Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา (ส22103) ชั้นที่สอนมัธยมศึกษาปีที่ 2-ครูกีรกาญจน์ - กีรกาญจน์ แก้วขอมดี

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา (ส22103) ชั้นที่สอนมัธยมศึกษาปีที่ 2-ครูกีรกาญจน์ - กีรกาญจน์ แก้วขอมดี

Published by ครรชิต แซ่โฮ่, 2022-02-08 14:42:07

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา (ส22103) ชั้นที่สอนมัธยมศึกษาปีที่ 2-ครูกีรกาญจน์ - กีรกาญจน์ แก้วขอมดี

Search

Read the Text Version

2. นกั เรยี นรวมกนั วิเคราะหเก่ียวกับการใชเทคโนโลยีในการผลติ สินคาและบริการ พรอ มนาํ เสนอ ประโยชนที่เกิดขึ้นเปน แผนภาพความคดิ บนกระดาน ดังตัวอยา ง การใชเครือ่ งจักรที่ทันสมัย ทาํ ใหผ ลติ สินคา และบรกิ ารไดจาํ นวนมากขน้ึ ในเวลา ชวยในการผลติ สนิ คา รวดเร็ว มปี รมิ าณเพยี งพอตอการบริโภค และลดตนทุนการ ผลิต เพราะเทคโนโลยีชว ยลดแรงงานหรือกาํ ลงั คน ประโยชนของการ การใชเ ทคโนโลยีชวย ชว ยใหม ีการคิดคนหรือประดิษฐรูปแบบของสินคา ทํา นําเทคโนโลยมี าใช ในการออกแบบสนิ คา ใหไ ดสนิ คา และบรกิ ารที่มรี ูปแบบใหม ๆ หลากหลาย ในการผลิตสินคา เพื่อใหผ ูบ ริโภคมีโอกาสเลือกซ้ือไดตามความตองการ การใชเทคโนโลยีในการ และความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ และบริการ โฆษณาสนิ คาและการให บริการ เชน การใชค อมพวิ เตอรมาชว ยในการขายสินคาและ สงั่ ซอื้ สนิ คา ตา ง ๆ โดยผา นทางเครือขา ยอินเทอรเ น็ต การโฆษณาทางวทิ ยุ โทรทัศน สง่ิ พิมพต าง ๆ ทาํ ให ผูบริโภคศกึ ษารายละเอยี ดของสนิ คา ไดมากขน้ึ หรอื สามารถสั่งซ้ือสินคา ไดส ะดวกรวดเรว็ การใชเ ทคโนโลยีชว ยใน เพ่ือใหเ กิดการทาํ งานทมี่ ีประสิทธิภาพ เปนระบบ การจัดการ รวดเร็ว เชน การนําคอมพิวเตอรม าใชในสํานักงาน เพื่อ จัดเก็บเอกสารหรือคน หาขอมูล การใชเทคโนโลยีชว ยใน เพ่ือใหก ระบวนการขนสง วตั ถุดบิ ในการผลิตรวดเร็วขึน้ การขนสง หรือขนสง สินคาและบริการไปถงึ ผบู ริโภคไดสะดวก รวดเร็วข้ึน 3. ใหนกั เรียนศึกษาความรูเรอ่ื ง หลักการผลติ กับการผลิตสินคาและบริการในทอ งถนิ่ โดยครูกําหนดใหน ักเรยี นรว มกันศกึ ษาวิเคราะหความสอดคลองการผลิตตามหวั ขอ ดังน้ี • ดานเศรษฐกิจ • ดา นสงั คม • ดา นสง่ิ แวดลอม 4. ใหนักเรียนแตละกลุมจับสลากหัวขอ แลวสรุปวิเคราะหหลักการผลิตที่สอดคลองกับหัวขอที่ กลุมตนเองไดร บั ออกนําเสนอเพื่อแลกเปลย่ี นความรูกันหนาชัน้ เรียน

ขน้ั ท่ี 5 สรุปและจดั ระเบียบความรู จบการนําเสนองานกลมุ ครูและนกั เรยี นรวมกันบรู ณาการสรุปความรบู นกระดาน ดังตวั อยาง หลกั การผลติ ดาน กบั การผลติ สินคาและบรกิ ารในทองถ่ิน สังคม ดา น เศรษฐกจิ เลือกใชเ ทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม ผลติ ใหตรงกับความตองการของผบู รโิ ภค ใชตนทุนใหน อยทีส่ ดุ นําภูมิปญ ญาในทองถิ่นมาผลิตสินคา และบริการ มตี ลาดรองรบั สินคาและบริการ พฒั นาฝม ือแรงงานการผลิต พัฒนาสินคา และบริการใหไ ดมาตรฐาน ดาน ส่ิงแวดลอม นําทรพั ยากรที่มีอยูใ นทองถ่ินมาผลิตสนิ คา และบริการ จดั กระบวนการผลิตท่ีเปน มิตรกับสิ่งแวดลอ ม นําทรัพยากรมาใชอยางรคู ุณคา และทดแทน รกั ษาทรัพยากรและสรา งความสมดุลของระบบนิเวศ ขั้นที่ 6 ปฏิบตั ิและ/หรอื แสดงผลงาน 1. นักเรียนรว มกนั สรุปสิ่งท่ีเขาใจเปน ความรูรวมกัน ดังน้ี การผลิตสนิ คา และบริการในทองถนิ่ เปนกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ท่ีใชป จ จยั การผลติ ท่ีมอี ยูใ นทองถิน่ หลกั การผลติ สินคาและบรกิ ารในทอ งถิ่น ผผู ลติ จะตองเลอื กใชเทคโนโลยี วธิ กี ารผลติ การจัดสรรสนิ คา และ บรกิ ารใหแกผ บู ริโภคอยา งเหมาะสม และที่สําคัญผูผลิตตองคํานงึ ถึงการอนรุ กั ษทรพั ยากรและการใช ทรพั ยากรอยางคุมคาควบคูไปดว ย 2. นักเรยี นทําใบงาน เรื่อง เทคโนโลยกี ารผลิตสนิ คา และบริการ 3.นกั เรยี นตรวจสอบความถูกตองและความเรยี บรอยของช้ินงาน หากพบขอผิดพลาดควรปรับปรุง แกไขใหถ ูกตอ ง ขั้นที่ 7 ประยุกตใ ชความรู นักเรยี นชว ยกนั อนุรกั ษภ มู ปิ ญ ญาในการผลิตสนิ คาและบริการของคนในทองถ่ินของตนเอง ใหเ กดิ การพฒั นาและสามารถตอยอดเปน ผลติ ภัณฑทสี่ ามารถสงออกหรือสรางรายไดใหกบั คนในทองถิ่นได

เกณฑก ารประเมนิ เกณฑการประเมนิ ความรคู วามสามารถ (K) 1. ใบงาน เร่ือง เทคโนโลยีการผลิตสินคา และบริการ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช ( 2 ) ปรบั ปรุง ( 1 ) ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ตอบไดตรงประเด็น แต ตอบไมตรงประเด็น ไมมี ชัดเจนครอบคลุมเน้ือหา ชัดเจนครอบคลุมเนื้อหา ยังไมครอบคลุมเน้ือหา ก า ร จั ด ร ะ บ บ ด า น ทั้งหมด สวนใหญ ทั้งหมด ความคิด เกณฑการตัดสนิ ระดับคุณภาพ 1. ใบงาน เร่ือง เทคโนโลยีการผลติ สินคาและบรกิ าร คะแนน ระดับคณุ ภาพ 4 คะแนน ดมี าก 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช 1 คะแนน ควรปรับปรงุ **ผา นเกณฑระดบั ดี

เกณฑการประเมินพฤติกรรม (P) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทาํ งานรายบคุ คล คําช้ีแจง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงใน ชองท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ชื่อ-สกลุ ความมีวินัย ความมีนํา้ ใจ การรับฟง การแสดง การตรงตอเวลา รวม ที่ ของผูรับการ เอ้ือเฟอ เสียสละ ความคดิ เหน็ ความคดิ เห็น 20 คะแนน ประเมนิ 432 1 4 3 2 1 4 3214 321432 1 ลงชอื่ ...............................................ผปู ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก ารใหค ะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบอยครั้ง ให 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมนอ ยครง้ั ให 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสินคณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุระดับณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ต่ํากวา 10 ปรับปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม คําชี้แจง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงใน ชอ งท่ีตรงกับระดับคะแนน การแกไข ชือ่ -สกลุ ความ การแสดงความ การรับฟง ความตงั้ ใจ ปญ หา/หรือ รวม 20 รวมมือกัน คดิ เห็น ความคดิ เหน็ ทํางาน ปรบั ปรุง คะแนน ท่ี ของผรู ับการ ทาํ กจิ กรรม ผลงานกลมุ ประเมนิ 432 1 4 3 2 1 4 3214 321432 1 ลงชื่อ............................................ผูประเมนิ ................ /................ /................ เกณฑการใหค ะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยางสม่าํ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบอยครง้ั ให 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอ ยคร้ัง ให 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุระดบั ณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ตา่ํ กวา 10 ปรับปรุง

เกณฑการใหประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (A) คาํ ชแ้ี จง : ใหผปู ระเมนิ ศกึ ษาขอ กําหนดการใหคะแนนในการประเมินผลตามสภาพจริงอยางละเอียดรอบรอบ แลวบันทึกคะแนนใหตรงกับพฤติกรรมตามรายการประเมินท่ีกําหนดโดยการบันทึกในชองท่ีกําหนดให พฤติกรรมการแสดงออกของนักเรยี นกําหนดเปนระดับคา คะแนนไดด ังน้ี ระดับคะแนน 4 มากท่สี ุด, 3 ด,ี 2 พอใช, 1 ปรับปรุง ท่ี ชื่อ-สกุล ความ ความสนใจใฝร ู ความมีวินยั ความซื่อสัตย ความมีระเบียบ รวมคะแนน รบั ผิดชอบ 20คะแนน เกณฑการใหค ะแนน ลงชื่อ...............................................................ผปู ระเมนิ .................../................/................ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ได 4 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบอยครงั้ ได 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ได 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอยครงั้ ได 1 คะแนน เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ เกณฑ ระดบั คุณภาพ 4 ดมี าก ชวงคะแนน 3 ดี 18-20 2 พอใช 14-17 1 ปรบั ปรงุ 10-13 ต่าํ กวา 10

บนั ทึกหลังสอน ผลการจดั การเรียนรู ม.2/2 ม.2/4 ม.2/6 ผาน ไมผาน ผา น ไมผา น ผาน ไมผ า น คน % คน % คน % คน % คน % คน % 34 87. 5 12. 1. ดานความรู 35 92. 3 7.89 34 85.00 6 15. 18 82 - นักเรียนอธิบาย 11 00 34 87. 5 12. 18 82 เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ มี ผ ล ต อ ก า ร 34 87. 5 12. ผลิตสินคาและบริการ ได 18 82 (K1) - นั ก เ รี ย น อ ธิ บ า ย หลักการผลิตกับการผลิต สนิ คา และบริการในทองถิ่น ได (K1) 2. ดา นทักษะกระบวนการ 35 92. 3 7.89 34 85.00 6 15. - นักเรียนวิเคราะหการ 11 00 ใชเทคโนโลยีกับหลักการ ผลิตสินคาและบริการใน ทอ งถิ่นได (P3) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 35 92. 3 7.89 34 85.00 6 15. ประสงค - นักเรียน สนใจศึกษ า 11 00 เรียนรูการผลิตสินคาและ บริการในทองถ่ิน เพ่ือนํา ขอมูลมาใชใหเกิดประโยชน กับการดําเนินชีวิตประจําวัน (A3)

ผลการจดั การเรียนรู ม.2/8 ม.2/10 ม.2/12 ผา น ไมผา น ผา น ไมผ าน คน % คน % คน % คน % คน % คน % 1. ดานความรู 31 96. 1 3.13 33 82. 7 17. 34 97. 1 2.86 - นักเรียนอธิบาย 88 50 50 14 เทคโนโลยีท่ีมีผลตอการ ผลิตสินคาและบริการ ได (K1) - นั ก เ รี ย น อ ธิ บ า ย หลักการผลิตกับการผลิต สิ น ค า แ ล ะ บ ริ ก า ร ใ น ทองถ่นิ ได (K1) 2. ดา นทักษะกระบวนการ 31 96. 1 3.13 33 82. 7 17. 34 97. 1 2.86 - นักเรียนวเิ คราะหการ 88 50 50 14 ใชเทคโนโลยีกับหลักการ ผลิตสินคาและบริการใน ทอ งถ่ินได (P3) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 31 96. 1 3.13 33 82. 7 17. 34 97. 1 2.86 ประสงค - นักเรียนสนใจศึกษา 88 50 50 14 เรียนรูการผลิตสินคาและ บริการในทองถ่ิน เพ่ือนํา ขอมูลมาใชใหเกิดประโยชน กบั การดาํ เนินชวี ิตประจําวัน (A3) ปญหา/อุปสรรค/แนวทางการแกไ ข 1.นักเรยี นบางคนไมต อบคาํ ถามและไมต้ังใจเรยี น 2. นักเรยี นสง งานลา ชากวา กําหนด ขอเสนอแนะและการแกไข 1. นักเรียนที่ไมผ า นการประเมนิ ใหทําใบงานสง ตามเวลาท่กี ําหนด 2. ใหน กั เรียนศึกษาเนื้อหาท่ีเรียนครสู ง ผานเฟสบุคและคลาสรูมวชิ าสงั คมศกึ ษา 2.ตดิ ตามนกั เรียนท่ีไมเ ขา เรยี น โดยผานไลนระดบั ชั้นม.2 แจงครทู ป่ี รึกษา และสง ขอ มลู ใหผ ูปกครอง ลงช่อื ................................................... (นางสาวกรี กาญจน แกวขอมดี) ครูผสู อน

ความเหน็ ของหัวหนากลุมสาระการเรียนรู .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ................................................... (นางนงเยาว วกิ รัยเจริญยิง่ ) หัวหนา กลมุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ความคิดเห็นฝายวชิ าการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ................................................... (นางสาวเพริศพิศ คูหามุข) รองผอู ํานวยการโรงเรยี นฝายบริหารวิชาการ ความคิดเห็นผอู ํานวยการโรงเรยี น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ................................................... (นายนพปฎล มุณีรตั น) ผูอ าํ นวยการโรงเรียนคณะราษฎรบาํ รุง จังหวัดยะลา

เทคโนโลยกี ารผลิตสินคาและบริการ 1. เพราะเหตุใดเทคโนโลยจี ึงมีบทบาทสาํ คญั ตอการผลิตสินคา และบริการ ........................................................................................................................................................................... 2. ปจจบุ ันประเทศไทยนาํ เทคโนโลยดี านใดมาผลติ สินคาและบริการบาง ........................................................................................................................................................................... หนวยธุรกจิ คานิยมทางสงั คม เทคโนโลยี ตะกรา สานจากไมไผ ........................................................... 1. ปจจยั ที่ไมใชปจ จัยทางเศรษฐกิจที่มผี ลตอการผลิตสินคา และบริการ ........................................................... 2. กลุม บคุ คลท่นี ําปจจัยการผลิตมาดาํ เนนิ การผลติ สินคาและบรกิ าร ........................................................... 3. การใชท รัพยากรธรรมชาตใิ นการผลิต โดยไมท ําลายส่ิงแวดลอ ม .......................................................... 4. ปจจัยทางเศรษฐกิจทมี่ ีผลตอ การผลติ สนิ คาและบรกิ าร 1. ราคาสนิ คา และบริการสูง ผูผลิตยนิ ดผี ลิตสนิ คาและบรกิ ารปริมาณเทา ใด ⃝ มากขึน้ ⃝ นอยลง 2. ราคาปจ จยั การผลิตสงู ขนึ้ ผูผ ลติ จะผลติ สนิ คาและบรกิ ารปริมาณเทาใด ⃝ มากขน้ึ ⃝ นอยลง 3. ถามีผผู ลิตเปนจํานวนมาก ปริมาณสนิ คา และบริการที่ออกสตู ลาดจะเปน อยางไร ⃝ มากขนึ้ ⃝ นอ ยลง 4. ราคาสนิ คา ทที่ ดแทนกันไดสูงขน้ึ จะทําใหปริมาณการเสนอขายชนดิ อ่ืนเปน อยา งไร ⃝ มากขึน้ ⃝ นอยลง 5. เทคโนโลยีการผลติ ลาสมัย คุณภาพและปรมิ าณสนิ คาจะเปนอยางไร ⃝ มากขน้ึ ⃝ นอ ยลง

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 10 เรื่อง หลกั การและเปา หมายของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กลุมสาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รายวชิ า สังคมศกึ ษา รหัสวิชา ส 22103 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1เศรษฐศาสตรเบ้อื งตน และเศรษฐกิจพอเพยี ง ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 2เวลาเรียน 1ชว่ั โมง ครผู ูส อน นางสาวกีรกาญจน แกว ขอมดี โรงเรียนคณะราษฎรบาํ รุง จงั หวดั ยะลา สพม.ยะลา มาตรฐานการเรียนรู ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช ทรัพยากรท่ีมีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการ ดาํ รงชวี ติ อยางมดี ลุ ยภาพ ตัวชีว้ ดั ส 3.1 ม.2/3 เสนอแนวทางการพฒั นาการผลติ ในทองถ่นิ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สาระสําคญั เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระราชดํารัสช้ีแนะแนวทางการ ดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยบนหลักการความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุมกันในตัวท่ีดีบน เงอื่ นไขความรแู ละคุณธรรม หลักการและเปา หมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสําคัญตอการอยู รวมกนั ในสังคมไทยอยางมีความสขุ ในทกุ ระดับ จดุ ประสงค 1. อธบิ ายความหมาย หลกั การและเปาหมายของเศรษฐกิจพอเพียงได (K2) 2. ศกึ ษาวเิ คราะหห ลักการปฏิบตั ิตนตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งได (P4) 3. นกั เรียนมงุ มน่ั ในการศึกษาและการทํางาน (A5) สมรรถนะสําคัญ 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการสือ่ สาร 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวติ 4. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี สื่อ/แหลง เรยี นรู 1. เอกสารประกอบการเรยี น 2. สื่อ Power point เร่อื ง เศรษฐกจิ พอเพียง 3. หนงั สือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.2 4. แหลงขอมูลสารสนเทศ

ภาระงาน/ ชน้ิ งาน 1. ใบงาน เรือ่ ง หลกั การและเปาหมายปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. เขียนแผนภูมิเกีย่ วกบั หลักการของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การวดั และประเมินผลการเรยี นรู จุดประสงค วธิ กี าร เคร่อื งมอื ดานความรู (K) ตรวจใบงาน - ใบงาน เรอ่ื ง หลักการและเปา หมายปรัชญา ดานทักษะและ ตรวจผลการทาํ กจิ กรรม เศรษฐกิจพอเพยี ง กระบวนการ (P) - แผนภูมิเกีย่ วกบั หลักการของปรชั ญาของ สังเกตพฤตกิ รรมการทํา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม กิจกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบุคคล และคา นิยม (A) - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม การจัดกิจกรรมการเรียนรู (วธิ ีการสอนแบบโมเดลซปิ ปา (CIPPA Model) ขัน้ ท่ี 1 ทบทวนความรเู ดมิ 1. นักเรยี นรว มกนั สนทนาเก่ยี วกบั ความหมายและความสาํ คัญของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยการตอบคําถาม ดงั นี้ • เศรษฐกิจพอเพยี งเปนแนวคิดของใคร (พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร) • เศรษฐกจิ พอเพียงมีความหมายวาอยางไร (ตัวอยา งคาํ ตอบ การดํารงชวี ิตอยูบ นทางสายกลาง การพ่งึ ตนเอง ความพอมีพอกนิ พอใช รจู กั ความพอประมาณ คาํ นงึ ถึงความมีเหตุผล และสรางภูมิคุมกันทีด่ ใี นตัว ไมต งั้ อยบู นพ้นื ฐาน ของความประมาท) • เพราะเหตใุ ดจงึ มแี นวคิดเร่อื งเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ตัวอยางคําตอบ เพอ่ื แกไ ขปญ หาเศรษฐกจิ ของประเทศและเปน แนวทางทที่ ําใหป ระเทศ รอดพน จากวกิ ฤตเศรษฐกิจ สามารถดาํ รงอยไู ดอ ยางมั่นคงและยง่ั ยนื ภายใตกระแสโลกาภิวัตน และการเปลี่ยนแปลงดานตา งๆ) • นักเรยี นคิดวา เศรษฐกจิ พอเพยี งมคี วามสาํ คัญอยา งไร (ตัวอยางคาํ ตอบ เปน แนวคิดที่ยึดหลกั ทางสายกลาง คอื พอประมาณ มีเหตผุ ล มภี ูมคิ ุม กันท่ดี ี ซ่งึ จําเปน ตอ การดาํ รงชีวิตและการปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ ต้งั แตร ะดับครอบครวั ระดับชุมชน จนถึงระดับประเทศ เพื่อการดําเนินชีวิตอยางชาญฉลาดและสามารถดํารงอยูไดทามกลางสภาพการ แขงขนั และการเปลยี่ นแปลงของโลกในยุคโลกาภิวตั น)

ข้ันท่ี 2 แสวงหาความรใู หม 1. ครูเลาประวัติบุคคลตัวอยางท่ีดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหนักเรียนฟง เชน - นายดํา ฉง่ิ สวุ รรณโรจน - นายประยงค รณรงค 2. ครูตั้งคาํ ถามถามนกั เรียน ดังน้ี - บุคคลดังกลาวมีการกระทําอยางไรที่แสดงวา เขาประสบความสาํ เร็จในชีวติ - บุคคลน้นั มีความสุขในการดําเนนิ ชวี ติ อยา งไร ยกตวั อยาง 3. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา การกระทําของบุคคลท่ีครูนํามาเปนตัวอยางนั้น สอดคลองกับ หลักการของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอยา งไร ข้นั ท่ี 3 ศึกษาทาํ ความเขาใจขอ มูล/ความรูใหม และเชอ่ื มโยงความรูใหมกับความรเู ดมิ 1. ครูใหน ักเรียนรวมกลุม กันตามความสมัครใจ กลุมละ 5-7 คน แลว ใหแตละกลมุ รว มกันศกึ ษา ความรูเรอ่ื ง หลกั การและเปาหมายของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จากหนงั สอื เรยี นและหนงั สอื คนควา เพมิ่ เติม เพื่อเปนพน้ื ฐานในการวเิ คราะห โดยศึกษาจาก สือ่ Power point เรือ่ ง เศรษฐกิจพอเพียง 2. สมาชิกแตละคนในกลุมเขียนขอความในแผนภูมิเกี่ยวกับหลักการของปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง แลววิเคราะหการกระทําของตนเองท่ีแสดงวาไดปฏิบัติตนสอดคลองกับเปาหมายของปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ตามหัวขอ ท่กี าํ หนดให 3. สมาชิกแตล ะคนในกลุมผลัดกันเลาผลงานและการวิเคราะหการกระทําของตนตามปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงใหสมาชกิ คนอ่ืนฟง ข้นั ที่ 4 แลกเปล่ียนความรูความเขา ใจกับกลุม ครูเขียนแผนภาพ 3 หวง 2 เงื่อนไขบนกระดาน พอประมาณ มีเหตผุ ล มภี ูมิคมุ กนั ในตนเอง ความรู คุณธรรม จากนนั้ ครูใหน กั เรยี นตอบคําถามกระตุน ความคดิ • สามหว งประกอบดวยอะไรบา ง (พอประมาณ มีเหตผุ ล และมีภูมคิ มุ กันในตนเอง)

• สองเง่ือนไขประกอบดว ยอะไรบา ง (ความรูกบั คุณธรรม) • สามหว งสองเงอื่ นไขมีความสาํ คญั อยา งไร (เปน แนวคิดหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงที่ทุกสาขาอาชีพพึงนําไปปฏิบัติตนในการประกอบอาชีพเพื่อปองกันตนเองจากความลมเหลวหรือ แกป ญหาในการประกอบอาชพี ใหป ระสบผลสําเรจ็ ) ขนั้ ที่ 5 สรุปและจัดระเบียบความรู นักเรียนรว มกันสรปุ สิ่งที่เขาใจเปน ความรรู ว มกัน ดังนี้ เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถ บพิตร มีพระราชดําริแนะแนวทางในการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทย รวมถึงการพัฒนาและการบริหาร ประเทศ เพ่ือใหตระหนักถึงการดําเนินชีวิตอยูบนทางสายกลาง การพึ่งตนเอง ความพอมีพอกิน พอมีพอใช รจู ักความพอประมาณ คํานึงถงึ ความมีเหตผุ ล และสรา งภูมิคุมกันในตวั ทด่ี ี ขั้นท่ี 6 ปฏิบตั แิ ละ/หรอื แสดงผลงาน นักเรียนทําใบงาน เร่ือง หลักการและเปาหมายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และนักเรียนรวมกัน ตรวจสอบความถูกตองและความเรยี บรอ ยของผลงาน หากพบขอผิดพลาดควรปรับปรงุ แกไขใหถูกตอง ข้ันที่ 7 ประยกุ ตใชค วามรู นกั เรียนนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปเปน แนวทางในการดําเนินชีวิตเพ่ือใหเกิดความสุข ในตนเองและครอบครวั ตอไป ............................................................................ เกณฑก ารประเมิน เกณฑการประเมินความรคู วามสามารถ (K) 1. ใบงาน เร่อื ง หลกั การและเปาหมายปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ดีมาก (4) ดี (3) พอใช ( 2 ) ปรับปรงุ ( 1 ) ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ตอบไดตรงประเด็น แต ตอบไมตรงประเด็น ไมมี ชัดเจนครอบคลุมเน้ือหา ชัดเจนครอบคลุมเนื้อหา ยังไมครอบคลุมเน้ือหา ก า ร จั ด ร ะ บ บ ด า น ทงั้ หมด สว นใหญ ทัง้ หมด ความคดิ เกณฑการประเมนิ ฝกทักษะ (P) 1. เขียนแผนภมู ิเกยี่ วกับหลกั การของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดีมาก (4) ดี (3) พอใช ( 2 ) ปรับปรุง ( 1 ) เ ขี ย น แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง เขียนแผนภูมิแสดงไดตรง เขียนแผนภูมิแสดงได เขยี นแผนภูมิแสดงไมตรง ครอบคลุมเนอ้ื หาทงั้ หมด ป ร ะ เ ด็ น ชั ด เ จ น ตรงประเด็น แตยังไม ป ร ะ เ ด็ น ไ ม มี ก า ร ครอบคลุมเนื้อหาสวน ค ร อ บ ค ลุ ม เ นื้ อ ห า จัดระบบดา นความคิด ใหญ ท้ังหมด

เกณฑก ารตดั สนิ ระดับคุณภาพ 1. ใบงาน เรื่อง หลกั การและเปา หมายปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง คะแนน ระดบั คุณภาพ 4 คะแนน ดีมาก 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช 1 คะแนน ควรปรับปรงุ เกณฑการประเมินฝกทกั ษะ (P) คะแนน ระดับ 5 คะแนน ดเี ยี่ยม 4 คะแนน 3 คะแนน ดี ตํา่ กวา 2 คะแนน พอใช ปรบั ปรงุ **ผา นเกณฑร ะดบั ดี

เกณฑการประเมินพฤติกรรม (P) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทํางานรายบคุ คล คําชแี้ จง : ให ผูส อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงใน ชองทตี่ รงกบั ระดบั คะแนน ชื่อ-สกุล ความมีวนิ ยั ความมีนํา้ ใจ การรับฟง การแสดง การตรงตอเวลา รวม ที่ ของผูรับการ เอ้ือเฟอ เสียสละ ความคิดเหน็ ความคดิ เห็น 20 คะแนน ประเมนิ 432 1 4 3 2 1 4 3214 321432 1 ลงชือ่ ...............................................ผปู ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑการใหค ะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมนอ ยครง้ั ให 1 คะแนน เกณฑก ารตดั สนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุระดับณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ต่ํากวา 10 ปรับปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุม คําชี้แจง : ให ผสู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงใน ชอ งท่ตี รงกับระดับคะแนน การแกไข ชือ่ -สกลุ ความ การแสดงความ การรับฟง ความตงั้ ใจ ปญ หา/หรือ รวม 20 รวมมือกัน คดิ เห็น ความคดิ เหน็ ทํางาน ปรบั ปรุง คะแนน ท่ี ของผรู ับการ ทาํ กจิ กรรม ผลงานกลมุ ประเมนิ 432 1 4 3 2 1 4 3214 321432 1 ลงชื่อ............................................ผูประเมนิ ................ /................ /................ เกณฑการใหค ะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยางสม่าํ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอยครง้ั ให 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให 2 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอ ยคร้ัง ให 1 คะแนน เกณฑการตัดสนิ คณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุระดบั ณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ตา่ํ กวา 10 ปรับปรุง

เกณฑการใหประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (A) คาํ ชแ้ี จง : ใหผปู ระเมนิ ศกึ ษาขอ กําหนดการใหคะแนนในการประเมินผลตามสภาพจริงอยางละเอียดรอบรอบ แลวบันทึกคะแนนใหตรงกับพฤติกรรมตามรายการประเมินท่ีกําหนดโดยการบันทึกในชองท่ีกําหนดให พฤติกรรมการแสดงออกของนักเรยี นกําหนดเปนระดับคา คะแนนไดด ังน้ี ระดับคะแนน 4 มากท่สี ุด, 3 ด,ี 2 พอใช, 1 ปรับปรุง ท่ี ชื่อ-สกุล ความ ความสนใจใฝร ู ความมีวินยั ความซื่อสัตย ความมีระเบียบ รวมคะแนน รบั ผิดชอบ 20คะแนน เกณฑการใหค ะแนน ลงชื่อ...............................................................ผปู ระเมนิ .................../................/................ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ ได 4 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบอยครงั้ ได 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ได 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอยครงั้ ได 1 คะแนน เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ เกณฑ ระดบั คุณภาพ 4 ดมี าก ชวงคะแนน 3 ดี 18-20 2 พอใช 14-17 1 ปรบั ปรงุ 10-13 ต่าํ กวา 10

บนั ทกึ หลังสอน ผลการจัดการเรียนรู ม.2/2 ม.2/4 ม.2/6 ผา น ไมผ าน ผาน ไมผาน ผาน ไมผ า น คน % คน % คน % คน % คน % คน % 39 100 - - 1. ดา นความรู 38 100 - - 40 100 - - 39 100 - - - นักเรียนอธิบาย 39 100 - - ความหมาย หลักการและ เ ป า ห ม า ย ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พอเพยี งได (K2) 2. ดา นทกั ษะกระบวนการ 38 100 - - 40 100 - - - นักเรียนศึกษา วิเคราะหหลักการปฏิบัติ ต น ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า เศรษฐกจิ พอเพยี งได (P4) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 38 100 - - 40 100 - - ประสงค - นักเรียนนักเรียนมุงม่ัน ใ น ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร ทาํ งาน (A5)

ผลการจัดการเรยี นรู ม.2/8 ม.2/10 ม.2/12 ผาน ไมผ าน ผา น ไมผา น คน % คน % คน % คน % คน % คน % - 1. ดา นความรู 31 96. 1 3.13 37 92. 3 7.50 35 100 - - - นักเรียนอธิบาย 88 50 - ความหมาย หลักการและ เปาหมายของเศรษฐกิจ พอเพยี งได (K2) 2. ดานทกั ษะกระบวนการ 31 96. 1 3.13 37 92. 3 7.50 35 100 - - นักเรียนศึกษา 88 50 วิเคราะหหลักการปฏิบัติ ต น ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า เศรษฐกจิ พอเพยี งได (P4) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 31 96. 1 3.13 37 92. 3 7.50 35 100 - ประสงค - นักเรียนนักเรียนมุงม่ัน 88 50 ใ น ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร ทํางาน (A5) ปญ หา/อุปสรรค/แนวทางการแกไข 1. นักเรยี นไมเขาเรยี น ทําใหต ามเนื้อหาและทาํ กจิ กรรมระหวางเรียนไมทันเพ่อื นรวมหอ ง 2. นกั เรยี นบางคนสงงานลาชากวากําหนด ขอ เสนอแนะและการแกไ ข 1. นักเรียนที่ไมผ า นการประเมนิ ใหทาํ ใบงานสงตามเวลาทีก่ าํ หนด 2. ใหน ักเรียนศกึ ษาเนื้อหาท่เี รยี นผา นวิดีโอที่ครสู ง ผา นเฟสบคุ กลุมวชิ าประวตั ิศาสตร 3. ติดตามนักเรยี นท่ีไมเขาเรยี น โดยผานไลนร ะดบั ชั้นม.2 แจง ครทู ีป่ รึกษา และสงขอมูลใหผปู กครอง ลงช่อื ................................................... (นางสาวกีรกาญจน แกวขอมดี) ครูผสู อน

ความเห็นของหัวหนากลุมสาระการเรียนรู .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ................................................... (นางนงเยาว วกิ รยั เจริญย่ิง) หัวหนา กลุมสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ความคิดเห็นฝายวชิ าการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................... (นางสาวเพรศิ พิศ คหู ามุข) รองผูอาํ นวยการโรงเรียนฝา ยบริหารวชิ าการ ความคดิ เห็นผอู ํานวยการโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นายนพปฎล มุณีรตั น) ผอู ํานวยการโรงเรยี นคณะราษฎรบํารงุ จังหวดั ยะลา

หลกั การและเปา หมายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง คาํ ชแ้ี จง เขียนแผนผงั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง แลวตอบคําถาม 1. เศรษฐกจิ พอเพียง หมายถงึ อะไร .............................................................................................................................................................................. 2. เปน เศรษฐกจิ ทอ่ี ยูไดดว ยตัวเอง เรียกวา .............................................................................................................................................................................. 3. หลกั เศรษฐกิจพอเพียงเนน คุณธรรมในเร่ืองใดมากท่ีสดุ .............................................................................................................................................................................. 4. ความพอประมาณ หมายถึงอะไร .............................................................................................................................................................................. 5. ความมีเหตผุ ล หมายถึงอะไร .............................................................................................................................................................................. 6. การมภี ูมิคุม กันในตวั ทด่ี ี หมายความวาอยางไร .............................................................................................................................................................................. 7. เปา หมายของเศรษฐกจิ พอเพียงคืออะไร .............................................................................................................................................................................. 8. ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมคี ณุ ประโยชนอ ยางไร .............................................................................................................................................................................. 9. นักเรียนคิดวามีสํานวน สุภาษิต หรือคําพังเพยของไทยอะไรบาง ที่สัมพันธกับปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง ..............................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 11 เรอื่ ง ปญหาการผลิตสนิ คาและบรกิ ารในทองถ่ิน กลุม สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ า สังคมศกึ ษา รหัสวิชา ส 22103 หนว ยการเรยี นรูท ี่ 1เศรษฐศาสตรเบ้ืองตน และเศรษฐกจิ พอเพยี ง ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 2เวลาเรยี น 1ช่วั โมง ครูผสู อน นางสาวกรี กาญจน แกว ขอมดี โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จังหวัดยะลา สพม.ยะลา มาตรฐานการเรียนรู ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช ทรพั ยากรท่ีมีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ ดํารงชีวิตอยา งมดี ุลยภาพ ตัวช้ีวดั ส 3.1 ม.2/3 เสนอแนวทางการพัฒนาการผลติ ในทอ งถน่ิ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สาระสําคัญ ปญ หาการผลติ สินคาและบรกิ ารในทองถน่ิ สว นใหญจ ะเปนปญหาอนั เนือ่ งมาจากการขาดแคลนปจจัย การผลิต การแขงขันในตลาด ปญหาดานสาธารณูปโภค และปญหาจากภัยธรรมชาติ ซ่ึงปญหาดังกลาว สามารถแกไ ขได โดยการนาํ หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับใชใหเหมาะสมกับลักษณะของปญหาของแต ละทอ งถน่ิ จดุ ประสงค 1. นกั เรียนอธบิ ายถึงปญหาการผลติ สินคาและบริการในทอ งถิ่น (K2) 2. นกั เรียนวเิ คราะหป ญ หาและแนวทางการแกปญ หาการผลิตสินคา และบรกิ ารในทองถ่ิน (P4) 3. นกั เรยี นมุงมน่ั ในการศกึ ษาและการทาํ งาน (A5) สมรรถนะสําคญั 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการสอ่ื สาร 3. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ 4. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี สอื่ /แหลง เรยี นรู 1. เอกสารประกอบการเรียน 2. หนงั สอื เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.2 3. แหลง ขอมลู สารสนเทศ ภาระงาน/ ชิ้นงาน 1. ใบงาน เรื่อง แนวทางและปญ หาการผลิตสินคา และบรกิ ารในทอ งถน่ิ

การวดั และประเมินผลการเรียนรู จดุ ประสงค วิธีการ เครอ่ื งมอื ดา นความรู (K) ตรวจใบงาน - ใบงาน เรอื่ ง แนวทางและปญหาการผลิตสนิ คา ดา นทักษะและ ตรวจผลการทํากจิ กรรม และบรกิ ารในทองถิน่ กระบวนการ (P) - ใบงาน เรอ่ื ง แนวทางและปญหาการผลติ สนิ คา สังเกตพฤติกรรมการทํา และบริการในทอ งถ่ิน ดานคุณธรรม จรยิ ธรรม กิจกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบุคคล และคา นิยม (A) - แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุม การจดั กิจกรรมการเรียนรู (วิธกี ารสอนแบบโมเดลซปิ ปา (CIPPA Model) ข้นั ท่ี 1 ทบทวนความรเู ดมิ ครูสนทนากับนกั เรยี น การผลติ สนิ คา และบรกิ ารในทอ งถ่ินท่นี กั เรยี นมีภูมลิ ําเนามีอะไรบาง ปญหา สําคญั ของการผลิตสนิ คา และบรกิ ารในทองถ่ินของนักเรียน ไดแกอะไรบาง นําขอมูลท่ีนักเรียนบอกเขียนลงใน กระดานดํา ขนั้ ที่ 2 แสวงหาความรูใ หม 1. ครใู หน กั เรียนแบงกลมุ กลมุ ละ 5 คน 2. นักเรียนแตละกลุมรวมมือกันคนควาความรูจากหนังสือเรียน หนังสือคนควาเพ่ิมเติม หองสมุด และแหลง ขอ มลู สารสนเทศตามความเหมาะสม ในหัวขอตอ ไปนี้ - ปญหาของการผลติ สินคาและบริการในทองถิ่น · ปญ หาการขาดแคลนปจ จยั การผลิต · ปญ หาการแขงขนั ในตลาด · ปญหาดา นสาธารณูปโภค · ปญ หาภยั ธรรมชาติ - การประยกุ ตใชเ ศรษฐกจิ พอเพยี งในการผลิตสินคา และบริการในทอ งถน่ิ ข้ันท่ี 3 ศึกษาทําความเขาใจขอมูล/ความรใู หม และเช่ือมโยงความรใู หมก บั ความรูเดมิ สมาชิกแตละกลุมนําความรูที่ไดจากการสืบคนมาสนทนาแลกเปล่ียนกันในประเด็นสําคัญ โดย ผลดั กันอภปิ รายทลี ะคน ขนั้ ที่ 4 แลกเปล่ียนความรูความเขาใจกบั กลมุ นักเรยี นรวมกันวิเคราะหเกย่ี วกบั ปญหาการผลิตสนิ คาและบริการในทองถิน่ แลวอธิบายสรุปถึง ความสําคัญของปญหาทีเ่ กิดข้ึนเปน แผนภาพความคดิ ดังตัวอยาง

แนวทางการแกปญหาการผลิตสินคา และบรกิ ารในทองถ่ิน 1. เนน การสรางกระบวนการเรยี นรู : แนวทางดําเนนิ การ Learning Process (เขาถงึ ขอ มลู ขาวสาร ความรู และปญ หา) จัดหาทีด่ ินวา งเปลา ทําแปลงเรยี นรู 2. เนนการฝก อบรมภาคปฏบิ ัติ : Skill Practice (ปฏริ ปู เกษตรกร และใหเ กษตรกรทํากิน โดยใหทํากนิ ควบคกู ารเรยี นร)ู 1 หมุนเวยี นช่วั คราว 3. เนนการนําสิทธิที่ดนิ มาสรางรายได (Learning by Doing) ควบคกู ารฟน ฟูธรรมชาติ : Land Reform (ปฏริ ูปทีด่ ิน ผูผานการอบรม การสรางรายไดค วบคูการฟน ฟธู รรมชาต)ิ นําความรพู รอมทนุ ท่ศี นู ยแบง ใหจาก 4. เนน การพัฒนาธุรกจิ ภาคประชาชน : 2 รายไดผลผลิตในแปลง Business Chain (ปฏิรูปการจัดการ ขยายผลสูแปลงตนเอง/ โดยการพัฒนาสถาบนั เกษตรกรควบคู แปลงเชา/ที่ราชการจัดให การตลาดนําการผลิต) รวมกลุมเกษตรกรจัดตง้ั 3 และพัฒนาวสิ าหกิจชมุ ชน โดยใชศนู ยเปน หนว ยประสานงาน ขนั้ ท่ี 5 สรุปและจัดระเบียบความรู 1. นักเรียนแตละกลุมยกตัวอยางปญหาการผลิตสินคาและบริการที่เกิดข้ึนในทองถ่ินตนเองมา 1 ตัวอยาง แลววิเคราะหสาเหตุของปญหา ผลกระทบ พรอมเสนอแนวทางการแกไขปญหาเปนแผนภาพ ความคดิ ดังตวั อยา ง

(ทรัพยากรทีใ่ ชในการผลิตลดลง ปญหาการผลติ สนิ คา ผลกระทบ เน่อื งจากนํามาใชเ กนิ ความจาํ เปน) และบริการในทอ งถิน่ ตนเอง (ประชาชนในทองถ่ินไดร ับ สาเหตุ (การขาดแคลนทรพั ยากร ความเดือดรอน เพราะไมส ามารถ ในการผลิตสนิ คา และบริการ) สรา งงาน สรา งรายไดใหเกิดข้ึนได (ขาดความรูใ นการนาํ ทรพั ยากร มาใชใหเกิดประโยชนส ูงสดุ ) แนวทางการแกไขปญ หา (ภาครฐั ตอ งใหการสนับสนุนทางดานความรแู กประชาชน ในการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางไรใหค มุ คา เพื่อใหป ระชาชน สามารถท่จี ะตอยอดความรูแ ละอยกู ับธรรมชาติไดอยางยง่ั ยนื และท่ีสําคัญการสง เสริมใหมกี ารนอมนาํ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาเปน แนวทางในการดาํ เนินชวี ิต) 2. นักเรียนรว มกันสรุปสง่ิ ทเ่ี ขาใจเปน ความรรู วมกนั ดังน้ี ปญหาการผลติ สินคาและบริการในทองถ่นิ เกิดจากสาเหตุหลายประการ ซง่ึ ปญหาทงั้ หมดน้จี ะตอง ไดรับการเรง แกไขอยางเรง ดว น เพราะนัน่ หมายถงึ การอยูดีมีสขุ ของประชากรในทองถ่ิน และการทีจ่ ะแกไ ข ปญหาในทกุ ระดบั อยา งยงั่ ยืน ควรมกี ารประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเปน พื้นฐานการดํารงชวี ติ ข้ันที่ 6 ปฏบิ ตั ิและ/หรอื แสดงผลงาน นักเรียนทําใบงาน เรื่อง แนวทางและปญหาการผลิตสินคาและบริการในทองถ่ิน และนักเรียน รว มกนั ตรวจสอบความถูกตอ งและความเรียบรอยของผลงาน หากพบขอ ผิดพลาดควรปรับปรงุ แกไขใหถกู ตอง ข้ันที่ 7 ประยกุ ตใชความรู นักเรียนเสนอแนวทางการแกปญหาการผลิตสินคาและบริการในทองถ่ิน โดยใชหลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียงมาคนละ 1 ขอ แลวนาํ ไปเปนแนวทางการปฏบิ ัตใิ หเกดิ เปนรปู ธรรมในทองถนิ่ ............................................................................

เกณฑการประเมนิ เกณฑการประเมนิ ความรคู วามสามารถ (K) 1. ใบงาน เร่ือง แนวทางและปญ หาการผลิตสินคา และบริการในทอ งถิ่น ดีมาก (4) ดี (3) พอใช ( 2 ) ปรับปรุง ( 1 ) ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ตอบไดตรงประเด็น แต ตอบไมตรงประเด็น ไมมี ชัดเจนครอบคลุมเนื้อหา ชัดเจนครอบคลุมเน้ือหา ยังไมครอบคลุมเนื้อหา ก า ร จั ด ร ะ บ บ ด า น ทงั้ หมด สว นใหญ ทงั้ หมด ความคิด เกณฑการประเมินฝกทักษะ (P) 1. การนําเสนอหนา ชนั้ เรยี น ดมี าก (4) ดี (3) พอใช ( 2 ) ปรบั ปรงุ ( 1 ) มีการนําเขาสูเนื้อเรื่อง มีการนาํ เขาสูเนื้อเร่ือง มี มีการนําเขาสูเนื้อเร่ือง มีการนําเขาสูเน้ือเรื่อง มีความ สัมพันธกับเนื้อ ความ สัมพันธกับเน้ือ มีความ สัมพันธกับเนื้อ ไมมีความ สัมพันธกับเน้ือ เรื่อง เราใจผูฟง มีความ เร่ือง เราใจผูฟงไมมี เร่ือง ไม เรา ใจผฟู ง ไมมี เรื่อง ไมเราใจผูฟง ไมมี มนั่ ใจ ค ว า ม มั่ น ใ จ ใ น ก า ร ค ว า ม มั่ น ใ จ ใ น ก า ร ความมั่นใจ นาํ เสนอ นําเสนอ เกณฑก ารตัดสนิ ระดับคุณภาพ 1. ใบงาน เร่อื ง แนวทางและปญหาการผลติ สินคาและบรกิ ารในทองถิน่ คะแนน ระดับคณุ ภาพ 4 คะแนน ดมี าก 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช 1 คะแนน ควรปรับปรงุ เกณฑการประเมินฝก ทกั ษะ (P) คะแนน ระดบั 5 คะแนน ดเี ยีย่ ม 4 คะแนน 3 คะแนน ดี ต่าํ กวา 2 คะแนน พอใช ปรบั ปรุง **ผา นเกณฑร ะดบั ดี

เกณฑการประเมินพฤติกรรม (P) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทํางานรายบคุ คล คําชแี้ จง : ให ผูส อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขดี  ลงใน ชองทตี่ รงกบั ระดบั คะแนน ชื่อ-สกุล ความมีวนิ ยั ความมีนํา้ ใจ การรับฟง การแสดง การตรงตอเวลา รวม ที่ ของผูรับการ เอ้ือเฟอ เสียสละ ความคิดเหน็ ความคดิ เห็น 20 คะแนน ประเมนิ 432 1 4 3 2 1 4 3214 321432 1 ลงชือ่ ...............................................ผปู ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑการใหค ะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมนอ ยครง้ั ให 1 คะแนน เกณฑก ารตดั สนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุระดับณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ต่ํากวา 10 ปรับปรงุ

เกณฑการใหประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค (A) คาํ ช้ีแจง : ใหผปู ระเมนิ ศกึ ษาขอ กําหนดการใหคะแนนในการประเมินผลตามสภาพจริงอยางละเอียดรอบรอบ แลวบันทึกคะแนนใหตรงกับพฤติกรรมตามรายการประเมินท่ีกําหนดโดยการบันทึกในชองท่ีกําหนดให พฤติกรรมการแสดงออกของนักเรยี นกําหนดเปนระดับคา คะแนนไดด ังน้ี ระดบั คะแนน 4 มากท่สี ุด, 3 ด,ี 2 พอใช, 1 ปรับปรุง ท่ี ชื่อ-สกุล ความ ความสนใจใฝรู ความมีวนิ ยั ความซื่อสัตย ความมีระเบียบ รวมคะแนน รบั ผิดชอบ 20คะแนน เกณฑก ารใหค ะแนน ลงชื่อ...............................................................ผปู ระเมนิ .................../................/................ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา งสมํ่าเสมอ ได 4 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบอยครงั้ ได 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ได 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอยครงั้ ได 1 คะแนน เกณฑก ารตัดสนิ คุณภาพ เกณฑ ระดบั คุณภาพ 4 ดมี าก ชวงคะแนน 3 ดี 18-20 2 พอใช 14-17 1 ปรบั ปรงุ 10-13 ต่าํ กวา 10

บนั ทึกหลังสอน ผลการจัดการเรียนรู ม.2/2 ม.2/4 ม.2/6 ผาน ไมผ าน ผา น ไมผ าน ผา น ไมผาน คน % คน % คน % คน % คน % คน % 36 92. 3 7.69 1. ดานความรู 38 100 - - 38 95.00 2 5.00 31 - นักเรียนอธิบายถึง 36 92. 3 7.69 31 ปญหาการผลิตสินคาและ 36 92. 3 7.69 บรกิ ารในทองถิ่น (K2) 31 2. ดา นทกั ษะกระบวนการ 38 100 - - 38 95.00 2 5.00 - นักเรียนวิเคราะห ป ญ ห า แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร แ ก ป ญ ห า ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค า และบริการในทอ งถิน่ (P4) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 38 100 - - 38 95.00 2 5.00 ประสงค - นั ก เ รี ย น มุ ง มั่ น ใ น การศึกษาและการทํางาน (A5)

ผลการจัดการเรยี นรู ม.2/8 ม.2/10 ม.2/12 ผา น ไมผ าน ผา น ไมผาน คน % คน % คน % คน % คน % คน % - 1. ดา นความรู 31 96. 1 3.13 37 92. 3 7.50 35 100 - - - นักเรียนอธิบายถึง 88 50 - ปญหาการผลิตสินคาและ บรกิ ารในทอ งถน่ิ (K2) 2. ดานทกั ษะกระบวนการ 31 96. 1 3.13 37 92. 3 7.50 35 100 - - นักเรียนวิเคราะห 88 50 ปญหาและแนวทางการ แกปญหาการผลิตสินคา และบริการในทองถนิ่ (P4) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 31 96. 1 3.13 37 92. 3 7.50 35 100 - ประสงค - นั ก เ รี ย น มุ ง มั่ น ใ น 88 50 การศึกษาและการทํางาน (A5) ปญ หา/อุปสรรค/แนวทางการแกไ ข 1. นกั เรียนบางคนไมสามารถอธิบายถึงปญหาการผลติ สินคาและบริการในทองถ่นิ เพราะไมต ้ังใจฟง ขณะครสู อน 2. นกั เรยี นบางคนขาดความมงุ ม่นั กระตือรือรน ในการเขารว มกิจกรรม ขอ เสนอแนะและการแกไข 1. ใหน กั เรียน ทบทวน ศกึ ษาเน้ือหาท่ีเรียนตามท่ีครลู งไฟลใ บความรูไวใหท้ังในเฟชบุคและคลาสรมู วชิ าสงั คมศกึ ษา 2. ติดตามนักเรยี นที่ไมเขาเรยี น โดยผา นไลนร ะดบั ชั้นม.2 แจง ครูทป่ี รึกษา และสง ขอมูลใหผ ปู กครอง ลงชอ่ื ................................................... (นางสาวกีรกาญจน แกวขอมดี) ครูผสู อน

ความเห็นของหัวหนากลุมสาระการเรยี นรู .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ................................................... (นางนงเยาว วิกรัยเจรญิ ย่ิง) หัวหนา กลุมสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ความคิดเห็นฝา ยวชิ าการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ................................................... (นางสาวเพรศิ พิศ คหู ามุข) รองผูอํานวยการโรงเรียนฝา ยบรหิ ารวิชาการ ความคิดเหน็ ผอู ํานวยการโรงเรยี น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นายนพปฎล มณุ รี ตั น) ผอู าํ นวยการโรงเรยี นคณะราษฎรบํารุง จังหวดั ยะลา

วิเคราะหแนวทางและปญหาการผลิตสินคาและ บริการในทอ งถ่ิน ในทอ งถิน่ จังหวัดเพชรบรู ณ มีการปลกู มะขามกนั มาก จนเกดิ ปญหาภาวะมะขามลน ตลาด นางมาลยั แมบา นใน ต.สระประดู เห็นวา สามารถนาํ มะขามมาแปรรูปเปนสนิ คา ขายได จึงชกชวนแมบานที่ วางเวน จากการดูแลบานและทําไรมารว มกันทําเปน สินคาสง ออกไป ขายยงั ตางอาํ เภอและตา งจงั หวดั จนภายหลังไดเขา รวมโครงการหนงึ่ ตาํ บล หน่งึ ผลิตภัณฑ 1. ปญ หาเศรษฐกิจท่เี กิดขน้ึ คอื อะไร ......................................................................................................................................................................... 2. ปญหาดังกลา วเกดิ เพราะสาเหตอุ ะไร ......................................................................................................................................................................... 3. บคุ คลในสถานการณมีการแกปญหาอยา งไร ......................................................................................................................................................................... ในเขตพ้ืนที่ จังหวดั ชัยนาท ลพบรุ ี นครสวรรคแ ละพืน้ ท่ีใกลเ คยี ง มี เกษตรกรทท่ี ําการปลกู ออยกนั มาก บางคร้งั กลมุ เกษตรกรตองประสบกับ ภาวะราคาออยตกตํ่า พอ คา คนกลางลดราคาขายออ ยตาํ่ กวาทร่ี ัฐกําหนด จงึ ไดรวมกลมุ กันเพ่ือแกไขปญ หาเหลาน้ี โดยเปด รบั สมาชกิ ท่มี ปี ญหาและ ตองการเขา รวมดาํ เนินการเพื่อจัดการแกไขสง่ิ ตางๆ ใหบรรลุวัตถปุ ระสงค 1. ปญหาเศรษฐกิจทก่ี ลมุ เกษตรกรประสบคอื อะไร ......................................................................................................................................................................... 2. สาเหตทุ ี่ทําใหเ กิดปญหาดังกลา วคืออะไร ......................................................................................................................................................................... 3. สถานการณดังกลาวถือเปน การรวมกลุมหรอื ไม อยา งไร .........................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 12 เร่อื ง การประยุกตใ ชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการผลิตสนิ คาและบริการในทองถน่ิ กลุมสาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ า สังคมศึกษา รหัสวิชา ส 22103 หนวยการเรียนรทู ี่ 1เศรษฐศาสตรเ บือ้ งตน และเศรษฐกิจพอเพียง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 2เวลาเรยี น 1ช่วั โมง ครูผูสอน นางสาวกีรกาญจน แกวขอมดี โรงเรยี นคณะราษฎรบํารุง จงั หวดั ยะลา สพม.ยะลา มาตรฐานการเรียนรู ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช ทรพั ยากรท่ีมีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการ ดาํ รงชีวติ อยา งมีดลุ ยภาพ ตวั ชี้วดั ส 3.1 ม.2/3 เสนอแนวทางการพฒั นาการผลิตในทอ งถนิ่ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สาระสาํ คัญ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทานแนวปฏิบัติเกษตรทฤษฎีใหมแก ประชาชนในการ จัดสรรพ้ืนที่ทํากิน 30 : 30 : 30 : 10 ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือใหประชาชนใชพ้ืนท่ีใหเกิดประโยชน สูงสดุ ในการพัฒนาพนื้ ท่เี กษตรกรรม เพอ่ื ทํากนิ และแกไขปญหาความยากจน จดุ ประสงค/สาระการเรยี นรู 1. นักเรียนสาํ รวจและวิเคราะหป ญ หาการผลติ สนิ คาและบริการในทองถิน่ (K3) 2. นกั เรียนประยกุ ตใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการผลิตสินคา และบริการในทองถนิ่ (P3) 3. เหน็ คณุ คา และความสาํ คญั ในการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาการผลติ สินคา และ บริการในทองถิน่ (A3) สมรรถนะสําคญั 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการสอื่ สาร 3. ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต 4. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี สือ่ /แหลง เรียนรู 1. เอกสารประกอบการเรียน 2. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.2 3. แหลง ขอ มูลสารสนเทศ ภาระงาน/ ชิ้นงาน 1. แบบทดสอบกอ นเรียน-หลงั เรยี น เรื่อง เศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ใบงาน เรอ่ื ง เกษตรทฤษฎีใหม

3. ใบงาน เรอ่ื ง การประยกุ ตใ ชป รัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4. แผนผังเกษตรทฤษฎใี หม 5. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.2 6. หอ งสมดุ 7. แหลง ขอมูลสารสนเทศ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู จดุ ประสงค วิธีการ เครอื่ งมอื ดา นความรู (K) ตรวจใบงาน - แบบทดสอบกอนเรยี น-หลังเรยี น เร่ือง เศรษฐกจิ พอเพียง ดานทักษะและ ตรวจผลการทาํ กจิ กรรม - ใบงาน เร่ือง เกษตรทฤษฎใี หม กระบวนการ (P) - ใบงาน เรอ่ื ง การประยุกตใชปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม สังเกตพฤตกิ รรมการทํา - ใบงาน เรื่อง เกษตรทฤษฎีใหม และคานิยม (A) กจิ กรรม - ใบงาน เร่อื ง การประยกุ ตใชปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทํางานรายบุคคล - แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค การจดั กจิ กรรมการเรียนรู (วิธกี ารสอนแบบโมเดลซิปปา (CIPPA Model) ขั้นท่ี 1 ทบทวนความรูเดิม 1. นักเรยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี นเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ครูใหน กั เรยี นเลา ถงึ สินคาและบรกิ ารในทอ งถ่ินทีน่ ักเรียน มภี มู ิลาํ เนา หรอื ในทองถนิ่ ท่ี สถานศึกษาต้งั อยู ซ่ึงนกั เรียนสามารถบอกไดอยา งหลากหลาย ข้ันที่ 2 แสวงหาความรูใหม 1. ครูอธบิ ายเชอื่ มโยงใหน ักเรียนเขาใจวา การผลิตสินคาและบรกิ ารในทอ งถนิ่ นั้น มรี ูปแบบตางๆ เชน การผลติ สนิ คา และบรกิ ารในทองถนิ่ ไดแ ก - การผลิตในครัวเรือน - การรวมกลมุ ผลิตสินคาและบรกิ ารในทองถ่ิน 2. นกั เรยี นศึกษาและรวบรวมขอ มูลเกี่ยวกบั การประยกุ ตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการผลิตสินคา และบรกิ ารภาคการเกษตรและภาคธุรกจิ จากหนังสอื เรยี นและแหลงการเรยี นรูอ ื่นๆ เพิ่มเติม ข้นั ที่ 3 ศกึ ษาทําความเขา ใจขอ มลู /ความรใู หม และเช่อื มโยงความรใู หมก บั ความรูเ ดมิ 1. นักเรียนรวมกนั สนทนาเกี่ยวกับการประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในครวั เรอื น โดยการตอบคําถาม ดังนี้ • ครอบครัวของนักเรียนมีการนอมนําปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาปรบั ใชในการดาํ เนนิ ชีวติ

หรือไม อยางไร (ตัวอยา งคาํ ตอบ มี โดยครอบครวั มีการปลกู พืชผกั สวนครวั ไวรบั ประทานเอง และถามีมากเกิน ท่จี ะบรโิ ภคก็จะนาํ ไปขาย หรือแบงปนใหกบั เพอื่ นบาน) • การประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดังกลาวสงผลดตี อ ครอบครัวนักเรยี นหรือไม อยา งไร (ตวั อยา งคาํ ตอบ สงผลดี เพราะทําใหครอบครัวประหยดั คาใชจา ยในการซ้ือผกั ตางๆ ทใี่ ชใ น การประกอบอาหาร) • นักเรยี นคิดวาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมีความสาํ คัญตอการดําเนินชวี ติ อยา งไร (ตวั อยางคาํ ตอบ ทาํ ใหรจู ักการประหยดั และการออม หรือรจู ักการประมาณตนเองในการใช จาย มเี หตุผลในการเลือกซ้ือสินคาและบริการ ซงึ่ จะเปนการสรางภูมิคุมกันทด่ี ใี หเ กดิ ขน้ึ ในตนเองและเปน แบบอยา งท่ีดใี หกับผอู ่นื ) ขนั้ ท่ี 4 แลกเปลี่ยนความรูความเขา ใจกบั กลมุ 1. ครนู าํ ภาพหรือเขยี นแผนผงั เกษตรทฤษฎีใหมต ดิ หรอื เขียนบนกระดานใหน กั เรียนศึกษา ดัง ตวั อยาง 2. นกั เรียนรวมกันแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั การประยุกตใ ชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการผลิตภาคการเกษตร โดยใชคาํ ถาม ดงั น้ี • เพราะเหตุใดจงึ มีการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยกุ ตใ ชในภาคการเกษตร (ตัวอยางคาํ ตอบ จากวกิ ฤติการณภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศไทยในป 2540 ทาํ ใหประเทศ ไทยไดรับผลกระทบในทกุ ภาคสว น พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตรได พระราชทานแนวพระราชดาํ รเิ ศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือแกปญหาซึ่งทรงชแ้ี นะเรอ่ื งเกษตรทฤษฎีใหม เพอ่ื ให เกษตรกรสามารถพงึ่ ตนเองไดใ นระยะยาว) • การประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตภาคการเกษตรเปนอยา งไร

(ตัวอยา งคําตอบ เปนการสงเสริมใหเ กษตรกรมีการจัดการดา นที่ดินและแหลง นาํ้ ในอัตราสว น 30 : 30 : 30 : 10 คือ 30% แรกขดุ สระและเลี้ยงปลา 30% ทสี่ องปลูกขาว 30% ทส่ี ามปลกู พืชไรพ ืช สวนและ 10% สุดทา ยใชสําหรับเปน ทีอ่ ยอู าศัยปลกู พืชผักสวนครวั และเลีย้ งสัตว ซ่ึงทั้งหมดน้เี รียกวา เกษตรทฤษฎีใหม) • ข้ันตอนการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงในภาคเกษตรกรรมเปนอยางไร โดยสรุปคําตอบของ นักเรียนเปนแผนภาพความคิด ดงั ตัวอยา ง ขน้ั ที่ 3 การรว มมอื : สรา งเครือขายกลุมอาชีพและขยายกจิ กรรม ทางเศรษฐกจิ ใหห ลากหลาย โดยประสานความรวมมอื กับภาคธุรกิจ ภาคองคกร พัฒนาภาครฐั และเอกชนในดานเงนิ ทนุ การตลาด การจดั การ และขาวสารขอมูล ขั้นท่ี 2 รวมกลุม : มีการจดั การรวมตัวดา นสวสั ดกิ าร การศกึ ษา และการพัฒนาสงั คม ข้นั ที่ 1 พ่ึงตนเอง : มีความพอเพยี งเล้ียงตนเองไดบนพน้ื ฐานของความประหยดั ขจัดคาใชจ า ย 3. นักเรียนทาํ ใบงาน เร่ือง เกษตรทฤษฎใี หม ขัน้ ท่ี 5 สรุปและจดั ระเบียบความรู 1. นักเรยี นรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับประโยชนข องเกษตรทฤษฎีใหม โดยบันทกึ คําตอบของ นกั เรียนเปน แผนภาพความคิดบนกระดาน ดังตัวอยา ง ในกรณที ี่เกิดอทุ กภยั เกษตรกรสามารถ ประชาชนพออยูพอกนิ ไมอดอยาก ที่จะฟนตัวและชวยตนเองไดในระดับหนึ่ง และเล้ียงตนเองไดตามหลักปรัชญา ในการรอความชวยเหลอื จากภาครฐั “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” ประโยชนข อง ในหนา แลงมีนํา้ นอยก็สามารถนาํ นาํ้ เกษตรทฤษฎีใหม ทีเ่ กบ็ ไวใ นสระมาใชในการปลูกพืชผักตาง ๆ ที่ใชนํา้ นอ ยได โดยไมต อ งรอนํา้ ทฤษฎใี หมส ามารถสรางรายได ใหแกเกษตรกรได โดยไมเดอื ดรอ น จากชลประทาน ในเรื่องคา ใชจา ยตา ง ๆ

2. นักเรยี นรวมกนั แสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับการประยุกตใชเ ศรษฐกจิ พอเพียงในการผลติ สินคา และบรกิ ารสาํ หรับภาคธุรกิจ โดยใชค าํ ถาม ดังนี้ • ภาคธุรกิจมกี ารประยุกตใชเ ศรษฐกจิ พอเพียงในการผลติ สนิ คา และบริการอยางไรบา ง โดยสรุปคาํ ตอบของนกั เรยี นเปนแผนภาพความคดิ บนกระดาน ดงั ตวั อยา ง ใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมคือใชเทคโนโลยที มี่ รี าคาไมแพง แตถูกหลกั วิชาการ มขี นาดการผลิตท่ีเหมาะสม สอดคลองกับความสามารถ ในการบรหิ ารจัดการ ไมโ ลภเกินไปและไมเนน กาํ ไรระยะสั้นเปนหลกั การประยุกตใ ช ใหความสาํ คัญกบั ความซอ่ื สตั ยสุจรติ ในการประกอบการ ไมเ อารัดเอาเปรียบผูอ่ืน เศรษฐกจิ พอเพียงในการผลิต สินคา และบรกิ ารภาคธุรกจิ ใหค วามสําคญั กับการกระจายความเสยี่ งจากการมผี ลิตภณั ฑทห่ี ลากหลาย และมีความสามารถในการปรับเปล่ยี นผลติ ภัณฑไ ดด วย ใหความสาํ คญั ในการบรหิ ารความเสย่ี งตํ่า โดยเฉพาะอยา งย่งิ ไมกอ หนี้ จนเกนิ ขีดความสามารถในการจดั การ ใหความสาํ คญั กับการตอบสนองตลาดภายในทองถน่ิ ภมู ภิ าค ตลาดภายในประเทศและตลาดตา งประเทศเปน หลกั ตามลําดับ 3. นกั เรยี นรว มกนั สรุปสิ่งทเ่ี ขาใจเปน ความรูร วมกัน ดงั น้ี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถประยุกตใชไดกับทุกระดับ ทุกสาขา และทุกภาคของ เศรษฐกิจ ไมไ ดจ าํ กดั อยเู ฉพาะภาคการเกษตร แตรวมไปถงึ ภาคการเงิน ภาคอสังหารมิ ทรัพย และการคา การลงทนุ ระหวางประเทศ โดยมีหลกั การที่คลา ยคลงึ กัน คือ เนน การปฏบิ ัติอยา งพอประมาณ มีเหตผุ ล

และสรา งภมู ิคมุ กนั ใหแกต นเองและสังคม ขน้ั ท่ี 6 ปฏบิ ตั แิ ละ/หรอื แสดงผลงาน 1. ใหน กั เรียนแตละคน สมมติตัวเองเปนวา ถา นักเรียนเปน ผูประกอบการในภาคธรุ กจิ นกั เรียนจะ มีแนวทางการบรหิ ารใหส อดคลอ งกับเศรษฐกิจพอเพยี งอยา งไร โดยบันทกึ คําตอบของนักเรยี นเปน แผนภาพความคิดบนกระดาน ดงั ตัวอยาง ตองมีการบรหิ ารจดั การท่ดี ี ตอ งพ่ึงตนเองใหมาก โดยตอ งรจู ักเลอื กใช มคี วามโปรง ใส โดยมธี รรมาภบิ าล เทคโนโลยีที่เหมาะสม มคี วามซื่อสัตยส ุจริต มีการพัฒนา เพ่ือนํามาชว ยในการผลิตและการทํางาน สรางประสทิ ธภิ าพและความแข็งแกรงให ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ เกิดขึน้ กับธุรกิจ แนวทางการบริหาร แบบพอเพียงของ ผปู ระกอบการ การดําเนนิ ชีวิตหรือการบริหารงาน มีความพอประมาณ ไมใชทรัพยากร จะตอ งมีสตริ อบคอบ และไมประมาท สิน้ เปลอื งเกนิ ความจาํ เปน โดยจะตอง โดยตอ งคาํ นึงถึงความเสีย่ งที่อาจเกิดข้นึ มีสติในการใชจ า ย การผลติ กบั การบรโิ ภคตองเกิดความสมดลุ 2. นกั เรียนทําใบงาน เรื่อง การประยกุ ตใชปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน เรอ่ื ง เศรษฐกิจพอเพียง 4. นกั เรยี นตรวจสอบความถูกตอ งและความเรยี บรอยของชิ้นงาน หากพบขอผิดพลาดควร ปรบั ปรงุ แกไขใหถูกตอง ขัน้ ที่ 7 ประยุกตใ ชค วามรู 1. นกั เรยี นทกุ คนนาํ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั ใชใ นการดาํ เนนิ ชวี ติ เพ่อื ใหตนเอง และผอู ื่นมีความสขุ 2. นักเรยี นจะนอ มนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปเปน แนวทางในการดาํ เนนิ ชีวิตอยางไร (ตวั อยางคําตอบ ดําเนนิ ชีวติ อยบู นทางสายกลาง รูจกั ประมาณตนเองในการดําเนนิ ชวี ติ และรจู กั เก็บออมใชจ ายอยา งประหยดั และท่ีสาํ คญั ตอ งดําเนนิ ชีวติ อยูบ นพื้นฐานของคณุ ธรรม จริยธรรม) ............................................................................

เกณฑการประเมนิ เกณฑการประเมินความรคู วามสามารถ (K) 1. ใบงาน เรื่อง เกษตรทฤษฎีใหม 2. ใบงาน เร่อื ง การประยกุ ตใชปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดมี าก (4) ดี (3) พอใช ( 2 ) ปรับปรงุ ( 1 ) ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ต อ บ ไ ด ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น ตอบไดตรงประเด็น แต ตอบไมตรงประเด็น ไมมี ชัดเจนครอบคลุมเน้ือหา ชัดเจนครอบคลุมเน้ือหา ยังไมครอบคลุมเนื้อหา ก า ร จั ด ร ะ บ บ ด า น ทง้ั หมด สวนใหญ ทง้ั หมด ความคดิ 3. แบบทดสอบกอน-หลงั เรียน เรอ่ื ง เศรษฐกิจพอเพยี ง คะแนน ระดบั 8 – 10 คะแนน ดเี ยยี่ ม 5 - 7 คะแนน ดี 3 - 4 คะแนน พอใช นอยกวา 2 คะแนน ปรับปรงุ เกณฑการตดั สินระดับคณุ ภาพ 1. ใบงาน เรื่อง เกษตรทฤษฎีใหม 2. ใบงาน เรือ่ ง การประยุกตใชป รัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง คะแนน ระดบั คุณภาพ 4 คะแนน ดีมาก 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช 1 คะแนน ควรปรับปรุง 2. แบบทดสอบกอน-หลังเรียน เร่อื ง เศรษฐกจิ พอเพียง คะแนน ระดบั 8 - 10 คะแนน ดเี ยีย่ ม 5 - 7 คะแนน 3 - 4 คะแนน ดี ตํา่ กวา 2 คะแนน พอใช ปรบั ปรงุ **ผานเกณฑระดับ ดี

เกณฑการประเมินพฤติกรรม (P) แบบประเมนิ พฤติกรรมการทํางานรายบคุ คล คําชแี้ จง : ให ผูส อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว ขีด  ลงใน ชองทตี่ รงกบั ระดบั คะแนน ชื่อ-สกุล ความมีวนิ ยั ความมีนํา้ ใจ การรับฟง การแสดง การตรงตอเวลา รวม ที่ ของผูรับการ เอ้ือเฟอ เสียสละ ความคิดเหน็ ความคดิ เห็น 20 คะแนน ประเมนิ 432 1 4 3 2 1 4 3214 321432 1 ลงชือ่ ...............................................ผปู ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑการใหค ะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ให 4 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมนอ ยครง้ั ให 1 คะแนน เกณฑก ารตดั สนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุระดับณภาพ 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช ต่ํากวา 10 ปรับปรงุ

เกณฑการใหประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค (A) คาํ ชแ้ี จง : ใหผปู ระเมนิ ศกึ ษาขอ กําหนดการใหคะแนนในการประเมินผลตามสภาพจริงอยางละเอียดรอบรอบ แลวบันทึกคะแนนใหตรงกับพฤติกรรมตามรายการประเมินท่ีกําหนดโดยการบันทึกในชองที่กําหนดให พฤติกรรมการแสดงออกของนักเรยี นกําหนดเปนระดับคา คะแนนไดด ังน้ี ระดับคะแนน 4 มากท่สี ุด, 3 ด,ี 2 พอใช, 1 ปรับปรุง ท่ี ชื่อ-สกุล ความ ความสนใจใฝร ู ความมีวินยั ความซื่อสัตย ความมีระเบียบ รวมคะแนน รบั ผิดชอบ 20คะแนน เกณฑการใหค ะแนน ลงชื่อ...............................................................ผปู ระเมนิ .................../................/................ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา งสม่ําเสมอ ได 4 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบอยครงั้ ได 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ได 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอยครงั้ ได 1 คะแนน เกณฑการตัดสนิ คุณภาพ เกณฑ ระดับคณุ ภาพ 4 ดีมาก ชวงคะแนน 3 ดี 18-20 2 พอใช 14-17 1 ปรบั ปรงุ 10-13 ต่าํ กวา 10

บนั ทกึ หลังสอน ผลการจดั การเรยี นรู ม.2/2 ม.2/4 ม.2/6 ผา น ไมผ า น ผาน ไมผาน ผาน ไมผ า น คน % คน % คน % คน % คน % คน % 39 100 - - 1. ดานความรู 38 100 - - 40 100 - - 39 100 - - - นักเรียนสํารวจและ 39 100 - - วิเคราะหปญหาการผลิต สินคา และบริการในทองถิ่น (K3) 2. ดานทักษะกระบวนการ 38 100 - - 40 100 - - - นักเรียนประยุกตใช ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พอเพียงในการผลิตสินคา และบริการในทองถิน่ (P3) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 38 100 - - 40 100 - - ประสงค - นักเรียนเหน็ คณุ คาและ ความสําคญั ในการนาํ ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งมาพฒั นาการผลติ สนิ คาและบริการในทองถนิ่ (A3)

ผลการจดั การเรียนรู ม.2/8 ม.2/10 ม.2/12 ผาน ไมผ า น ผาน ไมผ าน คน % คน % คน % คน 37 92. 3 7.50 35 100 - คน % คน % % 50 - 1. ดา นความรู 32 100 - - 37 92. 3 7.50 35 100 - - - นักเรียนสํารวจและ 50 - วิเคราะหปญหาการผลิต 37 92. 3 7.50 35 100 - 50 สิ น ค า แ ล ะ บ ริ ก า ร ใ น ทอ งถ่ิน (K3) 2. ดานทกั ษะกระบวนการ 32 100 - - - นักเรียนประยุกตใช ปรัช ญาข องเ ศรษ ฐ กิ จ พอเพียงในการผลิตสินคา และบรกิ ารในทอ งถิ่น (P3) 3. ดานคุณลักษณะอันพึง 32 100 - - ประสงค - นักเรียนเห็นคุณคา และความสําคัญในการนํา ปรัช ญาข องเ ศรษ ฐ กิ จ พอเพียงมาพัฒนาการผลิต สิ น ค า แ ล ะ บ ริ ก า ร ใ น ทองถน่ิ (A3) ปญ หา/อุปสรรค/แนวทางการแกไ ข 1.นกั เรียนบางคนขาดความรับผิดชอบในการเรยี น ไมเห็นความสําคัญของการเขาชั้นเรียน ขอเสนอแนะและการแกไ ข 1. ติดตามนกั เรยี นท่ีไมเ ขาเรียน โดยผานไลนระดับช้ันม.2 แจง ครูทป่ี รึกษา และสงขอมูลใหผ ูปกครอง ลงชอื่ ................................................... (นางสาวกรี กาญจน แกวขอมดี) ครผู สู อน

ความเหน็ ของหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................... (นางนงเยาว วิกรัยเจริญยง่ิ ) หวั หนา กลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ความคดิ เห็นฝายวชิ าการ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................... (นางสาวเพรศิ พิศ คูหามุข) รองผอู าํ นวยการโรงเรยี นฝา ยบริหารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ผูอํานวยการโรงเรียน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................... (นายนพปฎล มณุ รี ัตน) ผูอํานวยการโรงเรียนคณะราษฎรบาํ รงุ จงั หวัดยะลา

ขอสอบวัดผลการเรยี นรู โรงเรียนคณะราษฎรบํารงุ จงั หวัดยะลา ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 2 วชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ส 22103) จํานวน 20 ขอ คะแนนเต็ม 20 คะแนน --------------------------------------------------------------------------- เร่อื ง เศรษฐกิจพอเพียง คําชแี้ จง ใหนกั เรยี นเลือกคําตอบท่ถี กู ตองทีส่ ดุ 1. ขอใดคือความหมายเศรษฐกิจพอเพียงท่ีสมบูรณ 6. ขอใดคือเปาหมายของหลักเศรษฐกิจพอเพียงที่ ท่ีสดุ สาํ คัญที่สุด ก. การดํารงชีวิตอยา งไมเ ดอื ดรอ น มคี วาม ก. ประเทศชาติร่ํารวยทัดเทียมประเทศ เปน อยอู ยางประมาณตน มหาอํานาจ ข. การดํารงชีวิตแบบหรูหราฟุมเฟอยตาม ข. ประเทศชาตสิ ามารถพงึ่ ตนเองไดในระยะ ฐานะท่ีพึงมีพงึ ได ยาว ค. การดาํ รงชวี ิตอยา งสงบ ประหยัด เกบ็ ไวใชเอง ค. ประชาชนมฐี านะทางเศรษฐกิจดี มีความ ง. การดาํ รงชวี ิตแบบพึง่ บคุ คลอื่น เทา เทยี มกนั ทุกคน 2. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนพระราชดําริ ง. ประชาชนหลุดพนจากความทุกขและมี ของรัชกาลใด ความสขุ ตลอดไป ก. รัชกาลท่ี 5 ข. รัชกาลท่ี 6 7. ขอใดคือองคประกอบสําคัญของหลักปรัชญา ค. รชั กาลที่ 9 ง. รัชกาลที่ 10 เศรษฐกิจพอเพียง 3. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใชเพ่ือแกไขปญหา ก. 5 เง่อื นไข เศรษฐกิจของไทยครง้ั แรกเมื่อใด ข. 5 หวง ก. ภาวะเศรษฐกจิ ตกตํ่าหลังสงครามโลกครัง้ ท่ี 1 ค. 2 หวง 3 เง่ือนไข ข. ภาวะเศรษฐกิจตกต่ําหลงั สงครามโลกครั้งท่ี 2 ง. 3 หว ง 2 เง่อื นไข ค. หลังภาวะวิกฤตทางการเมือง 6 ตุลาคม 8. ขอใดคอื หลักการของความมีเหตุผล 2519 ก. ตัดสนิ ใจและกระทาํ โดยคํานึงถึงผลลัพธเปน ง. หลงั วกิ ฤตการณทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 หลกั 4. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสอดคลองกับ ข. ตดั สินใจและกระทําอยางมวี ิจารณญาณ บน หลักธรรมใดทางพระพทุ ธศาสนานอยท่ีสดุ หลกั เหตแุ ละผล ก. ความสนั โดษ ข. ทางสายกลาง ค. มองโลกกวางไกล กลาคิด กลา ตดั สินใจ ค. ความเพยี ร ง. วบิ ากกรรม ง. มีความรบั ผิดชอบในผลของทุกการกระทาํ 5. เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริฯ 9. การมภี มู คิ มุ กนั ทด่ี ใี นตัว หมายถึงขอ ใด เหมาะสมกับกลุมใดทจ่ี ะนําไปใชในการดาํ เนินชีวติ ก. กลา เสย่ี งในการลงทนุ ก. ขาราชการ นักการเมอื ง ข. ยอมรบั สภาพสังคมไดทงั้ สภาพดีและไมดี ข. ประชาชนทุกคน ค. มีความพรอมท่ีจะเผชิญตอผลกระทบและ ค. นกั ธุรกิจ นกั การธนาคาร การเปล่ียนแปลง ง. นักเรียน นิสิต นกั ศกึ ษา ง. ดูแลรักษาสขุ ภาพใหแ ขง็ แรงอยูเสมอ

10. ขอใดไมใชองคป ระกอบของเงื่อนไขคณุ ธรรม 16. ขอใดไมใชค วามพอเพยี ง ก. ความเพยี ร ก. มกี นิ มอี ยู ข. การกูยมื ข. ความอดทน ค. ไมหรูหรา ง. ไมฟมุ เฟอย ค. ความเสยี สละ 17. ทุกขอเปนประโยชนโดยตรงของการพัฒนา ง. ความซอื่ สัตยสุจริต เศรษฐกิจตามทฤษฎีใหม ยกเวนขอ ใด 11. “เศรษฐกิจพอเพียงประกอบดวย 3 หวง 2 ก. ประชาชนมีชีวิตพออยูพอกิน ไมเปน เงอ่ื นไข” จากขอ ความนี้ 2 เงือ่ นไขมอี ะไรบาง หนี้ ก. มีวนิ ัย ใฝเรียนรู ข. ผลติ สินคา มาก กําไรสงู การแขงขันสงู ข. ความรู คณุ ธรรม ค. เกษตรกรถือครองที่ดนิ และดํารงชวี ิต ค. เสยี สละ คณุ ธรรม ครอบครัวอยางพอมีพอกนิ ง. แบง ปน รับผดิ ชอบ ง. การรวมกลุมกัน ทําใหไมถูกกดราคาพืชผล 12. บคุ คลใดมคี ุณธรรมในการดําเนินชีวติ ทางการเกษตร ก. กอยเชือ่ ฟง ครแู ละตัง้ ใจเรยี นหนงั สือ 18. ทฤษฎีใหมข นั้ ท่ี 2 เก่ียวขอ งกับเรอื่ งใด ข. ตนนําโทรศัพทม อื ถอื ทีเ่ กบ็ ไดไ ปขาย ก. การผลติ ค. ตุยกเู งนิ ธนาคารมาซ้ือรถยนตร าคาแพง ข. การรวมกลมุ ง. นุยนาํ ผกั สวนครัวท่ีปลกู ไวไ ปแบง ใหเ พือ่ นบาน ค. การบริโภค 13. “เมื่อจะทําอะไรสมปองมักคํานึงถึงผลที่คาดวา ง. การดาํ เนินธรุ กจิ จะเกิดขึ้นจากการกระทําน้ัน ๆ อยางรอบคอบ” 19. ขอใดเปนอัตราสวนการจัดสรรที่ดินตาม จากขอ ความนส้ี มชายมีคุณลกั ษณะตามขอใด หลกั การทฤษฎใี หมถกู ตองทส่ี ดุ ก. ความพอเพยี ง ก. 30% ขุดสระน้ํา 30% ใชทํานา 30% ปลูก ข. ความมเี หตุผล พชื ไรพ ืชสวน 10% ปลูกท่ีอยูอ าศยั ค. ความพอประมาณ ข. 30% ขุดสระนํ้า 60% ใชทํานา 5% ปลูก ง. การมีภูมิคุม กันในตัวท่ดี ี พืชผกั สวนครวั 5% ปลูกบา น 14. เศรษฐกิจพอเพียงเนนคุณธรรมเร่ืองใดเปนหลัก ค. 20% ขุดสระน้ํา 50% ใชทํานา 20% เลี้ยง ก. การรวมกลุมของชาวบาน สัตว ข. การชวยเหลอื กนั ในชมุ ชน 10% ปลูกทีอ่ ยอู าศยั ค. การจัดสรรทรัพยากรที่มอี ยู ง. 60% ขุดสระน้ํา 30% ใชทํานา 10% ปลูก ง. การประหยัด อดออม บา นและอืน่ ๆ 15. การดําเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20. สํานวนใดสอดคลองกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจ ในหลวงทรงเนน ใหค นไทยดาํ เนินชีวติ ในรูปแบบใด พอเพยี ง ก. ดําเนนิ ชวี ติ ตามปกติ ก. ตัวใครตวั มนั ข. ใชช วี ติ ตามใจตนเอง ข. นกนอยทํารงั แตพอตัว ค. ดําเนินชวี ิตโดยพง่ึ พาตางชาติ ค. พึ่งจมูกคนอ่นื หายใจ ง. ดําเนนิ ชวี ิตแบบพง่ึ ตนเอง ง. ใชม ากจะยากนาน

เฉลย ขอสอบวดั ผลการเรียนรู โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จงั หวดั ยะลา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ส 22103) จํานวน 20 ขอ คะแนนเตม็ 20 คะแนน --------------------------------------------------------------------------- เรอ่ื ง เศรษฐกจิ พอเพียง คําชแ้ี จง ใหน กั เรยี นเลอื กคําตอบท่ีถกู ตองทีส่ ดุ 1. ขอใดคือความหมายเศรษฐกิจพอเพียงที่สมบูรณ 6. ขอใดคือเปาหมายของหลักเศรษฐกิจพอเพียงท่ี ที่สดุ สาํ คัญที่สดุ ก. การดาํ รงชวี ิตอยางไมเ ดอื ดรอ น มีความ ก. ประเทศชาติรํ่ารวยทัดเทียมประเทศ เปนอยูอยา งประมาณตน มหาอํานาจ ข. การดํารงชีวิตแบบหรูหราฟุมเฟอยตาม ข. ประเทศชาตสิ ามารถพึ่งตนเองไดในระยะ ฐานะทพี่ ึงมีพงึ ได ยาว ค. การดํารงชีวติ อยางสงบ ประหยดั เก็บไวใชเอง ค. ประชาชนมฐี านะทางเศรษฐกจิ ดี มคี วาม ง. การดาํ รงชวี ิตแบบพ่ึงบคุ คลอ่ืน เทา เทียมกนั ทุกคน 2. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนพระราชดําริ ง. ประชาชนหลุดพนจากความทุกขและมี ของรัชกาลใด ความสุขตลอดไป ก. รชั กาลท่ี 5 ข. รชั กาลที่ 6 7. ขอใดคือองคประกอบสําคัญของหลักปรัชญา ค. รชั กาลที่ 9 ง. รัชกาลที่ 10 เศรษฐกิจพอเพียง 3. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใชเพื่อแกไขปญหา ก. 5 เงอ่ื นไข เศรษฐกจิ ของไทยครงั้ แรกเม่ือใด ข. 5 หวง ก. ภาวะเศรษฐกิจตกต่ําหลงั สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 ค. 2 หว ง 3 เงื่อนไข ข. ภาวะเศรษฐกิจตกต่ําหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 ง. 3 หว ง 2 เง่อื นไข ค. หลังภาวะวิกฤตทางการเมือง 6 ตุลาคม 8. ขอ ใดคอื หลักการของความมเี หตุผล 2519 ก. ตัดสินใจและกระทาํ โดยคํานึงถึงผลลัพธเปน ง. หลังวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 หลกั 4. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสอดคลองกับ ข. ตัดสินใจและกระทําอยางมีวิจารณญาณ หลกั ธรรมใดทางพระพทุ ธศาสนานอ ยทส่ี ดุ บนหลกั เหตุและผล ก. ความสนั โดษ ข. ทางสายกลาง ค. มองโลกกวา งไกล กลา คิด กลาตดั สินใจ ค. ความเพียร ง. วบิ ากกรรม ง. มคี วามรับผดิ ชอบในผลของทุกการกระทาํ 5. เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริฯ 9. การมีภมู ิคมุ กันท่ดี ีในตวั หมายถึงขอใด เหมาะสมกับกลุมใดท่ีจะนําไปใชในการดําเนินชวี ิต ก. กลา เสยี่ งในการลงทนุ ก. ขา ราชการ นักการเมอื ง ข. ยอมรบั สภาพสังคมไดทงั้ สภาพดีและไมดี ข. ประชาชนทุกคน ค. มีความพรอมที่จะเผชิญตอผลกระทบและ ค. นักธุรกจิ นักการธนาคาร การเปลย่ี นแปลง ง. นักเรียน นสิ ติ นักศกึ ษา ง. ดแู ลรกั ษาสขุ ภาพใหแขง็ แรงอยเู สมอ

10. ขอ ใดไมใชองคประกอบของเงื่อนไขคุณธรรม 16. ขอใดไมใชค วามพอเพียง ก. ความเพยี ร ก. มีกินมอี ยู ข. การกูย ืม ข. ความอดทน ค. ไมห รหู รา ง. ไมฟมุ เฟอย ค. ความเสียสละ 17. ทุกขอเปนประโยชนโดยตรงของการพัฒนา ง. ความซ่อื สัตยสุจรติ เศรษฐกิจตามทฤษฎีใหม ยกเวน ขอ ใด 11. “เศรษฐกิจพอเพียงประกอบดวย 3 หวง 2 ก. ประชาชนมีชีวิตพออยูพอกิน ไมเปน เงอ่ื นไข” จากขอความนี้ 2 เงอื่ นไขมอี ะไรบาง หนี้ ก. มวี นิ ยั ใฝเ รยี นรู ข. ผลติ สินคา มาก กาํ ไรสงู การแขง ขนั สงู ข. ความรู คุณธรรม ค. เกษตรกรถอื ครองที่ดินและดํารงชวี ติ ค. เสียสละ คณุ ธรรม ครอบครวั อยางพอมีพอกนิ ง. แบงปน รบั ผดิ ชอบ ง. การรวมกลุมกัน ทําใหไมถูกกดราคาพืชผล 12. บคุ คลใดมีคณุ ธรรมในการดาํ เนนิ ชีวิต ทางการเกษตร ก. กอยเชื่อฟง ครแู ละตงั้ ใจเรียนหนงั สือ 18. ทฤษฎใี หมข น้ั ที่ 2 เกี่ยวของกบั เรื่องใด ข. ตน นาํ โทรศัพทม ือถือทีเ่ กบ็ ไดไ ปขาย ก. การผลิต ค. ตยุ กูเ งนิ ธนาคารมาซ้ือรถยนตร าคาแพง ข. การรวมกลมุ ง. นยุ นาํ ผักสวนครัวทป่ี ลกู ไวไ ปแบง ใหเพื่อนบา น ค. การบรโิ ภค 13. “เม่ือจะทําอะไรสมปองมักคํานึงถึงผลที่คาดวา ง. การดาํ เนินธรุ กจิ จะเกิดขึ้นจากการกระทําน้ัน ๆ อยางรอบคอบ” 19. ขอใดเปนอัตราสวนการจัดสรรท่ีดินตาม จากขอ ความน้ีสมชายมีคุณลักษณะตามขอ ใด หลกั การทฤษฎีใหมถ ูกตอ งทส่ี ดุ ก. ความพอเพียง ก. 30% ขุดสระน้ํา 30% ใชทํานา 30% ข. ความมีเหตผุ ล ปลูกพืชไรพชื สวน 10% ปลูกท่อี ยูอ าศยั ค. ความพอประมาณ ข. 30% ขุดสระนํ้า 60% ใชทํานา 5% ปลูก ง. การมีภมู ิคมุ กันในตัวท่ีดี พืชผกั สวนครวั 5% ปลกู บา น 14. เศรษฐกจิ พอเพยี งเนนคุณธรรมเรื่องใดเปนหลัก ค. 20% ขุดสระน้ํา 50% ใชทํานา 20% เลี้ยง ก. การรวมกลมุ ของชาวบาน สตั ว 10% ปลกู ทอ่ี ยอู าศยั ข. การชว ยเหลือกันในชมุ ชน ง. 60% ขุดสระน้ํา 30% ใชทํานา 10% ปลูก ค. การจดั สรรทรัพยากรที่มอี ยู บานและอ่ืนๆ ง. การประหยัด อดออม 20. สํานวนใดสอดคลองกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจ 15. การดําเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอเพียง ในหลวงทรงเนนใหค นไทยดําเนนิ ชีวิตในรูปแบบใด ก. ตวั ใครตวั มนั ก. ดาํ เนินชีวติ ตามปกติ ข. นกนอ ยทาํ รังแตพอตัว ข. ใชช วี ิตตามใจตนเอง ค. พงึ่ จมูกคนอื่นหายใจ ค. ดําเนินชวี ิตโดยพงึ่ พาตางชาติ ง. ใชม ากจะยากนาน ง. ดําเนนิ ชีวิตแบบพงึ่ ตนเอง

คําช้ีแจง ใหนักเรียนอานบทความและดูแผนภูมิวงกลมท่ีแสดงสัดสวนการใชที่ดินตามทฤษฎีใหมแลวอธิบาย ตามประเดน็ ทก่ี ําหนด หลักการและแนวทางสาํ คัญของเกษตรทฤษฎใี หม 1. เปนระบบการผลติ แบบพอเพียง ทีเ่ กษตรกรสามารถเลี้ยงตวั เองไดในระดบั ทปี่ ระหยัดกอน ท้ังนี้ ชมุ ชนตอ งมีความสามัคคี รว มมอื รว มใจในการชว ยเหลอื ซ่งึ กันและกัน 2. เนือ่ งจากขา วเปน ปจ จัยหลกั ทท่ี กุ ครัวเรือนจะตองบรโิ ภค โดยไมต องซื้อหาในราคาแพง เพือ่ ยดึ หลกั พึง่ ตนเองไดอ ยางมีอิสรภาพ 3. ตอ งมนี า้ํ เพอื่ การเพาะปลกู สํารองไวใชใ นฤดูแลง หรือระยะฝนทิ้งชวงไดอยา งพอเพียง ดังนั้น จงึ จําเปน ตอ งกันที่ดินสวนหนง่ึ ไวข ดุ สระน้ําโดยมหี ลักวาตองมนี าํ้ เพยี งพอทีจ่ ะทําการเพาะปลกู ไดต ลอดป 4. การจัดแบงแปลงท่ดี ินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดน้ี จากแผนภูมใิ หนกั เรียนมีการบริหารและจดั แบงทดี่ นิ ออกเปน สดั สว นตามอตั ราสว น 30:30:30:10 จงอธบิ ายการใชพ ื้นทีใ่ นแตละสวนมาพอสังเขป 1. เกษตรทฤษฎีใหมเปน เร่ืองเกี่ยวกับอะไร ........................................................................................................................................................................... 2. พื้นทสี่ ว นท่ี 1................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... 3. พื้นทีส่ ว นที่ 2................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... 4. พื้นทีส่ ว นท่ี 3................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... 5. นักเรียนคดิ วา ทฤษฎใี หมม ีประโยชนอ ยางไร ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................