนอกของภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตรายนั้นมีความร้อนต้องมีฉนวน หมุ้ โดยรอบ ในกรณที ี่ไม่สามารถทําฉนวนหุม้ โดยรอบได้ ใหจ้ ดั ทาํ ป้ายเตอื น

เลม่ ๑๓๐ ตอนที่ ๑๑๓ ก หน้า ๑๕ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา การต่อท่อหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เข้ากับภาชนะบรรจุ หากมีล้ินปิดเปิด ต้องจัดให้อยู่ในตําแหน่ง ทผ่ี ปู้ ฏิบัตงิ านสามารถปดิ เปดิ ได้อย่างรวดเรว็ ในกรณฉี กุ เฉิน ขอ้ ๒๒ การถา่ ยเทสารเคมีอนั ตรายไปยงั ภาชนะหรือเคร่ืองมอื อืน่ นายจ้างต้องตดิ ชอ่ื สารเคมีอันตราย และสัญลกั ษณ์เกยี่ วกับความปลอดภัยบนภาชนะหรอื เคร่อื งมอื ท่ีบรรจุใหมด่ ้วย ข้อ ๒๓ นายจ้างต้องเก็บหบี ห่อ ภาชนะบรรจุ หรอื วัสดุห่อหมุ้ สารเคมีอันตรายท่ีใช้แล้วซึ่งปนเป้ือน และยังมิไดก้ าํ จดั ใหอ้ ย่ใู นท่ีปลอดภยั และเหมาะสมกับชนดิ ของสารเคมอี นั ตราย หมวด ๕ การขนถ่าย การเคลอ่ื นย้าย หรือการขนสง่ ข้อ ๒๔ ให้นายจ้างปฏิบัติเก่ียวกับการขนถ่าย เคล่ือนย้าย หรือขนส่งสารเคมีอันตราย ดังต่อไปนี้ (๑) มีมาตรการป้องกันการฟุ้งกระจายรวมทั้งการกระเด็น หก ล้น ร่ัว ไหล หรือตกหล่น ของสารเคมีอนั ตราย (๒) ตรวจสอบความพร้อมของลูกจ้างท่ีขับยานพาหนะ และยานพาหนะท่ีใช้ในการขนถ่าย เคลื่อนย้าย หรือขนส่งสารเคมีอันตรายให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์พร้อมท่ีจะปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย และต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งด้วย (๓) จัดให้มีคู่มือหรือข้อปฏิบัติในการแก้ไขปัญหากรณีฉุกเฉินได้อย่างปลอดภัยเป็นภาษาไทย เก็บไว้ในยานพาหนะ พร้อมท่ีจะนําไปใช้ได้ทันที และจัดให้มีการฝึกอบรมและฝึกซ้อมวิธีการแก้ไขปัญหา เม่ือเกิดเหตุฉุกเฉินแก่ลูกจ้างอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง และบันทึกไว้เป็นหนังสือ พร้อมท่ีจะให้พนักงาน ตรวจความปลอดภยั ตรวจสอบได้ (๔) จัดให้มีเคร่ืองดับเพลิงชนิดเคล่ือนย้ายได้ที่มีคุณสมบัติสามารถดับเพลิงจากสารเคมีอันตราย ตามความเหมาะสม และจัดให้มีหน้ากากป้องกันสารเคมีอันตรายหรือเคร่ืองช่วยหายใจตามความจําเป็นของ ชนดิ สารเคมีอันตราย ติดไว้ในยานพาหนะท่บี รรทุกสารเคมอี นั ตรายอย่างเพียงพอพรอ้ มทจ่ี ะใช้ได้ทนั ที (๕) หบี หอ่ ภาชนะบรรจุ หรอื วสั ดุหอ่ หุ้มสารเคมีอันตรายที่บรรทุกในยานพาหนะต้องยึดแน่นกับ ฐานรองรบั และยานพาหนะเพือ่ มิใหเ้ คลอ่ื นท่หี รือลอยตวั ได้ ฐานรองรับและยานพาหนะต้องมีความม่ันคง แข็งแรงเพียงพอท่ีจะรับน้ําหนักของหีบห่อ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้มรวมกับนํ้าหนักของสารเคมีอันตราย ในอตั ราสูงสุดไมเ่ กนิ น้าํ หนกั ท่ีจะบรรทกุ ได้ (๖) ห้ามบรรทุกสารเคมีอันตรายที่อาจเกิดปฏิกิริยาต่อกันไว้รวมกันในยานพาหนะ เว้นแต่ได้จัด ให้มมี าตรการขนส่งที่ปลอดภัยตามกฎหมายอ่นื ทเี่ ก่ยี วข้อง หรือตามมาตรฐานท่ีอธบิ ดปี ระกาศกําหนด ขอ้ ๒๕ ในการส่งสารเคมอี นั ตรายโดยใชท้ อ่ ใหน้ ายจ้างปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) ใช้ท่อและขอ้ ตอ่ ท่ีแข็งแรง ไม่ชาํ รดุ ผุ กรอ่ น หรือรั่ว

เล่ม ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๑๓ ก หน้า ๑๖ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา (๒) ตรวจสอบและบํารุงรักษาท่อและข้อต่อท่ีใช้ในการส่งสารเคมีอันตรายให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ พร้อมใชง้ านได้อย่างปลอดภัยตลอดเวลา (๓) ติดตั้งหรือวางท่อในลักษณะที่มีการป้องกันท่ีจะไม่ทําให้เกิดการชํารุดเสียหายอันเน่ืองจาก การชน การทับ หรอื การกระแทก จากยานพาหนะหรอื สิ่งอื่นใด (๔) การวางท่อใต้ดินหรือใต้นํ้า ต้องใช้ท่อหรือข้อต่อประเภทที่ทนทานต่อการกัดกร่อนและ ต้องมเี ครอ่ื งหมายแสดงตาํ แหน่งของทอ่ เปน็ ระยะตลอดแนวให้เห็นไดโ้ ดยชดั เจน (๕) การส่งสารเคมีอันตรายต่างชนิดกัน ต้องใช้ท่อท่ีมีสีหรือทาสีต่างกัน และทําเคร่ืองหมาย แสดงความแตกตา่ งให้เหน็ ได้ชดั เจน (๖) การส่งสารเคมีอันตรายท่ีมีความร้อนทําให้ผิวภายนอกท่อมีอุณหภูมิสูงขึ้น ต้องมีฉนวนกัน ความร้อนหุ้มทอ่ ไวด้ ว้ ย (๗) การส่งสารเคมีอันตรายที่มีคุณสมบัติไวไฟหรือระเบิดได้ ต้องวางท่อส่งให้มีระยะห่าง ท่เี พยี งพอและปลอดภัยจากแหลง่ ความร้อนหรือแหล่งทีก่ อ่ ใหเ้ กิดประกายไฟ และให้ตอ่ สายดนิ ทที่ ่อนั้นดว้ ย หมวด ๖ การจดั การและการกําจดั ขอ้ ๒๖ ให้นายจ้างทําความสะอาดหรือกําจัดสารเคมีอันตรายที่หก ร่ัวไหล หรือไม่ใช้แล้ว โดยวธิ ที ีก่ าํ หนดในข้อมูลความปลอดภยั ตามชนดิ ของสารเคมีอันตรายน้ัน การกําจัดกากสารเคมีอันตรายหรือสารเคมีอันตรายท่ีเส่ือมสภาพ อาจกําจัดโดยการเผา ฝัง หรือใช้สารเคมี ดว้ ยวิธกี ารท่ีปลอดภัยตามหลักวชิ าการ และเป็นไปตามกฎหมายท่ีเกยี่ วข้อง ขอ้ ๒๗ ให้นายจา้ งปฏบิ ตั ิต่อหีบหอ่ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตรายที่ปนเปื้อน และไม่ตอ้ งการใชแ้ ลว้ ดังต่อไปน้ี (๑) ไมใ่ ชบ้ รรจุสิ่งของอ่ืน และควบคมุ ดูแลลกู จ้างมใิ หน้ ําไปใชบ้ รรจสุ ่งิ ของอืน่ ด้วย (๒) เกบ็ รวบรวมไว้ในภาชนะหรอื ในที่ท่ปี ลอดภยั นอกบริเวณที่ลูกจา้ งทาํ งาน (๓) กําจัดโดยวิธีการที่ปลอดภัยและเหมาะสมกับชนิดของสารเคมีอันตรายและเป็นไปตาม กฎหมายทเี่ ก่ียวข้อง หมวด ๗ การควบคุมระดบั ความเขม้ ขน้ ของสารเคมอี ันตราย ข้อ ๒๘ ใหน้ ายจ้างจัดให้มีระบบป้องกันและควบคุม เพ่ือมิให้มีระดับความเข้มข้นของสารเคมี อันตรายในบรรยากาศของสถานที่ทํางานและสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตรายเกินขีดจํากัดความเข้มข้น ของสารเคมอี นั ตรายตามทอี่ ธิบดปี ระกาศกาํ หนด

เลม่ ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๑๓ ก หน้า ๑๗ ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๒๙ ให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย ในบรรยากาศของสถานท่ีทํางานและสถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตราย และส่งรายงานผลการตรวจวัด ใหแ้ กอ่ ธบิ ดหี รอื ผ้ซู ่งึ อธบิ ดีมอบหมายภายในสบิ ห้าวนั นับแตว่ นั ที่ทราบผลการตรวจวัด หลกั เกณฑ์ วิธีการตรวจวัด และการวิเคราะห์ผลการตรวจวัดระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามท่ีอธบิ ดีประกาศกําหนด ในกรณีท่ีนายจ้างไม่สามารถดําเนินการตามวรรคสองได้เอง จะต้องให้ผู้ขึ้นทะเบียนหรือได้รับ ใบอนญุ าตจากกรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน แล้วแตก่ รณี เป็นผดู้ ําเนินการให้ ขอ้ ๓๐ ในกรณีท่ีระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานท่ีทํางานหรือ สถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตรายมีระดับเกินขีดจํากัดความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายตามท่ีอธิบดี ประกาศกําหนดตามข้อ ๒๘ ให้นายจ้างใช้มาตรการกําจัดหรือควบคุมสารเคมีอันตรายทางวิศวกรรม และการบริหารจัดการสภาพแวดล้อม เพื่อลดระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายมิให้เกินขีดจํากัด ดังกล่าว และต้องมีมาตรการปอ้ งกันอันตรายสว่ นบุคคลด้วยวธิ กี ารท่ีเหมาะสม หมวด ๘ การดูแลสุขภาพอนามัย ข้อ ๓๑ ให้นายจ้างจัดให้มีการประเมินความเส่ียงต่อสุขภาพของลูกจ้างในกรณีท่ีมีการใช้ สารเคมีอันตรายตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีอธิบดีประกาศกําหนด และจัดทํารายงานการประเมินนั้น สง่ ให้แก่อธบิ ดีหรือผู้ซ่งึ อธบิ ดมี อบหมายภายในสบิ ห้าวันนบั แตว่ ันที่ทราบผลการประเมนิ ในกรณีที่ผลการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพของลูกจ้างอยู่ในระดับที่อาจก่อให้เกิดอันตราย ให้นายจ้างดําเนินการแก้ไขปรับปรุงให้อยู่ในระดับท่ีปลอดภัย และให้นายจ้างนําผลการประเมินไปใช้ ประกอบการวางแผนการตรวจสุขภาพของลูกจา้ งทีท่ ํางานเกีย่ วกับปัจจัยเส่ียงและการเฝ้าระวังสุขภาพอนามัย ของลูกจ้าง หมวด ๙ การควบคมุ และปฏิบัติการกรณีมีเหตฉุ ุกเฉนิ ข้อ ๓๒ ให้นายจ้างท่ีมีสารเคมีอันตรายไว้ในครอบครองตามรายชื่อและปริมาณท่ีอธิบดี ประกาศกําหนด จัดให้มีการประเมินความเสี่ยงในการก่อให้เกิดอันตรายและจัดทํารายงานการประเมิน ความเสี่ยงนนั้ อย่างน้อยห้าปตี อ่ หนึ่งคร้งั ในกรณีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสําคัญเก่ียวกับสถานที่ครอบครอง รายช่ือ ปริมาณ หรือ กระบวนการผลิตสารเคมีอันตราย ให้นายจ้างจัดให้มีการประเมินความเส่ียงในการก่อให้เกิดอันตราย และจัดทาํ รายงานการประเมนิ ความเส่ยี งเพิ่มเตมิ ด้วย

เลม่ ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๑๓ ก หนา้ ๑๘ ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา การประเมินความเสี่ยงและการจัดทํารายงานการประเมินความเสี่ยงตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกําหนด ท้ังนี้ ให้ส่งรายงานดังกล่าวต่อ อธบิ ดีหรือผซู้ ึง่ อธบิ ดมี อบหมายภายในสิบหา้ วันนบั แต่วนั ทีท่ ราบผลการประเมนิ นายจ้างทต่ี ้องประเมินความเส่ียงและจัดทํารายงานการประเมินความเส่ียงในการก่อให้เกิดอันตราย ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ให้ถือว่าได้ประเมินความเสี่ยงตามข้อนี้แล้ว ท้ังนี้ ให้แจ้งต่ออธิบดีหรือ ผซู้ ่ึงอธบิ ดมี อบหมายเพือ่ ทราบ ข้อ ๓๓ ใหน้ ายจา้ งตามข้อ ๓๒ จัดทาํ แผนปฏบิ ัติการกรณีมีเหตฉุ ุกเฉินของสถานประกอบกิจการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีอธิบดีประกาศกําหนด และเก็บแผนดังกล่าวไว้ ณ สถานประกอบกิจการ พร้อมท่ีจะให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้ ตลอดจนปรับปรุงแผนให้ทันสมัยและฝึกซ้อม ตามแผนอย่างน้อยปีละหน่ึงครัง้ ข้อ ๓๔ ให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมลูกจ้างท่ีมีหน้าที่ควบคุมและระงับเหตุอันตรายตาม หลกั สตู รทอ่ี ธิบดปี ระกาศกําหนด และทาํ การฝึกอบรมทบทวนอย่างน้อยปีละหน่ึงคร้ัง และเก็บหลักฐาน การฝึกอบรมพรอ้ มทจี่ ะใหพ้ นักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้ ข้อ ๓๕ ในกรณีที่สารเคมีอันตรายร่ัวไหล ฟุ้งกระจาย เกิดอัคคีภัย หรือเกิดการระเบิด นายจ้าง ต้องส่ังให้ลูกจ้างทุกคนที่ทํางานในบริเวณน้ัน หรือบริเวณใกล้เคียงหยุดทํางานทันที และออกไปให้พ้นรัศมี ท่อี าจไดร้ บั อนั ตราย พร้อมท้ังใหน้ ายจ้างดําเนนิ การให้ผู้ท่เี กี่ยวขอ้ งตรวจสอบและระงับเหตุทนั ที ในกรณีที่การเกิดเหตุตามวรรคหนึ่งอาจส่งผลกระทบถึงประชาชนท่ีอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ให้นายจา้ งดาํ เนินการให้มีการเตือนอันตรายใหป้ ระชาชนทอ่ี าจไดร้ ับผลกระทบทราบทนั ที หมวด ๑๐ บทเฉพาะกาล ขอ้ ๓๖ ให้นายจ้างที่มีสารเคมีอันตรายอยู่ในครอบครองอยู่ในวันก่อนวันท่ีกฎกระทรวงนี้มี ผลใช้บังคับ จัดทําบัญชีรายช่ือสารเคมีอันตรายและรายละเอียดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย ตามที่กําหนดในกฎกระทรวงน้ี โดยแจ้งต่ออธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายภายในเจ็ดวันนับแต่วันท่ี กฎกระทรวงน้มี ผี ลใช้บังคับ ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ รอ้ ยตาํ รวจเอก เฉลิม อยู่บํารุง รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงแรงงาน

เล่ม ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๑๓ ก หน้า ๑๙ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับน้ี คือ โดยท่ีปัจจุบันสถานประกอบกิจการได้นํา สารเคมีอันตรายมาใช้ในวิธีการที่หลากหลาย แตกต่างกันไปตามชนิดและปริมาณของสารเคมีอันตราย ซ่ึงสารเคมีอันตรายแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติและอันตรายแตกต่างกัน ประกอบกับมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แหง่ พระราชบญั ญตั ิความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ บัญญัติให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานให้นายจ้างบริหาร จัดการ และ ดําเนนิ การด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ดังนั้น เพื่อให้ลูกจ้างท่ีทํางาน เก่ยี วกับสารเคมอี นั ตรายได้รับความปลอดภยั ในการทาํ งาน จงึ จาํ เป็นต้องออกกฎกระทรวงน้ี

เลม่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๘๕ ง หนา้ ๔๒ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา ประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบบัญชีรายชือ่ สารเคมีอันตรายและรายละเอียดขอ้ มลู ความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย อาศัยอาํ นาจตามความในขอ้ ๒ วรรคแรก แหง่ กฎกระทรวงกาํ หนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ อธบิ ดกี รมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานจึงออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ประกาศนี้ใหใ้ ชบ้ งั คับต้งั แตว่ นั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นตน้ ไป ขอ้ ๒ แบบบัญชีรายชอื่ สารเคมีอนั ตรายและรายละเอยี ดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมอี นั ตราย (สอ. ๑) ใหเ้ ปน็ ไปตามแบบทา้ ยประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พานชิ จติ รแ์ จ้ง อธิบดกี รมสวสั ดกิ ารและคุม้ ครองแรงงาน

แบบ สอ.๑ แบบบัญชีรายชื่อสารเคมอี ันตรายและรายละเอยี ดข้อมลู ความปลอดภัยของสารเคมอี นั ตราย วนั ท.่ี ........ เดือน......................... พ.ศ. .......... ๑. ขอ้ มลู เกย่ี วกบั สารเคมีอนั ตราย (Identification of the Hazardous Substance) ๑.๑ ข้อบง่ ชสี้ ารเคมี ชอ่ื ทางการคา้ ...................................... ชื่อสารเคม.ี ....................................ชื่ออ่นื ........................ สูตรเคมี........................................................................................................................................ CAS No. ………………………………………………………………………………………………………...…………… ๑.๒ ผผู้ ลติ /ผนู้ าํ เข้า/............................................................................................................................ ที่อย.ู่ ............................................................................................................................................. โทรศพั ท์.................................โทรสาร................................ โทรศัพทฉ์ กุ เฉนิ ................................ Email……………………………………………………….…………………………………………………..……………... ๑.๓ ข้อแนะนําและขอ้ จํากดั ในการใช้.................................................................................................. ๑.๔ การใช้ประโยชน.์ .......................................................................................................................... ปรมิ าณสงู สดุ ท่มี ีไวใ้ นครอบครอง................................................................................................. ๑.๕ อื่นๆ.............................................................................................................................................. ๒. การบง่ ชี้ความเป็นอันตราย (Hazards Identification) ๒.๑ การจาํ แนกประเภท ความเปน็ อันตรายทางกายภาพ.................................................................................................... ความเป็นอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ....................................................................................................... ความเปน็ อันตรายต่อสิง่ แวดล้อม................................................................................................. ความเปน็ อันตรายอน่ื ................................................................................................................... ๒.๒ องค์ประกอบตามฉลาก รูปสัญลกั ษณ.์ ............................................................................................................................... คําสัญญาณ.................................................................................................................................. ข้อความแสดงอนั ตราย................................................................................................................. ขอ้ ควรระวงั หรือขอ้ ปฏิบตั ิเพ่ือป้องกันอนั ตราย............................................................................ ๒.๓ อนื่ ๆ.............................................................................................................................................. ๓. องคป์ ระกอบและขอ้ มูลเกีย่ วกับสว่ นผสม (Composition / Information on Ingredients) องคป์ ระกอบ ช่ือสารเคมี CAS. No. ปรมิ าณโดยนํ้าหนกั ค่ามาตรฐานความปลอดภยั (% by weight) TLV LD50 ๑. ๒. ๓. ๔.

-๒- ๔. มาตรการปฐมพยาบาล (First Aid Measures) ๔.๑ กรณีไดร้ บั ทางการหายใจ............................................................................................................. ๔.๒ กรณไี ดร้ บั ทางผิวหนังหรอื ดวงตา................................................................................................. ๔.๓ กรณีไดร้ บั ทางการกลนื กิน........................................................................................................... ๔.๔ อืน่ ๆ.............................................................................................................................................. ๕. มาตรการผจญเพลิง (Fire Fighting Measures) ๕.๑ สารดับเพลงิ ทห่ี า้ มใชแ้ ละสารดบั เพลิงทเ่ี หมาะสม....................................................................... ๕.๒ ความเป็นอันตรายเฉพาะทเ่ี กิดข้นึ จากสารเคม.ี ............................................................................ ๕.๓ อปุ กรณ์พิเศษสาํ หรับนักผจญเพลิง............................................................................................... ๕.๔ อื่นๆ.............................................................................................................................................. ๖. มาตรการจดั การเม่อื มีการหก ร่วั ไหล (Accidental Release Measures) ๖.๑ ขอ้ ควรระวงั สว่ นบุคคล อปุ กรณป์ ้องกนั อันตราย และขนั้ ตอนการปฏิบัติงานฉกุ เฉิน................... ๖.๒ วธิ ีการ และวัสดุสาํ หรบั กักเกบ็ และทําความสะอาด..................................................................... ๖.๓ ขอ้ ควรระวังด้านสิ่งแวดลอ้ ม......................................................................................................... ๖.๔ อ่นื ๆ.............................................................................................................................................. ๗. การขนถา่ ย เคล่อื นยา้ ย และการจัดเก็บ (Handling and Storage) ๗.๑ ขอ้ ควรระวังและหลีกเลยี่ ง............................................................................................................ ๗.๒ วิธีการจัดเกบ็ อย่างปลอดภยั ........................................................................................................ ๗.๓ อน่ื ๆ.............................................................................................................................................. ๘. การควบคมุ การรับสมั ผสั และการป้องกันส่วนบุคคล (Exposure Controls and Personal Protection) ๘.๑ ค่าขีดจาํ กดั ความเขม้ ข้นของสารเคมีอนั ตราย (TLV) กฎหมายว่าดว้ ยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน......................... OSHA........................................................................................................................................... NIOSH......................................................................................................................................... ACGIH.......................................................................................................................................... อื่นๆ.............................................................................................................................................. ๘.๒ การควบคมุ ทางวิศวกรรมที่เหมาะสม.......................................................................................... ๘.๓ อปุ กรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ระบบหายใจ................................................................................................................................ ตา................................................................................................................................................. ผิวหนัง.......................................................................................................................................... ๘.๔ อ่ืนๆ.............................................................................................................................................. ๙. คุณสมบตั ทิ างกายภาพและทางเคมี (Physical and Chemical Properties) ๙.๑ ลักษณะทั่วไป............................................................................................................................... ๙.๒ กลิ่น ............................................................................................................................................

-๓- ๙.๓ ค่าความเป็นกรดดา่ ง (pH) .......................................................................................................... ๙.๔ จดุ หลอมเหลวและจุดเยือกแขง็ .................................................................................................... ๙.๕ จุดเดือด........................................................................................................................................ ๙.๖ จุดวาบไฟ..................................................................................................................................... ๙.๗ อตั ราการระเหย............................................................................................................................ ๙.๘ ความสามารถในการลุกติดไฟ....................................................................................................... ๙.๑๐ คา่ ขีดจาํ กดั สูงสดุ และตํ่าสดุ ของความไวไฟหรือของการระเบดิ ..................................................... ๙.๑๑ ความดนั ไอ................................................................................................................................... ๙.๑๒ ความหนาแน่นไอ......................................................................................................................... ๙.๑๓ ความหนาแนน่ สมั พทั ธ.์ ................................................................................................................ ๙.๑๔ ความถว่ งจําเพาะ......................................................................................................................... ๙.๑๕ ความสามารถในการละลายได.้ ..................................................................................................... ๙.๑๖ อุณหภมู ิทล่ี กุ ตดิ ไฟได้เอง.............................................................................................................. ๙.๑๗ มวลโมเลกุล.................................................................................................................................. ๙.๑๘ อนื่ ๆ.............................................................................................................................................. ๑๐. ความเสถยี ร และการไวต่อปฏกิ ริ ิยา (Stability and Reactivity) ๑๐.๑ ความเสถียรทางเคมี...................................................................................................................... ๑๐.๒ สงิ่ ทีเ่ ข้ากนั ไมไ่ ด้............................................................................................................................ ๑๐.๓ วัตถุอื่นๆ ทค่ี วรหลกี เลยี่ ง............................................................................................................. ๑๐.๔ สภาวะทค่ี วรหลีกเล่ยี ง................................................................................................................. ๑๐.๕ สารเคมอี นั ตรายหากเกิดการสลายตวั .......................................................................................... ๑๐.๖ อืน่ ๆ.............................................................................................................................................. ๑๑. ขอ้ มลู ด้านพษิ วทิ ยา (Toxicological Information) ๑๑.๑ LD50/ LC50 โดยทางปาก (mg/kg) ................................................................................................................. โดยทางผิวหนัง (mg/kg) ............................................................................................................. โดยทางสดู หายใจ (mg/l) ......................................................................................................... ๑๑.๒ ความเปน็ พษิ การสูดหายใจ............................................................................................................................... สมั ผสั ถูกผวิ หนัง........................................................................................................................... ๑๑.๓ จดั อย่ใู นกลุม่ สารก่อมะเรง็ /กอ่ กลายพันธุ์ตาม.............................................................................. ๑๑.๔ อ่นื ๆ.............................................................................................................................................. ๑๒. ขอ้ มลู ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศน์ (Ecological Information) ๑๒.๑ ความเปน็ พิษตอ่ ระบบนิเวศน.์ ...................................................................................................... ๑๒.๒ การตกค้างยาวนาน .....................................................................................................................

-๔- ๑๒.๓ ผลกระทบอืน่ ๆ........................................................................................................................... ๑๓. ขอ้ พิจารณาในการกําจัด (Disposal Considerations)……………………………………………………………………. ๑๔. ข้อมูลเก่ยี วกบั การขนส่ง (Transport Information) ๑๔.๑ หมายเลขสหประชาชาติ (UN Number) ................................................................................... ๑๔.๒ ชอ่ื ในการขนสง่ : ........................................................................................................................ ๑๔.๓ ประเภทความเปน็ อันตรายสาํ หรบั การขนส่ง (Transport Hazard Class) ................................ ๑๔.๔ กล่มุ การบรรจุ (Packing Group) ............................................................................................... ๑๔.๕ การขนสง่ ดว้ ยภาชนะขนาดใหญ.่ .................................................................................................. ๑๔.๖ อื่นๆ.............................................................................................................................................. ๑๕. ขอ้ มลู เกยี่ วกับกฎ ระเบียบ ขอ้ บังคับของหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง (Regulatory Information) ๑๕.๑ กระทรวงแรงงาน......................................................................................................................... ๑๕.๒ กระทรวงอตุ สาหกรรม................................................................................................................. ๑๕.๓ กระทรวงสาธารณสุข................................................................................................................... ๑๕.๔ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม.............................................................................. ๑๕.๕ กระทรวงคมนาคม........................................................................................................................ ๑๕.๖ อนื่ ๆ.............................................................................................................................................. ๑๖. ขอ้ มลู อนื่ ๆ (Other Information) ๑๖.๑ สญั ลกั ษณ์ NFPA.......................................................................................................................... ๑๖.๒ แหลง่ ขอ้ มลู และเอกสารทีใ่ ชท้ าํ รายละเอียดขอ้ มูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย............... ๑๖.๓ อ่นื ๆ.............................................................................................................................................. ลงช่อื .............................................................. (.............................................................) ตําแหนง่ ............................................................... นายจ้าง/ผแู้ ทน บริษัท.............................................................................................. ท่ีอย.ู่ ................................................................................................ โทรศัพท/์ โทรสาร............................................................................ E-mail: ………………………………………….…….………...…………..……..

เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๓๐๘ ง หน้า ๑๔ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน เรือ่ ง หลักเกณฑ์ วธิ กี ารตรวจวัด และการวิเคราะห์ผลการตรวจวัดระดับความเข้มขน้ ของสารเคมีอนั ตราย โดยที่กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเก่ียวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อ ๒๙ กําหนดให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศ ของสถานท่ีทํางานและสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย และส่งรายงานผลการตรวจวัดให้แก่อธิบดี หรอื ผซู้ งึ่ อธบิ ดีมอบหมายภายในสิบห้าวันนบั แตว่ ันทที่ ราบผลการตรวจวัด อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๒๙ วรรคสองแห่งกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับ สารเคมอี ันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ อธบิ ดกี รมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานจงึ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง หลักเกณฑ์ วธิ ีการตรวจวดั และการวเิ คราะหผ์ ลการตรวจวัดระดับความเข้มขน้ ของสารเคมีอนั ตราย” ข้อ ๒ ประกาศน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศใน ราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ในประกาศน้ี “การตรวจวัด” หมายความว่า การเก็บตัวอย่างสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานที่ทํางาน และสถานทเ่ี ก็บรกั ษาสารเคมีอันตรายเพอ่ื นํามาวิเคราะห์ทางห้องปฏบิ ตั ิการ หมวด ๑ บทท่ัวไป ข้อ ๔ นายจ้างต้องจัดให้มีการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย ในบรรยากาศของสถานที่ทาํ งานและสถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตรายอย่างน้อยปีละหนึง่ ครง้ั กรณีที่ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานท่ีทํางานหรือสถานที่ เก็บรักษาสารเคมีอันตรายมีระดับเกินขีดจํากัดความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย (Threshold Limit Value : TLV) ตามข้อ ๒๘ แห่งกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเก่ียวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ ใหน้ ายจ้างใชม้ าตรการกําจัดหรือควบคุมสารเคมีอันตรายทางวิศวกรรมและการบริหารจัดการสภาพแวดล้อม เพื่อลดระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายมิให้เกินขีดจํากัดดังกล่าว พร้อมทั้งตรวจวัดและวิเคราะห์ ระดบั ความเข้มขน้ ของสารเคมอี ันตรายภายในสามสบิ วันนับจากวนั ทม่ี ีการปรับปรุงแกไ้ ขแล้วเสร็จ

เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๐๘ ง หนา้ ๑๕ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ราชกจิ จานุเบกษา กรณีผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างมีความผิดปกติหรือพบลูกจ้างเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางาน เกี่ยวกบั สารเคมีอนั ตราย ใหน้ ายจ้างดาํ เนินการตรวจวดั และวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย ภายในสามสิบวันหลังจากท่ีนายจ้างทราบผลความผิดปกติหรือการเจ็บป่วยเน่ืองจากการทํางานเก่ียวกับ สารเคมีอนั ตราย กรณีท่ีมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง ชนิด หรือปริมาณของสารเคมีอันตราย เคร่ืองจักร อุปกรณ์ กระบวนการผลิต วิธีการทํางาน หรือวิธีการดําเนินการใด ๆ ท่ีอาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับ ความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานที่ทํางานและสถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตราย ให้นายจ้างดําเนินการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายภายในสามสิบวัน นบั จากวนั ที่มกี ารปรับปรุงหรอื เปลยี่ นแปลง หมวด ๒ การตรวจวดั และการวิเคราะห์สารเคมีอนั ตรายทางห้องปฏบิ ตั ิการ ขอ้ ๕ การตรวจวัด และการวิเคราะห์สารเคมีอันตรายทางห้องปฏิบัติการ นายจ้างต้องใช้ วิธีการ เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ท่ีเป็นมาตรฐานสากลหรือเป็นท่ียอมรับโดยอ้างอิงวิธีการจากหน่วยงานใด หน่วยงานหนึ่ง ดังน้ี (๑) สถาบันความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา (The National Institute for Occupational Safety and Health : NIOSH) (๒) สํานักงานบริหารความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ประเทศสหรัฐอเมริกา (Occupational Safety and Health Administration : OSHA) (๓) สมาคมนกั สุขศาสตร์อุตสาหกรรมภาครัฐ ประเทศสหรัฐอเมริกา (American Conference of Governmental Industrial Hygienists : ACGIH) (๔) สมาคมความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในอุตสาหกรรม ประเทศญ่ีปุ่น (Japan Industrial Safety and Health Association : JISHA) (๕) องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization for Standardization : ISO) (๖) สาํ นักงานมาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม (สมอ.) (๗) สมาคมการทดสอบและวสั ดอุ เมริกัน (American Society for Testing and Materials : ASTM) นายจ้างต้องจัดให้มีการสอบเทียบความถูกต้อง (Calibration) การตรวจสอบ การบํารุงรักษา เคร่ืองมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจวัด และเคร่ืองมือที่ใช้วิเคราะห์สารเคมีอันตรายทางห้องปฏิบัติการ ตามวิธีการของหน่วยงานมาตรฐานอ้างอิงตามวรรคหน่ึง หรือตามมาตรฐานท่ีผู้ผลิตกําหนด ท้ังนี้ ให้ใช้ วธิ กี ารภายใตม้ าตรฐานเดยี วกัน และเก็บหลกั ฐานไวใ้ หพ้ นักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้

เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๐๘ ง หนา้ ๑๖ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๙ ราชกิจจานุเบกษา หมวด ๓ คณุ สมบัติของผดู้ าํ เนินการตรวจวัด และผดู้ ําเนินการตรวจวเิ คราะหส์ ารเคมอี นั ตรายทางห้องปฏบิ ัติการ ขอ้ ๖ ผู้ดําเนินการตรวจวัดต้องมีวุฒิการศึกษาไม่ตํ่ากว่าระดับปริญญาตรีทางวิทยาศาสตร์ สาขาเคมี สาขาเคมีเทคนิค สาขาเคมีวิเคราะห์ สาขาเคมีอินทรีย์ สาขาเคมีอนินทรีย์ สาขาวิทยาศาสตร์ ส่ิงแวดล้อม สาขาอนามัยส่ิงแวดล้อม หรือปริญญาตรีสาขาอาชีวอนามัยหรือเทียบเท่า หรือปริญญาตรี ทางวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวศิ วกรรมสงิ่ แวดลอ้ ม ข้อ ๗ ผู้ดําเนินการตรวจวิเคราะห์สารเคมีอันตรายทางห้องปฏิบัติการ ต้องมีคุณสมบัติ อย่างหน่ึงอย่างใด ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) มีวุฒิการศึกษาไม่ตํ่ากว่าระดับปริญญาตรีทางวิทยาศาสตร์ สาขาเคมี สาขาเคมีเทคนิค สาขาเคมีวิเคราะห์ สาขาเคมีอินทรีย์ สาขาเคมีอนินทรีย์ สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม สาขาอนามัย ส่งิ แวดล้อม หรือปรญิ ญาตรีสาขาอาชีวอนามยั หรือเทยี บเทา่ (๒) มวี ฒุ ิการศกึ ษาไม่ต่าํ กวา่ ระดับปรญิ ญาตรีทางวิทยาศาสตร์สาขาอ่ืนที่มีวิชาเรียนทางด้านเคมี ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๒ หนว่ ยกติ และมีประสบการณว์ ิเคราะห์สารเคมีอันตรายทางหอ้ งปฏบิ ัติการเป็นระยะเวลา ไมน่ อ้ ยกว่า ๒ ปี (๓) เป็นผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรนักวิเคราะห์มืออาชีพสาขาเคมีของกรมวิทยาศาสตร์บริการ หรือเป็นผู้ควบคุมดูแลห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ซึ่งได้ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือเป็น ผู้ได้รับใบประกอบวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิชาชีพ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หมวด ๔ การจัดทํารายงานผลการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดบั ความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย ขอ้ ๘ ให้นายจ้างจัดให้มีการรายงานผลการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของ สารเคมอี นั ตรายในบรรยากาศของสถานที่ทํางานและสถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตราย ตามเอกสารรายงาน ผลการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายในบรรยากาศของสถานท่ีทํางาน และสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย (สอ.๓) ท้ายประกาศนี้ และให้ส่งรายงานดังกล่าวต่ออธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายภายในสิบห้าวันนับแต่วันท่ีทราบผลการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้น ของสารเคมอี นั ตราย การดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับการรับรองรายงานผลจากผู้ดําเนินการตรวจวัด และผู้ดําเนินการตรวจวเิ คราะห์สารเคมีอันตรายทางหอ้ งปฏบิ ัติการ

เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๓๐๘ ง หน้า ๑๗ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ราชกจิ จานุเบกษา การสง่ รายงานตามวรรคหนง่ึ ให้นายจา้ งส่งดว้ ยตนเอง หรอื ทางไปรษณยี ์ หรือทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๓ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๙ สเุ มธ มโหสถ อธิบดีกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน

รายงานผลการตรวจวัดและวิเคราะหร์ ในบรรยากาศของสถานที่ทาํ งานแล ชื่อสถานประกอบกิจการ หมทู่ ่ี ถนน เลขทะเ ตัง้ อย่เู ลขที่ โทรศัพท์ แขวง/ตาํ บล รหัสไปรษณีย์ ได้ตรวจวดั และวิเคราะห์ระดับค โดย  ดําเนนิ การเอง  นติ ิบคุ คลทีไ่ ด้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั อาช ช่อื นิตบิ คุ คลผใู้ ห้บริการฯ เลขทะเ ตั้งแต่วันที่ ถงึ วนั ที่ ขอแจง้ รายงานผลการตรวจวดั และวิเคราะหร์ ะดับความเขม้ ขน้ ของสารเคมีอนั ตราย ซงึ่ มรี ายละเอยี ดดงั นี้ จาํ นวน ชื่อสาร วันทีเ่ ก็บ จดุ ทเี่ กบ็ ลูกจ้าง ชือ่ เครื่องมือ อตั รา ตวั อย่าง ตัวอยา่ ง ที่สมั ผัสหรือ และวัสดุ อาก เกย่ี วข้องกบั อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ * สารเคมี เก็บตวั อยา่ ง อันตราย วธิ กี ารตรวจวัดและการวเิ คราะห์ทางห้องปฏิบัติการใช้มาตรฐานของ ลงชอ่ื ) ลงชอ่ื ( () ผ้ดู ําเนินการตรวจวัดสารเคมอี ันตราย ผู้ดําเนินการตรวจวิเคราะห์ สารเคมีอนั ตรายทางห้องปฏบิ ัตกิ าร

ระดบั ความเข้มขน้ ของสารเคมอี นั ตราย สอ. ๓ ละสถานท่ีเก็บรักษาสารเคมีอันตราย เบียนนติ ิบคุ คล ประเภทกจิ การ เขต/อาํ เภอ จงั หวัด ความเขม้ ข้นของสารเคมอี ันตรายในบรรยากาศของสถานท่ที ํางานและสถานทเี่ ก็บรกั ษาสารเคมอี ันตราย ชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เบียนนติ ิบุคคล ใบอนญุ าตเลขท่ี าดูด ระยะเวลาที่ วนั ทีว่ ิเคราะห์ ชอื่ เครื่องมอื ระดบั ความ ขีดจาํ กัด การ กาศ เก็บตวั อย่าง วิเคราะห์ เขม้ ข้นท่ี ความเขม้ ขน้ ประเมินผล * ** วเิ คราะห์ได้ (TLVS) (เกนิ / *** *** ไมเ่ กนิ ) Volume/Edition หนา้ ถึง นายจ้าง/ผูก้ ระทาํ แทน ลงชื่อ ) ลงชอ่ื ) ( ( นติ ิบคุ คลผู้ใหบ้ ริการ ตรวจวัดและวิเคราะห์ฯ

- หมายเหตุ ๑. กรณีนายจ้างดาํ เนินการตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเขม้ ข้นของสารเคม และผูด้ ําเนินการตรวจวิเคราะหส์ ารเคมีอันตรายทางหอ้ งปฏบิ ัติการประจําสถ ๒. กรณีนายจ้างใหน้ ติ ิบุคคลทีไ่ ด้รับใบอนญุ าตตามมาตรา ๑๑ แหง่ พระราชบญั ญ ตรวจวัดและวิเคราะห์ระดับความเข้มข้นของสารเคมีอนั ตราย ให้แนบสําเนา ๓. เครอื่ งหมาย * หมายถึง หนว่ ย ลติ ร/นาที เครอื่ งหมาย ** หมายถึง นาทีหรือชั่วโมง เคร่อื งหมาย *** หมายถึง mg/m3 หรือ g/m3 หรอื f/cm3 หรือ mppcf mg/m3 = มิลลกิ รัมต่ออากาศหนงึ่ ลูกบาศก์เมตร g/m3 = ไมโครกรัมต่ออากาศหนึ่งลูกบาศกเ์ มตร f/cm3 = จํานวนเสน้ ใยต่ออากาศหนงึ่ ลูกบาศก์เซนตเิ มตร mppcf = จาํ นวนลา้ นอนุภาคตอ่ ปริมาตรของอากาศหนึง่ ลกู บาศกฟ์ ตุ ppm = สว่ นในลา้ นส่วนโดยปริมาตร ppb = ส่วนในพันลา้ นส่วนโดยปรมิ าตร ------------------------

-๒- มีอันตรายเอง ให้แนบเอกสารหรอื หลกั ฐานแสดงคณุ สมบตั ขิ องผ้ดู าํ เนนิ การตรวจวดั สารเคมีอันตราย ถานประกอบกจิ การมาพร้อมเอกสาร (สอ.๓) น้ี ญัตคิ วามปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นผดู้ าํ เนินการ าใบอนุญาตเป็นผใู้ ห้บริการตรวจวัดและวิเคราะห์ฯ มาพร้อมเอกสาร (สอ.๓) นี้ หรือ ppm หรอื ppb ---------------------------

เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๘๕ ง หน้า ๔๑ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา ประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน เรอ่ื ง บัญชีรายชอ่ื สารเคมอี นั ตราย อาศยั อํานาจตามความในขอ้ ๑ แห่งกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และ ดาํ เนินการด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ อธบิ ดกี รมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงานจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ประกาศนี้ใหใ้ ช้บังคับตัง้ แตว่ ันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นตน้ ไป ขอ้ ๒ บัญชีรายชอ่ื สารเคมีอันตรายให้เปน็ ไปตามตารางท้ายประกาศน้ี รวมท้ังสารเคมีท่ีมีช่ืออื่น แตม่ สี ตู รโครงสร้างทางเคมีอย่างเดยี วกนั (Synonym) ประกาศ ณ วนั ที่ ๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พานิช จิตร์แจง้ อธิบดีกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน

ตารางบญั ชีรายชอ�ื สารเคมีอนั ตราย No. ช�ือสารเคมีอันตราย (ไทย) ชอ�ื สารเคมีอันตราย (อังกฤษ) CAS number 1 อะเซทิลนี (เอททนี ) ACETYLENE (ETHYNE) 74-86-2 2 อะเซเฟท ACEPHATE 30560-19-1 3 อะเซตลั ACETAL 105-57-7 4 อะเซตลั ดีไฮด์ ACETALDEHYDE 75-07-0 5 กรดอะซิติค,กรดนํ�าส้ม ACETIC ACID 64-19-7 6 อะซิตคิ แอนไฮไดรด์ ACETIC ANHYDRIDE 108-24-7 7 อะซีโตน ACETONE 67-64-1 8 อะซีโตน ไซยาโนไฮดริน ACETONE CYANOHYDRIN 75-86-5 9 อะซโี ตไนไตรล์ ACETONITRILE 75-05-8 10 อะซีตลิ อะซโี ตน ACETYLACETONE 123-54-3 11 อะซตี ลิ คลอไรด์ ACETYL CHLORIDE 75-36-5 12 กรดอะซีติลซาลิไซลคิ ACETYLSALICYLIC ACID 50 - 78 - 2 13 อะโคนทิ ีน ACONITINE 302-27-2 14 เกลือของอะโคนิทีน ACONITINE (SALTS) 15 อะโครลีน ACROLEIN 107-02-8 16 อะครลี าไมด์ ACRYLAMIDE 79-06-1 17 อะครีเลทส์ ACRYLATES 18 กรดอะครลี คิ ACRYLIC ACID 79-10-7 19 2,2-บิส(อะครีโลอิลออกซีเมทธิล) บวิ ทิล อะครีเลท 2,2-BIS (ACRYLOYLOXYMETHYL) BUTYL ACRYLATE 15625-89-5 20 อะครโี ลไนไตรล์ ACRYLONITRILE 107-13-1 21 กรดอะดิพคิ ADIPIC ACID 124-04-9 22 อัลลลั ลามนี ALLYLAMINE 107-11-9 23 อลั ดคิ าร์บ ALDICARB 116-06-3 24 อลั ดรนิ ALDRIN 309-00-2 25 อลั คาไล เอทธอกไซด์ ALKALI ETHOXIDE 16331-64-9 26 อลั คาไล ฟลอู อโรซลิ เิ คทส์ ALKALI FLUROSILICATES 27 อลั คาไล เมทธอกไซด์ ALKALI METHOXIDE 3315-60-4 28 เกลืออัลคาไลของเพนตะคลอโรฟนี อล ALKALI SALTS OF PENTACHLOROPHENOL 29 อัลเลธริน ALLETHRIN 584-79-2 30 อลั ลโิ ดคลอร์ ALLIDOCHLOR 93-71-0 31 อัลลิล แอลกอฮอล์ ALLYL ALCOHOL 107-18-6 32 อัลลลิ คลอไรด์ ALLYL CHLORIDE 107-05-1 33 อัลลลิ 2,3-อพี อกซีโพรพลิ อเี ธอร์ ALLYL 2,3-EPOXYPROPYL ETHER 106-92-3 34 อัลลิล ไกลซดลิ อีเธอร์ ALLYL GLYCIDYL ETHER 106-92-3 35 อลั ลลิ ไอโอไดด์ ALLYL IODIDE 556-56-9 36 อัลลลิ โพรพิล ไดซัลไฟด์ ALLYL PROPYL DISULFIDE 2179-59-1 37 อะลูมิเนยี ม อลั คลิ ALUMINIUM ALKYLS

No. ชอื� สารเคมอี ันตราย (ไทย) ชอื� สารเคมอี นั ตราย (องั กฤษ) CAS number 38 สารประกอบอะลมู เิ นียมอัลคลี คิ ALUMINIUM ALKYLIS COMPOUNDS 39 อะลมู ิเนียม คลอไรด์ แอนไฮดรสั ALUMINIUM CHLORIDE ANHYDROUS 7446-70-0 40 อะลมู เิ นียม ลเิ ทยี ม ไฮไดรด์ ALUMINIUM LITHIUM HYDRIDE 16853-85-3 41 อะลูมเิ นียม ฟอสไฟด์ ALUMINIUM PHOSPHIDE 20859-73-8 42 อะลูมเิ นียมในรูปของผง, ผงไพโร ALUMINIUM POWDER,PYROPHORIC 7429-90-5 43 ผงอะลูมเิ นยี ม(ลักษณะคงตัว) ALUMINIUM POWDER ,STABILIZED 44 ฟูมอะลมู ิเนียม ALUMINIUM FUMES, AS AL 7429-90-5 45 โลหะและออกไซด์ของอะลมู ิเนียม ALUMINIUM METAL & OXIDE, AS AL 1344-28-1 46 อะลมู ิเนยี ม ออกไซด์ ALUMINIUM OXIDE 47 อะลูมเิ นียม, ในรูปของสารละลายเกลอื ALUMINIUM, SOLUBLE SALTS, AS AL 555-31-7 48 อะลูมิเนยี ม-ไตร-ไอโซโพรพอกไซด์ ALUMINIUM-TRI-ISOPROPOXIDE 78-53-5 49 อะมทิ อน AMITON 7664-41-7 50 แอมโมเนีย AMMONIA 6484-52-2 51 (a) แอมโมเนียม ไนเตรท (b) แอมโมเนียม ไนเตรท ในรูปของปยุ๋ (a) AMMONIUM NITRATES (b) AMMONIUM NITRATES IN THE FORM OF FERTILISERS 834-12-8 52 อะเมทรนี AMETRYN 919-76-6 53 อะมไิ ดไธออน AMIDITHION 121-47-1 54 กรด 3-อะมโิ นเบนซนี ซัลโฟนคิ 3-AMINOBENZENE SULPHONIC ACID 121-57-3 55 กรด 4-อะมิโนเบนซนี ซลั โฟนคิ 4-AMINOBENZENE SULPHONIC ACID 56 2-อะมิโนเบนซดี ีน 2-AMINOBENZIDINE 1031-47-6 57 เกลอื 4-อะมโิ นไบฟีนลิ 4-AMINOBIPHENYL (SALTS) 58 5-อะมโิ น-1-(บิสไดเมทธิล อะมโิ นฟอสไฟนคิ )-3-ฟนี ิล-1,2,4- 5-AMINO-1-(BISDIMETHYL AMINOPHOSPHINYL)-3-PHENYL- 13952-84-6 1,2,4-TRIAZOLE 2032-59-9 ไตรอะโซล 2-AMINOBUTANE 93-05-0 59 2-อะมโิ นบิวเทน AMINOCARB 96-91-3 60 อะมโิ นคาร์บ 4-AMINO-N,N-DIETHYLANILINE 141-43-5 61 4-อะมิโน-เอน็ ,เอน็ -ไดเอทธิลอะนลิ ีน 2-AMINO-4,6-DINITROPHENOL 108-00-9 62 2-อะมโิ น-4,6-ไดไนโตรฟีนอล 2-AMINOETHANOL 124-68-5 63 2-อะมิโนเอทธานอล 2-AMINOETHYLDIMETHYLAMINE 2855-13-2 64 2-อะมิโนเอทธลิ ไดเมทธลิ อะมนี 2-AMINO-2-METHYLPROPANOL 95-55-6 65 2-อะมิโน-2-เมทธิลโพรพานอล 3-METHYL-3,5,5-TRIMETHYLCYCLOHEXYLAMINE 75-31-0 66 3-อะมโิ นเมทธลิ -3,5,5-ไตรเมทธิลไซโคลเฮกซลิ อะมนี 2-AMINOPHENOL 78-96-6 67 อะมิโนฟีนอล 2-AMINOPROPANE 104-78-9 68 2-อะมโิ นโพรเพน 1-AMINOPROPAN-2-OL 109-55-7 69 1-อะมโิ นโพรเพน-2-ออล 3-AMINOPROPYLDIETHYLAMINE 95-53--4 70 3-อะมิโนโพรพิลไดเอทธิลอะมีน 3-AMINOPROPYLDIMETHYLAMINE 61-82-5 71 3-อะมิโนโพรพิลไดเมทธลิ อะมนี 2-AMINOPYRIDINE 7664-41-7 72 2-อะมิโนไพรดิ นี AMITROLE 73 อะมิโทรล AMMONIA, ANHYDROUS 74 แอมโมเนยี ,แอนไฮดรสั

No. ชอ�ื สารเคมีอันตราย (ไทย) ช�อื สารเคมอี ันตราย (อังกฤษ) CAS number 75 แอมโมเนียม ไบฟลูออไรด์ AMMONIUM BIFLUORIDE 1341-49-7 12125-02-9 76 แอมโมเนียมคลอไรด์ AMMONIUM CHLORIDE 7789-09-5 77 แอมโมเนยี ม ไดโครเมท AMMONIUM DICHROMATE 12125-01-8 78 แอมโมเนยี ม ฟลูออไรด์ AMMONIUM FLUORIDE 1341-49-7 79 แอมโมเนียม ไฮโดรเจน ไดฟลอู อไรด์ AMMONIUM HYDROGEN DIFLUORIDE 7790-98-9 80 แอมโมเนียม เพอร์คลอเรท AMMONIUM PERCHLORATE 9080-17-5 81 แอมโมเนยี ม โพลีซลั ไฟด์ AMMONIUM POLYSULPHIDES 82 เกลอื แอมโมเนยี ม ดีเอ็นโอซี AMMONIUM SALT OF DNOC 7773-06-0 83 แอมโมเนียม ซลั ฟาเมท AMMONIUM SULFAMATE 2844-92-0 84 แอมโมเนียม บสิ (2,4,6-ไตรไนโตรฟนี ลิ )อะไมด์ AMMONIUM BIS(2,4,6-TRINITROPHENY)AMINE 628-63-7 85 เอมลิ อะซเี ตท,ไอโซเมอรท์ กุ ตวั AMYL ACETATE, ALL ISOMERS 30899-19-5 86 เอมลิ แอลกอฮอล์, ยกเวน้ เทร์ท- บวิ ทานอล AMYL ALCOHOL,except tert-PENTANOL 638-49-3 87 เอมลิ ฟอรเ์ มท AMYL FORMATE 624-54-4 88 เอมลิ โพรพิโอเนท AMYL PROPIONATE 92-67-1 89 4-อะมโิ นไดฟีลนิล 4-AMINODIPHENYL 101-05-3 90 อะนิลนี ANILINE 91 เกลืออะนิลนี ANILINE(SALTS) 90-04-0 92 ออโท-อะนซิ ิดีน o-ANISIDINE 104-94-9 93 พารา-อะนซิ ดิ ีน p-ANISIDINE 94 สารประกอบแอนติโมนี ANTIMONY COMPOUNDS, AS SB 7647-18-9 95 แอนตโิ มนี เพนตะคลอไรด์ ANTIMONY PENTACHLORIDE 10025-91-9 96 แอนติโมนี ไตรคลอไรด์ ANTIMONY TRICHLORIDE 7783-56-4 97 แอนติโมนี ไตรฟลูออไรด์ ANTIMONY TRIFLUORIDE 86-88-4 98 เอเอ็นทียู ANTU 494-52-0 99 อะนาบาซิน ANABASINE 7803-52-3 100 แอนตโิ มนี ไฮไดรด์ (สตบิ นี ) ANTIMONY HYDRIDE (STIBINE) 7784-42-1 101 อาร์เซนิค ไฮไดรด์ ARSENIC HYDRIDE 1303-28-2 102 อาร์เซนิค เพนตอกไซด์ ARSENIC PENTOXIDE 1327-53-3 103 อารเ์ ซนิคไตรออกไซด์ ARSENIC TRIOXIDE 7440-38-2 104 สารหนู ARSENIC 105 สารประกอบของสารหนู ARSENIC(COMPOUNDS) 7784-42-1 106 อาร์ซนี ARSINE 107 แอสเบสทอส ASBESTOS 8052-42-4 108 แอสพัลท์ ASPHALT 1921-24--9 109 อะทราซีน ATRAZINE 51-55-8 110 อะโทรพนี ATROPINE 111 เกลืออะโทรพนี ATROPINE(SALTS) 151-56-4 112 อะซิริดนี AZIRIDINE 2642-71-9 113 อะซินฟอส-เอทธลิ AZINPHOS-ETHYL