Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารวิชาการการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ฉบับที่ 25

วารสารวิชาการการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ฉบับที่ 25

Published by ED-APHEIT, 2019-07-18 06:38:16

Description: วารสารวิชาการการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ฉบับที่ 25

Search

Read the Text Version

การบริหารการศึกษาและภาวะผนูำ

การบริหารการศึกษาและภาวะผนูำ

วารสารวิชาการการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร JOURNAL OF EDUCATIONAL ADMINISTRATION AND LEADERSHIP SAKHON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ISSN 2268 – 8003 วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่บทความทางวิชาการ งานวิจัย และบทความวิทยานพิ นธ์ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา สาขาวิชาภาวะผู้นาทางการบริหารการศึกษา และ BOOK REVIEW 2. เพ่อื สนับสนุนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทางวิชาการของอาจารย์ นักศกึ ษา และนักวจิ ยั สาขาวิชาการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นา และผู้ใชบ้ ณั ฑิตทางการศกึ ษา 3. เพอ่ื สง่ เสริมเครอื ขา่ ยคณาจารย์ นกั ศกึ ษา และนกั วิจยั สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ในประเทศไทย ขอบเขตของวารสาร สาขาทร่ี บั ตพี มิ พ์ ได้แก่ ครุศาสตร์/ศกึ ษาศาสตร์ -จิตวทิ ยา -เทคโนโลยี -สหวทิ ยาดา้ นมนษุ ยศ์ าสตร์ และสังคมศาสตร์ ที่มีขอบเขตเน้อื หาท่เี กีย่ วข้องกบั ศาสตร์ดา้ นการศึกษา การบริหารการศึกษาและภาวะผู้นา โดยทกุ บทความจะได้รับการตรวจสอบทางวิชาการ จากผู้ทรงคณุ วฒุ ไิ มน่ ้อยกว่า 2 ท่าน ตอ่ หนง่ึ บทความ สานกั งานวารสาร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร อาคาร 5 ชนั้ 2 ตาบลธาตเุ ชงิ ชมุ อาเภอเมอื ง จงั หวดั สกลนคร 47000 โทร./Fax. 0-4297-0093 http://admin-edu.snru.ac.th ที่ปรกึ ษา นายปัญญา มหาชยั นายกสภามหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรีชา ธรรมวนิ ทร อธิการบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร รองศาสตราจารย์ ดร.ชนนิ ทร์ วะสีนนท์ อดตี อธิการบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัฒนา สุวรรณไตรย์ อดตี อธิการบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยา ภาวะบุตร กองบรรณาธกิ าร บุคคลภายนอก ผู้อานวยการสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมสวสั ดกิ าร ดร.ประภสั ร สภุ าสอน และสวัสดภิ าพครูและบุคลากรทางการศกึ ษา จงั หวดั สกลนคร ผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษา ดร.ภณั ฑ์รักษ์ พลตือ้ กาฬสินธ์ุ เขต 3 ผู้อานวยการโรงเรียนอนบุ าลสกลนคร ดร.เทพรังสรรค์ จนั ทรังษี อาจารย์ประจาวทิ ยาลยั บัณฑิตเอเซีย จงั หวดั ขอนแก่น ดร.ชีวิน อ่อนละออ นักวชิ าการอิสระ ดร.จกั รกฤษณ์ แก้วลา

บคุ คลภายใน คณะครุศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ศิกานต์ เพยี รธัญญกรณ์ คณะครศุ าสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา คมั ภีรปกรณ์ คณะครศุ าสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลนิ พิศ ธรรมรัตน์ คณะครศุ าสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สวสั ด์ิ โพธิวฒั น์ คณะครศุ าสตร์ ดร.สุรัตน์ ดวงชาทม คณะครุศาสตร์ ดร.ละมา้ ย กิตตพิ ร คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สายนั ต์ บญุ ใบ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวชั ชัย ไพใหล ผ้ปู ระเมนิ อสิ ระ (Peer Review) ตรวจสอบทางวิชาการประจาฉบับ รองศาสตราจารย์ ดร.ศิกานต์ เพยี รธญั ญกรณ์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร รองศาสตราจารย์ ดร.สายันต์ บุญใบ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยา ภาวะบตุ ร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลนิ พิศ ธรรมรตั น์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวชั ชยั ไพใหล มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วฒั นา สุวรรณไตรย์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชยากานต์ เรืองสวุ รรณ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประหยดั ภมู ิโคกรักษ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธันยาภรณ์ นวลสงิ ห์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ร้อยเอด็ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ ดร.สุรตั น์ ดวงชาทม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร ดร.อภสิ ิทธิ์ สมศรีสขุ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร ดร.ศศริ ดา แพงไทย มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ดร.จตรุ งค์ ธนะสีลงั กูร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ดร.พรรณี สุวัตถี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ ดร.จกั รปรุฬห์ วชิ าอัครวิทย์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ ดร.ธีระ ภูดี มหาวทิ ยาลัยกาฬสิธ์ุ ดร.รชฏ สุวรรณกฏู มหาวทิ ยาลัยนครพนม ดร.ชีวิน ออ่ นลออ วทิ ยาลยั บัณฑิตเอเชยี ดร.ฤทัยทรพั ย์ ดอกคา สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ดร.ชรินดา พมิ พบตุ ร สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 ดร.เยาวลักษณ์ สุตะโคตร ข้าราชการบานาญ

ตน้ ฉบับ นางสาวนุชรา กลุ ยะ/นายธีรเวทย์ เพยี รธญั ญกรณ์/นางสาววนิดา จนั ทร์หอม ออกแบบปก กาหนดเผยแพร่ นายธีรเวทย์ เพยี รธัญญกรณ์ พิมพท์ ี่ ปีละ 4 ฉบบั (มกราคม-มนี าคม, เมษายน-มถิ ุนายน, กรกฎาคม-กนั ยายน, ตลุ าคม-ธนั วาคม) ห้างหนุ่ สว่ นจากดั สมศกั ดิ์การพิมพ์ อาเภอเมอื ง จังหวดั สกลนคร 1773/30 ถนนรัฐพฒั นา ตาบลธาตเุ ชงิ ชุม อาเภอเมอื งสกลนคร จงั หวัดสกลนคร 47000 โทรศพั ท์ 0-4271-1896, 0-4273-6277 โทรสาร 0-4271-3552 E-mail : [email protected], [email protected]

บทบรรณาธกิ าร วารสาร การบรหิ ารการศึกษาและภาวะผู้นา (Journal of Educational Administration and Leadership Sakhon Nakhon Rajabhat University) ฉบบั น้ีเป็นปีที่ 7 ฉบบั ที่ 25 ประจาเดือนตลุ าคม – ธนั วาคม 2561 มวี ัตถุประสงค์เพอ่ื ให้เปน็ เวทีในการเผยแพร่บทความทางวิชาการ งานวจิ ัยบทความวิทยานพิ นธ์ และงานสร้างสรรค์ อน่ื ๆ ของนกั ศกึ ษา คณาจารย์ และผู้ทีส่ นใจทั่วไป อนั จะเป็นประโยชนต์ อ่ การสร้างองค์ความรู้ ทางด้านการบริหาร การศึกษาและภาวะผู้นา มกี าหนดออกปีละ 4 ฉบับ (ราย 3 เดอื น) ด้วยความมุ่งมัน่ ที่จะพัฒนาไปสู่การเปน็ วารสาร ระดบั ชาติหรือระดบั นานาชาตทิ ี่ได้รบั การยอมรับในโอกาสต่อไป การจดั ทาวารสารน้ีจึงมีความเข้มงวดกบั แนวปฏบิ ัติ และข้อช้แี นะจากผู้ทรงคณุ วฒุ ิ เพ่อื การเปน็ บรรทดั ฐานแหง่ คุณภาพ จากการที่วารสารบริหารการศกึ ษาและภาวะผู้นา ได้รับการรบั รองจากศูนย์ดชั นกี ารอา้ งอิงวารสารไทย (TCI) ให้อยใู่ นกลุ่มที่ 2 ทาให้ไดร้ บั ความไวว้ างใจจากนักวิชาการท้ังภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลัย ส่งบทความ เพอ่ื ลงตพี มิ พใ์ นวารสารของเรา ทั้งบทความวิชาการ บทความวจิ ยั และ Book Review ซึง่ บทความตา่ งๆ ในฉบับน้ี ประกอบด้วย บทความวิชาการ จานวน 3 เรือ่ ง บทความวิจัย จานวน 27 เรือ่ ง และ Book Review จานวน 1 เรื่อง ซึ่งทกุ บทความจะได้รบั กลัน่ กรองจากผู้ทรงคณุ วฒุ ิ (Peer Review) ก่อนการตพี มิ พ์ 2 ท่าน เพอ่ื ดาเนนิ การปรับปรงุ แก้ไขให้ได้บทความที่มีคุณภาพทางวิชาการ เพื่อเผยแพร่สสู่ าธารณะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในศาสตร์ ด้านการศกึ ษา การบริหารการศึกษาและภาวะผู้นา และสามารถนาผลการวจิ ัยที่คน้ พบไปพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ของไทยให้สูงขนึ้ ทดั เทียมกับอารยประเทศตอ่ ไป หวงั วา่ สาระตา่ งๆ ท่ไี ด้นาเสนอในวารสารฉบบั น้ีจะชว่ ยทาให้เกิด ประโยชนท์ างวิชาชพี ทางการศกึ ษาและภาวะผู้นาได้อยา่ งกว้างขวาง ขอขอบคุณ ผู้ทรงคุณวุฒติ รวจสอบคณุ ภาพทางวิชาการของบทความวิทยานพิ นธ์และบทความวิจยั ทกุ ทา่ น ที่ให้ความร่วมมอื สนับสนนุ ด้วยน้าใจทีด่ ยี ่งิ และขอขอบคณุ กองบรรณาธกิ าร คณะทางานทกุ ฝ่ายทีไ่ ด้ ร่วมแรงร่วมใจในการสร้างสรรค์วารสารฉบบั น้ี กรณีที่ท่านมีขอ้ คดิ เหน็ ใดๆ ทีช่ ่วยปรบั ปรุงคุณภาพให้มีความ เหมาะสมมากย่งิ ขนึ้ และขอเรียนเชญิ ส่งขอ้ เสนอแนะมาเพ่อื ทาให้เกิดการพฒั นาอย่างเหมาะสมตอ่ ไป ด้วยความยินดี และขอขอบคุณเป็นอยา่ งย่งิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยา ภาวะบุตร บรรณาธกิ าร

สารบญั บทความวิชาการ หนา้ 1 วชิ าชีพครูสู่อนาคต 10 • วาสนา วิสฤตาภา 19 การบริหารและการจัดการแบบบูรณาการเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ติ เด็กและเยาวชน 31 • สมชาย ใจไหว, ประเวศ เวชชะ, พนู ชยั ยาวิราช, สวุ ดี อปุ ปินใจ 41 51 ภาวะผู้นาของโรงเรียนเอกชน 61 • ชวี นิ ออ่ นลออ, วานชิ ประเสริฐพร, เอกราช โฆษิตพมิ านเวช 71 83 บทความวิจยั /บทความวทิ ยานิพนธ์ การการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนักเรยี น โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 • อดศิ กั ด์ิ กา่ เชียงคา่ , ละมา้ ย กิตตพิ ร, เทพรังสรรค์ จนั ทรงั ษี ปจั จัยการบริหารทีส่ ง่ ผลตอ่ ความสาเร็จของการดาเนนิ งานระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ของโรงเรียน สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 • โสพศิ ภาชนะ, ไชยา ภาวะบุตร, สุรพล บุญมีทองอยู่ การพฒั นาศกั ยภาพครูในการจดั ประสบการณ์การเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ของเดก็ ปฐมวัย โรงเรียนมารีย์พิทกั ษ์ สังกัดสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 • จันทร์เพ็ญ บุษบา, ไชยา ภาวะบตุ ร, ชรินดา พมิ พบตุ ร สภาพ ปัญหา และแนวทางการพัฒนาการดาเนนิ งานโรงเรียนประชารัฐของโรงเรียนประถมศึกษา ในจังหวัดสกลนคร • นที อรรคสงั ข์, ปรีชา คัมภรี ปกรณ์, รัชฏาพร พิมพิชัย องคป์ ระกอบภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่สง่ ผลตอ่ ประสิทธิผลโรงเรียน สังกดั สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 • อัฒนศกั ดิ์ สิทธิ, ปรีชา คัมภรี ปกรณ์, รชั ฏาพร พิมพิชัย ภาวะผู้นาทางวชิ าการของผู้บรหิ ารโรงเรียนที่สง่ ผลตอ่ ประสิทธิผลงานวิชาการ ของโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา ในกรงุ พนมเปญ ประเทศกมั พชู า • Sunkim Lor, วัฒนา สุวรรณไตรย,์ สรุ พล บญุ มีทองอยู่

สารบญั (ต่อ) บทความวิจยั /บทความวทิ ยานิพนธ์ หนา้ สภาพการปฏบิ ัติ และประสิทธิผลการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 93 สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 23 • พนิ จิ นนั ทเวช, สวัสด์ิ โพธิวฒั น์, ชรินดา พมิ พบุตร ปัจจยั ทางการบริหารทีส่ ง่ ผลตอ่ ประสิทธิผลโรงเรียนตามทัศนะของบคุ ลากรในโรงเรียน 103 สังกัดสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาบงึ กาฬ • ประภาษ จิตรักศลิ ป์, สวัสด์ิ โพธิวัฒน์, รัชฎาพร พิมพิชัย การพฒั นาศักยภาพครูในการจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารของโรงเรียนบ้านดงเสียว 113 สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 • แสงบุญ เถาโคตรศรี, ไชยา ภาวะบุตร, วรี ะวัฒน์ ดวงใจ ประสิทธิผลการดาเนนิ งานสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน 123 โรงเรียนในเครอื อัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสงผกามาศ • รัตนากร มะหตั กลุ , ไชยา ภาวะบตุ ร, ชรินดา พมิ พบตุ ร การพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรตาแหนง่ เลขานุการ ในวทิ ยาลยั ครสู ะหวนั นะเขต 133 สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว • ปาดถะหนา กลุ าวง, เพลนิ พิศ ธรรมรตั น์, ระภีพรรณ รอ้ ยพลิ า สภาพ ปัญหา และแนวทางในการพฒั นาการบริหารจดั การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 144 ในโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาสงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 23 • ณัฐชลดิ า ประกิง, สุรตั น์ ดวงชาทม, ประภสั ร สภุ าสอน การพฒั นาชดุ การเรียนรู้แบบกลวธิ ีสบื สอบร่วมกับหลกั อริยสจั 4 ทม่ี ผี ลตอ่ ความรบั ผิดชอบ 158 ความสามารถในการแกโ้ จทย์ปญั หา และผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 • ชลธิชา กลุ ยะ, มารศรี กลางประพันธ์, สมเกียรติ พละจิตต์ การพฒั นาชดุ ฝึกทักษะการอา่ นภาษาอังกฤษโดยการเรียนแบบ MIA (Murdorch) ร่วมกับแผนผังความคิด (Mind Map) ที่มีต่อการคิดวิเคราะห์ ความสามารถในการอ่านเพ่อื ความเข้าใจ และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 • รัชนี ศรีพรหม, มารศรี กลางประพนั ธ์, สมเกียรติ พละจิตต์ 168

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ บทความวิจัย/บทความวทิ ยานิพนธ์ 177 187 การพฒั นาบทเรียนบนเวบ็ โดยใชก้ ารเรียนรู้แบบชแี้ นะ ผังกราฟกิ และเทคนิค Jigsaw 196 ที่สง่ ผลตอ่ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน และความสุขในการเรียน 205 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 216 227 • ศศิวิมล สทุ ธิสวุ รรณ, มารศรี กลางประพันธ์, สมเกียรติ พละจิตต์ 237 247 ภาวะผู้นานายกองค์การบริหารส่วนตาบลทีพ่ ึงประสงค์ของประชาชนตาบลนาคณู ใหญ่ 255 อาเภอนาหวา้ จังหวดั นครพนม • ชาญชยั แมดมิงเหง้า, จิตติ กิตตเิ ลิศไพศาล, ชาติชัย อดุ มกิจมงคล ความสมั พนั ธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของบคุ ลากร กบั แรงจูงใจในการปฏบิ ัตงิ าน บ้านพักเด็กและครอบครวั ในเขตพ้นื ที่ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน 1 • ปฐมาพนั ธุ์ หันจางสิทธิ,์ ชาติชยั อดุ มกิจมงคล, จิตติ กิตติเลิศไพศาล การศึกษาระบบการบริหารจดั การของคุรุสภาในยคุ ดจิ ิทัล • ไพฑูรย์ สินลารัตน์, ทวศี กั ด์ิ จินดานรุ ักษ,์ ศุนิสา ทดลา, อโนทยั แทนสวัสด์ิ วาสนา วิสฤตาภา, ธนภทั ร จนั ทร์เจรญิ , จินตนา ปรสั พนั ธ์ การพฒั นาการจัดการเรียนรู้ตามหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ จดั การการศึกษาวิทยาลยั ครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย์ • พงษ์ภิญโญ แมน้ โกศล, กล้า ทองขาว บทบาทของผู้บริหารสถานศกึ ษาในการส่งเสริมการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ไปใชใ้ นสถานศกึ ษา สังกดั สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 32 • กีรตกิ ร หนูตอ, สรุ ินทร์ ภสู งิ ห์ ศกึ ษาปัญหาและแนวทางแก้ปญั หาการบริหารงานวชิ าการของโรงเรียนการศึกษาพิเศษ สังกดั สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื • รชั นีกร กุฎศี รี, ปณิธาน วรรณวัลย์ กลยุทธ์การใชภ้ าวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงในการบริหารงานวชิ าการของสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน • สจุ ิตรา แก้วสากล, สา่ เรจ็ ยรุ ชัย กลยุทธ์การบริหารงานวชิ าการแบบมสี ่วนร่วมในสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน • ธญั ณิชา ขันตี, ถวิล ลดาวลั ย์

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ บทความวิจยั /บทความวทิ ยานิพนธ์ 263 273 การพฒั นาดัชนดี ลุ ยภาพเชงิ วชิ าการสาหรบั การจัดการคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล : 283 กรณโี รงเรียนแก้งคร้อวทิ ยา สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 30 293 302 • ชอ่ ผกา ผลภญิ โญ, จรยิ า ภักตราจันทร์, ไพโรจน์ พรหมมเี นตร 305 306 ปญั หาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวชิ าการในโรงเรียน 307 สงั กดั สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 309 • อมุ าภรณ์ ค่าจนั ทน์, สิริศกั ดิ์ อาจวชิ ัย การบริหารจดั การสถานศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในโรงเรียน สงั กัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื • จารรุ ัตน์ ปล้ืมชยั , ปณิธาน วรรณวลั ย์ ความสัมพนั ธ์ระหว่างการบริหารงานวชิ าการกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต 3 • ชนิกา บรรจงปรุ, สรุ ินทร์ ภูสงิ ห์ Book Review ภาวะผู้นาทางวชิ าการ (Academic Leadership) • ไชยา ภาวะบุตร คาแนะนาในการเสนอบทความเพอ่ื ตีพิมพใ์ นวารสารบริหารการศึกษาและภาวะผู้นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร ขั้นตอนการส่งบทความเพอ่ื ตีพิมพว์ ารสารบริหารการศึกษาและภาวะผู้นา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร รปู แบบการเขียนบทความ แบบเสนอบทความเพ่อื พิจารณาตีพิมพใ์ นวารสารบริหารการศึกษาและภาวะผู้นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร

1 วชิ าชีพครูสอู่ นาคต วาสนา วิสฤตาภา* บทนา พระราชวรมุณี (พระยุทธ์ ปยตุ โฺ ต) (ออนไลน)์ ได้กลา่ วไวใ้ นหนงั สอื ปรัชญาการศึกษาไทยเกี่ยวกบั หน้าที่ ของครู ความตอนหนึง่ ว่า “ครเู ป็นส่อื ชักนา หรือเหนย่ี วนาการศึกษาให้แกศ่ ษิ ย์ ศษิ ยเ์ ป็นผู้ใชป้ ระโยชน์ จากสือ่ นนั้ ในการปลกู ฝงั การศึกษาให้ เกิดข้ึนแก่ตน…” “…เราเรียกหน้าที่ของครวู ่า เป็นสัปปทายก หรอื ศิลปทายก สปั ปทายก คือ อะไร สัปปทายก คอื ผู้ให้ศิลปวทิ ยา หรอื ผู้ถา่ ยทอดศิลปวทิ ยา หมายความวา่ ครอู าจารย์นั้นทาหน้าทีถ่ ่ายทอดศิลปวทิ ยาการ แก่ศิษย์ เปน็ ผู้สบื ตอ่ มรดกทางวฒั นธรรม และทางปญั ญาของมนษุ ยช์ าติ มนุษยเ์ ราค้นควา้ แสวงหาความรู้วิชาการ ตา่ งๆ ขึน้ มาแลว้ ก็มีบุคคลกลุ่มหน่งึ ทาหน้าทีช่ ่วยกันรักษาสบื ตอ่ ไว้ และแสวงหาค้นควา้ วิชาการนนั้ ๆ ให้กวา้ งขวาง ลึกซึ้งย่งิ ขึน้ ครูเปน็ ผู้นาหนา้ ทอ่ี ันน้…ี ” “....หนา้ ท่ปี ระการที่สอง เรียกว่าเป็นหน้าที่ของกลั ยาณมติ ร หน้าทีก่ ัลยาณมิตร ก็คือการเปน็ ผู้ชแี้ นะ เปน็ ผู้กระตนุ้ เตอื นในศิษยร์ ู้จักคิด รจู้ ักใชป้ ัญญา ฝึกการใชป้ ัญญาและรู้จกั รบั ผิดชอบสร้างสมคณุ ธรรมให้เกิดมขี นึ้ ในตน ให้เป็นคนไม่มีทุกข์ ไมม่ ปี ญั หาอนั นเี้ ป็นสง่ิ สาคัญ เป็นหน้าที่หลักของครู หรอื หน้าที่ทีท่ าให้ได้ชื่อวา่ เป็นคร.ู ...” กล่าวโดยสรุปได้ว่า พระราชวรมนุ ี กล่าวถึง หน้าทีข่ องครไู ว้สองประการสาคญั ประการแรก คอื การทาหน้าทีถ่ ่ายทอดความรู้ สบื ตอ่ มรดกทางวัฒนธรรมและ สรา้ งสรรค์ปญั ญาให้กบั ศษิ ยแ์ ละประการทีส่ อง คือ การเป็นกัลยาณมิตร เปน็ หลักสาคญั ของผู้ที่ทาหน้าทีเ่ ปน็ ครู จึงถือวา่ ครเู ป็นผู้ให้ทางปญั ญาแกศ่ ษิ ยโ์ ดยแท้ ดังนนั้ สู่ความเป็นครู หรอื เส้นทางในความเปน็ ครูจึงเปน็ เรื่องที่เกี่ยวข้องกับศษิ ย์ โดยพยายามทกุ วิถีทางเพือ่ ให้ศิษยเ์ ปน็ คนดี คนเก่ง และมีความสุข ครูทุกคนจึงตระหนกั อยู่เสมอที่จะให้ศิษยม์ คี วามกา้ วหนา้ มีชีวิตทีด่ ี โดยหวงั วา่ จะเป็นผู้ใหญ่ทีด่ ขี องสงั คม ในวนั ข้างหนา้ ครจู ึงตงั้ ใจท่จี ะสงั่ สอนศิษยอ์ ย่างเต็มที่ เม่อื เป้าหมายของครูเปน็ เชน่ นั้น ครูจึงตอ้ งหันมาดตู วั ครเู ปน็ หลกั ก่อน ดังคากล่าวที่ว่า “การเป็นตัวอยา่ งท่ดี ี คือการสอนที่ด”ี เพราะศิษยจ์ ะตามแบบอย่างครู ครจู ึงตอ้ งพฒั นาตนเองเริม่ ตงั้ แตใ่ จรักผู้เรียน รักศษิ ย์ รกั ทีจ่ ะสง่ั สอน หรือถ่ายทอดความรู้ให้กบั คนอน่ื มีความต้ังใจ เรื่องความรู้สกึ หรือเจตคติต่อความเป็นครจู ึงเป็นเรื่องสาคญั คือ เริม่ ตน้ ที่จิตใจรกั ที่จะเป็นครูนน่ั เอง เมอ่ื ใจรักทจ่ี ะเปน็ ครู เพือ่ ประกอบอาชพี เป็นครู จึงต้องแสวงหาว่าการเป็นครูทีด่ ี เป็นอยา่ งไร เพื่อจะได้เป็นกรอบหรอื แนวทางในการปฏบิ ัตติ นวชิ าชีพครูสู่อนาคต ในทีน่ ีห้ มายถงึ เราจะดารงตนอยใู่ น วชิ าชีพได้อยา่ งไรให้มีคณุ ภาพ เปน็ ครทู ี่สามารถจะนาพาศษิ ยไ์ ปสู่เป้าหมาย ได้ตามความสามารถของศษิ ยแ์ ตล่ ะคน ถึงแมค้ รจู ะไมใ่ ชผ่ ู้ที่มีความรู้ ความเชย่ี วชาญในศาสตร์ทกุ แขนง แตก่ ็สามารถเปน็ ผู้ชแี้ นะแนวทาง สรา้ งจุดเริม่ ตน้ ของการเดินทางให้ศิษยไ์ ด้ ดังนน้ั ในบทความน้ีจะกล่าวถึงเรือ่ งหลกั ๆ ประกอบด้วย 1. พัฒนาการของวิชาชพี ครเู พ่อื ให้รู้จุดเริม่ ตน้ ของวชิ าชีพครู 2. ผู้เรียนในอนาคต 3. บทบาทและแนวทางการพัฒนาตนของครูในอนาคต * วิทยาลยั ครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑิตย์ กรงุ เทพมหานคร

2 พัฒนาการวิชาชพี ครู ก่อนกล่าวถึง วชิ าชพี ครูที่จะก้าวสอู่ นาคต ผู้เขียนขอเล่าถึงพฒั นาการวชิ าชีพครตู ั้งแต่อดีตจนถงึ ปจั จุบัน โดยย่อสรปุ เพือ่ ให้เข้าใจถึงความเปน็ มาขอวชิ าชีพเสียก่อน หากกล่าวโดยสรุปแลว้ พฒั นาการของวิชาชพี ครู ประกอบด้วย 1. ยคุ ก่อนมพี ระราชบัญญตั ิครู พทุ ธศกั ราช 2488 - ปี พ.ศ. 2430 มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ดั ต้ังกรมศึกษาธกิ าร - ปี พ.ศ. 2438 สมัยนั้นมคี รทู ี่ไปเรียนทางการศกึ ษาจากตา่ งประเทศไม่กีค่ น ได้นาความรู้ มาเปิดอบรมครขู นึ้ ที่ “วทิ ยาทานสถาน” - ปี พ.ศ. 2443 ต้ังสภาสาหรับอบรมและประชมุ ครขู นึ้ โดยใช้ชือ่ “สภาไทยาจารย์” เปิดสอนครู ทกุ วนั พระ ซึง่ เป็นวันหยุดราชการ ทาหนังสอื พิมพส์ าหรับครขู ้นึ เป็นคร้ังแรกชอ่ื หนังสือพมิ พว์ ิทยาจารย์ - ปี พ.ศ. 2445 กรมศึกษาธกิ ารได้ตั้งสถานทีป่ ระชุมอบรมและสอนครูในรูปสมาคมขึน้ ใชช้ อ่ื วา่ “สามคั ยาจารย์สโมสรสถาน” - ปี พ.ศ. 2447 ได้เปลีย่ นเปน็ “สามัคยาจารย์สมาคม” 2. ยคุ รุ่งอรุณของวิชาชพี ครู เป็นยคุ ท่มี กี ารตราพระราชบัญญตั ิครู พ.ศ. 2488 มีสาระสาคญั คือ ให้มีสภาในกระทรวงศึกษาธกิ าร เรียกว่า คุรุสภา ท้ังนีใ้ ห้ครุ ุสภาปฏิบัตหิ นา้ ท่แี ทนสามคั ยาจารยส์ มาคมในเรื่องของ วชิ าชีพ ควบคุมจรรยาบรรณ, วนิ ยั ของครู และที่สาคญั คือทาหนา้ ท่แี ทนสานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน (ก.พ.) การปฏริ ูปการศึกษาจะไมส่ าเร็จถ้าไม่ปฏริ ปู ครู รฐั ต้องจดั หลักประกนั ให้แก่อาชีพครู สร้างจรรยาบรรณครู ขึน้ เพอ่ื ควบคุม ความประพฤติครู ครูต้องมใี บอนญุ าตประกอบวิชาชพี ครู 3. ยคุ แหง่ ความคิดและความพยายาม ในปี 2523 ครุ ุสภาได้จดั ประชมุ สมั มนาเพือ่ ยกระดับ มาตรฐาน วชิ าชีพครูข้นึ มีการศกึ ษาวจิ ัยเพอ่ื เตรียมขอ้ มูล การแก้ไขพระราชบัญญตั ิครู พ.ศ. 2488 เพื่อให้เอ้ือตอ่ การออก ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ครู ได้ศึกษาแนวทางการออกใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ครู ระบุคุณลักษณะที่สาคญั สาหรบั ผู้ประกอบวิชาชพี ครไู ว้ 4 ประการ คือ รอบรู้ สอนดี มคี ณุ ธรรมจรรยาบรรณ มุ่งมั่นพัฒนาเกณฑม์ าตรฐาน วชิ าชีพครูของครุ ุสภา พ.ศ. 2537 ทพ่ี ฒั นาใหม่ มี 11 มาตรฐาน มสี าระครอบคลมุ เกณฑ์มาตรฐานวชิ าชีพครูเป็น 5 ระดับ แต่ละระดบั ประกอบดว้ ย ครปู ฏบิ ัตกิ าร ครชู านาญการ ครเู ช่ยี วชาญ ครูผู้เชย่ี วชาญพเิ ศษ และครู ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 4. ยุคทองของวชิ าชีพครู รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 ปรับปรุงการศึกษา ให้สอดคลอ้ งกับการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมสร้างเสริมความรู้ และปลูกฝงั จิตสานกึ ท่ถี ูกต้อง เกี่ยวกบั การเมอื ง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย เร่งพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยเี พอ่ื การพฒั นาประเทศพฒั นา วชิ าชีพครู ซึง่ สอดคล้องกับ ศริ ลิ กั ษณ์ ปะตนิ ัง (2558) ท่ไี ดก้ ลา่ วไวเ้ กี่ยวกบั พฒั นาการวิชาชพี ครู ว่าเป็นการปฏริ ปู ระบบสงั คมของครไู ทยเพอ่ื ดารงไวซ้ ึง่ ครูคณุ ภาพ เพอ่ื การเปน็ ครูมอื อาชพี มีการจัดระบบการออกใบอนญุ าตประกอบ วชิ าชีพครซู ึ่งเปน็ รปู แบบหนง่ึ ของการยกระดับมาตรฐานวชิ าชีพทางการศกึ ษา วิชาชพี ครใู นอดตี เปน็ วชิ าชีพที่มีเกียรติ สูงเปน็ ที่ยกย่องนับถือของคนทั่วไปในสังคม และเปน็ วชิ าชีพที่คนเก่ง คนดี ใฝ่ฝนั ที่จะเป็นครู แต่เมอ่ื บริบทของสงั คม เปลี่ยนไป เป็นค่านยิ มแบบบริโภคนยิ ม เปน็ ช่วงเวลาของเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สารทีไ่ รพ้ รมแดน ดงั ท่ี ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์ ได้กลา่ วไวใ้ นงานเสวนา ไพฑรู ิยเสวนา ครงั้ ที่ 2 ว่าการศกึ ษาไทย 3.0 ซึ่งเป็น การศึกษาไทยในยุคเทคโนโลยี ยุคโลกาภิวัตน์ และก้าวเข้าสกู่ ารศกึ ษาเพ่อื ชุมชนนานาชาติ การศึกษายุคผลิตภาพ เป็นยคุ ของการศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ ซึง่ ได้มีกล่าวแลว้ ในบทความก่อนน้ี

3 นอกจากนี้ยงั มอี กี สิง่ ทผี่ ู้เขียนเหน็ ว่ามคี วามสาคญั นน่ั คือ ท่มี าของวนั ครู วนั ครเู กิดข้ึนเมอ่ื 21 พฤศจิกายน 2499 คณะรฐั มนตรี มีมติ ให้วนั ที่ 16 มกราคม ของทุกปี เปน็ วนั ครู โดยถือเอาวนั ทีป่ ระกาศ พรบ.ครู ในราชกิจ จานุเบกษา เมื่อ 16 มกราคม 2488 เปน็ วนั ครู และงานวนั ครจู ดั ขนึ้ ครั้งแรกเมื่อ วนั ที่ 16 มกราคม 2500 ณ กรีฑาสถานแหง่ ชาติ โดยมีหลกั การให้มีอนสุ รณ์งานวันครเู พอ่ื เปน็ อนุสรณ์แกอ่ นุชนรุ่นหลังทุกปี เช่น หนงั สอื ประวัตคิ รู หนังสือที่ระลึกวันครแู ละสิ่งกอ่ สร้างที่เปน็ ถาวรวัตถุ จากนจี้ ะขอกลา่ วถึงพฒั นาการวชิ าชีพครพู อสงั เขป เพือ่ ประโยชน์ในการทาความเขา้ ใจวิชาชพี ครู ดังน้ี ในระหว่างสงครามโลกครงั้ ที่ 2 (2484-2488) วิชาครใู นโรงเรียนฝึกหดั ครปู ระถมและมธั ยม ยังเปน็ แบบ ด้ังเดิมคือ “การสอนตามขั้นท้ัง 5 ของแฮร์บารต์ ” นกั เรียนครูออกฝึกสอนตามโรงเรียนต่างๆ ต้องเตรียมการสอน ตามแบบท้ังส้นิ หลังสงครามโลกสงบลงนกั เรียนไทยทีเ่ รียนวชิ าครูในอเมริกากลับมาและเริ่มเผยแพร่การสอนแบบ พพิ ฒั นาการ แต่กย็ งั ไม่แพร่หลาย ทาให้ครปู ระถมรสู้ ึกตา่ ต้อยกว่าครมู ัธยม เช่นเดียวกบั ครอู าชวี ะศกึ ษารวมทั้ง พวกศึกษาธกิ ารอาเภอ หลงั ปี 2490 มีนกั เรียนครไู ทยรับทุนไปศึกษาท่ี องั กฤษและอเมริกามาก โดยตอนแรกเป็นทุนของอเมริกา ตอ่ มาเป็นทุนของรัฐบาลไทย จานวน 100 ทนุ เม่อื ไปเรียน 4-5 ปีแล้วนักเรียนทนุ เหลา่ นตี้ อ้ งรีบกลบั มาทางานใช้ทุน ปี 2495 โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสงู ถนนประสานมิตร เริ่มสอนวชิ าครตู ามแนวคิดแบบ พิพัฒนาการ และทีส่ าคญั คือ ได้เริ่มสอนปรัชญา Experimentalism และหลกั จิตวทิ ยาเกสตอลท์ เป็นคร้ังแรกด้วย ในปี 2496 โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ถนนประสานมิตร ได้ยกฐานะเปน็ วทิ ยาลัยวชิ าการศึกษา (ปจั จุบันคอื มศว.ประสานมิตร) จึงสามารถเปลีย่ นระบบฝึกหดั ครแู ละฝึกหัดศกึ ษาธิการอาเภอและจังหวัดได้ทั้งระบบ คือ เปลีย่ นหลักสตู ร วิธีสอน วดั ผล การบริหารสถานศกึ ษา ทาใหค้ รปู ระถม ครมู ัธยม ครอู าชีวศกึ ษา ศกึ ษาธิการอาเภอ/ จังหวดั ได้เรียนในระดับปริญญาตรี-โท-เอก ทางการศึกษาโดยเท่าเทียมกนั ตามสาขาของตน ไมม่ กี ารเหล่อื มล้าหรือ ต่าตอ้ ย อาจกล่าวได้ว่า วิทยาลยั วชิ าการศกึ ษา หรอื วศ. เป็นสว่ นหน่งึ ของกระบวนการการศกึ ษาแบบพพิ ฒั นา การซึง่ เริม่ ตน้ โดยรุซโซ ชาวฝร่ังเศส อน่งึ ท่วี า่ เปลี่ยนไปท้ังระบบนน้ั คอื ได้เปลีย่ นสง่ิ ตอ่ ไปนี้ 1. หลักสตู ร ใชร้ ะบบหนว่ ยกิต (credit system) แทนเปอร์เซ็นต์ อา่ นหนงั สือของนักการศึกษา หลากหลาย ฝึกค้นคว้าในหอสมดุ มีหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ มีปฏบิ ตั งิ านในโรงเรียนสาธิต เป็นต้น 2. วธิ ีสอน เริ่มใชว้ ธิ ีการแห่งปัญญา (method of intelligence) เป็นวธิ ีการสอนแทนขนั้ ทั้งหา้ ของ แฮรบ์ ารต์ นาวิธีการคดิ ของมนษุ ยม์ าปรบั ใชเ้ ป็นวิธีการสอน 3. วธิ ีการวดั ผล ได้ปรบั ไปตามลักษณะของแตล่ ะหลกั สตู ร มีการสอบบ่อยๆ มีการใชข้ ้อสอบ มาตรฐาน มีการเขียนรายงาน ภาคนิพนธ์ (term paper) สอบกลางภาค ปลายภาค ผลที่วดั ออกมาเป็น GPA (Grade Point Average) แทนที่จะเปน็ เปอร์เซ็นต์ 4. การบริหารสถานศกึ ษา นอกจากจะใชว้ ธิ ีแห่งปัญญาในการตดั สนิ ใจแลว้ ยังได้สร้างระบบความเปน็ ประชาธิปไตยทาให้เกิดบรรยากาศทางวิชาการอย่างใหม่ ซึง่ ชืน่ ชมและตน่ื เตน้ กนั มากในยุคนั้นอาจกล่าวได้ว่า หลังปี 2496 เปน็ ต้นมา มีการผจญภัยทางการศกึ ษา (Adventure in Education) ครง้ั ใหญ่ทางการศกึ ษาไทย สบื เน่อื งกนั มาเปน็ ลาดับ จาก 2528 เป็นต้นมา มีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งใหมเ่ กิดข้ึนอกี หลายอยา่ ง เน่อื งจากโลกเข้าสยู่ คุ โลกาภิวัตน์ จึงเป็นเรือ่ งที่นกั การศกึ ษาและครทู ้ังหลายท้ังปวง จะได้คอยเฝา้ ดูการเปลีย่ นแปลงและปรบั ตัวให้ทนั กับการ เปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดข้ึนเหลา่ นั้นอย่างต่อเน่อื ง

4 ระบบการคดั เลอื กคนมาเรียนวิชาครู ในระยะแรกของการฝึกหดั ครไู ทย ระบบยังสามารถคัดเลอื กคนดี คนเก่งที่สดุ ของแต่ละจังหวดั เข้าเรียนครู จนกล่าวได้วา่ ครูคอื คนที่เก่งทีส่ ุดของประเทศ ได้รับการยกย่องวา่ เป็น “แมพ่ มิ พข์ องชาต”ิ มเี กียรตแิ ละศักด์ศิ รีสูงยิ่ง แตต่ อ่ มาวิชาชคี รไู ด้ตกต่าลงไปมาก จนเปน็ ที่ยอมรบั กันโดยท่วั ไป ทกุ ภาคส่วนของสงั คม ตอ่ เมอ่ื มีการพฒั นาระบบการศึกษามากขีน้ มกี ารออกกฎหมายให้มกี ารศึกษาบังคับ จึงมคี วามตอ้ งการครู มากขึ้น ครูกลายเปน็ อาชพี หนึ่ง มคี ่าตอบแทน มีสถานท่ถี ่ายทอดความรู้ จึงมคี นนยิ มประกอบอาชพี นีม้ ากขึ้น มีการ จัดตั้งสถานฝึกหัดครหู ลายชื่อ หลายระดับ เพ่อื ทาหน้าที่คดั คนเก่ง ผลิตและพฒั นาอบรม บคุ ลากรผู้ทีจ่ ะออกไป ประกอบอาชพี ครกู ระจายอยู่ทุกภูมภิ าคของประเทศไทยจนปจั จุบนั การเร่งการผลิตครเู ป็นจานวนมาก ทาให้มีนกั เรียนครแู ละเรียนจบมาแลว้ เกินความจาเป็นเป็นจานวนมาก ทาให้ตาแหนง่ ที่จะรบั บรรจไุ มพ่ อ จึงมที ั้งผู้สมหวังและผิดหวงั ในการเข้าประกอบอาชพี ครู เป็นจานวนมากจนปัจจุบัน การลดความสาคญั ในการประกอบวิชาชพี ครูคนทีเ่ รียนครไู มไ่ ด้ต้ังใจทีจ่ ะเป็นครูอย่างแท้จริงเพราะมกั จะเลอื กเรียน เปน็ ลาดบั ท้ายๆ จึงมักจะได้ยินวา่ ไม่รู้จะเรียนอะไรแลว้ มาเลอื กเรียนครู ปัจจบุ ันการบรรจุคนท่เี รียนครูมาแล้วไม่สามารถทาได้ทั้งหมด ประกอบกับรายได้ที่ไม่สมดุลกบั รายจ่ายทา ให้ครเู ป็นหนสี้ ินกนั มาก ดงั นน้ั คนทีเ่ รียนเก่งไม่อยากมาเรียนครจู ึงมมี าตลอด เปน็ ผลทาให้วชิ าชพี ครตู กต่าตลอดมา สาเหตุอาชพี ครตู กตา่ ในปัจจุบัน 1. การลดความสาคญั ในการประกอบอาชพี ครู โดยคนที่เรียนครไู มไ่ ด้ต้ังใจจะเป็นครอู ย่างแท้จริง เลอื กเรียนเปน็ อนั ดับท้ายๆ หรอื ไปไหนไมไ่ ด้ เลยมาเรียนครู เปน็ ต้น 2. ผู้เป็นครขู าดการพัฒนาตนเอง ครสู ่วนใหญ่เมอ่ื จบจากสถาบนั การฝึกหัดครแู ล้วไมไ่ ด้พัฒนาตนเอง ไมศ่ กึ ษาตอ่ ใชค้ วามรู้เดิมตอนเรียนจบมา ทาให้ปรับตัวเองไม่ทันการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ที่เกิดข้ึนตลอดเวลา 3. ขาดการวจิ ยั และพฒั นาตวั เอง ทาให้ศาสตร์สาขาการศกึ ษามผี ลการวจิ ยั และพัฒนาน้อยมาก เมอ่ื เทียบกับสาขาอ่นื ๆ เชน่ แพทย์ และวิศวกรรม เป็นต้น 4. ค่าตอบแทนของครูไมส่ มดลุ กบั คา่ ครองชีพ สังคมเป็นวัตถุนิยมมากขึน้ ค่าครองชีพสงู ขนึ้ รายได้ของ ครมู ีมาทางเดียว จึงทาให้ครจู านวนหนง่ึ เป็นหนสี้ ินจนกลายเปน็ ปญั หาระดบั ชาติ 5. ใหค้ วามสาคญั กบั สายงานบริหารการศึกษามากไป ครูผู้สอนมโี อกาสและความกา้ วหนา้ น้อยกวา่ ตาแหนง่ บริหาร ทาให้ครเู ก่งเปลี่ยนสายไปเป็นผู้บริหารกนั มาก 6. ขาดเสรีภาพทางวิชาการ หลกั สตู รกาหนดให้สอนตามจุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมและวางระเบียบไว้ เข้มมาก ทาให้มองวา่ ครูสอนไมเ่ ปน็ ไมม่ คี วามคิดสร้างสรรค์ ขาดเสรี 7. ขาดการศกึ ษาวฒั นธรรมประเพณี และสภาพของชุมชน ครทู ีส่ อนในโรงเรียนสว่ นใหญ่ไม่ใชค่ นในพ้ืนที่ มาชว่ งเวลาหนง่ึ แลว้ ขอยา้ ย ทาให้ไม่เข้าใจวัฒนธรรมชมุ ชนและการปลกู ฝังคนในชมุ ชนอยา่ งถูกตอ้ ง 8. สถานศกึ ษาสว่ นใหญข่ าดการทางานเชิงรุก ถนดั ในการตงั้ รบั มากกวา่ ชุมชนและโรงเรียนขาดการ ร่วมมอื ในการพฒั นาการศึกษาอย่างจรงิ จัง ผู้ปกครองไมค่ ่อยมสี ่วนร่วม ทาให้ขาดการยอมรบั จากชมุ ชน ดังนน้ั พระราชบญั ญตั ิ การศึกษาแห่งชาติ 2542 และแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) 2545 จึงกาหนดให้มกี าร ปฏริ ูปการศึกษาทง้ั ระบบ ซึ่งรวมท้ังปฏิรูปครแู ละผู้บริหารการศึกษาด้วย ตงั้ แตป่ ี 2543 เปน็ ต้นมา รปู แบบการเรียนการสอนจึงต้องเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมมากพอสมควร จนอาจ เรียกได้ว่า เป็นการปรบั กระบวนทัศน์ในการทาหน้าทีค่ รผู ู้สอน การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ขี องครผู ู้สอนยคุ ใหม่ ท่รี บั ผิดชอบนนั้ พอสรปุ ได้ 3 รายการสาคญั คอื

5 1. งานประจา คือ งานการเรียนการสอน ครผู ู้สอนที่จะทาหนา้ ที่ให้สมบูรณ์น้ันจะตอ้ งมีขนั้ ตอนและ กระบวนการ ดงั น้ี คือ 1) การทาความรจู้ ักกบั ผู้เรียนทุกคน 2) เก็บรวบรวมขอ้ มลู เป็นรายบคุ คล 3) ข้อมลู ภูมหิ ลงั ความสามารถทางการเรียน 4) ความตอ้ งการของผู้เรียน 5) ปญั หาส่วนตัวรวมท้ังปญั หาทางบ้าน 6) วิเคราะห์เพอ่ื หา ศักยภาพของผู้เรียน เพอ่ื ดูว่าผู้เรียนมศี กั ยภาพทางด้านปญั ญาด้านไหนมากที่สุด โดยครจู ะต้องมคี วามรู้ดา้ นจิตวิทยา หรือเทคนิคทางพหปุ ัญญา เข้ามาช่วย หากมีความรไู้ มพ่ อกต็ ้องปรึกษาผู้เชย่ี วชาญเฉพาะด้านร่วมกันสร้างวสิ ยั ทัศน์ กบั ผู้เรียน และ 7) กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนสร้างความฝันของตนเองใหม้ ากทส่ี ดุ ซึ่งครตู อ้ งศึกษาข้อมูลแตล่ ะคนทีร่ วบรวมไว้ เปน็ ที่ยอมรับกันวา่ ครูผู้สอนในสถานศกึ ษานอกจากจะทาหนา้ ที่สอนแลว้ ยงั ตอ้ งรบั ผิดชอบงานอื่นๆ ตามทีผ่ ู้บงั คับบัญชามอบหมายนอกเหนอื จากการจดั การเรียนการสอน อาทิ เปน็ เจ้าหนา้ ทก่ี ารเงินบญั ชี เจ้าหน้าที่ ฝ่ายพัสดุ เจา้ หนา้ ท่ฝี ่ายประชาสมั พันธ์ ครูเวร นายทะเบียน ทางานต่างๆ เพื่อวางแผนการเรียนรู้ ตลอดจนร่วมในการ วางแผนการวัดผลการเรียนรู้นั้นๆ ด้วย เชน่ ให้คาแนะนากับผู้เรียน ผลิต สรรหาและสนับสนนุ สอ่ื การสอน ใหผ้ ู้เรียน รู้จกั การสร้างองค์ความรู้ สรา้ งกาลังใจ ร่วมประเมินผลที่หลากหลาย รายงานผล 2. งานพเิ ศษเพ่มิ เตมิ ที่ได้รบั มอบหมายจากการวางแผน เพื่อรวบรวมรปู แบบกิจกรรมที่จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต เป็นการตัดสนิ ใจวา่ จะเกดิ อะไรข้นึ เมอ่ื ไหร่ และจะดาเนินการให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ การบริหาร เวลาทม่ี ี นอ้ ย ถือเปน็ กิจวัตรหน่งึ ของการทาหน้าที่ครผู ู้สอน 3. งานจร คือ งานตามทผี่ ู้บริหารขอความร่วมมอื จากครูในโรงเรียน เชน่ งานประเพณี เทศกาลของชาติ รวมทั้งงานร่วมกับชุมชนตา่ งๆ การประกอบอาชพี ครู ในปจั จบุ นั มคี วามรบั ผิดชอบมากขึ้น ทงั้ ภาระงานประจาทต่ี อ้ งช่วยกันขบั เคลื่อน การปฏริ ปู การศึกษา ตอ้ งแก้ปญั หาทซ่ี บั ซ้อนและละเอยี ดอ่อนของผู้เรียน ภาระงานพิเศษทีแ่ ขง่ กับเวลา และงานจร ตา่ งๆ ก็ตาม ผู้ทีจ่ ะประกอบอาชพี ครจู าเป็นต้องปรบั ตัวรวมทั้งพัฒนาตนเองให้ทันกับความเคลือ่ นไหวกับพลวตั ที่เกิดข้ึน มีกระบวนการบริหารเวลาที่มีประสิทธิภาพ เพราะเรายงั เช่อื ในปรัชญาของเพอ่ื นครูที่มรี ่วมกนั คอื “การสร้าง คน” หากคนทีเ่ ราสรา้ งนั้นเปน็ คน “เก่ง” เป็นคน “ดี” แลว้ ถามวา่ ใครมีความสุขมากทีส่ ดุ โชติมาพร ไชยสิทธิ์ (ออนไลน์) ได้กลา่ วถึง นิยามของทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 เกีย่ วกบั ผู้เรียนในอนาคตไวว้ า่ ประกอบด้วย คณุ ลกั ษณะ 4 ประการ ได้แก่ 1. วถิ ีทางของการคดิ คือ สรา้ งสรรค์ คิดวจิ ารณญาณ การแกป้ ญั หา การเรียนรู้และตัดสนิ ใจ (Ways of Thinking, Creativity, Critical Thinking, Problem-solving, decision- Making and Learning) 2. วถิ ีทางของการทางาน คือ การติดต่อส่อื สารและการร่วมมอื (Ways of Working. Communication and Collaboration) 3. เคร่อื งมือสาหรบั การทางาน คือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และความรู้ดา้ นข้อมลู (Tools for Working, Information and Communications Technology, and Information Literacy) 4. ทักษะสาหรับดารงชวี ติ ในโลกปัจจบุ ัน คือ ความเปน็ พลเมือง ชีวิตและอาชีพ และความรับผดิ ชอบ ตอ่ ตนเองและสังคม (Skills for Living in the World, Citizenship, Life and Career, and Personal and Social Responsibility) นอกจากนั้น ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สินลารตั น์ ยังไดก้ ล่าวถงึ ปัญหาของครศุ กึ ษาไทยไว้ 4 ประเดน็ ดังนี้ 1. เรายงั ไม่ได้คนเก่งมาเป็นครู ในการประชุมอาเซียนพูดเปน็ เสียงเดียวกนั วา่ เรายังไม่ได้คนเก่งมาเปน็ ครู ยกเวน้ ประเทศสิงคโปร์ เราต้องพยายามให้คนเก่งและคนดมี าเปน็ ครูให้ได้ เรื่องทนุ เปน็ เรื่องสาคญั มีความจาเป็นใน การพฒั นาครู

6 2. สถาบนั คุรุศึกษายงั ไม่ใช่สถาบันชั้นเลิศ คนที่เข้าทางานมีคุณภาพยงั ไม่สงู เท่าที่ควร ทางานกนั หลากหลายไมค่ ่อยมีจุดเด่น เปน็ สง่ิ ที่ต้องคิดให้มาก 3. วชิ าชีพครเู กี่ยวข้องกบั หลายฝ่ายมาก ไมม่ หี นว่ ยงานใดทางานได้เพยี งลาพัง คณะครศุ าสตร์/ ศกึ ษาศาสตร์ก็ทาไมไ่ ด้ คุรสุ ภายงั ทาไมไ่ ด้ ก.ค.ศ. กท็ าไมไ่ ด้ เขตพืน้ ที่เป็นระบบเชอ่ื มโยงกนั ไปหมด เพราะฉะน้ันการ ทีเ่ ราจะยกระดับวิชาชพี ครเู พ่อื ให้ได้คนที่มีคุณภาพจรงิ ๆ ทุกหนว่ ยงานตอ้ งทางานเชือ่ มโยงกัน 4. ทางานด้วยผลการวจิ ัย วงวิชาการบ้านเรายงั ให้ความสาคญั กบั การสอนนอ้ ย ในสถาบนั ผลติ ครูยังเนน้ การสอนตามสามญั สานกึ ตามประสบการณ์ ตามอยา่ งคนอน่ื ซึ่งไมเ่ พยี งพอ เพราะทาได้เพยี งให้ผู้เรียนของเรา แค่คิดตามและทาตามเท่านนั้ จาก 4 ประการนี้ ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑรู ย์ สินลารตั น์ จึงมคี วามเหน็ ว่า ครคู วรจะพฒั นาไปสู่ creative and productive teacher education เปน็ การฝึกหัดครทู ีม่ ีความคิดใหมแ่ ละมีผลงานอาจารย์ เม่อื สร้างครใู ห้ สามารถทาสิง่ เหลา่ นไี้ ด้แล้ว ก็จะสามารถผลักดันและเนน้ ใหผ้ ู้เรียนมี Critical Mind, Creative Mind, Productive Mind และ Responsibility Mind กระบวนการสอนก็เน้นตามกันมา คือ ต้องสอนแบบ Criticality-Based, Creativity-Based, Productivity-Based และ Responsibility-Based ซึง่ ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑรู ย์ สินลารตั น์ เห็นว่าเป็นแนวทางทค่ี วร สอนในสถาบนั ครุศกึ ษา ซงึ่ เป็นจุดเริ่มตน้ ของการพฒั นาผู้เรียน น่นั กค็ อื การพฒั นาครใู ห้มีสง่ิ เหล่าน้อี ยใู่ นตัวเสียก่อน จากนั้นเม่อื เรียนรู้และเขา้ ใจถ่องแท้แล้วกจ็ ะสามารถถ่ายทอดใหผ้ ู้เรียนของตนตอ่ ไปได้ บทบาทและแนวทางการพัฒนาตนของครูในอนาคต พระราชวรมณุ ี (พระยุทธ์ ปยตุ ฺโต) ในที่นจี้ ะกล่าวถึง บทบาทและแนวทางการพัฒนาตนของครเู ป็นขอ้ ๆ เพอ่ื สะดวกในการหยิบใชแ้ ละทาความเขา้ ใจ ดงั น้ี 1. บทบาทของครใู นการเป็นผู้สนับสนนุ ส่งเสริม และพัฒนาเยาวชน โดยการให้การศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพ แก่ผู้เรียน ให้ความรู้ทั้งวิชาสามญั และวิชาชพี ตามหลกั สตู ร ครูเปน็ ผู้มบี ทบาทสาคัญไมว่ า่ จะจัดการสอนโดยวธิ ีใด ครูต้องมกี ารวางแผนและเตรียมการสอนเป็นอยา่ งดี ไมล่ ะท้งิ ผเู้ รียน และมีการจดั กิจกรรมเสริม เพือ่ ให้ผู้เรียนเข้าใจ ในบทเรียนยิ่งข้นึ ปลกุ เร้า ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดเปน็ แก้ปัญหาเป็น สามารถดารงชีวิตอยู่ในสงั คมปัจจุบันได้อยา่ ง เหมาะสม มีความสขุ ตามสมควรแก่อตั ภาพ 2. บทบาทของครูในการเป็นผู้นาดา้ นศลี ธรรม คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม โดยการประพฤติตนให้ เปน็ แบบอย่างที่ดแี ก่ศิษย์ มีศีลธรรม สุขภาพ มีความเมตตากรณุ า เอ้อื อาทรตอ่ ความเป็นอยขู่ องศิษย์ คอยชว่ ยเหลอื เม่อื ศิษยม์ ปี ัญหา มคี วามอดทนและเสียสละ 3. บทบาทของครใู นการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมอื ง การปกครอง ด้านเศรษฐกิจ ทาให้ครูตอ้ ง สอนให้ผู้เรียนมคี วามรู้และทกั ษะในการทางานตา่ งๆ เพอ่ื ผู้เรียนจะได้มีความรู้ที่เป็นไปตามมาตรฐานและสามารถ ทางานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมเรื่องของการประหยดั การออม การดูแลสุขภาพอนามยั การจัดอบรมอาชพี การแนะนาเกีย่ วกบั เทคโนโลยที ชี่ ว่ ยเสริมสร้างการทางานให้มีประสิทธิภาพ ด้านสังคม ครมู สี ่วนช่วยในการพัฒนาสงั คม โดยการให้ความรู้แกค่ นในชุมชน ไมว่ า่ จะเป็นความรู้วิชา สามัญหรือวชิ าชีพกต็ าม เพราะจะทาให้คนในชมุ ชนมพี ้ืนฐานการศกึ ษาอนั จะนาไปสู่ความรู้และความเข้าใจในเรื่อง ตา่ งๆ รอบๆ ตวั ได้งา่ ยขนึ้ นอกจากน้ันครูยงั มสี ่วนช่วยในการริเริ่ม ส่งเสริมและแนะนาในเรื่องการประกอบอาชพี ความเปน็ อยู่ และการพฒั นาชุมชนให้มีความเป็นอยทู่ ี่ดี

7 ด้านการเมอื งการปกครอง ครตู อ้ งจัดการเรียนการสอนให้สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มและระบบ การเมอื งการปกครองของประเทศ และมสี ่วนช่วยในการพฒั นาการเมอื งการปกครอง ให้มีความมั่นคง โดยการให้ ความรู้ในเรื่องระบบการปกครองของประเทศ โดยเฉพาะระบอบประชาธิปไตยแก่ผู้เรียนและคนในชุมชน สนบั สนุน และฝึกหดั ให้นกั เรียนรู้จักรปู แบบการปกครองประเทศ โดยให้มีการจดั ตั้งสภานักเรียน การเลือกหวั หน้าช้ัน เปน็ ต้น นอกจากนั้นครูยงั ช่วยแนะนาประชาชนในเรื่องการเลอื กตงั้ ผู้แทนในระดับต่างๆ อยา่ งถกู ตอ้ ง 4. บทบาทของครูในการช่วยสง่ เสริมศาสนาและวัฒนธรรม โดยการชว่ ยทานบุ ารงุ รกั ษาศาสนาให้มี ความมน่ั คงควบคู่กับสถาบันชาติและพระมหากษตั ริย์ มีความเลอ่ื มใสและศรัทธาในศาสนาทน่ี บั ถือ ปฏบิ ัตติ าม หลักธรรมและปฏบิ ัตศิ าสนกิจเป็นประจา ครจู ะตอ้ งช่วยสง่ เสริมและพฒั นาวฒั นธรรมของชาติให้มัน่ คง ถา่ ยทอด วฒั นธรรมอนั ดงี ามให้แกผ่ ู้เรียน ชว่ ยกันจดั กิจกรรมสง่ เสริมวัฒนธรรมและสง่ เสริมให้มีการจัดหอ้ งวฒั นธรรม ในโรงเรียน 5. บทบาทของครูในการพัฒนาประเทศ ภาควชิ าพ้นื ฐานการศึกษา ได้กล่าวถึง บทบาทของครใู นการ พฒั นาประเทศว่า (คณาจารยภ์ าควิชาพืน้ ฐานการศึกษา, 2535, หน้า 188 - 190) ประเทศไทยเปน็ ประเทศหน่งึ ที่ได้ ให้ความสาคัญกับการศึกษาในระดับสงู มีการจดั การศึกษาตามแผนพัฒนาการศกึ ษาแหง่ ชาติ การดาเนนิ การพฒั นา การศึกษาในแต่ละแผนได้มกี ารประเมินผลเพ่อื ใชใ้ นการปรับปรุงปฏบิ ตั งิ านในระยะต่อมาโดยตลอดปัญหาทาง การศึกษาทผ่ี ่านมาเปน็ เรื่องของปริมาณการศกึ ษา คือ เยาวชนของประเทศยังขาดโอกาสทางการศึกษาในระดบั ประถมศึกษา และมัธยมศกึ ษาทีจ่ ะชว่ ยให้พลเมอื งส่วนใหญ่มคี ณุ ภาพหนทางแก้ปัญหาส่วนหนง่ึ ได้มุ่งขยายโอกาสทาง การศึกษาอย่างกว้างขวาง การประถมศึกษาเป็นการศึกษาข้ันพนื้ ฐานสาหรับการดารงชีวิตอยู่ในสังคมและสาหรบั เป็น พ้ืนฐานในการศึกษาต่อระดับที่สูงข้นึ รฐั ได้กาหนดไว้ว่าเปน็ การศกึ ษาภาคบังคบั และเปน็ ภาระผกู พันของรัฐทีจ่ ะตอ้ ง ดาเนนิ การให้ประชากรในวยั เรียนได้มโี อกาสได้ศกึ ษาเล่าเรียนอยา่ งทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ การที่จะพัฒนา การศึกษาโดยส่วนรวมให้มคี ณุ ภาพจาเปน็ ต้องมกี ารพัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนในระดบั ประถมศึกษา ให้มีประสิทธิภาพเปน็ ลาดับแรก อนั จะส่งผลไปยงั การศึกษาระดบั อน่ื ๆ หรอื การดารงชีวิตของมนุษยใ์ ห้อยใู่ นสงั คม ได้อยา่ งมีคณุ ภาพด้วย สรปุ การศึกษาเป็นกลยุทธอย่างหน่งึ ของการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ ซึง่ การลงทุนทางการศกึ ษาของมนุษย์ กเ็ พือ่ เปน็ การเพ่มิ คณุ ค่า และคณุ ภาพของมนษุ ยใ์ ห้สามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพัฒนาประเทศต่อไปการผลิต ผู้ทีม่ ีการศึกษาเปน็ การผลิตกาลงั คนเพ่อื สนองความต้องการของตลาดแรงงาน ซึง่ ปจั จยั ทีม่ ีผลกระทบตอ่ การผลิต กาลังคนทส่ี าคญั คือการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสงั คมและความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยดี งั นนั้ แนวโน้มการผลิต ผู้มีการศึกษาในอนาคตจึงจาเปน็ ต้องคานึงถึงปจั จัยดงั กล่าวขา้ งตน้ เปน็ สาคญั แนวทางการพฒั นาตนของครใู นอนาคต ในที่นผี้ ู้เขียนขอเนน้ ทีก่ ารใชเ้ ทคโนโลยเี ข้ามาใชใ้ นการพัฒนาตนและพฒั นาเทคนิควธิ ีการจดั การเรียน การสอนของครเู พ่อื ให้สามารถก้าวทันการเปลีย่ นแปลงของโลกและเทคโนโลยี นพ.วจิ ารณ์ พานิช ได้กลา่ วไวว้ า่ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตอ้ งก้าวข้าม “สาระวชิ า” ไปสกู่ ารเรียนรู้ “ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ซึ่งครูจะเปน็ ผู้สอนไมไ่ ด้ แตต่ อ้ งให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ดว้ ยตนเอง โดยครูจะออกแบบการเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเอง เปน็ โค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของนกั เรียน ซึง่ สิ่งที่เป็นตวั ช่วยของครใู นการจัดการเรียนรู้ คือ ชุมชนการเรียนรู้ครูเพอ่ื ศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของครูเพอ่ื แลกเปลีย่ นประสบการณ์การทาหน้าทีข่ องครู

8 นอกจากนี้ โชติมาพร ไชยสิทธิ์ (2558) ได้กลา่ วถึง การเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยี (Technology-based Learning) วา่ ครอบคลุมวธิ ีการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบผู้เรียนสามารถเรียนรู้ผ่านส่อื อิเลก็ ทรอนิกสท์ ุกประเภท เช่น อนิ เทอร์เน็ต (Internet) อนิ ทราเนต็ (Intranet) เอก็ ซ์ทราเน็ต (Extranet) การถ่ายทอดผ่านดาวเทยี ม (Satellite broadcast) แถบบนั ทึกเสียงและวิดีทศั น์(Audio/Video Tape) และซีดีรอม (CD- ROM) เปน็ ต้น การเรียนรู้ผ่านสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ป็นวิธีการเรียนรู้ทีม่ ีความสาคัญมากขึ้น แตจ่ ากการทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งไมห่ ยุดนง่ิ ของ เทคโนโลยที าใหผ้ ู้สอนจาเป็นต้องศกึ ษา หาความรู้และเตรียมพร้อมตนเองเพ่อื ให้สามารถประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศเหลา่ นใี้ นการเรียนการสอนวธิ ีการเตรียมตวั ในการใชเ้ ทคโนโลยใี นการสอน คือ เทคนิครู้เขารเู้ รา โดยสิ่งที่ ครตู ้องรู้มี 2 ประการ คือ การรแู้ ละเข้าใจศกั ยภาพของทรพั ยากรที่โรงเรียนมี เชน่ ครูต้องรู้ว่าในโรงเรียนมอี ะไร ทีส่ ามารถใชเ้ ปน็ ประโยชนใ์ นการเรียนการสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศได้และครตู อ้ งมีความรู้ดา้ นเทคโนโลยี ทีส่ ามารถนามาใชใ้ นการเรียนการสอน รวมไปถึงข่าวสารขอ้ มูลตา่ งๆ โปรแกรมประยกุ ตท์ ีเ่ ปน็ ประโยชนใ์ นการเรียน การสอน สอ่ื ภาพและเสียง วีดที ศั น์ขา่ วและประเด็นทีเ่ ป็นที่สนใจ เป็นต้น เทคโนโลยที ีค่ รสู ามารถนามาใชใ้ นการเรียน การสอนเพ่อื สง่ เสริมให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงแนวคิด มีจานวนมาก และครูสามารถเลือกใชไ้ ด้ตามความถนดั หรือความสนใจ รายละเอียดดังนี้ (บปุ ผชาติ ทฬั หกิ รณ์ : อ้างถงึ ใน โชติมาพร ไชยสิทธิ์, 2558) 1. การใชว้ ดี ีทศั น์การใชภ้ าพและเสียง ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดขี นึ้ โดยเฉพาะเนอื้ หาทีเ่ ป็น นามธรรม การใชว้ ดิ ีทัศน์มีทั้ง ภาพยนตร์แอนนิเมชัน่ วีดีโอคลิป โปรแกรมกราฟฟิก ซึง่ แหลง่ ทสี่ ามารถหาวดี ีทศั น์ เหลา่ นี้ คือ อินเทอร์เนต ซีดดี ีวีดที ี่มาพร้อมกบั หนงั สือเรียน (Textbook) ภาพยนตร์สารคดีเวบ็ ไซต์ตา่ งๆ ทงั้ น้วี ีดที ัศน์ จะทาหนา้ ทเ่ี ปน็ เพยี งสือ่ หรือแหล่งการเรียนรู้ของครูเท่านนั้ โดยไม่สามารถนามาทดแทนการสอนได้ครูตอ้ งสร้าง บริบท (Context) หรืออรรถบท (Theme) ของบทเรียนโดยใช้วิดที ัศน์เป็นสอ่ื การเรยี นรู้จึงจะมีความหมายสาหรับผู้เรียน 2. เพลงและเสียง เพลงเปน็ สอ่ื ที่เข้าถึงผู้เรียนได้ดที ้ังนมี้ กี ารใช้เพลงเพ่อื การเรียนการสอนมานานแลว้ ในวชิ าเคมีเน้ือหาท่ใี ชเ้ พลงในกิจกรรมการเรียน ยกตวั อย่างเชน่ ตารางธาตุ ท้ังนีเ้ พลงมีท้ังแบบสาเร็จท่คี รูสามารถ นามาใชไ้ ด้หรือ การใช้ทานองแล้วใส่เน้อื ร้องเอง รวมไปถึงให้ผู้เรียนมสี ่วนประพนั ธ์ทานองหรือคารอ้ งที่สอดคล้องกับ เน้ือหาท่เี รียน กเ็ ป็นเทคนิคที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดนี อกจากนี้เสียงยังมีสว่ นสาคญั ในการสร้างความ เข้าใจ ยกตวั อยา่ ง เชน่ ให้นักเรยี นเรียงลาดบั เสียงจากการทาปฏิกิริยาของธาตุอัลคาไลน์ (หมู่ 1A) กบั น้า จากโซเดยี ม (Na) ไปจนถึงแฟรนเซียม (Fr) เพ่อื เรียงลาดบั ความรนุ แรงของการเกิดปฏกิ ิริยาจากนนั้ จึงนาไปสู่ การอภปิ ราย 3. โปรแกรมประยกุ ต์ (Application Program) ครูสามารถใชโ้ ปรแกรมประยกุ ตใ์ นการส่งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียนได้มากมาย โดยอาจจะเริ่มตน้ จากการใชโ้ ปรแกรมประจาเครอ่ื ง เชน่ Microsoft Word Excel และ PowerPoint ไปจนถึงโปรแกรมเฉพาะ เชน่ Crocodile Chemdraw หรือโปรแกรมกราฟฟิก เช่น Autodesk MAYA ทั้งนี้ ขนึ้ อยกู่ ับทักษะของครูเองว่าคุ้นเคย กับโปรแกรมใด นอกจากนคี้ รูยงั สามารถสร้างภาพยนตร์สน้ั ได้เอง โดยใช้ โปรแกรมตัดต่อภาพยนตร์เชน่ Movie Maker หรือ Ulead โดยในปจั จบุ นั กล้องถ่ายรูปหรือโทรศัพท์ก็สามารถถ่ายทา คลิปสั้นๆ เพ่อื ใชป้ ระโยชนท์ างการเรียน นอกจากนี้ยงั มโี ปรแกรมชนิด Freeware ทีไ่ ม่สงวนลขิ สทิ ธิ์การใชง้ าน ทค่ี รู สามารถดาวน์โหลดเพอ่ื ใชเ้ ป็นส่อื ในการเรียนได้ตวั อย่างการใชโ้ ปรแกรมประยกุ ต์ 4. เทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร (Communication Technology) เทคโนโลยกี ารสอ่ื สารในปจั จุบันกา้ วหนา้ ไปมาก และสามารถดาวนโ์ หลดหรืออพั โหลด เพอ่ื แลกเปลีย่ นเน้อื หา (Content) ได้อยา่ งรวดเรว็ ท้ัง ภาพ เสยี ง ข้อความ วีดโี อ ท้ังแบบ Synchronize และ Asynchronize เทคโนโลยสี อ่ื สารทีเ่ ป็นที่นิยมคือ เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน(์ Online Social Network) การใชเ้ ครอ่ื งมือค้นหา บนเว็บ (Search Engine) การโตต้ อบผ่านกระดานสนทนา (Web Board) การเขียนบลอ็ ก (Blog) การโต้ตอบโดยใชว้ ดี ิทศั น์เชน่ Youtube.com รวมไปถึงส่อื เน้ือหาอเิ ลก็ โทรนกิ ส์ (Electronic Content) ตา่ งๆ ทีส่ ามารถเขา้ ถึงไดผ้ ่านอินเทอร์เนต็ เช่น เวบ็ ไซต์ของรายการโทรทศั น์สมาคมวิชาชพี ครูองคก์ รวิทยาศาสตร์ต่างๆ

9 และท้ายสุดน้ี ขอสรปุ ส่งท้าย ดว้ ย หลกั 7 ประการ ของ ศาสตราจารย์กิตตคิ ณุ ดร.ไพฑรู ย์ สินลารัตน์ ท่กี ล่าวถึงแนวปฏบิ ตั ขิ องการอยู่ในวชิ าชีพครูในอนาคตไว้อย่างชดั เจน ดังนี้ ประการที่ 1 เราต้องสอนผู้เรียนให้มี critical thinking & evaluation ตอ้ งสอนให้ผู้เรียนมคี วามคิด วเิ คราะห์ วจิ ัยและประเมินเพอ่ื จะได้เปน็ ผู้บริโภคที่ฉลาด เมอ่ื ต้องการซือ้ อะไร จะคิดแลว้ วเิ คราะห์แล้ววา่ จาเปน็ ประการที่ 2 เราแยกแยะให้ออก อะไรเหมาะไมเ่ หมาะ อะไรดีไมด่ ี อะไรเหมาะสม ไมเ่ หมาะสม ทีเ่ หมาะสมคืออะไร ซึง่ น่นั หมายถึง ทกั ษะการวเิ คราะห์และสังเคราะห์ ประการที่ 3 เราต้องเนน้ creativity and imagination เราต้องหนั มาให้ความสาคัญกับการคิด สร้างสรรค์ การคิดอะไรใหมๆ่ การมองไปในอนาคตอยา่ งจรงิ จงั เพือ่ ทาให้ผู้เรียนของเราเปน็ คนทีม่ ีความคิดอะไร ใหมๆ่ เมอ่ื เขาเติบโตเปน็ ผู้ใหญ่ในอนาคตเขาต้องอยู่บนฐานท่เี ขาจะคิดอะไรใหมๆ่ ได้ทกุ คน ประการที่ 4 ข้อน้สี าคญั มาก เราต้องเนน้ productivity and innovation คือ เราต้องเนน้ ผู้เรียน ให้เค้ารู้จกั ท่จี ะสร้างสรรค์ส่งิ ใหมๆ่ product ใหมๆ่ อะไรใหมๆ่ ขนึ้ มาให้ได้ เขาตอ้ งเป็นคนที่คดิ อะไรใหม่ๆ ได้ คิดให้มี ผลงาน ให้มี product ออกมา ไมเ่ ชน่ น้ันเขาจะกลายเป็นผู้ซื้อตลอดกาล อนาคตเขาต้องผู้ผลิต ผู้สร้าง ผู้ขายด้วย ไปพร้อมๆ กัน ประการที่ 5 เรียนรู้กระบวนการเปลี่ยนแปลง การเปลีย่ นแปลงจะตอ้ งพบกบั ปัญหา ตอ้ งฝกึ ให้ เขารจู้ กั แก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ซึง่ การเปลีย่ นแปลงที่ดตี อ้ งมีความเป็นผู้นา ประการที่ 6 เขาตอ้ งพร้อมทีจ่ ะสื่อความหมายและมีความมน่ั ใจทีจ่ ะยกตวั เองสู่โลกและผลัก ตวั เองไปสู่นานาชาติ ในการที่เขาจะส่งหรือขาย Product ใหมๆ่ ให้กบั โลกได้เขาต้องส่อื สารและมนั่ ใจ ประการที่ 7 คือ เรือ่ งคุณธรรมจรยิ ธรรมและความรับผิดชอบต้องเป็นเรื่องสาคัญ ดังที่กลา่ ว 7 ประการน้เี ป็นสง่ิ ที่ครทู ุกคนปรารถนาจะให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน แตส่ ิ่งที่สาคัญไปย่งิ กวา่ นั้นในการ จะทาให้เกิดสง่ิ เหลา่ นใี้ นผู้เรียนได้ ตัวครเู องก็ตอ้ งมุ่งปฏบิ ตั ติ ามแนวทางเหล่าน้ี เพ่อื เป็นแสงสวา่ งนาทางใหก้ ับลูกศิษย์ ของเราต่อไป เอกสารอา้ งองิ ครูและวิชาชพี ช้ันสงู . (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/398754 12 ธนั วาคม 2558. โชติมาพร ไชยสิทธิ.์ (2558). ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 : สอนอยา่ งไรให้เกิดผลกับผู้เรียน. มหาสารคาม.: มปท. ดิเรก พรสีมา. (2558). การพัฒนาวชิ าชีพคร.ู (ออนไลน์). แหล่งที่มา http://goo.gl/SB9RDf 12 ธนั วาคม 2558. ไพฑรู ย์ สินลารัตน์. (2556). การศกึ ษาไทย 4.0 : การศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ. พมิ พค์ รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ________. (2558). มาตรฐานวชิ าชีพทางการศกึ ษา: ส่งมอบคนทีด่ ที ีส่ ุดให้สังคม. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลัยธุรกิจบัณฑิตย.์ ศริ ิลกั ษณ์ ปะตินงั . (2558). การพัฒนาวิชาชพี คร.ู (ออนไลน์). แหลง่ ที่มา : https://goo.gl/SIFGtH. 14 พฤศจิกายน 2558. สภาพปจั จบุ นั และปญั หาวิชาชพี คร.ู (ออนไลน์). แหล่งที่มา : //educ105.wordpress.com/สภาพปัจจุบัน และปัญหาวิชาชพี ครู 26 มกราคม 2556. สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2546). การพัฒนาวิชาชพี ครู (Development and Promotion of Teaching Profession). กรุงเทพฯ: มปท. สู่ความเป็นคร.ู (ออนไลน)์ . แหล่งทีม่ า : //http://goo.gl/RVtI5B

10 การบรหิ ารและการจดั การแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตเดก็ และเยาวชน Administration and Management To improve the quality of life of Children and Youth สมชาย ใจไหว* ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประเวศ เวชชะ** ดร.พนู ชัย ยาวิราช*** ดร.สวุ ดี อุปปินใจ**** การบริหารและการจดั การเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ติ เดก็ และเยาวชน เปน็ แนวคิดทีเ่ ป็นสว่ นหนง่ึ ของงานวิจัย เรื่อง รปู แบบการบริหารและการจดั การแบบบูรณาการเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ติ เด็กและเยาวชนลุ่มนา้ วงั ซึง่ ได้ศึกษา แนวคิดในด้านต่างๆ ความหมายของคณุ ภาพชีวิต ความสาคญั ของการพฒั นาคุณภาพ องคป์ ระกอบ นยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและตวั บ่งชคี้ ณุ ภาพชีวิตเด็กและเยาวชน การบริหารและการจดั การเพ่อื พัฒนาคุณภาพชวี ติ เด็ก และเยาวชน และการพัฒนาการบริหารเชงิ บรู ณาการเพ่อื การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เดก็ และเยาวชน ความนา การบริหารและการจดั การศกึ ษาโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา ซึง่ มีเด็กและเยาวชนที่เปน็ นกั เรียนมปี ญั หาด้าน พฤตกิ รรมและอารมณแ์ ละมีปญั หาด้านการปรบั ตัวเข้าสงั คม ออ่ นไหวงา่ ย อีกทั้งตอบสนองตอ่ สง่ิ เร้าค่อนขา้ งสูง ทาให้พฤติกรรมตา่ งๆ ทีน่ ักเรียนในจงั หวัดลาปาง แสดงออกมาไมเ่ ปน็ ทีพ่ ึงประสงค์ของครู ผู้ปกครองและสงั คม มพี ฤตกิ รรมเบีย่ งเบนเปลีย่ นไปจากเดิม เช่น มั่วสุมเกี่ยวข้องกับยาเสพติด มคี ่านยิ มตามแฟช่ัน ใชส้ อ่ื ไม่เหมาะสม ค่านยิ มเรื่องเพศ รกั สนกุ โดยไม่เลอื กเวลาและสถานท่ี มคี วามสบั สนทางด้านเพศ ห่างเหินวัฒนธรรมของไทยที่ดงี าม หลกี หนีการเข้าวดั การประพฤติตนไม่เหมาะสมแก่วยั อนั ควร ประพฤติตน ผิดศีลธรรม มีพฤติกรรมเบีย่ งเบน ไมส่ นใจ เรียนสง่ ผงให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนต่า เปน็ ปญั หาของตัวนักเรียนเอง ปญั หาครอบครัว โรงเรียน และประเทศชาติ และจากผลการวิจยั โครงการตดิ ตามสภาวการณ์เด็กและเยาวชนรายจงั หวดั ภาคเหนือตอนบน ผลการวิจยั พบวา่ สภาวการณ์เดก็ และเยาวชนภาคเหนอื ตอนบนทีเ่ ปน็ ปัญหาสาคัญยงั คงเปน็ พฤติกรรมการบริโภคอบายมุข ปญั หา ยาเสพติด ปญั หาสือ่ ยั่วยุมอมเมาเยาวชน พฤติกรรมทางเพศ เสรีและความรุนแรงในเด็กและเยาวชน ทง้ั น้พี บวา่ ปัจจยั เสีย่ งตอ่ การเข้าสปู่ ัญหาของเดก็ และเยาวชนภาคเหนอื ตอนบนที่สาคญั คือการอยหู่ ่างบ้านหา่ งครอบครวั การขาดพอ่ แมผ่ ู้ใหญ่ดแู ลใกล้ชิด การคบเพอ่ื นมเี พ่อื นพาไปในทางเสีย่ ง การเสพสอ่ื ที่ไม่ดหี รือลามก การใชช้ ีวติ อยใู่ นเมอื งที่มีพืน้ ที่ เสีย่ ง (จาลอง คาบญุ ชู, 2550) สอดคล้องกับผลการวจิ ัย โครงการตดิ ตามสภาวการณ์เด็กและเยาวชน รายจังหวดั ภาคเหนือตอนบนปี พ.ศ. 2556 ผลการวจิ ัยพบวา่ สภาวการณเ์ ด็กและเยาวชนภาคเหนอื ตอนบน จังหวัดลาปาง ในดา้ นชีวิตกับอบายมุขและดา้ นชีวิตกับความรนุ แรง อยใู่ นลาดบั ที่ 7 ของจังหวัด และในดา้ นชีวิตกบั ส่อื พบวา่ เด็กและเยาวชนจงั หวัดลาปางใชเ้ วลาดโู ทรทัศน์ VDO VCD DVD และดลู ะครซีรี่ย์ คยุ โทรศัพท์ เล่น Social Network ผ่านโทรศัพท์มือถือ เลน่ อินเทอร์เนต็ รวมกันเฉลี่ย 12 ชวั้ โมงต่อวัน คุณภาพชีวิตจึงเปน็ สง่ิ ที่มคี ุณคา่ มคี วามสาคญั และจาเป็นต่อบุคคลและสงั คม เปน็ สง่ิ ทีม่ นษุ ยส์ ามารถ กาหนดการสร้างเกณฑ์มาตรฐานเพ่อื ให้ระดบั การมคี ณุ ภาพชีวิตทีด่ ขี ึน้ ได้ และเพื่อการทาใหก้ ารพัฒนาตนเอง คาสาคญั : การบรหิ ารและการจดั การ, การบูรณาการ, การพัฒนาคุณภาพชีวติ เด็กและเยาวชน * ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย **, *** อาจารย์ประจาหลักสตู รปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย **** ประธานคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย

11 และสังคมไปสเู่ ป้าหมายทีป่ รารถนา คณุ ภาพชวี ติ ที่ดนี ับเป็นส่งิ สาคญั และเปน็ จดุ หมายปลายทางของบคุ คล ชมุ ชน และประเทศชาติโดยสว่ นรวม ประเทศใดหากประชากรในชาติโดยส่วนรวมดอ้ ยคุณภาพ แม้ว่าประเทศนั้นจะมี ทรพั ยากรธรรมชาติอดุ มสมบูรณ์เพยี งใด ก็ไมอ่ าจทาให้ประเทศชาตินั้นเจรญิ และพฒั นาให้ทันหรือเท่าเทียมกับ ประเทศที่มีประชากรทีม่ ีคุณภาพได้ คณุ ภาพของประชากรจึงเปน็ ปจั จัยทีส่ าคัญและช้วี ่า การพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมของประเทศใดจะเจรญิ ก้าวหน้ากว่าอีกประเทศ ดงั เชน่ ประเทศญ่ปี ุ่น หลงั สงครามโลกคร้ังที่ 2 สภาพบ้านเมอื ง ได้รับผลของสงคราม แตด่ ้วยการสง่ เสริมและพฒั นาคณุ ภาพของประชากรญป่ี ุ่น ทง้ั ทางรา่ งกาย จิตใจ สตปิ ญั ญา จึงทาให้ประเทศญป่ี ุ่นยกฐานะเปน็ ประเทศมหาอานาจทางเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรมได้อย่างรวดเรว็ (วราพรรณ ลิลนั , 2551, หน้า 15) ผู้เขียนเหน็ ความสาคญั และตระหนกั ในปญั หาของปัญหาเดก็ และเยาวชน จึงสนใจศึกษา การบริหารและการจดั การเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ติ เดก็ และเยาวชนทีเ่ หมาะสม ความหมายของคณุ ภาพชวี ิต ความหมายของคณุ ภาพชีวิต (Quality of Life) “คณุ ภาพชีวิต” ถอื เปน็ ปจั จัยที่มีความสาคญั ตอ่ การดารงชีวิต ในปัจจุบนั และมีนกั วิชาการ หลายท่านได้ใหค้ วามหมายของคณุ ภาพชีวิต ซึ่งผู้ศกึ ษาได้รวบรวมความหมายไว้ ดงั นี้ สุพรรณิการ์ มาศยคง (2554, หนา้ 7) ให้ทัศนะว่าคณุ ภาพชวี ติ หมายถึง การดารงชีวิตในระดบั ที่ เหมาะสมของมนุษย์ ตามสภาพความจาเป็นพนื้ ฐานในสงั คม โดยตอบสนองสิง่ ที่ต้องการทางรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมอย่างเพยี งพอ จนก่อให้เกิดความสขุ ตลอดจนการมีสขุ ภาพทางรา่ งกายและจิตใจทีด่ ี นวลลักษณ์ ประภัสสรกลุ (2554, หน้า 7) อา้ งใน ทองพลู สงั แก้ว (2540, หน้า 12) ได้ใหค้ วามหมาย คุณภาพชีวิต หมายถึง สภาวะของการมสี ภาพทางกาย จิตใจและอารมณท์ ี่ดี รจู้ ักสิทธิหน้าทข่ี องพลเมอื ง การได้รบั การศึกษาตามวัย การมีสภาพแวดลอมทีป่ ราศจากมลภาวะทางดินนา้ อากาศ และเสียงมที ีอ่ ยอู่ าศยั เพยี งพอ ความนยิ ม ชมชอบในศิลปวัฒนธรรม การสันทนาการ ความพอใจในด้านมนุษยส์ มั พันธ์ การมีครอบครวั ที่อบอนุ่ และมีโอกาสทจ่ี ะใชท้ รพั ยากรตา่ งๆ เท่าเทียมกนั ตามกาลเวลาทีเ่ ปลี่ยนไป องคก์ ารอนามยั โลก (World Health Organization : WHO) (อา้ งอิงจาก วรรณา กุมารจันทร์, 2543, หนา้ 4) ให้ความหมายวา่ คณุ ภาพชีวิต เป็นการรบั รู้ความพงึ พอใจ และสถานะของบคุ คลในการดารงชวี ติ ในสังคม โดยจะสัมพนั ธ์กับ เป้าหมาย และความคาดหวงั ของตนเอง ภายใตบ้ ริบทของวัฒนธรรม ค่านิยม มาตรฐานของสงั คม และสิง่ อืน่ ๆ ที่เกี่ยวของ เชน่ สวัสดกิ ารและบริการในดา้ นตา่ งๆ ตลอดจนลกั ษณะทางการเมอื งการปกครองในสงั คม ทีอ่ าศยั อยู่และสามารถประเมินคุณภาพชีวิตในด้านวตั ถุวสิ ยั (Objective Approach) และดา้ นจิตวสิ ยั (Subjective Approach) กฤษณา ปล่งั เจรญิ ศรี (2554, หนา้ 143) กล่าววา่ คณุ ภาพชวี ติ เปน็ เรื่องที่มีความสลบั ซบั ซ้อนเนอ่ื งจาก คุณภาพชีวิตเปน็ เรื่องของความพึงพอใจอันเกิดมาจากการได้รับสนองตอบตอ่ ความต้องการทางจิตใจและสังคม ท้ังยังเกี่ยวข้องกับความสามารถของสังคมในการตอบสนองตอ่ ความต้องการ พื้นฐานของสมาชกิ ในสงั คมอีกดว้ ย ประณีต อทิ รประสิทธิ์ (2556, หน้า 9) ความหมายของคุณภาพชีวิตคือ การดารงชีวิตอยู่ในสภาพ แวดลอ้ มที่เหมาะสม มีความสุขท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ สามารถปรบั ตัวให้เข้ากับสภาพแวดลอ้ ม และสงั คม ทีต่ นอยไู่ ด้เป็นอยา่ งดี ขณะเดยี วกนั ก็สามารถเผชญิ ปัญหาต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ดังนนั้ สรปุ ได้ว่า คุณภาพชวี ติ ความหมาย คือระดบั สภาวการณก์ ารดารงชีวิตของนักเรียนตามสภาพ ความจาเปน็ พืน้ ฐานในสังคมซึ่งสนองตอ่ ส่งิ ทีต่ ้องการทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม สิง่ แวดลอ้ มและการเรียนรู้ อย่างเพยี งพอ จนก่อให้เกิดความสุขซึ่งวดั และประเมินได้จากการรับรู้เปน็ ระดบั คุณภาพโดยมีองค์ประกอบทีเ่ ป็น ตัวแปรสังเกตได้

12 ความสาคัญของการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต คณุ ภาพชีวิตจึงเป็นส่งิ ทีม่ ีคณุ คา่ มคี วามสาคญั และจาเป็นต่อบคุ คลและสังคม เปน็ สง่ิ ทีม่ นุษยส์ ามารถ กาหนดการสร้างเกณฑ์มาตรฐานเพอ่ื ให้ระดับการมคี ุณภาพชีวิตทีด่ ขี นึ้ ได้ และเพือ่ การทาใหก้ ารพฒั นาตนเอง และสงั คมไปสเู่ ป้าหมายทีป่ รารถนา เก่ยี วกบั ความสาคญั ของคณุ ภาพชีวิตมผี ู้ให้แนวคดิ ที่สาคญั ไวด้ งั น้ี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 ที่ประกาศใชต้ งั้ แตว่ นั ที่ 24 สิงหาคม 2550 มสี าระสาคัญในมาตรา 73, 79 และ 80 ทีก่ าหนดให้รฐั ต้องสนบั สนุนการนาหลักธรรมของศาสนามาใชเ้ พ่อื เสริมสร้าง คุณธรรมและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ (มาตรา 73) ตลอดจนควบคมุ และกาจัดภาวะมลพษิ ที่มีต่อสุขภาพอนามยั สวัสดภิ าพ และคณุ ภาพชีวิตของประชาชน (มาตรา 79) และรัฐต้องสงเคราะห์คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ และผู้ดอ้ ยโอกาสใหม้ คี ณุ ภาพชีวิตและพึง่ ตนเองได้ (มาตรา 80) พระราชบญั ญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 11 (3) และมาตรา 19 ทีใ่ ห้มกี ารช่วยเหลอื ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เดก็ และเยาวชน รวมทั้งให้การช่วยเหลอื ทางวิชาการ ในการวิจัยและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เดก็ และเยาวชน ดงั น้ัน หน่วยงานต่างๆ ทเ่ี กี่ยวข้องไมว่ า่ จะเป็นกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงสาธารณสุข หรือกระทรวงกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ รวมถึงหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้ให้ความสาคญั และสนใจในเรือ่ งน้มี ากยิง่ ข้ึน วราพรรณ ลิลัน (2551, หน้า 15) กล่าวถึง ความสาคัญของคณุ ภาพชีวิตวา่ คุณภาพชีวิตทีด่ นี บั เปน็ สิง่ สาคัญและเป็นจุดหมายปลายทางของบุคคล ชุมชนและประเทศชาติโดยสว่ นรวม ประเทศใดหากประชากรในชาติ โดยส่วนรวมดอ้ ยคุณภาพ แมว้ า่ ประเทศนั้นจะมที รัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์เพยี งใด ก็ไมอ่ าจทาให้ประเทศชาติ นนั้ เจรญิ และพฒั นาให้ทนั หรือเท่าเทียมกบั ประเทศทีม่ ีประชากรที่มีคุณภาพได้ คุณภาพของประชากรจึงเปน็ ปจั จัย ที่สาคัญ และช้วี ่าการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศใดจะเจรญิ ก้าวหนา้ กว่าอกี ประเทศ ดังเชน่ ประเทศญ่ปี ุ่น หลังสงครามโลกครงั้ ที่ 2 สภาพบ้านเมอื งได้รับผลของสงคราม แตด่ ้วยการส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพของประชากร ญี่ปุ่น ทงั้ ทางรา่ งกาย จิตใจ สตปิ ัญญา จึงทาให้ประเทศญป่ี ุ่นยกฐานะเปน็ ประเทศมหาอานาจทางเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรมได้อย่างรวดเร็ว สพุ รรณิการ์ มาศยคง (2554, หนา้ 9) คณุ ภาพชีวิตมคี วามสาคญั ต่อตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและ ประเทศชาติ ทุกคนจึงควรรู้จกั และเขา้ ใจในเรือ่ งตา่ งๆ ท่เี กีย่ วข้องกบั คุณภาพชวี ติ ให้ถกู ต้องและชว่ ยกันพัฒนา ปรับปรงุ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและสิง่ แวดล้อมให้ดีข้นึ ซึ่งจะนาไปสู่การมีคุณภาพทีด่ รี ่วมกนั ได้ในทส่ี ดุ ดังนน้ั คณุ ภาพชีวิตมคี วามหมาย มคี วามสาคญั จาเป็นต่อบุคคลและสังคม เปน็ สง่ิ ทีม่ นษุ ยส์ ามารถ กาหนดการสร้างเกณฑ์มาตรฐานเพ่อื ให้ระดบั การมคี ณุ ภาพชีวิตที่ดขี นึ้ ได้ และเพือ่ การทาใหก้ ารพัฒนาตนเอง และสังคมไปสเู่ ป้าหมายทีป่ รารถนา องค์ประกอบนิยามเชิงปฏิบตั กิ าร และตัวบง่ ชคี้ ุณภาพชวี ิตเด็กและเยาวชน นยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและตวั บ่งชี้คุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนอา้ งอิงในรตั นาภรณ์ สมบูรณ์ (2555, หน้า 28- 40) ซึ่งได้ทาการวจิ ัยในเรื่องข้อเสนอเชงิ นโยบายเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ นักเรียนโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ ซึง่ รัตนาภรณ์ สมบูรณ์ ได้กลา่ ววา่ คุณภาพชีวิตด้านร่างกายนนั้ เป็นความสามารถของบคุ คลท่มี คี วามพร้อมใน สิง่ จาเปน็ สาหรับชวี ติ รวมถึงกจิ กรรมที่ทาอยู่เป็นปกติ เป็นเรื่องของความจาเปน็ พืน้ ฐาน การปฏบิ ัตติ น ตลอดจน ความเจบ็ ป่วย/ความไมส่ บาย และการรกั ษาสขุ ภาพ (Phaladze, et al., 2005; WHOQOL, 1995; WHOQOL Group,

13 1998: WHOQOL-HIV Group, 2003; Wilson & Clearly, 1995; Sousa, 1996; Sousa, Holzemer, Henry, & Slaughter, 1999) ไวด้ งั น้ี 1. นยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารและตวั บ่งชดี้ ้านร่างกาย ผู้เขียนสรปุ นยิ ามตวั บ่งชดี้ ้านร่างกายวา่ หมายถึง สภาวการณก์ ารดารงชีวิตของนักเรียนกบั ความแขง็ แรง การบริโภคและความปลอดภัย อนามยั และโภชนาการ สุขบาลในโรงเรียน ความปลอดภัยด้านอาหาร การป้องกนั และแก้ไขโรคระบาด และการเฝ้าระวงั ภาวะเจรญิ เตบิ โตของนกั เรียน 2. นยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและตัวบ่งชดี้ ้านจติ ใจ ผู้เขียนสรปุ นยิ ามตวั บ่งชดี้ ้านจติ ใจวา่ หมายถงึ สภาวการณ์การดารงชีวิตกบั คุณธรรม จริยธรรม ความเครยี ด อารมณ์ และสขุ ภาพจิต 3. นยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารและตัวบ่งชดี้ ้านสงั คม ผู้วิจัยสรุป ตวั บ่งชดี้ ้านสังคม หมายถึง สภาวการณก์ ารดารงชวี ติ ของนกั เรียนเกี่ยวกบั ครอบครวั ชวี ติ ทางเพศ ชีวิตกับอบายมุข ชีวติ กับความรุนแรง และการใชส้ ่อื 4. นยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารและตัวบ่งชดี้ ้านสิง่ แวดลอ้ ม ผู้เขียนสรปุ นยิ ามตวั บ่งชี้ด้านสิง่ แวดลอ้ ม หมายถึง สภาวการณก์ ารดารงชีวิตของนักเรียนในการ ได้อยใู่ นส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพที่ดี ถกู หลักสขุ บาลในโรงเรียนและชุมชน ปราศจากมลพิษ และปราศจากแหลง่ อบายมุขรอบสถานศกึ ษา 5. นยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและตัวบ่งชดี้ ้านการเรียนรู้ ผู้เขียนสรุปนยิ ามตวั บ่งชี้ด้านการเรียนรู้ หมายถึง สภาวการณ์การดารงชีวิตความรู้สกึ ของเดก็ ในการ แสดงออกทางวิชาการ การมีสว่ นร่วมในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ผลการเรียน ความรคู้ วามสามารถในการ เรียน จากการศกึ ษาวรรณกรรมและงานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวข้องสามารถสรปุ นยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารของ “คุณภาพชีวิตเดก็ และเยาวชนลมุ่ นา้ วงั ” ได้ว่า คณุ ภาพชีวิตเดก็ และเยาวชนหมายถงึ สภาวการณก์ ารดารงชีวิตตามสภาพความจาเปน็ พ้ืนฐานในสังคมซึ่งสนองตอ่ สง่ิ ทีต่ ้องการทั้งในดา้ นร่างกาย (physical domain) ดา้ นจิตใจ (psychological domain) ดา้ นสังคม (social domain) ด้านสิ่งแวดลอ้ ม (environment domain) และด้านการเรียนรู้ (learning domain) อย่างเพยี งพอ จนก่อให้เกิดความสุขซึ่งวดั และประเมินได้จากการรับรู้ของเด็กและเยาวชน ซึง่ ผู้วจิ ยั ได้สรุปเป็นนิยาม เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร และตวั บ่งชี้/สาระหลกั เพื่อการวัด การบริหารและการจัดการเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตเด็กและเยาวชน จากการศกึ ษากรอบเชงิ ทฤษฎี (บงกช นพวงศ์ ณ อยุธยาและคณะ, 2554) (theoretical framework) ทฤษฎี คุณภาพชีวิตบุคคล (theoretical framework) วา่ พัฒนามาจากผลงานของนักปรัชญา 2 คน คือ มาสโลว์ (Maslow, 1954) และชารม์ า (Sharma, 1988) อ้างใน อจั ฉรา นวจินดา, 2549 โดยมีกรอบแนวคิดการศึกษาดังน้ีคอื “ชวี ติ ” ประกอบด้วย “ร่างกาย” และ “จิตใจ” ชวี ติ จะเจริญเตบิ โตได้ดว้ ยมีปจั จยั มาหล่อเลยี้ งท้ังร่างกายและจิตใจ มาสโลว์ ได้เสนอทฤษฎี Maslow’s Hierarchy Needs แสดงให้เหน็ ว่ามนุษยจ์ ะมคี วามตอ้ งการเปน็ แรงผลักดันหรือเป็นแรงจูงใจ อยู่ภายในท่จี ะใชพ้ ลงั ความรู้ความสามารถเพ่อื นาตนเองไปสู่จดุ มงุ่ หมายตามความตอ้ งการนนั้ และมาสโลวไ์ ด้ลาดบั ข้ันของความต้องการ 5 ระดบั ทกี่ ่อให้เกิดแรงจูงใจท่ลี ะข้ันจากระดบั ตา่ สู่ระดับสงู ให้เกิดการปฏบิ ัตเิ พ่อื ให้ได้รับหรือ สนองความตอ้ งการ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสงั คมในภมู ภิ าคเอเชยี และแปซิฟิกแห่งสหประชาชาติได้นา แนวความคิด คณุ ภาพชีวิต มากาหนดเป็นเกณฑ์การวดั คณุ ภาพชวี ติ หรือดัชนชี ้วี ัดคณุ ภาพชีวิต โดยมองคุณภาพชวี ติ

14 ในฐานะทเ่ี ปน็ ภาพรวมขององคป์ ระกอบต่างๆ ประกอบด้วย 7 ด้าน 28 ตัวชีว้ ดั คือ ด้านความม่ันคงปลอดภยั ทางเศรษฐกิจ ด้านสขุ ภาพ ดา้ นการศึกษา (การใช้สติปญั ญา) ดา้ นชีวิตการทางาน ด้านชีวิตครอบครวั ด้านชมุ ชน และด้านสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ นอกจากน้ีองค์การสหประชาชาติได้กาหนด เครอ่ื งชีว้ ดั คณุ ภาพชีวิตของ ประชากรในกลุ่มประเทศภาคพืน้ เอเชยี และแปซิฟิกไว้ 9 หมวด 45 ตัวชวี้ ัด ได้แก่ ด้านคุณภาพอนามยั ด้านการศกึ ษา ด้านการจ้างงานและชวี ติ การทางาน ด้านที่อยอู่ าศัย ด้านรายไดด้ ้านสวสั ดกิ ารสงั คม ด้านวัฒนธรรม ด้านความ ปลอดภัยของสาธารณะ และด้านส่งิ แวดลอ้ ม ต่อมาในปี 2005 ได้มีการพฒั นา ดชั นคี ณุ ภาพชีวติ เปรียบเทียบระหว่าง ประเทศ โดยนติ ยสารนกั เศรษฐศาสตร์โดยแบ่งเปน็ 9 องคป์ ระกอบ ได้แก่ ด้านความเป็นอยทู่ ี่ดที างวตั ถุ ด้านสขุ ภาพ ดา้ นชีวิตครอบครัว ด้านชีวิตชุมชนด้านสภาพภูมศิ าสตร์และภูมอิ ากาศ ด้านความม่นั คงในการทางาน ด้านเสถียรภาพ และความมัน่ คงปลอดภยั ทางการเมอื ง ด้านเสรีภาพทางการเมอื ง และด้านความเท่าเทียมระหวา่ งเพศ จึงเกิดการ กาหนดส่วนประกอบและการวดั คณุ ภาพชีวิต (อภวิ ฒั น์ บญุ สาธร, 2549, หนา้ 167-168; อา้ งอิงจากอิสมาอลี เจะ๊ (2554, หน้า 4) ดังนี้ 1. แบบจาลองการสารวจคุณภาพชีวิตของ ESCAP คือคณะผแู้ ทนที่ทางานเก่ยี วข้องกบั การกาหนด นโยบายและวางแผนพัฒนาของคณะ กรรมาธิการเศรษฐกิจและสงั คมสาหรับเอเชยี และแปซิฟิกจาก 54 ประเทศ พร้อมกับสมาชิกอกี 5 เขตการปกครอง ได้ร่วมกนั สร้างแบบจาลองการสารวจคุณภาพชวี ติ ของประชากรในภาคพ้ืน เอเชยี และแปซิฟิก โดยมีสว่ นประกอบ 7 ด้าน คือ 1) ด้านสุภาพ 2) ด้านการศึกษา 3) ด้านชีวติ การทางาน 4) ด้านสิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพ 5) ด้านชีวิตครอบครวั 6) ด้านชวี ติ ชุมชนและ 7) ด้านชีวิตวฒั นธรรม ชวี ติ จิตใจ และชวี ติ เวลาเสรี 2. การวดั คุณภาพชีวิตของประเทศมาเลเซีย ประเทศมาเลเซียได้สร้างตัวบ่งชีค้ ุณภาพชีวิตโดยพิจารณา จากเกณฑ์ 3 เกณฑ์ คือ ความสาคญั ของตัวบ่งชี้ ความสามารถทส่ี ะทอ้ นมติ เิ หลา่ นั้น และการมขี ้อมลู ที่จะนามาใช้ ในการวิเคราะห์ และไดใ้ ห้ความหมายของคณุ ภาพชีวิตวา่ เป็นผลรวมของส่วนประกอบ 10 ด้าน คือ 1) ด้านรายได้ และการกระจายรายได้ 2) ด้านการขนส่งและการสอ่ื สาร 3) ดา้ นสขุ ภาพ 4) ด้านการศึกษา 5) ด้านที่อยอู่ าศยั 6) ด้านสิง่ แวดลอ้ ม 7) ด้านชีวิตเวลาเสรีครอบครัว 8) ด้านการมสี ่วนร่วมทางสงั คม 9) ด้านความปลอดภยั สาธารณะ และ 10) ด้านวัฒนธรรมและการใช้ 3. เคร่อื งมือวัดคุณภาพชีวิตขององคก์ ารอนามัยโลก องค์การอนามัยโลกโดยทีมงาน WHOQOL ซึง่ ประกอบด้วยศนู ย์ปฏบิ ัตงิ านภาคสนามจานวน 15 ประเทศ ได้พัฒนาและนาเสนอเครอ่ื งมือวัดคณุ ภาพชีวิต ทีส่ ามารถนาไปใชไ้ ด้ท่วั ไป แม้ในกลุ่มประชากรทีม่ ีสังคมและวฒั นธรรมแตกต่างกนั เคร่อื งมือดงั กล่าวใหค้ วามสาคญั กับกระบวนการดูแลสุขภาพ ผลของการรักษาและความเปน็ อยทู่ ี่ดขี องผู้ป่วย โดยมีขอ้ คาถามจานวนทั้งส้นิ 100 ข้อ แบ่งเป็นคาถามดา้ นคุณภาพชีวติ และสุขภาพโดยรวม 4 ข้อ อีก 96 ข้อ จดั เปน็ 24 หวั ข้อ แต่ละหัวข้อมี 4 คาถาม และในจานวน 24 หัวข้อได้จดั กลุ่มเปน็ 6 ดา้ น คือ 1) ด้านร่างกาย 2) ด้านจิตวิทยา 3) ด้านระดบั ความเปน็ อิสระของ บุคคล 4) ด้านความสมั พันธ์กับสงั คม 5) ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม และ 6) ด้านจิตใจหรอื ดา้ นความเช่อื บคุ คล สาหรับในประเทศไทยได้มีการเสนอกรอบแนวคิดและการจัดทาตวั ชีว้ ัดการพัฒนาคุณภาพชวี ติ และการพฒั นาสังคมในลักษณะตา่ งๆ โดยนักวิชาการ นักวจิ ยั และปราชญช์ าวบ้าน ตลอดจนองค์กรตา่ งๆ เพ่อื นาไปเป็นทางเลือกให้แกส่ ังคมมากขึ้นมี ดงั นี้ 1. ด้านสทิ ธิเสรีภาพและการเมอื ง นักวชิ าการ เชน่ ศ.เสนห่ ์ จามริก ศ.ดร.สปิ ปนนท์ เกตทุ ตั เป็นตน้ ที่นาเสนอแนวทางการจัดการทางกฎหมายและสทิ ธิชมุ ชนในการจดั การทรพั ยากร ซึ่งเป็นเครอ่ื งบ่งบอกการรบั รู้สทิ ธิ ของภาคประชาชน

15 2. ด้านการศกึ ษา ได้มกี ารนาเสนอแนวคิดในการจัดมาตรฐานทางการศกึ ษาท้ังในแงก่ ารพฒั นาบุคคล สถานศกึ ษา ระบบการบริหารจดั การการศึกษาทางเลอื ก และการรบั รู้ของประชาชนในการเรียนรู้ เปน็ ต้น 3. ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ได้มกี ารนาเสนอกระบวนการจัดการระบบนเิ วศของฝ่ายต่างๆ โดยประเมินผลกระทบ ทีม่ ีต่อสิ่งแวดลอ้ ม ตลอดจนองค์กรเอกชน อาทิ มลู นิธิคมุ้ ครองสตั วป์ ่าและพรรณพชื แห่งประเทศไทย สถาบนั ชมุ ชน ท้องถิน่ พัฒนา ได้เสนอแนวทางในการจดั ทาตัวชวี้ ดั การพัฒนาในดา้ นตา่ งๆ เชน่ สิทธิชมุ ชนในการจัดการทรัพยากร การอนรุ กั ษท์ รัพยากรโดยชุมชน การแกไ้ ขปญั หาด้านส่งิ แวดลอ้ ม 4. ด้านคณุ ภาพชวี ติ และการพัฒนาสังคม ทีน่ าเสนอโดยพระธรรมปิฏก ศ.นพ.ประเวศ วะสี ดร.ป๋วย อ้ึงภากรณ์ ศ.ดร.อมรา พงศาพิชญ์ ดร.เสรี พงศ์พิศ และ ดร.สลี าภรณ์ (นาครทรรพ) บวั สาย ดงั ตัวอยา่ ง เชน่ ประเวศ วะสี (อา้ งในเสรี พงศ์พิช, บรรณาธกิ าร, 2531) ได้อธิบายวา่ คุณภาพชีวิต ควรประกอบด้วยเสรีภาพ 3 ดา้ น ได้แก่ 1) ด้านวัตถุ เชน่ การมวี ตั ถปุ จั จยั พอเพยี งเลยี้ งชีวิตไมต่ อ้ งถูกบีบคั้นจากความอดอยากขาดแคลน 2) ด้านสังคม เชน่ ไมม่ กี ารกดขี่เบียดเบียนกนั ในสงั คมมนษุ ย์ สามารถเปน็ ตัวของตัวเอง สามารถตัดสินด้วยตนเองได้ที่จะเลือกดาเนิน ชวี ติ ที่ถูกต้องและดีงาม 3) ด้านจิตใจ นอกจากน้ันได้มกี ารพัฒนาตัวบง่ ชแี้ ละดชั นกี ารวัดคณุ ภาพชวี ติ ในประเทศไทยดังน้ี 1. ตวั บ่งชคี้ วามอยู่ดมี สี ุขของคนไทย (สศช.) โดยได้กาหนดแนวคิดในการประเมินการพฒั นาเศรษฐกิจ และสงั คมของประเทศข้นึ มา โดยเรียกแนวคิดน้วี ่า “ความอยู่ดมี สี ขุ ของคนไทย” ความหมายของแนวคิดนีร้ ะบวุ ่า หมายถงึ การมสี ขุ ภาพที่ดที ้ังร่ายกาย และจิตใจ มคี วามรู้ มีงานทาทท่ี ว่ั ถึง มีรายได้เพยี งพอต่อการดารงชีพ มคี รอบครวั ที่อบอนุ่ มน่ั คง อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มที่ดี และอยภู่ ายใตร้ ะบบบริหารจดั การที่ดขี องภาครัฐ โดยได้กาหนด ส่วนประกอบของความอยู่ดมี สี ขุ ไว้ 7 ด้าน คือ 1) ด้านสุขภาพอนามยั 2) ด้านความรู้ 3) ด้านชีวติ การทางาน 4) ด้านรายได้และการกระจายรายได้ 5) ด้านชีวิตครอบครวั 6) ด้านสภาพแวดลอ้ ม และ 7) ด้านการบริหารจัดการ ที่ดี 2. ดัชนีความก้าวหน้าของคน โครงการพฒั นาแหง่ สหประชาชาติ ประจาประเทศไทยได้จดั พมิ พร์ ายงาน การพฒั นาคนของประเทศข้นึ มา โดยในรายงานฉบบั น้ี UNDP ได้จัดสร้าง “ดชั นคี วามก้าวหนา้ ของคน” ขนึ้ โดยพัฒนา มาจาก “ดัชนคี วามขดั สน” ซึง่ วตั ถุประสงค์ของ UNDP ในการพฒั นาดัชนีความก้าวหน้าของคน เพือ่ ใชแ้ สดง ความก้าวหนา้ ของการพฒั นาคนมากกว่า ทจ่ี ะพจิ ารณาในเรื่องความขัดสนนัน่ คอื เปน็ การมองภาพของผลการพัฒนา ในเชงิ บวกมากกวา่ จะมุ่งเนน้ ที่ความขาดแคลนขดั สน โดยดชั นีความก้าวหน้าของคนมลี ักษณะเปน็ หลายด้านและมีนยั เชงิ นโยบาย ดัชนีความก้าวหน้าของคน มีการวัดใน 8 ด้าน คือ 1) ด้านสขุ ภาพ 2) ด้านการศึกษา 3) ดา้ นการทางาน 4) ด้านรายได้ 5) ดา้ นที่อยอู่ าศยั และสภาพแวดล้อม 6) ด้านชีวติ ครอบครวั และชมุ ชน 7) ด้านการคมนาคม และการส่อื สาร 8) ด้านการมีสว่ นร่วม 3. โครงการกาหนดดัชนคี ุณภาพชีวิตของไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ ในฐานะทเ่ี ปน็ หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องใชใ้ นการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการและการดาเนนิ การต่างๆ ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตความเป็นอยขู่ องประชาชน แตเ่ น่ืองจากท่ผี ่านมามีชดุ ข้อมลู ที่สะท้อนคุณภาพชีวิตของคน ไทยอยหู่ ลายชุด ซึ่งหน่วยงานหลายแหง่ ได้จดั ทาขนึ้ และเรียกช่อื ต่างๆ กนั ไป ดงั นนั้ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและ ความม่นั คงของมนุษยจ์ ึงได้ดาเนินการศึกษา ทบทวน รวบรวมข้อมลู เกีย่ วกบั ตัวบ่งชีค้ ณุ ภาพชีวิต เพือ่ จดั ทาดชั นี คณุ ภาพชีวิตให้เหมาะสมกบั สถานการณป์ ัจจบุ ัน ทบทวน รวบรวมขอ้ มลู เกีย่ วกบั ตัวบ่งชคี้ ุณภาพชีวิต เพื่อจัดทาดชั นี คณุ ภาพชีวิตให้เหมาะสมกับสถานการณป์ ัจจบุ ัน สาหรับเปน็ เครือ่ งมอื วดั ระดับคุณภาพชวี ติ ของคนไทย ซึง่ ประกอบด้วย 11 ดา้ น คือ 1) ด้านสขุ ภาพ 2) ด้านการศึกษา 3) ด้านทีอ่ ยอู่ าศัย 4) ด้านส่งิ แวดลอ้ ม 5) ด้านรายได้

16 6) ด้านการทางาน 7) ด้านจรยิ ธรรม 8) ด้านครอบครัว 9) ด้านความปลอดภยั 10) ด้านการคมนาคมและการสอ่ื สาร และ 11) ด้านการมสี ่วนร่วม องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) (The WHOQOL Group, 1995 อ้างในศิรินนั ท์ กิตติสขุ สถิต (2555, หนา้ 19) กล่าววา่ คณุ ภาพชีวิตของแต่ละบุคคลขึ้นอยู่กับบริบททางสังคม วฒั นธรรม และค่านิยม ในเวลาน้ันๆ และมี ความสมั พนั ธ์กับจุด มงุ่ หมาย ความคาดหวงั และมาตรฐานที่แตล่ ะคนกาหนดขนึ้ ซึ่งประกอบ ด้วย 4 มิติ ดังนี้ 1) มิตดิ ้านสุขภาพกาย (Physical) 2) มิตดิ ้านสุขภาพจิต (Psychological) 3) มิตดิ ้านความสมั พันธ์ทางสังคม(Social relationships) และ 4) มิตดิ ้านสภาพแวดลอ้ ม (Environmental) องคก์ ารสหประชาชาติ (United Nations, 2009) ได้เริม่ โครงการพฒั นาดัชนีการพฒั นามนุษย์ (Human Development Index: HDI) โดยมีแนวคิดในการวดั คุณภาพชีวิต หรือความอยู่ดมี สี ขุ วา่ ไมค่ วรเนน้ ในการให้ความสาคญั ในเชงิ ปริมาณเพียงอย่างเดียว เช่น รายได้หรือผลผลิต เปน็ ต้น แตค่ วรวดั ดว้ ยตวั ชวี้ ดั ทางสังคม ทเ่ี ปน็ ปจั จัยพนื้ ฐานในการพฒั นามนุษยท์ ีค่ วรประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ การมชี วี ติ ที่ยืนยาว ความรู้ และมาตรฐานความเป็นอยู่ การศึกษาคุณภาพชีวิตทีก่ ลา่ วมาข้างตน้ นี้ ได้ทาการวัดคณุ ภาพชวี ติ โดยกาหนดระยะเวลาอย่างชัดเจน คือ เวลาท่ถี กู ถามในขณะนนั้ ดังนน้ั ระดับคุณภาพชวี ติ จะสงู หรือต่าจึงขนึ้ กบั สภาพแวดลอ้ ม ณ เวลานน้ั ซึง่ Dupuis et al. (2000) ได้กล่าวเชน่ เดียวกันวา่ “คณุ ภาพชีวิตควรถูกวัด ณ เวลาใด เวลาหนง่ึ ซึง่ แต่ละคนย่อมมคี ุณภาพชีวิตทีแ่ ตกต่างกันในแต่ละระดับ ท้ังนี้ ขึ้นอยู่กบั เป้าหมายของแต่ละบคุ คล ที่มีความพึงพอใจในระดับต่างกนั ” สาหรับประเทศไทยมกี ารศึกษาทดลองกาหนดดชั นชี ้วี ดั คุณภาพชีวิตตง้ั แต่ พ.ศ. 2525 ซึ่งจะมกี ารกาหนด ความจาเปน็ พืน้ ฐาน (basic minimum need หรือ BMN หรือ จปฐ.) เพราะการดารงชีวิต จะดีหรอื ไม่ดนี น้ั ต้องอาศัย เครอ่ื งชวี้ ดั โดยมีเกณฑ์ความจาเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ.) ซึง่ หมายถึง ความจาเปน็ ขน้ั ต่าสดุ ทท่ี กุ คนในชุมชนควรจะมี หรือควรจะเปน็ ในชว่ งระยะเวลาหนง่ึ เพอ่ื ให้มชี วี ติ ทีด่ แี ละสามารถดาเนนิ ชีวิตอยู่ในสงั คมได้อย่างปกติสขุ ตามสมควร ซึ่งการนาเคร่อื งชวี้ ดั ความจาเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) มาเปน็ เคร่อื งมือในการวัด เพือ่ ให้ประชาชนในหมู่บ้านทราบถึงสภาพ ความเปน็ อยขู่ องตนเอง ครอบครวั และชมุ ชนวา่ บรรลตุ ามเกณฑ์ความจาเป็นพืน้ ฐานแล้วหรือไม่ รวมท้ังสง่ เสริมให้ ประชาชนมสี ่วนร่วมในการพฒั นานับตง้ั แตก่ ารกาหนดปญั หาตามตอ้ งการทีแ่ ท้จริงของชมุ ชน ตลอดจนค้นหาสาเหตุ และแนวทางแก้ปญั หาโดยใชข้ ้อมลู จปฐ. ทม่ี อี ยู่ เพ่อื ให้สามารถแก้ไขปญั หาได้ตรงจุดมากขึ้นความจาเปน็ ขน้ั พ้ืนฐาน (จปฐ.) จะประกอบด้วย 9 หมวด 37 ดัชนีชวี้ ดั การวัดความสุขของกรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ ความสุข ถูกนามาเกีย่ วข้องกับคณุ ภาพชวี ติ อยา่ งเลีย่ งไมไ่ ด้ แมบ้ ริบทของคาวา่ “ความสขุ ”จะเป็นนามธรรม ลึกซึ้งและยงั เป็นที่ ถกเถียงกนั ถึงวธิ ีการวดั มาโดยตลอด อยา่ งไรก็ตาม นยิ ามและทฤษฎี ที่เกีย่ วกับคุณภาพชวี ติ ต่างมคี าว่า “ความสขุ ” เข้ามาร่วมดว้ ย ดงั น้ัน การวดั ความสขุ จึงเปน็ ตัวทีส่ ามารถวัดสะทอ้ นการมคี ุณภาพชีวิตที่ดี ไดใ้ นระดับหนง่ึ การพฒั นาการบรหิ ารเชงิ บูรณาการเพือ่ การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตเด็กและเยาวชน การบูรณาการทีม่ ีประสิทธิผลเป็นมากกว่าความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกนั (Alignment) ซึ่งการดาเนนิ การของแตล่ ะองคป์ ระกอบภายใน ระบบการจดั การ ผลการดาเนินการมคี วามเชอ่ื มโยงกนั เป็นหนึง่ เดียว อย่างสมบูรณ์ เกรยี งศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2546) การบรู ณาการเป็นการเชอ่ื มสิง่ หนง่ึ หรือหลายสง่ิ เข้ามาเปน็ ส่วนประกอบกับอกี สิ่งหนึ่งให้มี ความสมบรู ณ์กลายเป็นสว่ นหนง่ึ ของแกนหลักหรือส่วนประกอบทีใ่ หญ่กว่า การบรู ณาการ หมายถงึ กระบวนเช่อื มประสานสิง่ หนึง่ หรือหลายสง่ิ ผสมผสานสิ่งที่มีอยเู่ ข้ามารวมกนั ให้มคี วาม ประสานสมั พนั ธ์แบบองคร์ วมเป็นหน่ึงเดียว ครบถ้วนสมบรู ณ์ เป็นเอกภาพในตวั แบบไมแ่ ยกสว่ น จนกลายเปน็ ส่วนหนึ่งของแกนหลักหรือส่วนประกอบทีใ่ หญ่ขนึ้ (เอกสารรวบรวมความรู้การบูรณาการจากเอกสาร

17 http://asl.kpru.ac.th.) “การบูรณาการ” เป็นการผสมผสานทรพั ยากรทีม่ ีอยู่ นามาบริหารจดั การร่วมกันเพ่อื ให้เกิด การพฒั นา หรอื ทาให้ดีข้นึ น่นั หมายความวา่ การบูรณาการนนั้ ไมม่ สี ูตรสาเรจ็ รปู ตายตวั แตผ่ ลที่ได้รับออกมาต้อง ดีกวา่ เดิมถ้าผสมผสานทรพั ยากรแล้วแยก่ ว่าเดิมก็ถือว่าไมเ่ กิดการบูรณาการหากเปรียบเทียบการบริหารเป็นการ ตาส้มตาผู้บริหารแตล่ ะคนกม็ ีเครื่องปรงุ วตั ถุดิบอยู่ตรงหนา้ ผู้ทีส่ ามารถผสมผสานได้ส้มตาออกมารสชาติอร่อย กถ็ ือว่าเป็นสม้ ตาบูรณาการถ้าไมอ่ ร่อยสม้ ตานนั้ ก็ไมบ่ รู ณาการ (จุรวี ัลย์ ภักดวี ฒุ ,ิ 2551 : บทความวิชาการ) สรุปได้ว่าการบูรณาการ จงึ เปน็ การวางแผนการทางานรว่ มกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกบั การพัฒนา คุณภาพชีวิตนักเรียนเข้าดว้ ยกันเปน็ องค์รวมใหม่เพอ่ื ให้การดาเนนิ งานเกิดผลสมั ฤทธิ์อยา่ งมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนส์ ูงสุด อาศยั กระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อสร้างวาระงานระดบั พ้ืนที่ (Area Agenda) โดยใชท้ รพั ยากรร่วมกันมงุ่ ไปสผู่ ลสาเรจ็ และเป้าหมายร่วมกนั ทั้งนีอ้ าจเชือ่ มโยงสิ่งหน่งึ หรือหลายสง่ิ ผสมผสานสง่ิ ที่มี อยู่เข้ามารวมกันให้มคี วามประสานสัมพนั ธ์แบบองคร์ วมเปน็ หน่งึ เดียว ครบถ้วน สมบรู ณ์ อาทิ การบรู ณาการระหว่าง หนว่ ยงาน การบรู ณาการเชงิ หนา้ ท่ี การบรู ณาการโครงการ การบรู ณาการการปฏบิ ตั กิ าร หรอื หลายลักษณะ เข้าดว้ ยกันเพอ่ื ให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์หรือเป้าหมายงานนนั้ ๆ แนวคิดระบบการบริหารงานราชการแบบบรู ณาการ (บุญเกียรติ การะเวกพันธ์ุ และคณะ. http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title. 2559) กล่าวถึง การวางระบบบริหารราชการแบบบูรณาการที่มีมาในการบริหาร ราชการช่วงสมัยรฐั บาลหน่งึ ซึ่งได้นามาใชก้ นั อย่างกว้างขวางในรฐั บาลทกั ษณิ ชนิ วตั ร รายละเอยี ด ดงั น้ี 1. วางระบบการบริหารงานแบบบูรณาการในยุทธศาสตร์สาคัญของประเทศ (Cross Functional Management System) ตามหว่ งโซ่แห่งคณุ ค่า (Value Chains) ครอบคลมุ กระบวนการ ตง้ั แตต่ น้ น้า กลางนา้ จนกระท่ังปลายน้า รวมท้ังกาหนดบทบาทภารกิจให้มคี วามชัดเจนว่าใคร มคี วามรบั ผิดชอบในเรือ่ งหรือกิจกรรมใด รวมทั้งการจดั ทาตัวช้วี ดั ของกระทรวงทีม่ ีเป้าหมาย รว่ มกนั (Joint KPIs) 2. การออกแบบโครงสร้างและระบบบริหารงานราชการใหม่ในรูปแบบของหน่วยงานรูปแบบพเิ ศษ เพ่อื ให้สามารถรองรบั การขบั เคลือ่ นประเดน็ ยทุ ธศาสตร์สาคัญของประเทศที่ต้องอาศัย การดาเนนิ งานทีม่ ีความ ยดื หยุ่น คล่องตัว ไม่ยดึ ตดิ กับโครงสร้างองค์การและระบบราชการแบบเดิม 3. ปรับปรุงการจัดสรรงบประมาณให้มีลักษณะแบบยดึ ยทุ ธศาสตร์และเป้าหมายร่วมเป็นหลกั เพ่อื ให้ เอ้ือตอ่ การขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์สาคัญของประเทศและการบริหารงานแบบบรู ณาการ 4. พัฒนารูปแบบและวิธีการทางานของภาครฐั ในระดบั ต่างๆ (Multi-Level Governance) ระหวา่ งราชการ บริหารส่วนกลาง ส่วนภมู ภิ าค และส่วนท้องถิ่น โดยเนน้ การยึดพ้ืนทีเ่ ป็นหลกั เพอ่ื ให้เกิดความร่วมมอื ประสาน สัมพันธ์กนั ในการปฏบิ ัตงิ านและการใชท้ รพั ยากรให้เป็นไป อยา่ งมีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าและไมเ่ กิดความ ซ้าซ้อน และปรบั ปรุงการจดั สรรงบประมาณ ให้เปน็ แบบยดึ พ้ืนที่เป็นตัวตงั้ (Area-based Approach) รวมท้ังวาง เงอ่ื นไขการจัดสรร งบประมาณให้กระทรวง/กรม ต้องสนบั สนุนการขับเคลือ่ นแผนพฒั นาจังหวดั /กลุ่มจังหวัดใน สดั สว่ นวงเงินงบประมาณทเ่ี หมาะสม การวางระบบการบริหารงานราชการแบบบูรณาการ มีลกั ษณะสาคัญดังน้ี ในแนวทางการบริหารเชงิ บูรณาการจะประสบความสาเร็จได้ จะต้องได้รับความร่วมมอื จากทกุ ฝ่าย เริ่มจาก แนวความคิดของแตล่ ะคนที่จะเปลี่ยนแนวคิดทีละแนว ทงิ้ แนวคิดแบบเดิมๆ ทีอ่ ยใู่ นกรอบ มาแสวงหาวิธีการใหม่ๆ คิดออกนอกกรอบ นากฎ ระเบยี บมาเป็นเคร่อื งมือสนับสนนุ การบริหาร ไมใ่ ชม่ าเป็นขอ้ จากดั ทางการบริหารผู้บริหาร จึงตอ้ งเปน็ ผู้แสวงหาความรู้ แสวงหาประสบการณ์ในการทางานอยา่ งต่อเนอ่ื งกลา้ ได้กลา้ เสีย และตดั สนิ ใจเร็ว บนพนื้ ฐานข้อมลู ที่ถูกต้อง ผู้บรหิ ารลักษณะน้จี ะต้องเปน็ ผู้ต่นื ตวั เสมอ และทีส่ าคญั ทีส่ ุดผู้บริหารจะต้องมที ีมงานทีด่ ี ทั้งทีมนโยบาย ทมี ยทุ ธศาสตร์การทางาน ทีมประเมินตดิ ตามผล ทางานร่วมกนั โดยการรวมพลัง โดยมีการกาหนด ตัวชีว้ ดั ผลงานทงั้ ปริมาณ คุณภาพ และเวลาเปน็ เกณฑ์การทางาน

18 จากแนวคิดการบริหารเชงิ บูรณาการ สู่แนวทางการพฒั นาการบริหารเชงิ บูรณาการ ขับเคลื่อนสกู่ าร บริหารงานจึงมคี วามจาเปน็ ที่รฐั จะต้องปรบั ปรุงการบริหารงานราชการให้ทันสมยั และสนองตอ่ ความต้องการ และการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ที่ดขี องประชาชน ผู้เขียนได้นาขอ้ มลู ที่ได้จากการศึกษานีม้ าใชเ้ ปน็ สว่ นหน่งึ ของงานวิจัย เรื่องรูปแบบการบริหารและการจัดการแบบบูรณาการเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ติ เด็กและเยาวชนลุ่มนา้ วัง เอกสารอา้ งองิ กรมกิจการเด็กและเยาวชน. (2560). ร่างแผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ 2560-2564. สบื ค้นเมอ่ื 21 กันยายน 2560, กรมกิจการเด็กและเยาวชน(ดย.): http://dcy.go.th งานป้องกนั และแกไ้ ขพฤตกิ รรมนักเรียนโรงเรียนวังเหนอื วิทยา. (2559). รายงานการประชมุ หัวหน้าสว่ นฯ อาเภอวังเหนอื . จงั หวดั ลาปาง งานระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนโรงเรียนวังเหนอื วิทยา. (2559). เอกสารรายงานโครงการ.สานักงาน เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 35. จาลอง คาบญุ ชู. (2556). โครงการตดิ ตามสภาวการณ์เด็กและเยาวชนรายจังหวดั (Child Watch) ปี 2556 : ภาคเหนอื ตอนบน (เชยี งราย เชียงใหม่ พะเยา แพร่ นา่ น แม่ฮ่องสอน ลาปางและลาพูน). กรงุ เทพมหานคร: สานกั งานกองทุนสนับสนุนการวจิ ัย. ประเวศ เวชชะ. (2559). การบริหารหลักสูตร การสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้. (คร้ังที่ 3) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งราย. รจนา คงคาลับ. (2550). ปัจจัยส่วนบคุ คลและสมั พันธภาพในครอบครัวกบั คณุ ภาพชวี ติ ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษา ตอนปลายในสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาชลบุรี เขต 1 จงั หวดั ชลบุรี. ปริญญา. ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต (พฒั นสังคมศาสตร) สาขาพัฒนาสงั คมศาสตร โครงการสหวทิ ยาการระดับ. บัณฑติ ศึกษา โรงเรียนวงั เหนอื วิทยา. (2559). เอกสารรายงานการประเมินตนเอง. จังหวดั ลาปาง : สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 35. สถานีตารวจภธู รวังเหนอื . (2559). รายงานการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการ บริหารงานตารวจ. จังหวัดลาปาง สานกั งานป้องกนั บรรเทาสาธารณภัยสาขาวังเหนอื . (2559). รายงานการประชุมหัวหน้าสว่ นฯ อาเภอวงั เหนอื . จังหวัดลาปาง สานกั งานพระราชกฤษฎกี า. (2546). พระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534. สบื ค้นเมอ่ื 21 กนั ยายน 2560,: https://www.etda.or.th สานกั บณั ฑิตอาสาสมัคร มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. (2555). คมู่ อื แนวทางการบริหารจัดการเชงิ บูรณาการ: กรณศี กึ ษาโครงการเมอื งน่านนา่ อยู่. กรมส่งเสริมคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อาเภอวังเหนอื . (2559). รายงานการประชมุ หัวหน้าสว่ นฯอาเภอวงั เหนอื . จงั หวดั ลาปาง

19 ภาวะผ้นู าของโรงเรียนเอกชน ดร.ชีวนิ อ่อนละออ* ดร.วานิช ประเสริฐพร** ดร.เอกราช โฆษิตพิมานเวช*** บทนา โรงเรียนเอกชนเปน็ องค์กรทางการศกึ ษาของเอกชน ในการกากบั ของภาครัฐมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา ของประเทศมามากกว่า 100 ปี ตลอดจนมบี ทบาทสาคัญในการแบ่งเบาภาระความรบั ผิดชอบของภาครฐั มาโดยตลอด อย่างตอ่ เน่อื ง ปจั จุบันในประเทศไทยมีโรงเรียนเอกชนเกิดข้ึนจานวนมาก เป็นที่นิยมของผู้ปกครองทีส่ ง่ บุตรหลาน ศกึ ษาตอ่ จนเปน็ ที่ยอมรบั ของสังคม ปจั จุบนั มกี ารเปลีย่ นแปลงดา้ นตา่ งๆ เกิดข้ึนอย่างรวดเร็วและตอ่ เน่อื ง ส่งผล กระทบตอ่ การจัดการศึกษาโดยตรง ประกอบกบั การแขง่ ขนั ระหว่างโรงเรียนเอกชนดว้ ยกนั และโรงเรียนของรฐั สงู มาก ตอ้ งอาศยั ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นาทีน่ าพาโรงเรียนฟันฝ่าอุปสรรคทม่ี ากมาย และสลบั ซับซ้อนใหบ้ รรลจุ ดุ มุ่งหมาย มคี วามสามารถ ไหวพริบ ปฏภิ าณ มีความรอบรู้วิชาการตา่ งๆ รอบด้าน มวี สิ ัยทัศน์ก้าวไกล สร้างความสมดลุ ในมติ ิ ด้านสังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม (จิรายุ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา, 2558) สามารถคาดการณใ์ นอนาคตได้ และเตรียมพร้อมรองรับการเปลีย่ นแปลง รทู้ ันโลก เรียนรู้ส่งิ ใหมๆ่ พัฒนาตนเองตลอดเวลา เสริมสร้างศกั ยภาพให้กับ ตันเอง เพ่อื นร่วมงานและโรงเรียนมคี ณุ ธรรม มีหลกั ปฏิบัตขิ องตน ผู้บริหารในการครองตน ครองคน ครองงาน มธี รรมาภบิ าล เปน็ แบบอย่างที่ดี มจี ิตสานกึ ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชีวิต เปน็ คนประหยัด ใชจ้ ่ายเท่าที่จาเป็น สอดคล้องความตอ้ งการและความจาเป็น พัฒนาก้าวหนา้ พึ่งพาตนเองได้ ใชท้ รพั ยากรอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์ สูงสดุ ไมฟ่ มุ่ เฟือย มคี วามรอบคอบในการตดั สนิ ใจ มีเหตุผลในการวางแผนและการสงั่ การ เป็นทีย่ อมรับ มองเห็นผล มหี ลกั วิชาการนามาใชอ้ ย่างเท่าทันและชาญฉลาดแมจ้ ะอยู่ในสภาวะขาดแคลน สรา้ งความมุ่งม่นั ความเข้าใจในการ เปลี่ยนแปลง บริหารสิ่งทีท่ ้าทายอยา่ งมีเหตุผลมีภูมคิ ุ้มกันในตวั ทีด่ ใี นการเตรียมความพร้อม ในการรับผลกระทบ ความเสีย่ ง และผลการเปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ งๆ ท่คี าดว่าจะเกิดขน้ึ ในอนาคตทงั้ ใกล้และไกล มีระบบทีร่ องรับ ทุกสถานการณท์ ้ังภายใน-ภายนอกโรงเรียน พฒั นาบุคลาการทกุ ฝ่ายให้มคี วามรู้และประสบการณ์ ปรบั ตวั ยอมรบั การเปลีย่ นแปลง คานงึ ถึงการพฒั นาอย่างยัง่ ยนื สามารถนาพาโรงเรียนดาเนนิ งานตลอดไปเคียงคู่สังคมไทย ได้อยา่ งตลอดไปและตอ่ เนอ่ื ง (บุญรอด เหลอื งาม, 2560) ความหมายภาวะผู้นาของโรงเรียนเอกชน ภทั รานิต พุทธิเรืองศกั ดิ์ (2560) ได้ให้ความหมายว่า พฤติกรรมของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนที่ใชห้ ลกั การ ดาเนนิ ชีวิต หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง มงุ่ เนน้ ความม่ันคงและความยง่ั ยืนของการพฒั นาอนั มคี ณุ ลักษณะ ที่สาคญั คือ ความสามารถประยุกตใ์ ชไ้ ด้ในทกุ ระดับ ตลอดจนให้ความสาคัญกบั คาว่าความพอเพยี งทีป่ ระกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ลและมภี มู ิคมุ้ กนั ในตัวที่ดภี ายใตเ้ งอ่ื นไขของการตัดสนิ ใจและการดาเนนิ กิจกรรม ทีต่ ้องอาศัยเง่อื นไขความรู้และเงอ่ื นไขคุณธรรม * อาจารย์ประจาวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย ** คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ *** ผู้อานวยการโรงเรียนเอกศึกษาขอนแก่น ตาบลดอนหัน อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่

20 เกษม วฒั นชัย (2556) ได้ให้ความหมายว่าพฤตกิ รรมของผู้บรหิ ารโรงเรียนที่มีความประหยัดไม่ข้ีเหนยี ว ทาอะไรด้วยความละมนุ ละม่อม ด้วยเหตุดว้ ยผล พอเพยี ง คือไมโ่ ลภ ไม่เบียดเบียนและพอประมาณตามอตั ภาพ บคุ คลและองค์กรทกุ ระดบั ที่นาไปปฏบิ ตั ิ มีภมู ิคมุ้ กันในตวั ที่ดแี ละนามาซึง่ ความสุขเป็นรากฐานรองรบั ความ เปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ เกือ้ วงศ์บุญสิน (2558) ได้ให้ความหมายพฤตกิ รรมของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน ทพ่ี ฒั นาตรงกับความ ตอ้ งการ ความจาเปน็ ในปัจจุบนั โดยสามารถรองรบั ความตอ้ งการหรือความจาเป็นที่จะเกดิ แกช่ นรุ่นหลังๆ ด้วยทั้งนี้ ในปจั จบุ ันโดยสามารถรองรบั ความตอ้ งการ หรอื ความจาเป็นขนั้ พนื้ ฐานตา่ สุดจะย่ังยืนตอ่ เม่อื มาตรฐานการบริโภค ในทกุ หนทกุ แห่งคานงึ ถึงความมนั่ คงยัง่ ยนื ในระยะยาว (Long-term Sustainability) รวมถึงครอบคลมุ มาตรฐานการ รกั ษามรดกทางทรัพยากร ทจ่ี ะตกกบั คนรุ่นหลังโดยเปน็ การพฒั นาทท่ี าให้คุณภาพชวี ติ ดขี ึน้ อยา่ งแทจ้ รงิ มุ่งผลลัพธ์ ทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ ในเชงิ สร้างสรรค์ Brent Davies (2015) ไดใ้ ห้ความหมายภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชนวา่ บุคคลทม่ี บี ทบาทและมีภาวะผู้นาโดยมุ่ง ผลลัพธ์มากว่าผลผลิต เสริมสร้างพฒั นาโรงเรียนเอกชนให้สงู ข้นึ ไปเรื่อยๆ มัน่ คงยัง่ ยืน ยนื หยัด พฒั นาอย่างตอ่ เน่อื ง เป็นพลวตั รสงู สง่ ไปเรื่อยๆ โดยจะมีกระบวนการกลไกขับเคลือ่ นให้ก้าวหน้า พัฒนาตอ่ ไปอยา่ งไมห่ ยุดยง้ั มีภูมคิ ุ้มกันใน ตัวที่ดี แม้จะมีการเปลีย่ นแปลงใดๆ เกดิ ขนึ้ ที่ไมค่ าดคิดอยไู่ ด้แมเ้ กิดวกิ ฤตเพราะมีปจั จยั ช่วยคา้ จุน สามารถ อยู่รอดได้ Fullan (2013) ไดใ้ ห้ความหมายภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชนวา่ ผู้บริหารทีห่ าวธิ ีการบริหารจดั การ เพือ่ การ แก้ไขปญั หาโดยใชแ้ นวคิด 8 พลงั ขบั เคลื่อนเพอ่ื การเปลี่ยนแปลง ผู้นาท่มี ลี กั ษณะการถ่อมตวั สูง มคี วามตง้ั ใจในการ พัฒนาเพือ่ ความก้าวหนา้ ในวชิ าชพี ของตนอย่างยิง่ คือ ลักษณะของผู้นาที่จะสามารถทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลง อย่างย่ังยนื ถาวรในโรงเรียนเอกชน แม้จะพน้ จากตาแหนง่ หรือพน้ื จากความรบั ผิดชอบไปแลว้ กย็ ังสามารถสร้างผู้นาไว้ ในองค์กรนนั้ เพ่อื ให้ช่วยกันทาหนา้ ท่ีในการขบั เคลือ่ นกระบวนการเปลี่ยนแปลงตอ่ ไปอยา่ งต่อเน่ือง จนกลายเปน็ พฤตกิ รรมที่ถาวรของโรงเรียนเอกชน กล่าวโดยสรุป ภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชน หมายถึง พฤตกิ รรมของผู้บริหารของโรงเรียนเอกชนมี ความสามารถ มีเครอื ขา่ ยพลงั การสบื ทอดเพ่อื ความต่อเนอ่ื งและยัง่ ยืน ซึ่งประกอบด้วยความรู้ คณุ ธรรม ความพอประมาณ การมีเหตผุ ล และภมู ิคมุ้ กนั ในตวั ที่ดี องคป์ ระกอบภาวะผู้นาโรงเรยี นเอกชน กิ่งแก้ว ศรีลาลกี ุลรตั น์ (2558) ได้กลา่ วว่าภาวะผู้นาต้องมองเป็นผู้บริหารที่มีปรัชญาในแง่วัตถวุ ิสัย และจิตวสิ ัยดังน้ี 1. มองอยา่ งวตั ถวุ สิ ัย มองภายนอกคือ ตอ้ งมีกินมใี ช้ มีปัจจยั สเ่ี พยี งพอ ทีเ่ ราพดู วา่ พอสมควรกบั อัตภาพ ซึ่งใกล้เคียงกับคาว่า พึ่งตนเองได้ในทางเศรษฐกิจ 2. ส่วนความหมายดา้ นจิตวสิ ัยหรือด้านจติ ใจภายในคอื คนจะมคี วามรู้สกึ เพียงพอไมเ่ ท่ากนั บางคนมี เป็นลา้ นกไ็ มพ่ อ บางคนมนี ดิ เดยี วก็พอเปน็ การเพยี งพอทางจิต สรุปอย่างสนั้ ๆ วา่ ภาวะผู้นาต้องนาโรงเรียนเอกชนอยอู่ ย่างพอดีนั่นเอง เม่อื พอดแี ลว้ ตอ่ ไปจะขยับ ขยายให้มีมากขึ้นอกี กไ็ ด้ ขอเพยี งแต่ตอ้ งหามาไดโ้ ดยถูกตอ้ งชอบธรรม นอกจากน้ยี ังอา้ งถึงท่านพุทธทาสภกิ ขุได้ เสนอแนะให้คนไทยนามาประพฤติปฏบิ ัติ เพื่อความอยู่รอดบนโลกนีใ้ ห้เหมาะกบั สภาพวกิ ฤตต่างๆ ในปัจจบุ ันดังนี้

21 1) ความขยันขนั แข็ง 2) ความสภุ าพอ่อนโยน 3) ความกตัญญู 4) ความมีศีลมีสตั ย์ 5) ความประหยดั 6) ความเมตตา ใจกวา้ ง ใจบญุ 7) ความอดทนกล้ัน 8) การยอมได้ 9) ความไมต่ ามใจกิเลศ 10) ความมแี บบฉบบั เปน็ ของตนเอง บญุ รอด เหลอื งาม (2560) ได้กล่าวว่าภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชนจะต้องเปน็ ผู้นาที่มีพฤติกรรมดังนี้ 1. เป็นการพฒั นาคนเปน็ แกนกลางของการพัฒนา โดยมุ่งเนน้ แก้ปญั หาความยากจนการพัฒนาต้อง สามารถตอบสนอง ในปัจจุบันขนั้ พืน้ ฐานได้อยา่ งพอเพยี งท้ังดา้ น การศกึ ษา สขุ ภาพอนามัยที่อยอู่ าศยั และฐานะ ความเป็นอยทู่ ี่ดรี วมทั้งมาตรการนโยบาย ประชากรที่เหมาะสม 2. ธรรมชาติหรือสิง่ แวดลอ้ ม ด้วยการพทิ ักษร์ กั ษาบารงุ ช่วยสภาพธรรมชาติและใชท้ รัพยากร อย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพแตก่ ารพฒั นาจะสาเร็จได้นั้น ตอ้ งอาศัยการพัฒนา จริยธรรมท้ังในระดับบคุ คล และระดบั ชาติ (จรยิ ธรรมทีแ่ ท้ต้องสามารถทาให้มนุษยม์ คี วามสขุ จึงจะเกิดการพฒั นาอย่างตอ่ เน่อื ง) การพฒั นาด้าน การศึกษานับวา่ เป็นองค์ประกอบแรก ที่จะชว่ ยผลกั ดันให้เกิดการพฒั นาด้านอืน่ ๆ ตอ่ ไปอยา่ งนอ้ ยทาให้คนรู้เท่าทัน ปญั หาท่เี กิดข้ึน และที่สาคญั ต้องมกี ารประนีประนอม คือ ยอมลดละความตอ้ งการของตนเอง เพอ่ื ให้แต่ละฝ่าย ได้ประโยชนบ์ ้างหลักการเหลา่ นเี้ องจะทาให้เกิดการพฒั นา 3. หลักการพัฒนาเป็นการพัฒนาท่มี งุ่ เนน้ การสร้างสมดุล ในสามมิติดังทีจ่ ะไดก้ ล่าวตอ่ ไปนี้ เนอื่ งจาก ทุกด้านลว้ นแล้วแตม่ คี วามสมั พนั ธ์และเกย่ี วเน่อื งกันดงั น้ี 1) มิตกิ ารพัฒนาด้านสังคม 2) มิตกิ ารพฒั นาด้านเศรษฐกิจ 3) มิตกิ ารพฒั นาด้านสิง่ แวดลอ้ ม 4. อาจกล่าวได้ว่าแนวคิดการพฒั นามีลกั ษณะทส่ี าคัญได้แก่ (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาติ, 2550) 1) คานึงถงึ ขีดจากัดของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมและสนองความต้องการ ในปจั จุบนั โดยไม่สง่ ผลตอ่ ความตอ้ งการในอนาคต 2) คานึงถึงความเปน็ องค์รวม คือ มองวา่ จะกระทาส่งิ ใดตอ้ ง คานึงถึงผลกระทบ ทจ่ี ะเกิดกบั สิง่ อื่นๆ 5. คานึงถึงเทคโนโลยแี ละความรู้ใหม่ วา่ ควรเปน็ ไปในทางสร้างสรรค์และเอ้ือประโยชนอ์ ย่างสอดคล้อง และเหมาะสมกลบั สภาพท้องถนิ่ เกษม วฒั นชัย (2556) ได้อธิบายถึงภาวะผู้นาของโรงเรียนเอกชน ควรนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ไปใชค้ ือ ประหยัดไมใ่ ชข่ เี้ หน่ยี ว ทาอะไรดว้ ยความละมนุ ละมอ่ ม ด้วยเหตุและผลจะเป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง และทกุ คน จะมคี วามสขุ และพระองคไ์ ด้ทรงยา้ คาว่า พอเพยี ง คือไมโ่ ลภ ไมเ่ บียดเบียนและพอเพยี งนีอ้ าจมีมากกไ็ ด้ แตต่ อ้ งไม่ เบียดเบียนคนอน่ื และตอ้ งพอประมาณตามอัตภาพเศรษฐกิจพอเพยี ง จะช่วยสร้างความเข้มแขง็ ให้กับตัวบุคคลและ องคก์ รทกุ ระดับที่นาไปปฏบิ ตั เิ ป็นภูมคิ ุ้มและนามา ซึง่ ความสขุ เปน็ รากฐานรองรับความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ ของโลก รวมทั้งไม่เคยทาลายเศรษฐกิจหลักของประเทศเหมอื นที่ บางคนกล่าวข้างแมส้ หประชาชาติกย็ งั ยอมรบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ทั้งนี้ การนาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชม้ เี ง่อื นไข 3 ประการ คือ เง่อื นไขด้านหลักวิชาการ ที่จะต้องมคี วามสมเหตุสมผล เง่อื นไขด้านคณุ ธรรมและเงอ่ื นไขด้านการดาเนนิ ชีวิต เช่น ความอดทน ความเพยี ร ความขยัน ส่วนเรือ่ งความพอประมาณ ไมใ่ ชก่ ารขเี้ หนยี วจนสดุ โตง่ แต่เปน็ ทางสายกลาง คือ ความประหยัด พอดี พอเหมาะต่อความจาเปน็ ตามอตั ภาพซึง่ ในขณะนปี้ ระเทศชาติมีการเปลี่ยนแปลงมาก ดังนนั้ การนาปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง จึงมคี วามจาเปน็ ที่จะตอ้ งนามาใชอ้ ย่างรู้เท่าทันและอยา่ งฉลาดใช้ เพราะภาวะหลายอยา่ งของประเทศขณะน้ี มปี ญั หาในหลายด้าน โดยเฉพาะในเรื่องเศรษฐกิจ การเมอื ง สังคม หากประชาชนนาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชก้ ็ จะอยไู่ ด้อยา่ งมีความสขุ และวนั น้หี ลายคนยงั มี ความเข้าใจผิดเรื่อง ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งวา่ เป็นแนวคิดที่ต่อตา้ น โลกาภิวัตน์ แตใ่ นความเป็นจริง และปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งจะชว่ ยสร้างภูมิคมุ้ กันใหก้ บั ครอบครวั ไปจนถึงประเทศ เพ่อื รองรับการเปลีย่ นแปลง โดยยึดหลักสายกลาง ประหยัด อดออม ซึ่งทกุ ประเทศสามารถนาไปใช้ได้

22 ภัทรานิต พทุ ธเรืองศกั ดิ์ (2560) ได้อธิบายถึง ภาวะผู้นาของโรงเรียนเอกชนเปน็ เน้ือหาสรุปปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง จากการสรปุ เน้อื หาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง นักวชิ าการจากสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจ และสงั คมแห่งชาติ ธนาคารแห่งประเทศไทย ฯลฯ ไดร้ ่วมกันแปลงนยิ ามออกมาเปน็ สญั ลักษณ์ 3 ห่วง 2 เง่ือนไข เพอ่ื ให้งา่ ยตอ่ การเข้าใจ จดจาและนาไปปฏบิ ัตโิ ดยมคี วามหมายว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งน้ัน เป็นเรื่องของทางสายกลางทอ่ี ยู่ภายใต้เงอื่ นไข 2 ข้อ คือ 1. เงอื่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้ เกี่ยวกับวิชาการตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบ ที่จะนาความรู้เหลา่ นั้นมาพจิ ารณาให้เช่อื มโยงกัน เพอ่ื ประกอบการวางแผน และความระมดั ระวังในข้ันปฏบิ ัติ 2. เง่ือนไขคณุ ธรรม ประกอบด้วย ความตระหนกั ในคุณธรรม มีความซือ่ สัตย์ สจุ รติ และมีความอดทน ความเพยี รใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชีวิตและมี 3 คณุ ลักษณะท่เี กี่ยวเน่อื งสมั พันธ์กนั ไป คือ 2.1 ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไมม่ ากเกินโดยไมเ่ บียดเบียนตนเอง และผู้อื่น 2.2 ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั ระดบั ของความพอเพยี งน้ัน จะต้องเป็นไปอยา่ งมี เหตผุ ล โดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานงึ ถึงผลทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ จากการกระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ 2.3 การมภี มู ิคมุ้ กนั ทีด่ ใี นตวั หมายถึง การเตรียมตวั ให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลีย่ นแปลง ด้านต่างๆ ท่จี ะเกิดข้ึนโดยคานงึ ถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่คี าดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตทั้งใกล้และไกล การนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ชจ้ ะนาชีวิต เศรษฐกิจ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมไปสกู่ าร พัฒนาทส่ี มดุล มั่นคง สเุ มธ ตนั ตเิ วชกลุ (2557) อดีตเลขาธกิ ารสานักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่อื ประสานงานโครงการ อนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ (กปร.) ได้บรรยายเรื่องเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดารวิ ่า การปฏบิ ตั ติ าม แนวทางเศรษฐกิจแบบพอเพยี งอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริกลา่ วถึงภาวะผู้นาควรมีพฤติกรรมในการ 1. ยึดความประหยดั ตัดทอนค่าใชจ้ ่ายในทกุ ดา้ น ลดละความฟมุ่ เฟือยในการดารงชีพอย่างจรงิ จัง 2. ยดึ ถือการประกอบอาชพี ดว้ ยความถกู ต้องสจุ ริต แมจ้ ะตกอยใู่ นภาวะขาดแคลนในการดารงชีพกต็ าม 3. ละเลิกการแกง่ แยง่ ผลประโยชน์และแข่งขันกัน ในทางการค้าขายประกอบอาชพี แบบตอ่ สอู้ ย่างรนุ แรง ดงั อดีต 4. ไมห่ ยุดน่งิ ทีจ่ ะหาทางใชช้ วี ติ หลุดพน้ จากความทกุ ข์ยากครง้ั น้ี โดยต้องขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้เกิด รายได้เพม่ิ พนู จนถึงขน้ั พอเพยี งเปน็ เป้าหมายสาคัญ 5. ปฏิบัตติ นในแนวทางทด่ี ี ลดละสิ่งชว่ั ให้หมดสนิ้ ไป เพราะยงั มีบุคคลจานวนมใิ ชน่ อ้ ยที่ดาเนนิ การ โดยปราศจากความละอายต่อแผ่นดิน สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ(2556) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 ได้กลา่ วว่าภาวะผู้นาโรงเรียนควรยดึ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดาริ เป็นปรัชญานาทางการพัฒนาของประเทศไทย มีแนวทางดงั น้ี 1. ทางสายกลาง ไมพ่ ัฒนาไปในทางทศิ ใดทิศหนง่ึ จนเกินไป เชน่ ปดิ ประเทศหรือเสรีเต็มที่ 2. ความสมดุลและความย่งั ยืน เนน้ การพัฒนาในลักษณะขององค์รวม 3. ความพอประมาณอยา่ งมเี หตผุ ล มีความพอเพยี งในการผลติ และการบริโภค 4. ภูมคิ ุ้มกันและรเู้ ท่าทนั โลก รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ทเ่ี กิดข้ึนอย่างรวดเรว็

23 5. การเสริมสร้างคณุ ภาพคน เน้นให้ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ มิตรไมตรี เอ้ืออาทร มีความเพยี ร มีวินัย มีสทิ ธิ ไมป่ ระมาท พัฒนาปญั ญาและความรู้อยา่ งต่อเน่อื ง ปรียานชุ ธรรมปิยา (2557) กล่าวถึงภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชนต้องใชห้ ลักคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง ได้บรรจุ เปน็ แนวทางการบริหารราชการแผ่นดนิ และแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจในรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 โดยให้ความสาคัญกับการพัฒนาท่สี มดลุ ทง้ั ด้านวตั ถุ สงั คม สิง่ แวดลอ้ มและวฒั นธรรม เพือ่ ให้ประเทศ รอดพ้นจากวิกฤต สามารถดารงอยู่ได้อยา่ งม่ันคงและนาไปสู่การพฒั นา ที่มีคณุ ภาพและย่งั ยืน ปัจจยั สาคญั ในการ ทาให้เกิดวถิ ีการพัฒนามงุ่ สู่ความย่งั ยนื มี 4 ประการ 1) การพฒั นาทีเ่ นน้ ความสมดุล 2) การใหค้ วามสาคัญกับ เป้าหมายของกิจกรรมพัฒนา ทม่ี งุ่ เนน้ ประโยชนส์ ่วนรวม 3) การให้ความสาคญั กับการพฒั นาทีก่ ้าวหน้าไปอย่าง ม่นั คง ยัง่ ยืน 4) การใหค้ วามสาคญั กบั การพัฒนาคนให้มีคณุ ภาพ Fullan (2013) กล่าววา่ ภาวะผนู้ าโรงเรียนเอกชน ใชแ้ นวคิด 8 พลงั ขับเคลื่อนเพ่อื การเปลีย่ นแปลง (8 Forces for change) การเปลีย่ นแปลงทางการศกึ ษาของไทย มปี ัญหาในขนั้ ตอนการลงมอื ปฏบิ ัติ (Implementation) ซึ่งกค็ ือ ข้ันตอนของการนาเอาหลักสตู รไปออกแบบการจดั การเรียนรู้ แล้วดาเนนิ การจดั การเรยี นรู้ให้บรรลุมาตรฐาน การเรียนรู้ของหลักสตู รการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. 2554 น่นั เอง ดังนน้ั ผู้บริหารสถานศกึ ษาจาเปน็ ทีจ่ ะต้องหาวิธีการ บริหารจัดการเพ่อื การแก้ไขปัญหาดังกล่าว ในทีน่ ีไ้ ด้นาเอาแนวคิด 8 พลงั ขบั เคลือ่ นเพ่อื การเปลี่ยนแปลง (8 Forces for Change) ซึ่งนาเสนอโดยฟูลแลน (Fullan, 2008) มาเป็นแนวทางในการสร้างผู้นาการเปลีย่ นแปลงขององคก์ ร ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. การสร้างความมงุ่ มัน่ เข้าใจ (Engaging people’s moral purposes) 2. การสร้างศักยภาพ (Building capacity) 3. การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกบั กระบวนการเปลี่ยนแปลง (Understanding the change process) 4. การพัฒนาวฒั นธรรมแหง่ การเรียนรู้ (Developing cultures for learning) 5. การพฒั นาวัฒนธรรมในการประเมินผล (Developing cultures of evaluation) 6. การมงุ่ เนน้ สง่ เสริมภาวะผู้นาเพอ่ื การเปลี่ยนแปลง (Focus on leadership for change) 7. การเสริมสร้างความชัดเจนในเรื่องความสัมพันธ์เชอ่ื มโยง (Fostering coherence making) 8. การส่งเสริมการพัฒนาในทกุ ระดับ (Cultivating tri level development) Brent Davise (2015) ในหนังสอื Developing Sustainable Leadership ได้นาเสนอปัจจยั ทีเ่ ปน็ พนื้ ฐานของ ภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชนไว้ ผู้บริหารจะตอ้ งมีการพัฒนาตนเอง ให้มีภาวะผู้นา โดยมุ่งผลลพั ธ์ (Outcomes) มากกว่า ผลผลิต (Output) จะต้องมกี ารบูรณาการ ความสมดลุ ในการทางานระหวา่ งพนั ธกิจ เป้าหมายกับแผนระยะส้ัน (แผนปฏิบตั ปิ ระจาป)ี และแผนระยะยาว (แผนพัฒนาการสถานศกึ ษา) ให้เป็นเน้ือเดียวกนั มุ่งการมสี ่วนร่วมไม่ใช่ มงุ่ ที่แผน ทาอย่างไรจะทาให้บุคลากรภายในองค์กรเกิดความศรัทธา ความเช่อื หลงใหล ใฝฝ่ ัน ยึดมน่ั ภาวะผู้นาต้อง มคี วามสภุ าพอ่อนน้อมถ่อมตน มมี านะมัน่ จรงิ จัง จริงใจ มกี าลเทศะปล่อยวาง มกี ารสร้างเสริมศักยภาพ การมีสว่ น ร่วม ความผูกพัน มีการสร้างมาตรการวัดความสาเรจ็ ในเชงิ กลยุทธ์ สามารถสร้างความยง่ั ยนื มั่นคง ย่งิ ยง ให้พัฒนา เกิดข้ึนเรื่อยๆ ในองค์กร Brent Davies ได้นาเสนอปจั จยั ที่เป็นฐานหลักของความยง่ั ยนื ไว้ 9 ปจั จัยคือ 1. มุ่งผลลพั ธ์ (Outcome) แทนทีจ่ ะเปน็ เพยี ง ผลผลิต (Output) 2. เป็นการบรู ณการให้เกิดความสมดลุ ระหว่างเป้าหมาย และแผนระยะสั้นและระยะยาวให้เป็น เน้อื เดียวกนั (Balancing shot-and long – term objectives) 3. มุ่งเนน้ ขบวนการมสี ่วนร่วมแทนที่จะเน้นที่แผน (Processes not plans)

24 4. ความยดึ มน่ั หลงใหล ใฝ่ฝัน ม่นั ยึด ผูกตดิ ตายเปน็ ตาย (Passion) ความหลงใหล ใฝฝ่ ัน เกิดจาก ศรทั ธา (Faith) มุ่งม่ันและความเช่อื (Beliefs) 5. ความสุภาพนมุ่ นวล อ่อนน้อมถ่อมตนทีต่ กผลึกลกึ ซึ้งอยู่กบั ความมุ่งม่นั จรงิ จัง จริงใจในวชิ าชพี (Personal humility and professional will) 6. กาลเทศะและการปล่อยวาง (Strategic timing and strategic abandon mint) 7. การสร้างเสริมศกั ยภาพและสรา้ งความมีสว่ นร่วมผกู พนั (Building capacity) 8. มีการสร้างมาตรการการวัด ความสาเร็จเชิงกลยทุ ธ์ (Developing strategic measures of success) 9. สร้างความย่ังยนื ม่นั คง ยง่ิ ยงให้เกิดข้ึนยง่ิ ๆ ขึ้นไปในองค์กร (Building sustains bicity) John P. Kotter (2016) กล่าวว่าภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชนเป็นการบริหารการเปลี่ยนแปลงมพี ัฒนาการ อย่างตอ่ เนอ่ื งต้ังแต่ปี ค.ศ. 1996 ศาสตราจารย์ John P. Kotter แห่งมหาวทิ ยาลัย Havard ได้ทาการวจิ ยั ศึกษาถึง สาเหตุแห่งความลม้ เหลวของการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดข้ึนจรงิ ในองค์การตา่ งๆ และนาเสนอแปดขั้นตอนในการบริหาร การเปลีย่ นแปลงให้ประสบผลสาเร็จในหนงั สอื Leading Change : An Eight-step Action Plan for Leader หลงั จากนั้น อกี 12 ปี ในปี ค.ศ. 2006 อาจารยไ์ ด้พัฒนาแนวคิดน้โี ดยให้ความสาคญั กบั เรื่องการเปลี่ยนแปลงทีต่ ัวบคุ คล โดยออก หนงั สือเรือ่ ง The Heart of Chang ร่วมกับผู้เขียนอีกท่าน คือ Dan Cohen แนวคิดนถี้ กู นาไปใชแ้ ละได้ผลเป็นทีน่ ่าพอใจ ทาให้แนวทางปฏิบัตนิ ้ไี ด้รบั ความนยิ มในหน่วยงานทั้งภาครฐั และเอกชน ในสหรฐั อเมริกาและนานาประเทศในปัจจุบัน แปดข้ันตอนสคู่ วามสาเรจ็ ของการเปลี่ยนแปลง (John P Kotter,2006) 1. การกระตนุ้ ใหผ้ ู้คนเคลือ่ นไหวสร้างเป้าหมายจุดประสงค์ที่เป็นจริง (Establishing a greater sense of urgency) 2. สร้างทีมงานที่เข้มแข็ง (Creating the guiding coalition) การสร้างศักยภาพโดยการนาคนทีเ่ หมาะสม มคี วามเช่ยี วชาญมอี ารมณร์ ่วมกับงาน และมีความสามารถฝีมอื ทีจ่ ะเขา้ มาทางานทีไ่ ด้รับมอบหมาย 3. มีวิสัยทัศน์ทีถ่ กู ต้อง (Developing a vision and strategy) นาพาทีมงานมาร่วมกาหนดวสิ ยั ทศั น์ และกลยุทธ์ในการทางาน และควรที่จะตั้งม่ันบนความรู้สกึ และสิ่งสร้างสรรค์ เพือ่ ที่เป็นปัจจัยสาคัญท่จี ะก่อให้เกิด ประสิทธิผล การสร้างความมงุ่ ม่ันเข้าใจ 4. การสอ่ื สารตอ้ งมีการให้คนเขา้ มามีสว่ นร่วมให้ได้มากทีส่ ดุ (Communicating the change vision) ส่อื สารในสง่ิ ที่เปน็ ประโยชนไ์ ด้ใจความเข้าใจง่าย และตอบสนองความตอ้ งการของผคู้ น 5. ให้อานาจในการตัดสนิ การกระทา (Empowering others to act) โดยการกาจัดอุปสรรคทข่ี ัดขวาง ตอ้ งทาให้เกิดผลตอบรบั และไดร้ บั การสนับสนุนจากผู้นาต้องมผี ลตอบแทน เม่อื สาเรจ็ และการรับรู้ต่อความคืบหนา้ และสิง่ ทีป่ ระสบผลสาเร็จ 6. ต้องสร้างชัยชนะในระยะสั้น (Creating short-term wins) กาหนดเป้าหมายที่สามารถบรรลุได้ง่าย ตอ้ งมีการเริม่ บริหารสิง่ ใหมๆ่ และตอ้ งประสบผลสาเรจ็ ให้ได้ระดับหนง่ึ ก่อนทีจ่ ะไปเริ่มทาสิง่ ใหมเ่ ป็นอนั ดบั ตอ่ ไป 7. ต้องสร้างแรงบนั ดาลใจและมคี วามเพยี รพยายามที่จะเปลี่ยนแปลง (Consolidating gains and producing even more change) มกี ารสนบั สนุนให้ทารายงานความก้าวหนา้ 8. ต้องสร้างวัฒนธรรมการเปลี่ยนแปลง (Institutionalizing changes in the culture) ต้องมกี ารตอกย้า ค่านยิ มของความสาเรจ็ จากการเปลี่ยนแปลงผู้นาใหมโ่ ดยการตอกย้าการเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรมขององคก์ ร

25 ความรู้ ภาวะผนู้ าโรงเรียนเอกชน คณุ ธรรม ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมภี มู ิคมุ้ กนั ทีด่ ี ภาพประกอบ 1 องค์ประกอบภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชน จากภาพที่ 1 แสดงตัวบ่งชภี้ าวะผู้นาโรงเรียนเอกชนที่ได้จากการสงั เคราะห์แนวคิดและงานวิจยั ของนกั ศกึ ษา และนักวิชาการตา่ งๆ ซึง่ ประกอบด้วย ความรู้ คุณธรรม ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล และการมภี มู ิคมุ้ กันในตวั ที่ดซี ึ่งตรงกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 พระราชทานให้กับประชาชนชาวไทย โดยมีรายละเอยี ดของแตล่ ะตัวบ่งชี้ ดังต่อไปน้ี นิยามเชิงปฏิบตั ิการตวั บ่งชี้ภาวะผนู้ าโรงเรียนเอกชน 1. ภาวะผูน้ าโรงเรียนเอกชนดา้ นความรู้ กิ่งแก้ว ศรีลาลกี ุลรตั น์ (2558) กล่าววา่ ผู้บริหารทีม่ ีภาวะผู้นาของโรงเรียนเอกชนได้นนั้ จะต้องมคี วามรู้ และประสบการณ์มากพอสมควร ทง้ั ด้านความรู้ดา้ นการบริหารและงานที่รบั ผิดชอบ บุญรอด เหลอื งาม (2560) กล่าววา่ ภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชนจะต้องมคี วามรอบรู้ในการพัฒนาคน พร้อมอนุรักษธ์ รรมชาติและสิง่ แวดล้อม เป็นการพัฒนาท่มี งุ่ เนน้ การสร้างสมดลุ ในมิติต่างๆ เช่น ความรู้ในด้านพัฒนา สงั คม เศรษฐกิจสิ่งแวดลอ้ มและวฒั นธรรม มีการนาเทคโนโลยมี าใชเ้ พ่อื ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เกษม วฒั นชัย (2556) กล่าวว่า ผู้บริหารทีม่ ีภาวะผู้นาจาเป็นจะตอ้ งรอบรู้ทุกด้านในการดาเนนิ การ ตอ้ งมีความรู้ในสิง่ ทีก่ าลังทา โดยยึดหลักสายกลางรองรบั การเปลีย่ นแปลง ภทั รานิต พุทธเรืองศกั ดิ์ (2560) กล่าวว่า ผู้นาจะต้องมคี วามรซู้ ึ่งประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับ วชิ าการต่างๆ ท่เี กี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบทีจ่ ะนาความรู้นั้นมาพจิ ารณาให้เช่อื มโยงกนั เพ่ือประกอบการ วางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏบิ ตั ิ สุเมธ ตนั ตเิ วชกลุ (2557) กล่าวว่า ผู้บริหารจะตอ้ งมีความภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชน โดยมีความรู้ หลกั วิชาการในการดาเนนิ การบริหารจดั การองคก์ ร ตอ้ งเป็น ผขู้ วนขวายใฝ่หาความรู้ จะตอ้ งอาศัยความรอบรู้ รอบคอบและความระมัดระวงั อย่างยิง่ ในการนาวชิ าการต่างๆ มาใชใ้ นการวางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน รู้เท่าทันโลก รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ทเ่ี กิดข้ึนอยา่ งรวดเร็ว พัฒนาปญั ญาและความรู้อยา่ งต่อเน่อื ง ปิยานุช ธรรมปิยา (2557) กล่าวว่า ผู้นาโรงเรียนเอกชนจาเปน็ ตอ้ งมีความรู้พัฒนาท่เี นน้ ความสมดลุ ทั้งทรัพยากรทางกายภาพหรือวัตถุ เงินทนุ ระบบนเิ วศวทิ ยาตา่ งๆ ทรัพยากรทางสงั คม คือ วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเปน็ อยู่ ค่านยิ มและการกาหนดเป้าหมายการพฒั นาให้เจรญิ ก้าวหน้าพร้อมกบั ความ สมดุล ภายใต้ภาวการณเ์ ปลีย่ นแปลงมากกว่าการทีจ่ ะมุ่งขยายการเจรญิ เตบิ โตมากขึน้ เพยี งมิติเดียว

26 Fullan (2013) กล่าววา่ ภาวะผนู้ าโรงเรียนเอกชนจาเป็นต้องสร้างศกั ยภาพ ใหก้ บั ผู้ทีอ่ ยใู่ ตอ้ งคก์ รได้มี ความรู้เกี่ยวกบั นโยบาย กลยทุ ธ์ ทรพั ยากรและวธิ ีการปฏบิ ัตทิ ี่จะนาไปสู่การร่วมมอื ร่วมใจในการขบั เคลือ่ น ยังหมายถึง การพฒั นาความรู้ ทักษะความสามารถและสนบั สนนุ ทรพั ยากรใหม่ๆ อนั ได้แก่ เวลา ความคดิ สื่อ วสั ดุ อุปกรณท์ ี่จาเป็น ศักยภาพจาเปน็ ต่อการขบั เคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทางการศกึ ษาน้ี ประกอบด้วย การพัฒนาความรู้ และทกั ษะใหม่ การสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ ความชดั เจนของโครงการเปลีย่ นแปลง การเข้าถึงทรพั ยากรหรือ แหลง่ ข้อมลู และความรู้ในการพัฒนาภาวะผู้นาในระดับผู้บริหารสถานศึกษา Brent Davise (2015) กล่าววา่ ผู้นาโรงเรียนเอกชนจาเป็นต้องสร้างเสริมศกั ยภาพความรู้ ความสามารถ มงุ่ ผลสัมฤทธิ์แทนผลผลิต บูรณาการให้เกิดความสมดุลระหวา่ งเป้าหมาย และแผนระยะส้ันและระยะยาวเปน็ เน้ือเดียวกนั ยดึ มน่ั การสร้างเสริมศกั ยภาพทกุ ภาคส่วนเรียนรู้ร่วมกนั ผู้เขียนบทความวิชาการจากทไ่ี ด้ศึกษาสรุปได้ว่า นิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นความรู้สาหรบั บทความวิชาการ ในคร้ังนวี้ า่ ความรู้ หมายถงึ ความรอบรู้เกีย่ วกบั วิชาการตา่ งๆ ท่เี กีย่ วข้องรอบด้าน ความรอบคอบทีจ่ ะนาความรมู้ า เชอ่ื มโยงกนั มวี สิ ัยทัศน์ก้าวไกล คาดการณอ์ นาคตได้ รเู้ ท่าทันกระแสโลกาภิวัตน์และการเปลีย่ นแปลง พฒั นาตนเอง พฒั นาทมี งานเสมอ 2. ภาวะผูน้ าโรงเรียนเอกชนด้านคุณธรรม กิง่ แก้ว ศรีลาลกี ุลรตั น์ (2558) กล่าววา่ ภาวะผู้นาในแงจ่ ิตวสิ ยั หรือจิตใจภายใน ขอเพยี งแต่ต้องมองหา ได้โดยถกู ต้องชอบธรรม เสนอแนะให้คนไทยมาประพฤติปฏบิ ัติ ความกตญั ญู ความมศี ลี มสี ตั ย์ ความเมตตา ใจกว้าง ใจบุญ ความไมต่ ามใจกิเลส บญุ รอด เหลอื งาม (2560) กล่าววา่ ผู้นาตอ้ งมจี ิตสานกึ และวิถชี วี ติ ที่เกือ้ กูลต่อกนั มีสทิ ธิและโอกาส ทีจ่ ะได้รับการจดั สรร และผลประโยชนด์ ้านการพัฒนาและคุ้มครองอย่างทวั่ ถึง และเป็นธรรม สมานฉันท์ เอ้อื อาทร มหี ลกั ปฏบิ ตั ใิ นการครองตน ครองคน และครองงาน เกษม วฒั นชัย (2556) กล่าวว่า ผู้นาต้องพอเพยี งไมโ่ ลภ ไมเ่ บียดเบียนต้องพอประมาณตามอัตภาพ เดินสายกลาง ใหค้ วามเป็นธรรมตอ่ ผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ความสาคัญทุกคนทุกฝ่ายเท่าเทียมกนั เปน็ แบบอย่างที่ดี ภทั รานิต พุทธเรืองศกั ดิ์ (2560) กล่าววา่ ผู้นาจะต้องตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสตั ย์ สจุ รติ และมีความอดทน ความเพยี ร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชวี ติ มคี วามยุติธรรม วางตัวเหมาะสม สเุ มธ ตนั ตเิ วชกลุ (2557) กล่าวว่า ผู้นาจะตอ้ งซ่อื สตั ย์ สจุ รติ ปฏิบัตติ นในแนวทางท่ดี ี ลดละสง่ิ ชั่ว ให้หมดส้นิ ไป มคี วามละอายต่อบาป เป็นมติ รไมตรี เอ้ืออาทร มีความเพยี ร มีวนิ ัย Brent Davise (2015) กล่าววา่ ผู้นาทด่ี ี จะมคี วามสภุ าพอ่อนนอ้ มถ่อมตน มีมานะจรงิ ใจ มกี าลเทศะ ปล่อยวาง มคี ณุ ธรรม มีความนกึ ด้วยสปิริต จิตสานึก พร้อมดว้ ยคุณธรรม จริยธรรมทีดงี าม ผู้เขียนบทความวิชาการจากทไ่ี ด้ศึกษาสรุปได้ว่า นิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารดา้ นคุณธรรม สาหรบั บทความ วชิ าการในคร้ังนวี้ า่ คุณธรรม หมายถึง หลักปฏบิ ัตขิ องผู้บริหารในการครองตน ครองคน ครองงาน มีธรรมาภบิ าล 3. ภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชนด้านความพอประมาณ กิง่ แก้ว ศรีลาลกี ลุ รตั น์ (2558) กล่าววา่ ภาวะผู้นาควรบริหารองคก์ รให้พอกินพอใช้ พอสมควรตาม อัตภาพ พง่ึ ตนเองได้ในเศรษฐกิจ และได้สรปุ ส้ันวา่ ภาวะผู้นาควรมปี รชั ญาชีวิตวา่ การมชี วี ติ อยอู่ ย่างพอดีน่นั เอง เม่อื พอดแี ลว้ ค่อยขยบั ขยายให้มากขึ้นแตต่ อ้ งได้มาโดยถกู ตอ้ ง ชอบธรรม โดยควรมงุ่ เนน้ เรื่องประหยัด ใชจ้ ่าย เท่าทีจ่ าเปน็ ไมฟ่ มุ่ เฟือย

27 บญุ รอด เหลอื งาม (2560) กล่าววา่ ผู้นาต้องเนน้ หลักความพอดี ตอบสนองตอ่ ความจาเปน็ พืน้ ฐาน เท่าที่จาเปน็ เนน้ เรื่องการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจแบบมขี ีดจากัดทม่ี เี ศรษฐกิจพอเพยี ง เกษม วัฒนชัย (2557) กล่าวว่า ภาวะผู้นาควรบริหารทรพั ยากร ประหยัดไม่ข้เี หนยี ว พอเพยี งไม่โลภ ไมเ่ บียดเบียนพอเพยี งนี้ อาจมมี ากก็ได้ แต่ต้องไมเ่ บียดเบียนคนอืน่ และต้องพอประมาณตามอตั ภาพ ความพอประมาณ ไมใ่ ชก่ ารขเี้ หนยี วแตเ่ ป็นทางสายกลาง คือ ประหยดั พอดี พอเหมาะต่อความจาเป็นตามอตั ภาพ ภทั รานิต พทุ ธเรืองศกั ดิ์ (2560) กล่าวว่า ภาวะผู้นาต้องมคี วามพอดี ที่ไมน่ อ้ ยเกินไปและไมม่ ากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น สเุ มธ ตันตเิ วชกุล (2557) กล่าวว่า ผู้นาท่ดี ีต้องมคี วามประหยดั ตดั ทอนค่าใชจ้ ่ายในทกุ ด้าน ลดละความ ฟมุ่ เฟือยในการดารงชีวิตอย่างจรงิ จงั การบริหารองคก์ รให้ดาเนนิ ไปทางสายกลาง ไมพ่ ฒั นาไปในทิศทางใดทิศทาง หนง่ึ จนเกินไป ปรียานุช ธรรมปิยา (2557) กล่าวว่า ภาวะผู้นาท่ดี ี ตอ้ งนาองคก์ รพฒั นาก้าวหนา้ อย่างมน่ั คง พออยู่ พอกิน สามารถพ่งึ พาตนเองได้ ดาเนนิ ชีวิตของความพอประมาณแล้วคอ่ ยพัฒนา ในระดับทีใ่ หญ่หรือสูงขนึ้ ผู้เขียนบทความวิชาการจากทไ่ี ด้ศึกษาสรุปได้ว่า นิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นความพอประมาณ สาหรบั บทความวิชาการในคร้ังนวี้ า่ ความพอประมาณ หมายถงึ ประหยดั ใชจ้ ่ายเท่าที่จาเปน็ สอดคลอ้ งความต้องการ และความจาเป็นพัฒนาก้าวหนา้ พง่ึ พาตนเองได้ ใชท้ รัพยากรอย่างคุ้มคา่ และเกิดประโยชนส์ งู สุด 4. ภาวะผนู้ าโรงเรียนเอกชนดา้ นความมีเหตุผล กิ่งแก้ว ศรีลาลกี ลุ รัตน์ (2558)กล่าววา่ ภาวะผู้นาท่ดี จี ะตอ้ งเปน็ คนทีม่ ีความรอบคอบในการตัดสนิ ใจ มเี หตมุ ีผลในการวางแผนการดาเนินการ มองเหน็ ผลที่จะเกดิ ในอนาคต มีวสิ ยั ทัศน์ มีเหตุผลทาไมตอ้ งทาเรือ่ งน้ี ทาแล้วมีผลดีผลเสียอย่างไร บญุ รอด เหลอื งาม (2560) กล่าววา่ ผู้นาทด่ี ีต้องเปน็ คนที่มีเหตุผล เป็นการพฒั นาคนเปน็ แกนกลาง โดยมุ่งเนน้ การแกป้ ัญหาความยากจน ตอบสนองความเปน็ อยขู่ ั้นพ้ืนฐาน อย่างมเี หตุมีผลทงั้ ด้านการศึกษา สขุ ภาพ อนามยั ที่อยอู่ าศยั และฐานะความเปน็ อยทู่ ีดี รวมท้ังมาตรการ นโยบาย ประชากรทีเ่ หมาะสม มีเหตมุ ีผลในการ กาหนดทิศทางขององค์กร มีเหตุผลในการสัง่ การของสายบงั คบั บญั ชา เปน็ ที่พอใจเป็นที่ยอมรับของผู้ร่วมงานทกุ คน มงุ่ สนองความสมดุล ไมใ่ ห้มผี ลกระทบด้านสงั คม เศรษฐกิจ สิง่ แวดลอ้ ม ทง้ั ผลกระทบภายในและภายนอกองค์กร มเี หตุผลในการคานงึ ถึงเทคโนโลยแี ละความรใู้ หมว่ า่ ควรเป็นไปในทางสร้างสรรค์และเอ้อื ประโยชนอ์ ย่างสอดคล้อง และเหมาะสมกบั สภาพองคก์ ร เกษม วฒั นชยั (2556) กล่าววา่ ภาวะผู้นาท่ดี ีทาอะไรด้วยความละมนุ ละมอ่ ม ด้วยเหตดุ ว้ ยผล ทุกคนจะ ได้มีความสขุ ตามอตั ภาพ ไมท่ าลายองค์กรหรือบ้านเมอื ง มหี ลกั วิชาการที่จะต้องมคี วามสมเหตสุ มผล พอเหมาะต่อ ความจาเปน็ ตามอตั ภาพ รักษาหนา้ ท่คี วามรับผิดชอบให้ดี โดยยดึ หลักการการเดินทางสายกลาง ความระมดั ระวัง มเี หตุผลโดยต้องนามาใชอ้ ย่างรู้เท่าทันและอยา่ งฉลาดใช้ เน่อื งจากปัจจุบันประเทศชาติมีการเปลี่ยนแปลงมาก ภัทรานิต พทุ ธเรื่องศกั ดิ์ (2560)กล่าววา่ ภาวะผู้นาทด่ี ีจะต้องเปน็ บุคคลท่ตี ัดสนิ ใจเกีย่ วกับระดับความ พอเพยี งนั้น ทกุ เรื่องทีต่ ัดสนิ ใจจะตอ้ งเปน็ ไปอย่างมเี หตผุ ล โดยพิจารณาจากเหตปุ จั จยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนคานึงถึง ผลทีค่ าดวา่ จะเกิดข้ึนจากการกระทานนั้ ๆ อยา่ งรอบคอบ สเุ มธ ตันตเิ วชกลุ (2557) กล่าวว่า ผู้นาจะตอ้ งยึดถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความถกู ต้องสจุ รติ แม้จะ อยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ตาม มีความรอบคอบในการตดั สินใจ มเี หตผุ ลในการวางแผนการดาเนนิ การ โดยพัฒนาจากเหตุปจั จยั ที่เกี่ยวข้องตลอดจนดาเนนิ ถึงผลที่คาดวา่ จะเกดิ

28 Fullan (2013) กล่าววา่ ภาวะผนู้ าทีด่ ี ต้องเป็นบคุ คลทส่ี ร้างความมงุ่ ม่นั เข้าใจมีเหตผุ ล การสร้างความ เข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเปลีย่ นแปลง ต้องเป็นผู้นาทีด่ ี มีความสามารถในการบริหารจัดการกบั สง่ิ ทีเ่ ต็มไปด้วย ความท้าทายอยา่ งมีเหตผุ ล การเสริมสร้างความชัดเจน เม่อื มีการนานวตั กรรมใหม่ๆ เขา้ มาสรู่ ะบบอย่างมเี หตผุ ล Brent Davise (2015) กล่าววา่ ภาวะผู้นาท่ดี ีจะมุ่งผลลัพธ์แทนที่ผลผลิต มกี ารบรู ณาการให้เกดิ ความ สมดุลระหว่างเป้าหมายและแผนระยะส้ันและระยะยาว ให้เปน็ เน้อื เดียวกนั มีเหตุผลนาไปสู่การปฏบิ ตั ิ มีเหตุผลที่ มงุ่ เนน้ ขบวนการทีส่ ว่ นรวมมากกวา่ เน้นทีแ่ ผน ยึดมน่ั ถือม่ัน มเี หตุผลดีความใฝฝ่ ันที่เกิดจากแรงศรทั ธา มแี รงบนั ดาล ใจไปสู่เป้าหมายทีย่ ิง่ ใหญ่ ใฝ่ฝันเพอ่ื ให้เกิดความยตุ ธิ รรมในสังคม หรอื เพอ่ื การเรียนรู้อย่างเสมอภาค สร้างความ ยง่ั ยืน มั่นคงให้เกิดข้ึนในองค์กร มีความลกึ ซึ้งดว้ ยสปิริต ยนื หยัดม่ันคงในสง่ิ ที่ดงี าม ไมห่ ว่นั ไหวหรือละวางโดยง่าย มีจดุ ยนื จุดกา้ วทีช่ ัดเจน ยาวไกล ยิง่ ใหญไ่ ปเรื่อยๆ มีความกว้างขวาง ครอบคลุม สมบูรณ์ พรอ้ ม ทกุ คนร่วมรบั รู้ ร่วมกัน เข้าใจเป้าหมายเดียวกัน John P. Kotter (2016) กล่าวว่า ภาวะผู้นาท่ดี ีจะต้องเป็นคนทีม่ ีเหตุมีผล กระตุ้นให้คนในองค์กรสร้าง เป้าหมายจดุ ประสงค์ สรา้ งทีมงานทีเ่ ข้มแข็ง มีวสิ ยั ทศั น์ที่ถูกต้อง มีการส่อื สารให้คนเข้ามามีสว่ นร่วมมากให้มากทีส่ ดุ มเี หตผุ ลในการใชอ้ านาจหรือการกระทาในการตดั สนิ สร้างแรงบันดาลใจและมคี วามเพยี รพยายาม ต้องเปน็ ผู้นาสร้าง วฒั นธรรมการเปลีย่ นแปลง ผู้เขียนบทความวิชาการจากทไ่ี ด้ศึกษาสรุปได้ว่า นิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารมดี ้านความมีเหตุมีผลสาหรับ บทความวิชาการในครั้งนวี้ า่ ความมีเหตมุ ีผล หมายถงึ ความรอบคอบในการตัดสนิ ใจ มีเหตผุ ลในการวางแผน ดาเนนิ การ มองเห็นผล นามาใชอ้ ย่างชาญฉลาด มีเหตผุ ลในการส่ังการ มุ่งม่นั บริหารสิง่ ที่ท้าทายอยา่ งมีเหตผุ ล 5. ภาวะผู้นาโรงเรียนเอกชนดา้ นการมภี ูมคิ มุ้ กนั ในตวั ทดี่ ี กิง่ แก้ว ศรีลาลกี ลุ รตั น์ (2558)กล่าววา่ ผู้นาจะต้องนาพาองคก์ รให้อยรู่ อดบนโลกนีใ้ ห้เหมาะสมกับ สภาพวิกฤตตา่ งๆ พึง่ พาตนเองได้ในทางเศรษฐกิจ มีความรอบคอบในการตัดสนิ ใจ มีการเตรียมความพร้อมในการรบั ผลกระทบความเสีย่ งและเปลีย่ นแปลงดา้ นตา่ งๆ ทค่ี าดว่าจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตทงั้ ใกล้และไกล บญุ รอด เหลอื งาม (2560) กล่าววา่ ภาวะผู้นาท่ดี ีจะตอ้ งเป็นผู้นาท่มี พี ฤตกิ รรมเนน้ หลักเศรษฐกิจ พอเพยี ง สามารถอยไู่ ด้ท่ามกลางกระแสวกิ ฤติหรือเศรษฐกิจทปี่ ั่นป่วน ตอบสนองตอ่ ความจาเปน็ ขน้ั พืน้ ฐานเท่าที่ จาเปน็ เนน้ เรือ่ งเศรษฐกิจ สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม การเปน็ ผู้นาโรงเรียนเอกชนทีด่ ตี อ้ งคาถึง ถึงขีดจากดั ของ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม คานงึ ถึงองค์รวมคอื มองวา่ จะกระทาอะไรตอ้ งคานงึ ถึงผลกระทบทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ กับ สิง่ อืน่ ๆ คานงึ ถึงเทคโนโลยแี ละความรู้ใหม่ ควรเปน็ ไปในทิศทางสร้างสรรค์เอ้ือประโยชนต์ อ่ องค์กร ไมม่ ผี ลตอ่ สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดลอ้ ม เกษม วัฒนชัย (2556) กล่าวว่า ภาวะผู้นาท่ดี ีต้องช่วยองค์กร บคุ คลให้มีความเข้มแข็ง มีภูมคิ ุ้มกนั รองรบั ความเปลี่ยนแปลง ไมท่ าลายเศรษฐกิจหลัก ยดึ ทางสายกลาง อะไรจะเกิดข้ึนกส็ ามารถอยู่ได้อยา่ งมีความสุข ภัทรานิต พุทธเรืองศกั ดิ์ (2560)กล่าววา่ ผู้นาท่ดี ีจะตอ้ งเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ งๆ ท่จี ะเกิดข้ึน โดยคานงึ ถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณต์ า่ งๆ ทค่ี าดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต ท้ังใกล้และไกล นาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ช้ จะนาชวี ติ และเศรษฐกิจ สงั คม สิง่ แวดล้อม และวฒั นธรรมไปสกู่ ารพฒั นาที่สมดลุ มัน่ คงและยั่งยนื สุเมธ ตนั ตเิ วชกลุ (2557) กล่าวว่า ภาวะผู้นาท่ดี ีควรใชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง จะช่วยใหพ้ ฒั นา เศรษฐกิจให้กา้ วทันโลกยุคโลกาภวิ ัตน์ เพ่อื สร้างความสมดุล และพร้อมรองรบั การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

29 กว้างขวางท้ังดา้ นวัตถุ เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อมและวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอยา่ งดี จะได้มีภูมคิ ุ้มกนั และรู้เท่าทันโลก รู้เท่าทนั การเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ทจ่ี ะเกิดขึน้ อยา่ งรวดเร็ว ปรียานุช ธรรมปิยา (2557) กล่าวว่า ผู้นาท่ดี ีจะตอ้ งให้ความสาคญั กบั การพัฒนาท่สี มดุล ทง้ั ดา้ นวตั ถุ สงั คม สิ่งแวดลอ้ มและวฒั นธรรมภายใต้ภาวการณ์เปลี่ยนแปลง มากกว่ามงุ่ ขยายการเจรญิ เตบิ โตให้มากขึ้นเพยี ง มติ เิ ดียว สามารถรอดพ้นจากวกิ ฤต สามารถดารงอยู่ได้อยา่ งมน่ั คง และนาไปสู่การพฒั นาท่มี คี ุณภาพและยงั่ ยนื สามารถพง่ึ พาตนเองได้ เป็นการพฒั นาทไ่ี มเ่ สี่ยงตอ่ การเกิดวกิ ฤตมีภูมคิ ุ้มกันในตวั ทีด่ ี ผู้เขียนบทความวิชาการ จากท่ไี ด้ศึกษาสรุปได้ว่านยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการมภี ูมิคมุ้ กันในตัวทีด่ ี สาหรับบทความวิชาการในคร้ังน้ีวา่ ภมู ิคมุ้ กันในตวั ที่ดี หมายถงึ การเตรียมพร้อมในการรบั ผลกระทบความเสี่ยงและ ผลเปลีย่ นแปลงดา้ นตา่ งๆ ที่คาดวา่ จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตทง้ั ใกล้และไกลมีระบบที่รองรบั ทกุ สถานการณ์ มีการพฒั นา บคุ ลากรให้มีความรู้ ยอมรับการเปลีย่ นแปลง คานึงถึงการพัฒนาอย่างตอ่ เน่อื งมัน่ คง ตารางที่ 1 องค์ประกอบนิยามเชิงปฏิบตั กิ าร ตัวบง่ ช/ี้ สาระหลักเพื่อการวัด องค์ประกอบ นิยามเชิงปฏิบตั ิการ ตัวบง่ ชี/้ สาระหลักเพือ่ การวดั ด้านความรู้ ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการตา่ งๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง ผู้บริหารมคี วามรอบรู้วิชาการตา่ งๆ รอบด้าน รอบด้าน ความรอบคอบทีจ่ ะนาความรมู้ า มวี สิ ัยทัศน์ก้าวไกล สร้างความสมดลุ ในมติ ิ คณุ ธรรม เชอ่ื มโยงกนั มวี สิ ัยทัศน์ก้าวไกล คาดการณ์ ด้านสงั คม เศรษฐกิจ สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม อนาคตได้ รู้เท่าทันกระแสโลกาภวิ ตั น์ คาดการณใ์ นอนาคตได้และ เตรียมพร้อมรองรับการ ความพอ และการเปลีย่ นแปลง พัฒนาตนเองเสมอ เปลี่ยนแปลง รทู้ นั โลก เรียนรู้ส่ิงใหมๆ่ พัฒนาตนเอง ประมาณ ตลอด เวลาเสริมสร้างศกั ยภาพให้กับตนเอง ความมีเหตผุ ล หลักปฏบิ ัตขิ องผู้บริหารในการครองตน เพอ่ื นร่วมงานและโรงเรียน ครองคน ครองงาน มีธรรมาภบิ าล เปน็ แบบอย่างทีด่ ี มีหลักปฏิบตั ิครองตน มีจิตสานึก หลักปฏบิ ัตคิ รองคน มนษุ ยสัมพนั ธ์ เอ้ืออาทร ประหยดั ใชจ้ ่ายเท่าที่จาเปน็ สอดคลอ้ ง มหี ลักปฏบิ ัติ ครองงาน มีธรรมาภบิ าล ใชส้ ตปิ ญั ญา ความตอ้ งการและความจาเปน็ พฒั นา ในการดาเนินชวี ติ ก้าวหนา้ พึง่ พาตนเองไดใ้ ชท้ รพั ยากร ผู้บริหารตอ้ งประหยัด ใชจ้ ่ายเท่าที่จาเปน็ ไม่ฟมุ่ เฟือย อย่างคุ้มคา่ และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ บริหารโรงเรียนให้สอดคล้องกบั ความต้องการและ ความรอบคอบในการตดั สนิ ใจ มเี หตุผลใน ความจาเปน็ พฒั นาโรงเรียนให้กา้ วหนา้ พ่งึ พาตนเอง การวางแผนดาเนินการ มองเหน็ ผล นามาใช้ ได้ใชท้ รัพยากรอย่างคุ้มคา่ และเกดิ ประโยชน์สงู สดุ อย่างชาญฉลาด มีเหตผุ ลในการสัง่ การ มุ่งม่ัน มคี วามรอบคอบในการตดั สนิ ใจ มีเหตผุ ลในการ บริหารสิ่งที่ท้าทายอยา่ งมีเหตุผล วางแผน มีเหตผุ ลในการส่งั การ เป็นทีย่ อมรบั มหี ลกั การวชิ าการ นามาใชอ้ ย่างเท่าทัน และชาญ ฉลาด แมจ้ ะอยู่ในสภาวะขาดแคลน สร้างความ มงุ่ ม่นั ความเข้าใจการเปลีย่ นแปลง

30 องคป์ ระกอบ นิยามเชิงปฏิบัติการ ตวั บง่ ชี้/สาระหลักเพือ่ การวดั การมภี มู ิคมุ้ การเตรียมพร้อมในการรบั ผลกระทบความ เตรียมความพร้อมในการรับผลกระทบ ความเสี่ยง กันในตวั ทีด่ ี เสี่ยงและผลเปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ งๆ คาดว่าจะ การเปลีย่ นแปลง มีระบบรองรับได้ทกุ สถานการณ์ เกิดข้ึนในอนาคตทั้งใกลแ้ ละไกล มีระบบที่ ทั้งภายใน-ภายนอกโรงเรียน พัฒนาบุคลากรทุกฝ่าย รองรับทุกสถานการณ์ มีการพฒั นาบคุ ลากร มคี วามรู้และประสบการณ์ เตรียมรับสถานการณ์ ให้มีความรู้ ยอมรับการเปลี่ยนแปลง คานงึ ถึง ปรับตวั ยอมรับการเปลี่ยนแปลง คานึงการพัฒนา การพฒั นาทีย่ ่ันยืน มน่ั คง อย่างยั่งยนื มั่นคง เอกสารอา้ งองิ กิง่ แก้ว ศรีลาลกี ุลรัตน์ (2558). ภาวะผู้นาเชิงกลยทุ ธ์. ค้นเมอ่ื 19 พฤศจิกายน 2558. จาก http://gotoknow.org/blog/Kingkaew-aems/206245. เกษม วัฒนชัย. (2556). ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งกบั ความเข้มแข็งของโรงเรียน. กรงุ เทพมหานคร. เกือ้ กระแสโสม. (2558). การพฒั นาการรบั รองผู้ประเมินภายนอกตามแนวคิดที่เนน้ สมรรถภาพสาหรับหนว่ ยประเมิน สถานศกึ ษา. วทิ ยานพิ นธ์ ปร.ด. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . บุญรอด เหลอื งาม. (2560). ยุทธศาสตร์การบริหารโรงเรียนเอกชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ให้มีประสิทธิผล สงั กดั สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาหนองคายเขต 1. วทิ ยานพิ นธ์ ปร.ด. ขอนแก่น : มหาวทิ ยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนอื . ปรียานุช ธรรมปิยา. (2557). วกิ ฤตเศรษฐกิจ 2557 กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง. กรุงเทพมหานคร. พทุ ธเรืองศักด.์ิ (2560). อนาคตภาพโรงเรียนเอกชนอีสานตอนบน. วทิ ยานพิ นธ์ ปร.ด. ขอนแก่น : มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื . สเุ มธ ตนั ตเิ วชกุล. (2557). วกิ ฤตเศรษฐกิจ 2557 กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง. กรุงเทพมหาคร. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ. (2556). แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ รสุ ภาลาดพร้าว. Brent Davies. (2015). Developing Sustainable Leadership, London :ECIY JSP. Fullan,M, (2013). The Six Seerets of Change. New York :John Wiley & Cons. John P.Kotter (2016). Modol Planning for Higher Education. Journal of Higher Education, 52, 470-489.

31 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนักเรยี น โรงเรยี นสนธิราษฎรว์ ิทยา สงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 22 The Development of Effective Student Affairs Management At SonthirajWittaya School Under the Office of Secondary Educational Service Area 22 อดิศักดิ์ ก่าเชียงคา* ดร.ละม้าย กิตติพร** ดร.เทพรังสรรค์ จนั ทรังษี*** บทคดั ย่อ การวจิ ยั ครั้งนมี้ คี วามมุ่งหมายเพ่อื 1) ศึกษาสภาพและปัญหาดา้ นการบริหารจดั การงานกจิ การนักเรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 2) เพือ่ หาแนวทางในการพฒั นา ประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนกั เรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 22 3) เพือ่ ศกึ ษาผลการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนักเรียน โรงเรียน สนธิราษฎร์วิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 โดยการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) มขี ้ันตอนการดาเนินงาน 4 ข้ันตอน คือ ข้ันวางแผนพฒั นา (Planning) ขั้นปฏบิ ัตกิ าร (Action) ข้ันการสงั เกตการณ์ (Observation) ข้ันสะทอ้ นกลับ (Reflection) จานวน 2 วงรอบ กลุ่มผู้ร่วม วจิ ยั จานวน 15 คน เลอื กแบบเจาะจง (Purposive sampling) เปน็ ครูโรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา เครือ่ งมอื ที่ใชเ้ ก็บ รวบรวมขอ้ มูลได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบสงั เกต การวิเคราะห์เชงิ ปริมาณใชส้ ถิตกิ ารหาค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการตรวจสอบข้อมลู เชงิ คุณภาพ ผู้วิจยั ได้วเิ คราะห์เน้อื หาจดั หมวดหมขู่ องเน้อื หา และนาเสนอโดยความเรียง นาเสนอผลการวจิ ัยเชงิ พรรณนาวเิ คราะห์ ผลการวจิ ยั พบวา่ 1. สภาพและปัญหาด้านการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนกั เรียน โรงเรียน สนธิราษฎร์วิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 เปน็ ดงั นี้ 1.1 สภาพ การพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกจิ การนักเรียน พบวา่ ในปีการศึกษา 2559 การดาเนนิ งานไม่เปน็ ระบบ ล่าชา้ ขาดการวางแผนท่ชี ดั เจน และเป็นมาตรฐาน ครขู าดประสทิ ธิภาพ ดาเนนิ งานให้ พอผ่านพ้นไป มีคาสง่ั มอบหมายงานแตไ่ มไ่ ด้ระบรุ ายละเอยี ดของวิธีการดาเนินงาน ไมม่ กี ารติดตามงาน อย่างสม่าเสมอ ขาดการประสานงานในการกระจายงานให้ครูในโรงเรียนได้ทารว่ มกนั เกณฑ์การประเมินงานกิจการ นกั เรียนไม่ชัดเจน ผลการปฏบิ ตั งิ านยังไม่ประสบความสาเรจ็ ขาดคู่มอื ในการดาเนินงาน การให้คาปรึกษาแก่ สภานกั เรียนยงั นอ้ ย สภานกั เรียนไม่ทราบบทบาทหน้าทีข่ องตนเอง 1.2 ปญั หา การพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกจิ การนักเรียน พบวา่ 1) ผลการ ดาเนนิ งานกิจการนักเรียนไม่มปี ระสิทธิภาพ งานไม่เป็นระบบตามมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน 2) ครูผู้ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี งานกิจการนักเรียนขาดความรู้ความเข้าใจในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทต่ี ามขอบข่ายหนา้ ท่งี านกิจการนกั เรียนตามมาตรฐาน คาสาคัญ : การพัฒนา ประสิทธิภาพ การบรหิ ารจัดการ กิจการนกั เรียน * ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร ** อาจารย์ประจาหลักสตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต และหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร *** ผู้อานวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนอนุบาลสกลนคร สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1

32 การปฏบิ ตั งิ านของโรงเรียน 3) ครขู าดการตระหนกั ถึงการปฏบิ ตั งิ านกิจการนักเรียนอยา่ งจริงจงั ปฏบิ ตั งิ านลา่ ชา้ 4) ครูขาดประสบการณ์การปฏบิ ตั งิ าน 5) ครูขาดการศึกษาดงู านกิจการนกั เรียนที่มีประสิทธิภาพ 2. แนวทางในการพฒั นาประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การงานกจิ การนกั เรียน ในวงรอบที่ 1 ประกอบด้วย 4 แนวทาง คือ 1) การศึกษาดงู าน 2) การประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร 3) การดาเนนิ งานการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหาร จัดการงานกจิ การนักเรียนตามมาตรฐาน 6 ดา้ น 18 ตัวชวี้ ดั 4) การนิเทศ ตดิ ตาม ในวงรอบที่ 2 ใชก้ ารนเิ ทศ ตดิ ตาม แยกตามมาตรฐานทีผ่ ลการดาเนนิ งานยังไมป่ ระสบผลสาเรจ็ 3. ผลการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนกั เรียน พบวา่ จากการดาเนนิ งาน ในวงรอบ ที่ 1 ตามแนวทางทง้ั 4 แนวทาง ผลการประเมินมาตรฐานดา้ นที่ 1, 2 และ 6 อยใู่ นระดบั ปานกลาง เม่อื ดาเนนิ การท้ัง 2 วงรอบ จึงได้ผลการดาเนนิ งานอยใู่ นระดับมากทั้ง 6 ด้าน จากการดาเนนิ การวิจยั ผู้วิจยั และผู้ร่วมวจิ ัย เขา้ ใจ ขอบข่ายและหนา้ ทง่ี านกิจการนกั เรียนสามารถดาเนินการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนกั เรียน ได้ตามมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2552 ทั้ง 6 ด้าน 18 ตัวชวี้ ดั โดยผู้ร่วมวจิ ยั สามารถดาเนินงานได้อยา่ งเป็นระบบตอ่ เนอ่ื ง และมีประสิทธิภาพ ABSTRACT The purposes of this research were: 1) to investigate conditions and problems of student affairs management at SonthirajWittaya School under the Office of Secondary Educational Service Area 22; 2) to establish the guidelines for developing the effectiveness of student affairs management; and 3) to study the effects after the intervention. The two-spiral participatory action research cycles comprising four stages- planning, action, observation, and reflection-was applied. The target group, obtained through a purposive sampling, consisted of 15 co-researchers working at SonthirajWittaya School under the Office of Secondary Educational Service Area 22. The research instruments were a form of interview, a set of questionnaires, and a form of observation. Quantitative data were analyzed by mean, percentage, percentage of progress and standard deviation. Content analysis was employed for qualitative data in forms of content classification and descriptive presentation. The findings of this research were as follows: 1. The conditions and problems concerning the development of effective student affairs management revealed that: 1.1 The conditions concerning the effectiveness development of student affairs management found that in the 2017 academic year, the school operation was unsystematic and delayed, due to lack of clear and standardized planning. In addition, the teachers did not perform the tasks effectively. The following issues were also found: Assigning the tasks without detailed ins traction, discontinued follow-up process, the absence of coordination providing opportunities for teachers to work together, unclear criterion for student affairs assessment, unsuccessful performance, and unavailability of operations handbook. In addition, the provision of guidance and advice for student council was limited. The student council members also did not understand their roles.

33 1.2 In terms of problems concerning the effectiveness of students’ affairs management, the results revealed that: 1) the school operation on student affairs was inefficient and unsystematic; 2) Teachers in charge of student affairs lacked knowledge and understanding their roles based on the scope of student affairs with school performance standards; 3) Teachers were not aware of which tasks impacted on student performance in regard to student affairs; 4) Teachers had no prior experience concerning student affairs management; and 5) Teachers did not participate in professional development, such as effective best practice visits. 2. The guidelines for developing the effectiveness of student affairs management in the first spiral comprised four approaches: 1) a flied trip, 2) a workshop, 3) student affairs’ development in accordance with six standards and 18 indicators, and 4) a follow-up supervision. In the second spiral, supervision was carried out to identify the unsuccessful task standards. 3. The effects after the intervention showed that in the first spiral, the four proposed approaches according to the standard assessment 1, 2 and 6 were at a medium level. After the complete two spirals, all six standards were rated at a high level. The researcher and co-researchers gained understanding in regard to the scope and duties on student affairs. In addition, they were able to operate the effectiveness of student affairs management systemically, continuously and effectively covering the six standards and 18 indicators based on the performance standards in secondary schools under the Office of the Basic Education Commission, B.E. 2552. Keywords : Student Affairs Management ภูมหิ ลงั รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 มาตรา 54 รัฐต้องดาเนนิ การให้เด็กทุกคนได้รับ การศึกษาเปน็ เวลา 12 ปี ตั้งแตก่ ่อนวยั เรียนจนจบการศึกษาภาคบงั คบั อย่างมคี ณุ ภาพโดยไมเ่ กบ็ ค่าใชจ้ ่าย โดยรัฐ มหี นา้ ท่ดี าเนนิ การกากับ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมคี ณุ ภาพและได้มาตรฐานสากล และการศกึ ษาท้ังปวงตอ้ งมงุ่ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภมู ิใจในชาติ สามารถเชย่ี วชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรบั ผิดชอบตอ่ ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ (สานักงานเลขาธกิ ารวฒุ ิสภา ปฏิบัตหิ นา้ ทส่ี านักงาน เลขาธกิ ารสภานิติบญั ญัติแห่งชาติ, 2560, หนา้ 14) และพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2542 แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 และ (ฉบบั ที่ 3) พทุ ธศกั ราช 2553 มาตรา 4 ได้กาหนดให้การศึกษา เปน็ กระบวนการเรียนรู้เพอ่ื ความเจรญิ งอกงามของบุคคลและสงั คม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสบื สานทางวฒั นธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหนา้ ทางวชิ าการ การสร้างองค์ความรู้อนั เกิด จากการจัดสภาพแวดลอ้ ม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกือ้ หนนุ ให้บุคคลเรียนรู้อยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ มาตรา 6 การจัดการศกึ ษาตอ้ งเปน็ ไปเพ่อื พฒั นาคนไทยให้เปน็ มนษุ ยท์ ี่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชวี ติ สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อื่นได้อยา่ งมีความสุข มาตรา 22 การจัดการศกึ ษาตอ้ งยึดหลักวา่ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ และถอื ว่าผู้เรียนมี ความสาคัญทส่ี ดุ กระบวนการจัดการศกึ ษาตอ้ งส่งเสริมให้ผู้เรยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ ซึ่งสอดคล้องกบั การพฒั นาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียน ทุกคน ซึ่งเปน็ กาลังหลกั ของชาตใิ ห้เปน็ มนุษยท์ ีม่ ีความสมดลุ ทั้งดา้ นร่างกาย มีความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความ

34 เป็นพลเมอื งไทย และเปน็ พลโลก ยึดม่นั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ มคี วามรู้และทักษะพนื้ ฐาน รวมท้ังเจตคติทีม่ ีความจาเป็นต่อการศึกษาต่อ และการประกอบอาชพี (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2545, หนา้ 4) งานกิจการนักเรียนเป็นอีกหน่งึ ภาระงานท่สี าคัญ เป็นงานทีเ่ กี่ยวข้องกบั การส่งเสริม และพฒั นานักเรียน ให้มีคณุ ภาพ เหมาะสมตามควรแก่วัย และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล โดยสถานศกึ ษามบี ทบาทหน้าที่จัดระบบดูแล ชว่ ยเหลอื นกั เรียนอยา่ งชัดเจนและมีประสิทธิภาพ รจู้ กั ผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีข้อมลู สารสนเทศเกีย่ วกับผู้เรียน ทีค่ รบถ้วน และเปน็ ปจั จบุ นั เพอ่ื ช่วยให้ครเู ข้าใจ เขา้ ถึง และพฒั นานกั เรียน โดยผ่านกระบวนการวางแผน และการ บริหารจัดการเพอ่ื สร้างคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนให้สอดคล้องกบั สภาวะเศรษฐกจิ สังคมการเปลีย่ นแปลง ทางการเมอื ง สิง่ แวดลอ้ ม เทคโนโลยที ี่เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว นอกจากน้ตี ้องพฒั นาผู้เรียนให้มีคุณธรรมจรยิ ธรรม มรี ะเบียบวนิ ัย ภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย เกิดการเรียนรู้ระบอบประชาธิปไตยผ่านกระบวนการและกิจกรรมตา่ งๆ ในโรงเรียนเทิดทนู และจงรักภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีจิตสาธารณะ ใชช้ วี ติ อยา่ งพอเพยี ง รู้จกั ปรบั ตัว มเี หตผุ ล และมภี ูมิคมุ้ กัน สามารถเลือกดาเนินชวี ติ อยา่ งผู้มีภมู ริ ู้ และมีภูมธิ รรม (สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน, 2552, หนา้ 36) การบริหารจัดการงานกิจการนกั เรียนของโรงเรียนสนธิราษฎร์วทิ ยาตามแผนการดาเนนิ งานประจาปี 2559 นนั้ ได้ยึดแนวทางการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2552 ของสานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (2552, หนา้ 37-46) ซึง่ มขี อบข่ายงาน 6 ด้าน คือ 1) การวางแผนงานกิจการ นกั เรียน มีการรวบรวมขอ้ มูลและจัดทาระเบียบข้อบังคบั เกีย่ วกับงานกจิ การนักเรียน รวมถึงการทาแผนงานกิจการ นกั เรียน 2) การบริหารงานกิจการนักเรียน มีการกาหนดหนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบงานกิจการนกั เรียน การประสานงาน กิจการนกั เรียน ทงั้ ภายในโรงเรียน เครอื ขา่ ยผู้ปกครอง และหนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบเกี่ยวกบั เยาวชนตลอดจนมกี าร ส่งเสริมงานกิจการนักเรียน 3) การสง่ เสริมพฒั นาให้นักเรียนมวี นิ ยั คุณธรรม จริยธรรม โดยจัดกิจกรรมการสง่ เสริม พฒั นาความประพฤติและระเบียบวนิ ัย ส่งเสริมพฒั นาให้นกั เรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม อนั สอดคล้องกับคณุ ลักษณะ อันพงึ ประสงค์ 8 ประการ ตามหลกั สตู รการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 จัดกจิ กรรมสง่ เสริมพัฒนา ด้านความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม การใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ และการยกย่องใหก้ าลงั ใจแก่นกั เรียนผู้ประพฤติดี 4) การดาเนนิ งานระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน การจดั ระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนการรู้จักนกั เรียนรายบุคคล การคัดกรอง ปอ้ งกัน แก้ไขปัญหานักเรียน และการส่งต่อนักเรียนตลอดจนการสง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพนกั เรียน 5) การดาเนนิ การส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน การดาเนนิ งานสภานกั เรียน 6) การประเมินผลการดาเนนิ งาน กจิ การนักเรียน โดยการนิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนนิ งานกิจการนักเรียนเพ่อื พฒั นางานกิจการนกั เรียน ผู้วิจยั ในฐานะบคุ ลากรของโรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา ซึง่ ได้รับผิดชอบงานกิจการนักเรียน ได้ให้ความสาคัญ เกี่ยวกบั บทบาทหน้าทีง่ านกจิ การนกั เรียนที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มกาลงั ความสามารถ มีความมุ่งมั่นจัดการศึกษา เพ่อื วางรากฐานในการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของนักเรียนให้เปน็ ผู้มคี วามรู้คคู่ ณุ ธรรม รจู้ กั แก้ปญั หาอย่างมเี หตผุ ล รู้จักสรรสร้างสังคมทางานรว่ มกับผู้อื่นได้ มคี วามเอ้ืออาทรตอ่ เพื่อนมนษุ ย์ ก้าวทนั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาธรรมชาติส่งิ แวดลอ้ ม คงความเป็นไทย มีศักยภาพเป็นทีย่ อมรับของสังคม สรา้ งและพัฒนาพืน้ ฐาน ความเป็นประชาธิปไตยให้แกน่ กั เรียน ซึง่ โรงเรียนมอี ทิ ธิพลตอ่ อนาคตทจ่ี ะทาให้เกิดความเจรญิ งอกงามบรรลถุ ึง ความสามารถ และทัศนคตทิ ีส่ อดคล้องกับวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยของนกั เรียน (โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา, 2551, หนา้ 7) ผู้วิจยั จึงสนใจดาเนินกระบวนการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกจิ การนักเรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา เพื่อปรบั ปรงุ แก้ไข วางแผน

35 ส่งเสริม สนับสนุน หรอื พฒั นาการดาเนนิ งานกิจการนักเรียนใหม้ ปี ระสิทธิภาพตามมาตรฐานและสอดคล้องตาม ความมุ่งหมายแห่งพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ และรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั ไทย คาถามการวิจยั 1. สภาพและปญั หา การพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนกั เรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์ วทิ ยา สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 22 เปน็ อยา่ งไร 2. แนวทางการดาเนนิ งานการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนักเรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 เป็นอยา่ งไร 3. ผลดาเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนักเรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 เปน็ อย่างไร ความมงุ่ หมายของการวิจัย 1. เพื่อศกึ ษาสภาพและปัญหา การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกจิ การนักเรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 2. เพอ่ื หาแนวทางการดาเนนิ งานการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนักเรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 3. เพ่อื ติดตามผลการดาเนนิ งานการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนักเรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 กรอบแนวคดิ การวิจยั

36 วิธีดาเนนิ การวิจัย ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 1. กลุ่มผู้ร่วมวจิ ัย จานวน 15 คน เลอื กแบบเจาะจง (Purposive sampling) ประกอบด้วย 1.1 ผู้วิจัย เป็นครผู ู้สอนและมหี นา้ ท่รี บั ผิดชอบงานกิจการนกั เรียน กลุ่มงานบริหารทว่ั ไป โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา จานวน 1 คน 2. กลุ่มผู้ให้ข้อมูล จานวน 30 คน ประกอบด้วย 2.1 ผู้อานวยการโรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา จานวน 1 คน 2.2 คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา จานวน 5 คน เลอื กแบบเจาะจง (Purposive sampling) ประกอบด้วย 2.2.1 ตวั แทนผู้ปกครอง จานวน 2 คน 2.2.2 ตวั แทนศิษยเ์ ก่า จานวน 1 คน 2.2.3 ตวั แทนองค์กรชมุ ชน จานวน 1 คน 2.2.4 ตัวทรงคณุ วุฒิ จานวน 1 คน 2.2.5 ตัวแทนครูทีป่ รึกษานกั เรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-6 ชั้นละ 1 คน จานวน 6 คน 2.3 ตัวแทนนักเรียน จานวน 17 คน เลอื กแบบเจาะจง (Purposive sampling) ประกอบด้วย 2.3.1 ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-6 ช้ันละ 1 คน จานวน 6 คน 2.3.2 ตัวแทนสภานกั เรียนโรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา จานวน 11 คน 2.4 วทิ ยากร จานวน 1 คน ซึ่งมคี วามรู้ความสามารถดา้ นการบริหารจดั การงานกิจการนักเรียน และมีความชานาญในงานกิจการนักเรียน คือ 2.4.1 สิบตารวจโท ยุทธศักด์ิ กุมมาร ตาแหน่ง รองผู้อานวยการ โรงเรียน วิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ รองผู้อานวยการฝ่ายกิจการนกั เรียนโรงเรียนนาหว้าพทิ ยาคม “ธาตุประสิทธิ์ ประชานุเคราะห์” สังกดั สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 22 เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการวิจัย และการจัดเกบ็ ขอ้ มูลในครง้ั น้ีจาแนกเป็นประเภทลกั ษณะของเครอ่ื งมือ วธิ ที ีส่ ร้าง และการหาคณุ ภาพของเคร่อื งมือ ดงั มีรายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. ประเภทของเครือ่ งมอื มี 3 ประเภทประกอบดว้ ย 1.1 แบบสมั ภาษณ์ มี 1 ฉบบั คือ แบบสัมภาษณเ์ กีย่ วกับสภาพ และปญั หาการพฒั นา ประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนกั เรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา มัธยมศกึ ษา เขต 22 1.2 แบบสอบถามมี 3 ฉบบั ดังน้ี 1.2.1 แบบสอบถามความคิดเหน็ เกี่ยวกับการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การ งานกิจการนักเรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยาสังกัดสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 22 1.2.2 แบบสอบถามความคิดเหน็ เกีย่ วกับการศึกษาดูงานเพ่อื พัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร จดั การงานกจิ การนกั เรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สังกดั สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 1.2.3 แบบสอบถามความคิดเหน็ เกีย่ วกบั การจัดประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร เพือ่ พัฒนา ประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนกั เรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต 22 1.3 แบบบันทึกการประชุมมี 1 ฉบบั คือ แบบบนั ทึกการประชุมเกี่ยวกับการวางแผนงานในการ ดาเนนิ การพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนกั เรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สังกัดสานกั งานเขต พ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 22

37 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดงั น้ี 1. ระยะเวลาในการดาเนินการอยใู่ นปีการศึกษา 2560 2. แบบสัมภาษณ์ ใชใ้ นการสมั ภาษณเ์ กี่ยวกับสภาพ และปญั หาการบริหารจดั การงานกิจการ นกั เรียน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ขอ้ มูลและผู้รว่ มวิจัย 3. แบบสอบถามความคิดเหน็ เกยี่ วกบั การพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนักเรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยาสงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 มี 2 ฉบบั คือ ใชใ้ นสอบถาม ความคิดเห็นเกี่ยวกับการศึกษาดูงาน และใชใ้ นการสอบถามความคิดเห็นเกีย่ วกบั การจดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร 4. แบบบนั ทึกการประชมุ ใชส้ าหรับบนั ทึกการประชุมเกี่ยวกบั การวางแผนงานในการดาเนนิ การ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกจิ การนกั เรียน สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู ค่าเฉลี่ย (Mean) คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ร้อยละ (Percentage) ร้อยละความก้าวหน้า สรุปผลการวิจยั การดาเนนิ การวิจัยการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนักเรียนโรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สังกดั สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 ผู้วิจยั ได้สรุปผลการวจิ ัยตามความมงุ่ หมาย ดังน้ี 1. สภาพและปญั หาด้านการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนักเรียน โรงเรียน สนธิราษฎร์วิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 22 เปน็ ดังนี้ 1.1 สภาพ การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกจิ การนักเรียน พบวา่ ในปีการศึกษา 2559 การดาเนนิ งานไม่เป็นระบบ ล่าชา้ ขาดการวางแผนทช่ี ดั เจน และเป็นมาตรฐาน ครขู าดประสทิ ธิภาพ ดาเนนิ งานให้พอ ผ่านพ้นไป มคี าส่งั มอบหมายงานแต่ไม่ได้ระบรุ ายละเอยี ดของวธิ ีการดาเนินงาน ไมม่ กี ารติดตามงานอยา่ งสม่าเสมอ ขาดการประสานงานในการกระจายงานใหค้ รใู นโรงเรียนได้ทารว่ มกนั เกณฑ์การประเมินงานกจิ การนกั เรียนไม่ชัดเจน ผลการปฏบิ ัตงิ านยงั ไม่ประสบความสาเรจ็ ขาดคู่มอื ในการดาเนนิ งาน การใหค้ าปรึกษาแก่สภานกั เรียนยังนอ้ ย สภานักเรียนไม่ทราบบทบาทหน้าทข่ี องตนเอง 1.2 ปัญหา การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกจิ การนักเรียน พบวา่ 1) ผลการ ดาเนนิ งานกิจการนกั เรียนไม่มปี ระสิทธิภาพ งานไม่เป็นระบบตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน 2) ครผู ู้ปฏบิ ัตหิ นา้ ทง่ี าน กิจการนักเรียนขาดความรู้ความเข้าใจในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทต่ี ามขอบข่ายหนา้ ท่งี านกิจการนักเรียนตามมาตรฐาน การปฏบิ ตั งิ านของโรงเรียน 3) ครูขาดการตระหนักถึงการปฏบิ ตั งิ านกิจการนักเรียนอยา่ งจริงจงั ปฏบิ ตั งิ านลา่ ชา้ 4) ครูขาดประสบการณ์การปฏบิ ตั งิ าน 5) ครูขาดการศึกษาดูงานกิจการนกั เรียนที่มีประสิทธิภาพ 2. แนวทางในการพัฒนาประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการงานกจิ การนักเรียน ในวงรอบที่ 1 ประกอบด้วย 4 แนวทาง คือ 1) การศึกษาดูงาน 2) การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร 3) การดาเนนิ งานการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหาร จัดการงานกจิ การนกั เรียนตามมาตรฐาน 6 ดา้ น 18 ตัวชีว้ ดั 4) การนิเทศ ตดิ ตาม ในวงรอบที่ 2 ใชก้ ารนเิ ทศ ตดิ ตาม แยกตามมาตรฐานทีผ่ ลการดาเนนิ งานยังไมป่ ระสบผลสาเร็จ 3. ผลการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนกั เรียน พบวา่ จากการดาเนนิ งาน ในวงรอบ ที่ 1 ตามแนวทางทง้ั 4 แนวทาง ผลการประเมินมาตรฐานดา้ นที่ 1, 2 และ 6 อยใู่ นระดบั ปานกลาง เม่อื ดาเนนิ การทั้ง 2 วงรอบ จึงได้ผลการดาเนนิ งานอยใู่ นระดบั มากทั้ง 6 ด้าน จากการดาเนนิ การวจิ ยั ผู้วิจัยและผู้ร่วมวจิ ยั เขา้ ใจ

38 ขอบข่ายและหนา้ ท่งี านกิจการนกั เรียนสามารถดาเนินการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนักเรียน ได้ตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2552 ท้ัง 6 ด้าน 18 ตวั ชวี้ ดั โดยผู้ร่วมวจิ ยั สามารถดาเนินงานได้อยา่ งเป็นระบบ ต่อเน่ือง และมีประสิทธิภาพ อภปิ รายผลการวิจัย การพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกจิ การนกั เรียนโรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สงั กัดสานกั งาน เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 โดยใชร้ ปู แบบการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) ผู้วจิ ยั ได้นาผลการวจิ ยั มาอภิปรายผล ดงั น้ี 1. ผลการศึกษาสภาพและปัญหาด้านประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนกั เรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 พบว่า 1.1 สภาพ การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกจิ การนกั เรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สังกัดสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 22 พบว่าการดาเนนิ งานกิจการนักเรียนในปีการศึกษา 2559 ไมเ่ ปน็ ระบบ ล่าชา้ การดาเนนิ งานขาดการวางแผนที่ชัดเจน ไมม่ แี ผนงานรองรบั ที่เปน็ มาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน งานกิจการนกั เรียนไม่ชดั เจน ผลการปฏบิ ตั งิ านยงั ไม่ประสบความสาเร็จ ขาดคู่มอื ในการดาเนนิ งาน การใหค้ าปรึกษา แก่สภานกั เรียนยงั นอ้ ย สภานักเรียนไม่ทราบบทบาทหน้าที่ของตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจยั ของมลรกั ทมุ แสง (2555, บทคัดยอ่ ) ได้ศึกษาการพฒั นางานกิจการนักเรียน โรงเรียนบ้านกุดฮู สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ผลการศึกษาค้นควา้ ปรากฏดงั นี้ 1) สภาพและปัญหาเกย่ี วกับงานกิจการนักเรียนสภาพ การดาเนนิ งานกิจการนกั เรียนโรงเรียนบ้านกุดฮู พบวา่ มกี ิจกรรมทีด่ าเนนิ การอยา่ งหลากหลาย เชน่ การดาเนนิ งาน กิจการนกั เรียน มีการให้บริการงานกิจการนกั เรียน มีการจดั ชุมนุมตา่ งๆ การจดั กจิ กรรมลกู เสอื ยวุ กาชาด การจดั กิจกรรมจิตอาสา การตรวจสอบและดูแลการแต่งกายของนกั เรียน การตรวจสอบและดแู ลทรงผมของนักเรียน มกี ารตรวจสอบและดแู ลการเขา้ เรียนตามกาหนดเวลา การจัดกิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรมพ้ืนฐาน 8 ประการ แต่ผล การดาเนนิ งานไม่ดเี ท่าทีค่ วร เนื่องจากครยู งั ขาดความรู้ความเขา้ ใจ และตระหนกั ในการปฏบิ ตั งิ านกิจการนักเรียน จึงสง่ ผลทาให้งานกจิ การนกั เรียนในโรงเรียนไม่ประสบผลสาเรจ็ จะตอ้ งมีการพัฒนาให้ครมู คี วามรู้ความเข้าใจ และความตระหนกั ในการปฏบิ ัตงิ านมากย่งิ ขนึ้ กวา่ นี้ 1.2 ปญั หา การพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกจิ การนักเรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วทิ ยา สังกัดสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 22 พบว่า 1) ผลการดาเนนิ งานกจิ การนกั เรียนไม่มปี ระสิทธิภาพ งานไม่เป็นระบบตามมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน 2) ครูผู้ปฏบิ ัตหิ นา้ ทง่ี านกิจการนักเรียนขาดความรู้ความเข้าใจในการ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ตี ามขอบข่ายหนา้ ทง่ี านกิจการนกั เรียนตามมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของโรงเรียน 3) ครขู าดการตระหนกั ถึงการปฏบิ ัตงิ านกิจการนักเรียนอยา่ งจริงจัง ปฏิบตั งิ านลา่ ชา้ 4) ครขู าดประสบการณก์ ารปฏบิ ตั งิ าน 5) ครูขาด การศึกษาดูงานกิจการนกั เรียนทีม่ ีประสิทธิภาพ ซึง่ สอดคล้องกับงานวิจัยของภญิ โญ เพง็ ดา (2550, หนา้ 112) ศึกษา สภาพ ปัญหา และแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สังกดั สานกั งานการศึกษาเอกชน ในจังหวดั กาแพงเพชร พบว่า ปญั หาการบริหารงานกิจการนกั เรียนของสถานศกึ ษา ข้ันพ้ืนฐาน สังกดั สานกั งานการศกึ ษาเอกชน โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง ส่วนปญั หาด้านต่างๆ สรปุ ได้ดงั น้ี คือ ด้านงานโครงการพิเศษมปี ัญหาอยู่มนระดับมาก โดยขอ้ ทีม่ ีปญั หาอยู่ในอนั ดับแรก ได้แก่ ขอบขา่ ยงานโครงการพิเศษ ไมช่ ัดเจน ส่วนด้านแนะแนวการศึกษาต่อ ด้านกิจกรรมนกั เรียน ด้านงานปกครอง และด้านพยาบาลและสวัสดกิ าร นักเรียนโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง

39 2. แนวทางในการพฒั นาประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การงานกจิ การนักเรียน ในวงรอบที่ 1 ประกอบด้วย 4 แนวทาง คือ 1) การศึกษาดูงาน 2) การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร 3) การดาเนนิ งานการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร จัดการงานกจิ การนกั เรียนตามมาตรฐาน 6 ดา้ น 18 ตัวชวี้ ัด 4) การนิเทศ ติดตาม ในวงรอบที่ 2 ใชก้ ารนเิ ทศ ตดิ ตาม แยกตามมาตรฐานที่ผลการดาเนนิ งานยงั ไมป่ ระสบผลสาเรจ็ ซงึ่ สอดคล้องกับ จันทร์ไท จันทรพ์ มิ พ์ (2553, หนา้ 130- 139) ได้วิจยั เรือ่ งการวจิ ัยปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ่วนร่วม เพื่อพฒั นางานกิจการนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกขามเลียน สังกัด สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามุกดาหาร ผลการวจิ ัยพบวา่ สภาพและปัญหาการพฒั นางานกิจการนกั เรียนมกี ิจกรรม ที่ดาเนนิ การอยา่ งหลากหลาย คือ กิจกรรมดา้ นการให้บริการสุขภาพนักเรียน กิจกรรมดา้ นการจดั กิจกรรมนกั เรียน และกิจกรรมดา้ นการปกครองและการเสริมสร้างวนิ ัย แต่ผลการดาเนนิ งานทีผ่ ่านมาไมด่ ีเท่าที่ควร เนื่องจากครูยังขาด ความรู้ ความเข้าใจและไมม่ คี วามตระหนักในการปฏบิ ัตงิ านกิจการนกั เรียน จึงส่งผลให้งานกจิ การนกั เรียนในโรงเรียน ไมป่ ระสบผลสาเรจ็ ต้องพฒั นาให้ครมู คี วามรู้ความเข้าใจ และความตระหนักในการปฏบิ ัตงิ านมากย่งิ ขนึ้ ส่วนปัญหา การดาเนนิ งานกิจการนกั เรียนพบวา่ ผลการดาเนนิ งานกิจการนกั เรียนไม่ดเี ท่าที่ควร เพราะครขู าดความรู้ ความเข้าใจ และครไู ม่มีความตระหนกั ในการปฏบิ ตั งิ าน ครูได้เข้ารบั การอบรมเกีย่ วกบั งานกจิ การนกั เรียนน้อยและครูได้ศึกษา ดูงานเกี่ยวกบั งานกจิ การนกั เรียนค่อนขา้ งน้อยแนวทางการพัฒนางานกิจการนกั เรียน ได้แก่ อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร การศึกษาดูงาน 3. การพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนักเรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 22 จากการดาเนนิ งานตามมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรียน มัธยมศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2552 ตามแนวทางการพัฒนา 3.1 การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร พบวา่ ผู้ร่วมวจิ ยั ทีเ่ ข้าร่วมการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารทุกคนได้รับความรู้ เกิดความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ในการดาเนนิ งานกิจการนักเรียน จากการฝึกปฏิบตั ผิ ู้ร่วมวจิ ัยเกิดทกั ษะในการจัดทา แผนการดาเนนิ งานกจิ การนกั เรียน ซึ่งเปน็ หนึง่ ในมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2552 ทง้ั 6 ดา้ น ทาให้เกิดประโยชนต์ อ่ การดาเนินการพฒั นา ประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนกั เรียนต่อไป 3.2 การศกึ ษาดูงานทีโ่ รงเรียนนาหว้าพทิ ยาคม “ธาตปุ ระสิทธิป์ ระชานเุ คราะห์” สากัดสานักงานเขต พ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 22 เปน็ โรงเรียนทีป่ ระสบความสาเร็จด้านการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การ งานกิจการนกั เรียน โดยได้รบั รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ ในปีการศึกษา 2560 มีการดาเนนิ งานดา้ นการพัฒนา ประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานกิจการนักเรียนครอบคลมุ มาตรฐานทั้ง 6 ด้าน 18 ตัวชวี้ ดั คือ ด้านการวางแผน งานกิจการนกั เรียน ด้านการบริหารงานกิจการนักเรียน ด้านการดาเนนิ งานการส่งเสริมพัฒนาให้นกั เรียนมวี นิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม ด้านการดาเนินงานระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน ด้านการดาเนนิ การส่งเสริมประชาธิปไตย ในโรงเรียน และด้านการประเมินผลการดาเนนิ งานกจิ การนักเรียนผู้วจิ ัยและกลุ่มผู้ร่วมวจิ ัยได้รบั องคค์ วามรู้ และแลกเปลีย่ นมุมมองการปฏบิ ตั งิ านกิจการนักเรียนสามารถนามาใชใ้ นการดาเนนิ การพฒั นาประสิทธิภาพ การบริหารจดั การงานกิจการนกั เรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์วิทยา 3.3 การดาเนนิ งานการพฒั นาประสิทธิภาพการบริหารจดั การงานกิจการนกั เรียน โรงเรียนสนธิราษฎร์ วทิ ยา สังกดั สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 22 ในวงรอบที่ 1 ตามแนวทางทง้ั 4 แนวทาง ผลการประเมิน มาตรฐานดา้ นที่ 1, 2 และ 6 ทไ่ี ด้ผลการประเมินอยู่ในระดับปานกลาง เม่อื ดาเนนิ การท้ัง 2 วงรอบ จึงได้ผลการ ดาเนนิ งานอยใู่ นระดบั มากท้ัง 6 มาตรฐาน จากการดาเนนิ การวจิ ยั ผู้วิจยั และผู้ร่วมวจิ ัย เขา้ ใจขอบข่าย และหนา้ ท่งี าน กิจการนักเรียนสามารถดาเนินงานได้ตามมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ทง้ั 6 ด้าน 18 ตัวชีว้ ดั โดยผรู้ ่วมวจิ ยั สามารถ ดาเนนิ งานได้อยา่ งเป็นระบบ ต่อเน่อื ง และมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวจิ ัยของ มลรัก ทุมแสง