Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อควรรู้สำหรับประชาชนในการติดต่อราชการ

ข้อควรรู้สำหรับประชาชนในการติดต่อราชการ

Description: ข้อควรรู้สำหรับประชาชนในการติดต่อราชการ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

Search

Read the Text Version

ท่านสามารถมีส่วนรว่ ม ในการเฝา้ ระวังปอ้ งกันการทุจรติ ของ เจา้ หน้าที่กรมสวัสดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน โดยแจง้ เบาะแสการทจุ รติ ร้องเรยี นไดด้ ้วยตนเอง หรือรอ้ งเรียนเป็นหนังสือตอ่ ผบู้ งั คบั บัญชาโดยตรง หรอื ต่อกองการเจา้ หนา้ ท่ี



ค�ำ นำ� กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ไดจ้ ดั ท�ำ หนงั สอื ขอ้ ควรรสู้ �ำ หรบั ประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการ โดยรวบรวมสาระนา่ รตู้ ามกฎหมายตลอดจนขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน การยื่นข้อร้องทกุ ข์ ข้อร้องเรียน และสถานทีต่ ิดต่อราชการ เพอ่ื ให้ทา่ นไดใ้ ช้ประโยชน์ ในการตดิ ตอ่ ราชการกบั กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน นอกจากนี้ ทา่ นยงั สามารถมสี ว่ นรว่ มเป็นเครือข่ายเฝา้ ระวังปอ้ งกันการทจุ ริต ของเจ้าหน้าที่ โดยแจ้งเบาะแสการทุจริต หรือประพฤติมิชอบเพ่ือเสริมสร้างมาตรการ ปอ้ งกนั ปราบปราม การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบในกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ให้มีประสิทธภิ าพยิง่ ข้ึน และเกดิ ประโยชน์แก่ประชาชน และประเทศชาติ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือข้อควรรู้สำ�หรับประชาชนในการติดต่อราชการนี้ จะเป็นสื่อกลางในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ แก่ประชาชนผู้ติดต่อราชการกับ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และเป็นส่ือกลางในการร่วมสร้างแนวป้องกัน และแกไ้ ขปญั หาการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครฐั และสังคมต่อไป นายสุเมธ มโหสถ อธิบดกี รมสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงาน กรกฎาคม 2560

สารบัญ หน้า 1 กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 1 Ø วสิ ยั ทศั น ์ 2 Ø อำ�นาจหน้าทข่ี องกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 3 Ø มาตรฐานทางคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 4 Ø หลกั การบรหิ ารกิจการบ้านเมือง และสังคมท่ีดี 7 การขอทราบขอ้ มลู ของกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 8 การจดั การขอ้ รอ้ งเรียน 9 ช่องทางแจ้งเบาะแสรอ้ งเรียนเจา้ หน้าท ่ี 10 การย่ืนคำ�รอ้ งตอ่ เจา้ หนา้ ท่ี ข้นั ตอนและระยะเวลาปฏิบตั ริ าชการ งานคุม้ ครองแรงงาน 10 1. การตรวจแรงงานตามคำ�ร้อง 10 2. การรับและพจิ ารณาวนิ ิจฉัยค�ำ ร้อง (กฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน) 11 3. การพิจารณาอนมุ ัติจ่ายเงินกองทุนสงเคราะหล์ ูกจ้าง (กรณนี ายจ้างไม่จา่ ยคา่ ชดเชย) 13 และ (กรณเี งนิ อ่นื นอกจากคา่ ชดเชย) งานความปลอดภยั ในการท�ำ งาน 15 4. การตรวจความปลอดภัยในการท�ำ งานตามค�ำ รอ้ ง (ส่วนกลาง) 15 5. การขน้ึ ทะเบียนเป็นผรู้ ับรองรายงานการตรวจวดั และวิเคราะห์สภาวะการท�ำ งาน 16 6. การขน้ึ ทะเบียนเป็นหนว่ ยงานฝึกอบรมหลกั สูตรเจา้ หน้าทีค่ วามปลอดภยั 17 ในการทำ�งาน 7. การต่ออายกุ ารขน้ึ ทะเบียนเป็นหนว่ ยงานฝกึ อบรมหลักสตู รเจา้ หน้าท่ ี 18 ความปลอดภยั ในการท�ำ งาน 8. การขึ้นทะเบียนเปน็ หนว่ ยงานฝึกอบรมความปลอดภยั ในการทำ�งานในท่ีอับอากาศ 19 9. การขอตอ่ อายกุ ารข้นึ ทะเบยี นเปน็ หน่วยงานฝกึ อบรมความปลอดภยั 20 ในการท�ำ งานในท่อี ับอากาศ 10. การขนึ้ ทะเบียนเจ้าหน้าท่ีความปลอดภยั ในการท�ำ งาน 21

หนา้ 11. การขอใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝกึ อบรมการดบั เพลงิ ขั้นต้นและหน่วยงาน 22 ฝกึ ซ้อมดบั เพลิงและฝึกซ้อม อพยพหนไี ฟ (กรณีนติ ิบคุ คลผยู้ นื่ คำ�ขอ 23 เปน็ หนว่ ยงานราชการสว่ นกลาง ภมู ิภาค และสว่ นทอ้ งถิน่ ) 24 12. การขอใบอนญุ าตเปน็ หน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลงิ ข้นั ตน้ และหนว่ ยงาน 25 ฝกึ ซ้อมดบั เพลิงและฝึกซอ้ ม อพยพหนไี ฟ (กรณีนิตบิ ุคคลผูย้ น่ื คำ�ขอ 26 ไม่เป็นหนว่ ยงานราชการสว่ นกลาง ภูมภิ าค และส่วนท้องถิ่น) 13. การขอต่อใบอนุญาตเป็นหนว่ ยงานฝกึ อบรมการดับเพลงิ ข้นั ต้นและหน่วยงาน ฝกึ ซ้อมดับเพลิงและฝกึ ซอ้ ม อพยพหนไี ฟ (กรณนี ิตบิ คุ คลผ้ยู นื่ ค�ำ ขอ เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลาง ภมู ิภาค และส่วนท้องถิน่ ) 14. การขอตอ่ ใบอนญุ าตเปน็ หน่วยงานฝกึ อบรมการดบั เพลิงขัน้ ตน้ และหนว่ ยงาน ฝึกซ้อมดับเพลิงและฝกึ ซอ้ ม อพยพหนไี ฟ (กรณนี ิติบคุ คลผยู้ นื่ คำ�ขอ ไม่เปน็ หนว่ ยงานราชการสว่ นกลาง ภูมภิ าค และสว่ นทอ้ งถิ่น) 15. การพิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบแผนฝึกซอ้ มดบั เพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนไี ฟ งานแรงงานสมั พนั ธ์ 27 16. การจดทะเบียนขอ้ ตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง (เอกชน) 27 17. การจดทะเบียนทป่ี รกึ ษาดา้ นแรงงานสัมพันธ์ 28 18. การจดทะเบยี นต่ออายทุ ป่ี รกึ ษาดา้ นแรงงานสัมพันธ ์ 29 19. การจดทะเบยี นจัดตง้ั องคก์ รลกู จา้ ง องคก์ รนายจา้ ง (สหภาพแรงงาน 30 สมาคมนายจา้ ง) 31 20. การจดทะเบยี นข้อบงั คับองค์กรลกู จ้าง องค์กรนายจา้ ง (สหภาพแรงงาน สหพันธ์แรงงาน สภาองคก์ ารลูกจ้าง สมาคมนายจา้ ง สหพันธ์นายจา้ ง 32 สภาองค์การนายจา้ ง) 21. การจดทะเบียนกรรมการองค์กรลูกจ้าง องคก์ รนายจ้าง (สหภาพแรงงาน สหพนั ธ์แรงงาน สภาองคก์ ารลูกจา้ ง สมาคมนายจ้าง สหพันธน์ ายจ้าง สภาองค์การนายจ้าง) งานนิตกิ าร 33 22. การให้คำ�ปรกึ ษากฎหมาย 33

หนา้ งานมาตรฐานแรงงาน 34 23. การพฒั นาระบบมาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001-2553 ในสถานประกอบกิจการ 34 24. การรับรอง มรท.8001-2553 ระดบั พน้ื ฐานและระดับสมบูรณ์ (ตรวจประเมิน 35 โดยภาคเอกชน) 25. การรับรอง มรท.8001-2553 ระดับพ้นื ฐานและระดบั สมบูรณ์ (ตรวจประเมิน 37 โดยภาครฐั ) สาระน่ารู้เก่ียวกบั กฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง 39 Ø สทิ ธิหน้าทนี่ ายจ้าง ลูกจ้าง ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 39 และท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ Ø การใช้แรงงานหญิง 44 Ø การใช้แรงงานเดก็ 44 Ø การคมุ้ ครองแรงงานในงานเกษตรกรรม 45 Ø การคมุ้ ครองผรู้ ับงานไปท�ำ ทีบ่ า้ น 46 Ø การคมุ้ ครองแรงงานทำ�งานบ้าน 47 Ø การค้มุ ครองแรงงานในงานประมงทะเล 48 Ø สทิ ธหิ นา้ ทเ่ี จา้ ของเรอื คนประจ�ำ เรอื ตามพระราชบญั ญตั แิ รงงานทางทะเล พ.ศ. 2558 50 Ø สิทธิหน้าท่นี ายจา้ ง ลกู จ้าง ตามพระราชบัญญตั คิ วามปลอดภัย อาชวี อนามัย 54 และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน พ.ศ. 2554 Ø กองทุนสงเคราะหล์ ูกจ้าง 57 Ø กองทนุ เพือ่ ผใู้ ช้แรงงาน 58 Ø กองทุนความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำ งาน 60 Ø ขน้ั ตอนการเปลย่ี นแปลงสภาพการจา้ งตามพระราชบญั ญตั แิ รงงานสมั พนั ธ์ พ.ศ.2518 63 Ø หน่วยงานในกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 66 สถานท่ตี งั้ หน่วยงานต่างๆ ของกรม ส�ำ หรบั การตดิ ต่อ 67 Ø สำ�นัก กอง กลมุ่ ภายในกรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน 67 Ø ส�ำ นักงานสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงานกรุงเทพมหานคร (10 พน้ื ท่)ี 73 Ø ศูนยค์ วามปลอดภยั แรงงานเขต (12 ศูนย)์ 74 Ø ส�ำ นักงานสวสั ดกิ ารและคุม้ ครองแรงงานจังหวัด (76 จังหวัด) 76 Ø ส่วนราชการกระทรวงแรงงาน 81 Ø คณะผู้จัดทำ� 82

ขอ้ ควรรสู้ ำ�หรับประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการกรมสวัสดกิ ารและคุม้ ครองแรงงาน กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักมืออาชีพในการคุ้มครองแรงงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน อย่างเปน็ มาตรฐาน และสร้างสนั ตสิ ุขในวงการแรงงานดว้ ยความเป็นธรรม อ�ำ นาจหนา้ ท่ขี องกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน 1. กำ�หนดและพัฒนามาตรฐานแรงงาน  รวมทั้งการส่งเสริมกำ�กับดูแลให้การรับรอง สถานประกอบกิจการที่มีการบริการจัดการตามมาตรฐานแรงงานท่ีสอดคล้องกับ มาตรฐานสากล 2. คุ้มครองและดูแลแรงงานทั้งในระบบและนอกระบบให้ได้รับสิทธิประโยชน์ตามท่ี กฎหมายกำ�หนด และมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ี 3. ด�ำ เนนิ การตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองแรงงาน กฎหมายวา่ ดว้ ยแรงงานสมั พนั ธ ์ กฎหมายวา่ ดว้ ยแรงงานรฐั วสิ าหกจิ สมั พนั ธ ์ กฎหมายวา่ ดว้ ยการรบั งานไปท�ำ ทบ่ี า้ น  กฎหมายวา่ ดว้ ยความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งาน และ กฎหมายอ่นื ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 4. ด�ำ เนนิ การสง่ เสรมิ และพฒั นาระบบความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ ม ในการทำ�งาน 5. ส่งเสริม  พัฒนา  และเผยแพร่ความรู้  ความเข้าใจในด้านมาตรฐานแรงงาน  คมุ้ ครองแรงงาน ความปลอดภยั ในการท�ำ งาน แรงงานสมั พนั ธ ์ แรงงานรฐั วสิ าหกจิ สัมพนั ธ์ และสวสั ดิการแรงงาน 1

ข้อควรรสู้ ำ�หรับประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 6. สง่ เสรมิ และดำ�เนนิ การให้มีการจดั สวสั ดิการแรงงาน 7. ด�ำ เนนิ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาความขดั แยง้ ขอ้ พพิ าทแรงงาน และความไมส่ งบ ด้านแรงงาน 8. พฒั นาระบบขอ้ มลู สารสนเทศด้านสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน จดั ท�ำ แผนงาน และประสานแผนปฏิบัติงานของกรมให้สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านแรงงานของกระทรวง 9. ปฏิบัติการอ่ืนใดตามท่ีกฎหมายกำ�หนดให้เป็นอำ�นาจหน้าท่ีของกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานหรือตามทร่ี ฐั มนตรหี รอื คณะรฐั มนตรีมอบหมาย มแรางตงราฐนานทางคุณธรรมและจริยธรรมของกรมสวัสดิการและคุ้มครอง มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของข้าราชการ  ลูกจ้าง  และพนักงานราชการ กรมสวัสดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน 1. ปฏบิ ัติหน้าทด่ี ้วยความซื่อสัตย์ สจุ รติ โปรง่ ใส เปน็ ธรรม 2. มจี ติ บริการ ยึดหลักความเสมอภาค ถูกตอ้ ง รวดเร็ว 3. มงุ่ เน้นผลสัมฤทธขิ์ องงาน พฒั นาตนเองและองค์กร พรอ้ มรับการเปลี่ยนแปลง 4. มคี วามสามคั คี ศรทั ธาในองคก์ ร รกั ษาเกยี รตขิ องตนเอง และด�ำ รงชวี ติ อยา่ งเหมาะสม 2

ข้อควรรู้สำ�หรบั ประช�ชน ในการติดตอ ราชการกรมสวสั ดกิ ารและคุม ครองแรงงาน หลกั การบรหิ ารกิจการบา้ นเมอื ง และสังคมท่ีด ี (Good Governance) ท้ัง 6 ประการ ไดแ้ ก่ หลกั นติ ิธรรม การใช้ กฎ ระเบยี บ ทเี่ ป็นธรรม เปน็ ท่ียอมรับไดไ้ ม่ตามกระแส หรือ อาำ นาจ ตัวบคุ คลเสมอภาค หลักคุณธรรม การยดึ มนั่ ในความถกู ตอ้ ง ดงี าม ประพฤติตนเป็นตวั อย่างแกส่ งั คม ด้วยความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยนั อดทน หลกั ความโปร่งใส การทาำ งานอยา่ งโปร่งใส เปดิ เผยข้อมูลขา่ วสารทเี่ ป็นประโยชน์ ตรงไปตรงมา ตรวจสอบได้ หลกั ความมสี ว่ นร่วม การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีสว่ นร่วม รบั ร ู้ เสนอความเห็น หลักความรบั ผดิ ชอบ ตระหนกั ในสทิ ธิหน้าท ี่ มีความสาำ นึกในความรับผิดชอบตอ่ สงั คม มุ่งแก้ปัญหา กลา้ ยอมรับผลการกระทาำ ของตน หลกั ความคุ้มค่า บริหารจัดการและใชท้ รัพยากรอย่างประหยดั และเกิดประโยชน์สงู สดุ 3

ข้อควรรู้สำ�หรบั ประช�ชน ในการติดตอ ราชการกรมสวัสดิการและคุม ครองแรงงาน การขอทราบข้อมูลของกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 1. ดา้ นคุ้มครองแรงงาน สง่ เสรมิ พฒั นาและกาำ กบั ดแู ลแรงงานทง้ั ในระบบและนอกระบบ รวมทง้ั แรงงานหญงิ และเดก็ ใหม้ คี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี ไดร้ บั การคมุ้ ครอง และไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชนต์ ามทกี่ ฎหมายกาำ หนด ตดิ ตอ่ : สาำ นกั คมุ้ ครองแรงงาน โทร. 0 2246 2938, 0 2246 3192 โทรสาร 0 2245 0998 และทสี่ าำ นักงานสวัสดกิ ารและค้มุ ครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพืน้ ท่ ี (10 พื้นที)่ สาำ นักงานสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดทกุ จังหวดั 2. ด้านความปลอดภัยในการทำางาน บรหิ ารจดั การ และสง่ เสรมิ พฒั นามาตรฐานดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพ แวดลอ้ มในการทาำ งาน โดยการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น เพอ่ื ใหแ้ รงงานมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากล ตดิ ตอ่ : สาำ นกั ความปลอดภยั แรงงาน โทร. 0 2448 8338, 0 2448 9128-39, 0 2448 9141 โทรสาร 0 2448 9143 และที่ศนู ย์ความปลอดภัยแรงงานเขต (12 เขต) สำานักงานสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงานจังหวัดทกุ จังหวดั 3. ดา้ นแรงงานสัมพนั ธ์ สง่ เสรมิ และพฒั นาการบรหิ ารจดั การดา้ นแรงงานสมั พนั ธใ์ นภาคเอกชนและรฐั วสิ าหกจิ ป้องกันและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ข้อพิพาทแรงงานด้วยความเป็นธรรมโดยยึดมั่น หลกั สจุ ริตใจ กำากบั ดูแล องคก์ รดา้ นแรงงานใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ตดิ ตอ่ : สาำ นกั แรงงานสมั พนั ธ ์ โทร. 0 2246 8393, 0 2246 8455 โทรสาร 0 2246 8393 สำานักงานสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงานจงั หวัดทุกจังหวดั 4

ข้อควรร้สู ำ�หรบั ประช�ชน ในการติดตอ ราชการกรมสวสั ดิการและคมุ ครองแรงงาน 4. ด้านพัฒนามาตรฐานแรงงาน กำาหนดการพัฒนามาตรฐานแรงงาน รวมทั้งส่งเสริม เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ ด้านมาตรฐานแรงงาน ให้การรับรองสถานประกอบกิจการที่มีการบริหารจัดการ ตามมาตรฐานแรงงานทสี่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากล ติดต่อ : สาำ นกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน โทร. 0 2246 8370, 0 2354 1652-3 โทรสาร 0 2245 4986 สาำ นักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดทกุ จังหวดั 5. ด้านสวัสดิการแรงงาน กาำ หนดและพัฒนารูปแบบการจัดสวสั ดกิ ารแรงงาน ส่งเสริม สนับสนุนและดำาเนนิ การ ให้สถานประกอบกิจการมีการจัดสวัสดิการที่ดี ครอบคลุมท้ังด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และสงั คมใหก้ บั ผใู้ ชแ้ รงงาน ตดิ ตอ่ : กองสวสั ดิการแรงงาน โทร. 0 2245 6774, 0 2246 0383 สำานักงานสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงานจงั หวดั ทกุ จงั หวัด 6. ด้านคุ้มครองแรงงานนอกระบบ กำาหนดและพัฒนาระบบการคุ้มครองแรงงานและกำาหนดแนวทาง มาตรการ และ วธิ ีปฏิบตั ดิ า้ นการคุ้มครองแรงงานนอกระบบ ติดต่อ : กองค้มุ ครองแรงงานนอกระบบ โทร. 0 2245 7170,0 2246 2707 สาำ นักงานสวสั ดกิ ารและคุม้ ครองแรงงานจงั หวดั ทุกจังหวดั 5

ข้อควรร้สู ำ�หรับประช�ชน ในการตดิ ตอราชการกรมสวสั ดิการและคมุ ครองแรงงาน 7. ด้านกฎหมาย ดำาเนินงานเกย่ี วกบั งานกฎหมาย ระเบยี บท่ีเกย่ี วข้อง งานดา้ นคดี พฒั นาและปรับปรงุ แก้ไขกฎหมายในความรับผดิ ชอบของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ตดิ ตอ่ : กองนิติการ โทร. 0 2246 7039,0 2246 7601 ข้อมลู ทั่วไป : ฝายประชาสมั พันธ ์ สาำ นกั งานเลขานุการกรม ชนั้ 4 กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน โทร. 0 2245 8932, 0 2245 8915 โทรสาร 0 2245 8556 สายดว่ นเพ่อื ผู้ใช้แรงงาน : Call center 1546 เว็บไซตก์ รม : www.labour.go.th 6

การจัดการขอ้ ร้องเรยี น ระยะเวลาดำ�เนินการภายใน 15 วัน รบั เร่อื งร้องเรยี น เรอื่ งร้องเรยี น ไมร่ ะบุ ส่งใหผ้ ตู้ รวจราชการกรม (กองการเจ้าหนา้ ที่) ท่ไี มป่ รากฏผรู้ อ้ งชดั เจน พยานหลักฐานชัดเจน เป็นข้อมลู ในการตรวจราชการ ร้องเรียนทป่ี รากฏ (บตั รสนเท่ห์) ผู้ร้องชัดเจน ระยะเวลา รบั เร่ืองไวพ้ ิจารณา ระบุ ภายใน แจง้ ให้ผรู้ ้องเรียนทราบ พยานหลกั ฐานชัดเจน 9 วนั ท�ำ การ ในเบอื้ งตน้ ข้อควรร้สู ำ�หรบั ประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน(กรณผี ูร้ ้องเรยี นระบุชอ่ื และทอ่ี ยทู่ ต่ี ดิ ตอ่ ได)้ 7 ด�ำ เนินการจนแล้วเสรจ็ 1. กองการเจ้าหนา้ ที่ โทรศพั ท์ 0 2245 1091 โทรสาร 0 2246 3541 แจง้ ผลด�ำ เนินการ 2. หนังสือร้องเรียนทางไปรษณยี ์ไปยังผูบ้ งั คบั บญั ชา หรอื กองการเจ้าหนา้ ที่ ใหผ้ ู้รอ้ งเรียนทราบ 3. กลอ่ งรับความคดิ เหน็ 4. จดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์ [email protected] (กรณีผู้รอ้ งเรยี นระบุชอ่ื 5. เว็บไซต์กรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน www.labour.go.th และที่อยู่ทตี่ ิดต่อได)้ 6. รอ้ งเรยี นทางโทรศัพท์สายดว่ นแรงงาน (Call Center 1546) 7. ศูนย์บริการรบั เรื่องร้องเรียน กองการเจ้าหน้าที่ ชนั้ 12 กองการเจ้าหนา้ ท่ี ชนั้ 12 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ถนนมิตรไมตรี แขวงดนิ แดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

ข้อควรรู้สำ�หรบั ประชาชน ในการติดต่อราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ช่องทางแจ้งเบาะแสร้องเรียนเจ้าหน้าท่ี กรณีพบเห็นเจ้าหน้าท่ีของกรม ทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือไม่ปฏิบัติหน้าท่ีให้เสร็จ ภายในเวลาที่กำ�หนด 1. ร้องเรยี นได้ด้วยตนเองหรือร้องเรยี นเป็นหนังสอื ตอ่ ผูบ้ งั คับบัญชาของเจ้าหน้าท่ี 2. กองการเจ้าหน้าท่ี กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โทร.0 2245 1091, 0 2246 3541 3. E-mail 4. สายด่วนเพ่ือผ้ใู ช้แรงงาน Call center 1546 5. ศูนยบ์ รกิ ารรบั เรือ่ งรอ้ งเรยี น 8

ขอ้ ควรรู้สำ�หรับประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการกรมสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงาน การยื่นคำ�ร้องตอ่ เจ้าหน้าท่ี กรณีนายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมาย ว่าด้วยความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ�งาน เมื่อนายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือได้รับการปฏิบัติไม่ถูกต้องตาม กฎหมาย เช่น คา่ จา้ ง คา่ ลว่ งเวลา คา่ ท�ำ งานในวันหยุด คา่ ชดเชย วันหยดุ วนั ลา สวสั ดกิ าร หรอื นายจ้างไม่จดั อปุ กรณ์ค้มุ ครอง ความปลอดภยั สว่ นบคุ คลใหแ้ ก่ลกู จา้ งหรอื กรณอี น่ื ๆ สามารถดำ�เนินการได้ดงั น้ี 1. กรณีนายจ้างฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายให้ลูกจ้างย่ืนคำ�ร้องต่อเจ้าหน้าท่ี ด้วยตนเองโดยนำ�ขอ้ มลู และเอกสารประกอบการย่นื คำ�รอ้ ง ดังต่อไปน้ี 1.1 บัตรประจ�ำ ตัวประชาชน 1.2 ขอ้ มลู เกย่ี วกบั นายจา้ งหรอื สถานประกอบกจิ การ เชน่ ชอื่ ทอี่ ยู่ สถานทท่ี �ำ งาน สถานที่ใกล้เคียงท่ีสังเกตง่าย เพ่ือเจ้าหน้าท่ีจะได้ตรวจสอบได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง 1.3 หลักฐานต่าง ๆ ท่เี กีย่ วข้องกบั เร่อื งทยี่ ่ืนคำ�รอ้ ง เช่น หลกั ฐานการจ่ายคา่ จา้ ง สัญญาจ้างแรงงาน บัตรประจำ�ตวั พนักงาน ฯลฯ 2. กรณีได้รับการปฏิบัติจากนายจ้างไม่ถูกต้องตามกฎหมายสามารถร้องเรียน ด้วยตนเองทางโทรศพั ท์ โทรสาร จดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ผรู้ อ้ งอาจไมเ่ ปดิ เผยชอ่ื กไ็ ดห้ ากเกรงวา่ จะท�ำ ใหไ้ ดร้ บั ผลกระทบ แตถ่ า้ ผรู้ อ้ งตอ้ งการ ทราบผลด�ำ เนนิ การ ควรแจง้ ชอ่ื ทอ่ี ยใู่ หช้ ดั เจนเพอื่ เจา้ หนา้ ทจี่ ะไดแ้ จง้ ผลการด�ำ เนนิ การใหท้ ราบ ผู้ประสงคจ์ ะยน่ื ค�ำ ร้องสามารถยน่ื คำ�รอ้ งได้ท่ี 1. ส�ำ นกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพน้ื ที่ หรอื ส�ำ นกั งาน สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ที่สถานประกอบการนั้นตั้งอยู่ (โปรดดูรายละเอียดในหนา้ 73-74 และหนา้ 76-80) 2. กองคุ้มครองแรงงาน กองคุ้มครองแรงงานนอกระบบ กรมสวัสดิการและ คมุ้ ครองแรงงาน ชนั้ 11 ถนนมติ รไมตรี เขตดนิ แดง กรงุ เทพมหานคร 10400 โทร. 0 2246 2938, 0 2246 3192 โทรสาร 0 2246 3192. 3. กองความปลอดภัยแรงงาน อาคารกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ส่วนแยกตล่ิงชัน ถนนบรมราชชนนี เขตตล่ิงชัน กรุงเทพมหานคร 10170 โทร. 0 2448 9128-39,0 2448 9141 โทรสาร 0 2448 9143 หรือ ศูนย์ความปลอดภัยในการทำ�งานเขต (โปรดดูรายละเอียดในหน้า 72 และหน้า 74-75) 9

ข้อควรร้สู ำ�หรบั ประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการกรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน ข้ันตอนและระยะเวลาปฏิบตั ิราชการ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้มีการกำ�หนดข้ันตอนและระยะเวลาการปฏิบัติ ราชการตามภารกิจต่าง  ๆ  เพื่อประโยชน์ในการติดต่อราชการของนายจ้าง  ลูกจ้าง  และ ประชาชนท่วั ไป ซ่ึงมขี น้ั ตอนและระยะเวลาการปฏิบัตดิ ังน้ี งานคมุ้ ครองแรงงาน 1. การตรวจแรงงานตามคำ�ร้อง กรณีท่ี 2 (เวลา 1 วนั ทำ�การ) กรณที ่ี 1 (เวลา 3 ชวั่ โมง) เจ้าหนา้ ทร่ี บั คำ�รอ้ งทางโทรศัพท์ ลกู จ้างยน่ื คำ�ร้องด้วยตวั เอง หนงั สือ จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ ณ ทอ้ งทีเ่ กิดเหตุ และเจา้ หน้าท่ี หรอื อนื่ ๆ ผา่ นกรม รบั คำ�รอ้ งและสอบถามข้อมูลเบอ้ื งต้น เจา้ หน้าที่สอบข้อเทจ็ จรงิ และดำ�เนนิ การตรวจแรงงาน ตามค�ำ รอ้ งเรียน ณ สถานประกอบกจิ การ และออกคำ�สงั่ ใหน้ ายจา้ งปฏิบัตใิ ห้ถูกตอ้ ง (ใชเ้ วลา 28 วนั ) แจง้ ผลการตรวจแรงงานตามคำ�รอ้ งใหล้ ูกจา้ งที่ย่นื คำ�ร้องในกรณีท่ี 1 หรอื ลกู จา้ ง/บคุ คลอ่ืน ทีย่ ืน่ คำ�ร้องในกรณีที่ 2 ทราบ (กรณที ร่ี ะบุชื่อผรู้ อ้ งเรียน) (ใช้เวลา 1 วนั ทำ�การ) สรุป : 1. ช่วงยนื่ คำ�รอ้ ง 1 ขัน้ ตอน 1 จุดบริการ กรณที ่ี 1 : ลกู จา้ งย่นื คำ�ร้องด้วยตวั เอง รวมระยะเวลา 3 ชว่ั โมง กรณีท่ี 2 : เจ้าหน้าท่ีรับคำ�ร้องทางโทรศัพท์ หนังสือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรอื อน่ื ๆ รวมระยะเวลาทำ�การ 1 วันทำ�การ 2. ชว่ งด�ำ เนนิ การจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาช่วงยื่นคำ�ขอ) 2 ขั้นตอน 1 จดุ บริการ รวมระยะเวลา 30 วนั ท�ำ การ หมายเหตุ เป็นกระบวนการที่มกี ารยน่ื ค�ำ รอ้ งผ่านกรมเทา่ น้ัน 10

ขอ้ ควรรู้สำ�หรบั ประชาชน ในการติดต่อราชการกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 2. การรบั และพจิ ารณาวินิจฉัยค�ำ รอ้ ง (กฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน) กรณปี กติ เจา้ หนา้ ท่รี ับค�ำ รอ้ งสอบถามขอ้ เทจ็ จรงิ เสนอผู้บังคบั บัญชาเพ่ือมอบหมาย (ใช้เวลา 1 วัน) เจา้ หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบด�ำ เนนิ การสอบขอ้ เทจ็ จรงิ นายจา้ ง ลกู จา้ ง พยานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รวบรวมพยานหลกั ฐาน ศึกษาขอ้ กฎหมาย และออกค�ำ สง่ั (ใชเ้ วลา 40 วนั ) แจง้ ผลค�ำ สั่งใหผ้ เู้ กี่ยวข้องทราบ (ใช้เวลา 1 วนั ) สรุป : 1. ชว่ งย่นื คำ�รอ้ ง 1 ข้ันตอน 1 จุดบริการ รวมระยะเวลา 1 วนั 2. ชว่ งด�ำ เนนิ การจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาชว่ งยื่นคำ�ขอ) 3 ขน้ั ตอน 1 จุดบริการ รวมระยะเวลา 42 วนั ท�ำ การ หมายเหตุ การรับและวินิจฉัยคำ�ร้องตามที่กำ�หนดกรณีแสวงหาพยานหลักฐานได้ไม่ซับซ้อน  หรอื คกู่ รณมี าช้แี จงตามก�ำ หนดและใหก้ ารครบถว้ น สามารถวนิ จิ ฉยั ได้ 11

ขอ้ ควรรูส้ ำ�หรับประชาชน ในการติดต่อราชการกรมสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงาน กรณียุ่งยากซับซ้อน เจา้ หน้าทร่ี บั ค�ำ ร้องและสอบขอ้ เทจ็ จริง เสนอผ้บู ังคบั บญั ชาเพื่อมอบหมาย (ใช้เวลา 1 วัน) เจา้ หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบด�ำ เนนิ การสอบขอ้ เทจ็ จรงิ นายจา้ ง ลกู จา้ ง พยานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รวบรวมพยานหลักฐาน ศึกษาข้อกฎหมาย และออกค�ำ ส่ัง (ใชเ้ วลา 58 วัน) แจง้ ผลคำ�สงั่ ให้ผูเ้ กีย่ วขอ้ งทราบ (ใชเ้ วลา 1 วนั ) สรุป : 1. ชว่ งยนื่ ค�ำ รอ้ ง 1 ขัน้ ตอน 1 จุดบรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วนั 2. ชว่ งดำ�เนินการจนแลว้ เสรจ็ (รวมระยะเวลาชว่ งยน่ื คำ�ขอ) 3 ขัน้ ตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 60 วนั ทำ�การ หมายเหตุ การรบั และวนิ จิ ฉยั ค�ำ รอ้ งตามทกี่ �ำ หนดเปน็ กรณี ยงุ่ ยากซบั ซอ้ น กลา่ วคอื แสวงหา พยานหลกั ฐานไมไ่ ด้ หรอื คกู่ รณไี มม่ าชแ้ี จงตามก�ำ หนด และใหก้ ารไมค่ รบถว้ น และ เจ้าหนา้ ท่ีไม่สามารถวินิจฉยั ได้ 12

ขอ้ ควรร้สู �ำ หรบั ประชาชน ในการติดต่อราชการกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน 3. การพิจารณาอนุมตั ิจา่ ยเงินกองทนุ สงเคราะห์ลกู จา้ ง (กรณีนายจ้างไม่จา่ ยค่าชดเชย) ลูกจา้ งย่นื ค�ำ ขอรับเงนิ กองทนุ /เจ้าหนา้ ท่รี ับคำ�ขอ/ตรวจสอบเอกสาร (ใช้เวลา 30 นาท)ี กคร./สสค. รวบรวมเอกสารและสอบข้อเทจ็ จริง ตรวจสอบความถกู ต้องตาม ระเบียบเพอื่ เสนอผ้มู อี ำ�นาจอนมุ ตั จิ ่ายเงนิ กองทุน (ใช้เวลา 6 วัน) อธิบด/ี ผูว้ า่ ราชการจังหวัด/ผซู้ ึ่งไดร้ ับมอบหมาย พิจารณาอนุมตั ิ (ใช้เวลา 2 วัน) แจ้งผลการพิจารณาให้ผรู้ บั บริการทราบ (ใชเ้ วลา 2 วัน) สรุป : 1. ชว่ งยื่นคำ�รอ้ ง 1 ขั้นตอน จุดบรกิ าร 30 นาที 2. ช่วงดำ�เนินการจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลายื่นคำ�ขอ) 7 ขั้นตอน 7 จุดบริการ รวม 10 วนั ทำ�การ หมายเหตุ สคร. หมายถึง สำ�นกั ค้มุ ครองแรงงาน สสค. หมายถงึ ส�ำ นกั งานสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัด 13

ข้อควรรสู้ ำ�หรับประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน (กรณอี ื่นนอกจากค่าชดเชย) ลกู จ้างยน่ื คำ�ขอรับเงินกองทุน/เจ้าหน้าที่รบั คำ�ขอ/ตรวจสอบเอกสาร (ใช้เวลา 30 นาท)ี กคร.รวบรวมเอกสารและสอบขอ้ เทจ็ จริง ส่งเอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ ง ตอ่ คณะกรรมการกองทนุ ฯ (ใชเ้ วลา 30 วัน) คณะกรรมการกองทุนฯ ประชุมพจิ ารณา (ใช้เวลา 1 วัน) คณะกรรมการกองทนุ ฯ คณะกรรมการกองทุนฯ มีมติ เห็นชอบ มมี ติ เหน็ ชอบ (ใช้เวลา 7 วัน) (ใชเ้ วลา 7 วัน) กคร.เสนอค�ำ ขอตอ่ ผมู้ อี �ำ นาจอนมุ ตั จิ า่ ยเงนิ กคร.มีหนงั สือแจง้ การอนุมตั ิ (ใชเ้ วลา 7 วนั นับแต่ทราบมต)ิ (ใชเ้ วลา 5 วันนับแต่ทราบ ผมู้ อี �ำ นาจอนมุ ตั พิ จิ ารณาอนมุ ตั จิ า่ ยเงนิ การอนมุ ัติ) ในอัตราที่คณะกรรมการกองทุนฯ กำ�หนด (ใชเ้ วลา 7 วันนบั แตเ่ สนอ) กคร.มหี นงั สอื แจง้ การอนุมตั ิ (ใชเ้ วลา 5 วันนบั แต่ทราบการอนุมัติ) 14

ข้อควรรู้ส�ำ หรบั ประชาชน ในการตดิ ต่อราชการกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน งานความปลอดภยั ในการทำ�งาน 4. การตรวจความปลอดภัยในการทำ�งานตามค�ำ ร้อง (ส่วนกลาง) รับค�ำ รอ้ งตรวจสอบ (ใชเ้ วลา 10 นาที) สอบถามขอ้ เทจ็ จรงิ (ใชเ้ วลา 30 นาที) ผู้อำ�นวยการสำ�นกั ความปลอดภัยแรงงาน พจิ ารณาสัง่ การ (ใชเ้ วลา 1 วนั ท�ำ การ) วางแผนการตรวจ (ใชเ้ วลา 1 วันทำ�การ) ดำ�เนนิ การตรวจสถานประกอบกจิ การ (ใชเ้ วลา 1 วนั ท�ำ การ) จดั ท�ำ สรุปผลการตรวจ (ใชเ้ วลา 1 / 2 วันทำ�การ) ผอู้ �ำ นวยการศนู ยค์ วามปลอดภยั ในการท�ำ งานเขต ตรวจสอบ (ใชเ้ วลา 1 / 2 วนั ท�ำ การ) ผ้อู �ำ นวยการส�ำ นกั ความปลอดภยั แรงงาน พิจารณา (ใชเ้ วลา 1 วันทำ�การ) อธิบดีลงนาม (ใชเ้ วลา 1 วนั ทำ�การ) แจ้งผลการพิจารณา (ใช้เวลา 1 วันทำ�การ) สรปุ 1. ช่วงย่ืนคำ�ร้อง 2 ข้ันตอน 1 จุดบริการ รวมระยะเวลา 40 ชัว่ โมง 2. ชว่ งด�ำ เนนิ การจนแลว้ เสรจ็ (รวมระยะเวลาชว่ งยนื่ ค�ำ ขอ) 10 ขนั้ ตอน 1 จดุ บรกิ าร  รวมระยะเวลา 8 วนั ท�ำ การ หมายเหตุ ข้ันตอนและระยะเวลาท่ีกำ�หนดเป็นการตรวจความปลอดภัยในการทำ�งาน ตามค�ำ รอ้ งปกตทิ ไี่ มต่ อ้ งใชผ้ ลการวเิ คราะหท์ างหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื สรปุ ผลการตรวจ 15

ข้อควรรูส้ �ำ หรบั ประชาชน ในการตดิ ต่อราชการกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 5. การข้นึ ทะเบียนเปน็ ผูร้ ับรองรายงานการตรวจวดั และวิเคราะหส์ ภาวะการท�ำ งาน 1. ผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับรองรายงานการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำ�งาน ย่ืนคำ�ขอตามแบบ รสส. พร้อมหลักฐานและเอกสารประกอบคำ�ขอขึ้นทะเบียน และเจา้ หนา้ ทีต่ รวจสอบความครบถ้วนของเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วันท�ำ การ) 2. เจา้ หนา้ ทด่ี ำ�เนนิ การ - ตรวจสอบคณุ สมบตั ขิ องผูข้ อขึน้ ทะเบียนฯ - สรปุ ผลการตรวจสอบและออกหนงั สอื รบั รองการขนึ้ ทะเบยี นเปน็ ผรู้ บั รองรายงาน การตรวจวัดและวิเคราะหส์ ภาวะการท�ำ งาน (ใชเ้ วลา 10 วนั ทำ�การ) 3. อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายพิจารณาลงนามหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนฯ และเจ้าหน้าที่แจ้งผลการพิจารณาและส่งมอบหนังสือรับรองการข้ึนทะเบียนฯ ใหผ้ ขู้ อขึน้ ทะเบยี น (ใช้เวลา 2 วนั ทำ�การ) สรปุ 1. ช่วงย่ืนค�ำ ร้อง 1 ขั้นตอน 1 จดุ บริการ รวมระยะเวลา 1 วัน 2. ช่วงด�ำ เนนิ การจนแลว้ เสร็จ (รวมระยะเวลาช่วงย่นื คำ�ขอ) 3 ข้ันตอน 1 จดุ บรกิ าร  รวมระยะเวลา 13 วนั ทำ�การ 16

ข้อควรรสู้ �ำ หรับประชาชน ในการตดิ ต่อราชการกรมสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน 6. การขึน้ ทะเบียนเป็นหนว่ ยงานฝกึ อบรมหลกั สตู รเจา้ หน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทำ�งาน 1. นิติบุคคลประสงค์ขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ในการทำ�งาน ย่ืนหนังสือขอขึ้นทะเบียนฯ พร้อมหลักฐานเอกสารประกอบการ ขอขนึ้ ทะเบยี น และเจา้ หนา้ ทตี่ รวจสอบความครบถว้ นเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วนั ท�ำ การ) 2. เจ้าหน้าที่ดำ�เนินการตรวจสอบคุณสมบัติของนิติบุคคลท่ีขอข้ึนทะเบียนฯ และเข้า ตรวจสอบสถานที่ต้ังนิติบุคคล พร้อมอุปกรณ์ประกอบการฝึกอบรม หรืออุปกรณ์ ฝึกปฏบิ ัต ิ (ใชเ้ วลา 15 วันทำ�การ) 3. เตรียมการประชุม และประชุมคณะกรรมการพิจารณามาตรฐานนิติบุคคลท่ีขอเป็น หนว่ ยงานฝกึ อบรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งาน (ใช้เวลา 11 วนั ทำ�การ) 4. คณะกรรมการพิจารณามาตรฐานนิติบุคคลท่ีขอเป็นหน่วยงานฝึกอบรม ด้านความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน รบั รองรายงาน การประชมุ จดั ทำ�ใบทะเบยี นแสดงการเป็นหนว่ ยงานฝกึ อบรมฯ (ใช้เวลา 15 วนั ทำ�การ) 5. อธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายพิจารณาลงนามใบทะเบียนแสดงการเป็นหน่วยงาน ฝึกอบรมฯ และเจ้าหน้าที่แจ้งผลการพิจารณา และส่งมอบใบทะเบียนฯ ให้แก่ ผ้ยู ่นื หนงั สือขอขน้ึ ทะเบยี นฯ (ใชเ้ วลา 2 วันทำ�การ) สรปุ 1. ช่วงย่นื คำ�ร้อง 1 ขน้ั ตอน 1 จุดบรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วนั 2. ชว่ งดำ�เนินการจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาชว่ งยน่ื คำ�ขอ) 5 ขัน้ ตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 44 วันทำ�การ หมายเหต ุ ระยะเวลาด�ำ เนนิ การนบั แตว่ นั ทเ่ี อกสารหลกั ฐานไดร้ บั การตรวจสอบจากเจา้ หนา้ ท่ี วา่ มคี วามครบถว้ น ถูกตอ้ งสมบรู ณ์ 17

ขอ้ ควรรสู้ ำ�หรบั ประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 7. การต่ออายุการข้นึ ทะเบียนเป็นหน่วยงานฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าท่คี วามปลอดภัย ในการท�ำ งาน 1. หน่วยงานฝึกอบรมฯ ประสงค์ขอต่ออายุการขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยงานฝึกอบรม เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ�งาน ย่ืนหนังสือขอต่ออายุการขึ้นทะเบียนฯ พร้อมหลักฐานเอกสารประกอบการขอต่ออายุการขึ้นทะเบียนฯ และเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบความครบถว้ นเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วันท�ำ การ) 2. เจ้าหน้าที่ดำ�เนินการตรวจสอบคุณสมบัติของหน่วยงานฝึกอบรมฯ ผู้ขอต่ออายุ การข้ึนทะเบียนฯ และเข้าตรวจสอบสถานท่ีตั้งหน่วยงานฝึกอบรมฯ พร้อมอุปกรณ์ ประกอบการฝกึ อบรม หรืออปุ กรณ์ฝึกปฏบิ ตั ิ (ใชเ้ วลา 15 วันทำ�การ) 3. สรุปผลการตรวจสอบ และจัดทำ�ใบทะเบียนแสดงการต่ออายุการขึ้นทะเบียน เป็นหน่วยงานฝึกอบรมฯ (ใชเ้ วลา 4 วนั ท�ำ การ) 4. อธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมาย พิจารณาลงนามใบทะเบียนแสดงการต่ออายุ เป็นหน่วยงานฝึกอบรมฯ เจ้าหน้าท่ีแจ้งผลการพิจารณา และส่งมอบใบทะเบียนฯ ใหแ้ ก่ผ้ยู ืน่ หนังสอื ขอต่ออายกุ ารขึน้ ทะเบียนฯ (ใช้เวลา 2 วนั ทำ�การ) สรปุ 1. ชว่ งยื่นค�ำ รอ้ ง 1 ข้ันตอน 1 จุดบรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วนั 2. ช่วงดำ�เนนิ การจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาชว่ งทยี่ ื่นค�ำ ขอ) 4 ขนั้ ตอน 1 จุดบริการ รวมระยะเวลา 22 วนั ท�ำ การ หมายเหตุ ระยะเวลาด�ำ เนนิ การนบั แตว่ นั ทเี่ อกสารหลกั ฐานไดร้ บั การตรวจสอบจากเจา้ หนา้ ที่ วา่ มีความครบถ้วนถูกตอ้ งสมบูรณ์ 18

ขอ้ ควรรู้สำ�หรบั ประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 8. การข้นึ ทะเบียนเป็นหนว่ ยงานฝกึ อบรมความปลอดภัยในการท�ำ งานในทีอ่ บั อากาศ 1. นติ บิ คุ คลทปี่ ระสงคข์ อขน้ึ ทะเบยี นเปน็ หนว่ ยงานฝกึ อบรมความปลอดภยั ในการท�ำ งาน ในที่อับอากาศ ย่ืนหนังสือขอข้ึนทะเบียนฯ พร้อมหลักฐานเอกสารประกอบการ ขอขนึ้ ทะเบยี นฯ และเจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบความครบถว้ นเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วนั ท�ำ การ) 2. เจา้ หน้าทด่ี ำ�เนินการ (ใช้เวลา 15 วันการ) - ตรวจสอบคุณสมบตั ิของนิติบคุ คลท่ีขอขน้ึ ทะเบียนฯ - เข้าตรวจสอบสถานทีต่ ัง้ นิตบิ คุ คล - เข้าตรวจสอบสถานที่ฝึกปฏิบัติ พร้อมอุปกรณ์ประกอบการฝึกอบรมและอุปกรณ์ ฝึกปฏิบตั ิ 3. เตรียมการประชุม และประชุมคณะกรรมการพิจารณามาตรฐานนิติบุคคลที่ขอเป็น หนว่ ยงานฝกึ อบรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งาน (ใช้เวลา 11 วนั ทำ�การ) 4. คณะกรรมการพิจารณามาตรฐานนิติบุคคลท่ีขอเป็นหน่วยงานฝึกอบรม ด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ�งาน รบั รองรายงาน การประชมุ จดั ท�ำ ใบทะเบยี นแสดงการเปน็ หนว่ ยงานฝกึ อบรมฯ (ใชเ้ วลา 15 วนั ท�ำ การ) 5. อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายพิจารณาลงนามใบทะเบียนแสดงการเป็นหน่วยงาน ฝึกอบรมฯ และเจ้าหน้าท่ีแจ้งผลการพิจารณาและส่งมอบใบทะเบียนฯ ให้แก่ ผยู้ ืน่ หนงั สอื ขอข้ึนทะเบียนฯ (ใชเ้ วลา 2 วันทำ�การ) สรุป 1. ช่วงย่ืนคำ�ร้อง 1 ขน้ั ตอน 1 จดุ บริการ รวมระยะเวลา 1 วัน 2. ช่วงดำ�เนินการจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาช่วงท่ียื่นคำ�ขอ) 5 ขั้นตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 44 วนั ท�ำ การ หมายเหตุ ระยะเวลาด�ำ เนนิ การนบั แตว่ นั ทเ่ี อกสารหลกั ฐานไดร้ บั การตรวจสอบจากเจา้ หนา้ ท่ี วา่ มคี วามครบถ้วนถกู ตอ้ งสมบูรณ์ 19

ข้อควรรู้ส�ำ หรับประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 9. การต่ออายุการข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยงานฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำ�งาน ในทีอ่ บั อากาศ 1. หน่วยงานฝึกอบรมฯ ประสงค์ขอต่ออายุการข้ึนทะเบียนเป็นหน่วยงานฝึกอบรม ความปลอดภัยในการทำ�งานในที่อับอากาศ ยื่นหนังสือขอต่ออายุการขึ้นทะเบียนฯ พร้อมหลักฐานเอกสารประกอบการขอต่ออายุการขึ้นทะเบียน และเจ้าหน้าท่ี ตรวจสอบความครบถ้วนเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วันท�ำ การ) 2. เจา้ หนา้ ทีด่ ำ�เนนิ การ (ใช้เวลา 15 วนั ทำ�การ) - ตรวจสอบคณุ สมบัตขิ องหนว่ ยงานฝึกอบรมฯ - เข้าตรวจสอบสถานท่ีตง้ั หน่วยงานฝึกอบรมฯ - เข้าตรวจสอบสถานที่ฝึกปฏิบัติ พร้อมอุปกรณ์ประกอบการฝึกอบรมและอุปกรณ์ ฝึกปฏิบตั ิ 3. สรุปผลการตรวจสอบ และจัดทำ�ใบทะเบียนแสดงการต่ออายุการข้ึนทะเบียน เปน็ หนว่ ยงานฝึกอบรมฯ (ใช้เวลา 4 วันท�ำ การ) 4. อธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายพิจารณาลงนามใบทะเบียนแสดงการเป็นหน่วยงาน ฝึกอบรมฯ และเจ้าหน้าที่แจ้งผลการพิจารณาและส่งมอบใบทะเบียนฯ ให้แก่ ผู้ยนื่ หนงั สือขอต่ออายุขน้ึ ทะเบียนฯ (ใชเ้ วลา 2 วันทำ�การ) สรุป 1. ช่วงยืน่ คำ�ร้อง 1 ข้นั ตอน 1 จุดบรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วัน 2. ช่วงดำ�เนินการจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาช่วงที่ย่ืนคำ�ขอ) 4 ขั้นตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 22 วันท�ำ การ หมายเหต ุ ระยะเวลาด�ำ เนนิ การนบั แตว่ นั ทเ่ี อกสารหลกั ฐานไดร้ บั การตรวจสอบจากเจา้ หนา้ ท่ี ว่ามีความครบถ้วนถูกต้องสมบรู ณ์ 20

ข้อควรร้สู �ำ หรบั ประชาชน ในการตดิ ต่อราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 10. การขน้ึ ทะเบียนเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทำ�งาน 1. นายจ้างย่ืนหนังสือแจ้งการขึ้นทะเบียนเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ�งาน และเจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบความครบถว้ นของเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วนั ทำ�การ) 2. เจ้าหนา้ ท่ดี �ำ เนนิ การตรวจสอบคุณสมบตั ขิ องเจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการท�ำ งาน (ใชเ้ วลา 3 วันท�ำ การ) 3. ออกเลขทะเบียนเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ�งานและแจ้งเลขทะเบียน ใหน้ ายจ้างทีย่ ่นื หนังสือแจง้ การข้นึ ทะเบียนฯ (ใชเ้ วลา 2 วันทำ�การ) สรุป 1. ชว่ งยืน่ ค�ำ รอ้ ง 1 ขัน้ ตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วัน 2. ช่วงด�ำ เนินการจนแลว้ เสรจ็ (รวมระยะเวลาชว่ งยน่ื คำ�ขอ) 3 ขน้ั ตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 6 วันท�ำ การ 21

ขอ้ ควรรู้ส�ำ หรับประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 11. การขอใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงข้ันต้นและหน่วยงานฝึกซ้อม ดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ (กรณีนิติบุคคลผู้ย่ืนคำ�ขอเป็นหน่วยงานราชการ ส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค และส่วนทอ้ งถน่ิ ) 1. นิติบุคคลยื่นแบบคำ�ขอใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น หรือ หน่วยงานฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ (แบบ ดพ.๑) พร้อมเอกสาร หลกั ฐานประกอบการ ขอใบอนญุ าตฯ และเจา้ หนา้ ทตี่ รวจสอบความครบถว้ นเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วัน) 2. เจา้ หนา้ ทีด่ ำ�เนินการ (ใชเ้ วลา 57 วัน) - ตรวจสอบคุณสมบตั ขิ องนิตบิ ุคคล - สรปุ ผลการตรวจสอบและจัดท�ำ ใบอนญุ าตเป็นหน่วยงานฝกึ อบรมฯ 3. อธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายพิจารณาลงนามใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรมฯ และเจ้าหน้าที่แจ้งผลการพิจารณา และส่งมอบใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรมฯ ใหแ้ ก่ผยู้ ่ืนค�ำ ขอใบอนญุ าตฯ (ใชเ้ วลา 2 วนั ) สรปุ 1. ชว่ งยน่ื คำ�ร้อง 1 ขนั้ ตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วนั 2. ช่วงดำ�เนินการจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาช่วงท่ียื่นคำ�ขอ) 3 ขั้นตอน 1จดุ บรกิ ารรวมระยะเวลา 60 วนั ท�ำ การ (กรณมี เี หตสุ มควรขยายเวลาไดร้ วมแลว้ ไม่เกิน 90 วนั ) หมายเหตุ ระยะเวลาด�ำ เนนิ การนบั แตว่ นั ทเี่ อกสารหลกั ฐานไดร้ บั การตรวจสอบจากเจา้ หนา้ ท่ี วา่ มีความครบถว้ นถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ 22

ข้อควรรู้สำ�หรับประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 12. การขอใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงข้ันต้นและหน่วยงานฝึกซ้อม ดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ (กรณีนิติบุคคลผู้ยื่นคำ�ขอไม่เป็นหน่วยงานราชการ สว่ นกลาง สว่ นภูมภิ าค และสว่ นทอ้ งถน่ิ ) 1. นิติบุคคลย่ืนแบบคำ�ขอใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น หรือ หนว่ ยงานฝกึ ซอ้ มดบั เพลงิ และฝกึ ซอ้ มอพยพหนไี ฟ (แบบดพ.๑)พรอ้ มเอกสารหลกั ฐาน ประกอบการขอใบอนญุ าตฯ และเจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบความครบถว้ นเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วนั ) 2. เจ้าหนา้ ท่ดี �ำ เนินการ (ใช้เวลา 15 วัน) - ตรวจสอบคุณสมบัติของหนว่ ยงานฝึกอบรมฯ - เข้าตรวจสอบสถานทตี่ ้งั หน่วยงานฝึกอบรมฯ - เข้าตรวจสอบสถานที่ฝึกปฏิบัติ พร้อมอุปกรณ์ประกอบการฝึกอบรมและอุปกรณ์ ฝึกปฏิบัติ 3. เตรียมการประชุมและประชุมคณะกรรมการพิจารณามาตรฐานนิติบุคคลที่ขอเป็น หนว่ ยงานฝกึ อบรมดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งาน (ใชเ้ วลา 11 วัน) 4. คณะกรรมการพิจารณามาตรฐานนิติบุคคลท่ีขอเป็นหน่วยงานฝึกอบรมด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน รับรองรายงาน การประชุม จดั ท�ำ ใบทะเบยี นแสดงการเปน็ หนว่ ยงานฝึกอบรมฯ (ใช้เวลา 15 วนั ) 5. อธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายพิจารณาลงนามใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรมฯ และเจ้าหน้าท่ีแจ้งผลการพิจารณาและส่งมอบใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรมฯ ให้แก่ผ้ยู ่นื ค�ำ ขอใบอนญุ าตฯ (ใชเ้ วลา 2 วนั ) สรุป 1. ชว่ งยน่ื ค�ำ รอ้ ง 1 ขัน้ ตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วัน 2. ช่วงดำ�เนินการจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาช่วงที่ยื่นคำ�ขอ) 5 ข้ันตอน 1 จุดบริการ รวมระยะเวลา 60 วนั ทำ�การ (กรณมี เี หตุสมควรขยายเวลาไดร้ วม แล้วไม่เกนิ 90 วัน) หมายเหตุ ระยะเวลาด�ำ เนนิ การนบั แตว่ นั ทเ่ี อกสารหลกั ฐานไดร้ บั การตรวจสอบจากเจา้ หนา้ ที่ วา่ มคี วามครบถว้ นถูกตอ้ งสมบูรณ์ 23

ข้อควรรสู้ �ำ หรบั ประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน 13. การขอต่ออายุใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงข้ันต้นและหน่วยงาน ฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ (กรณีนิติบุคคลผู้ยื่นคำ�ขอเป็นหน่วยงาน ราชการสว่ นกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถนิ่ ) 1. หน่วยงานฝึกอบรมฯ ย่ืนแบบคำ�ขอต่ออายุใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรม การดับเพลิงขั้นต้น หรือหน่วยงานฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ (แบบ ดพ.๒) พรอ้ มเอกสารหลกั ฐานประกอบการขอตอ่ อายใุ บอนญุ าตฯ และเจา้ หนา้ ท่ี ตรวจสอบความครบถว้ นเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วัน) 2. เจ้าหนา้ ที่ดำ�เนนิ การ (ใชเ้ วลา 57 วนั ) - ตรวจสอบคณุ สมบัตขิ องนติ บิ คุ คล - สรปุ ผลการตรวจสอบ และจัดทำ�การตอ่ อายใุ บอนญุ าตเปน็ หนว่ ยงานฝกึ อบรมฯ 3. อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายพิจารณาลงนามใบอนุญาตต่ออายุเป็นหน่วยงาน ฝึกอบรมฯ และเจ้าหน้าท่ีแจ้งผลการพิจารณาและส่งมอบใบอนุญาตต่ออายุเป็น หนว่ ยงานฝกึ อบรมฯ ให้แกผ่ ู้ยื่นค�ำ ขอต่ออายใุ บอนุญาต (ใช้เวลา 2 วนั ) สรุป 1. ช่วงย่นื คำ�ร้อง 1 ขัน้ ตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วัน 2. ช่วงดำ�เนินการจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาช่วงท่ีย่ืนคำ�ขอ) 3 ขั้นตอน 1 จุดบริการ รวมระยะเวลา 60 วันทำ�การ (กรณีมีเหตุสมควรขยายเวลาได้ รวมแล้วไมเ่ กิน 90 วัน) หมายเหตุ ระยะเวลาด�ำ เนนิ การนบั แตว่ นั ทเี่ อกสารหลกั ฐานไดร้ บั การตรวจสอบจากเจา้ หนา้ ที่ ว่ามีความครบถ้วนถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ 24

ข้อควรรสู้ ำ�หรับประชาชน ในการตดิ ต่อราชการกรมสวัสดกิ ารและคุม้ ครองแรงงาน 14. การขอต่ออายุใบอนุญาตเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้นและหน่วยงาน ฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ (กรณีนิติบุคคลผู้ย่ืนคำ�ขอไม่เป็นหน่วยงาน ราชการสว่ นกลาง สว่ นภูมภิ าค และสว่ นท้องถิ่น) 1. หนว่ ยงานฝกึ อบรมฯ ยน่ื แบบค�ำ ขอใบอนญุ าตเปน็ หนว่ ยงานฝกึ อบรมการดบั เพลงิ ขน้ั ตน้ หรือหนว่ ยงานฝกึ ซ้อมดับเพลิงและฝกึ ซ้อมอพยพหนไี ฟ (แบบ ดพ.๒) พรอ้ มเอกสาร หลกั ฐานประกอบการขอใบอนญุ าตฯ และเจา้ หนา้ ทตี่ รวจสอบความครบถว้ นเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วนั ) 2. เจ้าหนา้ ทด่ี ำ�เนนิ การ (ใช้เวลา 53 วัน) - ตรวจสอบคณุ สมบตั ขิ องหนว่ ยงานฝกึ อบรมฯ - เขา้ ตรวจสอบสถานท่ีต้งั หนว่ ยงานฝกึ อบรมฯ - เข้าตรวจสอบสถานท่ีฝึกปฏิบัติ พร้อมอุปกรณ์ประกอบการฝึกอบรมและอุปกรณ์ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ 3. สรุปผลการตรวจสอบ และจัดทำ�ใบอนุญาตต่ออายุเป็นหน่วยงานฝึกอบรมฯ (ใช้เวลา 4 วนั ) 4. อธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายพิจารณาลงนามใบอนุญาตต่ออายุเป็นหน่วยงาน ฝึกอบรมฯ และเจ้าหน้าที่แจ้งผลการพิจารณาและส่งมอบใบอนุญาตต่ออายุเป็น หน่วยงานฝึกอบรมฯ ให้แก่ผู้ยื่นคำ�ขอตอ่ อายุใบอนญุ าต (ใช้เวลา 2 วนั ) สรปุ 1. ช่วงยน่ื คำ�ร้อง 1 ขั้นตอน 1 จุดบรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วนั 2. ช่วงดำ�เนินการจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาช่วงที่ยื่นคำ�ขอ) 4 ข้ันตอน 1 จุดบริการ รวมระยะเวลา 60 วันทำ�การ (กรณีมีเหตุสมควรขยายเวลาได้ รวมแลว้ ไมเ่ กนิ 90 วนั ) หมายเหตุ ระยะเวลาด�ำ เนนิ การนบั แตว่ นั ทเี่ อกสารหลกั ฐานไดร้ บั การตรวจสอบจากเจา้ หนา้ ท่ี ว่ามคี วามครบถ้วนถูกต้องสมบูรณ์ 25

ข้อควรร้สู �ำ หรับประชาชน ในการติดต่อราชการกรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน 15. การพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบแผนฝกึ ซอ้ มดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนไี ฟ 1. นายจ้างยน่ื แผนการฝึกซอ้ มดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนไี ฟพรอ้ มเอกสารและ เจ้าหนา้ ทีต่ รวจสอบความครบถ้วนของเอกสาร (ใช้เวลา 1 วนั ทำ�การ) 2. เจา้ หนา้ ทด่ี �ำ เนนิ การตรวจสอบแผนฝกึ ซอ้ มดบั เพลงิ และฝกึ ซอ้ มอพยพหนไี ฟและเสนอ ผมู้ ีอำ�นาจพิจารณา (ใช้เวลา 7 วันท�ำ การ) 3. ผู้มีอำ�นาจให้ความเห็นชอบและเจ้าหน้าที่แจ้งผลการพิจารณาฯ ให้ผู้ย่ืนแผนฯ (ใช้เวลา 2 วันท�ำ การ) สรุป 1. ชว่ งยื่นคำ�รอ้ ง 1 ข้ันตอน 1 จดุ บริการ รวมระยะเวลา 1 วันทำ�การ 2. ชว่ งดำ�เนนิ การจนแลว้ เสรจ็ (รวมระยะเวลาชว่ งย่ืนค�ำ ขอ) 3 ขน้ั ตอน 1 จดุ บริการ รวมระยะเวลา 10 วันท�ำ การ 26

ขอ้ ควรร้สู ำ�หรบั ประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน งานแรงงานสัมพันธ์ 16. การจดทะเบียนขอ้ ตกลงเกย่ี วกบั สภาพการจ้าง (เอกชน) 1. นายจ้างยื่นคำ�ขอจดทะเบียนพร้อมเอกสารและหลักฐานประกอบคำ�ขอจดทะเบียน และเจ้าหน้าทต่ี รวจสอบความครบถ้วนของเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วันท�ำ การ) 2. เจ้าหนา้ ที่ด�ำ เนินการ - ตรวจสอบรายละเอียดค�ำ ขอ - ตรวจสอบรายละเอียดข้อตกลงฯ - พจิ ารณาข้อเท็จจรงิ /ขอ้ กฎหมายประกอบการจดทะเบยี น - จดั ทำ�หนงั สือและเอกสาร (ใช้เวลา 10 วนั ท�ำ การ) 3. อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายพิจารณาจดทะเบียน และเจ้าหน้าที่แจ้งผล การพจิ ารณา และส่งมอบส�ำ เนาข้อตกลงฯ ให้ผ้ยู นื่ ค�ำ ขอ (ใช้เวลา 2 วนั ท�ำ การ) สรปุ 1. ชว่ งย่ืนค�ำ รอ้ ง 1 ขน้ั ตอน 1 จุดบริการ รวมระยะเวลา 1 วนั ทำ�การ 2. ช่วงดำ�เนินการจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาชว่ งยืน่ ค�ำ ขอ) 3 ข้นั ตอน 1 จุดบรกิ าร รวมระยะเวลา 13 วันทำ�การ เว้นแต่ ในกรณีที่คำ�ขอหรือเอกสารหลักฐาน ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถว้ น และหรอื มปี ระเดน็ พจิ ารณาดา้ นกฎหมาย 27

ข้อควรร้สู ำ�หรบั ประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 17. การจดทะเบยี นทีป่ รกึ ษาดา้ นแรงงานสัมพันธ์ 1. ผู้ขอจดทะเบียนย่ืนคำ�ขอจดทะเบียนพร้อมหลักฐานและเอกสาร ประกอบคำ�ขอจดทะเบียน และเจ้าหน้าที่ตรวจสอบความครบถ้วน ของเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วนั ท�ำ การ) 2. เจ้าหน้าทีด่ ำ�เนินการ - ตรวจสอบรายละเอียดเอกสาร - ตรวจสอบคุณสมบัตขิ องผขู้ อจดทะเบียน - สรุปเร่อื งและจัดท�ำ บตั รประจ�ำ ตัวทีป่ รกึ ษา (ใช้เวลา 4 วนั ทำ�การ) 3. อธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายพิจารณาจดทะเบียน และเจ้าหน้าท่ี แจ้งผลการพิจารณาและส่งมอบบัตรประจำ�ตัวที่ปรึกษาฯ ให้ผู้ขอ จดทะเบียน (ใช้เวลา 2 วนั ท�ำ การ) สรุป 1. ช่วงย่นื คำ�ร้อง 1 ขนั้ ตอน 1 จุดบรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วนั ท�ำ การ 2. ชว่ งด�ำ เนินการจนแลว้ เสร็จ (รวมระยะเวลาชว่ งยืน่ คำ�ขอ) 3 ข้นั ตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 7 วนั ทำ�การ 28

ข้อควรรู้ส�ำ หรับประชาชน ในการตดิ ต่อราชการกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 18. การจดทะเบยี นตอ่ อายทุ ่ีปรึกษาด้านแรงงานสมั พนั ธ์ 1. ผู้ขอจดทะเบียนย่ืนคำ�ขอจดทะเบียนพร้อมหลักฐานและเอกสาร ประกอบคำ�ขอจดทะเบียน และเจ้าหน้าท่ีตรวจสอบความครบถ้วน ของเอกสาร (ใช้เวลา 1 วันท�ำ การ) 2. เจ้าหน้าท่ีดำ�เนนิ การ - ตรวจสอบรายละเอยี ดเอกสาร - ตรวจสอบคุณสมบตั ขิ องผขู้ อจดทะเบียน - สรปุ เร่อื งและจัดทำ�บัตรประจำ�ตวั ทีป่ รึกษา (ใช้เวลา 1 วนั ทำ�การ) 3. อธบิ ดหี รอื ผซู้ ง่ึ อธบิ ดมี อบหมายพจิ ารณาจดทะเบยี น เจา้ หนา้ ทแ่ี จง้ ผล การพจิ ารณาและสง่ มอบบตั รประจ�ำ ตวั ทป่ี รกึ ษาฯ ใหผ้ ขู้ อจดทะเบยี น (ใชเ้ วลา 2 วนั ทำ�การ) สรุป 1. ชว่ งย่ืนคำ�ร้อง 1 ขั้นตอน 1 จดุ บริการ รวมระยะเวลา 1 วนั ท�ำ การ 2. ช่วงดำ�เนนิ การจนแล้วเสรจ็ (รวมระยะเวลาชว่ งยนื่ คำ�ขอ) 3 ขน้ั ตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 4 วนั ท�ำ การ 29

ขอ้ ควรรูส้ �ำ หรบั ประชาชน ในการตดิ ต่อราชการกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 19. การจดทะเบยี นจดั ตงั้ องคก์ รลกู จา้ ง องคก์ รนายจา้ ง (สหภาพแรงงาน สมาคมนายจา้ ง) 1. ผู้ขอจดทะเบียนยื่นคำ�ขอจดทะเบียนพร้อมเอกสาร และหลักฐานประกอบคำ�ขอจดทะเบียนและเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบความครบถว้ นของเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วนั ทำ�การ) 2. เจา้ หน้าที่ด�ำ เนินการ - ตรวจสอบรายละเอยี ดคำ�ขอ - ตรวจสอบคณุ สมบตั ิผเู้ ร่มิ กอ่ การ - สอบขอ้ เท็จจริงและอบรมแนะนำ�ผูเ้ รมิ่ ก่อการ - ตรวจสอบร่างขอ้ บงั คับ - พจิ ารณาขอ้ กฎหมายและแนวปฏิบัติ - สรปุ และจัดท�ำ ใบส�ำ คัญแสดงการจดทะเบยี น (ใช้เวลา 15 วนั ท�ำ การ) 3. นายทะเบยี นพิจารณาจดทะเบยี น และเจา้ หน้าทดี่ �ำ เนนิ การ - ออกเลขทะเบยี น - นำ�สง่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา - แจ้งผลการพิจารณาและส่งมอบใบสำ�คัญแสดงการ จดทะเบียนพร้อมเอกสารท่ีเก่ียวข้องให้ผู้ขอจดทะเบียน (ใชเ้ วลา 4 วนั ท�ำ การ) สรุป 1. ชว่ งยื่นคำ�รอ้ ง 1 ขัน้ ตอน 1 จุดบรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วนั ทำ�การ 2. ช่วงด�ำ เนนิ การจนแลว้ เสร็จ (รวมระยะเวลาชว่ งยืน่ คำ�ขอ) 3 ขนั้ ตอน 1 จุดบริการ รวมระยะเวลา 20 วนั ท�ำ การ 30

ข้อควรร้สู �ำ หรับประชาชน ในการตดิ ต่อราชการกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน 20. การจดทะเบียนข้อบังคับองค์กรลูกจ้าง องค์กรนายจ้าง (ข้อบังคับสหภาพแรงงาน ข้อบังคับสหพันธ์แรงงาน ข้อบังคับสภาองค์การลูกจ้าง ข้อบังคับสมาคมนายจ้าง ข้อบงั คับสหพนั ธ์นายจ้าง ขอ้ บงั คับสภาองคก์ ารนายจ้าง) 1. ผู้ขอจดทะเบียนยื่นคำ�ขอจดทะเบียนพร้อมเอกสารและหลักฐาน ประกอบค�ำ ขอจดทะเบยี นและเจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบความครบถว้ น ของเอกสาร (ใชเ้ วลา 1 วันท�ำ การ) 2. เจา้ หน้าท่ดี ำ�เนินการ - ตรวจสอบรายละเอียดคำ�ขอ - ตรวจสอบรายงานการประชมุ - ตรวจสอบข้อบงั คับทีข่ อมตริ ับรอง หรอื ทข่ี อแกไ้ ข - พิจารณาขอ้ กฎหมายและแนวปฏบิ ตั ิ - สรุปเรื่องและจดั ท�ำ ใบส�ำ คัญแสดงการจดทะเบยี น (ใชเ้ วลา 20 วนั ทำ�การ) 3. นายทะเบียนพิจารณาจดทะเบียน และเจ้าหน้าท่ีดำ�เนินการ แจ้งผลการพิจารณาและส่งมอบใบสำ�คัญแสดงการจดทะเบียน ให้ผขู้ อจดทะเบียน (ใชเ้ วลา 4 วนั ทำ�การ) สรุป 1. ชว่ งย่ืนคำ�ร้อง 1 ขั้นตอน 1 จดุ บรกิ าร รวมระยะเวลา 1 วนั ท�ำ การ 2. ชว่ งด�ำ เนินการจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาช่วงยื่นค�ำ ขอ) 3 ขน้ั ตอน 1 จุดบริการ รวมระยะเวลา 25 วันทำ�การ 31

ข้อควรรสู้ �ำ หรับประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 21. การจดทะเบียนกรรมการองค์กรลูกจ้าง องค์กรนายจ้าง (กรรมการสหภาพแรงงาน กรรมการสหพันธ์แรงงาน กรรมการสภาองค์การลูกจ้าง กรรมการสมาคมนายจ้าง กรรมการสหพันธน์ ายจ้าง กรรมการสภาองคก์ ารนายจ้าง) 1. ผขู้ อจดทะเบยี นยนื่ ค�ำ ขอจดทะเบยี นพรอ้ มเอกสารและหลกั ฐานประกอบค�ำ ขอ จดทะเบียน (ใช้เวลา 1 วนั ทำ�การ) 2. เจา้ หน้าทดี่ ำ�เนินการ - ตรวจสอบรายละเอียดค�ำ ขอ - ตรวจสอบคุณสมบตั ิและประวตั ิกรรมการ - ตรวจสอบหนังสอื รบั รองคณุ สมบัติและตำ�แหน่ง อำ�นาจหนา้ ทขี่ องกรรมการ - ตรวจสอบรายงานการประชุม - พจิ ารณาข้อกฎหมายและแนวปฏบิ ัติ - สรปุ เรื่องและจดั ท�ำ ใบส�ำ คัญแสดงการจดทะเบียน (ใช้เวลา 20 วนั ทำ�การ) 3. นายทะเบียนพิจารณาจดทะเบียน เจ้าหน้าท่ีดำ�เนินการแจ้งผลการพิจารณา และส่งมอบใบสำ�คัญแสดงการจดทะเบียนให้ผู้ขอจดทะเบียน (ใช้เวลา 4 วัน ท�ำ การ) สรปุ 1. ช่วงยน่ื ค�ำ ร้อง 1 ขน้ั ตอน 1 จดุ บริการ รวมระยะเวลา 1 วันท�ำ การ 2. ชว่ งดำ�เนินการจนแล้วเสร็จ (รวมระยะเวลาช่วงยืน่ คำ�ขอ) 3 ขัน้ ตอน 1 จุดบรกิ าร รวมระยะเวลา 25 วนั ทำ�การ 32

ขอ้ ควรร้สู ำ�หรบั ประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการกรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน งานนิติการ 22. การใหค้ �ำ ปรกึ ษากฎหมาย กรณีลายลักษณ์อักษรท่ไี ม่มีข้อย่งุ ยาก และมีข้อเท็จจริง เอกสารและพยานหลักฐาน ครบถว้ น สำ�นกั งานเลขานกุ ารกรมรบั เร่ืองและส่งหน่วยงานที่รบั ผิดชอบ (ใช้เวลา 1 วนั ทำ�การ) หน่วยงานเจา้ ของเรื่องพจิ ารณาดำ�เนนิ การ (ใช้เวลา 15 วนั ท�ำ การ) อธิบดีพิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบและลงนาม (ใช้เวลา 4 วนั ท�ำ การ) หนว่ ยงานเจ้าของเรอ่ื งสง่ หนงั สือแจ้งผลพจิ ารณา (ใชเ้ วลา 1 วันทำ�การ) สรปุ 1. ชว่ งย่นื ขอค�ำ ปรกึ ษา 1 ข้ันตอน 1 จดุ บริการ รวมระยะเวลา 1 วันทำ�การ 2. ชว่ งด�ำ เนนิ การจนแล้วเสรจ็ (รวมระยะเวลาชว่ งยื่นคำ�ขอ) 4 ขนั้ ตอน 1 จดุ บริการ รวมระยะเวลา 21 วันทำ�การ 33

งานมาตรฐานแรงงาน 23. การพฒั นาระบบมาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001-2553 ในสถานประกอบกจิ การ เจา้ หนา้ ทด่ี ำ�เนินการรณรงค์ใหจ้ ัดทำ�มาตรฐานแรงงานไทยในสถานประกอบกิจการ สถานประกอบกจิ การ (สปก.) สมัครใจเขา้ รบั การพฒั นาระบบมาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001-2553 พัฒนาศกั ยภาพตามข้อกำ�หนดมาตรฐานแรงงานไทย ขอ้ ควรรสู้ ำ�หรบั ประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 34 พัฒนาระบบมาตรฐานแรงงานไทย ระดับสมบูรณ์ พฒั นาระบบมาตรฐานแรงงานไทย ระดับพนื้ ฐาน พฒั นาตนเอง อบรม ปรกึ ษาแนะน�ำ จาก จนท. จา้ งทป่ี รึกษา พฒั นาตนเอง อบรม ปรกึ ษาแนะนำ�จาก จนท. จ้างท่ปี รึกษา สพม.ด�ำ เนนิ การ สสค./สรพ. สปก.จัดจ้างท่ีปรึกษา สสค./สรพ.ด�ำ เนินการ สสค./สรพ. สปก.จดั จ้างทป่ี รกึ ษา จดั ฝกึ อบรมเชิงปฏิบัตกิ าร ใหค้ ำ�ปรึกษา พัฒนาระบบมาตรฐาน จัดฝกึ อบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ใหค้ ำ�ปรกึ ษา พฒั นาระบบมาตรฐาน แนะน�ำ สปก. แรงงาน แนะน�ำ สปก. แรงงาน สพม../สปก. (สปก.รบั ผดิ ชอบ (สสค./สรพ./สปก. (สปก.รบั ผดิ ชอบ รับผิดชอบคา่ ใชจ้ ่าย ค่าใช้จ่าย) รับผดิ ชอบคา่ ใชจ้ า่ ย) ค่าใช้จา่ ย) สถานประกอบกจิ การขอการรบั รองมาตรฐานแรงงานไทย (มรท.8001-2553) หรือประกาศแสดงตนเอง

ข้อควรรสู้ ำ�หรบั ประชาชน ในการตดิ ต่อราชการกรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน 24. การรับรอง มรท.8001-2553 ระดับพ้ืนฐานและระดับสมบูรณ์ (ตรวจประเมินโดย ภาคเอกชน) ระยะเวลา หนว่ ยตรวจประเมนิ ภาคเอกชนรับคำ�ขอการรับรองของสถานประกอบกจิ การ หน่วยตรวจ และตรวจสอบความครบถว้ นกรณมี เี อกสารประกอบ ภาคเอกชน นดั หมายประเมนิ กับสถานประกอบกิจการ ดำ�เนนิ การ แจง้ การนดั หมายการประเมนิ สถานประกอบกจิ การให้กรมทราบ ดำ�เนินการประเมนิ สถานประกอบกจิ การตามท่ีนัดหมาย กรณีไมพ่ บข้อบกพร่อง กรณีพบข้อบกพร่อง จัดทำ�รายงานสรุปผล กรณพี บขอ้ บกพรอ่ งยอ่ ย กรณพี บข้อบกพรอ่ งส�ำ คญั การประเมินเสนอกรม สง่ แผนการแก้ไขเสนอกรม ตดิ ตามการแกไ้ ขข้อบกพร่อง ภายใน 30 วัน ภายใน 30 วัน และจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ นบั จากวันท่ีมีการประเมิน และการแก้ไขข้อบกพรอ่ งเสนอกรม ภายใน 180 วัน นบั แตว่ ันทีม่ ีการประเมิน เจา้ หน้าทด่ี �ำ เนนิ การจดั เตรยี มการประชมุ คณะอนกุ รรมการรับรองมาตรฐานแรงงาน (ใช้เวลา 5 วันทำ�การ) ระยะเวลา คณะอนุกรรมการรับรองมาตรฐานแรงงานพจิ ารณาเสนอให้อนมุ ัตกิ ารรบั รอง จดั ทำ�รายงาน ภาครฐั การประชมุ และเวยี นคณะอนกุ รรมการพิจารณารบั รองรายงานการประชมุ (ใช้เวลา 8 วนั ทำ�การ) ด�ำ เนนิ การ จัดท�ำ ประกาศและใบรับรอง (ใชเ้ วลา 2 วันท�ำ การ) อธิบดีอนุมัติ และลงนามประกาศการรบั รองและลงนามใบรบั รองและรายงานผลการรบั รอง ให้ สสค./สรพ. รับทราบ (ใชเ้ วลา 5 วันท�ำ การ) แจ้งผลและจดั ส่งใบรบั รองทางไปรษณยี ์ พร้อมทงั้ นำ�ประกาศลงเว็บไซต์ (ใช้เวลา 1 วันท�ำ การ) 35

ขอ้ ควรรสู้ �ำ หรบั ประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน สรปุ 1. ชว่ งด�ำ เนนิ การจนแลว้ เสรจ็ (รวมระยะเวลาชว่ งยน่ื ค�ำ ขอ) 10 ขน้ั ตอน รวมระยะเวลา 21 วันท�ำ การ (ไมร่ วมระยะเวลาด�ำ เนินการของหนว่ ยตรวจภาคเอกชน) 2. ชว่ งด�ำ เนินการขั้นตอนที่ 1-5 เปน็ การดำ�เนนิ การของหนว่ ยตรวจภาคเอกชน 3. ช่วงด�ำ เนินการข้นั ตอนท่ี 6-10 เป็นการด�ำ เนินการของ กรร. หมายเหตุ 1. สถานประกอบกิจการท่ีจัดจ้างหน่วยตรวจภาคเอกชนต้องรับผิดชอบ ค่าใชจ้ า่ ยเอง 2. สถานประกอบกิจการมีเอกสารประกอบคำ�ขอครบถ้วน และประเมินแล้ว ไม่พบขอ้ บกพร่อง 3. ในขนั้ ตอนท่ี 2 ไมร่ วมระยะเวลาทรี่ อใหส้ ถานประกอบกจิ การพรอ้ มทจี่ ะรบั การ ประเมนิ 4. สสค. หมายถึง ส�ำ นกั งานสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานจังหวดั สรพ. หมายถงึ ส�ำ นกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพนื้ ท่ี กรร. หมายถึง กล่มุ งานรบั รองมาตรฐานแรงงาน 36

ข้อควรรู้ส�ำ หรับประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการกรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน 25. การรบั รอง มรท.8001-2553 ระดบั พน้ื ฐานและระดบั สมบรู ณ์ (ตรวจประเมนิ โดยภาครฐั ) สรพ./สสค.รบั คำ�ขอการรับรองของสถานประกอบกิจการและตรวจสอบความครบถว้ นของเอกสาร (กรณีมีเอกสารประกอบครบ ใช้เวลา 30 นาท)ี ระยะเวลา เสนอผ้อู ำ�นวยการ สรพ./สสค. แต่งตง้ั คณะผ้ปู ระเมนิ และตดิ ตอ่ สถานประกอบกิจการ หนว่ ยปฏบิ ัติ เพอ่ื นดั หมายประเมนิ (ใชเ้ วลา 3 วนั ท�ำ การ) (สรพ/สสค.) ด�ำ เนินการ ดำ�เนินการประเมนิ สถานประกอบกจิ การทน่ี ัดหมาย (ใชเ้ วลา 1 วันท�ำ การ) จดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ (กรณมี ีขอ้ บกพรอ่ งให้แนบแผนการแกไ้ ขดว้ ย) (ใช้เวลา 3 วนั ท�ำ การ) ส่งเรื่องให้ กรร. ทางไปรษณยี ์ (ใช้เวลา 2 วนั ทำ�การ) มอบหมายเจ้าหนา้ ท่ตี รวจสอบข้อมลู และรวบรวมรายงานผลการประเมนิ อยา่ งน้อย 10 แห่ง เสนอเขา้ ท่ีประชุม (ใชเ้ วลา 20 วนั ท�ำ การ) เจ้าหน้าทีด่ �ำ เนินการจดั เตรยี มการประชมุ คณะอนกุ รรมการรับรองมาตรฐานแรงงาน (ใชเ้ วลา 5 วนั ท�ำ การ) ระยะเวลา คณะอนกุ รรมการรับรองมาตรฐานแรงงานพิจารณาเสนอให้อนมุ ัติการรบั รอง จัดทำ�รายงาน ส่วนกลาง การประชุม และเวยี นคณะอนกุ รรมการพิจารณารบั รองรายงานการประชุม ด�ำ เนนิ การ (ใชเ้ วลา 8 วนั ทำ�การ) จัดทำ�ประกาศและใบรบั รอง (ใช้เวลา 2 วนั ท�ำ การ) อธบิ ดอี นุมัติ และลงนามประกาศการรบั รองและลงนามใบรบั รองและรายงานผลการรบั รองให้ สสค./สรพ. รับทราบ (ใชเ้ วลา 5 วันทำ�การ) แจง้ ผลและจัดสง่ ใบรบั รองทางไปรษณีย์ พร้อมทั้งน�ำ ประกาศลงเว็บไซต์ (ใชเ้ วลา 1 วันทำ�การ) 37

ขอ้ ควรรสู้ �ำ หรับประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน สรุป 1. ชว่ งด�ำ เนนิ การจนแลว้ เสรจ็ (รวมระยะเวลาการยนื่ ค�ำ ขอ) 11 ขนั้ ตอน รวมระยะเวลา 51 วนั ท�ำ การ (ไมน่ บั รวมระยะเวลารอคอย) 2. ชว่ งด�ำ เนนิ การขนั้ ตอนที่ 1-5 เปน็ การด�ำ เนนิ การของหนว่ ยปฏบิ ตั ิ คอื สรพ./สสค. 3. ช่วงด�ำ เนนิ การขนั้ ตอนท่ี 6-11 เป็นการดำ�เนินการของ กรร. หมายเหตุ 1. เปน็ กรณที ส่ี ถานประกอบกจิ การมเี อกสารประกอบค�ำ ขอครบถว้ น และประเมนิ แลว้ ไม่พบขอ้ บกพร่อง 2. ในขนั้ ตอนที่ 2 ไมร่ วมระยะเวลาทร่ี อใหส้ ถานประกอบกจิ การพรอ้ มทจี่ ะรบั การ ประเมนิ 3. สสค. หมายถงึ ส�ำ นกั งานสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงานจงั หวดั สรพ. หมายถงึ ส�ำ นกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานกรงุ เทพมหานครพน้ื ที่ กรร. หมายถึง กลุ่มงานรบั รองมาตรฐานแรงงาน 38

ข้อควรร้สู �ำ หรบั ประชาชน ในการตดิ ตอ่ ราชการกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน สาระน่ารเู้ กย่ี วกบั กฎหมายท่เี กย่ี วข้อง สทิ ธิหน้าที่นายจา้ ง ลูกจ้าง ตามพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ การใช้แรงงานท่วั ไป 1. เวลาท�ำ งานปกติ งานท่ัวไปไม่เกิน 8 ชม./วัน และไม่เกิน 48 ชม./สัปดาห์ เว้นแต่งานท่ีกำ�หนด ในกฎกระทรวง นายจา้ งและลกู จา้ งอาจตกลงกนั ก�ำ หนดเวลาทำ�งานปกติวันหนง่ึ กี่ชว่ั โมงกไ็ ด้ แตต่ อ้ งไมเ่ กิน 48 ชม./สัปดาห์ งานท่ีอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพความปลอดภัยของลูกจ้างไม่เกิน  7  ชม./วัน  และไม่เกิน 42 ชม./สัปดาห์ งานในกจิ การปิโตรเลยี มไมเ่ กิน 12 ชม./วนั และตอ้ งไมเ่ กนิ 48 ชม./สปั ดาห์ 2. เวลาพกั กำ�หนดเวลาพักระหว่างทำ�งานติดต่อกันไม่น้อยกว่า 1 ชม. นายจ้างและลูกจ้าง อาจตกลงกนั ลว่ งหนา้ พกั นอ้ ยกวา่ ครง้ั ละ 1 ชม. กไ็ ด้ แตร่ วมกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ชม./วนั นายจ้างต้องจดั เวลาพกั กอ่ นการท�ำ งานลว่ งเวลาไมน่ ้อยกวา่ 20 นาที ในกรณีทมี่ ี การท�ำ งานล่วงเวลาตอ่ จากเวลาทำ�งานปกติไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ชม. กรณีงานในร้านขายอาหารหรือร้านขายเคร่ืองดื่มท่ีเปิดจำ�หน่ายหรือให้บริการ ไม่ติดต่อกันในแตล่ ะวัน นายจ้างจะจัดใหม้ เี วลาพักระหว่างการทำ�งานวนั หนึง่ เกิน 2 ชม.ก็ได้ 3. การเรียกเก็บหลักประกนั นายจา้ งตอ้ งไมเ่ รยี กหรอื รบั หลกั ประกนั การท�ำ งาน หรอื หลกั ประกนั ความเสยี หาย ในการท�ำ งานจากลกู จา้ ง ไมว่ า่ จะเปน็ เงนิ ทรพั ยส์ นิ หรอื การคา้ํ ประกนั ดว้ ยบคุ คล  เว้นแต่งานทท่ี ำ�ตอ้ งรับผดิ ชอบเก่ียวกับเงนิ หรือทรพั ย์สนิ ของนายจา้ ง นายจ้างต้องคืนหลักประกันพร้อมดอกเบี้ย  (ถ้ามี)  ให้แก่ลูกจ้างภายใน  7  วัน  นบั แตว่ ันทน่ี ายจา้ งเลิกจา้ ง หรือลูกจ้างลาออกหรอื สน้ิ สดุ สญั ญาประกนั 39

ข้อควรรสู้ �ำ หรับประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน 4. การจัดวันหยุด นายจ้างต้องจัดให้มีวันหยุดประจำ�สัปดาห์ไม่น้อยกว่า 1 วัน โดยกำ�หนดให้มี ระยะห่างไมเ่ กิน 6 วัน นายจ้างต้องกำ�หนดให้มีวันหยุดตามประเพณีปีหน่ึงไม่น้อยกว่า  13  วัน  โดยรวม วนั แรงงานแห่งชาติ และต้องก�ำ หนดวนั หยุดดังกลา่ วจากวันหยดุ ราชการประจำ�ป ี วันหยดุ ทางศาสนา หรอื ขนบธรรมเนียมประเพณแี ห่งท้องถน่ิ นายจ้างต้องประกาศวันหยุดตามประเพณีให้ลูกจ้างทราบล่วงหน้า  และต้องจ่าย คา่ จา้ งเทา่ กับคา่ จ้างในวันท�ำ งาน นายจา้ งตอ้ งจดั ใหล้ กู จา้ งหยดุ ชดเชยในวนั ท�ำ งานถดั ไป กรณวี นั หยดุ ตามประเพณี ตรงกับวนั หยุดประจำ�สปั ดาห์ ลกู จา้ งซงึ่ ท�ำ งานตดิ ตอ่ กนั มาแลว้ ครบหนง่ึ ปี นายจา้ งตอ้ งจดั ใหล้ กู จา้ งหยดุ พกั ผอ่ น ประจำ�ปี ปีละไม่น้อยกว่า  6 วันทำ�งาน โดยนายจ้างเป็นผู้กำ�หนดล่วงหน้าหรือ ตามแต่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกัน นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างเท่ากับค่าจ้าง ในวันทำ�งาน ทั้งน้ีนายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้าให้สะสมหรือเล่ือน วนั หยดุ พักผ่อนประจ�ำ ปไี ด้ 5. การลา การลาป่วย นายจ้างต้องให้ลูกจ้างลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง  และต้องจ่ายค่าจ้าง เทา่ กบั ค่าจ้างในวนั ท�ำ งาน ปหี นึ่งไม่เกนิ  30 วนั ท�ำ งาน ท้งั นี้ วนั ลาป่วยต้ังแต่ 3 วนั ทำ�งานขึ้นไป นายจ้างอาจให้ลกู จ้างแสดงใบรับรองแพทยก์ ็ได ้ แต่ถ้าลูกจ้างไม่อาจ แสดงได้ให้ลกู จา้ งชีแ้ จงให้นายจา้ งทราบ การลาทำ�หมัน นายจ้างต้องให้ลูกจ้างลาทำ�หมันตามระยะเวลาที่แพทย์กำ�หนด และออกใบรับรอง โดยต้องจ่ายค่าจา้ งในวันลาดังกล่าว การลากิจ ลกู จ้างลาเพือ่ กิจธรุ ะอนั จ�ำ เปน็ ได้ โดยปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บังคบั เกี่ยวกับการ ท�ำ งาน การลาเพื่อคลอดบุตร นายจ้างต้องให้ลูกจ้างหญิงลาเพ่ือคลอดบุตร  ครรภ์หน่ึง ไมเ่ กนิ  90 วนั โดยใหน้ บั รวมวันหยดุ ทมี่ ีระหว่างวนั ลาด้วย และนายจา้ งตอ้ งจ่าย คา่ จา้ งเทา่ กบั คา่ จา้ งในวนั ท�ำ งานตลอดระยะเวลาทลี่ า แตไ่ มเ่ กนิ  45 วนั ไมว่ า่ ลกู จา้ ง จะทำ�งานเปน็ ระยะเวลาเทา่ ใดก็ตาม โดยลูกจ้างน้นั ไมต่ อ้ งแสดงใบรับรองแพทย์ การลาเพอื่ รบั ราชการทหาร ลกู จา้ งมสี ทิ ธลิ าเพอื่ รบั ราชการทหารโดยไดร้ บั คา่ จา้ ง ไม่เกนิ 60 วนั ต่อปี 40

ขอ้ ควรร้สู ำ�หรบั ประชาชน ในการตดิ ต่อราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน การลาเพ่ือฝึกอบรม นายจ้างต้องให้ลูกจ้างลาเพ่ือฝึกอบรมหรือพัฒนาความรู้ ตามท่ีทางราชการจัดหรืออนุญาตให้จัดขึ้น  โดยลูกจ้างต้องแจ้งถึงสาเหตุท่ีลา โดยชัดแจ้ง  พร้อมแสดงหลักฐานท่ีเกี่ยวข้องให้นายจ้างทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า  7  วันก่อนวันลา  นายจ้างจะจ่ายค่าจ้างหรือไม่ก็ได้ ตามที่กำ�หนดไว้หรือตามที่มี การตกลงกัน 6. คา่ จ้าง คา่ ลว่ งเวลา นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างไม่ตํ่ากว่าอัตราค่าจ้างข้ันต่ํา  กรณีมีการจ่ายค่าจ้างเป็น รายเดอื น ให้ค�ำ นวณ 1 เดอื นมี 30 วัน การที่นายจ้างจะให้ลูกจ้างทำ�งานล่วงเวลาในวันทำ�งานได้ต้องได้รับความยินยอม จากลกู จา้ งเป็นคราวๆ ไป เม่ือทำ�งานเกินเวลาทำ�งานปกติของวันทำ�งาน ลูกจ้างได้รับค่าล่วงเวลา  1.5  เท่า  ของอตั ราค่าจา้ งต่อชัว่ โมง ท�ำ งานในวนั หยุดในเวลาปกตไิ ดร้ บั 2 เทา่ ของอตั ราค่าจา้ งต่อชั่วโมงในวนั ท�ำ งาน  สำ�หรับลกู จ้างทไ่ี ม่ได้รบั คา่ จา้ งในวนั หยดุ ท�ำ งานในวนั หยดุ ในเวลาปกตไิ ด้ รับ 1 เทา่ ของอัตราคา่ จา้ งตอ่ ชั่วโมงในวนั ท�ำ งาน  สำ�หรบั ลกู จ้างทไ่ี ด้รับค่าจา้ งในวันหยดุ ทำ�งานล่วงเวลาในวันหยุด ได้รับค่าล่วงเวลาในวันหยุดไม่น้อยกว่า  3  เท่า ของอตั ราคา่ จ้างตอ่ ช่ัวโมงในวนั ท�ำ งานตามชัว่ โมงท่ที �ำ 7. การพกั งาน นายจ้างจะส่ังพักงานลูกจ้างเพ่ือสอบสวนความผิดได้ต่อเม่ือได้กำ�หนดอำ�นาจ พักงานไว้ในข้อบงั คบั เกี่ยวกบั การทำ�งานหรอื ข้อตกลงเก่ียวกบั สภาพการจา้ ง ต้องมีคำ�สั่งพักงานเป็นหนังสือระบุความผิดและกำ�หนดระยะเวลาพักงาน ไม่เกนิ  7 วัน โดยตอ้ งแจง้ ใหล้ ูกจา้ งทราบก่อน และต้องจ่ายเงินไม่นอ้ ยกวา่ 50% ของคา่ จา้ งในวนั ท�ำ งานทล่ี กู จา้ งไดร้ บั กอ่ นถูกพักงานในระหวา่ งการพกั งาน หากผลการสอบสวนเสร็จสิ้นปรากฏว่าลูกจ้างไม่มีความผิด  ให้จ่ายค่าจ้างให้แก่ ลูกจ้างเท่ากับค่าจ้างในวันทำ�งานนับแต่วันท่ีพักงานพร้อมดอกเบ้ีย  15%  ต่อปี  โดยค�ำ นวณเงนิ ที่จ่ายใหร้ ะหวา่ งพักงานเป็นส่วนหนง่ึ ของคา่ จ้าง 41

ขอ้ ควรรู้สำ�หรับประชาชน ในการติดตอ่ ราชการกรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน 8. คา่ ชดเชย การจ่ายค่าชดเชยปกติ ใหล้ กู จ้างซ่งึ ถูกเลิกจ้างกรณี 1. ท�ำ งานครบ 120 วันแตไ่ ม่ครบ 1 ปี มสี ทิ ธิได้รบั คา่ ชดเชยไม่น้อยกวา่ ค่าจ้าง อัตราสดุ ทา้ ย 30 วนั 2. ทำ�งานครบ 1 ปีแต่ไม่ครบ 3 ปี มีสิทธิได้รับค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อตั ราสุดท้าย 90 วนั 3. ทำ�งานครบ 3 ปีแต่ไม่ครบ 6 ปี มีสิทธิได้รับค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อัตราสดุ ท้าย 180 วัน 4. ทำ�งานครบ 6 ปีแต่ไม่ครบ 10 ปี มีสิทธิได้รับค่าชดเชยไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อตั ราสุดท้าย 240 วนั 5. ท�ำ งานครบ 10 ปีข้ึนไป มีสทิ ธิไดร้ บั คา่ ชดเชยไม่น้อยกว่า 300 วัน การจ่ายค่าชดเชยพิเศษ กรณีเลิกจ้างลูกจ้างเพราะปรับปรุงหน่วยงานกระบวน การผลิต อันเนื่องมาจากการนำ�เคร่ืองจักรมาใช้หรือเปล่ียนแปลงเทคโนโลยี  หากนายจ้างไม่แจ้งต่อพนักงานตรวจแรงงานและแจ้งให้ลูกจ้างทราบล่วงหน้า นอ้ ยกว่า 60 วันก่อนเลิกจ้าง นายจ้างต้องจา่ ยค่าชดเชยพิเศษ ดังน้ี 1. จา่ ยคา่ จ้างอัตราสดุ ทา้ ย 60 วัน แทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ 2. จ่ายไมเ่ กนิ 360 วัน เมือ่ ท�ำ งานเกนิ 6 ปขี นึ้ ไป กรณยี า้ ยสถานประกอบกจิ การ นายจา้ งตอ้ งแจง้ ใหล้ กู จา้ งทราบลว่ งหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่   30 วนั หากมผี ลกระทบส�ำ คญั ตอ่ การด�ำ รงชวี ติ ตามปกตขิ องลกู จา้ งหรอื ครอบครวั   เม่ือลูกจ้างไม่ต้องการไปทำ�งานด้วย  ลูกจ้างมีสิทธิบอกเลิกสัญญาโดยได้รับ ค่าชดเชยพิเศษไมน่ อ้ ยกว่าอัตราค่าชดเชยปกตทิ ่ีลกู จ้างมสี ิทธไิ ดร้ บั ตามกฎหมาย 9. ข้อยกเว้นไม่ต้องจา่ ยคา่ ชดเชย ลกู จา้ งลาออกเองโดยสมคั รใจ ลูกจ้างที่มีกำ�หนดระยะเวลาการจ้างไว้แน่นอน และเลิกจ้างตามกำ�หนด  สำ�หรับ งานที่ต้องแล้วเสร็จภายใน 2 ปี โดยนายจ้างและลูกจ้างทำ�สัญญาเป็นหนังสือไว้ ต้ังแต่เริ่มจ้าง  และเป็นการจ้างงานโครงการเฉพาะท่ีมิใช่งานปกติของธุรกิจ หรือการค้าของนายจ้างซึ่งต้องมีระยะเวลาเร่ิมต้นและส้ินสุดของงานท่ีแน่นอน หรืองานอันมีลักษณะเป็นคร้ังคราวที่มีก�ำ หนดการสิ้นสุดหรือความสำ�เร็จของงาน หรอื งานท่เี ปน็ ไปตามฤดูกาล และไดจ้ า้ งในช่วงเวลาของฤดูกาลน้ัน 42

ข้อควรรสู้ �ำ หรบั ประชาชน ในการติดต่อราชการกรมสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงาน ทุจริตต่อหนา้ ที่หรอื กระทำ�ความผิดอาญาโดยเจตนาต่อนายจ้าง จงใจท�ำ ใหน้ ายจ้างไดร้ บั ความเสยี หาย ประมาทเลนิ เล่อเป็นเหตุใหน้ ายจ้างไดร้ ับความเสยี หายอย่างรา้ ยแรง ฝา่ ฝนื ขอ้ บงั คบั เกยี่ วกบั การท�ำ งานหรอื ระเบยี บหรอื ค�ำ สงั่ ของนายจา้ งอนั ชอบดว้ ย กฎหมายและเป็นธรรม และนายจ้างได้ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว  หนังสือเตือน มีอายุไม่เกิน  1  ปี  นับแต่วันที่กระทำ�ผิด เว้นแต่กรณีร้ายแรงนายจ้างไม่จำ�เป็น ตอ้ งตักเตือน ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 3 วันทำ�การติดต่อกันไม่ว่าจะมีวันหยุดคั่นหรือไม่ก็ตาม โดยไมม่ เี หตุผลอนั สมควร ได้รับโทษจำ�คุกตามคำ�พิพากษาถึงท่ีสุดให้จำ�คุก เว้นแต่เป็นความผิดที่ได้กระทำ� โดยประมาท หรือความผดิ ลหุโทษท่เี ปน็ เหตุใหน้ ายจา้ งได้รับความเสยี หาย 10. สวสั ดิการ นายจ้างต้องจัดสวัสดิการเก่ียวกับสุขภาพอนามัยให้แก่ลูกจ้าง  เช่น  น้ําสะอาด  ส�ำ หรบั ดม่ื หอ้ งนํ้า หอ้ งสว้ ม และปจั จยั ปฐมพยาบาลใหแ้ กล่ ูกจา้ งตามหลกั เกณฑ์ ทกี่ ฎหมายกำ�หนด นายจ้างที่มีลูกจ้างต้ังแต่ 50 คนข้ึนไป ต้องจัดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการ ในสถานประกอบกิจการ เพ่ือร่วมประชุมปรึกษาหารือกับนายจ้างเกี่ยวกับการ จัดสวัสดิการภายในสถานประกอบกิจการและควบคุมดูแลการจัดสวัสดิการ ทนี่ ายจ้างจดั ให้แก่ลูกจ้าง กรณีนายจา้ งยา้ ยสถานประกอบกิจการไปตั้ง ณ สถานท่อี ่นื อนั มีผลกระทบส�ำ คัญ ต่อการดำ�รงชีวิตตามปกติของลูกจ้างหรือครอบครัว นายจ้างต้องแจ้งให้ลูกจ้าง ทราบ ถา้ ลกู จ้างไม่ประสงค์จะไปทำ�งานดว้ ย และบอกเลกิ สญั ญาจ้าง ให้นายจ้าง จา่ ยคา่ ชดเชยพเิ ศษให้แกล่ กู จ้างในอัตราทก่ี ฎหมายกำ�หนด 11. อตั ราโทษ กรณนี ายจา้ งฝา่ ฝืนหรอื ไมป่ ฏบิ ัติตามพระราชบญั ญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มีโทษตามความหนักเบาของความผิด ต้ังแต่ปรับไม่เกิน 2,000 บาท ถงึ จ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ 4 ปี หรอื ปรบั ตงั้ แต่ 800,000 บาท ถงึ 2,000,000 บาท หรอื ท้ังจ�ำ ทัง้ ปรับ 43