Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2

แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2

Published by earthvasu.se, 2022-01-02 05:08:38

Description: แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2

Search

Read the Text Version

เเผนพฒั นาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติ

เเผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแหง่ ชาติ

แผนพัฒนาการท่องเท่ยี ว ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ISBN 978-616-297-481-6 พิมพค์ รั้งท่ี ๑ จำ� นวน ๓,๐๐๐ เล่ม จัดท�ำและเผยแพรโ่ ดย สำ� นักงานปลัดกระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า ๔ ถนนราชดำ� เนินนอก แขวงวัดโสมนสั เขตปอ้ มปราบฯ กรงุ เทพ ๑๐๑๐๐ โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๑๕๔๖ โทรสาร ๐ ๒๓๕๖ ๐๗๐๔ พมิ พ์ท ี่ ส�ำนักงานกจิ การโรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก

ค�ำน�ำ การจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ เป็นภารกิจของคณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียว แหง่ ชาติ (ท.ท.ช.) ท่ีก�ำหนดไวต้ ามพระราชบญั ญัตินโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ ซ่ึงทีผ่ ่านมาไดม้ ี การจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ เป็นแผนพัฒนาฉบับแรกของประเทศ และจะสิ้นสุดในปี ๒๕๕๙ ดังน้ัน เพ่ือให้การท่องเท่ียวมีการบริหารและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จึงต้องจัดท�ำ แผนพฒั นาการทอ่ งเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) เพือ่ ใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางการพฒั นาในระยะ ๕ ปีถัดไป ประกอบกับปัจจุบันประเทศไทยอยู่ในช่วงเวลาแห่งการปฏิรูป เพื่อให้ก้าวไปสู่การเป็นประเทศท่ีมี ความมน่ั คง มง่ั คง่ั และยงั่ ยนื โดยประชาชนทกุ ภาคสว่ นของสงั คมเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการปฏริ ปู จงึ นบั เปน็ โอกาส อันดที ป่ี ระเทศไทยจะได้จัดทำ� แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) บนพื้นฐาน ของหลักการดังกล่าว เพ่ือเป้าหมายการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศพัฒนาแล้ว มีการบริหารจัดการ อย่างมีประสิทธิภาพ และการเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้องตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และแนวทางการพฒั นาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) กระบวนการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ได้มุ่งเน้น การมสี ว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ น โดยเรมิ่ ตน้ ตงั้ แตก่ ารประเมนิ ผลแผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ การศึกษาสภาพแวดล้อมและบริบทการท่องเท่ียวภายในประเทศและต่างประเทศ การทบทวน การพัฒนาการท่องเท่ียวของประเทศคู่แข่งและประเทศต้นแบบรายส�ำคัญ การทบทวนนโยบายและ แผนยุทธศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับการท่องเท่ียว และการรับฟังความคิดเห็นจากผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน/ประชาสังคม ผ่านการสมั ภาษณผ์ บู้ ริหาร ผทู้ รงคุณวฒุ ิ และผูเ้ ชย่ี วชาญในสาขา การท่องเท่ียว การจัดประชุมกลุ่มย่อยและการประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือรับฟังความคิดเห็นร่างวิสัยทัศน์ การทอ่ งเที่ยวไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ และร่างแผนพฒั นาการท่องเทีย่ วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) สาระส�ำคญั ของแผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ได้ใหค้ วามส�ำคญั กบั การวางรากฐานและแกไ้ ขปญั หาทเ่ี ปน็ อปุ สรรคสำ� คญั ตอ่ การพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วของประเทศ ทงั้ ดา้ นคณุ ภาพ แหล่งท่องเที่ยว บุคลากรการท่องเที่ยว และโครงสร้างพ้ืนฐาน รวมทั้งการสร้างความสมดุลของการพัฒนา ท้ังในมิติของพนื้ ที่ เวลา กิจกรรม รปู แบบ และกลมุ่ นกั ทอ่ งเท่ียว เพื่อการสร้างรายไดแ้ ละกระจายรายได้สู่ชมุ ชน และการเตรียมความพร้อมของอุตสาหกรรมท่องเท่ียวสู่การเติบโตในอนาคตบนพ้ืนฐานของ การลงทุนพัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ ตลอดจนการให้ความส�ำคัญกับการท�ำงานอย่างบูรณาการระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน และระหว่างประเทศ ทั้งนี้ เพ่ือให้แผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) สามารถใช้เป็นแผนแม่บทในการพัฒนาการท่องเท่ียวไทยสู่วิสัยทัศน์ท่ีคาดหมาย ไดอ้ ยา่ งแท้จริง กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า เเผนพัฒนาการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ก คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ

สารบญั สรุปสาระสำ� คญั แผนพัฒนาการท่องเทยี่ วแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ค สว่ นที่ ๑ บทนำ� ๑ สว่ นที่ ๒ สถานการณ์ แนวโนม้ และทิศทางการทอ่ งเท่ียว ๔ ๑. สภาพแวดลอ้ มและบริบทการทอ่ งเท่ียว ๔ ๒. การทอ่ งเทีย่ วของประเทศคแู่ ข่งและประเทศตน้ แบบรายส�ำคัญ ๑๓ ๓. นโยบายและแผนยทุ ธศาสตรด์ ้านการท่องเทีย่ ว ๑๗ ๔. ผลการด�ำเนินงานตามแผนพฒั นาการทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ๑๙ ๕. สรุปผลการวิเคราะห์ศกั ยภาพและโอกาสการพัฒนาการท่องเท่ียวไทย ๒๒ ส่วนที่ ๓ วสิ ัยทศั นแ์ ละยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา ๒๔ ๑. วิสยั ทัศนก์ ารท่องเท่ียวไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ ๒๔ ๒. เปา้ ประสงค์ ๒๖ ๓. ตัวชี้วดั ๒๖ ๔. พันธกิจ ๒๖ ๕. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นา ๒๗ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ การพฒั นาคณุ ภาพแหล่งท่องเทีย่ ว สินคา้ และบริการด้านการท่องเท่ียว ๒๙ ใหเ้ กิดความสมดุล และยงั่ ยืน ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ การพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานและสงิ่ อำ� นวยความสะดวก เพือ่ รองรับ ๓๐ การขยายตัวของอุตสาหกรรมทอ่ งเที่ยว ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว และสนับสนุนการมีส่วนรว่ ม ๓๒ ของประชาชนในการพัฒนาการทอ่ งเที่ยว ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔ การสร้างความสมดลุ ใหก้ ับการท่องเทยี่ วไทย ผา่ นการตลาดเฉพาะกลุม่ ๓๓ การส่งเสรมิ วถิ ีไทย และการสรา้ งความเชอ่ื มัน่ ของนักทอ่ งเที่ยว ยุทธศาสตรท์ ่ี ๕ การบูรณาการการบริหารจัดการการทอ่ งเทีย่ ว และการส่งเสริม ๓๕ ความร่วมมือระหว่างประเทศ สว่ นที่ ๔ การขับเคลอ่ื นแผนพัฒนาการท่องเทยี่ วสกู่ ารปฏบิ ัติ ๓๗ ๑. แนวทางการขับเคลอ่ื นแผนพัฒนาส่กู ารปฏิบตั ิ ๓๗ ๒. แนวทางการติดตามประเมินผลการพฒั นา ๔๒ ๓. แนวทางการพัฒนาทสี่ ำ� คัญในระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๔๒ ภาคผนวก ๔๗ ข เเผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติ

สรุปสาระส�ำคญั แผนพฒั นาการท่องเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๑. บทนำ� คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ (ท.ท.ช.) มีอ�ำนาจและหน้าท่ีหลักในการส่งเสริมการบริหารและ พัฒนาการทอ่ งเท่ียว รวมทั้งจัดทำ� แผนพฒั นาการท่องเท่ียวแห่งชาติเสนอต่อคณะรัฐมนตรเี พ่ือพจิ ารณาอนุมตั ิ ซ่ึงท่ผี ่านมา ได้มีการจัดท�ำแผนพัฒนาฉบับแรกของประเทศไปแล้ว คือ แผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ เพ่ือใช้เป็นกรอบและแนวทางในการขับเคลื่อนการท่องเท่ียวของประเทศในระยะ ๕ ปี โดยแผนพัฒนาการท่องเที่ยว ฉบบั ดังกลา่ วจะสิน้ สุดลงในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ซ่ึงผลการดำ� เนินงานในระยะทีผ่ า่ นมา แมจ้ ะประสบผลส�ำเร็จในการเพิม่ จ�ำนวน และรายได้จากการท่องเท่ียว แต่ยังประสบปัญหาและอุปสรรคส�ำคัญหลายประการ ประกอบกับสภาพและบริบทต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ท้ังปัจจัยภายใน เช่น สถานการณ์การเมืองของ ประเทศ นโยบายของภาครัฐ การปรับตัวของภาคเอกชน และปัจจัยภายนอก เช่น สภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรม ท่องเที่ยว การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและความคาดหวังของนักท่องเที่ยว แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ความร่วมมือและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ จึงนับเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยจะได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนา การท่องเทยี่ ว ๒๐ ปี และแผนพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ และก้าวทันการเปล่ียนแปลงดังกล่าว เพ่ือให้การท่องเที่ยวไทยยังคงบทบาทการเป็นสาขาหลักในการรักษาเสถียรภาพ และขบั เคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ การจัดทำ� แผนพฒั นาการท่องเท่ยี วแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ไดค้ �ำนงึ ถงึ บรบิ ทของประเทศไทย ในการพฒั นาภายใตก้ รอบการวเิ คราะหแ์ บบองคร์ วม โดยสรปุ จากการศกึ ษาขอ้ มลู ปฐมภมู ทิ ไ่ี ดส้ ำ� รวจความเหน็ จากผมู้ สี ว่ น เกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและเอกชน รวมถึงข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง โดยได้มีการด�ำเนินการตาม ๕ ขน้ั ตอนหลัก ได้แก่ (๑) การประเมนิ ผลการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาการท่องเทย่ี วแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ (๒) การศึกษาสภาพแวดล้อมและบรบิ ทการท่องเทีย่ วของประเทศและของโลก (๓) การทบทวนการพัฒนาการท่องเทยี่ ว ของประเทศคู่แข่งและประเทศต้นแบบรายส�ำคัญ (๔) การทบทวนนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านการท่องเท่ียว ของหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง (๕) การรับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยค�ำนึงถึงการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน/ประชาสังคม ผ่านการสัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญในสาขาการท่องเท่ียว การจัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ จากผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งดา้ นการทอ่ งเทยี่ วจากทกุ ภาคสว่ นทว่ั ประเทศ การจดั ประชมุ เพอื่ รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ตอ่ ขอ้ เสนอ วิสัยทัศน์ การทอ่ งเที่ยวไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ และข้อเสนอรา่ งแผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) เเผนพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ค คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ

ทั้งน้ี ได้เน้นกระบวนการท�ำงานท่ีผ่านการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ตั้งแต่สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) สภาขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศ (สปท.) และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ตลอดจนการทำ� งานผา่ นกลไกการมสี ว่ นรว่ มจากผแู้ ทน ของหน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวข้องในรูปแบบของคณะอนุกรรมการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ภายใต้คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ และคณะท�ำงานพัฒนาการท่องเท่ียว ภายใต้กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา เพ่ือให้ได้แผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติที่เกิดจากกระบวนการมีส่วนร่วม จากทกุ ภาคสว่ นอยา่ งแทจ้ ริง ๒. การประเมนิ สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ของอุตสาหกรรมทอ่ งเที่ยว ๒.๑ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทยยังคงมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง ด้วยศักยภาพของท�ำเลท่ีตั้ง ความหลากหลายของทรัพยากรท่องเทีย่ ว และความเปน็ ไทย ประเทศไทยยงั คงมศี ักยภาพและโอกาสทางการทอ่ งเทีย่ ว มากมาย ท้ังด้านท�ำเลท่ีตั้งในการเป็นจุดศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความหลากหลายของ ทรัพยากรธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท่ีเป็นเอกลักษณ์ อัธยาศัยไมตรีของคนไทย โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ World Economic Forum: WEF ได้จัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขัน ด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย อยูใ่ นอันดับที่ ๓๕ จาก ๑๔๑ ประเทศทวั่ โลก นอกจากน้ี การทอ่ งเทยี่ วของประเทศไทย ยงั ไดร้ บั การคดั เลอื กใหเ้ ปน็ ทส่ี ดุ ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ของโลกในการจดั อันดบั ระดับนานาชาติ เชน่ กรุงเทพมหานคร ไดร้ บั เลือกเปน็ เมืองท่องเทยี่ วทดี่ ที สี่ ดุ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ในปี ๒๕๕๘ โดย Master Card รางวัลชายหาดท่ีดีท่ีสุดของเอเชีย ในปี ๒๕๕๘ จาก World Travel Awards รางวัลประเทศท่องเท่ียวท่ีดีที่สุด ในด้านการท่องเที่ยวครอบครัว การท่องเที่ยวเชิงพักผ่อน สถานทท่ี ่องเท่ยี วเพอ่ื การวิวาห์ ในปี ๒๕๕๗ รางวัลสถานที่เพอ่ื การประชุมและจดั งานยอดเย่ียมจาก TTG Travel Awards ในปี ๒๕๕๗ และประเทศไทยไดร้ ับรางวลั ดา้ นการทอ่ งเที่ยว Grand Travel Award จากนติ ยสาร Travel News นิตยสาร ธรุ กจิ ทอ่ งเทย่ี วชอื่ ดงั จากภมู ภิ าคสแกนดเิ นเวยี ในปี ๒๕๕๔ ตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลา ๙ ปี เนอ่ื งจากความมเี อกลกั ษณท์ างวฒั นธรรม และความหลากหลายของสถานท่ีท่องเที่ยว ท้ังหมดน้ีแสดงให้เห็นถึงศักยภาพและขีดความสามารถของประเทศไทย ในการเปน็ แหลง่ ท่องเที่ยวยอดนยิ มระดบั โลก ๒.๒ ผลการพฒั นาในระยะแผนพฒั นาการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ แม้จะประสบผลส�ำเร็จ ดา้ นรายไดแ้ ละขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั แตย่ งั คงมปี ญั หาพน้ื ฐานอกี หลายประการ โดยเฉพาะในดา้ นความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม จากการจดั อนั ดบั ของ World Economic Forum: WEF ประเทศไทยอยใู่ นอนั ดบั ท่ี ๑๑๖ ในด้านความยั่งยืนของส่ิงแวดล้อมจาก ๑๔๑ ประเทศท่ัวโลก เนื่องจากมีความเส่ือมโทรมของแหล่งท่องเท่ียว ทางธรรมชาติจากการเดินทางเข้ามาของนักท่องเที่ยวจ�ำนวนมากที่ขาดการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ใน ด้านความปลอดภัยประเทศไทยอยู่ที่อันดับ ๑๓๒ จาก ๑๔๑ ประเทศท่ัวโลก อันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ การหลอกลวง อาชญากรรม การก่อการร้ายท่ีเกิดกับนักท่องเที่ยวบ่อยครั้ง ดังน้ัน แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) นจ้ี ะมงุ่ แกป้ ญั หาจากตน้ เหตุ โดยเนน้ ในดา้ นการสรา้ งแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทม่ี คี ณุ ภาพ การอนรุ กั ษร์ กั ษา แหล่งท่องเที่ยวเปราะบาง การให้ประชาชนและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลนักท่องเที่ยวและดูแลด้าน ความปลอดภยั เพือ่ เปน็ การสรา้ งพน้ื ฐานที่แขง็ แกร่งให้กับการเตบิ โตของอตุ สาหกรรมในอนาคต ๒.๓ แนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงในตลาดโลก ไดส้ รา้ งโอกาสทางการตลาดใหก้ บั อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี วไทย การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วตอ้ งมคี วามสอดคลอ้ งและตอบรบั กบั แนวโนม้ การทอ่ งเทยี่ วทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปในโลก อาทิ การเตบิ โต ของชนชั้นกลางที่เพิ่มความสามารถในการจับจ่ายใช้สอยเพื่อการท่องเท่ียว การเติบโตของสายการบินต้นทุนต่�ำท่ีท�ำให้ ง เเผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

การเดนิ ทางเปน็ ไปไดส้ ะดวกดว้ ยคา่ ใชจ้ า่ ยทล่ี ดลง การเพมิ่ ขนึ้ ของกลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ต่ี อ้ งการสง่ิ อำ� นวยความสะดวกเพอ่ื เขา้ ถงึ สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ การเพิ่มขึ้นของการใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจ�ำวันเป็นโอกาสให้อุตสาหกรรมท่องเท่ียวสามารถ เข้าถึงนักท่องเท่ียวโดยตรงได้มากขึ้น ความต้องการท่องเท่ียวเพ่ือเพิ่มประสบการณ์ที่สูงข้ึนท�ำให้หลายประเทศได้พัฒนา สินค้า บริการ และเส้นทางท่องเท่ียวเพ่ือตอบสนองต่อความต้องการดังกล่าว และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของ นักท่องเท่ียวท�ำให้มีกลุ่มสาขาการท่องเที่ยวเติบโตใหม่มากมาย อีกท้ังหลายประเทศหันมาเพ่ิมความหลากหลาย ของการทอ่ งเทยี่ วเพอื่ ใหส้ ามารถตอบรบั กบั ความตอ้ งการทห่ี ลากหลายได้ ๒.๔ บทเรียนจากประเทศต้นแบบและประเทศคู่แข่งรายส�ำคัญ ท�ำให้ประเทศไทยสามารถน�ำมาปรับใช้เพื่อ การกำ� หนดทศิ ทางการพฒั นาใหม้ วี ตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายทช่ี ดั เจนขน้ึ การทบทวนวเิ คราะหแ์ ผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว ของประเทศทปี่ ระสบความส�ำเร็จอยา่ งสงู ในด้านการทอ่ งเทยี่ ว ได้แก่ ประเทศจนี สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย มัลดีฟส์ และประเทศต้นแบบ เช่น ญี่ปุ่น รวมท้ังประเทศคู่แข่งท่ีส�ำคัญ ได้แก่ สิงคโปร์และมาเลเซียซ่ึงเป็นคู่แข่งท่ีส�ำคัญ สามารถสรุปทิศทางการพัฒนาท่ีส�ำคัญได้ดังนี้ ๑) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพของ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว การคมนาคม เพื่อการเข้าถึงแหล่งท่องเท่ียว การพัฒนาคุณภาพของบุคลากร และการน�ำเอาเทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและเพ่ืออ�ำนวยความสะดวกด้านข้อมูลแก่นักท่องเท่ียว ๒) การพัฒนา บางประเทศเลือกท่ีจะตั้งเป้าหมายดึงดูดนักท่องเท่ียวอย่างเฉพาะเจาะจง ในขณะที่บางประเทศต้ังเป้าหมายการพัฒนา เชิงกลุ่มการท่องเที่ยวที่ประเทศนั้นๆ มีศักยภาพ ๓) การบูรณาการเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ได้รับการเน้นย�้ำ ในทุกแผนพัฒนา เนื่องจากการบูรณาการของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเป็นกลไกส�ำคัญท่ีช่วยผลักดันแผนให้เป็นรูปธรรม และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับความตอ้ งการของนกั ท่องเทยี่ วทีเ่ ปลยี่ นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ ดังน้ันการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จึงจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึง สภาวการณ์ของอุตสาหกรรมท่องเท่ียวในประเทศ โดยเน้นที่การพัฒนาจุดอ่อนและเพิ่มความสามารถของจุดแข็ง ในอุตสาหกรรม ในขณะเดียวกันต้องมีการค�ำนึงถึงแนวโน้มของโลกท่ีกระทบกับการพัฒนาการท่องเท่ียว เพื่อให้ทิศทาง การพัฒนาเป็นไปอย่างสอดคล้องและสามารถแปรเปลี่ยนเป็นรายได้ของอุตสาหกรรมได้ ท้ังน้ี เพื่อการรักษา ขีดความสามารถทางการแข่งขันและต่อยอดการพัฒนาบนพ้ืนฐานของศักยภาพด้านการท่องเที่ยวที่มีอยู่ จึงควรก�ำหนด แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทย โดยมีจุดมุ่งหมายท่ีจะพัฒนา รักษา และยกระดับการท่องเท่ียวไทย เพื่อให้เป็นกลไกในการขับเคล่ือนประเทศไทยให้เป็นประเทศพัฒนาแล้ว บนพื้นฐานของความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน ตามกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี ๓. วสิ ยั ทัศนแ์ ละเปา้ ประสงค์ ๓.๑ วิสัยทศั นก์ ารทอ่ งเท่ียวไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ “ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเท่ียวคุณภาพชั้นน�ำของโลกที่เติบโตอย่างมีดุลยภาพบนพ้ืนฐานความเป็นไทย เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างย่ังยืน” โดยมีแนวคิดหลัก ในการพัฒนาตามองคป์ ระกอบ ๕ ประการ ดงั น้ี ๑) ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นน�ำของโลก ด้วยการยกระดับคุณภาพและเพิ่ม ความหลากหลายของสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล มุ่งเพิ่มรายได้จาก การทอ่ งเทย่ี วโดยเนน้ การเพมิ่ คา่ ใชจ้ า่ ยและวนั พกั ตอ่ ครงั้ ของการเดนิ ทางของนกั ทอ่ งเทย่ี ว และเสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถ ในการแขง่ ขันด้านการท่องเท่ียวของประเทศ เเผนพฒั นาการท่องเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จ คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ

๒) การเติบโตอย่างมีดุลยภาพ โดยส่งเสริมดุลยภาพการเติบโตของการท่องเที่ยวระหว่าง กลุ่มนักท่องเที่ยว เช่น ระหว่างนักท่องเท่ียวชาวไทยและชาวต่างชาติ ระหว่างนักท่องเท่ียวตามถิ่นท่ีอยู่ และระหว่าง กลุ่มนักทอ่ งเที่ยวท่ัวไปและนักทอ่ งเทีย่ วท่ีมคี วามสนใจเฉพาะ ส่งเสรมิ ดลุ ยภาพการเติบโตระหว่างพน้ื ทท่ี ่องเท่ยี ว โดยเน้น การกระจายการพัฒนาการท่องเที่ยวในเมืองท่องเที่ยวรองและพื้นท่ีชุมชนท้องถ่ิน ส่งเสริมดุลยภาพการเติบโตระหว่าง ช่วงเวลาและฤดูกาล โดยเน้นส่งเสริมการท่องเที่ยวในช่วงเดือนมิถุนายน – กันยายน รวมท้ังส่งเสริมการท่องเท่ียว รูปแบบต่างๆ ที่ประเทศไทยมีศักยภาพหรอื รปู แบบท่ีควรพฒั นา ๓) การเตบิ โตบนพนื้ ฐานความเปน็ ไทย โดยเนน้ การพฒั นาสนิ คา้ และบรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว และแหลง่ ท่องเท่ียว ให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์และวิถีไทย เสริมสร้างความเข้าใจแก่นักท่องเท่ียวและประชาชนถึงอัตลักษณ์ ความเป็นไทย และเสรมิ สร้างความภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทยและการเป็นเจ้าบ้านท่ีดสี �ำหรบั ประชาชนทกุ ระดบั ๔) การส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระจายรายไดส้ ่ปู ระชาชนทกุ ภาคสว่ น โดยมุ่งพัฒนา การทอ่ งเทย่ี วใหเ้ ปน็ แหลง่ เพม่ิ รายได้ และกระจายรายได้ แกป่ ระเทศพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วใหเ้ ปน็ กลไกหนงึ่ ในการขบั เคลอื่ น การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานของประเทศ เเละสรา้ งโอกาสเพอ่ื การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของชาติ พฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว ในภมู ภิ าคและเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว โดยเฉพาะพน้ื ทเี่ มอื งรองและชนบท และสนบั สนนุ ภาคเอกชนลงทนุ ในอตุ สาหกรรม ท่องเทย่ี วและอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวเน่ือง ๕) การพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยการส่งเสริมความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งท่องเท่ียวที่เสี่ยงต่อการเส่ือมโทรม การบริหารความสามารถในการรองรับนักท่องเท่ียว และการปลูกฝังจิตส�ำนึกความเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมความย่ังยืนของวัฒนธรรม โดยการเชิดชูและรักษาไว้ ซ่งึ เอกลักษณข์ องไทย คณุ ค่าด้งั เดิม และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ๓.๒ เปา้ ประสงคร์ ะยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๑) การเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วคณุ ภาพ เพอื่ ยกระดบั ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว ๒) การเพ่ิมมูลค่าทางเศรษฐกจิ ของอตุ สาหกรรมท่องเท่ียวอยา่ งสมดุล ๓) การกระจายรายได้และผลประโยชน์จากการทอ่ งเทีย่ วส่ทู กุ พื้นทีแ่ ละทกุ ภาคส่วน ๔) การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอย่างยั่งยืนบนพืน้ ฐานอตั ลกั ษณ์และวิถไี ทย ๓.๓ ตัวช้ีวดั ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๑) จ�ำนวนแหล่งท่องเท่ียวและสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยว ได้รับเคร่ืองหมายรับรองมาตรฐาน การท่องเทีย่ วไทยเพิม่ สงู ข้นึ อย่างนอ้ ยร้อยละ ๕ ต่อปี ๒) อนั ดบั ขดี ความสามารถทางการแข่งขนั ด้านการทอ่ งเทย่ี ว๑ ของประเทศไทย เปน็ ๑ ใน ๓๐ อันดับแรก ของโลก หรือ ๑ ใน ๗ อนั ดับแรกของภูมิภาคเอเชียแปซฟิ ิก ๓) ความเชื่อมั่นในสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวของไทยที่มีคุณภาพได้มาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๙๐ ๔) รายไดจ้ ากนกั ทอ่ งเทย่ี วชาวตา่ งชาติ มอี ัตราการขยายตวั ไมต่ ่�ำกว่ารอ้ ยละ ๑๐ ต่อปี ๕) การเดินทางท่องเท่ียวภายในประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทย มีอัตราการขยายตัวไม่ต�่ำกว่า ร้อยละ ๓ ต่อปี ๑ TTCI: Travel & Tourism Competitiveness Index จัดท�ำโดย World Economic Forum ซ่งึ มกี ารเผยแพรร่ ายงานทกุ ๆ ๒ ปี ฉ เเผนพฒั นาการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแห่งชาติ

๖) สดั สว่ นการเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี วของนกั ทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาตใิ นชว่ งเดอื นมถิ นุ ายน – กนั ยายน ไมต่ ำ�่ กวา่ ๑ ใน ๓ ของการเดินทางตลอดทั้งปี ๗) รายได้จากการท่องเท่ียวในจังหวัดรอง (จังหวัดท่ีมีจ�ำนวนผู้เย่ียมเยือนต่�ำกว่า ๑ ล้านคน) มีอตั ราการขยายตัวไม่ต�ำ่ กวา่ ร้อยละ ๑๒ ตอ่ ปี ๘) ดัชนีการรับรู้และเข้าใจในเอกลักษณ์ความเป็นไทยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและนักท่องเที่ยว ชาวไทย เพิ่มสงู ขึ้นอยา่ งตอ่ เนื่องในทุกๆ ปี ๙) อันดับขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว (TTCI) ของประเทศไทย ด้านความเด่นชัด ของวฒั นธรรมและนันทนาการจากการสบื คน้ ออนไลนด์ ้านการท่องเท่ยี ว (Cultural & Entertainment Tourism Digital Demand) เป็น ๑ ใน ๑๐ อนั ดับแรกของโลก ๑๐) ดัชนีด้านความย่ังยืนของส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการท่องเที่ยว ของประเทศไทยใน ๖ มติ ิท่ีสำ� คญั ๒ พฒั นาขึน้ อย่างนอ้ ย ๑๐ อนั ดบั ในแต่ละมติ ิ ๔. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาในระยะแผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเท่ียว สินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวให้เกิดความสมดุล และย่ังยนื ๑) พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการทุกรูปเเบบอย่างมีมาตรฐาน โดยการส่งเสริมและพัฒนา คณุ ภาพสนิ คา้ และบรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทย่ี วทงั้ ระบบ เสรมิ สรา้ ง พฒั นาและปรบั ปรงุ มาตรฐานดา้ นการทอ่ งเทยี่ วและบรกิ าร ให้ครอบคลุมทุกรูปแบบ และส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันด้านธุรกิจการถ่ายท�ำภาพยนตร์ต่างประเทศ ในประเทศไทย รวมถึงการเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับด้านการท่องเที่ยวเพ่ือก้าวสู่การเป็นผู้น�ำคุณภาพ ของแหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว สนิ คา้ และบริการระดบั โลกสากล ๒) พฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว สนิ คา้ และบรกิ ารอยา่ งยงั่ ยนื โดยการสง่ เสรมิ ใหภ้ าคเี ครอื ขา่ ยการทอ่ งเทยี่ ว ทงั้ ภาครฐั เอกชน และชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมด้านการบริหารจัดการ ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน ท้ังใน เชงิ อัตลกั ษณ์ วิถีชวี ติ วฒั นธรรม ประเพณี และส่ิงแวดลอ้ มในระดบั พ้ืนที่ ไดแ้ ก่ การก�ำหนดขีดความสามารถในการรองรับ นกั ทอ่ งเทยี่ ว การสง่ เสรมิ การลงทนุ ในพน้ื ท่ี การสง่ เสรมิ สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว และสนบั สนนุ ผปู้ ระกอบการ ใหใ้ ชน้ วตั กรรมในการผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร การดแู ลรกั ษาและปลกู จติ สำ� นกึ ในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรการทอ่ งเทย่ี ว เปน็ ตน้ ๓) สรา้ งสมดลุ ในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว สนิ คา้ และบรกิ าร ทงั้ ในเชงิ พนื้ ที่ เชงิ เวลา ฤดกู าล และรปู แบบการทอ่ งเทย่ี ว โดยการสง่ เสรมิ ความสมดุลเชงิ พื้นทีใ่ นการทอ่ งเทยี่ ว ทง้ั ในแง่การกระจายรายได้และจ�ำนวนนกั ท่องเทยี่ ว ได้แก่ การจัดตง้ั เขตพัฒนาการท่องเที่ยว เพ่ือพัฒนาการท่องเท่ียวในจังหวัดและพ้ืนท่ีที่มีศักยภาพ การพัฒนาการท่องเท่ียวในเมืองรอง การพัฒนาการท่องเที่ยวในชนบท การพัฒนาสินค้าและบริการที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถ่ิน เป็นต้น และการส่งเสริมความสมดุลเชิงเวลาและฤดูกาลในการท่องเที่ยว ได้แก่ การสร้างสรรค์กิจกรรมหรือเทศกาลประจ�ำปี ในพ้ืนทีต่ า่ งๆ การสร้างสถานท่ที ่องเที่ยวแหง่ ใหม่ (Man - Made Attractions) เป็นตน้ ๒ อา้ งองิ ตามดชั นขี ดี ความสามารถทางการแขง่ ขันดา้ นการท่องเทยี่ ว (TTCI) ของ WEF ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ใน ๖ หวั ข้อทเ่ี ก่ียวข้อง ไดแ้ ก่ ๙.๐๑ (Stringency of environmental regulations: ความเข้มงวดของกฎระเบยี บด้านส่งิ แวดล้อม), ๙.๐๒ (Enforcement of environmental regulations: การบงั คบั ใช้กฎระเบยี บ ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม), ๙.๐๓ (Sustainability of T&T development: ความยัง่ ยนื ของการพฒั นาอตุ สาหกรรมการเดินทางและการท่องเทย่ี ว), ๙.๐๙ (Wastewater treatment: การบริหารจัดการน้�ำเสยี ), ๑๓.๐๓ (Total protected areas: พืน้ ท่ีที่ไดร้ บั การอนุรักษ์), ๑๓.๐๕ (Quality of the natural environment: คุณภาพ ของสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาต)ิ เเผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ช คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและส่ิงอ�ำนวยความสะดวก เพ่ือรองรับการขยายตัวของ อตุ สาหกรรมทอ่ งเท่ยี ว ๑) พฒั นาระบบโลจสิ ตกิ สด์ า้ นการทอ่ งเทย่ี ว โดยการพฒั นาระบบการคมนาคมขนสง่ ในการเดนิ ทางเขา้ สปู่ ระเทศ ท้ังทางบก ทางน�้ำ และทางอากาศ ได้แก่ การพัฒนาเส้นทางคมนาคมทางบกเพื่อเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ยกระดับระบบ ขนสง่ สาธารณะ เพอื่ อำ� นวยความสะดวกในการเดนิ ทางระหวา่ งสถานทท่ี อ่ งเทยี่ วพฒั นาเสน้ ทางคมนาคมทางนำ้� ทส่ี ามารถ เช่ือมโยงกับรูปแบบการเดินทางอื่นๆ พัฒนาศักยภาพของสนามบินในการรองรับนักท่องเท่ียว เพ่ิมเส้นทางและจ�ำนวน เท่ยี วบนิ ระหวา่ งประเทศและภายในประเทศท่เี ชอ่ื มโยงระหว่างเมอื งท่องเที่ยวหลกั และเมืองทอ่ งเท่ียวรอง ๒) พัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว โดยการปรบั ปรงุ ระบบการตรวจคนเขา้ เมอื ง ปรับปรุงและ อำ� นวยความสะดวกในการเดนิ ทางผา่ นแดน ปรบั ปรงุ ปา้ ยบอกทางและปา้ ยสญั ลกั ษณใ์ หเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั จดั ทำ� แผนท่ี ท่องเท่ียวให้ครอบคลุมทุกแหล่ง เพ่ิมจุดบริการ Free - WiFi ในแหล่งท่องเท่ียว จัดท�ำระบบบัตรโดยสารเดียวท่ีใช้ได้ กับทุกช่องทางการเดินทาง พัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพื่อรองรับการท่องเที่ยวท่ีปราศจากอุปสรรคส�ำหรับคนท้ังมวล (Tourism for All) ได้แก่ ห้องน�้ำคนพิการ ทางลาด ราวจับ เป็นต้น และพัฒนาแอปพลิเคชันที่อ�ำนวยความสะดวก ใหน้ กั ท่องเทย่ี ว ๓) พัฒนาระบบความปลอดภัยและสุขอนามัยในแหล่งท่องเท่ียว โดยการสนับสนุนเคร่ืองมือและอุปกรณ์ เพอื่ ป้องกนั และช่วยเหลือนักทอ่ งเท่ยี ว ไดแ้ ก่ กลอ้ งวงจรปิด เครอื่ งแปลภาษา การติดต้งั ไฟในสถานทท่ี อ่ งเทีย่ ว อปุ กรณ์ ช่วยเหลือนักท่องเที่ยวเบ้ืองต้น จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือนักท่องเที่ยวให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ท่องเที่ยว ส่งเสริมสุขอนามัย ในแหลง่ ทอ่ งเที่ยว เชน่ ปรับปรงุ สขุ าสาธารณะ การจัดการขยะและระบบบำ� บดั น้ำ� เสียในแหล่งทอ่ งเท่ียว ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียว และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ พัฒนาการทอ่ งเทยี่ ว ๑) พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการท่องเที่ยวทั้งระบบให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน สอดคล้อง กับมาตรฐานสากล และเพียงพอต่อความต้องการของตลาด โดยการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และชมุ ชนในการพฒั นาและปรบั ปรงุ หลกั สตู รทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการทอ่ งเทยี่ วทสี่ อดคลอ้ งความตอ้ งการ ของตลาดแรงงาน สร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมด้านการท่องเที่ยวสนับสนุนบุคลากรให้มีสมรรถนะ ขั้นพน้ื ฐานตามตำ� แหนง่ งาน และไดร้ ับการฝึกอบรมทีไ่ ด้มาตรฐานสากล ๒) ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการด้านการท่องเท่ียวและได้รับประโยชน ์ จากการทอ่ งเทยี่ ว โดยการสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจดา้ นการทอ่ งเทย่ี วและการบรหิ ารจดั การการทอ่ งเทยี่ ว เปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสินค้าและบริการบนพื้นฐานของมรดกและวัฒนธรรมท้องถ่ิน จัดท�ำหลักสตู รการฝึกอบรมทักษะธรุ กิจพืน้ ฐานเพือ่ สง่ เสริมการประกอบธรุ กจิ ใหม่ในอตุ สาหกรรมท่องเท่ียว เพมิ่ ช่องทาง การลงทนุ และพฒั นาธรุ กจิ ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วใหแ้ ก่ ภาคเอกชน ภายใตห้ ลกั การสนบั สนนุ ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม Thailand ๔.๐ ซ เเผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ

ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การสร้างความสมดุลให้กบั การท่องเทย่ี วไทย ผา่ นการตลาดเฉพาะกลุม่ การส่งเสริมวถิ ไี ทย และการสรา้ งความเชอ่ื ม่ันของนกั ท่องเท่ยี ว ๑) เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพเเละความปลอดภัยให้กับประเทศไทย โดยการพัฒนาภาพลักษณ์ และความเชื่อม่ันด้านคุณภาพ มุ่งเน้นการสื่อสารคุณค่าและภาพลักษณ์ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเท่ียวยอดนิยม (Preferred Destination) ที่มีคุณภาพสูงต่อนักท่องเท่ียว การท�ำการตลาดเป้าหมายและสร้างการรับรู้แก่นักท่องเที่ยว ผ่านช่องทางต่างๆ ด้านมาตรการรักษาความปลอดภัยและมาตรการป้องกันของประเทศไทย ข้อควรปฎิบัติ เพ่อื ความปลอดภยั และสงิ่ ท่ีควรกระท�ำในกรณฉี กุ เฉิน เพอ่ื ชว่ ยสง่ เสริมภาพลกั ษณ์ของประเทศไทย เปน็ แหลง่ ทอ่ งเที่ยว ทป่ี ลอดภัย รวมถึงการส่งเสรมิ การบังคับใช้และใหค้ วามรู้เกยี่ วกับกฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ้ งแกน่ กั ท่องเทยี่ วและสาธารณชน ๒) ส่งเสริมการตลาดเฉพาะกลุ่มเพ่ือดึงดูดการเดินทางท่องเที่ยว และกระตุ้นการใช้จ่ายของนักท่องเท่ียว กลุ่มต่างๆ โดยการส่งเสริมการตลาดแบบเฉพาะกลุ่มส�ำหรับนักท่องเที่ยวทั่วไป กลุ่มตลาดระดับกลาง - บน (มีรายได้ สว่ นบคุ คลสงู กวา่ ๒๐,๐๐๐ เหรียญสหรฐั ตอ่ ปี) ในพ้ืนที่ตลาดทม่ี ีศักยภาพ และการท�ำการตลาดแบบเฉพาะกลุ่มสำ� หรับ นักทอ่ งเท่ยี วกลุ่มความสนใจพิเศษ เช่น กลุม่ นกั ท่องเทีย่ วเชิงสขุ ภาพ กลุ่มนักทอ่ งเท่ียวเชิงสง่ิ แวดล้อมและนิเวศ ๓) ส่งเสริมเอกลักษณ์ของประเทศไทยและของแต่ละท้องถ่ิน ด้วยการสื่อสารเอกลักษณ์ความเป็นไทยให้เป็น ท่ีเข้าใจในเวทีโลก อาทิ การสร้างคุณค่าความเป็นไทยในสินค้าและบริการต่างๆ ผ่านสัญลักษณ์ “Thainess” บนสินค้า และบรกิ ารทีค่ งอตั ลกั ษณค์ วามเปน็ ไทย การสอ่ื สารเอกลักษณ์ความเปน็ ไทยผา่ นสอื่ สรา้ งสรรค์และนวตั กรรมทางสือ่ ตา่ งๆ เช่น รายการโทรทัศน์ การจัดแสดง Roadshow เป็นต้น และการส่งเสริมเอกลักษณ์ของแต่ละภูมิภาคและจังหวัด โดยการพัฒนาแบรนด์และส่ือสารความแตกต่างของภาคและจังหวัดต่างๆ ในรูปแบบการเล่าเร่ือง (Storytelling) การส่อื สารเร่อื งราวอย่างสร้างสรรค์ผ่านชอ่ งทางการตลาดท่เี ป็นทีน่ ยิ มในกลุ่มเป้าหมาย ๔) ส่งเสริมการท่องเท่ียวภายในประเทศเเละการท่องเที่ยวที่สมดุลเชิงพ้ืนที่เเละเวลา โดยการสร้างการรับรู้ สนิ ค้า บรกิ าร และแหล่งทอ่ งเท่ียว เพ่ือกระตนุ้ การท่องเท่ียวนอกฤดูกาล อาทิ การจดั กิจกรรม เทศกาล และงานประเพณี ประจ�ำถิ่นในแต่ละเดือน การสร้างความนิยมของจังหวัดท่องเที่ยวรอง เช่น การโฆษณาประชาสัมพันธ์ และการส่งเสริม การขายแพ็กเกจการท่องเท่ียวร่วมกับภาคเอกชน เป็นต้น และการส่งเสริม “ไทยเที่ยวไทย” ได้แก่ การสร้างค่านิยม การเดินทางท่องเที่ยวในประเทศให้แก่คนไทยทุกคนในทุกเพศทุกวัย การส่งเสริมการตลาดแบบมีเป้าหมายเฉพาะ เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มนักเรียนนักศึกษา กลุ่มสุภาพสตรี รวมถึงการสนับสนุนมาตรการทางการเงินเพ่ือส่งเสริมการใช้จ่าย ชว่ งการทอ่ งเทีย่ ว อาทิ มาตรการการลดหยอ่ นทางภาษี ๕) ส่งเสริมความร่วมมือกับผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องเเละการใช้เทคโนโลยีในการท�ำการตลาด ด้วยการส่งเสริม ความร่วมมือระหว่างภาคส่วนในการท�ำการตลาด ได้แก่ การร่วมมือกับชุมชนในการสร้างสรรค์สินค้าและบริการ ทางการท่องเที่ยว ให้สะท้อนอัตลักษณ์ของชุมชนและสอดคล้องแบรนด์จังหวัด การส่งเสริมการตลาดร่วมกันระหว่าง ภาครัฐและภาคเอกชน และการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนการตลาด เช่น การสนับสนุนการพัฒนาและต่อยอด แอปพลิเคชันที่ส่งเสริมการท�ำการตลาด เพ่ิมประสิทธิภาพหน่วยงานที่รับผิดชอบการตลาดดิจิทัล ท้ังในด้านการดูแล บรหิ าร และวเิ คราะห์สถติ ิ ขอ้ มูลออนไลนเ์ กีย่ วกับการท่องเท่ยี วไทย เเผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ฌ คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแหง่ ชาติ

ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การบรู ณาการการบรหิ ารจดั การการทอ่ งเทยี่ ว และการสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ ๑) ส่งเสริมการก�ำกับดแู ลการพฒั นาเเละบรหิ ารจดั การการท่องเทยี่ วอยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยการเสริมสร้าง การท�ำงานอย่างบูรณาการระหว่างหน่วยงานระดับนโยบาย โดยมีคณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติและ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นหน่วยงานหลักในการก�ำหนดนโยบาย ประสานงาน ก�ำกับติดตามและประเมินผล การด�ำเนินงาน ส่งเสริมการกระจายอ�ำนาจสู่หน่วยงานระดับภูมิภาคและท้องถ่ิน ขับเคล่ือนแผนและการปฎิบัติงานท่ี สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวชาติ พัฒนากระบวนการการท�ำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐ เอกชนและ ประชาชน ส่งเสริมการแลกเปล่ียนข้อมูลองค์ความรู้ จัดสรรงบประมาณและบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการ ของหน่วยงานในทุกระดับ ผลักดันให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการท่องเท่ียว ส่งเสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน (Community - based Tourism: CBT) จัดให้มีแผนบริหารจัดการความเส่ียงและแผนบริหารจัดการสภาวะวิกฤต ด้านการทอ่ งเทีย่ วในทุกมติ ิ ๒) ปรับปรุงกฎหมายข้อบังคับเเละมาตรฐานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการท่องเที่ยว และการบังคับใช้กฎหมาย อย่างจริงจัง โดยการทบทวนแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบท่ีเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวให้สอดคล้อง กบั สถานการณใ์ นปจั จบุ นั สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั ในการบงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งจรงิ จงั กำ� หนดบทบาท และความรับผิดชอบของหน่วยงานที่เก่ียวข้องอย่างชัดเจน ส่งเสริมการปฎิบัติตามกฎหมายและข้อระเบียบ ด้านการทอ่ งเที่ยวตา่ งๆ ประชาสัมพันธ์ เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจในระเบยี บและกฎหมายดา้ นการท่องเท่ียว ๓) สนับสนุนการลงทุนจากภาคเอกชนเเละการจัดท�ำศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว อาทิ ส่งเสริม ความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครฐั และเอกชนในการลงทนุ ตา่ งๆ และการจดั ตงั้ หนว่ ยบรหิ ารและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ส�ำหรับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ การจัดท�ำ Tourism Intelligence Center และสนับสนุนการแบ่งปันข้อมูลกลาง แกท่ กุ ภาคสว่ นทเี่ ก่ยี วข้องให้สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผู้ใชง้ าน ๔) ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศเพ่ือการพัฒนาการท่องเที่ยว โดยการประสานความร่วมมือกับนานา ประเทศในการส่งเสริมการพัฒนาท่องเท่ียวและการสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ ระดับตา่ งๆ เชน่ APEC ASEAN GMS ACMECS IMT - GT สนับสนนุ ให้ตวั แทนประเทศไทยในองคก์ รและหนว่ ยงานต่างๆ มีบทบาทในเวทีนานาชาติ เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของประเทศไทย และอ�ำนวยความสะดวกในการเดินทางท่องเท่ียว ในระดบั ภมู ิภาค เช่น การลดขั้นตอนการเดนิ ทางเขา้ ประเทศ การตรวจลงตราและใบขบั ขท่ี ค่ี รอบคลมุ ทั้งภมู ภิ าค เป็นต้น สง่ เสรมิ ความสมั พนั ธใ์ นรปู แบบเมอื งพเี่ มอื งนอ้ งดา้ นการทอ่ งเทยี่ วกบั ตา่ งประเทศ สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว บนเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้�ำโขง (Greater Mekong Subregion: GMS) เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจ แนวตะวนั ออก - ตะวนั ตก (East-West Economic Corridor: EWEC) เสน้ ทางระเบยี งเศรษฐกจิ เหนอื – ใต้ (North South Economic Corridor: NSEC) และส่งเสริมการตลาดการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวในภาพรวมของกลุ่มประเทศ ตามกรอบความรว่ มมอื ระหว่างประเทศตา่ งๆ ๕. การขับเคล่ือนแผนพฒั นาการทอ่ งเท่ียวสู่การปฏบิ ตั ิ การขบั เคลอื่ นแผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) สกู่ ารปฏบิ ตั นิ น้ั ขนึ้ อยกู่ บั ปจั จยั หลายประการ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในการรว่ มกนั วางนโยบายการใชท้ รพั ยากร และงบประมาณ ท่ีเก่ียวข้องด�ำเนินการตามขอบเขตหน้าท่ีความรับผิดชอบของตน เพ่ือให้การพัฒนาการท่องเที่ยวเป็นไปอย่างมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) เกิดการพัฒนาขับเคลื่อน ญ เเผนพัฒนาการท่องเทยี่ วแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแหง่ ชาติ

อย่างสัมฤทธ์ิผล จึงได้มีการวางระบบความเช่ือมโยงของแผนพัฒนาต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน แผนแม่บทเฉพาะด้านแผนปฏิบัติการ ทั้งในระดับเขตพัฒนาการท่องเท่ียว กลุ่มจังหวัด และท้องถ่ิน และการใช้กลไก ภาคีเครือขา่ ยตา่ งๆ ท่ใี ห้ความสำ� คัญกับความรว่ มมอื ภาครฐั เอกชน และประชาชน รวมถงึ ระบบการจัดสรรงบประมาณ ที่มปี ระสทิ ธภิ าพทต่ี ้องตอบสนองตอ่ การพฒั นาเชงิ บูรณาการและมีความต่อเน่ือง อีกทั้งต้องมีการพฒั นาระบบการตดิ ตาม ประเมินผลการด�ำเนินงานของภาครัฐที่สอดคล้องกับเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาตามแผนอย่างแท้จริง โดยมี กระบวนการขบั เคลือ่ นในแต่ละระดับ ดงั นี้ ๕.๑ การด�ำเนินงานในระดับนโยบาย คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติเป็นหน่วยงานหลักในการ ก�ำหนดนโยบาย โดยมีกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นผู้รับนโยบายเพ่ือประสานการแปลงนโยบายหรือแผนไปยัง หน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง ท้ังหน่วยงานส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถ่ิน ในการจัดท�ำแผนปฏิบัติการประจ�ำปี ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติเพื่อด�ำเนินการในแต่ละปีงบประมาณ รวมท้ังการติดตามประเมินผล การดำ� เนนิ งานตามแผน และนำ� เสนอตอ่ คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ ทงั้ นี้ ตอ้ งมกี ารประสาน ดแู ล กำ� กบั ดำ� เนนิ งานรว่ มกนั ระหวา่ งหนว่ ยงานระดบั นโยบายและพนื้ ทคี่ วบคกู่ นั ไปดว้ ย ไดแ้ ก่ คณะกรรมการนโยบายการบรหิ ารงาน จงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั แบบบรู ณาการ คณะกรรมการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วประจำ� เขตพฒั นาทอ่ งเทย่ี ว และคณะอนกุ รรมการ รายสาขา ไดแ้ ก่ คณะอนกุ รรมการสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วทางนำ้� คณะอนกุ รรมการอำ� นวยการพฒั นาและสง่ เสรมิ ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางด้าน Medical and Wellness คณะอนุกรรมการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงกีฬา การท่องเที่ยวสีเขียว การท่องเท่ียวเพื่อการประชุมและนิทรรศการ และการท่องเท่ียวกลุ่มมุสลิม คณะอนุกรรมการพัฒนาความปลอดภัย ด้านการท่องเท่ียว และคณะอนุกรรมการส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวไทย เป็นต้น เพื่อให้การพัฒนา ทั้งระดับนโยบาย พ้ืนท่ี และรายสาขา มีการบูรณาการเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๕.๒ การด�ำเนินงานในระดับพ้ืนที่ คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวประจ�ำเขตพัฒนาการท่องเท่ียวเป็น หนว่ ยงานหลกั ในการดำ� เนนิ การพฒั นาในระดบั พนื้ ท่ี โดยเปน็ แกนกลางในการประสานนโยบายจากคณะกรรมการนโยบาย การท่องเท่ียวแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติในระดับพ้ืนท่ี โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องท้ังหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา องค์กรระหว่างประเทศ และท้องถ่ิน รวมถึง คณะกรรมการบริหารกลุ่มจังหวัด และคณะกรรมการบริหารงานจงั หวดั แบบบูรณาการ เพ่อื ให้การพัฒนาการท่องเทีย่ วในระดับพ้ืนท่ี จังหวดั และเขตพัฒนา การท่องเที่ยว สอดคล้องตามแนวทางและเป้าหมายการพัฒนาในระยะแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๕.๓ การดำ� เนนิ งานระดบั ชมุ ชน หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วควรสนบั สนนุ ใหภ้ าคประชาชน และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศในบริบทที่เหมาะสม โดยเฉพาะการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว ที่สอดรับกับวิถีชีวิตของชุมชนท้องถ่ินผ่านกระบวนการจัดท�ำแผน และขับเคลื่อนแผนพัฒนาระดับชุมชน ท้ังน้ี การเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชนและเครือข่ายภาคประชาชนเจ้าของพื้นท่ี จะช่วยเพิ่มเอกลักษณ์และความเป็นไทยให้กับประสบการณ์การท่องเที่ยว และเป็นการกระจายรายได้จากการท่องเที่ยว สปู่ ระชาชนอย่างแทจ้ รงิ เเผนพัฒนาการท่องเท่ยี วแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ฎ คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ



ส่ว๑นที่ บทนำ� คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (ท.ท.ช.) มอี ำ� นาจและหนา้ ทหี่ ลกั ในการสง่ เสรมิ การบรหิ ารและพฒั นา การท่องเที่ยว รวมทั้งจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาอนุมัติ ซ่ึงที่ผ่านมาได้ม ี การจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ เพ่ือใช้เป็นกรอบและแนวทางในการขับเคลื่อน การท่องเที่ยวของประเทศในระยะ ๕ ปี ทั้งนี้ เพื่อมุ่งให้ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ มีขีดความสามารถ ในการแข่งขันด้านการท่องเท่ียวในระดับโลก สามารถสร้างรายได้และกระจายรายได้สู่ชุมชนและท้องถิ่น โดยค�ำนึงถึง ความเป็นธรรม สมดุล และย่ังยืน ผลการพัฒนาตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ พบว่า การด�ำเนินงานของแผนประสบความส�ำเร็จ ทั้ง ๓ ตัวชี้วัด ได้แก่ ๑) ตัวช้ีวัดด้านขีดความสามารถทางการแข่งขัน ด้านการทอ่ งเท่ยี ว จากการจดั อันดบั โดย World Economic Forum ด้วยดชั นี Travel & Tourism Competitive Index ในปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยมีขีดความสามารถอยู่ท่ีอันดับ ๓๕ จาก ๑๔๑ ประเทศทั่วโลก แสดงให้เห็นถึงการพัฒนา การท่องเที่ยวท่ีผ่านมาท่ีสามารถเพ่ิมขีดความสามารถของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทยได้ ๒) ตัวช้ีวัดด้านรายได ้ จากนักท่องเท่ียวท้ังต่างชาติและนักท่องเท่ียวไทย พบว่ารายได้จากการท่องเที่ยวในช่วงระหว่าง ปี ๒๕๕๔ - ๒๕๕๘ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๕.๖ ต่อปี บรรลุเป้าหมาย ซ่ึงต้ังไว้ท่ีร้อยละ ๕ และ ๓) ตัวช้ีวัดความส�ำเร็จสุดท้ายในด้านการจัดตั้ง เขตพัฒนาการท่องเที่ยว ซ่ึงได้มีการจัดตั้งท้ังหมด ๘ เขต ตามเป้าหมายที่ต้ังไว้ ดังน้ัน อาจกล่าวได้ว่าการด�ำเนินงาน ตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ส�ำเรจ็ ลุลว่ งในทกุ ตวั ชว้ี ัดความสำ� เรจ็ อย่างไรก็ดี แมก้ ารดำ� เนินงานในระยะที่ผ่านมาจะประสบผลส�ำเรจ็ ในดา้ นการเพมิ่ ปริมาณนกั ท่องเทยี่ วและรายได้ จากการท่องเท่ียว แต่ยังประสบปัญหาและอุปสรรคส�ำคัญหลายประการ อาทิ จ�ำนวนนักท่องเท่ียวและรายได้ ยงั คงกระจกุ ตวั อยใู่ นเมืองทอ่ งเที่ยวหลัก ภาพลักษณ์การทอ่ งเท่ียวในแงล่ บที่ต้องเร่งแก้ไขปรับปรุง เพ่อื สร้างความเช่ือมัน่ ของนักท่องเที่ยว รวมทั้งความเสื่อมโทรมของทรัพยากรการท่องเที่ยว และขาดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม ่ ปัญหาการเข้าถึงแหล่งท่องเท่ียวและการเชื่อมโยงระหว่างแหล่งท่องเท่ียว ข้อจ�ำกัดในการพัฒนาและยกระดับบุคลากร ด้านการท่องเที่ยว ความล้าสมัยและความขัดแย้งของกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว การขาดข้อมูลเชิงลึก เพื่อการวิเคราะห์และวางแผนพัฒนาการท่องเท่ียว ตลอดจนขาดการบูรณาการท�ำงานของกลไกการบริหารจัดการ การท่องเท่ยี วทง้ั ระบบ สิ่งเหล่าน้ลี ว้ นมคี วามจ�ำเป็นต้องได้รับการแก้ไขและพัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง ประกอบกบั สภาพแวดลอ้ มและบรบิ ทตา่ งๆ ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ อตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วมกี ารเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา ทงั้ ทเี่ ปน็ ปจั จยั ภายใน เชน่ สถานการณก์ ารเมอื งของประเทศ นโยบายของภาครฐั การปรบั ตวั ของภาคเอกชน ความรว่ มมอื และการมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาคที ่เี ก่ียวขอ้ ง เป็นต้น และปจั จยั ภายนอก อาทิ สภาวะการแข่งขนั ในอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและความคาดหวังของนักท่องเท่ียว การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ความร่วมมือและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศท้ังในระดับภูมิภาค และระดับโลก และนอกจากนี้ ปัจจุบันประเทศไทยอยู่ในช่วงเวลาแห่งการปฏิรูป เพื่อให้ก้าวไปสู่การเป็นประเทศ ทมี่ ีความม่นั คง มง่ั ค่งั และย่งั ยนื โดยประชาชนทกุ ภาคสว่ นของสงั คมเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการปฏิรปู เพ่ือประสานประโยชน์ และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข จึงนับเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยให้ความส�ำคัญกับการก�ำหนดวิสัยทัศน์ การพัฒนาการท่องเที่ยว ๒๐ ปี และแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) โดยม ี หลักการส�ำคัญ คือ การส่งเสริมความม่ันคง มั่งค่ัง ย่ังยืน ของประเทศ การวางต�ำแหน่งทางการตลาดในฐานะ เเผนพัฒนาการท่องเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 1 คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแหง่ ชาติ

เป็นแหล่งท่องเท่ียวคุณภาพ การเป็นแหล่งเพ่ิมรายได้และกระจายความเจริญสู่ประชาชนและชุมชน รวมถึงการเชิดชู อัตลักษณ์ และส่งเสริมวัฒนธรรมไทย โดยมีเป้าหมายของการพัฒนา คือ การยกระดับประเทศไทยให้เป็น ประเทศพฒั นาแลว้ การบรหิ ารจดั การอย่างมีประสิทธภิ าพ และการเปน็ แหล่งทอ่ งเท่ียวคณุ ภาพอยา่ งยั่งยนื การจัดท�ำวิสัยทัศน์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ และแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ได้ค�ำนึงถึงบริบทของประเทศไทยในการพัฒนาภายใต้กรอบการวิเคราะห์แบบองค์รวม ประกอบด้วย การประเมินประสิทธิภาพของการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวในระยะท่ีผ่านมาการศึกษา สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของตลาดไทยและตลาดโลก และการประเมินผลกระทบต่อการพัฒนาการท่องเที่ยว ของประเทศไทยในอนาคต เพอื่ กำ� หนดประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ กลไกการดำ� เนนิ ยทุ ธศาสตร์ และแนวทางการขบั เคลอื่ นแผนฯ สู่การปฏิบัติ โดยสรุปจากการศึกษาข้อมูลปฐมภูมิที่ได้ส�ำรวจความเห็นจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ท้ังภาครัฐและเอกชน รวมถึงข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง และการศึกษาและถอดบทเรียนประเทศกรณีตัวอย่างที่ดี เพอื่ นำ� มาสงั เคราะหเ์ ปน็ กรอบแนวคดิ การพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว ตาม ๕ ขน้ั ตอนหลกั ดงั น้ี ๑) การประเมินผลการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ เพ่ือติดตาม ประเมินผลการพัฒนาตามแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ทั้งในด้านผลลัพธ์ของตัวชี้วัดความส�ำเร็จและใน ด้านการด�ำเนินงานของแผนจากการรับฟังความคิดเห็นของทุกภาคส่วน ผลจากการศึกษาจะเป็นข้อเรียนรู้ และข้อควร ปรบั ปรุงเพ่ือการพัฒนาแผนพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ตอ่ ไป ๒) การศึกษาสภาพแวดล้อมและบริบทการท่องเท่ียวของประเทศไทยและของโลก เพ่ือศึกษาสถานการณ์ ความเคลื่อนไหวของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว การเปล่ียนแปลงและแนวโน้มที่คาดว่าจะส่งผลกระทบต่อการก�ำหนด ทศิ ทางการพฒั นาในระยะของแผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) โดยมพี นื้ ฐานการกำ� หนด ทิศทางพัฒนาจากการศึกษา ถึงบริบทของอุตสาหกรรมทั้งในระดับประเทศและระดับโลก เพ่ือให้ทิศทางการพัฒนา ตั้งอยู่บนพื้นฐานของศกั ยภาพที่แท้จรงิ และมคี วามเป็นไปได้ ๓) การทบทวนการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วของประเทศคแู่ ขง่ และประเทศตน้ แบบรายสำ� คญั เนอื่ งจากการทอ่ งเทย่ี ว เป็นอุตสาหกรรมที่ส�ำคัญของหลายประเทศทั่วโลกท่ีมีการแข่งขันสูง ดังน้ัน เพื่อศึกษาบริบทการท่องเท่ียว และทิศทาง การพัฒนาของหลายประเทศทั่วโลก เพ่ือให้ได้มาซ่ึงข้อเรียนรู้ส�ำหรับประเทศไทย และตัวอย่างการพัฒนาที่ประเทศไทย สามารถปรบั ใชไ้ ด้ โดยการศกึ ษาขอ้ มลู เชงิ ลกึ ใน ๒๐ ประเทศทว่ั โลก และคดั เลอื ก ๗ ประเทศ เพอ่ื เปน็ กลมุ่ ประเทศตน้ แบบ และประเทศคู่แข่งที่มีบริบทการท่องเที่ยวสอดคล้องกับอุตสาหกรรมท่องเท่ียวของไทย เพ่ือเป็นกรณีศึกษาส�ำหรับ การพฒั นาการท่องเทีย่ วของไทย ๔) การทบทวนนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเท่ียว การท่องเท่ียวเป็นอุตสาหกรรม ท่ีช่วยสร้างรายได้ และมีความสามารถท่ีจะกระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง หลายหน่วยงานจึงได้ให้ ความสำ� คัญกับการร่วมพัฒนาการท่องเทยี่ ว ดงั นัน้ เพ่อื ให้การพัฒนาทง้ั หมดเป็นไปอย่างสอดคลอ้ งและมที ศิ ทางเดียวกนั การพัฒนาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติจ�ำเป็นต้องบูรณาการกับแผนพัฒนาอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวเน่ือง เพื่อให้การพัฒนา มีประสิทธภิ าพและเป็นรูปธรรม ๕) การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ จากผทู้ มี่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง โดยคำ� นงึ ถงึ การมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน/ประชาสังคม ซ่ึงโดยสรุปแล้วได้มีการสัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เช่ียวชาญในสาขา การท่องเท่ียวกว่า ๕๐ คน จัดประชุมกลุ่มย่อยเพ่ือรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ด้านการท่องเท่ียวจากทุกภาคส่วนใน ๔ ภูมิภาค และส่วนกลาง โดยมีผู้เข้าร่วมรวมทั้งส้ินกว่า ๔๐๐ คน 2 เเผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ

จัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นต่อข้อเสนอวิสัยทัศน์การท่องเท่ียวไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ และจัดประชุมเพ่ือรับฟัง ความคิดเห็นต่อร่างแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จากทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ทอ้ งถิน่ และส่อื มวลชน โดยมีผเู้ ข้าร่วมกว่า ๖๐๐ คน ทั้งน้ี การจัดท�ำวิสัยทัศน์การท่องเท่ียวไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ และแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ได้มีการเน้นกระบวนการท�ำงานที่เป็น Consensus Building ท่ีผ่านการรับฟังความคิดเห็น ของทุกภาคส่วน ต้ังแต่สภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) สภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน/ภาคประชาสังคม ตลอดจนการท�ำงานผ่านกลไกการมีส่วนร่วมจากผู้แทน ของหน่วยงานภาครัฐที่เก่ียวข้อง ในรูปแบบของคณะอนุกรรมการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ภายใต้คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติ และคณะทำ� งานพฒั นาการท่องเทีย่ วภายใต้ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เพ่ือให้ได้แผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติท่ีเกิดจากกระบวนการมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง สร้างความเข้าใจท่ีถูกต้องตรงกันเกี่ยวกับสาระส�ำคัญของแผน และการน�ำแผนฯ ไปส่กู ารปฏิบัติ ๑ ผลการดำ� เนินงาน คณะอนุกรรมการจดั ทำ� แผนฯ / คณะทำ� งานฯ = การวจิ ยั ขัน้ ปฐมภมู ิ ตามแผนฯ พ.ศ. ๒๕๕๕- = การวิจยั ข้นั ทตุ ยิ ภมู ิ ๒๕๕๙ = การน�ำเสนอเพื่อพจิ ารณา/ให้ข้อเสนอแนะ/เห็นชอบ ๒ สภาพแวดลอ้ มและบรบิ ท บทวิเคราะห์ ข้อเสนอ (ร่าง) คณะ คณะกรรมการ คณะรัฐมนตรี การทอ่ งเทย่ี วของ สถานการณ์ วิสยั ทัศน์ แผนพฒั นา อนุกรรมการ นโยบาย การท่องเทยี่ ว การท่องเที่ยวไทย การทอ่ งเท่ียว จัดทำ� แผนฯ ประเทศไทยและของโลก ระยะ ๒๐ ปี แหง่ ชาติ การท่องเท่ียว ๓ การพฒั นาการทอ่ งเที่ยว (พ.ศ.๒๕๗๙) ฉบบั ท่ี ๒ แหง่ ชาติ ของประเทศคแู่ ข่งและ (พ.ศ. ประเทศตน้ แบบรายสำ� คญั ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ๔ นโยบาย/แผนยทุ ธศาตร์ที่ เกี่ยวข้องกบั การท่องเทย่ี ว ๕ ของประเทศไทย การประชมุ เพ่อื รบั ฟังความคดิ เหน็ ต่อ ๕ การสัมภาษณ์ ขอ้ เสนอวสิ ัยทศั น์ และ (รา่ ง) แผนฯ เชงิ ลึกผเู้ ช่ียวชาญ ด้านการทอ่ งเทีย่ ว ๕ การประชุมกลุ่มยอ่ ย ในภูมภิ าคเพ่ือรบั ฟงั ความคดิ เห็น กระบวนการจดั ท�ำวิสัยทศั น์และแผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวไทย การศกึ ษาในครง้ั นี้ ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั ในการดำ� เนนิ งานตามหลกั วชิ าการและการระดมความคดิ เหน็ และความตอ้ งการ ของผมู้ สี ว่ นได้ - สว่ นเสยี ในทกุ ภาคสว่ น ทำ� ใหส้ ามารถคาดการณไ์ ดว้ า่ การศกึ ษาและการจดั ทำ� แผน ในครง้ั นี้ จะไดร้ บั ข้อมูล เชิงลึกท่ีครบทุกมิติ ทั้งบริบทในประเทศ บริบทต่างประเทศ บริบทตลาดโลก อีกทั้งได้ข้อมูลเชิงลึกเก่ียวกับสภาวการณ์ ของอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วของไทยและทศิ ทางการพฒั นาในมมุ มองของหลายหนว่ ยงานและของผทู้ รงคณุ วฒุ หิ รอื ผเู้ ชยี่ วชาญ ในสาขาการท่องเท่ียว เพ่ือน�ำมาสังเคราะห์เป็นแนวทางการพัฒนาการท่องเท่ียวของไทย และยุทธศาสตร์การพัฒนา ทเ่ี หมาะสม สอดคลอ้ งกบั สถานการณแ์ ละกา้ วทนั การเปลย่ี นแปลง เพื่อใหก้ ารขับเคลอ่ื นแผนพฒั นาการท่องเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๘) หรอื ในอีกระยะ ๕ ปีขา้ งหนา้ บรรลผุ ลส�ำเรจ็ ตามวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายท่ีได้กำ� หนด ไว้ในระยะของแผนฉบับนี้ เเผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 3 คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ

ส่ว๒นท่ี สถานการณ์ แนวโนม้ และทิศทางการทอ่ งเทย่ี ว ๑. สภาพแวดล้อมและบรบิ ทการท่องเทย่ี ว๓ อุตสาหกรรมท่องเท่ียวถือเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักของโลก ซึ่งในปี ๒๕๕๘ อุตสาหกรรมท่องเท่ียวท่ัวโลก มมี ูลคา่ กวา่ ๗.๘๖ ล้านล้านเหรยี ญสหรัฐ หรอื รอ้ ยละ ๙.๘ ของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมของประเทศทั่วโลก (Gross Domestic Product: GDP) ในสว่ นของอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วของไทยนนั้ ไดส้ รา้ งรายไดก้ วา่ ๒.๒๓ ลา้ นลา้ นบาท มมี ลู คา่ อตุ สาหกรรม ท่องเท่ียวกว่าร้อยละ ๑๗ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ซ่ึงถือได้ว่าเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมส�ำคัญท่ีช่วยขับเคลื่อน เศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศ กอปรกบั อตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วนน้ั มกี ารเปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลาตามสภาวการณโ์ ลกและ พฤตกิ รรมของผ้บู รโิ ภค อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทยจึงต้องมีการปรับตัวตามกระแสโลกทเี่ ปลี่ยนแปลงไป และวางแผน การพัฒนาให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาด เพือ่ รกั ษาและพฒั นาขดี ความสามารถดา้ นการทอ่ งเที่ยวของประเทศ ๑.๑ สถานการณแ์ ละแนวโนม้ การทอ่ งเที่ยวในตลาดโลก ๑.๑.๑ การท่องเที่ยวท่ัวโลกมีการเติบโตและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จากรายงานขององค์การ การท่องเท่ียวโลก (The United Nations World Tourism Organization: UNWTO) พบว่าในปี ๒๕๕๘ มีจ�ำนวน นักท่องเที่ยวทั่วโลกอยู่ท่ี ๑.๒ พันล้านคน โดยในช่วงปี ๒๕๕๓ - ๒๕๕๘ จ�ำนวนนักท่องเท่ียวทั่วโลกมีอัตราการเติบโต อยู่ท่ีรอ้ ยละ ๖ ท้ังน้ี UNWTO ไดค้ าดการณ์ว่าในปี ๒๕๗๓ จะมีนกั ทอ่ งเทยี่ วท่ีเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศทว่ั โลก จ�ำนวนกวา่ ๑.๘ พนั ลา้ นคน หรือคิดเป็นอตั ราการขยายตัวเฉล่ยี ร้อยละ ๓.๓ ต่อปี ซ่ึงคาดการณเ์ ปน็ นกั ท่องเทย่ี วทเี่ ดนิ ทาง มายังภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก จ�ำนวน ๕๓๕ ล้านคน คิดเป็นอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยร้อยละ ๕๗ ในจ�ำนวนดังกล่าวแบ่งออก เปน็ นักท่องเท่ยี วในแถบเอเชยี ตะวันออกเฉียงเหนอื จ�ำนวน ๒๙๓ ล้านคน เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ จ�ำนวน ๑๘๗ ล้านคน โอเชียเนยี จ�ำนวน ๑๙ ล้านคน และเอเชียใต้ จำ� นวน ๓๖ ล้านคน ๒๐๐๐ คาดการณโ์ ดย UNWTO ๑๘๐๐ �จำนวนนัก ่ทองเ ่ีทยว (ล้านคน)๑๖๐๐ ภูมภิ าคตะวนั ออกกลาง ๑๔๐๐ ทวีปยุโรป ๑๒๐๐ ภมู ิภาคเอเชียแปซิฟกิ ๑๐๐๐ ทวปี อเมริกา ๘๐๐ ทวีปแอฟรกิ า ๖๐๐ ๔๐๐ ๑๙๙๕ ๒๐๑๐ ๒๐๑๖ ๒๐๒๐ ๒๐๓๐ ๒๐๐ ท่องเทีย่ วตา่ งชาตทิ ั่วโลกและการคาดการณใ์ นปี ๒๕๗๓ โดย UNWTO ๐๑๙๘๐ ๓ ทมี่ า กรมการท่องเที่ยว, UNWTO, WTTC และ WEF 4 เเผนพฒั นาการท่องเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ

๑.๑.๒ ในปี ๒๕๕๘ การท่องเท่ียวท่ัวโลกมีมูลค่าประมาณ ๗.๘๖ ล้านล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็น รอ้ ยละ ๙.๘ ของผลิตภณั ฑ์มวลรวมในประเทศทว่ั โลก (Gross Domestic Product: GDP) มีการเติบโตจากปี ๒๕๕๐ ซึง่ มีมูลคา่ อยู่ที่ ๖.๓ ลา้ นลา้ นเหรยี ญสหรฐั รอ้ ยละ ๓ ต่อปี ทงั้ น้ี ปัจจยั ที่ส่งผลต่อการขยายตัวของการทอ่ งเทยี่ ว ได้แก่ ๑) ปัจจัยโดยตรง (Direct Contribution) ประกอบด้วยการจับจ่ายใช้สอยของนักท่องเที่ยวต่างชาติ และนักท่องเที่ยว ในประเทศ รวมถึงการใช้จ่ายของรัฐบาลในภาคบริการด้านการท่องเท่ียวส่งผลโดยตรงต่อ GDP ของการท่องเท่ียวโลก ประมาณ ๒.๕ ล้านล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณร้อยละ ๓๑ และ ๒) ปัจจัยโดยอ้อม (Indirect Contribution) ประกอบด้วย การลงทุนจากอุตสาหกรรมอ่ืนที่มีความเกี่ยวโยงกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การใช้จ่ายของรัฐบาล ในการสนับสนุนกิจกรรมการท่องเท่ียวโดยท่ัวไป และการซื้อสินค้าและบริการโดยธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเท่ียว เพ่ือน�ำมาใช้ผลิตผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ส่ิงเหล่าน้ีล้วนส่งผลอย่างมีนัยส�ำคัญต่อ GDP การท่องเท่ียวโลก ท�ำให้ในปี ๒๕๕๘ มีมูลค่าต่อ GDP การท่องเท่ียวโลก ประมาณ ๕.๔ ล้านล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ ๖๙ ของมลู ค่าของอุตสาหกรรมทอ่ งเท่ียวโลก GDP จาก ๙.๖ ร้อยละ ๓ ตอ่ ปี ๙.๖ ๙.๗ %GDP สดั ส่วนของ GDP ทั้งหมด ภาคการท่องเทย่ี ว ๙.๒ ๙.๔ ๙.๕ ๙.๘ ๑๐ ปจั จัยที่สง่ ผลโดยอ้อมตอ่ (ล้าน๑ล๐้านเหรยี๙ญ.๙สหรฐั ) ๙.๘ GDP การท่องเท่ียว ปจั จัยทีส่ ง่ ผลโดยตรง ๘ ๖.๘ ๗.๑ ๗.๓ ๗.๖ ๗.๙ ๘ ต่อ GDP การทอ่ งเทย่ี ว ๖.๓ ๖ ๖.๓ ๖.๕ ๖.๖ ๖ ๔ ๔.๓ ๔.๔ ๔.๕ ๔.๕ ๔.๗ ๔.๙ ๕.๐ ๕.๒ ๕.๔ ๔ ๒ ๑.๙ ๒.๐ ๒.๑ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๒ ๒.๐ ๒.๕ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๐ ผลกระทบของอตุ สาหกรรมทอ่ งเทีย่ วต่อ GDP โลก ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๘ ๑.๒ สถานการณ์และแนวโน้มการท่องเท่ยี วของประเทศไทย ๑.๒.๑ อุตสาหกรรมท่องเท่ียวไทยขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จากจ�ำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ที่เพ่ิมสูงข้ึนติดอันดับที่ ๑๑ ของโลก สะท้อนให้เห็นจากแนวโน้มจ�ำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้ที่ขยายตัวเพ่ิมข้ึน อยา่ งรวดเรว็ และตอ่ เนอื่ ง โดยในระยะทผี่ า่ นมาจำ� นวนนกั ทอ่ งเทยี่ วเพม่ิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จาก ๑๔ ลา้ นคน ในปี ๒๕๕๒ มาเปน็ ๒๙.๘ ลา้ นคน ในปี ๒๕๕๘ ซ่งึ มากเป็นอันดบั ที่ ๑๑ ของโลก ประเทศทีเ่ ดินทางมาท่องเท่ียวประเทศไทยมากทสี่ ุด ได้แก่ จีน มาเลเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี และลาว ตามล�ำดับ ส�ำหรับแนวโน้มนักท่องเที่ยวภายในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย) พบว่าในช่วงปี ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘ มีการเติบโตกว่าร้อยละ ๙ ต่อปี โดยในปี ๒๕๕๗ นักท่องเท่ียวไทยเดินทางคิดเป็น ๑๓๖.๒ ล้านคนครง้ั และเพมิ่ สูงขน้ึ ในปี ๒๕๕๘ ท่ี ๑๓๘.๘ ล้านคนคร้ัง เเผนพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 5 คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ

๑.๒.๒ รายไดจ้ ากการท่องเทีย่ วมแี นวโนม้ เพ่ิมขน้ึ ตามจำ� นวนนกั ท่องเทยี่ ว โดยในปี ๒๕๕๖ ประเทศไทย มรี ายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วอยทู่ ่ี ๑.๒ ลา้ นลา้ นบาท เพม่ิ ขนึ้ รอ้ ยละ ๑๙.๐๘ จากปที ผี่ า่ นมา แมว้ า่ ในปี ๒๕๕๗ จะมเี หตกุ ารณ์ ชุมนุมทางการเมอื ง ซง่ึ ส่งผลให้รายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ยี วลดลงเหลอื จำ� นวน ๑.๑๗ ลา้ นลา้ นบาท เพิ่มขนึ้ เพียงรอ้ ยละ ๔.๙๓ แต่รายได้ก็สามารถปรับตัวข้ึนสูงกว่าระดับเดิมมาอยู่ท่ี ๒.๒๓ ล้านล้านบาท ในปี ๒๕๕๘ ซ่ึงในจ�ำนวนน้ีแบ่งเป็น รายได้จากนักท่องเท่ียวต่างชาติ จ�ำนวน ๑.๔๔ ล้านล้านบาท และรายได้จากนักท่องเท่ียวไทย จ�ำนวน ๐.๗๙ ล้านล้านบาท นอกจากน้ัน จากการเก็บสถิติของ UNWTO ประเทศไทยมีรายได้จากนักท่องเท่ียวต่างชาติ สูงถึง ๔๔.๖ พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือสูงเป็นอับดับที่ ๖ ของโลก ทั้งน้ี คาดการณ์ว่ารายได้จากการท่องเท่ียว ท้งั นกั ท่องเทย่ี วชาวไทยและชาวต่างชาติ ในปี ๒๕๕๙ จะมรี ายไดร้ วม ๒.๔ ลา้ นล้านบาท และในปี ๒๕๖๐ จะมีรายได้ สูงถึง ๒.๕ ลา้ นล้านบาท อันดบั จำ� นวนนักทอ่ งเท่ยี วตา่ งชาติ (ลา้ นบาท) พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑ ฝร่งั เศส ๘๔.๕ ฝร่งั เศส ๘๓.๗ ๒ สหรัฐอเมรกิ า ๗๗.๕ สหรฐั อเมรกิ า ๗๕.๐ ๓ สเปน ๖๘.๒ สเปน ๖๔.๙ ๔ จีน ๕๖.๙ จีน ๕๕.๖ ๕ อติ าลี ๕๐.๗ อติ าลี ๔๘.๖ ๖ ตุรกี ๓๙.๕ ตุรกี ๓๙.๘ ๗ เยอรมนั นี ๓๕ เยอรมันนี ๓๓.๐ ๘ สหราชอาณาจกั ร ๓๔.๔ สหราชอาณาจักร ๓๒.๖ ๙ เม็กซิโก ๓๒.๑ รัสเซีย ๒๙.๘ ๑๐ รัสเซยี ๓๑.๓ เมก็ ซโิ ก ๒๙.๓ ๑๑ ไทย ๒๙.๙ ฮ่องกง ๒๗.๘ ๑๒ ออสเตรีย ๒๖.๗ มาเลเซีย ๒๗.๔ ๑๓ ฮ่องกง ๒๖.๗ ออสเตรยี ๒๕.๓ ๑๔ มาเลเซีย ๒๕.๗ ไทย ๒๔.๘ ๑๕ กรซี ๒๓.๖ กรซี ๒๒.๐ ประเทศท่มี จี ำ� นวนนกั ทอ่ งเทยี่ วต่างชาตสิ ูงสดุ ๑๕ อนั ดบั แรกของโลก๔ ๔ ท่ีมา UNWTO Tourism Hightlights ๒๐๑๖ Edition 6 เเผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ

อันดบั รายได้จากนกั ทอ่ งเท่ยี วต่างชาติ (ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ) พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑ สหรัฐอเมรกิ า ๒๐๔.๕๒ สหรัฐอเมริกา ๑๙๑.๓๓ ๒ จนี ๑๑๔.๑๑ จนี ๑๐๕.๓๘ ๓ สเปน ๕๖.๕๓ สเปน ๖๕.๑๑ ๔ ฝรังเศส ๔๕.๙๒ ฝรังเศส ๕๘.๑๕ ๕ สหราชอาณาจักร ๔๕.๔๖ สหราชอาณาจกั ร ๔๖.๕๔ ๖ ไทย ๔๔.๕๕ อติ าลี ๔๕.๔๙ ๗ อิตาลี ๓๙.๔๕ เยอรมันนี ๔๓.๓๒ ๘ เยอรมันนี ๓๖.๘๗ มาเก๊า ๔๒.๕๕ ๙ ฮ่องกง ๓๖.๑๕ ไทย ๓๘.๔๒ ๑๐ มาเก๊า ๓๑.๓๐ ฮอ่ งกง ๓๘.๓๘ ๑๑ ออสเตรเลยี ๒๙.๔๑ ออสเตรเลีย ๓๑.๙๔ ๑๒ ตรุ กี ๒๖.๖๒ ตรุ กี ๒๙.๕๕ ๑๓ ญี่ป่นุ ๒๔.๙๘ มาเลเซยี ๒๒.๖๐ ๑๔ อินเดีย ๒๑.๐๑ ออสเตรยี ๒๐.๘๒ ๑๕ ออสเตรีย ๑๘.๓๐ อนิ เดีย ๑๙.๗๐ ประเทศท่ีมีรายได้จากการทอ่ งเที่ยวสงู สดุ ๑๕ อันดบั แรกของโลก๕ ๑.๒.๓ การใช้จ่ายของนักท่องเท่ียวต่อคร้ังสูงขึ้นถึงแม้วันพักเฉล่ียของนักท่องเท่ียวจะลดลง โดยในปี ๒๕๕๘ นักท่องเที่ยวต่างชาติมีการใช้จ่ายเป็นจ�ำนวน ๕,๐๗๒.๖๙ บาทต่อวัน เพ่ิมข้ึนจากปีก่อนหน้ากว่าร้อยละ ๖.๒๓ ในทางตรงกนั ขา้ ม จำ� นวนวนั พกั เฉล่ียของนกั ทอ่ งเทีย่ วลดลงมาอยู่ทเี่ ฉลี่ย ๙.๕๕ วนั ซึ่งลดลงร้อยละ ๓.๕ จากปที ผี่ า่ นมา ท้ังน้ีเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของนักท่องเท่ียวในระยะใกล้ โดยเฉพาะนักท่องเท่ียวจากประเทศจีนและมาเลเซีย รวมทั้งประเทศเพือ่ นบ้านในอาเซียน อน่งึ ปัจจัยโดยรวมยงั ส่งเสริมการพฒั นาของนกั ทอ่ งเที่ยวต่างชาติ อาทิ สถานการณ์ ภายในประเทศทเี่ รม่ิ ดขี นึ้ ทำ� ใหก้ ารทอ่ งเทย่ี วไทยฟน้ื ตวั อยา่ งรวดเรว็ การเพมิ่ ขน้ึ ของจำ� นวนนกั ทอ่ งเทย่ี วจนี และคา่ โดยสาร สายการบนิ ระหวา่ งประเทศทลี่ ดลง ๕ ที่มา UNWTO Tourism Hightlights ๒๐๑๖ Edition เเผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 7 คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ

๕.๗ ๕.๕ ๕.๖ ๖.๐ ๔.๙ ๔.๖ ๔.๙ ๕.๑ ๔.๒ ๔.๙ ๕.๑ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๔ ๔.๖ ๔.๕๔.๗ ๔.๘ ๔.๒ ๔.๕ ๔.๗ ๔.๕ ๔.๗ ๔.๙ ๔.๓ ๔.๕ ๔.๒ ๓.๕ ๓.๙ ๓.๗ ๔.๐ ๔.๒ ๓.๑ อตั ราการ ค่าเฉล่ีย จีน มาเลเซยี ญ่ปี นุ่ เกาหลี ลาว อินเดยี สหราช สิงคโปร์ รัสเซยี สหรัฐ เตบิ โตเฉลย่ี ประเทศ อาณาจกั ร อเมริกา ๖.๕ ๕.๕ ๓.๔ ๒.๙ ๕.๒ ๑.๐ ๔.๑ ๕.๖ ๓.๔ ๓.๑ ๑.๘ ๒๕๕๔ ๒๕๕๖ ๒๕๕๘ การเติบโตของคา่ ใช้จา่ ยต่อการเดนิ ทางของนกั ท่องเท่ยี ว ๑๐ ประเทศหลกั ของไทย ๖ ๑.๓ การประเมินศกั ยภาพอุตสาหกรรมท่องเทย่ี วของประเทศไทย ๑.๓.๑ อุตสาหกรรมท่องเท่ียวไทยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ท�ำให้ในปัจจุบัน การท่องเท่ียวได้กลายเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ โดยหากจะพิจารณาจากความพร้อม และศกั ยภาพของประเทศไทยที่มตี อ่ การทอ่ งเท่ยี ว พบวา่ ประเทศไทยยงั มจี ดุ เด่นและขอ้ ไดเ้ ปรยี บจากประเทศคแู่ ขง่ หลาย ประการ เช่น ท�ำเลท่ีต้ังเป็นจุดศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณที ี่เป็นเอกลกั ษณ์ อัธยาศัยไมตรีของคนไทย เป็นตน้ นอกจากนี้ ในปี ๒๕๕๘ World Economic Forum: WEF ได้จดั อันดับขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นการท่องเทย่ี วของประเทศไทยอยู่ในอันดบั ที่ ๓๕ จาก ๑๔๑ ประเทศท่ัวโลก โดยหากพิจารณาในด้านท่ีส�ำคัญ พบว่าด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ประเทศไทยอยู่ในอันดับท่ี ๑๖ ดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐานของการคมนาคมทางอากาศ อยใู่ นอนั ดบั ที่ ๑๗ ดา้ นแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรม อยใู่ นอนั ดบั ท่ี ๓๔ ด้านความพร้อมของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อยู่ในอันดับที่ ๖๐ ท้ังหมดนี้ล้วนแล้วแต่เป็นจุดแข็งของการท่องเที่ยว ของไทย ๑.๓.๒ การท่องเที่ยวของประเทศไทยได้รับการคัดเลือกให้เป็นท่ีสุดของโลกในการจัดอันดับระดับ นานาชาติหลายอันดับ เช่น กรุงเทพฯ ได้รับเลือกเป็นเมืองท่องเที่ยวท่ีดีท่ีสุดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ในปี ๒๕๕๘ โดย Master Card (Master Card’s Asia Pacific Destinations Index ๒๐๑๕) รางวัลชายหาดที่ดีท่ีสุดของเอเชีย ในปี ๒๕๕๘ จาก World Travel Awards รางวัลประเทศท่องเท่ยี วที่ดีที่สุดในดา้ นการท่องเที่ยวครอบครวั การท่องเทีย่ ว เชิงพักผ่อน สถานที่ท่องเท่ียวเพ่ือการวิวาห์ ในปี ๒๕๕๗ รางวัลสถานท่ีเพ่ือการประชุมและจัดงานยอดเย่ียมจาก TTG Travel Awards ในปี ๒๕๕๗ และประเทศไทยได้รับรางวัลด้านการท่องเที่ยว Grand Travel Award จากนิตยสาร Travel News นติ ยสารธรุ กิจทอ่ งเทย่ี วชอ่ื ดังจากภมู ภิ าคสแกนดิเนเวยี ในปี ๒๕๕๔ ตดิ ตอ่ กนั เป็นเวลา ๙ ปี เน่อื งจาก ความมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและความหลากหลายของสถานที่ท่องเที่ยว ทั้งหมดนี้แสดงให้เห็นถึงความสามารถ ของประเทศไทยในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมระดับโลก อย่างไรก็ตาม ทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวต้องได้รับ การพฒั นาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือใหส้ ามารถคงความนิยมและรักษาอนั ดบั ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ ๖ ทมี่ า กรมการทอ่ งเทย่ี ว 8 เเผนพฒั นาการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ

๑.๓.๓ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทย ยังคงมีทั้งจุดแข็ง จุดอ่อน และศักยภาพในการพัฒนา ตามวงจรการท่องเทยี่ ว ดังน้ี ๑) การวางแผนและตัดสินใจเที่ยว ที่ผ่านมาประเทศไทยมีการจัดการและการท�ำการตลาด ได้เป็นอย่างดี จากการจัดอันดับของ WEF ทางด้านประสิทธิภาพของการตลาดประเทศในการดึงดูดนักท่องเที่ยว ในปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยได้รับคะแนน ๕.๔ จาก ๗.o หรือเปน็ อันดบั ที่ ๒๓ จาก ๑๔๑ ประเทศ ท่วั โลก อยา่ งไรกต็ าม พบว่ายังมีโอกาสท่ีจะพัฒนาต่อยอดและสร้างมูลค่าเพ่ิมทางการตลาดได้ อาทิ การอ�ำนวยความสะดวกในข้ันตอน การด�ำเนินการขอวีซ่า การพัฒนาระบบวางแผนท่องเที่ยวและระบบจองบัตรโดยสาร รวมทั้งการปรับใช้เทคโนโลย ี เพือ่ สนับสนนุ การท่องเท่ยี วอย่างครบวงจร ๒) การเดินทางเข้าสู่ประเทศไทย ความครอบคลุมของเครือข่ายเท่ียวบินระหว่างประเทศ และการเป็นศูนย์กลางในการท่องเที่ยวเช่ือมโยงประเทศอ่ืนในภูมิภาค ถือเป็นจุดแข็งของประเทศไทย จากการจัดอันดับ ของ International Air Transport Association ในด้านอัตราส่วนที่น่ังต่อกิโลเมตร บินต่อสัปดาห์ (Available International Seat-Km per Week) ในปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยมอี ัตราส่วนดงั กล่าวสงู ถงึ ๒,๒o๖ ทีน่ ง่ั ซง่ึ อยใู่ นอันดับ ท่ี ๑๓ จาก ๑๔๑ ประเทศทั่วโลก อยา่ งไรกต็ าม ประเทศไทยยงั มีข้อจ�ำกดั ในด้านความเชื่อมโยงของระบบขนสง่ มวลชน ระหว่างสนามบินและตัวเมือง ขาดส่ิงอ�ำนวยความสะดวกเพ่ือรองรับนักท่องเที่ยว ปัญหาขีดความสามารถในการรองรับ ของสนามบนิ และปัญหาขาดแคลนบคุ ลากร เป็นต้น ๓) การพักอาศัยในประเทศไทย จากการส�ำรวจข้อมูลโรงแรมและสถานที่พักแรมในประเทศไทย พบวา่ มจี ำ� นวนทีเ่ พยี งพอ มคี วามหลากหลาย และอยใู่ นระดับราคาทีเ่ หมาะสม จากผลสำ� รวจ หอ้ งพักโดย Euromonitor และธนาคารแหง่ ประเทศไทย ในปี ๒๕๕๘ พบว่าประเทศไทยมจี �ำนวนห้องพักมากกว่า ๖๓๒,ooo ห้อง โดยมีการเตบิ โต กว่าร้อยละ ๓ ต่อปี ในชว่ งปี ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘ และยงั ได้รับคะแนนจาก TripAdvisor ในปี ๒๕๕๘ ด้านคุณภาพของโรงแรม สูงถึง ๔.๘ จาก ๕.๐ อย่างไรกต็ าม ยังมขี ้อจำ� กดั ในดา้ นมาตรฐานและการบงั คบั ใช้กฎหมายทเี่ กย่ี วข้อง รวมถงึ การพฒั นา ต่อยอดเพอื่ ใหส้ อดคล้องกบั สภาวการณโ์ ลก ๔) การเดินทางภายในประเทศไทย ระบบการคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ของประเทศไทย มีความพร้อมในระดับหนึ่ง โดยมีเส้นทางการคมนาคมทางอากาศเช่ือมโยงสู่เมืองหลักและเมืองรองอย่างครอบคลุม ท้ังประเทศ มีเส้นทางการคมนาคมทางถนนที่ได้มาตรฐาน แต่ยังมีปัญหาในด้านการบริหารจัดการและการเช่ือมโยงของ ระบบขนส่งมวลชน ปัญหาในด้านคณุ ภาพและมาตรฐานของระบบขนสง่ มวลชนสาธารณะ เสน้ ทางท่ีเชือ่ มโยงไปยงั แหลง่ ท่องเที่ยวรอง ตลอดจนการขาดระบบข้อมูลและสารสนเทศท่ีน�ำมาใช้พัฒนาและสนับสนุนการเดินทางท่องเท่ียวภายใน ประเทศ ๕) ความพงึ พอใจในการทอ่ งเทย่ี ว ประเทศไทยมแี หลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาตแิ ละทางวฒั นธรรม ที่หลากหลายและมีชื่อเสียงจ�ำนวนมากซ่ึงกระจายไปท่ัวทุกภูมิภาค อีกท้ังบุคลากรไทยมีความโดดเด่นด้านการบริการ แต่ยังมีปัญหาในเรื่องความเส่ือมโทรมของแหล่งท่องเที่ยว การกระจุกตัวของแหล่งท่องเท่ียวหลักในบางพื้นที่ ท�ำให้เกิด ปัญหาด้านขีดความสามารถในการรองรับ ปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อมท่ีไม่ย่ังยืน ปัญหาด้านความสามารถทางภาษา ซง่ึ จะสง่ ผลตอ่ ศกั ยภาพของการทอ่ งเทยี่ วไทยในอนาคต หากยงั ไมม่ มี าตรการดา้ นการบรหิ ารจดั การอยา่ งเรง่ ดว่ นเพอ่ื รกั ษา ระดบั ความสามารถในการแขง่ ขนั และพัฒนาอย่างย่ังยืน ๖) ความสะดวกสบายและความปลอดภยั ในการทอ่ งเทีย่ ว แม้ว่าอตุ สาหกรรมทอ่ งเทีย่ วของไทย ได้รับการยอมรับในด้านคุณภาพการบริการและมีเครือข่ายอ�ำนวยความสะดวกด้านการสื่อสารท่ีค่อนข้างครอบคลุม แตใ่ นดา้ นความปลอดภยั และสขุ อนามยั ยงั มคี วามจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะในเรอ่ื งมาตรฐาน เเผนพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 9 คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ

ดา้ นความปลอดภยั และสขุ อนามยั ของประเทศไทยยงั อยใู่ นระดบั คอ่ นขา้ งตำ�่ เกดิ อาชญากรรม อบุ ตั เิ หตุ และการหลอกลวง นกั ท่องเที่ยวบอ่ ยครง้ั ซึ่งจากการจัดอันดบั ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการทอ่ งเทย่ี วของประเทศไทย ในปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยอย่ใู นอันดับท่ี ๘๙ ของโลก ในดา้ นสุขอนามัย อันดับที่ ๑๑๖ ในดา้ นความย่ังยืนของส่งิ แวดลอ้ ม และอนั ดับ ที่ ๑๓๒ ในด้านความปลอดภัย โดยท้ังสามมิตินี้เป็นจุดที่ประเทศไทยต้องเร่งพัฒนา เพ่ือส่งเสริมขีดความสามารถ ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว พรอ้ มทีจ่ ะรองรบั การเพม่ิ ขน้ึ ของนักทอ่ งเทย่ี วในอนาคตไดอ้ ย่างยงั่ ยนื ๗) การทบทวนประสบการณ์การท่องเท่ียวหลังจากเดินทางกลับ สถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ ของประเทศไทยได้รับคะแนนความพึงพอใจที่สูงเม่ือเทียบกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาค โดยมีระดับคะแนนเฉล่ีย โดย TripAdvisor ในปี ๒๕๕๘ ทีส่ ูงถงึ ๔.๖ จาก ๕.๐ คะแนน อย่างไรกต็ าม จ�ำนวนข้อความแสดงความคิดเห็นเชิงบวก ผ่านส่ือออนไลน์ยังอยู่ในระดับต�่ำ เมื่อเทียบกับจ�ำนวนนักท่องเที่ยวขาเข้า พบว่ามีเพียง ๑๒๐ ข้อความต่อนักท่องเที่ยว ตา่ งชาติ ๑,๐๐๐ คน เม่อื เทียบกบั ประเทศออสเตรเลียซึง่ เป็นประเทศชน้ั น�ำในภมู ภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ทปี่ ระสบความสำ� เร็จ ในด้านการได้รับความคิดเห็นเชิงบวก จากนักท่องเท่ียวกว่า ๗๑๘ ข้อความต่อนักท่องเท่ียวต่างชาติ ๑,๐๐๐ คน บน TripAdvisor ในปีเดยี วกัน จากการประเมินศักยภาพการท่องเท่ียวของไทยตามวงจรการท่องเท่ียว พบว่าประเทศไทยมีความโดดเด่น เร่ืองสถานที่ท่องเท่ียวท่ีสามารถสร้างความพึงพอใจได้สูง แต่ยังขาดการรักษาแหล่งท่องเท่ียว ความปลอดภัยส�ำหรับ นักท่องเท่ียว ยังต้องปรับปรุงและภาพลักษณ์ด้านลบต่อเน่ืองท่ีต้องเร่งแก้ไข ความสะอาดและสุขอนามัยของสถานท ี่ ท่องเท่ียวเป็นอีกประเด็นท่ีประเทศไทยต้องให้ความใส่ใจในการพัฒนา เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้มีมาตรฐาน สูงขนึ้ และดงึ ดูดนักทอ่ งเที่ยวตลาดคุณภาพ ๑.๔ แนวโนม้ ส�ำคัญท่ีจะสง่ ผลตอ่ อุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี วของโลกในอนาคต เนื่องจากอุตสาหกรรมท่องเท่ียวมีการเปลี่ยนแปลงไปตามแนวโน้มของโลก ดังน้ัน จึงต้องมีการวิเคราะห ์ แนวโน้มหลักของโลกหลายประการที่จะเป็นปัจจัยขับเคลื่อนการเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและส่งผลกระทบ ต่อการท่องเที่ยวของไทย โดยปัจจัยและแนวโน้มท่ีคาดว่าจะส่งผลต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทย อย่างมีนยั สำ� คญั สรุปไดด้ งั นี้ ๑.๔.๑ การเติบโตของชนชั้นกลางและรายได้ที่เพิ่มขึ้น (Growing middle class and rising disposable income) ด้วยพัฒนาการทางเศรษฐกิจโลกอย่างต่อเนื่องและโอกาสทางธุรกิจที่เพิ่มสูงขึ้น ประชากร ในกลมุ่ ชนช้ันกลางทัว่ โลก มแี นวโน้มการเตบิ โตกว่าร้อยละ ๕ ต่อปี ในชว่ งปี ๒๕๕๒ – ๒๕๗๓ โดยปจั จัยขบั เคลอ่ื นหลัก มาจากประเทศในกลุ่มเอเชียแปซิฟิก และเม่ือพิจารณา ๑๐ อันดับสูงสุดของนักท่องเท่ียวขาเข้าในประเทศไทย พบว่า เป็นกลุ่มนักท่องเท่ียวที่มาจากประเทศที่มีสัดส่วนของกลุ่มคนชนช้ันกลางค่อนข้างสูง โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวจีน และชาวอินเดีย อีกทั้งคาดว่าจะมีอัตราการเติบโตของสัดส่วนของกลุ่มคนชนช้ันกลางเพิ่มสูงข้ึนอีกในอนาคต ซึ่งกลุ่มนักท่องเท่ียวกลุ่มนี้มีความเต็มใจในการใช้จ่ายระหว่างการท่องเที่ยวในระดับสูง ดังนั้น จึงควรให้ความส�ำคัญ กับการพัฒนาสินค้าและบริการทางการท่องเท่ียวท่ีสอดคล้องกับความต้องการทางด้านคุณค่าและมีความสอดคล้อง ทางดา้ นภาษากบั นกั ทอ่ งเทย่ี วกลมุ่ น้ี เพอ่ื เปน็ การแปรแนวโนม้ ของโลกใหเ้ ปน็ การพฒั นาทางดา้ นรายไดใ้ หแ้ กอ่ ตุ สาหกรรม ท่องเทยี่ วของไทย ๑.๔.๒ การเติบโตของสายการบินต้นทุนต�่ำ (Low cost carriers [LCC] on the rise) จะส่งผล ต่อการพัฒนาการเชื่อมต่อและเพิ่มความสะดวกในเส้นทางการเดินทางภายในและระหว่างประเทศท่ัวโลก อันจะเป็น การเพ่ิมทางเลือกในการเดินทางและลดค่าใช้จ่าย จึงเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเติบโตของการเดินทางและจ�ำนวน 10 เเผนพัฒนาการท่องเท่ยี วแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ

ของนักท่องเท่ียวทั่วโลก โดยคาดการณ์ว่าความต้องการท่องเที่ยวด้วยบริการสายการบินต้นทุนต่�ำจะได้รับความนิยม มากข้ึนอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันการใช้บริการสายการบินต้นทุนต่�ำเพื่อเดินทางท่องเท่ียว มีส่วนแบ่งการตลาด อยู่ท่ีร้อยละ ๒๖ ของการเดินทางทางอากาศทั่วโลก โดยในประเทศไทยมีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ที่ร้อยละ ๒๔ ส�ำหรับเท่ียวบินระหว่างประเทศ และร้อยละ ๖๓ ส�ำหรับเท่ียวบินในประเทศ สิ่งนี้แสดงให้เห็นถึงความจ�ำเป็น ในการสนับสนุนและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานส�ำหรับเส้นทางคมนาคมทางอากาศ รวมถึง การส่งเสริมความร่วมมือ ของสายการบินในการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวภายในประเทศสู่เมืองรองต่างๆ การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวกับประเทศ เพื่อนบ้านและการเชื่อมต่อระหว่างประเทศ เชิงยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญ อาทิ จีน และอินเดีย เพื่อดึงดูดนักท่องเท่ียว จากกล่มุ ประเทศดงั กล่าวให้เดินทางสปู่ ระเทศไทยเพม่ิ มากข้ึน ๑.๔.๓ การเตบิ โตของสงั คมผสู้ งู อายซุ งึ่ มกี ารจบั จา่ ยใชส้ อยเพอื่ การทอ่ งเทยี่ วสงู (Ageing population with high willingness to spend) จากการคาดการณ์ของ Horwath HTL ในอีก ๓๕ ปี ข้างหน้าหรือ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๙๓ จะมสี ัดสว่ นผ้สู งู อายหุ รอื ผทู้ ม่ี ีอายุ ๖๐ ปขี ้นึ ไปตอ่ ประชากรโลกเพมิ่ สูงขึ้นกว่าร้อยละ ๒๑ เมื่อเทียบ กับปี ๒๕๕๖ ซึ่งมีสัดส่วนผู้สูงอายุต่อประชากรท้ังหมดเพียงร้อยละ ๑๒ โดยกลุ่มนักท่องเท่ียวผู้สูงอายุเหล่านี้ถือเป็น กลุ่มท่ีมีความเต็มใจในการจับจ่ายใช้สอยระหว่างการเดินทางท่องเท่ียวต่อปีสูงกว่านักท่องเท่ียวในช่วงอายุอ่ืน เช่น กลมุ่ Millennials หรอื กลมุ่ Gen Y ถงึ ๓ เทา่ โดยในปี ๒๕๕๘ นกั ทอ่ งเทยี่ วกลมุ่ ผสู้ งู อายทุ วั่ โลก มคี า่ ใชจ้ า่ ยดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว โดยเฉล่ียอยู่ท่ี ๘,๗๓๖ เหรียญสหรัฐต่อคนต่อปี ในขณะท่ีค่าใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวของกลุ่ม Millennials เฉลี่ยอยู่ท่ี ๒,๙๑๕ เหรียญสหรัฐ ดังนั้น กลุ่มนักท่องเท่ียวผู้สูงอายุนับเป็นกลุ่มเป้าหมายท่ีมีศักยภาพสูงและควรให้ความส�ำคัญ ในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการท่องเท่ียวรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มน้ีโดยการพัฒนาสถานท่ีท่องเท่ียวตามหลักการ Tourism For All เพือ่ สร้างโอกาสในการเพ่มิ รายไดจ้ ากการท่องเท่ียว ๑.๔.๔ การใช้เทคโนโลยีระหว่างการท่องเท่ียว (Adoption of travel technology during the travel journey) ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีท�ำให้ส่ือสังคมออนไลน์หรือช่องทางออนไลน์มีส่วนส�ำคัญในการสืบค้น ข้อมูลและเพ่มิ ความสะดวกสบายตลอดการเดนิ ทางของนกั ทอ่ งเทยี่ ว จากการคาดการณ์ของ Euromonitor พบวา่ อัตรา การเตบิ โตโดยเฉลย่ี ของรายไดจ้ ากการใชช้ อ่ งทางออนไลนส์ ำ� หรบั การทอ่ งเทย่ี วทวั่ โลก (Global online travel revenues growth) อยู่ที่ร้อยละ ๑o ต่อปี โดยเพิ่มขน้ึ จาก ๑๖๖ พันลา้ นเหรียญสหรัฐ ในปี ๒๕๕๔ เป็น ๓๖๓ พันลา้ นเหรยี ญสหรฐั ในปี ๒๕๖๓ อยา่ งไรกต็ าม โครงสรา้ งพนื้ ฐานและศกั ยภาพดา้ นระบบสารสนเทศและการสอื่ สารของประเทศไทยในปจั จบุ นั ยังเป็นข้อก�ำจัดการพัฒนา ดังนั้น รัฐบาลควรให้ความส�ำคัญในการลงทุนพัฒนาและส่งเสริมระบบการท่องเท่ียว ผ่านช่องทางออนไลน์และสนับสนุนการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ให้กับธุรกิจท้องถิ่น เพ่ือตอบสนอง ต่อแนวโน้มการท่องเที่ยวท่ีก�ำลังเปล่ียนแปลงไป ซ่ึงในปัจจุบันการท่องเท่ียวของไทยยังล้าหลังด้านการส่งเสริมข้อมูลและ อ�ำนวยความสะดวกแกน่ ักทอ่ งเทยี่ วทางออนไลนท์ ่ีต้องเร่งพัฒนาเพอ่ื ตอบสนองความต้องการของนกั ทอ่ งเท่ียวในอนาคต ๑.๔.๕ นักท่องเท่ียวมุ่งเน้นประสบการณ์และให้ความส�ำคัญกับความรู้เชิงลึกของแหล่งท่องเท่ียวต่างๆ (Experiential travelers with more sophisticated expectations) ปัจจุบนั นักทอ่ งเท่ียว ส่วนใหญใ่ ห้ความส�ำคญั กับการแสวงหาประสบการณ์ที่มากกว่าการท่องเท่ียวรูปแบบเดิมๆ ท่ัวไป โดยต้องการสัมผัสวิถีชีวิตผู้คนและประเพณี ท้องถิ่นอย่างแท้จริง มากกว่าการเย่ียมชมสถานที่ท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียว ซึ่งเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่ก�ำลังได้รับ ความนิยมเปน็ อยา่ งสงู ในปจั จบุ ัน แสดงใหเ้ ห็นถึงความส�ำคัญของการพัฒนาแหลง่ ท่องเทยี่ วรูปแบบใหมๆ่ และการจัดสรร แพ็กเกจการท่องเที่ยวท่ีสามารถให้ประสบการณ์การท่องเท่ียวที่สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยวกลุ่มน ี้ โดยการร่วมมอื กับชุมชนทอ้ งถ่นิ เเผนพฒั นาการท่องเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 11 คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ

๑.๔.๖ แนวโน้มการเปล่ียนแปลงเชิงรูปแบบการท่องเที่ยว (Tourism segment trends) เน่ืองด้วย ปจั จยั และแนวโนม้ ทกี่ ำ� ลงั เปลยี่ นไปในทกุ มติ ิ สง่ ผลใหก้ ลมุ่ นกั ทอ่ งเทยี่ วในอนาคตมจี ดุ ประสงคใ์ นการทอ่ งเทย่ี วทแ่ี ปรเปลยี่ น จากเดิม อีกท้ังวิวัฒนาการดังกล่าวยังจะส่งผลส�ำคัญต่อตลาดการท่องเที่ยวโลก โดยสามารถจ�ำแนกตามพฤติกรรม ของกลุ่มนกั ทอ่ งเที่ยว ออกเปน็ ๑๓ กลมุ่ ไดแ้ ก่ การท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม (Cultural Tourism) การทอ่ งเท่ยี วทางทะเล และชายหาด (Sea Sun Sand Tourism) การท่องเที่ยวเพ่ือการประชุมและนิทรรศการ (MICE) การท่องเท่ียวเชิงกีฬา (Sport Tourism) การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย (Adventure Tourism) การท่องเท่ียวเพ่ือการเลือกซ้ือสินค้า (Shopping Tourism) การท่องเท่ียวเชิงอาหาร (Gastronomy tourism) การท่องเที่ยวเพ่ือสันทนาการและความบันเทิง (Entertainment Tourism) การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ (Health & Wellness Tourism) การท่องเท่ียวเชิงสิ่งแวดล้อม และนเิ วศ (Ecotourism) การทอ่ งเท่ยี วเชงิ การแพทย์ (Medical Tourism) การท่องเท่ียวเรือส�ำราญ (Cruise Tourism) และการทอ่ งเท่ียวเชงิ ศาสนา (Religious Tourism) แนวโน้มในระยะ ๑๐ ปีข้างหน้า นักท่องเท่ียวที่ยังคงเป็นกลุ่มนักท่องเท่ียวหลักของโลก ได้แก ่ นักท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม นักท่องเที่ยวทางทะเลและชายหาด และนักท่องเที่ยวเพื่อการประชุมและนิทรรศการ เน่อื งจากเปน็ กลมุ่ ทมี่ ีสว่ นแบ่งทางตลาดเชิงมูลคา่ อยใู่ นระดับสงู โดยเฉพาะกลุ่มนักทอ่ งเทย่ี วเชงิ วัฒนธรรม และทางทะเล และชายหาด อีกท้ังยังมีแนวโน้มการเดินทางท่องเที่ยวในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากขึ้น สาเหตุประการหน่ึง มาจากความแพรห่ ลายของขอ้ มลู ของแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ทแี่ ปลกใหมผ่ า่ นกระแสโลกสงั คมออนไลนห์ รอื สอื่ สงั คมดจิ ทิ ลั อกี ทง้ั ความต้องการสัมผัสแหล่งวัฒนธรรมและประเพณีดั้งเดิม นอกจากน้ี กลุ่มนักท่องเท่ียวเชิงกีฬาเร่ิมมีแนวโน้มเติบโตอย่าง ชัดเจน เชน่ เดยี วกันกบั กลุม่ นกั ทอ่ งเท่ยี วเชิงสงิ่ แวดลอ้ มและนเิ วศ รวมไปถึงกลุ่มนกั ทอ่ งเที่ยวเชิงสขุ ภาพ คาดวา่ จะมอี ตั รา การเตบิ โตเพมิ่ ขนึ้ แบบทวคี ณู เชน่ เดยี วกนั ทง้ั หมดนเ้ี ปน็ ผลสบื เนอ่ื งจากรายไดข้ องนกั ทอ่ งเทยี่ วทเ่ี ตบิ โตขน้ึ และความตอ้ งการ ในบริการแบบครบวงจรท่ีเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเหล่าน้ีบ่งชี้ถึงนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ แหล่งท่องเท่ียวต่างๆ ให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มนักท่องเที่ยวท่ีมีศักยภาพ เพ่ือเพ่ิมรายได้จากการท่องเที่ยว ของประเทศ ๑.๕ ผลกระทบจากแนวโนม้ การเปลย่ี นแปลงตอ่ ภาพรวมอุตสาหกรรมท่องเทย่ี วในอนาคต ๑.๕.๑ ประเทศไทยมีโอกาสสร้างรายได้จากการท่องเท่ียวเพ่ิมสูงขึ้นทั้งจากนักท่องเท่ียวต่างประเทศ และนกั ทอ่ งเทย่ี วภายในประเทศ แนวโนม้ การทอ่ งเทยี่ วทกี่ ำ� ลงั เปลย่ี นแปลงไป เนอ่ื งมาจากการเปลยี่ นแปลงทางพฤตกิ รรม ของนักท่องเท่ียวและการเปลี่ยนแปลงเชิงรูปแบบการท่องเท่ียว แต่ด้วยปัจจัยพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวท่ีแข็งแกร่ง และมกี ารเตบิ โตของปจั จยั สนบั สนนุ อน่ื ๆ ของอปุ สงคห์ รอื ศกั ยภาพดา้ นความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทยี่ ว จงึ ทำ� ใหป้ ระเทศไทย มีโอกาสสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวได้มากขึ้น โดยเฉพาะการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว สินค้าและบริการการท่องเท่ียว ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานเพียงพอกับความต้องการของนักทอ่ งเท่ยี วในอนาคต ๑.๕.๒ การพัฒนาการท่องเที่ยวในอนาคตควรมุ่งเน้นการบรรลุเป้าหมายเชิงคุณภาพของการเติบโต ด้านรายได้จากนักท่องเท่ียวในกลุ่มต่างๆ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทยมีความส�ำคัญเชิงยุทธศาสตร์ต่อประเทศ รฐั บาลไทยรวมถงึ หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้องทัง้ ภาครัฐและเอกชน จงึ มคี วามจำ� เป็นทีจ่ ะต้องเขา้ ใจพฤตกิ รรมและความต้องการ ท่ีแตกต่างกันของนักท่องเท่ียว แต่ละกลุ่มท่ีมีศักยภาพในการเติบโตในอนาคตเพ่ือตอบสนองต่ออุปสงค์ของ ตลาดการท่องเทยี่ วท่เี ปล่ียนแปลงไป ดังน้ี 12 เเผนพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ

๑) กลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีศักยภาพสูงสุดส�ำหรับประเทศไทย ประกอบด้วยกลุ่มนักท่องเท่ียว เชิงวัฒนธรรม กลุ่มนักท่องเที่ยวเชิงสิ่งแวดล้อมและนิเวศ กลุ่มนักท่องเท่ียวทางทะเลและชายหาด กลุ่มนักท่องเท่ียว เชิงการแพทย์ และกลุ่มนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เนื่องมาจากประเทศไทยมีศักยภาพและความได้เปรียบในเชิงปริมาณ และความหลากหลายของแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเชงิ วฒั นธรรมและธรรมชาติ อกี ทงั้ มคี วามพรอ้ มและความครบถว้ นทางการแพทย์ และคุณภาพการให้บริการด้านสุขภาพอย่างครบวงจรในราคาย่อมเยาเม่ือเทียบกับประเทศคู่แข่งในภูมิภาค หากแต่ว่า แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วหลกั ของประเทศไทยลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาตทิ มี่ คี วามเปราะบาง อกี ทงั้ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ทางธรรมชาตแิ ละวัฒนธรรมหลายแห่งของประเทศยงั ขาดการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืน ดังนัน้ เพ่ือรกั ษาและดงึ ดดู นักท่องเทย่ี ว กลุ่มที่มีศักยภาพเหล่าน้ี รัฐบาลควรมุ่งเน้นยกระดับการท่องเที่ยวเหล่านี้ให้ทัดเทียมประเทศท่ีพัฒนาแล้ว รวมทั้งจ�ำเป็น ต้องมีการอนุรักษ์และจัดการแหล่งท่องเท่ียวท่ีมีความเสี่ยงต่อการเสื่อมโทรม อาทิ แหล่งท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมและ ธรรมชาติ ๒) กลมุ่ นกั ทอ่ งเทยี่ วทมี่ ศี กั ยภาพสงู ระดบั รองสำ� หรบั ประเทศไทย ประกอบดว้ ย กลมุ่ นกั ทอ่ งเทย่ี ว เพอ่ื การประชมุ และนทิ รรศการ กลมุ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วเชงิ อาหาร กลมุ่ นกั ทอ่ งเทยี่ วเพอ่ื การเลอื กซอ้ื สนิ คา้ และกลมุ่ นกั ทอ่ งเทย่ี ว ทางน�้ำและเรือส�ำราญ โดยการพัฒนาเพ่ือรองรับนักท่องเท่ียวกลุ่มนี้ รัฐบาลควรให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานด้านการท่องเท่ียวให้เพียงพอกับความต้องการของนักท่องเที่ยวเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มทางการท่องเที่ยว เน่ืองจาก เป็นกลมุ่ ท่มี ีรายไดค้ อ่ นขา้ งสงู และเป็นรปู แบบการท่องเท่ยี วทีม่ ีค่าใชจ้ า่ ยสงู เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลและพิจารณารายได้ของนักท่องเท่ียวกลุ่มต่างๆ พบว่ากลุ่มนักท่องเที่ยวในแต่ละสาขา การท่องเที่ยวนั้นมีรายได้ท่ีแตกต่างกัน อาทิ นักท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมและนักท่องเท่ียวทางทะเลและชายหาด จะเป็นกลุ่มนักท่องเท่ียวทั่วไปที่มีรายได้ระดับปานกลาง ในขณะเดียวกันนักท่องเที่ยวเชิงสิ่งแวดล้อมและนิเวศ นักท่องเท่ียวเชิงการแพทย์ และนักท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ จะเป็นกลุ่มนักท่องเท่ียวช้ันดีหรือมีรายได้ค่อนข้างสูง ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลท่ีมุ่งเน้นการท่องเท่ียวเชิงคุณภาพและมีเป้าหมายด้านรายได้จากการท่องเที่ยว จงึ ควรใหค้ วามสำ� คญั ในระดบั สงู (Priority) และระดบั สงู มาก (High Priority) กบั การพฒั นาสาขาการทอ่ งเทย่ี วทมี่ ศี กั ยภาพสงู และมขี ดี ความสามารถเหนอื ประเทศอน่ื ในภมู ภิ าค อกี ทง้ั ตอ้ งเลง็ เหน็ การเตบิ โตของความตอ้ งการในตลาด เพอ่ื ควา้ โอกาส ที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้น�ำในภูมิภาคในกลุ่มท่องเท่ียวที่ประเทศไทยโดดเด่น เช่น กลุ่มการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม กลมุ่ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ สงิ่ แวดลอ้ มและนเิ วศ กลมุ่ ทอ่ งเทย่ี วเชงิ การแพทย์ และกลมุ่ ทอ่ งเทยี่ ว ทางทะเลและชายหาด เปน็ ตน้ ๒. การทอ่ งเที่ยวของประเทศคแู่ ขง่ และประเทศตน้ แบบรายส�ำคญั อุตสาหกรรมท่องเท่ียวเป็นอุตสาหกรรมท่ีมีความส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของนานาประเทศ ดังน้ัน หลายประเทศได้มีการพัฒนาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ เพ่ือให้เป็นแผนแม่บทในการก�ำหนดทิศทางการพัฒนา อตุ สาหกรรมท่องเท่ียวอย่างเป็นรปู ธรรม ทัง้ นี้ เพือ่ เปน็ การถอดบทเรยี นจากประเทศทป่ี ระสบความส�ำเรจ็ จากการพัฒนา การทอ่ งเทย่ี ว จงึ ได้มกี ารทบทวนและวเิ คราะหแ์ ผนการทอ่ งเที่ยวของประเทศต้นแบบ และประเทศคู่แข่งรายสำ� คัญ โดยมี การวิเคราะหแ์ ผนแม่บท วิสยั ทัศน์การทอ่ งเท่ยี ว เปา้ หมายในการพัฒนา และสง่ิ ทีส่ ามารถนำ� มาปรับใช้ได้กบั ประเทศไทย ท้ังนี้ ได้เลือกประเทศตัวอย่างท่ีมีความสามารถสูง และมีบริบทของการท่องเที่ยวท่ีคล้ายคลึงหรือสามารถเป็นแบบอย่าง ใหก้ บั ประเทศไทยได้ ดังน้ี เเผนพฒั นาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 13 คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ

ประเทศท่ีมีรายได้จากการท่องเที่ยวสูง และมีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวสูง๗ อาทิ ประเทศจีน ซ่ึงมีรายได้ จากนกั ท่องเทยี่ วต่างชาติสูงเป็นอันดบั ที่ ๒ ของโลกในปี ๒๕๕๘ (ประเทศไทยเปน็ อนั ดับท่ี ๖) และจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ตา่ งชาตสิ ูงเป็นอนั ดบั ที่ ๔ ของโลกในปี ๒๕๕๗ (ประเทศไทยเปน็ อนั ดบั ท่ี ๑๔) ประเทศที่มีอันดับขีดความสามารถด้านการท่องเที่ยวสูง๘ อาทิ ประเทศสหราชอาณาจักร ซ่ึงมีอันดับ ขีดความสามารถด้านการท่องเท่ียว (TTCI) เป็นอันดับที่ ๕ ของโลก และประเทศออสเตรเลียซึ่งมีขีดความสามารถ อันดับ ๗ ของโลก (ประเทศไทยเปน็ อันดบั ท่ี ๓๕ จาก ๑๔๑ ประเทศทวั่ โลก ในปี ๒๕๕๘) ประเทศท่ีการท่องเที่ยวมีความส�ำคัญต่อเศรษฐกิจสูง ได้แก่ ประเทศมัลดีฟส์ ซ่ึงอุตสาหกรรมท่องเท่ียว คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๗ ของ GDP ของประเทศในปี ๒๕๕๘ (อตุ สาหกรรมทอ่ งเท่ียวของไทยคดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๖.๕๓ ของ GDP ประเทศ) ประเทศต้นแบบ ได้แก่ ประเทศญ่ีปุ่น ซึ่งเป็นประเทศท่ีมีทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวที่หลากหลายเช่นเดียว กับประเทศไทย มีศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณที เ่ี ปน็ เอกลักษณ์ มจี ดุ เดน่ ดา้ นความมีมติ รไมตรขี องคน และมีแหล่งท่องเท่ยี ว ที่กระจายไปหลากหลายภูมภิ าค ประเทศคแู่ ข่งในภมู ภิ าค ได้แก่ ประเทศสงิ คโ์ ปร์ และประเทศมาเลเซยี การศึกษาทิศทางการพัฒนาการท่องเท่ียวของประเทศต้นแบบและประเทศคู่แข่งรายส�ำคัญสามารถถอดบทเรียน และนำ� มาปรับใชเ้ พื่อพฒั นาทศิ ทางการท่องเทีย่ วไทยได้ ดงั นี้ ๒.๑ ประเทศจีน๙ ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและแหล่งท่องเที่ยว และมี อุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี วขนาดใหญ่ ท้งั ในด้านจำ� นวนนักทอ่ งเทยี่ วและรายได้จากการท่องเทย่ี ว รัฐบาลจีนไดใ้ ห้ความสำ� คญั กบั การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว โดยการพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและพฒั นาคณุ ภาพของบคุ ลากร ภายใตว้ สิ ยั ทศั น์ “การรองรบั อุปสงค์ที่เติบโตของนักท่องเท่ียว การพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวอย่างแข็งแรง และการสร้างระบบการท่องเที่ยว อยา่ งมีอตั ลักษณ์” ด้วยขนาดของอุตสาหกรรมและการบริหารจดั การจากรฐั บาล เปิดโอกาสให้ประเทศไทยสามารถศกึ ษา เก่ียวกับการพัฒนาและการบริหารจัดการในอุตสาหกรรมท่องเท่ียว เพื่อให้สามารถรองรับการท่องเท่ียวปริมาณสูง โดยไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรและวฒั นธรรมในประเทศ โดยมจี ดุ เรยี นรทู้ ส่ี ำ� คญั คอื การพฒั นาโครงสรา้ ง พน้ื ฐานและสนิ คา้ เชงิ ทอ่ งเทยี่ วใหม้ สี ภาพใหมแ่ ละดงึ ดดู นกั ทอ่ งเทยี่ วและยงั สามารถรองรบั ผพู้ กิ ารได้ อกี ทงั้ กำ� หนดมาตรฐาน เชิงคณุ ภาพดา้ นการท่องเที่ยวและส่งเสรมิ การร่วมมอื ระหว่างภาครัฐและเอกชนเพอื่ รองรบั อุปสงค์ท่ีเติบโตขนึ้ ๒.๒ ประเทศสหราชอาณาจกั ร๑๐ อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี วถอื เปน็ หนง่ึ ในอตุ สาหกรรมทม่ี คี วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ของประเทศสหราชอาณาจักรโดยมีมูลค่าทางเศรษฐกิจกว่า ๙๗ พันล้านปอนด์ และส่งผลให้มีการเพิ่มข้ึนของอัตรา การจ้างงานกว่า ๒ ล้านต�ำแหน่ง รัฐบาลจึงได้จัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติระยะ ๑๐ ปี ภายใต้วิสัยทัศน ์ “การเพิ่มคุณค่าทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การส่งเสริมการจ้างงาน และการยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชน” อย่างไรก็ตามในระยะท่ีผ่านมาขีดความสามารถด้านการท่องเท่ียวกลับถดถอยลง ดังเห็นได้จากจ�ำนวน นักท่องเท่ียวท่ีลดลงทั้งจากภายในประเทศและนานาชาติ อีกท้ังมีการสนับสนุนท่ีลดลงจากท้ังทางภาครัฐและเอกชน รวมถึงมุมมองแง่ลบต่อคุณภาพการท่องเท่ียว ซึ่งในภายหลังการท่องเที่ยวได้กลับมาพัฒนาอีกคร้ังหลังการจัด Olympic ๒๐๑๒ ทง้ั ในแง่นักทอ่ งเทยี่ วและการใชจ้ า่ ยของนกั ท่องเที่ยว ดงั น้นั จงึ เปน็ การดที ี่จะศึกษาเกยี่ วกับยทุ ธศาสตร์ ๗ ทีม่ า UNWTO Tourism Highlights ๒๐๑๖ Edition และ UNWTO Tourism Highlights ๒๐๑๕ Edition ๘ ทมี่ า The Travel & Tourism Competitiveness Report ๒๐๑๕ ๙ แผนพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วประเทศจนี พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๓ (National Tourism and Leisure (๒๐๑๓-๒๐๒๐)) ๑๐ กรอบการดำ� เนนิ การการทอ่ งเทย่ี วสหราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๖๓ (Strategic Framework for Tourism ๒๐๑๐ – ๒๐๒๐) 14 เเผนพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ

และแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวท่ีเคยซบเซาให้กลับมาสร้างรายได้ให้ประเทศอีกครั้ง นอกเหนือจากน้ัน ประเทศสหราชอาณาจักรยังเป็นต้นแบบด้านขีดความสามารถด้านการท่องเที่ยวระดับโลกจากการจัดอันดับของ WEF ในดัชนีขีดความสามารถด้านการท่องเท่ียว TTCI ซึ่งการพัฒนาขีดความสามารถด้านการท่องเที่ยวจะเป็นพ้ืนฐานที่ย่ังยืน และมีเสถียรภาพกับการพัฒนาการท่องเที่ยวในอนาคต จากการศึกษาพบว่าการใช้เทคโนโลยีเพ่ือให้สอดคล้อง กับการเปล่ียนแปลงของตลาด และปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์และบริการให้สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยว คือส่ิงส�ำคัญท่ีช่วยพัฒนาการท่องเที่ยวในยุคท่ีความต้องการของนักท่องเที่ยวมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งต้องมี การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการทำ� การตลาดอยา่ งเปน็ ระบบ ๒.๓ ประเทศออสเตรเลีย๑๑ อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวของประเทศออสเตรเลียสามารถสร้างรายได้กว่า ๙.๔ หม่ืนล้านเหรียญสหรัฐ และการส่งเสริมการจ้างงานกว่า ๕๐๐,๐๐๐ ต�ำแหน่ง อย่างไรก็ตาม รัฐบาลได้เผชิญกับ ส่วนแบ่งตลาดการทอ่ งเทย่ี วโลกที่ลดลง รวมไปถึงการจับจ่ายใช้สอยของการท่องเทย่ี วภายในประเทศที่หดตวั ลง เนอื่ งด้วย การแขง่ ขนั ทส่ี งู ขน้ึ การแขง็ คา่ ของสกลุ เงนิ เหรยี ญออสเตรเลยี ศกั ยภาพของแรงงานทขี่ าดการพฒั นา การขาดแคลนแรงงาน และขาดการใช้เทคโนโลยีในการท่องเท่ียว ดังน้ัน รัฐบาลจึงได้พัฒนาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติสู่ปี ๒๕๖๓ ซง่ึ เนน้ ดงึ ดดู นกั ทอ่ งเทยี่ วตา่ งชาตโิ ดยเฉพาะจากทวปี เอเชยี เพอื่ สรา้ งความสมดลุ ใหก้ บั การทอ่ งเทย่ี ว การสรา้ งพนั ธมติ รกบั สายการบนิ เพอ่ื พฒั นาโครงขา่ ยการบนิ ระหวา่ งประเทศ และการมนี กั ทอ่ งเทยี่ วเปน็ ศนู ยก์ ลางเพอื่ พฒั นาอปุ ทานดา้ นทอ่ งเทย่ี ว ตามความต้องการ ภายใต้วิสัยทัศน์ “การฟื้นฟูขีดความสามารถในการแข่งขันและความยืดหยุ่นของอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวออสเตรเลีย และเพิ่มส่วนแบ่งต่อเศรษฐกิจชาติ” นอกเหนือจากการต้ังเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงแล้ว ประเทศออสเตรเลียยังมีความโดดเด่นด้านขีดความสามารถด้านการท่องเที่ยวและยังเป็นประเทศคู่แข่งส�ำคัญของ ประเทศไทยในภูมภิ าคเอเชียแปซฟิ ิก ซ่ึงจุดเรยี นรู้ส�ำหรับประเทศไทย คอื การระบุกล่มุ นกั ท่องเที่ยวศักยภาพสงู ให้ชัดเจน เพอ่ื ปรบั นโยบายใหเ้ หมาะสมและเพอื่ เปน็ การลงทนุ ทางทรพั ยากรอยา่ งมเี ปา้ หมายชดั เจน อกี ทงั้ ควรมกี ารปรบั นำ� เทคโนโลยี เข้ามาพัฒนาการท่องเท่ยี ว เพื่อใหง้ า่ ยตอ่ การทำ� ความเข้าใจตลาดและเพอื่ ให้งา่ ยต่อการเขา้ ถงึ นักท่องเทย่ี ว ๒.๔ ประเทศมัลดีฟส๑์ ๒ ประเทศมัลดีฟส์พึ่งพาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมากถึงร้อยละ ๙๗ ของ GDP ประเทศ ซึ่งท�ำให้เศรษฐกิจของประเทศมีความผันผวนตามอุตสาหกรรมท่องเท่ียวของโลก อีกท้ังยังมีข้อจ�ำกัดในกฎหมาย การท่องเท่ียวและการบูรณาการการท�ำงานระหว่างภาครัฐและเอกชน ซึ่งเป็นข้อจ�ำกัดในการเติบโตของอุตสาหกรรม ดังน้ัน รัฐบาลจึงได้วางแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ ภายใต้วิสัยทัศน์ “การเป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงเกาะเขตร้อนที่ดีท่ีสุดในโลก และสร้างรายได้สูงสุดในภูมิภาคเอเชียใต้ และเป็นหนึ่งในตัวอย่างของเกาะที่สามารถ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน” โดยเน้นการพัฒนานวัตกรรมและส่งเสริมความร่วมมือของภาครัฐและเอกชน อีกทั้ง สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพบุคลากร ทั้งน้ีการท่ีประเทศมัลดีฟส์เป็นประเทศท่ีพ่ึงพาการท่องเท่ียวสูงจึงเป็นการดี ที่จะศึกษามาตรการรองรับการเปล่ียนแปลงของอุตสาหกรรมท่องเท่ียว ซ่ึงจากการศึกษาพบว่าการพัฒนากรอบกฎหมาย ทีม่ คี วามโปรง่ ใส และกลยุทธท์ ่สี ามารถตอบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงของตลาดอยา่ งทันทว่ งทีถือเปน็ สงิ่ สำ� คัญ รวมไปถึง การพัฒนาการส่อื สารทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพระหวา่ งภาครัฐและภาคเอกชน ๑๑ การท่องเทย่ี วออสเตรเลียสู่ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (Australia’s Tourism ๒๐๒๐) ๑๒ แผนแม่บทพัฒนาการทอ่ งเท่ียวมัลดีฟส์ ฉบับที่ ๔ เเผนพฒั นาการท่องเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 15 คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแหง่ ชาติ

๒.๕ ประเทศญปี่ ่นุ ๑๓ ประเทศญ่ีปุน่ มีอุตสาหกรรมการทอ่ งเที่ยวที่ส่งผลถงึ รอ้ ยละ ๘ ของ GDP ประเทศ รฐั บาล ได้มุ่งเน้นการใช้อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นเสาหลักในการฟื้นฟูเศรษฐกิจประเทศ ผ่านการสนับสนุนด้านการเข้าประเทศ และอ�ำนวยความสะดวกเพ่ือการพักอาศัยนาน และการพัฒนาระบบการเดินทางภายในประเทศ อย่างไรก็ตามรัฐบาล ยังคงต้องพัฒนาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษของคนท้องถ่ิน อีกทั้งยังมีอุปสรรคในด้านราคาของการเดินทางและท่ีพัก ทค่ี อ่ นขา้ งสงู ญปี่ นุ่ เปน็ จดุ หมายปลายทางยอดนยิ มระดบั โลกและเปน็ จดุ หมายปลายทางอนั ดบั หนง่ึ ของนกั ทอ่ งเทย่ี วไทย๑๔ ที่มีความโดดเด่นท้ังในเร่ืองของวัฒนธรรม และธรรมชาติ การพัฒนาการท่องเที่ยวของญี่ปุ่นมีวิสัยทัศน์ “การเสริมสร้าง อนาคตของประเทศโดยให้อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวให้เป็นหนึ่งในเสาหลักขับเคลื่อนเศรษฐกิจ” เพื่อเพิ่มจ�ำนวน นักท่องเท่ียวเป็นสองเท่าภายในปี ๒๕๖๓ จากการศึกษาพบว่า จุดเรียนรู้หลักส�ำหรับประเทศไทยคือการปรับปรุง การอำ� นวยความสะดวกในการผา่ นแดนและยกเวน้ การตรวจลงตราของนกั ทอ่ งเทยี่ วกลมุ่ เปา้ หมายโดยคำ� นงึ ถงึ ความมนั่ คง ของประเทศเปน็ สำ� คญั เพอ่ื จงู ใจนกั ทอ่ งเทย่ี ว การรว่ มมอื กบั ภาคเอกชนและคนทอ้ งถนิ่ เพอ่ื พฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วและสรา้ ง เรื่องราวความนา่ สนใจของวฒั นธรรมประเพณีทอ้ งถน่ิ รวมไปถงึ การพฒั นาโครงสร้างทางพ้ืนฐานเพือ่ รองรบั นักท่องเทยี่ ว ๒.๖ ประเทศสิงคโปร์๑๕ อตุ สาหกรรมการทอ่ งเท่ยี วสิงคโปรม์ ีสัดสว่ นรอ้ ยละ ๖ ของ GDP ประเทศ และดึงดดู นกั ทอ่ งเทย่ี วกวา่ ๑๕ ลา้ นคน ซง่ึ จำ� นวนมากกวา่ ประชากร ๓ เทา่ อกี ทงั้ รฐั บาลยงั ใหก้ ารสนบั สนนุ ในการลงทนุ เชงิ โครงสรา้ ง พน้ื ฐาน การสรา้ งผลติ ภณั ฑแ์ ละแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วใหม่ๆ การลงทุนในการตลาดและความร่วมมือระดับนานาชาติ รวมไปถึง การได้รบั รางวลั ระดับโลก ซงึ่ ช่วยส่งเสริมภาพลกั ษณ์ทดี่ ีของการทอ่ งเทย่ี ว อย่างไรกต็ ามสิงคโปร์กำ� ลังเผชิญกับการแข่งขัน ท่ีรุนแรงขึ้นในภูมิภาค อีกท้ังเป้าหมายเชิงรายได้ของนักท่องเท่ียวท่ีไม่ได้ตามเป้าในปี ๒๕๕๘ ดังนั้น จึงมีการวางแผน พฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ ภายใตว้ สิ ยั ทศั น์ “การเปน็ เมอื งหลกั ในเอเชยี ทางดา้ นการทอ่ งเทย่ี วเชงิ ธรุ กจิ และความบนั เทงิ โดยมุ่งหน้าสู่การท่องเที่ยวเชิงคุณภาพและเสริมสร้างเศรษฐกิจประเทศ” โดยเน้นเร่ืองการพัฒนาการท่องเที่ยว เชิงอุตสาหกรรมและการทอ่ งเท่ยี วเชิงธุรกจิ รวมถึงการสร้างสรรค์แหล่งท่องเท่ียวใหม่ๆ เหตผุ ลท่ปี ระเทศสิงคโปร์สามารถ เป็นตัวอย่างในการพัฒนาให้กับประเทศไทยได้เพราะความโดดเด่นด้านการบริหารจัดการ อีกทั้งยังเป็นคู่แข่งที่มีคุณภาพ สูงในภูมิภาค ซึ่งจากการศึกษาพบว่าจุดเรียนรู้ส�ำหรับประเทศไทยอยู่ท่ีการตั้งเป้าหมายท่ีสามารถบรรลุได้จริง รวมไปถึง การปรับเปลี่ยนเป้าหมายให้เข้ากับความเป็นไปในตลาดการพัฒนาทักษะแรงงานในประเทศ การส่งเสริมการท่องเท่ียว เชงิ คุณภาพ และการเสรมิ สร้างความร่วมมอื ระหวา่ งภาครฐั และเอกชน ๒.๗ ประเทศมาเลเซีย๑๖ ประเทศมาเลเซียเป็นหน่ึงในประเทศช้ันน�ำของโลกด้านอุตสาหกรรมท่องเท่ียว สามารถสร้างรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติในปี ๒๕๕๘ จ�ำนวน ๑๗,๕๙๗ ล้านเหรียญสหรัฐ มีผลให้เกิดการจ้างงาน กว่าร้อยละ ๑๔ และส่งผลต่อรายได้มวลรวมประชาชาติ (GNP) กว่า ๙ พันล้านเหรียญสหรัฐ อย่างไรก็ตาม รัฐบาล ไดเ้ ผชญิ กบั ปญั หาการพงึ่ พานกั ทอ่ งเทย่ี วระดบั กลางทม่ี ากเกนิ ไป ทำ� ใหค้ ณุ ภาพของสนิ คา้ ลดลง และสง่ ผลใหต้ ลาดแรงงาน ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวหดตัวลง การพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศมาเลเซียมีวิสัยทัศน์ว่า “การเพิ่ม GNP จากอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวถึง ๓ เท่า ภายใน ปี ๒๕๖๓ เพ่ือส่งเสริมอัตราการเติบโตของรายได้ต่อประชากร และอัตราการจ้างงาน” โดยการส่งเสริมรายได้ต่อนักท่องเที่ยว และการพัฒนาเพิ่มก้าวข้ึนมาเป็นผู้น�ำในภูมิภาค ๑๓ กลยทุ ธก์ ารทอ่ งเทย่ี วญปี่ นุ่ สปู่ ี พ.ศ. ๒๕๖๓ (Tourism Strategy of Japan ๒๐๒๐) ๑๔ Skyscanner ๒๐๑๖ ๑๕ ทศิ ทางการทอ่ งเทย่ี วสิงคโปรส์ ู่ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ (Singapore Tourism Compass ๒๐๒๐) ๑๖ แผนปฎิรูปเศรษฐกจิ ชาตมิ าเลเซีย (Malaysia ๒๐๒๐ Economic Transformation Programme) 16 เเผนพฒั นาการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ

ดา้ นการท่องเที่ยว เชงิ ครอบครัวและเชิงธุรกจิ บนั เทงิ สปา และกีฬา อีกท้ัง ยงั เรง่ พัฒนาการเชือ่ มตอ่ กบั ประเทศในภมู ภิ าค ท้ังนี้ ประเทศมาเลเซียเป็นประเทศเพ่ือนบ้านของไทยและประเทศคู่แข่งที่ส�ำคัญท่ีมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว ประสบความสำ� เร็จในการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วเชงิ นิเวศ และการท่องเทีย่ วแบบพำ� นักระยะยาว ซงึ่ ประเทศไทยมีศกั ยภาพ และต้นทุนด้านทรัพยากรใกล้เคียงกับประเทศมาเลเซีย จึงสามารถน�ำแนวทางในการพัฒนาการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ และการทอ่ งเทยี่ วแบบพำ� นกั ระยะยาวมาเปน็ ตน้ แบบของประเทศไทย ซงึ่ พบวา่ จดุ เรยี นรเู้ พอ่ื การพฒั นาอยทู่ ก่ี ารปรบั เปลยี่ น นโยบายและแผนการตลาด ให้สอดคลอ้ งกบั พลวตั การเปลีย่ นแปลงของความต้องการของนกั ท่องเที่ยวและนกั ลงทุน สรุปการศึกษาทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศต้นแบบและประเทศคู่แข่งรายส�ำคัญจากการศึกษา สภาวการณ์ด้านการท่องเท่ียวและแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติของประเทศคู่แข่งและประเทศต้นแบบรายส�ำคัญ ทงั้ ๗ ประเทศ สามารถสรปุ สาระสำ� คญั ไดว้ า่ หลายประเทศเนน้ การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน อนั รวมถงึ การพฒั นาคณุ ภาพ ของสิ่งอำ� นวยความสะดวก การคมนาคม การอำ� นวยความสะดวกแกน่ กั ท่องเที่ยวเพอื่ การเข้ามาท่องเท่ยี ว และการพฒั นา คุณภาพของบุคลากร อีกหนึ่งข้อเรียนรู้คือการน�ำเอาเทคโนโลยีมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและเพื่ออ�ำนวยความสะดวก ด้านข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ในด้านทิศทางการพัฒนาบางประเทศเลือกท่ีจะต้ังเป้าหมายดึงดูดนักท่องเท่ียวอย่าง เฉพาะเจาะจง ในขณะทบ่ี างประเทศตงั้ เปา้ หมายการพฒั นาเชงิ กลมุ่ การทอ่ งเทย่ี วทปี่ ระเทศนน้ั ๆ มศี กั ยภาพ การบรู ณาการ เปน็ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาทไี่ ดร้ บั การเนน้ ยำ�้ ในทกุ แผนพฒั นาฯ เนอ่ื งจากการบรู ณาการของหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งเปน็ กลไก สำ� คญั ทชี่ ว่ ยผลกั ดนั แผนใหเ้ ปน็ รปู ธรรม และชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั ความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทยี่ ว ทเี่ ปล่ียนแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ ๓. นโยบายและแผนยุทธศาสตรด์ า้ นการทอ่ งเท่ียว ปัจจุบันอุตสาหกรรมท่องเท่ียวถือเป็นกลไกส�ำคัญในการพัฒนาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ อกี ทงั้ มขี ดี ความสามารถทางการแขง่ ขนั ในระดบั สงู ตลอดจนภาครฐั ยงั ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั และใหก้ ารสนบั สนนุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผ่านยุทธศาสตร์และแผนงานด้านการท่องเที่ยวในทุกระดับ ได้แก่ ระดับนานาชาติ เช่น แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว อาเซียน (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๘) แผนการตลาดการท่องเที่ยวอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้�ำโขง (พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๓) กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศอ่ืนๆ เช่น CLMVT (กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนาม ไทย) ระดับนโยบาย เช่น (รา่ ง) ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) (รา่ ง) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ระดบั สว่ นกลาง เชน่ ยทุ ธศาสตรก์ ารทอ่ งเทยี่ วไทย (พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ระดับจงั หวัดและทอ้ งถ่นิ เช่น แผนยทุ ธศาสตรก์ ารท่องเทยี่ วจงั หวัด แผนพัฒนาจังหวดั และกลมุ่ จงั หวดั แผนพฒั นาเขตพน้ื ทท่ี อ่ งเทย่ี วระดบั สาขา เชน่ แผนแมบ่ ทอตุ สาหกรรมการจดั ประชมุ และงานแสดงสนิ คา้ นานาชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) แผนยุทธศาสตรส์ ่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ (พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒) ๓.๑ รายงานการคาดการณ์อนาคตการท่องเทยี่ วโลกสปู่ ี ๒๕๗๓ (Tourism Towards ๒๐๓๐) โดยองคก์ าร การท่องเท่ยี วโลก (UNWTO) คาดว่า แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วใหม่จะไดร้ บั ผลประโยชนจ์ ากแนวโน้มและโอกาสท่ีจะเกดิ ขนึ้ ดงั น้นั จึงควรเตรียมความพร้อมในการเปล่ียนแปลงและความท้าทายท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการก�ำหนดนโยบาย ตลอดจน มาตรการตา่ งๆ ในดา้ นการสง่ เสรมิ และพฒั นาสภาพแวดลอ้ มทางธรุ กจิ โครงสรา้ งพน้ื ฐาน สง่ิ อำ� นวยความสะดวก การตลาด และการพัฒนาบุคลากร เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ พร้อมท้ังสามารถ ป้องกนั และลดผลกระทบทางลบต่างๆ ให้การทอ่ งเที่ยวสามารถเตบิ โตได้อยา่ งเหมาะสมและยั่งยนื เเผนพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 17 คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

๓.๒ แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวอาเซียน (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๘) ได้มุ่งเน้นการผลักดันการบูรณาการ ของอาเซยี นในทุกมิติอย่างสมบูรณ์ โดยมุ่งพฒั นาการตลาด มาตรฐานคณุ ภาพ ทรพั ยากรมนษุ ย์ ความเชื่อมตอ่ การลงทนุ และการอนุรักษ์แหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมระหว่างประเทศในภูมิภาค ท้ังน้ี เพ่ือพัฒนาอาเซียนให้เป็น แหล่งท่องเท่ียวคุณภาพที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างย่ังยืน โดยมีเป้าหมายการพัฒนา คือ การเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของการท่องเท่ียวของอาเซียน และเสริมสร้างความย่ังยืนและการกระจายรายได้สู่ทุกภาค สว่ นของการทอ่ งเที่ยว ๓.๓ (รา่ ง) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) เปน็ แผนแม่บทระดบั ชาติ ที่วางรากฐาน การพฒั นาของประเทศไทย ทม่ี ุ่งพัฒนาใหป้ ระเทศไทยเป็นประเทศที่มีความมัน่ คง มงั่ ค่งั ยง่ั ยนื เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ ด้วยการพฒั นาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีเป้าหมายหลัก คือ การพัฒนาใหป้ ระเทศมีขีดความสามารถในการ แขง่ ขนั สงู มรี ายไดส้ งู อยใู่ นกลมุ่ ประเทศพฒั นาแลว้ คนไทยมคี วามสขุ อยดู่ ี กนิ ดี สงั คมมคี วามมนั่ คง เสมอภาคและเปน็ ธรรม ซึ่งจะช่วยยกระดับคุณภาพของประเทศไทยในทุกภาคส่วนและน�ำพาประเทศไทยให้หลุดพ้นทั้งปัญหาทางเศรษฐกิจ ปญั หาความเหลอ่ื มล้ำ� ปัญหาการทุจริตคอรัปชัน่ และปัญหาความขัดแย้งในสงั คม ตลอดจนสามารถรับมือกบั ภัยคกุ คาม และบรหิ ารจดั การกับความเสี่ยงที่จะเกดิ ขึน้ ในอนาคต ๓.๔ (รา่ ง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จะม่งุ บรรลเุ ป้าหมาย ในระยะ ๕ ปีท่ีจะสามารถต่อยอดในระยะต่อไปเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาระยะยาวตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ป ี โดยในสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การทอ่ งเทยี่ วนน้ั จะมงุ่ พฒั นาอตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ วเชงิ บรู ณาการใหเ้ ตบิ โตอยา่ งสมดลุ และยงั่ ยนื โดยมแี นวทางการพฒั นา ๓ แนวทาง คอื (๑) สง่ เสรมิ การสร้างรายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ ว โดยสง่ เสรมิ การสรา้ งมูลค่าเพ่ิม ให้กับสินค้าและบรกิ าร พฒั นา กลมุ่ คลสั เตอรท์ อ่ งเที่ยว ฟ้นื ฟูความเชือ่ ม่นั และด�ำเนินกลยุทธ์ทางการตลาด พัฒนาทกั ษะ ฝีมือบุคลากร และพฒั นาระบบคมนาคมขนส่งให้เกดิ ความเชอื่ มโยงกันเป็นโครงขา่ ย (๒) ปรับปรงุ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกบั การท่องเที่ยวให้มีความทันสมัย จัดท�ำและบังคับใช้มาตรฐานด้านการท่องเที่ยว โดยปรับปรุงให้เอ้ือต่อการพัฒนา ส�ำหรับอนาคต สอดคล้องกับสภาวการณ์ และส่งเสริมให้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงการท่องเที่ยวได้ (๓) ปรับโครงสร้าง การบริหารจัดการดา้ นการท่องเที่ยว ๓.๕ ยทุ ธศาสตรก์ ารทอ่ งเทีย่ วไทย (พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐) เป็นแผนพฒั นาการท่องเท่ยี วไทยในชว่ งรอยต่อ ของแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติฉบับแรกและฉบับที่ ๒ โดยมีการเน้นย�้ำเรื่องการวางรากฐานการพัฒนาให้มี การปรับตวั ใหส้ อดคลอ้ งกับทศิ ทางการเปล่ยี นแปลงของโลก และสง่ เสริมการทอ่ งเที่ยวใหป้ ระเทศไทยเปน็ แหล่งท่องเที่ยว คุณภาพอยา่ งมดี ลุ ยภาพและยงั่ ยนื โดยมี ๓ ยทุ ธศาสตร์หลกั ไดแ้ ก่ (๑) การส่งเสริมตลาดทอ่ งเทย่ี ว (๒) การพัฒนาสินค้า และบรกิ าร และ (๓) การบริหารจัดการการทอ่ งเทยี่ ว เพอื่ เปา้ หมายการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว ๒.๕ ล้านลา้ นบาท ในปี ๒๕๖๐ และเป็นแหล่งกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น รวมท้ังการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีและชุมชนมีความเข้มแข็ง และการมีจิตส�ำนึกในการพัฒนาบนพืน้ ฐานของความสมดลุ และยง่ั ยนื ๓.๖ แผนสง่ เสริมตลาดการทอ่ งเทย่ี วแห่งประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๖๐) ที่จัดทำ� ข้ึนเพ่ือม่งุ เน้นการขับเคลอ่ื น ประเทศไทยไปสกู่ ารเป็น “แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วยอดนิยม หรอื Preferred Destination” ซ่ึงรวมถงึ การปรบั เปลย่ี นภาพลกั ษณ์ ของประเทศจาก “Value for Money” ไปสู่การเป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีรองรับนักท่องเที่ยวระดับคุณภาพมากข้ึน อีกทั้ง เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อผลักดันการท่องเท่ียวของประเทศไทยสู่ความยั่งยืน ซ่ึงคงไว้ด้วยเอกลักษณ์ความเป็นไทย รกั ษาสมดลุ ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มเสรมิ สรา้ งผปู้ ระกอบการและแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วใหไ้ ดม้ าตรฐาน และคำ� นงึ ถึงชุมชนและสังคมในด้านการสร้างรายได้อย่างเท่าเทียมทุกภาคส่วน โดยให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมการตลาดและ 18 เเผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแหง่ ชาติ

ประชาสัมพนั ธ์เพอื่ เนน้ คณุ ค่าการท่องเที่ยวของประเทศไทย การขับเคลือ่ นห่วงโซค่ ุณค่า (Value Chain) ในอตุ สาหกรรม ท่องเท่ียวเพื่อสร้างความพึงพอใจแก่นักท่องเที่ยว สร้างมูลค่าเพ่ิม และกระจายรายได้อย่างยั่งยืนทุกภาคส่วน และการพฒั นาขอ้ มูลเชิงลกึ ด้านความตอ้ งการของตลาดทอ่ งเที่ยว จากนโยบายและยุทธศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวดังกล่าว น�ำมาสู่แนวคิดหลักในการจัดท�ำแผนพัฒนา การท่องเทยี่ วแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) โดยแนวทางการพัฒนาการทอ่ งเที่ยวของไทยในระยะ ๕ ปีถดั ไป ควรก�ำหนดภายใตก้ รอบแนวคิดหลักๆ ดังน้ี หลักการสำ� คัญ คอื ส่งเสรมิ ความมนั่ คง ม่งั คง่ั ย่ังยนื ของประเทศ วางตำ� แหนง่ ทางการตลาดเป็นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว คณุ ภาพ เป็นแหลง่ เพิ่มรายได้ และกระจายความเจรญิ ส่ปู ระชาชน เชดิ ชอู ตั ลักษณแ์ ละวฒั นธรรมไทย เป้าหมายของการพัฒนา คือ การยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศพัฒนาแล้ว การบริหารจัดการ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การเป็นแหล่งทอ่ งเทยี่ วคุณภาพอย่างย่ังยืน ประเดน็ ยทุ ธศาสตรห์ ลกั คอื การยกระดบั สนิ คา้ เเละบรกิ าร การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานการสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ ว เชงิ คณุ ภาพ การพฒั นาการบริหารจัดการด้านการท่องเท่ียว ๔. ผลการด�ำเนินงานตามแผนพฒั นาการท่องเท่ยี วแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ แผนพฒั นาการท่องเทย่ี วแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ กำ� ลงั จะสิ้นสุดภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ซง่ึ ไดม้ ีการกำ� หนด วิสัยทัศน์ไว้ดังนี้ “ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่มีคุณภาพ มีขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว ในระดบั โลก สามารถสรา้ งรายไดแ้ ละกระจายรายไดโ้ ดยคำ� นงึ ถงึ ความเปน็ ธรรม สมดลุ และยงั่ ยนื ” โดยไดก้ ำ� หนดเปา้ หมาย ไว้ ๓ ดา้ น คอื ๑) อนั ดบั ขดี ความสามารถในดา้ นการทอ่ งเทยี่ วของประเทศไทยเพม่ิ ขนึ้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๕ อนั ดบั หรอื เปน็ ลำ� ดบั ๑ - ๗ ของทวีปเอเชีย ๒) รายได้จากการท่องเที่ยวของประเทศเพิ่มข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ และ ๓) กลุ่มท่องเที่ยว ได้รับการพฒั นา ๘ กลุ่มทอ่ งเทย่ี ว และเพ่ือให้การพัฒนาสามารถบรรลุได้ตามวิสัยทัศน์ และเป้าหมายดังกล่าว จึงได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ๕ ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ ๑) การพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและสิง่ อ�ำนวยความสะดวกเพอื่ การทอ่ งเท่ยี ว ๒) การพัฒนาและฟ้นื ฟ ู แหล่งท่องเทย่ี วใหเ้ กิดความย่ังยนื ๓) การพัฒนาสินคา้ บริการและปัจจยั สนับสนนุ การทอ่ งเท่ียว ๔) การสร้างความเชอื่ มัน่ และส่งเสริมการท่องเที่ยว และ ๕) การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน และองค์กรปกครอง โดยการประเมินผลการพัฒนาเมื่อส้นิ สดุ ระยะของแผนพัฒนาฯ สามารถสรปุ ได้ดงั นี้ ๔.๑ ประสทิ ธภิ าพและความสำ� เรจ็ ของแผนฯ การประเมินประสิทธภิ าพใน ๔ มิติ คือ วสิ ัยทัศน์ เปา้ ประสงค์ การพฒั นา ยทุ ธศาสตร์ขบั เคลอ่ื น และตวั ชว้ี ัดความส�ำเร็จ มผี ลการประเมนิ ที่ส�ำคัญ ดังน้ี ๔.๑.๑ วิสยั ทศั น์ จากการสำ� รวจ พบวา่ กวา่ รอ้ ยละ ๖๑ เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ วา่ วสิ ยั ทศั นข์ องแผนพฒั นาฯ นัน้ มปี ระสทิ ธภิ าพในการขบั เคลอ่ื นการทอ่ งเทย่ี วประเทศไทย ซง่ึ มกี ารเสนอแนะจากหนว่ ยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชนทเี่ กย่ี วขอ้ ง ในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว ให้เพ่ิมการมุ่งเน้นการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ เพ่ือดึงดูดกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มี คณุ ภาพ ซง่ึ มกี ารใชจ้ า่ ยตอ่ นกั ทอ่ งเทยี่ วและระยะเวลาในการทอ่ งเทยี่ วสงู ขน้ึ ปจั จยั ดงั กลา่ วจะสามารถเพมิ่ ความมงั่ คง่ั และ กระจายรายได้สูช่ ุมชนได้ ๔.๑.๒ เปา้ ประสงค์การพฒั นา กว่ารอ้ ยละ ๘๔ เขา้ ใจถงึ เปา้ ประสงคใ์ นการพัฒนาการท่องเทยี่ วไทยน่ันคอื การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน การสร้างและกระจายรายได้อย่างยั่งยืน และการเพ่ิมรายได้จากการท่องเท่ียว อย่างไรก็ตาม จากการสอบถามความคิดเห็นเชิงลึก พบว่ามีเพียงร้อยละ ๓๕ เท่านั้นท่ีเห็นด้วยกับเป้าประสงค์ท้ังหมด เเผนพฒั นาการท่องเทยี่ วแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 19 คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ

ซึ่งได้มีการน�ำเสนอว่าในการพัฒนาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวในฉบับต่อไป ควรจะมีการก�ำหนดเจ้าภาพ หน้าท ่ี และความรบั ผิดชอบของแต่ละหนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วข้อง อยา่ งชดั เจน อีกทัง้ ต้องมกี ารนยิ ามเปา้ ประสงคข์ องแผนอย่างชดั เจน เพ่ือให้งา่ ยตอ่ หนว่ ยงานที่เกีย่ วข้องท่ีจะน�ำไปเปน็ แนวทางพฒั นา ๔.๑.๓ ยุทธศาสตร์ขับเคล่ือน พบว่ามีเพียงร้อยละ ๔๑ ที่สามารถน�ำแนวทางท้ังหมดจากแผนพัฒนา การท่องเท่ียวแห่งชาติไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ีเพราะการขับเคล่ือนแผนสู่การปฎิบัติท่ียังขาดการบูรณาการ เชิงรวมระหว่างภาคีต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและเอกชน อีกท้ังหลายหน่วยงานยังไม่เห็นการพัฒนาการท่องเที่ยว เป็นหน้าที่หลักของหน่วยงาน จากสาเหตุดังกล่าวท�ำให้การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและโครงสร้างพ้ืนฐานไม่สามารถ บรรลุเป้าหมายได้ตามท่ีคาดหวังและหากพิจารณาการประเมินผลตามเป้าหมายหรือตัวช้ีวัดที่ได้ก�ำหนดไว้ พบว่า ในภาพรวมแผนพฒั นาฯ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ประสบความสำ� เรจ็ บรรลตุ ามเปา้ หมายในทุกดา้ น ดงั น้ี เป้าหมายที่ ๑ ด้านขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว จากการจัดอันดับโดย World Economic Forum ด้วยดัชนี Travel & Tourism Competitive Index ซึ่งประกอบไปด้วย ๔ กลุ่ม ตัวช้ีวัด ครอบคลุม ๑๔ ตัวช้วี ดั ยอ่ ย อาทิ สภาวะแวดล้อมท่ีเอ้ืออ�ำนวยต่อการพัฒนาธุรกิจในอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว โครงสร้าง พื้นฐาน นโยบายการท่องเท่ียวและปัจจัยเกื้อหนุน รวมไปถึงทรัพยากรทางธรรมชาติและวัฒนธรรม โดยประเทศไทย มีเป้าหมายการเพ่ิมอันดับขีดความสามารถอย่างน้อย ๕ อันดับ ภายในปี ๒๕๕๙ หรือเป็นล�ำดับ ๑ - ๗ ของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ท้ังนี้พบว่าอันดับขีดความสามารถด้านการท่องเท่ียวของไทยโดยรวมพัฒนาข้ึน ๖ อันดับ มาอยูท่ อี่ นั ดับ ๓๕ ของโลก ในปี ๒๕๕๘ ซึ่งบรรลเุ ป้าหมายท่กี ำ� หนดไว้ โดยมีรายละเอียดดังน้ี ๑) ขีดความสามารถด้านการท่องเที่ยวโดยรวมเปรียบเทียบในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คงท่ีท่ีอันดับ ๑๐ ในภูมิภาคเม่อื เปรียบเทียบกับการจัดอันดบั ในปี ๒๕๕๔ ๒) ขดี ความสามารถดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ ธรรมชาติ และวฒั นธรรมในภมู ภิ าคเอเชยี แปซฟิ กิ ดขี นึ้ ๒ อนั ดบั จากอนั ดบั ที่ ๖ มาส่อู ันดับที่ ๔ ๓) ขีดความสามารถด้านสภาวะแวดล้อมและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คงท่ีอยู่ท ่ี อันดับ ๙ ๔) ขดี ความสามารถดา้ นกฎระเบียบท่เี กีย่ วกบั การทอ่ งเท่ยี วในภมู ภิ าคเอเชียแปซฟิ กิ ถดถอยลง ๓ อันดบั จากอันดับที่ ๑๐ มาสู่อันดับท่ี ๑๓ แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาของประเทศอ่ืนๆ ในภูมิภาคที่เร็วกว่า โดยเฉพาะอย่างย่ิง กฎหมายที่เก่ยี วข้องกับการท่องเท่ยี วยังไม่เอือ้ อ�ำนวยต่อการพฒั นาการท่องเที่ยวมากนัก อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาขีดความสามารถด้านการท่องเท่ียวของประเทศไทยในรายละเอียด พบว่า ความสามารถด้านความปลอดภยั และความสามารถด้านความย่งั ยนื ของส่ิงแวดล้อมยังอยู่ในล�ำดับท่นี า่ เป็นห่วง คืออยใู่ น ล�ำดับท่ี ๑๓๒ และ ๑๑๖ ของโลก ตามล�ำดับ แสดงให้เห็นถึงความจ�ำเป็นที่จะพัฒนาความปลอดภัยและภาพลักษณ์ ดา้ นความปลอดภยั ในการมาทอ่ งเทีย่ วในประเทศไทย รวมถงึ การวางมาตรการอยา่ งมรี ะบบ เพ่ือส่งเสรมิ การฟ้นื ฟู อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ เพอื่ เพมิ่ ศกั ยภาพด้านการทอ่ งเทีย่ วของประเทศ เป้าหมายท่ี ๒ ด้านรายได้จากนักท่องเท่ียว ในระยะ ๕ ปีท่ีผ่านมา หรือช่วงระหว่างปี ๒๕๕๔-๒๕๕๘ รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติและนักท่องเท่ียวไทย เพิ่มข้ึนในอัตราร้อยละ ๑๕.๖ ต่อปี สูงกว่าเป้าหมายท่ีตั้งไว้ ร้อยละ ๕ ต่อปี นอกจากนี้ พบว่าที่พักและการเลือกซื้อสินค้าเป็นปัจจัยหลักในการสร้างรายได้จากนักท่องเที่ยว โดยส่งผลกวา่ ร้อยละ ๕๐ ของรายได้ท้งั หมดในชว่ งปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ 20 เเผนพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ

เป้าหมายที่ ๓ ด้านการจัดต้ังเขตพัฒนาการท่องเท่ียว (Cluster) พบว่าในระยะที่ผ่านมาได้มีการออก กฎกระทรวงก�ำหนดเขตพัฒนาการท่องเที่ยวไปแล้วรวม ๘ เขต ประกอบด้วย เขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก เขตพัฒนาการท่องเท่ียวฝั่งทะเลตะวันออก เขตพัฒนาการท่องเที่ยวอันดามัน เขตพัฒนาการท่องเท่ียวอารยธรรมล้านนา เขตพฒั นาการท่องเท่ียวอารยธรรมอีสานใต้ เขตพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วมรดกโลกดา้ นวัฒนธรรม เขตพฒั นาการท่องเทีย่ ววิถี ชวี ติ ลมุ่ แมน่ ำ�้ โขง และเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ววถิ ชี วี ติ ลมุ่ แมน่ ำ�้ เจา้ พระยาตอนกลาง พรอ้ มทง้ั ไดม้ กี ารจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ าร พัฒนาการท่องเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวท้ัง ๘ เขต เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการบูรณาการการพัฒนา ในเขตพื้นทใ่ี นระยะ ๕ ปีถัดไป ๔.๑.๔ ตวั ช้วี ัดความส�ำเรจ็ รอ้ ยละ ๕๐ เหน็ ด้วยกบั ประสิทธิภาพของตวั ชวี้ ดั ความส�ำเรจ็ ของแผนพฒั นาฯ ในขณะทกี่ ลมุ่ ผสู้ ำ� รวจทเ่ี หลอื กวา่ รอ้ ยละ ๒๐ เหน็ วา่ ควรมกี ารกำ� หนดตวั ชวี้ ดั ความสำ� เรจ็ ในดา้ นความยง่ั ยนื ของการพฒั นา อาทิ จำ� นวนแหลง่ ท่องเท่ียวเชิงคณุ ภาพทไ่ี ด้รบั การปรบั ปรุงและพฒั นา หรือจำ� นวนนักท่องเท่ียวทม่ี คี ุณภาพ มีการใช้จา่ ย ต่อนักท่องเทย่ี วและระยะเวลาในการท่องเที่ยวที่ยาวนานข้นึ และในด้านความตอ่ เนื่องของแผนในการพัฒนาระยะยาว ๔.๒ ข้อเสนอแนะส�ำหรับการจัดท�ำแผนพัฒนาการท่องเที่ยวในระยะต่อไป จากการส�ำรวจความคิดเห็น กับผู้ที่เก่ียวข้องกับแผนฯ พบว่าการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานรวมถึงส่ิงอ�ำนวยความสะดวกและความยั่งยืนของ แหล่งท่องเท่ียวเป็นมิติที่ส�ำคัญท่ีสุดต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวของไทย อีกท้ังได้รับทราบข้อจ�ำกัดและข้อเสนอแนะ เพื่อประกอบการจดั ทำ� แผนพฒั นาการท่องเทยี่ วของไทยในอนาคต ดงั นี้ ๔.๒.๑ ขอ้ จ�ำกดั ของการด�ำเนนิ งานตามแผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ ๑) ไม่มีการก�ำหนดตัวชี้วัดความส�ำเร็จในประเด็นความยั่งยืนของการพัฒนาและความต่อเนื่อง ของการดำ� เนนิ งานตามแผนพฒั นาฯ ๒) ไม่มกี ารก�ำหนดตัวชวี้ ัดความสำ� เรจ็ ด้านรายได้ในภาพรวม การกระจายรายไดจ้ ากการทอ่ งเที่ยว และคุณภาพของรายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ วท�ำใหก้ ารวัดผลตามเป้าประสงค์ยังขาดความชัดเจน ๓) ไมไ่ ดต้ ดิ ตามและประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานตามแผนยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนปฏบิ ตั กิ ารของเขตพฒั นา การท่องเทีย่ วตามกลไกที่ก�ำหนดไว้ ๔.๒.๒ ขอ้ เสนอแนะแนวทางการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วของไทยในอนาคต ๑) จัดตั้งหน่วยงานหลักเพื่อรับผิดชอบการด�ำเนินงานตามแผน โดยมอบหมายให้กระทรวง การท่องเท่ียวและกีฬา ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ เป็นหน่วยงานกลาง ในการประสานงาน ก�ำกับ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาการท่องเท่ียวตามเขตพัฒนาการท่องเท่ียวและบูรณาการ การท�ำงานของหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งในทกุ ระดับ ๒) พฒั นาศกั ยภาพของสถานท่ีท่องเท่ียว สินค้า และบริการ เพ่ือให้รองรบั ความตอ้ งการทเี่ พิ่มขึ้น อย่างตอ่ เน่ือง ๓) ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบ เพ่ือส่งเสริมความย่ังยืนของสถานที่ท่องเที่ยว โดยเฉพาะ ในแหล่งท่เี สี่ยงต่อการเสื่อมโทรม เชน่ สถานทท่ี ่องเท่ียวทางธรรมชาติ และทางวัฒนธรรม ๔) ดงึ ดดู นกั ทอ่ งเทย่ี วคณุ ภาพ เพอ่ื การเพมิ่ คา่ ใชจ้ า่ ยเฉลยี่ ตอ่ หวั และระยะเวลาพำ� นกั ของนกั ทอ่ งเทยี่ ว ๕) ปรับปรุงกฎหมายและข้อบังคับให้สอดคล้องกับพลวัตการเปลี่ยนแปลง เช่น การใช้เทคโนโลยี ดา้ นการท่องเที่ยว และการพำ� นักระยะยาว เปน็ ตน้ เเผนพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 21 คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแหง่ ชาติ

๕. สรุปผลการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพและโอกาสการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วไทย อุตสาหกรรมท่องเที่ยวทั่วโลกมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเน่ือง โดยมีปัจจัยขับเคล่ือนมาจากเศรษฐกิจโลกท่ี พฒั นาขน้ึ ซงึ่ สง่ ผลตอ่ การเพม่ิ ขนึ้ ของชนชนั้ กลางทม่ี ศี กั ยภาพในการทอ่ งเทยี่ ว กอปรกบั การเตบิ โตของสายการบนิ ตน้ ทนุ ตำ�่ ที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางและเพิ่มการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวรอง ท�ำให้มีจ�ำนวนนักท่องเที่ยวทั่วโลกเพ่ิมสูงข้ึน อีกท้ังการเติบโตของประชากรสูงวัยซึ่งเป็นกลุ่มท่ีมีความสามารถในการจับจ่ายใช้สอยสูง ซ่ึงช่วยสนับสนุนการเติบโต ของกลุ่มนักท่องเที่ยวท่ัวโลก ดังน้ัน การพัฒนาการท่องเที่ยวควรให้ความส�ำคัญกับการอ�ำนวยความสะดวก กลุ่มนักท่องเที่ยวสูงวัย อีกหน่ึงแนวโน้มส�ำคัญ คือการปรับใช้เทคโนโลยีในการท่องเที่ยว เนื่องจากการเติบโต อยา่ งกา้ วกระโดดของการใชเ้ ทคโนโลยใี นชวี ติ ประจำ� วนั และสอื่ สงั คมออนไลน์ การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วในอกี ๕ ปขี า้ งหนา้ ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาเทคโนโลยี ทง้ั ในดา้ นการเปน็ แหลง่ ขอ้ มลู สำ� คญั และการเปน็ เครอื่ งมอื อำ� นวยความสะดวก เพ่ือการท่องเที่ยว นอกจากนี้ ความต้องการของนักท่องเที่ยวมีการเปลี่ยนแปลงไปเช่นเดียวกันจากการเดินทางท่องเที่ยว เพอื่ เยย่ี มชมสถานทเี่ ปน็ การทอ่ งเทย่ี วทมี่ งุ่ เนน้ ประสบการณ์ ซงึ่ นบั เปน็ โอกาสของประเทศไทยทจ่ี ะนำ� จดุ เดน่ ดา้ นวฒั นธรรม และความเปน็ อยวู่ ถิ ีไทยมานำ� เสนอตอ่ นกั ทอ่ งเท่ียวไดอ้ ยา่ งมีเอกลกั ษณ์ ในขณะเดียวกัน ประเทศต้นแบบและคู่แข่งรายส�ำคัญของประเทศไทยได้มีการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างรวดเร็ว โดยมีการเน้นย�้ำที่การพัฒนาคุณภาพของการท่องเที่ยวอย่างองค์รวม อันประกอบด้วยการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน การคมนาคม การอ�ำนวยความสะดวก คุณภาพของบุคลากร และการปรับใช้เทคโนโลยี อีกท้ังยังมีการผลักดัน การด�ำเนินงานอย่างบูรณาการ ทั้งระหว่างภาครัฐ ภาครัฐกับเอกชน และภาครัฐกับประชาชน ซ่ึงเป็นบทเรียนส�ำคัญ ของประเทศไทยในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเป็นกลไกน�ำไปสู่การพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม และเป็นรูปธรรม นอกจากน้ี จากการศึกษาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเท่ียว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ซ่ึงมุ่งให้ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีความมั่นคง มั่งค่ัง และย่ังยืน เป็นการวางหลักการ การพัฒนาให้อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยด้วยจุดมุ่งหมายเพ่ือให้การท่องเท่ียวสามารถเป็นแหล่งสร้างรายได้และ กระจายรายได้อย่างยั่งยืน อันจะช่วยขับเคล่ือนประเทศไทยให้เป็นประเทศรายได้สูงท่ีพัฒนาแล้วตามเจตจ�ำนง ของแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี อยา่ งไรกด็ ี ประเทศไทยยงั ประสบปญั หาในดา้ นความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ความปลอดภยั ความสะอาด คณุ ภาพของแหล่งทอ่ งเทยี่ ว และการกระจายตัวของนกั ทอ่ งเทยี่ ว ดงั นนั้ แนวทางการพฒั นาตามแผนพัฒนา การทอ่ งเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จงึ ควรใหค้ วามส�ำคัญกับการพัฒนาคุณภาพของอตุ สาหกรรม การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานเพอ่ื เพมิ่ ความสะดวก ความปลอดภยั และการเชอื่ มตอ่ สพู่ น้ื ทท่ี อ่ งเทยี่ วตา่ งๆ รวมทง้ั การพฒั นา คุณภาพบุคลากรการท่องเที่ยว การสร้างจิตส�ำนึกและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เพื่อเปิดโอกาสการพัฒนา และสนบั สนุนการกระจายรายไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ โดยมีการส่งเสริมการตลาดอย่างมปี ระสิทธภิ าพและมีการปรบั ใชเ้ ทคโนโลยี รวมถึงการวางระบบบรหิ ารอยา่ งเปน็ รปู แบบเพอ่ื เพ่มิ การบูรณาการในการท�ำงาน วิสยั ทัศน์การทอ่ งเทีย่ วไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ และแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จึงได้จัดท�ำและพัฒนาข้ึนบนหลักการที่มุ่งส่งเสริมความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืนของประเทศไทยผ่านการพัฒนาการท่องเที่ยว ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดโลกและสอดรับกับศักยภาพของอุตสาหกรรมท่องเท่ียวของไทยบนเอกลักษณ์ ของความเป็นไทยที่โดดเด่นและมีคุณภาพระดับโลก เพื่อให้อุตสาหกรรมท่องเท่ียวสามารถเป็นแหล่งสร้างและกระจาย รายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างยงั่ ยืน 22 เเผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแหง่ ชาติ

การศกึ ษาคแู่ ขง่ และตน้ แบบรายสำ� คญั การทบทวนการพฒั นาการท่องเที่ยวของ ประเทศค่แู ขง่ และประเทศตน้ แบบรายสำ� คัญ การศกึ ษาสภาพแวดล้อมและบริบท วสิ ยั ทัศน์และยทุ ธศาสตร์ การทบทวนนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ การท่องเที่ยวของประเทศและของโลก การพฒั นาการท่องเท่ียวไทย ด้านการท่องเท่ยี วของไทย การศกึ ษาสถานการและแนวโนม้ > การศึกษาผลการวิจัยในอดตี การพจิ ารณาทิศทางการพฒั นาทเี่ กย่ี วขอ้ ง > ผลการวิจัย > การสัมภาษณผ์ ู้เชยี่ วชาญ > การประชุมกลมุ่ ย่อย > หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง การศึกษาผลการประเมินการด�ำเนินงาน ตามแผนฯ ฉ.๑ การพจิ ารณาถึงผลการดำ� เนินงานในอดีต > การประชุมกลม่ ย่อย > แบบสอบถามหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง > การสมั ภาษณผ์ ้เู ชีย่ วชาญ > ผลการด�ำเนนิ งานในระยะคร่งึ แผน กรอบแนวคดิ ในการจดั ท�ำรา่ งวสิ ัยทัศน์และแผนพฒั นาการท่องเที่ยวไทย เเผนพฒั นาการท่องเท่ยี วแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 23 คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแหง่ ชาติ

ส่ว๓นที่ วสิ ัยทศั นแ์ ละยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี วไทยมกี ารพฒั นาและเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจากจำ� นวนนกั ทอ่ งเทย่ี วชาวตา่ งชาตทิ เี่ พม่ิ ขน้ึ การขยายตัวของรายได้จากการท่องเท่ียว ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวอยู่ในอันดับที่ดีขึ้น และแหลง่ ท่องเท่ยี วของไทยได้รบั ความนิยมตดิ อนั ดบั ต้นๆ ของโลก อย่างไรกต็ าม อุตสาหกรรมท่องเท่ยี วของประเทศไทย ยงั ประสบปญั หาดา้ นความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรทอ่ งเทยี่ ว ปญั หาภาพลกั ษณด์ า้ นความปลอดภยั ความสะอาดถกู สขุ อนามยั ของแหล่งท่องเที่ยว คุณภาพ มาตรฐานการให้บริการของธุรกิจท่องเที่ยว และการกระจุกตัวของนักท่องเที่ยว ดังนั้น การก�ำหนดแนวทางการพัฒนาการท่องเท่ียวไทยในระยะต่อไป จึงควรให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาท่ีอยู่บนพ้ืนฐาน ของศักยภาพและโอกาสของประเทศไทยควบคู่ไปกับการแก้ไขปัญหาพ้ืนฐาน เพ่ือรักษาขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศในตลาดโลก โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา รักษา และยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการท่องเที่ยวไทย ให้สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเท่ียว เพ่ือให้การท่องเที่ยวเป็นกลไกในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ สกู่ ารเป็นประเทศพัฒนาแล้ว มคี วามมั่นคง ม่งั ค่ัง ยัง่ ยนื ตามกรอบยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี การจัดท�ำวิสัยทัศน์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ เป็นการด�ำเนินการในช่วงเวลาแห่งการปฏิรูปประเทศไทย ให้ก้าวไปสู่การเป็นประเทศท่ีมีความมั่นคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน โดยประชาชนและทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วม ในการปฏิรูป เพื่อประสานประโยชน์และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการพัฒนา การท่องเท่ียว คือผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวต่อประเทศในองค์รวม ได้แก่ การเป็นแหล่งสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ และกระจายรายได้สู่ประชาชน การแสดงให้เห็นถึงคุณค่าของอัตลักษณ์และวัฒนธรรมไทย และการส่งเสริมการพัฒนา คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ในขณะเดียวกันการก�ำหนดแนวทางการพัฒนาการท่องเท่ียวควรค�ำนึงถึงค่านิยมหลัก ของการท่องเท่ียวของประเทศ นั่นคือการปรับสมดุลการท่องเที่ยว การเชิดชูวิถีไทย และการเน้น “คน” เป็นศูนย์กลาง ของการพัฒนา โดยมีองค์ประกอบทก่ี ารทอ่ งเทีย่ วของไทยควรแสดงและคงไว้ ไดแ้ ก่ การอนรุ กั ษม์ รดกวัฒนธรรมอนั ดงี าม ของประเทศไทย การใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ ความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรทอ่ งเทย่ี วและนกั ทอ่ งเทยี่ ว การกระจายรายไดแ้ ละกระจาย ความเจรญิ สภู่ มู ภิ าคของประเทศ ดงั นนั้ เพอื่ ใหป้ ระเทศมแี นวทางในการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วไทยทชี่ ดั เจนและเปน็ รปู ธรรม จึงได้มีการก�ำหนดวิสัยทัศน์การท่องเท่ียวไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ โดยมีรายละเอียดเป้าประสงค์ ตัวช้ีวัด พันธกิจ ยุทธศาสตร ์ และแนวทางการดำ� เนนิ งานในระยะ ๕ ปี ดงั น้ี ๑. วสิ ยั ทศั นก์ ารทอ่ งเที่ยวไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ การวเิ คราะหส์ ถานการณแ์ ละแนวโนม้ การทอ่ งเทย่ี วทง้ั ในระดบั โลกและประเทศ รวมทงั้ พจิ ารณาองคป์ ระกอบสำ� คญั ในการกำ� หนดวิสยั ทศั น์ จงึ ได้ก�ำหนดวิสยั ทศั น์การท่องเทยี่ วไทย พ.ศ. ๒๕๗๙ ได้ดงั น้ี “ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยว คุณภาพชั้นน�ำของโลกที่เติบโตอย่างมีดุลยภาพบนพื้นฐานความเป็นไทย เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างย่ังยืน” โดยมีแนวคิดหลักในการพัฒนาตามองค์ประกอบ ๕ ประการดงั ตอ่ ไปนี้ 24 เเผนพัฒนาการท่องเทย่ี วแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ

๑.๑ ประเทศไทยเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วคณุ ภาพชนั้ นำ� ของโลก ดว้ ยการยกระดบั คณุ ภาพและเพมิ่ ความหลากหลาย ของสนิ คา้ และบริการด้านการทอ่ งเทย่ี วให้มีมาตรฐานเปน็ ที่ยอมรับในระดบั สากล มุ่งเพ่มิ รายไดจ้ ากการท่องเทย่ี วโดยเนน้ การเพ่ิมค่าใช้จ่ายและวันพักต่อครั้งของการเดินทางของนักท่องเท่ียว และเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ดา้ นการทอ่ งเทีย่ วของประเทศ ๑.๒ การเตบิ โตอยา่ งมดี ลุ ยภาพ โดยสง่ เสรมิ ดลุ ยภาพการเตบิ โตของการทอ่ งเทยี่ วระหวา่ งกลมุ่ นกั ทอ่ งเทยี่ ว อาทิ ระหว่างนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ ระหว่างนักท่องเที่ยวตามถิ่นท่ีอยู่ และระหว่างกลุ่มนักท่องเที่ยวทั่วไป และนักทอ่ งเท่ยี วทีม่ ีความสนใจเฉพาะ ส่งเสรมิ ดลุ ยภาพการเตบิ โตระหว่างพน้ื ท่ีทอ่ งเที่ยว โดยเนน้ การกระจายการพฒั นา การท่องเที่ยวในเมืองท่องเที่ยวรองและพ้ืนที่ชุมชนท้องถ่ิน ส่งเสริมดุลยภาพ การเติบโตระหว่างช่วงเวลาและฤดูกาล โดยเนน้ สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วในชว่ งเดอื นมถิ นุ ายน – กนั ยายน รวมทงั้ สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วในรปู แบบตา่ งๆ ทปี่ ระเทศไทย มีศกั ยภาพหรอื รูปแบบท่ีควรพฒั นา ๑.๓ การเตบิ โตบนพนื้ ฐานความเปน็ ไทย โดยเนน้ การพฒั นาสนิ คา้ และบรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทยี่ วและแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์และวิถีไทย เสริมสร้างความเข้าใจแก่นักท่องเที่ยวและประชาชน ถึงอัตลักษณ์ความเป็นไทย และเสริมสร้างความภาคภูมใิ จในความเปน็ ไทยและการเป็นเจา้ บา้ นทด่ี สี �ำหรบั ประชาชนทกุ ระดับ ๑.๔ การส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วน โดยมุ่งพัฒนา การทอ่ งเทย่ี วใหเ้ ปน็ แหลง่ เพม่ิ รายไดแ้ ละกระจายรายได้ แกป่ ระเทศพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วใหเ้ ปน็ กลไกหนง่ึ ในการขบั เคลอื่ น การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานของประเทศ เเละสรา้ งโอกาสเพอ่ื การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของชาติ พฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว ในภมู ภิ าคและเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วโดยเฉพาะพนื้ ทเ่ี มอื งรองและชนบท และสนบั สนนุ ภาคเอกชนลงทนุ ในอตุ สาหกรรม ทอ่ งเทีย่ วและอตุ สาหกรรมท่ีเก่ยี วเน่อื ง ๑.๕ การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื ดว้ ยการสง่ เสรมิ ความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม โดยการอนรุ กั ษ ์ และฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวที่เส่ียงต่อการเส่ือมโทรม การบริหารความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว และการปลูกฝัง จิตสำ� นึกความเป็นมติ รต่อสงิ่ แวดล้อม ส่งเสริมความย่งั ยนื ของวฒั นธรรม โดยการเชดิ ชแู ละรักษาไวซ้ งึ่ เอกลักษณ์ของไทย คุณคา่ ด้งั เดิมและภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์ระยะ ๒๐ ปี จึงได้มีการวางแนวทางการพัฒนาในแต่ละช่วงเวลาออกเป็นระยะ ๕ ป ี โดยในแผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) นเ้ี ปน็ การวางแผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วในระยะ ๕ ปีแรก ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อวางรากฐานและแก้ไขปัญหาเร่งด่วนที่เป็นอุปสรรคส�ำคัญต่อการพัฒนาการท่องเท่ียว ท้ังดา้ นคุณภาพแหล่งท่องเทยี่ ว บุคลากรการทอ่ งเท่ียว และโครงสร้างพนื้ ฐาน รวมท้ังการสรา้ งความสมดุลของการพฒั นา ท้ังในมิติของพื้นท่ี เวลา กิจกรรม รูปแบบ และกลุ่มนักท่องเท่ียว การเตรียมความพร้อมของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สู่การเติบโตในอนาคตบนพ้ืนฐานของการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ การท�ำงานอย่างบูรณาการระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน และระหว่างประเทศ ทั้งน้ี เพ่ือให้แผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) มีประสิทธิภาพท่ีจะเป็นแผนแม่บทในการพัฒนาการท่องเท่ียวไทยสู่วิสัยทัศน์ที่คาดหมาย ได้อยา่ งแทจ้ ริง ดังน้นั จงึ ได้ก�ำหนดเป้าประสงค์และตวั ชวี้ ดั การพฒั นาการท่องเที่ยวไทยในกรอบระยะเวลา ๕ ปีขา้ งหนา้ เพือ่ วางรากฐานสู่การบรรลุวิสยั ทศั นก์ ารท่องเทีย่ วไทย และขับเคลือ่ นการพัฒนาอุตสาหกรรม ทอ่ งเทย่ี วไทยไปในทิศทาง ท่เี หมาะสม ดงั นี้ เเผนพฒั นาการท่องเทีย่ วแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 25 คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

๒. เปา้ ประสงค์ ๒.๑ การเป็นแหลง่ ท่องเที่ยวคุณภาพ เพ่ือยกระดบั ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นการท่องเที่ยว ๒.๒ การเพม่ิ มูลคา่ ทางเศรษฐกิจของอตุ สาหกรรมทอ่ งเทีย่ วอย่างสมดุล ๒.๓ การกระจายรายได้และผลประโยชน์จากการทอ่ งเทีย่ วสูท่ กุ พื้นท่ีและทกุ ภาคส่วน ๒.๔ การพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วอย่างยง่ั ยนื บนพื้นฐานอัตลักษณแ์ ละวถิ ีไทย ๓. ตวั ชี้วดั ๓.๑ จ�ำนวนแหล่งท่องเที่ยวและสถานประกอบการด้านการท่องเท่ียวท่ีได้รับเครื่องหมายรับรองมาตรฐาน การท่องเทย่ี วไทย เพิ่มสูงขึ้นอย่างน้อยรอ้ ยละ ๕ ตอ่ ปี ๓.๒ อันดับขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว๑๗ ของประเทศไทย เป็น ๑ ใน ๓๐ อันดับแรก ของโลก หรอื ๑ ใน ๗ อนั ดบั แรกของภมู ภิ าคเอเชยี แปซฟิ ิก ๓.๓ ความเชือ่ มน่ั ในสนิ ค้าและบริการดา้ นการท่องเทย่ี วของไทยทมี่ ีคุณภาพไดม้ าตรฐานไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๙๐ ๓.๔ รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวตา่ งชาติ มีอัตราการขยายตัวไมต่ �ำ่ กวา่ รอ้ ยละ ๑๐ ต่อปี ๓.๕ การเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี วภายในประเทศของนกั ทอ่ งเทย่ี วชาวไทย มอี ตั ราการขยายตวั ไมต่ ำ�่ กวา่ รอ้ ยละ ๓ ตอ่ ปี ๓.๖ สดั ส่วนการเดินทางท่องเท่ยี วของนกั ท่องเทย่ี วตา่ งชาตใิ นช่วงเดอื นมถิ นุ ายน – กันยายน ไม่ต�่ำกว่า ๑ ใน ๓ ของการเดินทางตลอดท้ังปี ๓.๗ รายได้จากการท่องเท่ียวในจังหวัดรอง (จังหวัดท่ีมีจ�ำนวนผู้เยี่ยมเยือนต�่ำกว่า ๑ ล้านคน) มีอัตรา การขยายตวั ไมต่ ำ�่ กวา่ ร้อยละ ๑๒ ตอ่ ปี ๓.๘ ดัชนีการรับรู้และเขา้ ใจในเอกลกั ษณค์ วามเป็นไทยของนกั ท่องเที่ยวตา่ งชาติและนกั ท่องเท่ียวไทยเพ่ิมสูงข้นึ อยา่ งตอ่ เน่อื งทกุ ปี ๓.๙ อันดับขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว (TTCI) ของประเทศไทย ด้านความเด่นชัดของ วัฒนธรรมและนันทนาการจากการสืบค้นออนไลน์ด้านการท่องเที่ยว (Cultural & Entertainment Tourism Digital Demand) เป็น ๑ ใน ๑๐ อนั ดับแรกของโลก ๓.๑๐ ดัชนีด้านความย่ังยืนของส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติท่ีเกี่ยวข้องโดยตรงกับการท่องเท่ียวของ ประเทศไทยใน ๖ มิติท่ีสำ� คญั ๑๘ พัฒนาขน้ึ อยา่ งนอ้ ย ๑๐ อันดบั ในแตล่ ะมิติ ๔. พนั ธกจิ ๔.๑ พฒั นาคณุ ภาพของแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว สนิ คา้ และบรกิ ารในการทอ่ งเทยี่ วทกุ รปู เเบบอยา่ งมมี าตรฐานและสมดลุ อีกทั้งมีความย่ังยืนของแหล่งท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม และอัตลักษณ์วิถีไทย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของอุตสาหกรรม ท่องเท่ียวไทยใหม้ บี ทบาทส�ำคัญในการขบั เคล่ือนการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ ๑๗ TTCI: Travel & Tourism Competitiveness Index จัดทำ� โดย World Economic Forum ซง่ึ มีการเผยแพรร่ ายงานทุกๆ ๒ ปี ๑๘ อ้างองิ ตามดัชนีขดี ความสามารถทางการแข่งขนั ดา้ นการท่องเที่ยว (TTCI) ของ WEF ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ใน ๖ หวั ขอ้ ท่เี ก่ียวข้อง ได้แก่ ๙.๐๑ (Stringency of environmental regulations: ความเข้มงวดของกฎระเบยี บด้านส่ิงแวดล้อม), ๙.๐๒ (Enforcement of environmental regulations: การบงั คับใชก้ ฎระเบียบ ด้านสงิ่ แวดล้อม), ๙.๐๓ (Sustainability of T&T development: ความย่ังยนื ของการพฒั นาอุตสาหกรรมการเดนิ ทางและการทอ่ งเท่ยี ว), ๙.๐๙ (Wastewater treatment: การบริหารจัดการน�้ำเสยี ), ๑๓.๐๓ (Total protected areas: พนื้ ทท่ี ่ไี ด้รบั การอนุรักษ์), ๑๓.๐๕ (Quality of the natural environment: คุณภาพ ของสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาต)ิ 26 เเผนพฒั นาการท่องเทย่ี วแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแหง่ ชาติ

๔.๒ พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและสงิ่ อำ� นวยความสะดวกใหม้ คี ณุ ภาพและมาตรฐานในระดบั สากล สามารถรองรบั ปริมาณของนักท่องเที่ยวท่ีเติบโตอย่างต่อเนื่องและความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปตามบริบทแวดล้อม รวมท้ังสภาวะ การแขง่ ขันในอุตสาหกรรมท่องเท่ยี ว ๔.๓ พัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียว เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับภูมิภาคและระดับโลก สนบั สนุนการมีสว่ นรว่ มของประชาชนดา้ นการบรหิ ารจัดการการทอ่ งเทีย่ ว ตลอดจนสร้างความเขา้ ใจและความภาคภูมิใจ ในความเปน็ ไทย จติ ส�ำนกึ ทอ้ งถ่นิ และการเปน็ เจ้าบา้ นทด่ี ี ๔.๔ สร้างสมดุลในนักท่องเที่ยวผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม การส่งเสริมวิถีไทยและการสร้างความม่ันใจ ของนักท่องเท่ียว เพ่ือผลักดันประเทศไทยสู่การเป็นเเหล่งท่องเท่ียวคุณภาพตามเป้าหมายให้สามารถสร้างรายได้ และสง่ เสรมิ การกระจายรายได้ให้แกป่ ระเทศอย่างยง่ั ยนื ๔.๕ ส่งเสริมการบูรณาการการบริหารจัดการการท่องเท่ียว โดยการมีส่วนร่วมและการบูรณาการของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนให้มีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ สนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศในการพัฒนา ด้านการท่องเท่ียว ๕. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และพันธกิจ ของแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) จึงไดก้ �ำหนดยทุ ธศาสตร์การพฒั นาออกเป็น ๕ ยทุ ธศาสตร์ ดังนี้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการด้านการท่องเท่ียวให้เกิดความสมดุล และย่ังยนื ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานและสงิ่ อำ� นวยความสะดวก เพอ่ื รองรบั การขยายตวั ของอตุ สาหกรรม ทอ่ งเทยี่ ว ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการท่องเทย่ี ว และสนบั สนุนการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการพฒั นา การทอ่ งเท่ยี ว ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔ การสร้างความสมดุลให้กับการท่องเที่ยวไทยผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม การส่งเสริมวิถีไทย และการสร้างความเชอื่ มน่ั ของนกั ทอ่ งเทยี่ ว ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ การบูรณาการการบริหารจดั การการทอ่ งเทย่ี ว และการสง่ เสริมความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ เเผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 27 คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

28 เเผนพฒั นาการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) วิสัยทศั น์การ “ประเทศไทยเป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ียวคณุ ภาพชัน้ นำ� ของโลก ท่ีเติบโตอยา่ งมีดลุ ยภาพบนพ้นื ฐานความเปน็ ไทย ทอ่ งเที่ยวไทย เพอ่ื ส่งเสรมิ การพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม และกระจายรายไดส้ ปู่ ระชาชนทกุ ภาคส่วนอยา่ งยง่ั ยนื ” คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแหง่ ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๗๙) เปน็ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวคณุ ภาพ เติบโตอย่างมดี ุลยภาพ สง่ เสรมิ การพัฒนาเศรษฐกจิ เตบิ โตบนพ้นื ฐาน พัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื ชน้ั น�ำของโลก สงั คม และกระจายรายได้ ความเป็นไทย เปา้ ประสงคท์ ่ี ๑ เป้าประสงค์ท่ี ๒ เปา้ ประสงค์ท่ี ๓ เปา้ ประสงคท์ ี่ ๔ เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วคุณภาพ เพ่ิมมูลค่าทางเศรษฐกจิ ของ กระจายรายไดแ้ ละผลประโยชน์ พัฒนาการท่องเท่ียวอยา่ งยัง่ ยนื บนพน้ื ฐาน เพอ่ื ยกระดบั ขดี ความสามารถ จากการทอ่ งเทย่ี วส่ทู ุกพน้ื ทีแ่ ละ อตั ลกั ษณแ์ ละวิถีไทย ทัง้ ในเชิงสงั คม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอ้ ม รายได้จากอุตสาหกรรม ในการแขง่ ขนั ทอ่ งเท่ยี วอยา่ งสมดุล ทกุ ภาคสว่ น เป้าประสงค์ ตวั ชีว้ ดั ที่ ๑ ตัวชวี้ ัดท่ี ๒ ตัวช้ีวดั ที่ ๓ ตวั ช้วี ดั ท่ี ๔ ตวั ช้วี ดั ที่ ๕ ตัวชวี้ ัดที่ ๖ ตัวชี้วดั ท่ี ๗ ตัวช้ีวัดท่ี ๘ ตวั ช้ีวัดท่ี ๙ ตัวชว้ี ัดที่ ๑๐ ตัวชี้วดั จ�ำนวนแหลง่ อนั ดบั ขีดความ ความเช่อื มนั่ รายได้จาก การเดินทาง สัดสว่ นการ รายไดจ้ ากการ ดัชนกี ารรับรแู้ ละ อนั ดับขดี ดัชนีด้านความยงั่ ยนื พนั ธกิจ และ ท่องเท่ยี วและ สามารถทางการ ในสนิ ค้าและบรกิ าร นกั ท่องเทยี่ ว ท่องเทีย่ วภายใน เดนิ ทางทอ่ งเทย่ี ว ทอ่ งเทยี่ วใน เขา้ ใจในเอกลักษณ์ ความสามารถ ของสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ สถานประกอบการ แข่งขนั ด้านการ ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ชาวตา่ งชาติ มอี ตั รา ของนกั ทอ่ งเทยี่ ว จังหวดั รอง (จงั หวดั ความเปน็ ไทยของ ด้านความเด่นชัด ใน ๖ มติ ทิ ีส่ �ำคญั การพัฒนาการ ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ท่องเที่ยว (TTO) ของไทยมีคุณภาพ การขยายตวั ประเทศของ ต่างชาตใิ นชว่ ง ท่มี ผี ู้เยยี่ มเยอื น ของวฒั นธรรมและ (อาทิ การบังคบั ใช้ ท่องเทยี่ วไทย ท่ไี ด้รบั เครื่องหมาย เปน็ ๑ ใน ๓๐ ไม่ต�่ำกว่า นกั ท่องเทีย่ วไทย เดอื น ม.ิ ย. - ก.ย. ต�ำ่ กวา่ ๑ ล้านคน นทท.ตา่ งชาติ นนั ทนาการจากการ กฎระเบียบ การ ระยะ ๕ ปี รบั รองคณุ ภาพ อนั ดบั แรกของโลก ได้มาตรฐาน ร้อยละ ๑๐ ตอ่ ปี มอี ตั ราขยายตัว ไม่ต่�ำกว่าหนึ่งในสาม ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙) และไทย (จากการ สืบคน้ ออนไลน์ บ�ำบดั นำ�้ เสยี (พ.ศ.๒๕๖๐ หรอื ๗ อันดับแรก ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ไมต่ ่�ำกวา่ ร้อยละ ของการเดนิ ทาง มอี ตั ราการขยายตัว สำ� รวจ) เพิ่มสูงขน้ึ ดา้ นการท่องเทย่ี ว พน้ื ท่ีอนุรักษ์) - ๒๕๖๔) เพ่มิ สูงข้นึ ของเอเซียแปซฟิ กิ ทอ่ งเทยี่ วตลอดท้ังปี ไมต่ �่ำกว่ารอ้ ยละ เปน็ ๑ ใน ๑๐ อยา่ งนอ้ ย ๙๐ ๓ ต่อปี ๑๒ ต่อปี อย่างต่อเนื่อง อนั ดบั แรกของโลก พัฒนาขึน้ อยา่ งน้อย รอ้ ยละ ๕ ในทกุ ๆปี ๑๐ อนั ดบั ในแต่ละมิติ พนั ธกิจท่ี ๑ พันธกิจท่ี ๒ พันธกิจท่ี ๓ พันธกจิ ที่ ๔ พนั ธกิจที่ ๕ พัฒนาคุณภาพของแหล่งท่องเที่ยว สนิ ค้า และ พัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน/สงิ่ อ�ำนวยความสะดวก เพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของบคุ ลากร สร้างสมดุลในนักทอ่ งเทีย่ วผ่านการตลาด สง่ เสรมิ การบรู ณาการบรหิ ารจดั การ บริการในการท่องเที่ยวทุกรปู แบบใหม้ มี าตรฐาน ให้มีคณุ ภาพ/มาตรฐานในระดับสากล สามารถ ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ในระดบั ภูมภิ าคและโลก เฉพาะกล่มุ การส่งเสรมิ วิถีไทยและสร้างความ การทอ่ งเท่ียว โดยการมีสว่ นร่วมและ สมดลุ และย่งั ยนื เพือ่ เสรมิ สร้างความเขม้ แข็ง รองรบั ปริมาณของนกั ทอ่ งเทยี่ วทเี่ ตบิ โตอยา่ ง มนั่ ใจของนักทอ่ งเที่ยว เพ่อื ผลกั ดันประเทศไทย การบรู ณาการของภาครัฐ ภาคเอกชน ของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวไทยให้มีบทบาท ต่อเนอื่ ง และความต้องการทเี่ ปลีย่ นแปลงไป สนับสนุนการมีสว่ นรว่ มของประชาชน ดา้ นการ ส่กู ารเป็นแหลง่ ท่องเท่ียวคุณภาพตามเปา้ หมาย และภาคประชาชนใหม้ เี อกภาพและมี ตามบริบทแวดลอ้ ม รวมท้ังสภาวะการแขง่ ขนั บริหารจัดการการทอ่ งเทีย่ ว ตลอดจนสร้าง ให้สามารถสรา้ งรายได้และส่งเสรมิ การกระจาย ประสิทธิภาพ สนบั สนนุ ความรว่ มมือ สำ� คญั ในการขับเคลื่อนการพฒั นาเศรษฐกจิ ความเขา้ ใจ/ภาคภูมิใจในความเป็นไทย ระหว่างประเทศในการพัฒนาการท่องเที่ยว และสงั คมของประเทศ ในอตุ สาหกรรมท่องเทย่ี ว จิตส�ำนกึ ทอ้ งถิน่ และการเปน็ เจ้าบ้านทด่ี ี รายได้ให้แก่ประชาชนอย่างยงั่ ยืน ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ การบูรณาการการบริหารจดั การ การพฒั นาคุณภาพแหลง่ การพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน การพัฒนาบุคลากรด้านการ การสรา้ งความสมดุลใหก้ บั การ การทอ่ งเทีย่ ว และการสง่ เสรมิ ท่องเทยี่ ว สนิ คา้ และบรกิ าร และส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ท่องเทีย่ วและสนับสนนุ การมีสว่ น ทอ่ งเที่ยวผ่านการตลาดเฉพาะกลมุ่ ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ ดา้ นการทอ่ งเท่ยี วใหเ้ กิด เพื่อรองรับการขยายตัวของ รว่ มของประชาชนในการพัฒนา การสง่ เสริมวถิ ไี ทย และการสรา้ ง ความสมดลุ และยั่งยนื ความเชอื่ มนั่ ของนักทอ่ งเท่ียว อุตสาหกรรมท่องเท่ียว การท่องเท่ียว ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งวสิ ัยทศั น์ เปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ัด พนั ธกิจ และยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเท่ียว สินค้าและบริการด้านการท่องเท่ียวให้เกิดความสมดุล และยงั่ ยืน พนื้ ฐานการเตบิ โตของการทอ่ งเทยี่ วมปี จั จยั หลกั ทคี่ ณุ ภาพของแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว สนิ คา้ และบรกิ าร ทตี่ อ้ งไดม้ าตรฐาน ระดับสากลและมีเอกลักษณ์โดดเด่น โดยการพัฒนาต้องเกิดขึ้นอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีความสมดุลทั้งใน ดา้ นพนื้ ท่ี เวลา และกลมุ่ การท่องเทีย่ ว เพอ่ื สง่ เสริมการกระจายนักท่องเทีย่ วและรายได้จากนักท่องเท่ยี ว ซึ่งจะช่วยพฒั นา ความมง่ั คงั่ ในท่วั ทกุ ภูมิภาคของประเทศไทย ๑. เป้าประสงค์ ๑.๑ ประเทศไทยมีสินค้าเเละบริการท่ีหลากหลายเเละมีคุณภาพสูงข้ึน เพื่อชักจูงให้นักท่องเที่ยว จากหลากหลายกลมุ่ มคี วามสนใจในการเดนิ ทางมาทอ่ งเทยี่ วและจบั จา่ ยใชส้ อยมากขนึ้ อกี ทงั้ สง่ เสรมิ การพฒั นาประเทศไทย ใหเ้ ปน็ เเหลง่ ท่องเทย่ี วคณุ ภาพ ๑.๒ การพัฒนาการท่องเท่ียวไทยอย่างย่ังยืนผ่านการอนุรักษ์ส่ิงเเวดล้อมเเละวัฒนธรรม เพื่อคงไว ้ ซึง่ ความสวยงามของธรรมชาติเเละอัตลกั ษณค์ วามเป็นไทย ๑.๓ อุตสาหกรรมท่องเท่ียวไทยมีความเเข็งเเกร่งโดยการเพิ่มความสมดุลของการท่องเท่ียวท้ังความสมดุล เชิงพ้ืนท่ี ความสมดลุ เชงิ เวลาหรือฤดกู าล เเละความสมดลุ ในทกุ ภาคสว่ น ๑.๔ การท่องเท่ียวไทยมีบทบาทส�ำคัญในการลดความเหลื่อมล้�ำด้านรายได้ โดยการสร้างรายได้ให้กับจังหวัด เเละในพนื้ ทที่ ย่ี งั ไมเ่ ปน็ ทนี่ ยิ ม รวมถงึ การสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชนและอตุ สาหกรรมในทอ้ งถนิ่ ทง้ั อตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว และ อตุ สาหกรรมทเี่ กยี่ วเนอ่ื ง ๒. ตัวช้ีวดั ๒.๑ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว สนิ คา้ และบรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานการทอ่ งเทย่ี วไทยเพิ่มข้ึน ๒.๒ ระยะเวลาท่องเท่ยี วโดยเฉล่ียของนกั ท่องเทีย่ วเพิม่ สูงขน้ึ ๒.๓ จดุ ประสงคห์ ลกั ในการมาเยอื นประเทศไทยหลากหลายขนึ้ และนกั ทอ่ งเทย่ี วมากกวา่ ๑ ใน ๓ มจี ดุ ประสงค์ หลักในการมาเยอื นท่ีนอกเหนอื จากการทอ่ งเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรมหรือการท่องเทยี่ วพกั ผอ่ นโดยทั่วไป ๒.๔ อันดับของประเทศไทยด้านความยั่งยืนของการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Sustainability of T&T Development) เพมิ่ สงู ขน้ึ อยา่ งน้อย ๑๐ อนั ดับ (เทยี บกบั อนั ดับที่ ๖๑ จาก ๑๔๑ ประเทศท่ัวโลกในป ี ๒๕๕๘) ๒.๕ รายได้จากการทอ่ งเท่ียวในเขตพัฒนาการทอ่ งเท่ยี ว มีอัตราการขยายตวั เฉลย่ี ตอ่ ปเี พิม่ ขน้ึ ๒.๖ การใช้จ่ายของนักท่องเท่ียวต่างชาติต่อคร้ังการเดินทาง มีอัตราการขยายตัวเฉล่ียอย่างน้อย ร้อยละ ๕ เทยี บกบั รอ้ ยละ ๔.๓ ในชว่ งปี ๒๕๔๗ – ๒๕๕๘ ๒.๗ จ�ำนวนเครือขา่ ยการทอ่ งเทีย่ วโดยชมุ ชนเพม่ิ ขน้ึ อย่างต่อเนื่อง ๓. แนวทางการพฒั นา ๓.๑ พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการทุกรูปเเบบอย่างมีมาตรฐาน โดยการส่งเสริม และพฒั นาคณุ ภาพสนิ คา้ และบรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทยี่ วทงั้ ระบบ เสรมิ สรา้ ง พฒั นาและปรบั ปรงุ มาตรฐานดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว และบรกิ ารใหค้ รอบคลมุ ทกุ รปู แบบ ไดแ้ ก่ การทอ่ งเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ กฬี า การทอ่ งเทย่ี วกลมุ่ MICE เปน็ ตน้ และการพฒั นาคณุ ภาพสนิ คา้ และบรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งมมี าตรฐานสอดรบั กบั การพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วอยา่ งยง่ั ยนื เเผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 29 คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ

ครอบคลุมท้ังระบบและอุตสาหกรรมภาคบริการที่เก่ียวเน่ือง และส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันด้านธุรกิจ การถ่ายท�ำภาพยนตร์ต่างประเทศในประเทศไทย ท้ังภาคผลิต ภาคบริการ และกิจการท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนการเพ่ิม ขีดความสามารถในการรองรับดา้ นการท่องเทย่ี วท่ีมคี ุณภาพในระดับสากล ๓.๒ พัฒนาแหล่งท่องเท่ียว สินค้าและบริการอย่างย่ังยืน โดยการส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน ท้ังในเชิงอัตลักษณ์ท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และสิ่งแวดล้อม รวมถึง การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การก�ำหนดขีดความสามารถในการรองรับ ของแหล่งท่องเท่ียว การส่งเสริมนวัตกรรมด้านการพัฒนาสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว การสร้างจิตส�ำนึกในการ อนุรกั ษท์ รพั ยากรการท่องเที่ยว และการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชนโดยการใหค้ วามรแู้ ละการสนบั สนุนอยา่ งตอ่ เน่อื ง ๓.๓ สร้างสมดุลในแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการ ทั้งในเชิงพื้นที่ เชิงเวลา ฤดูกาล และรูปแบบ การท่องเที่ยว โดยการส่งเสริมความสมดุลเชิงพื้นที่ในการท่องเท่ียว ทั้งในแง่การกระจายรายได้และจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ได้แก่ การจัดต้ังเขตพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวในจังหวัดและพื้นที่ที่มีศักยภาพที่ยังไม่ได้รับความนิยม การพัฒนาการท่องเที่ยวในเมืองรอง การพัฒนาการท่องเที่ยวในชนบท การพัฒนาสินค้าและบริการที่โดดเด่นและ เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่น และการส่งเสริมความสมดุลเชิงเวลาและฤดูกาลในการท่องเท่ียว เช่น การสร้างสรรค์ กิจกรรมการท่องเท่ียวใหม่และเพ่ิมความหลากหลายของกิจกรรมในพ้ืนที่ต่างๆ การสนับสนุนภาคเอกชนในการลงทุน ในแหล่งท่องเท่ียวใหม่ เป็นต้น ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก เพ่ือรองรับการขยายตัวของ อุตสาหกรรมท่องเท่ยี ว โครงสรา้ งพนื้ ฐานและสงิ่ อำ� นวยความสะดวกเปน็ ปจั จยั สนบั สนนุ ทสี่ ำ� คญั ตอ่ การเตบิ โตของอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว ซ่ึงล้วนมีส่วนในการส่งเสริมประสบการณ์ในการท่องเที่ยว โดยในยุทธศาสตร์น้ีเน้นด้านการพัฒนาระบบคมนาคมในทุก รปู แบบ รวมถงึ การพฒั นาสงิ่ อำ� นวยความสะดวกแกน่ กั ทอ่ งเทยี่ วในดา้ นตา่ งๆ และการพฒั นาความปลอดภยั และสขุ อนามยั อยา่ งเป็นระบบ ๑. เป้าประสงค์ ๑.๑ นักท่องเที่ยวต่างชาติมีความสะดวกสบายมากขึ้นในการเดินทางเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อรองรับปริมาณ นกั ท่องเทย่ี วทจ่ี ะเตบิ โตอยา่ งต่อเนือ่ ง ๑.๒ นักท่องเท่ียวสามารถเดินทางท่องเที่ยวในภูมิภาค จังหวัด เเละพื้นที่ต่างๆ ทั้งในตัวเมืองและชนบท อย่างสะดวกสบายมากขึ้น ซ่ึงจะส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวเดินทางไปยังแหล่งท่องเที่ยวของประเทศในวงกว้างมากข้ึน เพอื่ สง่ เสรมิ การสรา้ งรายได้และกระจายรายไดใ้ ห้กับชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ ตา่ งๆ ทวั่ ภมู ภิ าค ๑.๓ นักท่องเท่ียวมีความประทับใจเเละมีประสบการณ์ที่ดีท้ังในด้านความปลอดภัย และสุขอนามัย รวมไปถึงคุณภาพของโครงสร้างพ้ืนฐานเเละสิ่งอ�ำนวยความสะดวก เพื่อชักจูงให้กลับมาเยี่ยมเยือนอีกครั้งเเละส่งเสริม ให้ประเทศไทยเปน็ เเหลง่ ทอ่ งเทย่ี วคุณภาพ ๑.๔ นักทอ่ งเทย่ี วอสิ ระ (Free and Independent Travelers) มคี วามสะดวกสบายมากขึ้นในการวางเเผน เเละการเดนิ ทางทอ่ งเท่ยี วในประเทศไทย 30 เเผนพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ

๒. ตัวชวี้ ัด ๒.๑ ปรมิ าณการผลติ ด้านผูโ้ ดยสารคิดเปน็ ทีน่ ่ัง – กิโลเมตร (International Available Seats Kilometers) ส�ำหรบั เท่ียวบนิ จากต่างประเทศเข้าสู่ประเทศไทยอยูใ่ นอนั ดบั ๒ ของ ASEAN ๒.๒ การจดั อันดบั ของนติ ยสารด้านการเดินทางโดยอากาศยาน Skytrax (Skytrax rating) ของท่าอากาศยาน สวุ รรณภูมอิ ยูใ่ นระดบั อย่างน้อย ๔ ดาว และท่าอากาศยานอื่นๆ ท่ไี ดร้ บั การจัดอนั ดบั อยใู่ นระดบั อยา่ งนอ้ ย ๓ ดาว ๒.๓ อนั ดบั ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ดา้ นการคมนาคมทางบกและทางนำ้� (Ground and Port infrastructure) อยู่ในอันดบั ๑ ใน ๕๐ ของโลก (เทยี บกับอนั ดับที่ ๗๑ จาก ๑๔๑ ประเทศทั่วโลก ในปี ๒๕๕๘) ๒.๔ อันดบั ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นความปลอดภยั ของนักท่องเทย่ี ว (Safety & Security) อย่ใู น อันดับ ๑ ใน ๗๐ ของโลก (เทียบกบั อันดับที่ ๑๓๒ จาก ๑๔๑ ประเทศท่ัวโลก ในปี ๒๕๕๘) ๒.๕ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมีความเชื่อม่ันและพึงพอใจในการรักษาความปลอดภัย และการให้บริการรอ้ ยละ ๙๐ ตลอดช่วงเวลาของแผน ๓. แนวทางการพัฒนา ๓.๑ พัฒนาระบบโลจิสติกส์ด้านการท่องเท่ียว โดยการพัฒนาระบบการคมนาคมขนส่งในการเดินทางเข้าสู่ ประเทศทง้ั ทางบก ทางน้ำ� และทางอากาศ ไดแ้ ก่ พฒั นาเสน้ ทางคมนาคมทางบกเพ่อื เข้าถงึ แหล่งทอ่ งเท่ียว ยกระดับระบบ ขนสง่ สาธารณะเพอ่ื อำ� นวยความสะดวกในการเดนิ ทางระหวา่ งสถานทที่ อ่ งเทยี่ ว พฒั นาเสน้ ทางคมนาคมทางนำ�้ ทสี่ ามารถ เชื่อมโยงกับรูปแบบการเดินทางอื่นๆ พัฒนาศักยภาพของสนามบินในการรองรับนักท่องเที่ยว เพ่ิมเส้นทางและจ�ำนวน เทยี่ วบินระหวา่ งประเทศและภายในประเทศท่ีเชื่อมโยงระหว่างเมอื งทอ่ งเท่ียวหลกั และเมอื งท่องเท่ียวรอง ๓.๒ พัฒนาส่งิ อ�ำนวยความสะดวกด้านการทอ่ งเที่ยว โดยการปรบั ปรงุ ระบบการตรวจคนเขา้ เมอื ง ปรบั ปรงุ และอ�ำนวยความสะดวกในการเดินทางผ่านแดน ปรับปรุงป้ายบอกทางและป้ายสัญลักษณ์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน จดั ท�ำแผนทที่ อ่ งเทยี่ วให้ครอบคลุมทุกแหลง่ เพม่ิ จดุ บริการ Free - WiFi ในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว จดั ท�ำระบบบตั รโดยสารเดียว ที่ใช้ได้กับทุกช่องทางการเดินทาง พัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพื่อรองรับการท่องเท่ียวที่ปราศจากอุปสรรคส�ำหรับ คนท้ังมวล (Tourism for All) ได้แก่ ห้องน้�ำคนพิการ ทางลาด ราวจับ เป็นต้น และพัฒนาแอปพลิเคชันที่อ�ำนวย ความสะดวกให้นักท่องเท่ียว ๓.๓ พัฒนาระบบความปลอดภัยและสุขอนามยั ในแหลง่ ท่องเท่ียว โดยการสนับสนุนเครื่องมือและอุปกรณ์ เพ่ือป้องกันและช่วยเหลือนักท่องเท่ียว ได้แก่ กล้องวงจรปิด เครื่องแปลภาษา การติดต้ังไฟในสถานที่ท่องเท่ียว อปุ กรณช์ ว่ ยเหลอื นกั ทอ่ งเทย่ี วเบอื้ งตน้ จดั ตงั้ ศนู ยช์ ว่ ยเหลอื นกั ทอ่ งเทย่ี วใหค้ รอบคลมุ ทกุ พนื้ ทท่ี อ่ งเทยี่ ว สง่ เสรมิ สขุ อนามยั ในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว เชน่ ปรับปรุงสขุ าสาธารณะ การจดั การขยะและระบบบ�ำบดั น�้ำเสียในแหล่งท่องเทีย่ ว เเผนพัฒนาการท่องเท่ยี วแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 31 คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการพัฒนาการท่องเท่ียว การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียวผ่านการยกระดับคุณภาพสู่ระดับสากล เพ่ือให้ทัดเทียมขีดความสามารถ ของบุคลากรในระดับโลกและเพื่อเตรียมความพร้อมกับการแข่งขันท่ีทวีความรุนแรงข้ึน ผ่านความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และเอกชน รวมถงึ การปลกู ฝงั จติ สำ� นกึ และการเปน็ เจา้ บา้ นทด่ี ใี หก้ บั ประชาชนและการสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน และชุมชน นบั เป็นเครอื่ งมือสำ� คญั ในการพิจารณาเพื่อเพมิ่ ความสามารถในการแขง่ ขนั ของอตุ สาหกรรมทอ่ งเทีย่ วไทย ๑. เปา้ ประสงค์ ๑.๑ แรงงานไทยมศี กั ยภาพสงู ขนึ้ ทง้ั ในดา้ นคณุ ภาพ ความรคู้ วามสามารถ ระดบั ทกั ษะทวั่ ไป ทกั ษะการบรหิ าร เเละทักษะเฉพาะทางเพ่ือรองรับความต้องการบุคลากรในอุตสาหกรรมท่องเท่ียวที่มีความซับซ้อนและหลากหลายมากขึ้น อันจะสร้างประสบการณ์ท่ีดีให้กับนักท่องเที่ยว สนับสนุนการพัฒนาประเทศไทย เป็นเเหล่งท่องเท่ียวคุณภาพ และเพ่มิ จำ� นวนบคุ ลากรท่มี ีคณุ ภาพสูง ๑.๒ เเรงงานไทยมีจ�ำนวนเพียงพอต่อความต้องการของอุตสาหกรรมท่องเท่ียว เพ่ือเป็นการลดการพึ่งพา การจ้างเเรงงานตา่ งชาติ ๑.๓ ประชาชนทกุ ภาคสว่ นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ความตอ้ งการ เเละความพรอ้ มทจี่ ะมสี ว่ นรว่ มในการสนบั สนนุ เเละพฒั นาสนิ คา้ เเละบริการท่เี กีย่ วขอ้ งกับอุตสาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว ๒. ตวั ชว้ี ดั ๒.๑ ระดับความพึงพอใจของนักทอ่ งเทีย่ วในดา้ นคุณภาพของบคุ ลากรในอตุ สาหกรรมท่องเท่ยี วเพิม่ ข้ึน ๒.๒ อันดบั ขีดความสามารถในการแข่งขนั ดา้ นการอบรมพนกั งานในอตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว (Extent of Staff Training) อยู่ในอันดบั ๑ ใน ๓๐ ของโลก (เทียบกับอันดับที่ ๓๗ จาก ๑๔๑ ประเทศทัว่ โลกในปี ๒๕๕๘) ๒.๓ อนั ดบั ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นการใหบ้ รกิ ารลกู คา้ (Treatment of Customers) อยใู่ นอนั ดบั ๑ ใน ๑๐ ของโลก (เทียบกับอันดบั ท่ี ๑๗ จาก ๑๔๑ ประเทศท่ัวโลก ในปี ๒๕๕๘) ๒.๔ จ�ำนวนบุคลากรไทยในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวได้รับรองมาตรฐาน MRA (Mutual Recognition Arrangement) ของ ASEAN เพม่ิ ขนึ้ ๒.๕ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME: Small and medium-sized enterprises) ในอุตสาหกรรม ท่องเทีย่ วมีอตั ราการเติบโตเพ่มิ ขึน้ โดยเฉพาะในเขตพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วทงั้ ๘ เขต ๓. แนวทางการพฒั นา ๓.๑ พัฒนาศกั ยภาพบุคลากรด้านการทอ่ งเทย่ี วทง้ั ระบบ ให้มขี ีดความสามารถในการแข่งขนั สอดคล้อง กับมาตรฐานสากลและเพียงพอต่อความต้องการของตลาด โดยการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และชมุ ชนในการพฒั นาและปรบั ปรงุ หลกั สตู รทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการทอ่ งเทยี่ วทสี่ อดคลอ้ งความตอ้ งการ ตลาดแรงงาน สร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการ สนับสนุนบุคลากรให้มีสมรรถนะข้ันพื้นฐานตามต�ำแหน่งงาน และได้รับ การฝกึ อบรมทีไ่ ด้มาตรฐานสากล 32 เเผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ

๓.๒ ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการด้านการท่องเท่ียวและได้รับประโยชน์ จากการทอ่ งเทยี่ ว โดยการสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจดา้ นการทอ่ งเทย่ี วและการบรหิ ารจดั การการทอ่ งเทย่ี ว เปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสินค้าและบริการบนพื้นฐานของมรดกและวัฒนธรรมท้องถิ่น จัดท�ำหลกั สูตรการฝกึ อบรมทักษะธรุ กิจพ้นื ฐานเพอ่ื สง่ เสรมิ การประกอบธรุ กิจใหม่ในอตุ สาหกรรมทอ่ งเท่ียว เพม่ิ ช่องทาง การลงทนุ และพฒั นาธรุ กจิ ดา้ นการทอ่ งเทยี่ วใหแ้ กภ่ าคเอกชน ภายใตห้ ลกั การสนบั สนนุ ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม Thailand ๔.๐ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างความสมดุลให้กับการท่องเท่ียวไทย ผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม การส่งเสริม วถิ ไี ทย และการสรา้ งความเชอ่ื มัน่ ของนักทอ่ งเที่ยว การพัฒนาการตลาดของการท่องเท่ียวไทยอย่างมีสมดุล เพ่ือส่งเสริมภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวคุณภาพ ผา่ นการสง่ เสรมิ การตลาดเฉพาะกลมุ่ และการพฒั นาเครอ่ื งหมายมาตรฐานคณุ ภาพ รวมทง้ั การสง่ เสรมิ การตลาดเพอ่ื กระตนุ้ การใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวและกระตุ้นตลาดนักท่องเที่ยวไทย กอปรกับการพัฒนาคุณภาพของสินค้าและบริการ บนพื้นฐานเอกลักษณ์อย่างไทย และการปรับใช้เทคโนโลยีเพ่ือการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยส่งเสริมการพัฒนา การทอ่ งเทย่ี วไทยให้เกิดความสมดุลและยงั่ ยนื ๑. เป้าประสงค์ ๑.๑ นักท่องเทีย่ วมคี วามม่ันใจเเละเช่อื มัน่ ในการเดนิ ทางสปู่ ระเทศไทยมากขึน้ ๑.๒ ประเทศไทยมีภาพลักษณเ์ ป็นเเหล่งท่องเท่ยี วคุณภาพ ๑.๓ ประเทศไทยยังคงเป็นเเหลง่ ทอ่ งเท่ยี วยอดนิยมของนกั ท่องเทยี่ วกลมุ่ เป้าหมาย ๑.๔ ประเทศไทยเปน็ เเหลง่ ท่องเทย่ี วที่นา่ สนใจเเละนา่ มาเยอื นสำ� หรับนกั ท่องเทย่ี วเฉพาะกลุม่ ๑.๕ นักทอ่ งเทยี่ วมีความเข้าใจในอัตลักษณข์ องประเทศไทยเเละอัตลักษณ์ของเเต่ละท้องถ่ินเพม่ิ ขนึ้ ๑.๖ นกั ทอ่ งเท่ยี วมคี วามสนใจในการเดนิ ทางชว่ ง Green Season สงู ข้นึ ๑.๗ นักทอ่ งเทยี่ วมคี วามสนใจในการเดินทางไปยังสถานท่ีทหี่ ลากหลายขน้ึ ๑.๘ คนไทยนิยมการท่องเทีย่ วภายในประเทศมากขึน้ ๒. ตัวช้ีวัด ๒.๑ อตั ราการรบั รภู้ าพลกั ษณข์ องประเทศไทยในการเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วยอดนยิ ม (Preferred Destination) เพิ่มสงู ขนึ้ ทกุ ปี ๒.๒ จ�ำนวนจงั หวดั ท่ีมผี เู้ ย่ียมเยือนมากกว่า ๓ ล้านคนต่อปี เพ่ิมสูงขึ้นทุกปี (จาก ๑๐ จงั หวดั ในปี ๒๕๕๘) ๒.๓ อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านประสิทธิภาพของโครงการทางการตลาดในการดึงดูด นักท่องเทย่ี ว (Effectiveness of marketing to attract tourists) อยู่ในอันดับ ๑ ใน ๑๕ ของโลก (เทยี บกบั อันดบั ท่ี ๒๓ จาก ๑๔๑ ประเทศทัว่ โลก ในปี ๒๕๕๘) ๒.๔ อนั ดบั ของประเทศไทยดา้ นความนา่ ไวว้ างใจของการทำ� งานของตำ� รวจ (Reliability of Police Services) อยู่ในอนั ดับต�ำ่ กว่า ๑๐๐ ของโลก (เทียบกับอนั ดับที่ ๑๑๒ จาก ๑๔๑ ประเทศทั่วโลกในปี ๒๕๕๘) เเผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 33 คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแหง่ ชาติ

๓. แนวทางการพฒั นา ๓.๑ เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพเเละความปลอดภัยให้กับประเทศไทย โดยการพัฒนาภาพลักษณ์ และความเชื่อม่ันด้านคุณภาพ มุ่งเน้นการส่ือสารคุณค่าและภาพลักษณ์ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม (Preferred Destination) ที่มีคุณภาพสูงต่อนักท่องเที่ยว การส่งเสริมการตลาดเป้าหมาย และการสร้างการรับรู ้ แกน่ กั ทอ่ งเทย่ี วผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆ ดา้ นมาตรการรกั ษาความปลอดภยั และมาตรการปอ้ งกนั ของประเทศไทย ขอ้ ควรปฎบิ ตั ิ เพ่ือความปลอดภัย และสิ่งที่ควรกระท�ำในกรณีฉุกเฉิน เพ่ือช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทป่ี ลอดภัย รวมถึงการสง่ เสรมิ การบังคบั ใชแ้ ละให้ความรูเ้ กี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องแก่นกั ทอ่ งเที่ยวและสาธารณชน ๓.๒ สง่ เสรมิ การตลาดเฉพาะกลมุ่ เพอ่ื ดงึ ดดู การเดนิ ทางทอ่ งเทยี่ ว และกระตนุ้ การใชจ้ า่ ยของนกั ทอ่ งเทยี่ ว กล่มุ ตา่ งๆ โดยการส่งเสริมการตลาดแบบเฉพาะกลุ่มสำ� หรับนักท่องเที่ยวท่วั ไปกลุ่มตลาดระดบั กลาง - บน (รายไดส้ งู กวา่ ๒๐,๐๐๐ เหรียญสหรัฐต่อปี) ในพ้ืนท่ีตลาดท่ีมีศักยภาพ และการส่งเสริมการตลาดแบบเฉพาะกลุ่มส�ำหรับนักท่องเท่ียว กลมุ่ ความสนใจพเิ ศษ เชน่ กลมุ่ นกั ท่องเท่ยี วเชงิ สุขภาพ กลุ่มนกั ทอ่ งเท่ียวเชงิ สิง่ แวดลอ้ มและนเิ วศ เป็นตน้ ๓.๓ ส่งเสริมเอกลักษณ์ของประเทศไทยและของแต่ละท้องถิ่น ด้วยการส่ือสารเอกลักษณ์ความเป็นไทย ให้เป็นท่ีเข้าใจในเวทีโลก อาทิ การสร้างคุณค่าความเป็นไทยในสินค้าและบริการต่างๆ ผ่านสัญลักษณ์ “Thainess” บนสินค้าและบริการที่คงอัตลักษณ์ความเป็นไทย การส่ือสารเอกลักษณ์ความเป็นไทยผ่านส่ือสร้างสรรค์และนวัตกรรม ทางสื่อต่างๆ เช่น รายการโทรทัศน์ การจัดแสดง Roadshow เป็นต้น และการส่งเสริมเอกลักษณ์ของแต่ละภูมิภาค และจังหวัด โดยการพัฒนาแบรนด์และสื่อสารความแตกต่างของภาคและจังหวัดต่างๆ ในรูปแบบการเล่าเรื่อง (Storytelling) การสือ่ สารเรอื่ งราวอยา่ งสร้างสรรค์ผา่ นชอ่ งทางการตลาดทเี่ ปน็ ท่นี ยิ มในกลุม่ เป้าหมาย ๓.๔ ส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศเเละการท่องเท่ียวท่ีสมดุลเชิงพื้นท่ีเเละเวลา โดย การสร้าง การรับรู้สินค้า บริการ และแหล่งท่องเท่ียว เพ่ือกระตุ้นการท่องเท่ียวนอกฤดูกาล อาทิ การจัดกิจกรรม/เทศกาล/ งานประเพณีเฉพาะถิ่นในแต่ละเดือน การสร้างความนิยมของจังหวัดท่องเท่ียวรอง เช่น การโฆษณาประชาสัมพันธ ์ และการสง่ เสริมการขายแพก็ เกจการท่องเท่ยี วรว่ มกับภาคเอกชน เปน็ ตน้ และการสง่ เสริม “ไทยเทีย่ วไทย” โดยการสรา้ ง คา่ นิยมการเดินทางทอ่ งเที่ยวในประเทศให้แก่คนไทยทุกคนในทุกเพศทุกวัย การสง่ เสริมการตลาดแบบมเี ปา้ หมายเฉพาะ เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มนักเรียนนักศึกษา และกลุ่มสุภาพสตรี รวมถึงการสนับสนุนมาตรการทางการเงินเพื่อส่งเสริม การใช้จา่ ยช่วงการท่องเทย่ี ว อาทิ มาตรการการลดหยอ่ นทางภาษี เปน็ ต้น ๓.๕ การส่งเสริมความร่วมมือกับผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องเเละการใช้เทคโนโลยีในการส่งเสริมการตลาด ด้วยการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคส่วนในการท�ำการตลาด ได้แก่ การร่วมมือกับชุมชนในการสร้างสรรค์สินค้า และบริการทางการท่องเท่ียวให้สะท้อนอัตลักษณ์ของชุมชนและสอดคล้องแบรนด์จังหวัด การส่งเสริมการตลาดร่วมกัน ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน และการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนการตลาด เช่น การสนับสนุนการพัฒนาและ ตอ่ ยอดแอปพลเิ คชนั ทสี่ ง่ เสรมิ การทำ� การตลาดเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบการตลาดดจิ ทิ ลั ทง้ั ในดา้ นการดแู ล บรหิ าร และวิเคราะหส์ ถติ ิข้อมลู ออนไลนเ์ กีย่ วกบั การท่องเทย่ี วไทย เปน็ ตน้ 34 เเผนพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การบูรณาการการบริหารจดั การการท่องเที่ยว และการสง่ เสรมิ ความรว่ มมือระหว่างประเทศ การบูรณาการร่วมกันของทุกภาคส่วนคือปัจจัยหลักในการขับเคล่ือนแผนสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมการท�ำงานร่วมกันระหว่างทุกภาคส่วน การปรับปรุงกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง และการบริหารข้อมูล ด้านการท่องเท่ยี ว เพือ่ การวเิ คราะหแ์ ละวางแผน รวมถึงการส่งเสริมการบรู ณาการการพัฒนาการทอ่ งเที่ยวกับประเทศ เพอ่ื นบา้ นเพอื่ สง่ เสริมการทอ่ งเที่ยวในภูมิภาคโดยรวม ๑. เปา้ ประสงค์ ๑.๑ การวางเเผนเเละการด�ำเนินงานของทุกภาคส่วนอย่างมีการบูรณาการ มีความสอดคล้องเเละเป็นไป ตามทิศทางเดียวกัน ๑.๒ ทกุ ภาคส่วนมคี วามร่วมมอื กนั ในการพัฒนาเเละบริหารการทอ่ งเท่ียวของประเทศ ๑.๓ องค์กรธุรกิจเเละประชาชนในระดับท้องถ่ินมีโอกาสเเละได้รับการสนับสนุนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนา เเละบรหิ ารจัดการการทอ่ งเที่ยวในพนื้ ท่มี ากขน้ึ ๑.๔ การด�ำเนินงานของภาครัฐมีประสิทธิภาพสูงข้ึน ท้ังด้านการวางเเผนเเละการจัดสรรงบประมาณเเละ ทรัพยากรบคุ คลทีส่ อดคล้องกบั ความต้องการ ๑.๕ การดำ� เนนิ งานของทกุ ภาคสว่ นมปี ระสทิ ธภิ าพผา่ นการพฒั นาระบบขอ้ มลู สว่ นกลาง ชอ่ งทางการเเบง่ ปนั ขอ้ มูล และกฎหมายตา่ งๆ ที่เกีย่ วข้อง ๑.๖ ประเทศไทยมกี ารกำ� หนดเเละบงั คบั ใชก้ ฎหมาย ขอ้ บงั คบั เเละมาตรฐานตา่ งๆ อยา่ งเครง่ ครดั เพอ่ื สนบั สนนุ การพัฒนาการท่องเท่ียว เพมิ่ ความปลอดภยั และส่งเสริมความยงั่ ยืน ๑.๗ การลงทุนในการพฒั นาอตุ สาหกรรมทอ่ งเท่ียวผา่ นความร่วมมอื ระหว่างภาครัฐ เอกชน และชุมชน ๑.๘ ประเทศไทยมกี ารรว่ มมอื อยา่ งเเขง็ ขนั เเละสมำ�่ เสมอกบั ประเทศในภมู ภิ าค เพอ่ื รว่ มกนั พฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว ในอนุภมู ภิ าค โดยมปี ระเทศไทยเปน็ ประตูส่กู ารท่องเที่ยวในภูมิภาค ๒. ตัวช้วี ัด ๒.๑ ระดับความพึงพอใจด้านการบูรณาการแผนงานการพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วของประเทศเพิม่ ขน้ึ ๒.๒ ระดับความพึงพอใจด้านการสนับสนุนจากส่วนกลางในการท�ำงานด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว ของประเทศเพ่มิ ขน้ึ ๒.๓ ระดบั ความพึงพอใจด้านการมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาการท่องเทีย่ วของประเทศเพิม่ ขนึ้ ๒.๔ ระดบั ความพงึ พอใจดา้ นกฎหมายและขอ้ บังคบั ด้านการพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วเพิม่ ขนึ้ ๒.๕ จัดตั้ง Tourism Intelligence Center (หนว่ ยบริหารและวิเคราะห์ข้อมูลด้านการท่องเที่ยว) และบริหาร จดั การอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการผู้ใชง้ าน ๓. แนวทางการพฒั นา ๓.๑ ส่งเสริมการก�ำกับดูแลการพัฒนาเเละบริหารจัดการการท่องเท่ียวอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเสริมสรา้ งการท�ำงานอยา่ งบรู ณาการระหวา่ งหน่วยงานระดบั นโยบาย โดยมคี ณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียว แห่งชาติและกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาเป็นหน่วยงานหลักในการก�ำหนดนโยบาย ประสานงาน ก�ำกับติดตามและ เเผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) 35 คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook